You are here: BP HOME > PT > Pāli Mahāvagga > fulltext
Pāli Mahāvagga

Choose languages

Choose images, etc.

Choose languages
Choose display
  • Enable images
  • Enable footnotes
    • Show all footnotes
    • Minimize footnotes
Search-help
Choose specific texts..
    Click to Expand/Collapse Option Complete text
Click to Expand/Collapse OptionMahākhandaka
Click to Expand/Collapse OptionUposathakkhandhaka
Click to Expand/Collapse OptionVassupanāyikakkhandhaka
Click to Expand/Collapse OptionPavāraṇakkhandhaka
Click to Expand/Collapse OptionCammakkhandhaka
Click to Expand/Collapse OptionBhesajjakkhandhaka
Click to Expand/Collapse OptionKaṭhinakkhandhaka
Click to Expand/Collapse OptionCampeyyakkhandhaka
Click to Expand/Collapse OptionKosambakkhandhaka
VINAYAPIṬAKAṂ MAHĀVAGGA. 
THE MAHÂVAGGA. 
พระวินัยปิฎก มหาวรรค 
วินยปิฏก มหาวคฺค ปฐมภาค 
Namo tassa bhagavato arahato sammāsambuddhassa. 
REVERENCE TO THE BLESSED ONE, THE HOLY ONE, THE FULLY ENLIGHTENED ONE. 
ขอนอบน้อมแด่พระผู้มีพระภาคอรหันตสัมมาสัมพุทธเจ้าพระองค์นั้น 
นโม ตสฺส ภควโต อรหโต สมฺมาสมฺพุทฺธสฺส ฯ 
I. Tena samayena buddho bhagavā Uruvelāyaṃ viharati najjā Nerañjarāya tīre bodhirukkhamūle paṭhamābhisambuddho.  atha kho bhagavā bodhirukkhamūle sattāhaṃ ekapallaṅkena nisīdi vimuttisukhapaṭisaṃvedī. |1| 
FIRST KHANDHAKA. (THE ADMISSION TO THE ORDER OF BHIKKHUS.) At that time the blessed Buddha dwelt at Uruvelâ, on the bank of the river Nerañgarâ at the foot of the Bodhi tree (tree of wisdom), just after he had become Sambuddha.  And the blessed Buddha sat cross-legged at the foot of the Bodhi tree uninterruptedly during seven days, enjoying the bliss of emancipation. 
[มหาขันธกะ โพธิกถา ปฏิจจสมุปบาทมนสิการ] [๑] โดยสมัยนั้น พระผู้มีพระภาคเจ้า แรกตรัสรู้ประทับอยู่ ณ ควงไม้โพธิพฤกษ์ใกล้ฝั่งแม่น้ำเนรัญชรา ในอุรุเวลาประเทศ  ครั้งนั้น พระผู้มีพระภาคเจ้าประทับนั่งด้วยบัลลังก์เดียว เสวยวิมุตติสุข ณ ควงไม้โพธิพฤกษ์ตลอด ๗ วัน 
(๑. มหาขนฺธโก ๑. โพธิกถา) ๑. เตน สมเยน พุทฺโธ ภควา อุรุเวลายํ วิหรติ นชฺชา เนรญฺชราย ตีเร พธิรุกฺขมูเล ปฐมาภิสมฺพุทฺโธ.  อถ โข ภควา โพธิรุกฺขมูเล สตฺตาหํ เอกปลฺลงฺเกน นิสีทิ วิมุตฺติสุขปฏิสํเวที. 
atha kho bhagavā rattiyā paṭhamaṃ yāmaṃ paṭiccasamuppādaṃ anulomapaṭilomaṃ manas’ ākāsi:  avijjāpaccayā saṃkhārā,  saṃkhārapaccayā viññāṇaṃ,  viññāṇapaccayā nāmarūpaṃ,  nāmarūpapaccayā saḷāyatanaṃ,  saḷāyatanapaccayā phasso,  phassapaccayā vedanā,  vedanāpaccayā taṇhā,  taṇhāpaccayā upādānaṃ,  upādānapaccayā bhavo,  bhavapaccayā jāti,  jātipaccayā jarāmaraṇaṃ sokaparidevadukkhadomanassupāyāsā sambhavanti.  evam etassa kevalassa dukkhakkhandhassa samudayo hoti.  avijjāya tv eva asesavirāganirodhā saṃkhāranirodho,  saṃkhāranirodhā viññāṇanirodho,  viññāṇanirodhā nāmarūpanirodho,  nāmarūpanirodhā saḷāyatananirodho,  saḷāyatananirodhā phassanirodho,  phassanirodhā vedanānirodho,  vedanānirodhā taṇhānirodho,  taṇhānirodhā upādānanirodho,  upādānanirodhā bhavanirodho,  bhavanirodhā jātinirodho,  jātinirodhā jarāmaraṇaṃ sokaparidevadukkhadomanassupāyāsā nirujjhanti.  evam etassa kevalassa dukkhakkhandhassa (2) nirodho hotīti. |2| 
Then the Blessed One (at the end of these seven days) during the first watch of the night fixed his mind upon the Chain of Causation, in direct and in reverse order:  'From Ignorance spring the samkhâras,  from the samkhâras springs Consciousness,  from Consciousness spring Name-and-Form,  from Name-and-Form spring the six Provinces,  from the six Provinces springs Contact,  from Contact springs Sensation,  from Sensation springs Thirst (or Desire),  from Thirst springs Attachment,  from Attachment springs Existence,  from Existence springs Birth,  from Birth spring Old Age and Death, grief, lamentation, suffering, dejection, and despair.  Such is the origination of this whole mass of suffering.  Again, by the destruction of Ignorance, which consists in the complete absence of lust, the samkhâras are destroyed,  by the destruction of the samkhâras Consciousness is destroyed,  by the destruction of Consciousness Name-and-Form are destroyed,  by the destruction of Name-and-Form the six Provinces are destroyed,  by the destruction of the six Provinces Contact is destroyed,  by the destruction of Contact Sensation is destroyed,  by the destruction of Sensation Thirst is destroyed,  by the destruction of Thirst Attachment is destroyed,  by the destruction of Attachment Existence is destroyed,  by the destruction of Existence Birth is destroyed,  by the destruction of Birth Old Age and Death, grief, lamentation, suffering, dejection, and despair are destroyed.  Such is the cessation of this whole mass of suffering.' 
และทรงมนสิการปฏิจจสมุปบาทเป็นอนุโลมและปฏิโลม ตลอดปฐมยามแห่งราตรี ว่าดังนี้:- ปฏิจจสมุปบาท อนุโลม  เพราะอวิชชาเป็นปัจจัย จึงมีสังขาร  เพราะสังขารเป็นปัจจัย จึงมีวิญญาณ  เพราะวิญญาณเป็นปัจจัย จึงมีนามรูป  เพราะนามรูปเป็นปัจจัย จึงสฬายตนะ  เพราะสฬายตนะเป็นปัจจัย จึงมีผัสสะ  เพราะผัสสะเป็นปัจจัย จึงมีเวทนา  เพราะเวทนาเป็นปัจจัย จึงมีตัณหา  เพราะตัณหาเป็นปัจจัย จึงมีอุปาทาน  เพราะอุปาทานเป็นปัจจัย จึงมีภพ  เพราะภพเป็นปัจจัย จึงมีชาติ  เพราะชาติเป็นปัจจัย จึงมีชรา มรณะ โสกะ ปริเทวะ ทุกข์ โทมนัส อุปายาส.  เป็นอันว่ากองทุกข์ทั้งมวลนั่นย่อมเกิด ด้วยประการฉะนี้.  (ปฏิจจสมุปบาท ปฏิโลม) อนึ่ง เพราะอวิชชานั่นแหละดับโดยไม่เหลือ ด้วยมรรคคือวิราคะ สังขารจึงดับ  เพราะสังขารดับ วิญญาณจึงดับ  เพราะวิญญาณดับ นามรูปจึงดับ  เพราะนามรูปดับ สฬายตนะจึงดับ  เพราะสฬายตนะดับ ผัสสะจึงดับ  เพราะผัสสะดับ เวทนาจึงดับ  เพราะเวทนาดับ ตัณหาจึงดับ  เพราะตัณหาดับ อุปาทานจึงดับ  เพราะอุปทานดับ ภพจึงดับ  เพราะภพดับ ชาติจึงดับ  เพราะชาติดับ ชรา มรณะ โสกะ ปริเทวะ ทุกข์ โทมนัส อุปยาส จึงดับ.  เป็นอันว่ากองทุกข์ทั้งมวลนั่นย่อมดับ ด้วยประการฉะนี้. 
อถ โข ภควา รตฺติยา ปฐมํ ยามํ ปฏิจฺจสมุปฺปาทํ อนุโลมปฏิโลมํ มนสากาสิ  “อวิชฺชาปจฺจยา สงฺขารา  สงฺขารปจฺจยา วิญฺญาณํ  วิญฺญาณปจฺจยา นามรูปํ  นามรูปปจฺจยา สฬายตนํ  สฬายตนปจฺจยา ผสฺโส  ผสฺสปจฺจยา เวทนา  เวทนาปจฺจยา ตณฺหา  ตณฺหาปจฺจยา อุปาทานํ  อุปาทานปจฺจยา ภโว  ภวปจฺจยา ชาติ  ชาติปจฺจยา ชรามรณํ โสกปริเทวทุกฺขโทมนสฺสุปายาสา สมฺภวนฺติ  เอวเมตสฺส เกวลสฺส ทุกฺขกฺขนฺธสฺส สมุทโย โหติ.  “อวิชฺชายเตฺวว อเสสวิราคนิโรธา สงฺขารนิโรโธ  สงฺขารนิโรธา วิญฺญาณนิโรโธ  วิญฺญาณนิโรธา นามรูปนิโรโธ  นามรูปนิโรธา สฬายตนนิโรโธ  สฬายตนนิโรธา ผสฺสนิโรโธ  ผสฺสนิโรธา เวทนานิโรโธ  เวทนานิโรธา ตณฺหานิโรโธ  ตณฺหานิโรธา อุปาทานนิโรโธ  อุปาทานนิโรธา ภวนิโรโธ  ภวนิโรธา ชาตินิโรโธ  ชาตินิโรธา ชรามรณํ โสกปริเทวทุกฺขโทมนสฺสุปายาสา นิรุชฺฌนฺติ  เอวเมตสฺส เกวลสฺส ทุกฺขกฺขนฺธสฺส นิโรโธ โหตี”ติ. 
atha kho bhagavā etam atthaṃ viditvā tāyaṃ velāyaṃ imaṃ udānaṃ udānesi:  yadā have pātubhavanti dhammā ātāpino jhāyato brāhmaṇassa ath’ assa kaṅkhā vapayanti sabbā yato pajānāti sahetudhamman ti. |3| 
Knowing this the Blessed One then on that occasion pronounced this solemn utterance:  'When the real nature of things becomes clear to the ardent, meditating Brâhmana, then all his doubts fade away, since he realises what is that nature and what its cause.' 
ลำดับนั้น พระผู้มีพระภาคเจ้าทรงทราบเนื้อความนั้นแล้ว จึงทรงเปล่งอุทานนี้ในเวลานั้น ว่าดังนี้:-  (พุทธอุทานคาถาที่ ๑) เมื่อใดแล ธรรมทั้งหลาย ปรากฏแก่พราหมณ์ ผู้มีเพียรเพ่งอยู่ เมื่อนั้น ความสงสัยทั้งปวง ของพราหมณ์นั้นย่อมสิ้นไป เพราะมารู้ธรรมพร้อมทั้งเหตุ. 
อถ โข ภควา เอตมตฺถํ วิทิตฺวา ตายํ เวลายํ อิมํ อุทานํ อุทาเนสิ  “ยทา หเว ปาตุภวนฺติ ธมฺมา. อาตาปิโน ฌายโต พฺราหฺมณสฺส. อถสฺส กงฺขา วปยนฺติ สพฺพา. ยโต ปชานาติ สเหตุธมฺม”นฺติฯ 
atha kho bhagavā rattiyā majjhimaṃ yāmaṃ paṭiccasamuppādaṃ anulomapaṭilomaṃ manas’ ākāsi:  avijjāpaccayā saṃkhārā,  saṃkhārapaccayā viññāṇaṃ,  viññāṇapaccayā nāmarūpaṃ --la-- (repeated, see previously)  evam etassa kevalassa dukkhakkhandhassa samudayo hoti --pa-- nirodho hotīti. (repeated, see previously) |4| 
Then the Blessed One during the middle watch of the night fixed his mind upon the Chain of Causation, in direct and reverse order:  'From Ignorance spring the samkhâras, &c.  Such is the origination of this whole mass of suffering, &c. Such is the cessation of this whole mass of suffering.' 
[๒] ลำดับนั้น พระผู้มีพระภาคเจ้าทรงมนสิการปฎิจจสมุปบาทเป็นอนุโลม และปฏิโลมตลอดมัชฌิมยามแห่งราตรี ว่าดังนี้ :- ปฏิจจสมุปบาท อนุโลม  เพราะอวิชาเป็นปัจจัย จึงมีสังขาร  เพราะสังขารเป็นปัจจัย จึงมีวิญญาณ  เพราะวิญญาณเป็นปัจจัย จึงมีนามรูป เพราะนามรูปเป็นปัจจัย จึงมีสฬายตนะ เพราะสฬายตนะเป็นปัจจัย จึงมีผัสสะ เพราะผัสสะเป็นปัจจัย จึงมีเวทนา เพราะเวทนาเป็นปัจจัย จึงมีตัณหา เพราะตัณหาเป็นปัจจัย จึงมีอุปาทาน เพราะอุปาทานเป็นปัจจัย จึงมีภพ เพราะภพเป็นปัจจัย จึงมีชาติ เพราะชาติเป็นปัจจัย จึงมีชรา มรณะ โสกะ ปริเทวะ ทุกข์ โทมนัส อุปายาส  เป็นอันว่ากองทุกข์ทั้งมวลนั่นย่อมเกิด ด้วยประการฉะนี้. (ปฏิจจสมุปาท ปฏิโลม) อนึ่ง เพราะอวิชชานั่นแหละดับโดยไม่เหลือ ด้วยมรรคคือวิราคะ สังขาร จึงดับ เพราะสังขารดับ วิญญาณจึงดับ เพราะวิญญาณดับ นามรูปจึงดับ เพราะนามรูปดับ สฬายตนะจึงดับ เพราะสฬายตนะดับ ผัสสะจึงดับ เพราะผัสสะดับ เวทนาจึงดับ เพราะเวทนาดับ ตัณหาจึงดับ เพราะตัณหาดับ อุปาทานจึงดับ เพราะอุปาทานดับ ภพจึงดับ เพราะภพดับ ชาติจึงดับ เพราะชาติดับ ชรา มรณะ โสกะ ปริเทวะ ทุกข์ โทมนัส อุปายาส จึงดับ เป็นอันว่ากองทุกข์ทั้งมวลนั่นย่อมดับ ด้วยประการฉะนี้. 
๒. อถ โข ภควา รตฺติยา มชฺฌิมํ ยามํ ปฏิจฺจสมุปฺปาทํ อนุโลมปฏิโลมํ มนสากาสิ  “อวิชฺชาปจฺจยา สงฺขารา  สงฺขารปจฺจยา วิญฺญาณํ  วิญฺญาณปจฺจยา นามรูปํฯเปฯ  เอวเมตสฺส เกวลสฺส ทุกฺขกฺขนฺธสฺส สมุทโย โหตีฯเปฯ นิโรโธ โหตี”ติ. 
atha kho bhagavā etam atthaṃ viditvā tāyaṃ velāyaṃ imaṃ udānaṃ udānesi:  yadā have pātubhavanti dhammā ātāpino jhāyato brāhmaṇassa ath’ assa kaṅkhā vapayanti sabbā yato khayaṃ paccayānaṃ avedīti. |5| 
Knowing this the Blessed One then on that occasion pronounced this solemn utterance:  'When the real nature of things becomes clear to the ardent, meditating Brâhmana, then all his doubts fade away, since he has understood the cessation of causation.' 
ลำดับนั้น พระผู้มีพระภาคเจ้าทรงทราบเนื้อความนั้นแล้ว จึงทรงเปล่งอุทานนี้ในเวลานั้น ว่าดังนี้:-  (พุทธอุทานคาถาที่ ๒) เมื่อใดแล ธรรมทั้งหลายปรากฏแก่พราหมณ์ ผู้มีเพียรเพ่งอยู่ เมื่อนั้น ความสงสัยทั้งปวงของพราหมณ์นั้นย่อมสิ้นไปเพราะได้รู้ความสั้นแต่งปัจจัยทั้งหลาย. 
อถ โข ภควา เอตมตฺถํ วิทิตฺวา ตายํ เวลายํ อิมํ อุทานํ อุทาเนสิ  “ยทา หเว ปาตุภวนฺติ ธมฺมา. อาตาปิโน ฌายโต พฺราหฺมณสฺส. อถสฺส กงฺขา วปยนฺติ สพฺพา. ยโต ขยํ ปจฺจยานํ อเวที”ติฯ 
atha kho bhagavā rattiyā pacchimaṃ yāmaṃ paṭiccasamuppādaṃ anulomapaṭilomaṃ manas’ ākāsi:  avijjāpaccayā saṃkhārā,  saṃkhārapaccayā viññāṇaṃ --gha--  evam etassa kevalassa dukkhakkhandhassa samudayo hoti --pa-- nirodho hotīti. |6| 
Then the Blessed One during the third watch of the night fixed his mind, &c. 
[๓] ลำดับนั้น พระผู้มีพระภาคเจ้าทรงมนสิการปฏิจจสมุปบาท เป็นอนุโลมและปฏิโลม ตลอดปัจฉิมยามแห่งราตรี ว่าดังนี้:- ปฏิจจสมุปบาท อนุโลม  เพราะอวิชชาเป็นปัจจัย จึงมีสังขาร  เพราะสังขารเป็นปัจจัย จึงมีวิญญาณ เพราะวิญญาณเป็นปัจจัย จึงมีนามรูป เพราะนามรูปเป็นปัจจัย จึงมีสฬายตนะ เพราะสฬายตนะเป็นปัจจัย จึงมีผัสสะ เพราะผัสสะเป็นปัจจัย จึงมีเวทนา เพราะเวทนาเป็นปัจจัย จึงมีตัณหา เพราะตัณหาเป็นปัจจัย จึงมีอุปาทาน เพราะอุปาทานเป็นปัจจัย จึงมีภพ เพราะภพเป็นปัจจัย จึงมีชาติ เพราะชาติเป็นปัจจัย จึงมีชรา มรณะ โสกะ ปริเทวะ ทุกข์ โทมันส อุปายาส.  เป็นอันว่ากองทุกข์ทั้งมวลนั่นย่อมเกิด ด้วยประการฉะนี้. ปฏิจจสมุปบาท ปฏิโลม อนึ่ง เพราะอวิชชานั่นแหละดับโดยไม่เหลือ ด้วยมรรคคือวิราคะ สังขาร จึงดับ เพราะสังขารดับ วิญญาณจึงดับ เพราะวิญญาณดับ นามรูปจึงดับ เพราะนามรูปดับ สฬายตนะจึงดับ เพราะสฬายตนะดับ ผัสสะจึงดับ เพราะผัสสะดับ เวทนาจึงดับ เพราะเวทนาดับ ตัณหาจึงดับ เพราะตัณหาดับ อุปาทานจึงดับ เพราะอุปาทานดับ ภพจึงดับ เพราะภพดับ ชาติจึงดับ เพราะชาติดับ ชรา มรณะ โสกะ ปริเทวะ ทุกข์ โทมนัส อุปายาส จึงดับ เป็นอันว่ากองทุกข์ทั้งมวลนั่นย่อมดับ ด้วยประการฉะนี้. 
๓. อถ โข ภควา รตฺติยา ปจฺฉิมํ ยามํ ปฏิจฺจสมุปฺปาทํ อนุโลมปฏิโลมํ มนสากาสิ  “อวิชฺชาปจฺจยา สงฺขารา  สงฺขารปจฺจยา วิญฺญาณํ วิญฺญาณปจฺจยา นามรูปํฯเปฯ  เอวเมตสฺส เกวลสฺส ทุกฺขกฺขนฺธสฺส สมุทโย โหติฯเปฯ นิโรโธ โหตี”ติ. 
atha kho bhagavā etam atthaṃ viditvā tāyaṃ velāyaṃ imaṃ udānaṃ udānesi:  yadā have pātubhavanti dhammā ātāpino jhāyato brāhmaṇassa vidhūpayaṃ tiṭṭhati Mārasenaṃ suriyo ’va obhāsayamantalikkhan ti. |7| 
Knowing this the Blessed One then on that occasion pronounced this solemn utterance:  'When the real nature of things becomes clear to the ardent, meditating Brâhmana, he stands, dispelling the hosts of Mâra, like the sun that illuminates the sky.' 
ลำดับนั้น พระผู้มีพระภาคเจ้าทรงทราบเนื้อความนั้นแล้ว จึงทรงเปล่งอุทานนี้ในเวลานั้น ว่าดังนี้:-  (พุทธอุทานคาถาที่ ๓) เมื่อใดแล ธรรมทั้งหลาย ปรากฏแก่พราหมณ์ ผู้มีเพียรเพ่งอยู่ เมื่อนั้น พราหมณ์นั้นย่อมกำจัดมารและเสนาเสียได้ ดุจพระอาทิตย์อุทัยทำอากาศให้สว่าง ฉะนั้น. 
อถ โข ภควา เอตมตฺถํ วิทิตฺวา ตายํ เวลายํ อิมํ อุทานํ อุทาเนสิ  “ยทา หเว ปาตุภวนฺติ ธมฺมา. อาตาปิโน ฌายโต พฺราหฺมณสฺส. วิธูปยํ ติฏฺฐติ มารเสนํ. สูริโยว โอภาสยมนฺตลิกฺข”นฺติฯ 
bodhikathā niṭṭhitā. ||1|| 
Here ends the account of what passed under the Bodhi tree. 
โพธิกถา จบ 
โพธิกถา นิฏฺฐิตา. 
atha kho bhagavā sattāhassa accayena tamhā samādhimhā vuṭṭhahitvā bodhirukkhamūlā yena Ajapālanigrodho ten’ upasaṃkami, upasaṃkamitvā Ajapālanigrodharukkhamūle sattāhaṃ ekapallaṅkena nisīdi vimuttisukhapaṭisaṃvedī. |1| 
Then the Blessed One, at the end of those seven days, arose from that state of meditation, and went from the foot of the Bodhi tree to the Agapâla banyan tree (banyan tree of the goat-herds). And when he had reached it, he sat cross-legged at the foot of the Agapâla banyan tree uninterruptedly during seven days, enjoying the bliss of emancipation. 
(อชปาลนิโครธกถา เรื่องพราหมณ์หุหุกชาติ) [๔] ครั้นล่วง ๗ วัน พระผู้มีพระภาคเจ้าทรงออกจากสมาธินั้น เสด็จจากควงไม้โพธิพฤกษ์เข้าไปยังต้นไม้อชปาลนิโครธ แล้วประทับนั่งด้วยบัลลังก์เดียวเสวยวิมุตติสุข ณ ควงไม้อชปาลนิโครธตลอด ๗ วัน. 
(๒. อชปาลกถา) ๔. อถ โข ภควา สตฺตาหสฺส อจฺจเยน ตมฺหา สมาธิมฺหา วุฏฺฐหิตฺวา โพธิรุกฺขมูลา เยน อชปาลนิคฺโรโธ เตนุปสงฺกมิ อุปสงฺกมิตฺวา อชปาลนิคฺโรธมูเล สตฺตาหํ เอกปลฺลงฺเกน นิสีทิ วิมุตฺติสุขปฏิสํเวที. 
atha kho aññataro huhuṅkajātiko brāhmaṇo yena bhagavā ten’ upasaṃkami, upasaṃkamitvā bhagavatā saddhiṃ sammodi, sammodanīyaṃ kathaṃ sāraṇīyaṃ vītisāretvā ekamantaṃ aṭṭhāsi, ekamantaṃ ṭhito kho so brāhmaṇo bhaga-(3)vantaṃ etad avoca:  kittāvatā nu kho bho Gotama brāhmaṇo hoti katame ca pana brāhmaṇakaraṇā dhammā ’ti. |2| 
Now a certain Brâhmana, who was of a haughty disposition, went to the place where the Blessed One was; having approached him, he exchanged greeting with the Blessed One; having exchanged with him greeting and complaisant words, he stationed himself near him; then standing near him that Brâhmana thus spoke to the Blessed One:  'By what, Gotama; does one become a Brâhmana, and what are the characteristics that make a man a Brâhmana?' 
ครั้งนั้น พราหมณ์หุหุกชาติคนหนึ่ง ได้ไปในพุทธสำนัก ครั้นถึงแล้วได้ทูลปราศรัยกับพระผู้มีพระภาคเจ้า ครั้นผ่านการทูลปราศรัยพอให้เป็นที่บันเทิง เป็นที่ระลึกถึงกันไปแล้ว ได้ยืนอยู่ ณ ที่ควรส่วนข้างหนึ่ง พราหมณ์นั้นครั้นได้ยืนอยู่ ณ ที่ควรส่วนข้างหนึ่งแล้ว ได้กราบทูลคำนี้ แด่พระผู้มีพระภาคเจ้าว่า  ท่านพระโคตม บุคคลชื่อว่าเป็นพราหมณ์ ด้วยเหตุเพียงเท่าไรหนอ ก็แลธรรมเหล่าไหนทำบุคคลให้เป็นพราหมณ์. 
อถ โข อญฺญตโร หุํหุงฺกชาติโก พฺราหฺมโณ เยน ภควา เตนุปสงฺกมิ. อุปสงฺกมิตฺวา ภควตา สทฺธึ สมฺโมทิ. สมฺโมทนียํ กถํ สารณียํ วีติสาเรตฺวา เอกมนฺตํ อฏฺฐาสิ. เอกมนฺตํ ฐิโต โข โส พฺราหฺมโณ ภควนฺตํ เอตทโวจ  “กิตฺตาวตา นุ โข โภ โคตม พฺราหฺมโณ โหติ กตเม จ ปน พฺราหฺมณกรณา ธมฺมา”ติ? 
atha kho bhagavā etam atthaṃ viditvā tāyaṃ velāyaṃ imaṃ udānaṃ udānesi:  yo brāhmaṇo bāhitapāpadhammo nihuhuṅko nikasāvo yatatto vedantagū vusitabrahmacariyo, dhammena so brāhmaṇo brahmavādaṃ vadeyya, yass’ ussadā n’ atthi kuhiñci loke ’ti. |3| 
And the Blessed One, having heard that, on this occasion pronounced this solemn utterance:  'That Brâhmana who has removed (from himself) all sinfulness, who is free from haughtiness, free from impurity, self-restrained, who is an accomplished master of knowledge (or, of the Veda), who has fulfilled the duties of holiness, such a Brâhmana may justly call himself a Brâhmana, whose behaviour is uneven to nothing in the world.' 
ลำดับนั้น พระผู้มีพระภาคเจ้าทรงทราบเนื้อความนั้นแล้ว จึงทรงเปล่งอุทานนี้ในเวลานั้น ว่าดังนี้.  (พุทธอุทานคาถา)พราหมณ์ใดมีบาปธรรมอันลอยเสียแล้ว ไม่ตวาดผู้อื่นว่า หึหึ ไม่มีกิเลสดุจน้ำฝาด มีตนสำรวมแล้ว ถึงที่สุดแห่งเวท มีพรหมจรรย์อยู่จบแล้ว พราหมณ์นั้นไม่มีกิเลสเครื่องฟูขึ้น ในอารมณ์ไหน ๆ ในโลก ควรกล่าวถ้อยคำว่า ตนเป็นพราหมณ์โดยธรรม. 
อถ โข ภควา เอตมตฺถํ วิทิตฺวา ตายํ เวลายํ อิมํ อุทานํ อุทาเนสิ  โย พฺราหฺมโณ พาหิตปาปธมฺโม. นิหุํหุงฺโก นิกฺกสาโว ยตตฺโต. เวทนฺตคู วุสิตพฺรหฺมจริโย. ธมฺเมน โส พฺรหฺมวาทํ วเทยฺย. ยสฺสุสฺสทา นตฺถิ กุหิญฺจิ โลเก”ติฯ 
Ajapālakathā niṭṭhitā. ||2|| 
Here ends the account of what passed under the Agapâla tree. 
อชปาลนิโครธกถา จบ 
อชปาลกถา นิฏฺฐิตา. 
atha kho bhagavā sattāhassa accayena tamhā samādhimhā vuṭṭhahitvā Ajapālanigrodhamūlā yena Mucalindo ten’ upasaṃkami, upasaṃkamitvā Mucalindamūle sattāhaṃ ekapallaṅkena nisīdi {vimuttisukhapaṭisaṃvedī.} |1| 
Then the Blessed One, at the end of those seven days, arose from that state of meditation, and went from the foot of the Agapâla banyan tree to the Mukalinda tree. And when he had reached it, he sat cross-legged at the foot of the Mukalinda tree uninterruptedly during seven days, enjoying the bliss of emancipation. 
(มุจจลินทกถา เรื่องมุจลินทนาคราช) [๕] ครั้นล่วง ๗ วัน พระผู้มีพระภาคเจ้าทรงออกจากสมาธินั้น เสด็จจากควงไม้อชปาลนิโครธเข้าไปยังต้นไม้มุจจลินท์ แล้วประทับนั่งด้วยบัลลังก์เดียวเสวยวิมุตติสุข ณ ควงไม้มุจจลินท์ตลอด ๗ วัน 
(๓. มุจลินฺทกถา) ๕. อถ โข ภควา สตฺตาหสฺส อจฺจเยน ตมฺหา สมาธิมฺหา วุฏฺฐหิตฺวา อชปาลนิคฺโรธมูลา เยน มุจลินฺโท เตนุปสงฺกมิ อุปสงฺกมิตฺวา มุจลินฺทมูเล สตฺตาหํ เอกปลฺลงฺเกน นิสีทิ วิมุตฺติสุขปฏิสํเวที. 
tena kho pana samayena mahāakālamegho udapādi sattāhavaddalikā sītavātaduddinī.  atha kho Mucalindo nāgarājā sakabhavanā nikkhamitvā bhagavato kāyaṃ sattakkhattuṃ bhogehi parikkhipitvā upari muddhani mahantaṃ phaṇaṃ karitvā aṭṭhāsi:  mā bhagavantaṃ sītaṃ, mā bhagavantaṃ uṇhaṃ, mā bhagavantaṃ ḍaṃsamakasavātātapasiriṃsapasamphasso ’ti. |2| 
At that time a great cloud appeared out of season, rainy weather which lasted seven days, cold weather, storms, and darkness.  And the Nâga (or Serpent) king Mukalinda came out from his abode, and seven times encircled the body of the Blessed One with his windings, and kept extending his large hood over the Blessed One's head, thinking to himself:  'May no coldness (touch) the Blessed One! May no heat (touch) the Blessed One! May no vexation by gadflies and gnats, by storms and sunheat and reptiles (touch) the Blessed One!' 
ครั้งนั้น เมฆใหญ่ในสมัยมิใช่ฤดูกาลตั้งขึ้นแล้ว ฝนตกพรำเจือด้วยลมหนาว ตลอด ๗ วัน  ครั้งนั้น มุจจลินทนาคราชออกจากที่อยู่ของตนได้แวดวงพระกายพระผู้มีพระภาคเจ้าด้วยขนด ๗ รอบ ได้แผ่พังพานใหญ่เหนือพระเศียรสถิตอยู่ด้วยหวังใจว่า  ความร้อน อย่าเบียดเบียนพระผู้มีพระภาคเจ้า สัมผัสแห่งเหลือบ ยุง ลม แดด และสัตว์เลื้อยคลาน อย่าเบียดเบียนพระผู้มีพระภาคเจ้า 
เตน โข ปน สมเยน มหา อกาลเมโฆ อุทปาทิ สตฺตาหวทฺทลิกา สีตวาตทุทฺทินี.  อถ โข มุจลินฺโท นาคราชา สกภวนา นิกฺขมิตฺวา ภควโต กายํ สตฺตกฺขตฺตุํ โภเคหิ ปริกฺขิปิตฺวา อุปริมุทฺธนิ มหนฺตํ ผณํ กริตฺวา อฏฺฐาสิ  “มา ภควนฺตํ สีตํ มา ภควนฺตํ อุณฺหํ มา ภควนฺตํ ฑํสมกสวาตาตปสรีสปสมฺผสฺโส”ติ . 
atha kho Mucalindo nāgarājā sattāhassa accayena viddhaṃ vigatavalāhakaṃ devaṃ viditvā bhagavato kāyā bhoge viniveṭhetvā sakavaṇṇaṃ paṭisaṃharitvā māṇavakavaṇṇaṃ abhinimminitvā bhagavato purato aṭṭhāsi añjaliko bhagavantaṃ namassamāno. |3| 
And at the end of those seven days, when the Nâga king Mukalinda saw the open, cloudless sky, he loosened his windings from the body of the Blessed One, made his own appearance disappear, created the appearance of a youth, and stationed himself in front of the Blessed One, raising his clasped hands, and paying reverence to the Blessed One. 
ครั้นล่วง ๗ วัน มุจจลินทนาคราชรู้ว่า อากาศปลอดโปร่งปราศจากฝนแล้ว จึงคลายขนดจากพระกายของพระผู้มีพระภาคเจ้า จำแลงรูปของตนเป็นเพศมาณพ ได้ยืนประคองอัญชลีถวายมันสการพระผู้มีพระภาคเจ้าทางเบื้องพระพักตร์พระผู้มีพระภาคเจ้า. 
อถ โข มุจลินฺโท นาคราชา สตฺตาหสฺส อจฺจเยน วิทฺธํ วิคตวลาหกํ เทวํ วิทิตฺวา ภควโต กายา โภเค วินิเวเฐตฺวา สกวณฺณํ ปฏิสํหริตฺวา มาณวกวณฺณํ อภินิมฺมินิตฺวา ภควโต ปุรโต อฏฺฐาสิ ปญฺชลิโก ภควนฺตํ นมสฺสมาโน. 
atha kho bhagavā etam atthaṃ viditvā tāyaṃ velāyaṃ imaṃ udānaṃ udānesi:  sukho viveko tuṭṭhassa sutadhammassa passato, avyāpajjhaṃ sukhaṃ loke pāṇabhūtesu saṃyamo. | sukhā virāgatā loke kāmānaṃ samatikkamo, asmimānassa yo vinayo etaṃ ve paramaṃ sukhan ti. |4| 
And the Blessed One, perceiving that, on this occasion, pronounced this solemn utterance:  'Happy is the solitude of him who is full of joy, who has learnt the Truth, who sees (the Truth). Happy is freedom from malice in this world, (self-)restraint towards all beings that have life. Happy is freedom from lust in this world, getting beyond all desires; the putting away of that pride which comes from the thought "I am!" This truly is the highest happiness!' 
ลำดับนั้น พระผู้มีพระภาคเจ้าทรงทราบเนื้อความนั้นแล้ว จึงทรงเปล่งอุทานนี้ในเวลานั้น ว่าดังนี้:-  (พุทธอุทานกถา) ความสงัดเป็นสุขของบุคคลผู้สันโดษมีธรรมปรากฏแล้ว เห็นอยู่ ความไม่พยาบาทคือความสำรวมในสัตว์ทั้งหลาย เป็นสุขในโลก ความปราศจากกำหนัด คือความล่วงกามทั้งหลายเสียได้ เป็นสุขในโลก การกำจัดอัสมิมานะเสียได้นั้นแล เป็นสุขอย่างยิ่ง. 
อถ โข ภควา เอตมตฺถํ วิทิตฺวา ตายํ เวลายํ อิมํ อุทานํ อุทาเนสิ  “สุโข วิเวโก ตุฏฺฐสฺส สุตธมฺมสฺส ปสฺสโต. อพฺยาปชฺชํ สุขํ โลเก ปาณภูเตสุ สํยโมฯ “สุขา วิราคตา โลเก กามานํ สมติกฺกโม. อสฺมิมานสฺส โย วินโย เอตํ เว ปรมํ สุข”นฺติฯ 
Mucalindakathā niṭṭhitā. ||3|| 
Here ends the account of what passed under the Mukalinda tree. 
มุจจลินทกถา จบ 
มุจลินฺทกถา นิฏฺฐิตา. 
atha kho bhagavā sattāhassa accayena tamhā samādhimhā vuṭṭhahitvā Mucalindamūlā yena Rājāyatanaṃ ten’ upasaṃkami, upasaṃkamitvā Rājāyatanamūle sattāhaṃ ekapallaṅkena nisīdi vimuttisukhapaṭisaṃvedī. |1| 
Then the Blessed One, at the end of those seven days, arose from that state of meditation, and went from the foot of the Mukalinda tree to the Râgâyatana (tree); when he had reached it, he sat cross-legged at the foot of the Râgâyatana tree uninterruptedly during seven days, enjoying the bliss of emancipation. 
(ราชายตนกถา เรื่องตปุสสะภัลลิะ ๒ พ่อค้า) [๖] ครั้นล่วง ๗ วัน พระผู้มีพระภาคเจ้าทรงออกจากสมาธินั้น แล้วเสด็จจากควงไม้มุจจลินท์เข้าไปยังต้นไม้ราชายตนะ แล้วประทับนั่งด้วยบัลลังก์เดียว เสวยวิมุตติสุข ณ ควงไม้ราชายตนะ ตลอด ๗ วัน 
(๔. ราชายตนกถา) ๖. อถ โข ภควา สตฺตาหสฺส อจฺจเยน ตมฺหา สมาธิมฺหา วุฏฺฐหิตฺวา มุจลินฺทมูลา เยน ราชายตนํ เตนุปสงฺกมิ อุปสงฺกมิตฺวา ราชายตนมูเล สตฺตาหํ เอกปลฺลงฺเกน นิสีทิ วิมุตฺติสุขปฏิสํเวที. 
tena kho (4) pana samayena Tapussabhallikā vāṇijā Ukkalā taṃdesaṃ addhānamaggapaṭipannā honti.  atha kho Tapussabhallikānaṃ vāṇijānaṃ ñāti sālohitā devatā Tapussabhallike vāṇije etad avoca:  ayaṃ mārisā bhagavā Rājāyatanamūle viharati paṭhamābhisambuddho, gacchatha taṃ bhagavantaṃ manthena ca madhupiṇḍikāya ca paṭimānetha, taṃ vo bhavissati dīgharattaṃ hitāya sukhāyā ’ti. |2| 
At that time Tapussa and Bhallika, two merchants, came travelling on the road from Ukkala (Orissa) to that place.  Then a deity who had been (in a former life) a blood-relatian of the merchants Tapussa and Bhallika, thus spoke to the merchants Tapussa and Bhallika:  'Here, my noble friends, at the foot of the Râgâyatana tree, is staying the Blessed One, who has just become Sambuddha. Go and show your reverence to him, the Blessed One, by (offering him) rice-cakes and lumps of honey. Long will this be to you for a good and for a blessing.' 
ก็สมัยนั้น พ่อค้าชื่อตปุสสะ ๑ ภัลลิกะ ๑ เดินทางไกลจากอุกกลชนบท ถึงตำบลนั้น  ครั้งนั้น เทพดาผู้เป็นญาติสาโลหิตของตปุสสะภัลลิกะ ๒ พ่อค้า ได้กล่าวคำนี้กะ ๒ พ่อค้านั้นว่า  ดูก่อนท่านผู้นิรทุกข์ พระผู้มีพระภาคเจ้าพระองค์นี้ แรกตรัสรู้ ประทับอยู่ ณ ควงไม้ราชายตนะ ท่านทั้งสองจงไปบูชาพระผู้มีพระภาคเจ้านั้น ด้วยสัตตุผง และ สัตตุก้อน การบูชาของท่านทั้งสองนั้น จักเป็นไปเพื่อประโยชน์และความสุขแก่ท่านทั้งหลายตลอดกาลนาน. 
เตน โข ปน สมเยน ตปุสฺส ภลฺลิกา วาณิชา อุกฺกลา ตํ เทสํ อทฺธานมคฺคปฺปฏิปนฺนา โหนฺติ.  อถ โข ตปุสฺสภลฺลิกานํ วาณิชานํ ญาติสาโลหิตา เทวตา ตปุสฺสภลฺลิเก วาณิเช เอตทโวจ  “อยํ มาริสา ภควา ราชายตนมูเล วิหรติ ปฐมาภิสมฺพุทฺโธ คจฺฉถ ตํ ภควนฺตํ มนฺเถน จ มธุปิณฺฑิกาย จ ปติมาเนถ ตํ โว ภวิสฺสติ ทีฆรตฺตํ หิตาย สุขายา”ติ. 
atha kho Tapussabhallikā vāṇijā manthañ ca madhupiṇḍikañ ca ādāya yena bhagavā ten’ upasaṃkamiṃsu, upasaṃkamitvā bhagavantaṃ abhivādetvā ekamantaṃ aṭṭhaṃsu, ekamantaṃ ṭhitā kho Tapussabhallikā vāṇijā bhagavantaṃ etad avocuṃ:  paṭigaṇhātu no bhante bhagavā manthañ ca madhupiṇḍikañ ca yaṃ amhākaṃ assa dīgharattaṃ hitāya sukhāyā ’ti. |3| 
And the merchants Tapussa and Bhallika took rice-cakes and lumps of honey, and went to the place where the Blessed One was; having approached him and respectfully saluted the Blessed One, they stationed themselves near him; standing near him, the merchants Tapussa and Bhallika thus addressed the Blessed One:  'May, O Lord, the Blessed One accept from us these rice-cakes and lumps of honey, that that may long be to us for a good and for a blessing! 
ครั้งนั้น พ่อค้าชื่อตปุสสะ และภัลลิกะ ถือสัตตุผงและสัตตุก้อนเข้าไปเฝ้าพระผู้มีพระภาคเจ้าแล้วถวายบังคม ได้ยีนอยู่ ณ ที่ควรส่วนข้างหนึ่ง สองพ่อค้านั้นครั้นยืนอยู่ ณ ที่ควรส่วนข้างหนึ่งแล้ว ครั้นแล้วได้ทูลคำนี้แค่ พระผู้มีพระภาคเจ้าว่า  พระพุทธเจ้าข้า ขอพระผู้พระภาคเจ้าจงทรงรับสัตตุผง สัตตุก้อนของข้าพระพุทธเจ้าทั้งสอง ซึ่งจะเป็นไปเพื่อประโยชน์เพื่อความสุขแก่ข้าพระพุทธเจ้าทั้งหลายตลอดกาลนาน 
อถ โข ตปุสฺสภลฺลิกา วาณิชา มนฺถญฺจ มธุปิณฺฑิกญฺจ อาทาย เยน ภควา เตนุปสงฺกมึสุ อุปสงฺกมิตฺวา ภควนฺตํ อภิวาเทตฺวา เอกมนฺตํ อฏฺฐํสุ. เอกมนฺตํ ฐิตา โข ตปุสฺสภลฺลิกา วาณิชา ภควนฺตํ เอตทโวจุํ  “ปฏิคฺคณฺหาตุ โน ภนฺเต ภควา มนฺถญฺจ มธุปิณฺฑิกญฺจ ยํ อมฺหากํ อสฺส ทีฆรตฺตํ หิตาย สุขายา”ติ. 
atha kho bhagavato etad ahosi: na kho tathāgatā hatthesu paṭigaṇhanti. kimhi nu kho ahaṃ paṭigaṇhe44aṃ manthañ ca madhupiṇḍikañ cā ’ti.  atha kho cattāro Mahārājāno bhagavato cetasā cetoparivitakkaṃ aññāya catuddisā cattāro selamaye patte bhagavato upanāmesuṃ:  idha bhante bhagavā paṭigaṇhātu manthañ ca madhupiṇḍikañ cā ’ti.  paṭiggahesi bhagavā paccagghe selamaye patte manthañ ca madhupiṇḍikañ ca paṭiggahetvā ca paribhuñji. |4| 
Then the Blessed One thought: 'The Tathâgatas do not accept (food) with their hands. Now with what shall I accept the rice-cakes and lumps of honey?'  Then the four Mahârâga gods, understanding by the power of their minds the reflection which had arisen in the mind of the Blessed One, offered to the Blessed One from the four quarters (of the horizon) four bowls made of stone (saying),  'May, O Lord, the Blessed One accept herewith the rice-cakes and the lumps of honey!'  The Blessed One accepted those new stone bowls; and therein be received the rice-cakes and honey lumps, and those, when he had received, he ate. 
ขณะนั้น พระผู้มีพระภาคเจ้าได้ทรงปริวิตกว่า พระตถาคตทั้งหลาย ไม่รับวัตถุด้วยมือ เราจะพึงรับสัตตุผง และสัตตุก้อนด้วยอะไรหนอ.  ลำดับนั้น ท้าวมหาราชทั้ง ๔ องค์ ทรงทราบพรูปริวิตกแห่งจิตของพระผู้มีพระภาคเจ้าด้วยใจของตนแล้ว เสด็จมาจาก ๔ ทิศ ทรงนำบาตรที่สำเร็จด้วยศิลา ๔ ใบเข้าไปถวายพระผู้มีพระภาคเจ้า กราบทูลว่า  ขอพระผู้มีพระภาคเจ้าจงทรงรับสัตตุผงและสัตตุก้อนด้วยบาตรนี้ พระพุทธเจ้าข้า.  พระผู้มีพระภาคเจ้าทรงใช้บาตรสำเร็จด้วยศิลาอันใหม่เอี่ยม รับสัตตุผงและสัตตุก้อน แล้วเสวย. 
อถ โข ภควโต เอตทโหสิ “น โข ตถาคตา หตฺเถสุ ปฏิคฺคณฺหนฺติ. กิมฺหิ นุ โข อหํ ปฏิคฺคณฺเหยฺยํ มนฺถญฺจ มธุปิณฺฑิกญฺจา”ติ?  อถ โข จตฺตาโร มหาราชาโน ภควโต เจตสา เจโตปริวิตกฺกมญฺญาย จตุทฺทิสา จตฺตาโร เสลมเย ปตฺเต ภควโต อุปนาเมสุํ  “อิธ ภนฺเต ภควา ปฏิคฺคณฺหาตุ มนฺถญฺจ มธุปิณฺฑิกญฺจา”ติ.  ปฏิคฺคเหสิ ภควา ปจฺจคฺเฆ เสลมเย ปตฺเต มนฺถญฺจ มธุปิณฺฑิกญฺจ ปฏิคฺคเหตฺวา ปริภุญฺชิ. 
atha kho Tapussabhallikā vāṇijā bhagavantaṃ onītapattapāṇiṃ viditvā bhagavato pādesu sirasā nipatitvā bhagavantaṃ etad avocuṃ:  ete ma5aṃ bhante bhagavantaṃ saraṇaṃ gacchāma dhammañ ca, upāsake no bhagavā dhāretu ajjatagge pāṇupete saraṇaṃ gate ’ti.  teva loke paṭhamaṃ upāsakā ahesuṃ dvevācikā. |5| 
And Tapussa and Bhallika, the merchants, when they saw that the Blessed One had cleansed his bowl and his hands, bowed down in reverence at the feet of the Blessed One and thus addressed the Blessed One:  'We take our refuge, Lord, in the Blessed One and in the Dhamma; may the Blessed One receive us as disciples who, from this day forth while our life lasts, have taken their refuge (in him).  'These were the first in the world to become lay-disciples (of the Buddha) by the formula which contained (only) the dyad. 
ครั้งนั้น พ่อค้าตปุสสะและภัลลิกะ ได้ทูลคำนี้แด่พระผู้มีพระภาคเจ้าว่า  พระพุทธเจ้าข้า ข้าพระพุทธเจ้าทั้งสองนี้ ขอถึงพระผู้มีพระภาคเจ้าและและพระธรรมว่าเป็นสรณะ ขอพระผู้มีพระภาคเจ้าจงทรงจำข้าพระพุทธเจ้าทั้งสองว่าเป็นอุบายสกผู้มอบชีวิตถึงสรณะ จำเดิมแต่วันนี้เป็นต้นไป.  ก็นายพาณิชสองคนนั้นได้เป็นอุบายสกล่าวอ้าง ๒ รัตนะ เป็นชุดแรกในโลก. 
อถ โข ตปุสฺสภลฺลิกา วาณิชา ภควนฺตํ โอนีตปตฺตปาณึ วิทิตฺวา ภควโต ปาเทสุ สิรสา นิปติตฺวา ภควนฺตํ (โอนีตปตฺตปาณึ วิทิตฺวา ภควโต ปาเทสุ สิรสา นิปติตฺวา ภควนฺตํ) เอตทโวจุํ  “เอเต มยํ ภนฺเต ภควนฺตํ สรณํ คจฺฉาม ธมฺมญฺจ อุปาสเก โน ภควา ธาเรตุ อชฺชตคฺเค ปาณุเปเต สรณํ คเต”ติ.  เต จ โลเก ปฐมํ อุปาสกา อเหสุํ ทฺเววาจิกา. 
Rājāyatanakathā niṭṭhitā. ||4|| 
Here ends the account of what passed under the Râgâyatana tree. 
ราชายตนกถา จบ 
ราชายตนกถา นิฏฺฐิตา. 
atha kho bhagavā sattāhassa accayena tamhā samādhimhā vuṭṭhahitvā Rājāyatanamūlā yena Ajapālanigrodho ten’ upasaṃkami, upasaṃkamitvā tatra sudaṃ bhagavā Ajapālanigrodhamūle viharati. |1| 
Then the Blessed One, at the end of those seven days, arose from that state of meditation, and went from the foot of the Râgâyatana tree to the Agapâla banyan tree. And when he had reached it, the Blessed One stayed there at the foot of the Agapâla banyan tree. 
(อัปโปสสุกกกถา เรื่องความขวนขวายน้อย) [๗] ครั้นล่วง ๗ วัน พระผู้มีพระภาคเจ้าทรงออกจากสมาธินั้น แล้วเสด็จจากควงไม้ราชายตนะ เข้าไปยังต้นไม้อชปาลนิโครธ ทราบว่า พระองค์ประทับอยู่ ณ ควงไม้อชปาลนิโครธนั้น 
(๕. พฺรหฺมยาจนกถา) ๗. อถ โข ภควา สตฺตาหสฺส อจฺจเยน ตมฺหา สมาธิมฺหา วุฏฺฐหิตฺวา ราชายตนมูลา เยน อชปาลนิคฺโรโธ เตนุปสงฺกมิ. ตตฺร สุทํ ภควา อชปาลนิคฺโรธมูเล วิหรติ. 
atha kho bhagavato rahogatassa paṭisallīnassa evaṃ cetaso parivitakko udapādi:  adhigato kho my āyaṃ dhammo gambhīro duddaso duranubodho santo paṇīto atakkāvacaro nipuṇo paṇḍitavedanīyo.  ālayarāmā kho panāyaṃ pajā ālayaratā ālayasammuditā. ālayarāmāya kho pana pajāya ālayaratāya ālayasammuditāya duddasaṃ idaṃ (5) ṭhānaṃ yad idaṃ idappaccayatā paṭiccasamuppādo,  idam pi kho ṭhānaṃ sududdasaṃ yad idaṃ sabbasaṃkhārasamatho sabbūpadhipaṭinissaggo taṇhakkhayo virāgo nirodho nibbānaṃ.  ahañ ceva kho pana dhammaṃ deseyyaṃ pare ca me na ājāneyyuṃ, so mam’ assa kilamatho, sā mam’ assa vihesā ’ti. |2| 
Then in the mind of the Blessed One, who was alone, and had retired into solitude, the following thought arose:  'I have penetrated this doctrine which is profound, difficult to perceive and to understand, which brings quietude of heart, which is exalted, which is unattainable by reasoning, abstruse, intelligible (only) to the wise.  This people, on the other hand, is given to desire, intent upon desire, delighting in desire.  To this people, therefore, who are given to desire, intent upon desire, delighting in desire, the law of causality and the chain of causation will be a matter difficult to understand; most difficult for them to understand will be also the extinction of all samkhâras, the getting rid of all the substrata (of existence), the destruction of desire, the absence of passion, quietude of heart, Nirvâna!  Now if I proclaim the doctrine, and other men are not able to understand my preaching, there would result but weariness and annoyance to me.' 
และพระองค์เสด็จไปในที่สงัดหลีกเร้นอยู่ ได้มีพระปริวิตกแห่งจิตเกิดขึ้นอย่างนี้ว่า  ธรรมที่เราได้บรรลุแล้วนี้ เป็นคุณอันลึกเห็นได้ยาก รู้ตามได้ยาก เป็นธรรมสงบ ประณีต ไม่หยั่งลงสู่ความตรึก ละเอียดเป็นวิสัยที่บัณฑิตจะพึงรู้แจ้ง  ส่วนหมู่สัตว์นี้เริงรมย์ด้วยอาลัย ยินดีในอาลัย ชื่นชมในอาลัย ฐานะคือความที่อวิชชาเป็นปัจจัยแห่งสังขารเป็นต้นนี้ เป็นสภาพอาศัยปัจจัยเกิดชั้นนี้ อันหมู่สัตว์ผู้เริงรมย์ด้วยอาลัย ยินดีในอาลัย. ชื่นชมในอาลัยเห็นได้ยาก  แม้ฐานะคือธรรมเป็นที่ระงับสังขารทั้งปวง เป็นที่สละคืนอุปธิทั้งปวง เป็นที่สิ้นตัณหา เป็นที่สิ้นกำหนัด เป็นที่ดับสนิทหากิเลสเครื่องร้อยรัดมิได้ นี้ก็แสนยากที่จะเห็นได้  ก็ถ้าเราจะพึงแสดงธรรม สัตว์เหล่าอื่นก็จะไม่พึงรู้ทั่วถึงธรรมของเรา ข้อนั้น จะพึงเป็นความเหน็ดเหนื่อยเปล่าแก่เรา จะพึงเป็นความลำบากเปล่าแก่เรา. 
อถ โข ภควโต รโหคตสฺส ปฏิสลฺลีนสฺส เอวํ เจตโส ปริวิตกฺโก อุทปาทิ  “อธิคโต โข มฺยายํ ธมฺโม คมฺภีโร ทุทฺทโส ทุรนุโพโธ สนฺโต ปณีโต อตกฺกาวจโร นิปุโณ ปณฺฑิตเวทนีโย.  อาลยรามา โข ปนายํ ปชา อาลยรตา อาลยสมฺมุทิตา. อาลยรามาย โข ปน ปชาย อาลยรตาย อาลยสมฺมุทิตาย ทุทฺทสํ อิทํ ฐานํ ยทิทํ อิทปฺปจฺจยตาปอจฺจสมุปฺปาโท  อิทมฺปิ โข ฐานํ สุทุทฺทสํ ยทิทํ สพฺพสงฺขารสมโถ สพฺพูปธิปฏินิสฺสคฺโค ตณฺหากฺขโย วิราโค นิโรโธ นิพฺพานํ.  อหญฺเจว โข ปน ธมฺมํ เทเสยฺยํ ปเร จ เม น อาชาเนยฺยุํ โส มมสฺส กิลมโถ สา มมสฺส วิเหสา”ติ. 
api ’ssu bhagavantaṃ imā anacchariyā gāthāyo paṭibhaṃsu pubbe assutapubbā:  kicchena me adhigataṃ halaṃ dāni pakāsituṃ, rāgadosaparetehi nāyaṃ dhammo susambudho. | paṭisotagāmi nipuṇaṃ gambhīraṃ duddasaṃ aṇuṃ rāgarattā na dakkhanti tamokhandhena āvuṭā ’ti. |3| 
And then the following . . . . stanzas, unheard before, occurred to the Blessed One:  'With great pains have I acquired it. Enough! why should I now proclaim it? This doctrine will not be easy to understand to beings that are lost in lust and hatred. 'Given to lust, surrounded with thick darkness, they will not see what is repugnant (to their minds), abstruse, profound, difficult to perceive, and subtle.' 
อนึ่ง อนัจฉริยคาถาเหล่านี้ ที่ไม่เคยได้สดับ ในกาลก่อน ปรากฏแก่พระผู้มีพระภาคเจ้า ว่าดังนี้:-  (อนัจฉริยคาถา) บัดนี้ เรายังไม่ควรจะประกาศธรรมที่เราได้บรรลุแล้วโดยยาก เพราะธรรมนี้อันสัตว์ผู้อันราคะและโทสะครอบงำแล้วไม่ตรัสรู้ได้ง่าย สัตว์ผู้อันราคะย้อมแล้วถูกกองอวิชชาหุ้มห่อแล้ว จักไม่เห็นธรรมอันละเอียดลึกซึ้ง ยากที่จะเห็น ละเอียดยิ่ง อันจะยังสัตว์ให้ถึงธรรมที่ทวนกระแส คือพระนิพพาน. 
อปิสฺสุ ภควนฺตํ อิมา อนจฺฉริยา คาถาโย ปฏิภํสุ ปุพฺเพ อสฺสุตปุพฺพา  “กิจฺเฉน เม อธิคตํ หลํ ทานิ ปกาสิตุํ. ราคโทสปเรเตหิ นายํ ธมฺโม สุสมฺพุโธฯ “ปฏิโสตคามึ นิปุณํ คมฺภีรํ ทุทฺทสํ อณุํ. ราครตฺตา น ทกฺขนฺติ ตโมขนฺเธน อาวุฏา ”ติฯ 
iti ha bhagavato paṭisañcikkhato appossukkatā4a cittaṃ namati no dhammadesanā4a.  atha kho Brahmuno Sahampatissa bhagavato cetasā cetoparivitakkaṃ aññāya etad ahosi:  nassati vata bho loko, vinassati vata bho loko, yatra hi nāma tathāgatassa arahato sammāsambuddhassa appossukkatāya cittaṃ namati no dhammadesanāyā ’ti. |4| 
When the Blessed One pondered over this matter, his mind became inclined to remain in quiet, and not to preach the doctrine.  Then Brahmâ Sahampati, understanding by the power of his mind the reflection which had arisen in the mind of the Blessed One, thought:  'Alas! the world perishes! Alas! the world is destroyed! if the mind of the Tathâgata, of the holy, of the absolute Sambuddha inclines itself to remain in quiet, and not to preach the doctrine.' 
เมื่อพระผู้มีพระภาคเจ้าทรงพิจารณาเห็นอยู่ ดังนี้ พระทัยก็น้อมไปเพื่อความขวนขวายน้อย ไม่น้อมไปเพื่อทรงแสดงธรรม.  (พรหมยาจนกถา เรื่องพรหมทูลอารธนา) [๘] ครั้งนั้น ท้าวสหัมบดีพรหมทราบพระปริวิตกแห่งจิตของพระผู้มีพระภาคเจ้าด้วยใจของตนแล้วเกิดความปริวิตกว่า  ชาวเราผู้เจริญ โลกจักฉิบหายหนอ โลกจักวินาศหนอ เพราะตถาคตอรหันตสัมมาสัมพุทธเจ้า ทรงน้อมพระทัยไปเพื่อความขวนขวายน้อย ไม่ทรงน้อมพระทัยไปเพื่อทรงแสดงธรรม. 
อิติห ภควโต ปฏิสญฺจิกฺขโต อปฺโปสฺสุกฺกตาย จิตฺตํ นมติ โน ธมฺมเทสนาย.  ๘. อถ โข พฺรหฺมุโน สหมฺปติสฺส ภควโต เจตสา เจโตปริวิตกฺกมญฺญาย เอตทโหสิ  “นสฺสติ วต โภ โลโก วินสฺสติ วต โภ โลโก ยตฺร หิ นาม ตถาคตสฺส อรหโต สมฺมาสมฺพุทฺธสฺส อปฺโปสฺสุกฺกตาย จิตฺตํ นมติ โน ธมฺมเทสนายา”ติ. 
atha kho Brahmā Sahampati, seyyathāpi nāma balavā puriso sammiñjitaṃ vā bāhaṃ pasāreyya pasāritaṃ vā bāhaṃ sammiñjeyya, evam eva Brahmaloke antarahito bhagavato purato pāturahosi. |5| 
Then Brahmâ Sahampati disappeared from Brahma's world, and appeared before the Blessed One (as quickly) as a strong man might stretch his bent arm out, or draw back his out-stretched arm. 
ลำดับนั้น ท้าวสหับดีพรหมได้หายไปในพรหมโลก มาปรากฏ ณ เบื้องพระพักตร์ของพระผู้มีพระภาคเจ้า ดุจบุรุษมีกำลังเหยียดแขนที่คู้ หรือคู้แขนที่เหยียดฉะนั้น 
อถ โข พฺรหฺมา สหมฺปติ เสยฺยถาปิ นาม พลวา ปุริโส สมิญฺชิตํ วา พาหํ ปสาเรยฺย ปสาริตํ วา พาหํ สมิญฺเชยฺย เอวเมว พฺรหฺมโลเก อนฺตรหิโต ภควโต ปุรโต ปาตุรโหสิ. 
atha kho Brahmā Sahampati ekaṃsaṃ uttarāsaṅgaṃ karitvā dakkhiṇañ jānumaṇḍalaṃ paṭhaviyaṃ nihantvā yena bhagavā ten’ añjaliṃ paṇāmetvā bhagavantaṃ etad avoca:  desetu bhante bhagavā dhammaṃ, desetu sugato dhammaṃ, santi sattā apparajakkhajātikā assavanatā dhammassa parihāyanti, bhavissanti dhammassa aññātāro ’ti. |6| 
And Brahmâ Sahampati adjusted his upper robe so as to cover one shoulder, and putting his right knee on the ground, raised his joined hands towards the Blessed One, and said to the Blessed One:  'Lord, may the Blessed One preach the doctrine! may the perfect One preach the doctrine! there are beings whose mental eyes are darkened by scarcely any dust; but if they do not hear the doctrine, they cannot attain salvation. These will understand the doctrine.' 
ครั้นแล้วห่มผ้าอุตราสงค์เฉวียงบ่าคุกชาณุมณฑลเบื้องขวาลงบนแผ่นดิน ประณมอัญชลีไปทางพระผู้มีภาคเจ้าแล้วได้ทูลคำนี้แด่พระผู้มีพระภาคเจ้าว่า  พระพุทธเจ้าข้า ขอพระผู้มีพระภาคเจ้าได้โปรดทรงแสดงธรรมขอพระสุคตได้โปรดทรงแสดงธรรม เพราะสัตว์ทั้งหลายจำพวกที่มีธุลีในจักษุน้อยมีอยู่ เพราะไม่ได้ฟังธรรมย่อมเสื่อม ผู้รู้ทั่วถึงธรรมจักมี. 
อถ โข พฺรหฺมา สหมฺปติ เอกํสํ อุตฺตราสงฺคํ กริตฺวา ทกฺขิณชาณุมณฺฑลํ ปถวิยํ นิหนฺตฺวา เยน ภควา เตนญฺชลึ ปณาเมตฺวา ภควนฺตํ เอตทโวจ  “เทเสตุ ภนฺเต ภควา ธมฺมํ เทเสตุ สุคโต ธมฺมํ. สนฺติ สตฺตา อปฺปรชกฺขชาติกา อสฺสวนตา ธมฺมสฺส ปริหายนฺติ ภวิสฺสนฺติ ธมฺมสฺส อญฺญาตาโร”ติ. 
idaṃ avoca Brahmā Sahampati, idaṃ vatvā athāparaṃ etad avoca:  pāturahosi Magadhesu pubbe dhammo asuddho samalehi cintito, apāpur’ etaṃ amatassa dvāraṃ suṇantu dhammaṃ vimalenānubuddhaṃ |  sele yathā pabbatamuddhini ṭhito yathāpi passe janataṃ samantato, tath’ ūpamaṃ dhammamayaṃ sumedha pāsādam āruyha samantacakkhu (6) sokāvatiṇṇañ janataṃ apetasoko avekkhassu jātijarābhibhūtaṃ. |  uṭṭhehi vīra vijitasaṃgāma satthavāha anaṇa vicara loke, desetu bhagavā dhammaṃ aññātāro bhavissantīti. |7| 
Thus spoke Brahmâ Sahampati; and when he had thus spoken, he further said:  'The Dhamma hitherto manifested in the country of Magadha has been impure, thought out by contaminated men. But do thou now open the door of the Immortal; let them hear the doctrine discovered by the spotless One!  'As a man standing on a rock, on mountain's top, might overlook the people all around, thus, O wise One, ascending to the highest palace of Truth, look down, all-seeing One, upon the people lost in suffering, overcome by birth and decay,--thou, who hast freed thyself from suffering!  'Arise, O hero; O victorious One! Wander through the world, O leader of the pilgrim band, who thyself art free from debt. May the Blessed One preach the doctrine; there will be people who can understand it!' 
ท้าวสหัมบดีพรหมได้กราบทูลดังนี้แล้ว จึงกราบทูลเป็นประพันธคาถาต่อไปว่า:-  (พรหมนิคนคาถา) เมื่อก่อนธรรมไม่บริสุทธิ์อันคนมีมลทินทั้งหลาย คิดแล้วได้ปรากฏในมคธชนบท ขอพระองค์ได้โปรดทรงเปิดประตูแห่งอมตธรรมนี้  ขอสัตว์ทั้งหลายจงฟังธรรมที่พระสัมมาสัมพุทธเจ้า ผู้หมดมลทินตรัสรู้แล้วตามลำดับเปรียบเหมือนบุรุษมีจักษุยืนอยู่บนยอดภูเขา ซึ่งล้วนแล้วด้วยศิลา พึงเห็นชุมชนได้โดยรอบฉันใด ข้าแต่พระองค์ผู้มีปัญญาดี มีพระปัญญาจักษุรอบคอบ ขอพระองค์ผู้ปราศจากความโศกจงเสด็จขั้น สู่ปราสาท อันสำเร็จด้วยธรรม แล้วทรง พิจารณาชุมชนผู้เกลื่อนกล่นด้วยความโศกผู้อันชาติและชราครอบงำแล้ว มีอุปมัยฉันนั้นเถิด  ข้าแต่พระองค์ผู้มีความเพียร ทรงชนะสงความ ผู้นำหมู่หาหนี้มิได้ ขอพระองค์จงทรงอุตสาหะเที่ยวไปในโลกเถิด ขอพระผู้มีพระภาคเจ้าโปรดแสดงธรรมเพราะสัตว์ผู้รู้ทั่วถึงธรรมจักมี. 
อิทมโวจ พฺรหฺมา สหมฺปติ อิทํ วตฺวาน อถาปรํ เอตทโวจ  “ปาตุรโหสิ มคเธสุ ปุพฺเพ. ธมฺโม อสุทฺโธ สมเลหิ จินฺติโต. อปาปุเรตํ อมตสฺส ทฺวารํ. สุณนฺตุ ธมฺมํ วิมเลนานุพุทฺธํฯ  “เสเล ยถา ปพฺพตมุทฺธนิฏฺฐิโต. ยถาปิ ปสฺเส ชนตํ สมนฺตโต. ตถูปมํ ธมฺมมยํ สุเมธ. ปาสาทมารุยฺห สมนฺตจกฺขุ. โสกาวติณฺณํ ชนตมเปตโสโก. อเวกฺขสฺสุ ชาติชราภิภูตํฯ  “อุฏฺเฐหิ วีร วิชิตสงฺคาม. สตฺถวาห อณณ วิจร โลเก. เทสสฺสุ ภควา ธมฺมํ.อญฺญาตาโร ภวิสฺสนฺตี”ติฯ 
evaṃ vutte bhagavā Brahmānaṃ Sahampatiṃ etad avoca:  mayhaṃ kho Brahme etad ahosi:  adhigato kho my āyaṃ dhammo gambhīro duddaso duranubodho . . . sā mam’ assa vihesā ’ti.  api ’ssu maṃ Brahme imā anacchariyā gāthāyo  paṭibhaṃsu pubbe me assutapubbā . . . āvuṭā ’ti.  iti ha me Brahme paṭisañcikkhato appossukkatāya cittaṃ namati no dhammadesanāyā ’ti. |8| 
When he had spoken thus, the Blessed One said to Brahmâ Sahampati:  'The following thought, Brahmâ, has occurred to me:  "I have penetrated this doctrine, . . . . ."  And also, Brahmâ, the following . . . . stanzas have presented themselves to my mind, which had not been heard (by me) before:  "With great pains, . . . . (&c., down to end of § 3).  " When I pondered over this matter, Brahmâ, my mind became inclined to remain in quiet, and not to preach the doctrine.' 
[เอวํ วุตฺเต ภควา พฺรหฺมานํ สหมฺปตึ เอตทโวจ  “มยฺหมฺปิ โข พฺรหฺเม เอตทโหสิ  ‘อธิคโตโข มฺยายํ ธมฺโม คมฺภีโร ทุทฺทโส ทุรนุโพโธ สนฺโต ปณีโต อตกฺกาวจโร นิปุโณ ปณฺฑิตเวทนีโย. อาลยรามา โข ปนายํ ปชา อาลยรตา อาลยสมฺมุทิตา. อาลยรามาย โข ปน ปชาย อาลยรตาย อาลยสมฺมุทิตาย ทุทฺทสํ อิทํ ฐานํ ยทิทํ อิทปฺปจฺจยตาปฏิจฺจสมุปฺปาโท อิทมฺปิ โข ฐานํ สุทุทฺทสํ ยทิทํ สพฺพสงฺขารสมโถ สพฺพูปธิปฏินิสฺสคฺโค ตณฺหากฺขโย วิราโค นิโรโธ นิพฺพานํ. อหญฺเจว โข ปน ธมฺมํ เทเสยฺยํ ปเร จ เม น อาชาเนยฺยุํ โส มมสฺส กิลมโถ สา มมสฺส วิเหสา’ติ.  อปิสฺสุ มํ พฺรหฺเม อิมา อนจฺฉริยา คาถาโย  ปฏิภํสุ ปุพฺเพ อสฺสุตปุพฺพา ‘กิจฺเฉน เม อธิคตํ หลํ ทานิ ปกาสิตุํ. ราคโทสปเรเตหิ นายํ ธมฺโม สุสมฺพุโธฯ ‘ปฏิโสตคามึ นิปุณํ คมฺภีรํ ทุทฺทสํ อณุํ. ราครตฺตา น ทกฺขนฺติ ตโมขนฺเธน อาวุฏา’ติฯ  อิติห เม พฺรหฺเม ปฏิสญฺจิกฺขโต อปฺโปสฺสุกฺกตาย จิตฺตํ นมติ โน ธมฺมเทสนายา”ติ. 
dutiyam pi kho Brahmā Sahampati bhagavantaṃ etad avoca:  desetu bhante bhagavā dhammaṃ . . . aññātāro bhavissantīti.  dutiyam pi kho bhagavā Brahmānaṃ Sahampatiṃ etad avoca:  mayham pi kho Brahme etad ahosi:  adhigato kho my āyaṃ dhammo gambhīro duddaso duranubodho . . . sā mam’ assa vihesā ’ti.  api ’ssu maṃ Brahme imā anacchari9ā gāthā9o paṭibhaṃsu pubbe me assutapubbā. . . āvuṭā ’ti.  iti ha me Brahme paṭisañcikkhato appossukkatāya cittaṃ namati no dhammadesanāyā ’ti. |9| 
And a second time Brahmâ Sahampati said to the Blessed One:  'Lord, may the Blessed One preach the doctrine, . . . . .'  And for the second time the Blessed One said to Brahmâ Sahampati:  'The following thought . . . . (&c., as before).' 
ทุติยมฺปิ โข พฺรหฺมา สหมฺปติ ภควนฺตํ เอตทโวจ  “เทเสตุ ภนฺเต ภควา ธมฺมํ เทเสตุ สุคโต ธมฺมํ สนฺติ สตฺตา อปฺปรชกฺขชาติกา อสฺสวนตา ธมฺมสฺส ปริหายนฺติ ภวิสฺสนฺติ ธมฺมสฺส อญฺญาตาโร”ติ. อิทมโวจ พฺรหฺมา สหมฺปติ อิทํ วตฺวาน อถาปรํ เอตทโวจ “ปาตุรโหสิ มคเธสุ ปุพฺเพ. ธมฺโม อสุทฺโธ สมเลหิ จินฺติโต. อปาปุเรตํ อมตสฺส ทฺวารํ. สุณนฺตุ ธมฺมํ วิมเลนานุพุทฺธํฯ “เสเล ยถา ปพฺพตมุทฺธนิฏฺฐิโต. ยถาปิ ปสฺเส ชนตํ สมนฺตโต. ตถูปมํ ธมฺมมยํ สุเมธ. ปาสาทมารุยฺห สมนฺตจกฺขุ. โสกาวติณฺณํ ชนตมเปตโสโก. อเวกฺขสฺสุ ชาติชราภิภูตํฯ “อุฏฺเฐหิ วีร วิชิตสงฺคาม. สตฺถวาห อณณ วิจร โลเก. เทสสฺสุ ภควา ธมฺมํ. อญฺญาตาโร ภวิสฺสนฺตี”ติฯ  ทุติยมฺปิ โข ภควา พฺรหฺมานํ สหมฺปตึ เอตทโวจ  “มยฺหมฺปิ โข พฺรหฺเม เอตทโหสิ  ‘อธิคโต โข มฺยายํ ธมฺโม คมฺภีโร ทุทฺทโส ทุรนุโพโธ สนฺโต ปณีโต อตกฺกาวจโร นิปุโณ ปณฺฑิตเวทนีโย. อาลยรามา โข ปนายํ ปชา อาลยรตา อาลยสมฺมุทิตา. อาลยรามาย โข ปน ปชาย อาลยรตาย อาลยสมฺมุทิตาย ทุทฺทสํ อิทํ ฐานํ ยทิทํ อิทปฺปจฺจยตาปฏิจฺจสมุปฺปาโท อิทมฺปิ โข ฐานํ สุทุทฺทสํ ยทิทํ สพฺพสงฺขารสมโถ สพฺพูปธิปฏินิสฺสคฺโค ตณฺหากฺขโย วิราโค นิโรโธ นิพฺพานํ. อหญฺเจว โข ปน ธมฺมํ เทเสยฺยํ ปเร จ เม น อาชาเนยฺยุํ โส มมสฺส กิลมโถ สา มมสฺส วิเหสา’ติ.  อปิสฺสุ มํ พฺรหฺเม อิมา อนจฺฉริยา คาถาโย ปฏิภํสุ ปุพฺเพ อสฺสุตปุพฺพา ‘กิจฺเฉน เม อธิคตํ หลํ ทานิ ปกาสิตุํ. ราคโทสปเรเตหิ นายํ ธมฺโม สุสมฺพุโธฯ ‘ปฏิโสตคามึ นิปุณํ คมฺภีรํ ทุทฺทสํ อณุํ. ราครตฺตา น ทกฺขนฺติ ตโมขนฺเธน อาวุฏา’ติฯ  อิติห เม พฺรหฺเม ปฏิสญฺจิกฺขโต อปฺโปสฺสุกฺกตาย จิตฺตํ นมติ โน ธมฺมเทสนายา”ติ. 
tatiyam pi kho Brahmā Sahampati bhagavantaṃ etad avoca:  desetu bhante bhagavā dhammaṃ . . . aññātāro bhavissantīti. 
And a third time Brahmâ Sahampati said to the Blessed One:  'Lord, may the Blessed One preach the doctrine, . . . . (&c., as before).' 
ตติยมฺปิ โข พฺรหฺมา สหมฺปติ ภควนฺตํ เอตทโวจ  “เทเสตุ ภนฺเต ภควา ธมฺมํ เทเสตุ สุคโต ธมฺมํ. สนฺติ สตฺตา อปฺปรชกฺขชาติกา อสฺสวนตา ธมฺมสฺส ปริหายนฺติ ภวิสฺสนฺติ ธมฺมสฺส อญฺญาตาโร”ติ. อิทมโวจ พฺรหฺมา สหมฺปติ อิทํ วตฺวาน อถาปรํ เอตทโวจ “ปาตุรโหสิ มคเธสุ ปุพฺเพ. ธมฺโม อสุทฺโธ สมเลหิ จินฺติโต. อปาปุเรตํ อมตสฺส ทฺวารํ. สุณนฺตุ ธมฺมํ วิมเลนานุพุทฺธํฯ “เสเล ยถา ปพฺพตมุทฺธนิฏฺฐิโต. ยถาปิ ปสฺเส ชนตํ สมนฺตโต. ตถูปมํ ธมฺมมยํ สุเมธ. ปาสาทมารุยฺห สมนฺตจกฺขุ. โสกาวติณฺณํ ชนตมเปตโสโก. อเวกฺขสฺสุ ชาติชราภิภูตํฯ “อุฏฺเฐหิ วีร วิชิตสงฺคาม. สตฺถวาห อณณ วิจร โลเก. เทสสฺสุ ภควา ธมฺมํ. อญฺญาตาโร ภวิสฺสนฺตี”ติฯ 
atha kho bhagavā Brahmuno ca ajjhesanaṃ viditvā sattesu ca kāruññataṃ paṭicca buddhacakkhunā lokaṃ volokesi.  addasa kho bhagavā buddhacakkhunā lokaṃ volokento satte apparajakkhe mahārajakkhe tikkhindriye mudindriye svākāre dvākāre suviññāpaye duviññāpaye appekacce paralokavajjabhayadassāvino viharante. |10| 
Then the Blessed One, when he had heard Brahmâ's solicitation, looked, full of compassion towards sentient beings, over the world, with his (all-perceiving) eye of a Buddha.  And the Blessed One, looking over the world with his eye of a Buddha, saw beings whose mental eyes were darkened by scarcely any dust, and beings whose eyes were covered by much dust, beings sharp of sense and blunt of sense, of good disposition and of bad disposition, easy to instruct and difficult to instruct, some of them seeing the dangers of future life and of sin. 
(ทรงพิจารณาสัตว์โลกเปรียบด้วยดอกบัว) [๙] ลำดับนั้น พระผู้มีพระภาคเจ้า ทรงทราบคำทูลอาราธนาของพรหมและทรงอาศัยความกรุณาในหมู่สัตว์ จึงทรงตรวจดูสัตว์โลกด้วยพุทธจักขุ  เมื่อตรวจดูสัตว์โลกด้วยพุทธจักขุ ได้ทรงเห็นสัตว์ทั้งหลายที่มีธุลีคือกิเลสในจักษุน้อยก็มี ที่มีธุลีคือกิเลสในจักษุมากก็มี ที่มีอินทรีย์แก่กล้าก็มี ที่มีอินทรีย์อ่อนก็มี ที่มีอาการดีก็มี ที่มีอาการทรามก็มี ที่จะสอนให้รู้ได้ง่ายก็มี ที่จะสอนให้รู้ได้ยากก็มี ที่มีปรกติเห็นปรโลกและโทษโดยความเป็นภัยอยู่ก็มี. 
๙. อถ โข ภควา พฺรหฺมุโน จ อชฺเฌสนํ วิทิตฺวา สตฺเตสุ จ การุญฺญตํ ปฏิจฺจ พุทฺธจกฺขุนา โลกํ โวโลเกสิ.  อทฺทสา โข ภควา พุทฺธจกฺขุนา โลกํ โวโลเกนฺโต สตฺเต อปฺปรชกฺเข มหารชกฺเข ติกฺขินฺทฺริเย มุทินฺทฺริเย สฺวากาเร ทฺวากาเร สุวิญฺญาปเย ทุวิญฺญาปเย อปฺเปกจฺเจ ปรโลกวชฺชภยทสฺสาวิเน วิหรนฺเต อปฺเปกจฺเจ น ปรโลกวชฺชภยทสฺสาวิเน วิหรนฺเต. 
seyyathāpi nāma uppaliniyaṃ vā paduminiyaṃ vā puṇḍarīkiniyaṃ vā appekaccāni uppalāni vā padumāni vā puṇḍarīkāni vā udake jātāni udake saṃvaḍḍhāni udakānuggatāni antonimuggaposīni, appekaccāni uppalāni vā padumāni vā puṇḍarīkāni vā udake jātāni udake saṃvaḍḍhāni samodakaṇ ṭhitāni, appekaccāni uppalāni vā padumāni vā puṇḍarīkāni vā udake jātāni udake saṃvaḍḍhāni udakā accuggamma ṭhitāni anupalittāni udakena, |11| 
As, in a pond of blue lotuses, or water-roses, or white lotuses, some blue lotuses, or water-roses, or white lotuses, born in the water, grown up in the water, do not emerge over the water, but thrive hidden under the water; and other blue lotuses, or water-roses, or white lotuses, born in the water, grown up in the water, reach to the surface of the water; and other blue lotuses, or water-roses, or white lotuses, born in the water, grown up in the water, stand emerging out of the water, and the water does not touch them,-- 
มีอุปมาเหมือนดอกอุบลในกออุบล ดอกปทุมในกอปทุม หรือดอกบุณฑริกในกอบุณฑริก ที่เกิดแล้วในน้ำ เจริญแล้วในน้ำ งอกงามแล้วในน้ำบางเหล่ายังจมในน้ำ อันน้ำเลี้ยงไว้ บางเหล่าตั้งอยู่เสมอน้ำ บางเหล่าตั้งอยู่พ้นน้ำ อันน้ำไม่ติดแล้ว 
เสยฺยถาปิ นาม อุปฺปลินิยํ วา ปทุมินิยํ วา ปุณฺฑรีกินิยํ วา อปฺเปกจฺจานิ อุปฺปลานิ วา ปทุมานิ วา ปุณฺฑรีกานิ วา อุทเก ชาตานิ อุทเก สํวฑฺฒานิ อุทกานุคฺคตานิ อนฺโต นิมุคฺคโปสีนิ อปฺเปกจฺจานิ อุปฺปลานิ วา ปทุมานิ วา ปุณฺฑรีกานิ วา อุทเก ชาตานิ อุทเก สํวฑฺฒานิ สโมทกํ ฐิตานิ อปฺเปกจฺจานิ อุปฺปลานิ วา ปทุมานิ วา ปุณฺฑรีกานิ วา อุทเก ชาตานิ อุทเก สํวฑฺฒานิ อุทกํ อจฺจุคฺคมฺม ฐิตานิ อนุปลิตฺตานิ อุทเกน 
evam eva bhagavā buddhacakkhunā lokaṃ volokento addasa satte apparajakkhe mahārajakkhe (7) tikkhindriye mudindriye svākāre dvākāre suviññāpaye duviññāpaye appekacce paralokavajjabhayadassāvino viharante, disvāna Brahmānaṃ Sahampatiṃ gāthāya ajjhabhāsi:  apārutā tesaṃ amatassa dvārā ye sotavanto, pamuñcantu saddhaṃ. vihiṃsasaññī paguṇaṃ na bhāsi dhammaṃ paṇītaṃ manujesu Brahme ’ti. |12| 
Thus the Blessed One, looking over the world with his eye of a Buddha, saw beings whose mental eyes were darkened, . . . . (&c., the text repeats § 10); and when he had thus seen them, he addressed Brahmâ Sahampati in the following stanza:  'Wide opened is the door of the Immortal to all who have ears to hear; let them send forth faith to meet it. The Dhamma sweet and good I spake not, Brahmâ, despairing of the weary task, to men.' 
พระผู้มีพระภาคเจ้าทรงตรวจดูสัตว์โลกด้วยพุทธจักขุ ได้ทรงเห็นสัตว์ทั้งหลาย บางพวกมีธุลีคือกิเลสในจักษุน้อย บางพวกมีธุลีคือกิเลสในจักษุมากบางพวกมีอินทรีย์แก่กล้า บางพวกมีอินทรีย์อ่อน บางพวกมีอาการดี บางพวกมีอาการทราม บางพวกสอนให้รู้ได้ง่าย บางพวกสอนให้รู้ได้ยาก บางพวกมีปรกติเห็นปรโลกและโทษโดยความเป็นภัยอยู่ ฉันนั้น เหมือนกัน ครั้นแล้วได้ตรัสดาถาตอบท้าวสหัมบดีพรหมว่า ดังนี้:-  เราเปิดประตูอมตะแก่ท่านแล้ว สัตว์เหล่าใดจะฟัง จงปล่อยศรัทธามาเถิด ดูก่อนพรหม เพราะเรามีความสำคัญในความลำบาก จงไม่แสดงธรรมที่เราคล่องแคล่วประณีต ในหมู่มนุษย์. 
เอวเมวํ ภควา พุทฺธจกฺขุนา โลกํ โวโลเกนฺโต อทฺทส สตฺเต อปฺปรชกฺเข มหารชกฺเข ติกฺขินฺทฺริเย มุทินฺทฺริเย สฺวากาเร ทฺวากาเร สุวิญฺญาปเย ทุวิญฺญาปเย อปฺเปกจฺเจ ปรโลกวชฺชภยทสฺสาวิเน วิหรนฺเต อปฺเปกจฺเจ น ปรโลกวชฺชภยทสฺสาวิเน วิหรนฺเต ทิสฺวาน พฺรหฺมานํ สหมฺปตึ คาถาย ปจฺจภาสิ  “อปารุตา เตสํ อมตสฺส ทฺวารา. เย โสตวนฺโต ปมุญฺจนฺตุ สทฺธํ. วิหึสสญฺญี ปคุณํ น ภาสึ. ธมฺมํ ปณีตํ มนุเชสุ พฺรหฺเม”ติฯ 
atha kho Brahmā Sahampati katāvakāso kho ’mhi bhagavatā dhammadesanāyā ’ti bhagavantaṃ abhivādetvā padakkhiṇaṃ katvā tatth’ ev’ antaradhāyi. |13| 
Then Brahmâ Sahampati understood: 'The Blessed One grants my request that He should preach the doctrine.' And he bowed down before the Blessed One, and passed round him with his right side towards him; and then he straightway disappeared. 
ครั้นท้าวสหัมบดีพรหมทราบว่า พระผู้มีพระภาคเจ้าทรงประทานโอกาสเพื่อจะแสดงธรรมแล้ว จึงถวายบังคมพระผู้มีพระภาคเจ้าทำประทักษิณแล้ว อันตรธานไปในที่นั้นแล. 
อถ โข พฺรหฺมา สหมฺปติ “กตาวกาโส โขมฺหิ ภควตา ธมฺมเทสนายา”ติ ภควนฺตํ อภิวาเทตฺวา ปทกฺขิณํ กตฺวา ตตฺเถวนฺตรธายิ. 
Brahmayācanakathā niṭṭhitā. ||5|| 
Here ends the story of Brahmâ's request. 
พรหมยาจนกถา จบ 
พฺรหฺมยาจนกถา นิฏฺฐิตา. 
atha kho bhagavato etad ahosi: kassa nu kho ahaṃ paṭhamaṃ dhammaṃ deseyyaṃ, ko imaṃ dhammaṃ khippam eva ājānissatīti.  atha kho bhagavato etad ahosi: ayaṃ kho Āḷāro Kālāmo paṇḍito vyatto medhāvī dīgharattaṃ apparajakkhajātiko.  yaṃ nūnāhaṃ Āḷārassa Kālāmassa paṭhamaṃ dhammaṃ deseyyaṃ, so imaṃ dhammaṃ khippam eva ājānissatīti. |1| 
Now the Blessed One thought: 'To whom shall I preach the doctrine first? Who will understand this doctrine easily?'  And the Blessed One thought: 'There is Âlâra Kâlâma; he is clever, wise, and learned; long since have the eye of his mind been darkened by scarcely any dust.  What if I were to preach the doctrine first to Âlâra Kâlâma? He will easily understand this doctrine.' 
พุทธปริวิตกกถา [๑๐] ครั้งนั้น พระผู้มีพระภาคเจ้าได้ทรงดำริว่า เราจะพึงแสดงธรรมแก่ใครก่อนหนอ ใครจักรู้ทั่วถึงธรรมนี้ได้ฉับพลัน  ครั้นแล้วทรงพระดำริต่อไปว่าอาฬารดาบสกาลามโคตรนี้แล เป็นผู้ฉลาด เฉียบแหลม มีปัญญามีธุลีคือกิเลสในจักษุน้อยเป็นปรกติมานาน  ถ้ากระไร เราพึงแสดงธรรมแก่อาฬารดาบสกาลามโคตรก่อน เธอจักรู้ทั่วถึงธรรมนี้ได้ฉับพลัน 
(๖. ปญฺจวคฺคิยกถา) ๑๐. อถ โข ภควโต เอตทโหสิ “กสฺส นุ โข อหํ ปฐมํ ธมฺมํ เทเสยฺยํ? โก อิมํ ธมฺมํ ขิปฺปเมว อาชานิสฺสตี”ติ?  อถ โข ภควโต เอตทโหสิ “อยํ โข อาฬาโร กาลาโม ปณฺฑิโต พฺยตฺโต เมธาวี ทีฆรตฺตํ อปฺปรชกฺขชาติโก  ยํนูนาหํ อาฬารสฺส กาลามสฺส ปฐมํ ธมฺมํ เทเสยฺยํ โส อิมํ ธมฺมํ ขิปฺปเมว อาชานิสฺสตี”ติ. 
atha kho antarahitā devatā bhagavato ārocesi: sattāhakālaṃkato bhante Āḷāro Kālāmo ’ti.  bhagavato pi kho ñāṇaṃ udapādi sattāhakālaṃ kato Āḷāro Kālāmo ’ti.  atha kho bhagavato etad ahosi: mahājāniyo kho Āḷāro Kālāmo, sace hi so imaṃ dhammaṃ suṇeyya, khippam eva ājāneyyā ’ti. |2| 
Then an invisible deity said to the Blessed One: 'Âlâra Kâlâma has died, Lord, seven days ago.'  And knowledge sprang up in the Blessed One's mind that Âlâra Kâlâma had died seven days ago.  And the Blessed One thought: 'Highly noble was Alâra Kâlâma. If he had heard my doctrine, he would easily have understood it.' 
ทีนั้น เทพดาอันตรธานมากราบทูลพระผู้มีพระภาคเจ้าว่า อาฬารดาบสกาลามโคตร สิ้นชีพได้ ๗ วันแล้ว  พระพุทธเจ้าข้า แม้พระผู้มีพระภาคเจ้าก็ทรงทราบว่า อาฬารคาบสกาลามโคตรสิ้นชีพได้ ๗ วันแล้ว  จึงทรงพระดำริว่าอาฬารดาบสกาลามโคตรเป็นผู้มีความเสื่อมใหญ่ เพราะถ้าเธอได้ฟังธรรมนี้จะพึงรู้ทั่วถึงได้ฉับพลัน. 
อถ โข อนฺตรหิตา เทวตา ภควโต อาโรเจสิ “สตฺตาหกาลงฺกโต ภนฺเต อาฬาโร กาลาโม”ติ.  ภควโตปิ โข ญาณํ อุทปาทิ “สตฺตาหกาลงฺกโต อาฬาโร กาลาโม”ติ.  อถ โข ภควโต เอตทโหสิ “มหาชานิโย โข อาฬาโร กาลาโม สเจ หิ โส อิมํ ธมฺมํ สุเณยฺย ขิปฺปเมว อาชาเนยฺยา”ติ. 
atha kho bhagavato etad ahosi: kassa nu kho ahaṃ paṭhamaṃ dhammaṃ deseyyaṃ, ko imaṃ dhammaṃ khippam eva ājānissatīti.  atha kho bhagavato etad ahosi: ayaṃ kho Uddako Rāmaputto paṇḍito vyatto medhāvī dīgharattaṃ apparajakkhajātiko.  yaṃ nūnāhaṃ Uddakassa Rāmaputtassa paṭhamaṃ dhammaṃ deseyyaṃ, so imaṃ dhammaṃ khippam eva ājānissatīti. |3| 
Then the Blessed One thought: 'To whom shall I preach the doctrine first? Who will understand this doctrine easily?'  And the Blessed One thought: 'There is Uddaka Râmaputta; he is clever, wise, and learned; long since have the eye or his mind been darkened by scarcely any dust.  What if I were to preach the doctrine first to Uddaka Râmaputta? He will easily understand this doctrine.' 
ลำดับนั้น พระผู้มีพระภาคเจ้าได้ทรงพระดำริว่า เราจะพึงแสดงธรรมแก่ใครก่อนหนอ ใครจักรู้ทั่วถึงธรรมนี้ได้ฉับพลัน  ครั้นแล้วทรงพระดำริต่อไปว่าอุทกดาบสรามบุตรนี้แลเป็นผู้ฉลาดเฉียบแหลม มีปัญญา มีธุลีคือกิเลสในจักษุน้อยเป็นปรกติมานาน  ถ้ากระไร เราพึงแสดงธรรมแก่อุทกดาบสรามบุตรก่อนเธอจักรู้ทั่วถึงธรรมนี้ได้ฉับพลัน 
อถ โข ภควโต เอตทโหสิ “กสฺส นุ โข อหํ ปฐมํ ธมฺมํ เทเสยฺยํ? โก อิมํ ธมฺมํ ขิปฺปเมว อาชานิสฺสตี”ติ? อถ โข ภควโต เอตทโหสิ  “อยํ โข อุทโก รามปุตฺโต ปณฺฑิโต พฺยตฺโต เมธาวี ทีฆรตฺตํ อปฺปรชกฺขชาติโก  ยํนูนาหํ อุทกสฺส รามปุตฺตสฺส ปฐมํ ธมฺมํ เทเสยฺยํ โส อิมํ ธมฺมํ ขิปฺปเมว อาชานิสฺสตี”ติ. 
atha kho antarahitā devatā bhagavato ārocesi: abhidosakālaṃkato bhante Uddako Rāmaputto ’ti.  bhagavato pi kho ñāṇaṃ udapādi abhidosakālaṃkato Uddako Rāmaputto ’ti.  atha kho bhagavato etad ahosi: mahājāniyo kho Uddako Rāmaputto, sace hi so imaṃ dhammaṃ suṇeyya, khippam eva ājāneyyā ’ti. |4| 
Then an invisible deity said to the Blessed One: 'Uddaka Râmaputta has died, Lord, yesterday evening.'  And knowledge arose in the Blessed One's mind that Uddaka Râmaputta had died the previous evening.  And the Blessed One thought: 'Highly noble was Uddaka Râmaputta. If he had heard my doctrine, he would easily have understood it.' 
ทีนั้น เทพดาอันตธานมากราบทูลพระผู้มีพระภาคเจ้าว่า อุทกดาบสรามบุตรสิ้นชีพเสียวานนี้แล้ว  พระพุทธเจ้าข้าแม้พระผู้มีพระภาคเจ้าก็ทรงทราบว่า อุทกดาบสรามบุตรสิ้นชีพเสียวานนี้แล้ว  จึงทรงพระดำริว่าอุทกดาบสรามบุตรนี้ เป็นผู้มีความเสื่อมใหญ่ เพราะถ้าเธอได้ฟังธรรมนี้ จะพึงรู้ทั่วถึงได้ฉับพลัน. 
อถ โข อนฺตรหิตา เทวตา ภควโต อาโรเจสิ “อภิโทสกาลงฺกโต ภนฺเต อุทโก รามปุตฺโต”ติ.  ภควโตปิ โข ญาณํ อุทปาทิ “อภิโทสกาลงฺกโต อุทโก รามปุตฺโต”ติ.  อถ โข ภควโต เอตทโหสิ “มหาชานิโย โข อุทโก รามปุตฺโต สเจ หิ โส อิมํ ธมฺมํ สุเณยฺย ขิปฺปเมว อาชาเนยฺยา”ติ 
atha kho bhagavato etad ahosi: kassa nu kho ahaṃ paṭhamaṃ dhammaṃ deseyyaṃ, ko imaṃ dham-(8)maṃ khippam eva ājānissatīti. 
Then the Blessed One thought: 'To whom shall I preach the doctrine first? Who will understand this doctrine easily?' 
ลำดับนั้น พระผู้มีพระภาคเจ้าได้ทรงพระดำริว่า เราจะพึงแสดงธรรมแก่ใครก่อนหนอ ใครจักรู้ทั่วถึงธรรมนี้ได้ฉับพลัน 
อถ โข ภควโต เอตทโหสิ “กสฺส นุ โข อหํ ปฐมํ ธมฺมํ เทเสยฺยํ? โก อิมํ ธมฺมํ ขิปฺปเมว อาชานิสฺสตี”ติ? 
atha kho bhagavato etad ahosi: bahūpakārā kho ’me pañcavaggiyā bhikkhū, ye maṃ padhānapahitattaṃ upaṭṭhahiṃsu.  yaṃ nūnāhaṃ pañcavaggiyānaṃ bhikkhūnaṃ paṭhamaṃ dhammaṃ deseyyan ti. |5| 
And the Blessed One thought: 'The five Bhikkhus have done many services to me; they attended on me during the time of my exertions (to attain sanctification by undergoing austerities).  What if I were to preach the doctrine first to the five Bhikkhus?' 
ครั้นแล้วทรงพระดำริต่อไปว่าภิกษุปัญจวัคคีย์มีอุปการะแก่เรามาก ได้บำรุงเราผู้ตั้งหน้าบำเพ็ญเพียรอยู่  ถ้ากระไรเราพึงแสดงธรรมแก่ภิกษุปัญจวัคคีย์ก่อน 
อถ โข ภควโต เอตทโหสิ “พหุการา โข เม ปญฺจวคฺคิยา ภิกฺขู เย มํ ปธานปหิตตฺตํ อุปฏฺฐหึสุ  ยํนูนาหํ ปญฺจวคฺคิยานํ ภิกฺขูนํ ปฐมํ ธมฺมํ เทเสยฺย”นฺติ. 
atha kho bhagavato etad ahosi:  kahaṃ nu kho etarahi pañcavaggiyā bhikkhū viharantīti.  addasa kho bhagavā dibbena cakkhunā visuddhena atikkantamānusakena pañcavaggiye bhikkhū Bārāṇasiyaṃ viharante Isipatane migadāye.  atha kho bhagavā Uruvelāyaṃ yathābhirantaṃ viharitvā yena Bārāṇasī tena cārikaṃ pakkāmi. |6| 
Now the Blessed One thought:  'Where do the five Bhikkhus dwell now?'  And the Blessed One saw by the power of his divine, clear vision, surpassing that of men, that the five Bhikkhus were living at Benares, in the deer park Isipatana.  And the Blessed One, after having remained at Uruvelâ as long as he thought fit, went forth to Benares. 
ครั้นแล้วได้ทรงพระดำริต่อไปว่า  บัดนี้ภิกษุปัญจวัคคีย์อยู่ที่ไหนหนอ  พระผู้มีพระภาคเจ้าได้ทรงเห็นภิกษุปัญจวัคคีย์อยู่ ณ ป่าอิสิปตนะมฤคทายวัน เขตพระนครพาราณสี ด้วยทิพพจักขุอันบริสุทธิ์ ล่วงจักษุมนุษย์  ครั้งพระองค์ประทับอยู่ ณ อุรุเวลาประเทศตามควรแก่พุทธาภิรมย์แล้ว เสด็จจาริกไปทางพระนครพาราณสี. 
อถ โข ภควโต เอตทโหสิ  “กหํ นุ โข เอตรหิ ปญฺจวคฺคิยา ภิกฺขู วิหรนฺตี”ติ?  อทฺทสา โข ภควา ทิพฺเพน จกฺขุนา วิสุทฺเธน อติกฺกนฺตมานุสเกน ปญฺจวคฺคิเย ภิกฺขู พาราณสิยํ วิหรนฺเต อิสิปตเน มิคทาเย.  อถ โข ภควา อุรุเวลายํ ยถาภิรนฺตํ วิหริตฺวา เยน พาราณสี เตน จาริกํ ปกฺกามิ. 
addasa kho Upako ājīviko bhagavantaṃ antarā ca Gayaṃ antarā ca bodhiṃ addhānamaggapaṭipannaṃ, disvāna bhagavantaṃ etad avoca:  vippasannāni kho te āvuso indriyāni, parisuddho chavivaṇṇo pariyodāto.  kaṃ ’si tvaṃ āvuso uddissa pabbajito, ko vā te satthā, kassa vā tvaṃ dhammaṃ rocesīti. |7| 
Now Upaka, a man belonging to the Âgîvaka sect (i.e. the sect of naked ascetics), saw the Blessed One travelling on the road, between Gayâ and the Bodhi tree; and when he saw him, he said to the Blessed One:  'Your countenance, friend, is serene; your complexion is pure and bright.  In whose name, friend, have you retired from the world? Who is your teacher? Whose doctrine do you profess?' 
เรื่องอุปกาชีวก [๑] อาชีวกชื่ออุปกะได้พบพระผู้มีพระภาคเจ้าเสด็จดำเนินทางไกลระหว่างแม่น้ำคยาและไม้โพธิพฤกษ์ ครั้นแล้วได้ทูลคำนี้แด่พระผู้มีพระภาคเจ้าว่า  ดูก่อนอาวุโส อินทรีย์ของท่านผ่องใสยิ่งนัก ผิวพรรณของท่านบริสุทธิ์ผุดผ่อง  ดูก่อนอาวุโส ท่านบวชอุทิศใคร ใครเป็นศาสดาของท่าน หรือท่านชอบธรรมของใคร 
๑๑. อทฺทสา โข อุปโก อาชีวโก ภควนฺตํ อนฺตรา จ คยํ อนฺตรา จ โพธึ อทฺธานมคฺคปฺปฏิปนฺนํ ทิสฺวาน ภควนฺตํ เอตทโวจ  “วิปฺปสนฺนานิ โข เต อาวุโส อินฺทฺริยานิ ปริสุทฺโธ ฉวิวณฺโณ ปริโยทาโต.  กํสิ ตฺวํ อาวุโส อุทฺทิสฺส ปพฺพชิโต? โก วา เต สตฺถา? กสฺส วา ตฺวํ ธมฺมํ โรเจสี”ติ? 
evaṃ vutte bhagavā Upakaṃ ājīvikaṃ gāthāhi ajjhabhāsi:  sabbābhibhū sabbavidū ’ham asmi sabbesu dhammesu anupalitto sabbañjaho taṇhakkhaye vimutto, sayaṃ abhiññāya kam uddiseyyaṃ. | na me ācariyo atthi, sadiso me na vijjati, sadevakasmiṃ lokasmiṃ n’ atthi me paṭipuggalo. | ahaṃ hi arahā loke, ahaṃ satthā anuttaro, eko ’mhi sammāsambuddho, sītibhūto ’smi nibbuto. | dhammacakkaṃ pavattetuṃ gacchāmi Kāsinaṃ puraṃ, andhabhūtasmi lokasmiṃ āhañhi amatadudrabhin ti. |8| 
When Upaka the Âgîvaka had spoken thus, the Blessed One addressed him in the following stanzas:  'I have overcome all foes; I am all-wise; I am free from stains in every way; I have left everything; and have obtained emancipation by the destruction of desire. Having myself gained knowledge, whom should I call my master? I have no teacher; no one is equal to me; in the world of men and of gods no being is like me. I am the holy One in this world, I am the highest teacher, I alone am the absolute Sambuddha; I have gained coolness (by the extinction of all passion) and have obtained Nirvâna. To found the Kingdom of Truth I go to the city of the Kâsis (Benares); I will beat the drum of the Immortal in the darkness of this world.' 
เมื่ออุปกาชีวกกราบทูลอย่างนี้แล้ว พระผู้มีพระภาคเจ้าได้ตรัสพระคาถาตอบ อุปกาชีวกว่าดังนี้:-  เราเป็นผู้ครอบงำธรรมทั้งปวง รู้ธรรมทั้งปวงอันตัณหาและทิฏฐิ ไม่ฉาบทาแล้วในธรรมทั้งปวง ละธรรมเป็นไปในภูมิสานได้หมด พ้นแล้วเพราะความสิ้นไปแห่งตัณหา เราตรัส รู้ยิ่งเองแล้วจะพึงอ้างใครเล่าอาจารย์ของเราไม่มี คนเช่นเราก็ไม่มี บุคคลเสมอเหมือนเราก็ไม่มี ในโลกกับทั้งเทวโลกเพราะเราเป็นพระอรหันต์ในโลกเราเป็นศาสดาหาศาสดาอื่นยิ่งกว่ามิได้ เราผู้เดียวเป็นพระสัมมาสัมพุทธะ เราเป็นผู้เย็นใจ ดับกิเลสได้แล้ว เราจะไปเมืองในแคว้นกาสี เพื่อประกาศธรรมจักรให้เป็นไป เราจะตีกลองอมตะในโลกอันมืด เพื่อให้สัตว์ได้ธรรมจักษุ. 
เอวํ วุตฺเต ภควา อุปกํ อาชีวกํ คาถาหิ อชฺฌภาสิ  “สพฺพาภิภู สพฺพวิทูหมสฺมิ สพฺเพสุ ธมฺเมสุ อนูปลิตฺโต. สพฺพญฺชโห ตณฺหากฺขเย วิมุตฺโต สยํ อภิญฺญาย กมุทฺทิเสยฺยํฯ “น เม อาจริโย อตฺถิ สทิโส เม น วิชฺชติ. สเทวกสฺมึ โลกสฺมึ นตฺถิ เม ปฏิปุคฺคโลฯ “อหญฺหิ อรหา โลเก อหํ สตฺถา อนุตฺตโร. เอโกมฺหิ สมฺมาสมฺพุทฺโธ สีติภูโตสฺมิ นิพฺพุโตฯ “ธมฺมจกฺกํ ปวตฺเตตุํ คจฺฉามิ กาสินํ ปุรํ. อนฺธีภูตสฺมึ โลกสฺมึ อาหญฺฉํ อมตทุนฺทุภิ”นฺติฯ 
yathā kho tvaṃ āvuso paṭijānāsi arah’ asi anantajino ’ti:  mādisā ve jinā honti ye pattā āsavakkhayaṃ, jitā me pāpakā dhammā tasmāham Upaka jino ’ti.  evaṃ vutte Upako ājīviko hupeyya āvuso ’ti vatvā sīsaṃ okampetvā ummaggaṃ gahetvā pakkāmi. |9| 
(Upaka replied): 'You profess then, friend, to be the holy, absolute Gina.'  (Buddha said): 'Like me are all Ginas who have reached extinction of the Âsavas; I have overcome (gitâ me) all states of sinfulness; therefore, Upaka, am I the Gina.'  When he had spoken thus, Upaka the Âgîvaka replied: 'It may be so, friend;' shook his head, took another road, and went away. 
อุปกาชีวกทูลว่า ดูก่อนอาวุโส ท่านปฏิญาณโดยประการใด ท่านควรเป็นผู้ชนะหาที่สุดมิได้ โดยประการนั้น.  พระผู้มีพระภาคเจ้าตรัสว่า บุคคลเหล่าใดถึงความสิ้นอาสวะแล้วบุคคลเหล่านั้นชื่อว่าเป็นผู้ชนะเช่นเรา ดูก่อนอุปกะ เราชนะธรรมอันลามกแล้วเพราะฉะนั้นเราจึงชื่อว่าเป็นผู้ชนะ  เมื่อพระผู้มีพระภาคเจ้าตรัสอย่างนี้แล้ว อุปกาชีวกทูลว่า พึงเป็นผู้ชนะเถิดท่านผู้มีอายุดังนี้แล้ว ก้มศีรษะลงแล้วแยกทางหลีกไป. เรื่องอุปกาชีวก จบ 
ยถา โข ตฺวํ อาวุโส ปฏิชานาสิ อรหสิ อนนฺตชิโนติ.  “มาทิสา เว ชินา โหนฺติ เย ปตฺตา อาสวกฺขยํ. ชิตา เม ปาปกา ธมฺมา ตสฺมาหมุปก ชิโน”ติฯ  เอวํ วุตฺเต อุปโก อาชีวโก หุเปยฺยปาวุโสติ วตฺวา สีสํ โอกมฺเปตฺวา อุมฺมคฺคํ คเหตฺวา ปกฺกามิ. 
atha kho bhagavā anupubbena cārikaṃ caramāno yena Bārāṇasī Isipatanamigadāyo yena pañcavaggiyā bhikkhū ten’ upasaṃkami.  addasaṃsu kho pañcavaggiyā bhikkhū bhagavantaṃ dūrato ’va āgacchantaṃ, disvāna aññamaññaṃ saṇṭhapesuṃ:  ayaṃ āvuso samaṇo Gotamo āgacchati bāhulliko (9) padhānavibbhanto āvatto bāhullāya.  so n’ eva abhivādetabbo na paccuṭṭhātabbo nāssa pattacīvaraṃ paṭiggahetabbaṃ, api ca kho āsanaṃ ṭhapetabbaṃ, sace ākaṅkhissati nisīdissatīti. |10| 
And the Blessed One, wandering from place to place, came to Benares, to the deer park Isipatana, to the place where the five Bhikkhus were.  And the five Bhikkhus saw the Blessed One coming from afar; when they saw him, they concerted with each other, saying,  'Friends, there comes the samana Gotama, who lives in abundance, who has given up his exertions, and who has turned to an abundant life.  Let us not salute him; nor rise from our seats when he approaches; nor take his bowl and his robe from his hands. But let us put there a seat; if he likes, let him sit down.' 
เรื่องพระปัญจวัคคีย์ [๑๒] ครั้งนั้น พระผู้มีพระภาคเจ้าเสด็จจาริกโดยลำดับ ถึงป่าอิสิปตนะมฤคทายวัน แขวงเมืองพาราณสี เสด็จเข้าไปทางสำนักพระปัญจวัคคีย์  พระปัญจวัคคีย์ได้เห็นพระผู้มีพระภาคเจ้าเสด็จมาแต่ไกล แล้วได้นัดหมายกันและกันว่า  ท่านทั้งหลาย พระสมณะโคตมนี้เป็นผู้มักมาก คลายความเพียร เวียนนาเพื่อความเป็นคนมักมาก กำลังเสด็จมา  พวกเราไม่พึงอภิวาท ไม่พึงลุกขึ้นต้อนรับพระองค์ ไม่พึงรับบาตรจีวรของพระองค์ แต่พึงวางอาสนะไว้ถ้าพระองค์ปรารถนาก็จักประทับนั่ง 
๑๒. อถ โข ภควา อนุปุพฺเพน จาริกํ จรมาโน เยน พาราณสี อิสิปตนํ มิคทาโย เยน ปญฺจวคฺคิยา ภิกฺขู เตนุปสงฺกมิ.  อทฺทสํสุ โข ปญฺจวคฺคิยา ภิกฺขู ภควนฺตํ ทูรโตว อาคจฺฉนฺตํ ทิสฺวาน อญฺญมญฺญํ กติกํ สณฺฐเปสุํ  “อยํ อาวุโส สมโณ โคตโม อาคจฺฉติ พาหุลฺลิโก ปธานวิพฺภนฺโต อาวตฺโต พาหุลฺลาย.  โส เนว อภิวาเทตพฺโพ น ปจฺจุฏฺฐาตพฺโพ นาสฺส ปตฺตจีวรํ ปฏิคฺคเหตพฺพํ อปิ จ โข อาสนํ ฐเปตพฺพํ สเจ โส อากงฺขิสฺสติ นิสีทิสฺสตี”ติ. 
yathā-yathā kho bhagavā pañcavaggiye bhikkhū upasaṃkamati, tathā-tathā te pañcavaggiyā bhikkhū sakāya katikāya asaṇṭhahantā bhagavantaṃ paccuggantvā eko bhagavato pattacīvaraṃ paṭiggahesi, eko āsanaṃ paññāpesi, eko pādodakaṃ pādapīṭhaṃ pādakathalikaṃ upanikkhipi.  nisīdi bhagavā paññatte āsane, nisajja kho bhagavā pāde pakkhālesi.  api ’ssu bhagavantaṃ nāmena ca āvusovādena ca samudācaranti. |11| 
But when the Blessed One gradually approached near unto those five Bhikkhus, the five Bhikkhus kept not their agreement. They went forth to meet the Blessed One; one took his bowl and his robe, another prepared a seat, a third one brought water for the washing of the feet, a foot-stool, and a towel.  Then the Blessed One sat down on the seat they had prepared; and when he was seated, the Blessed One washed his feet.  Now they addressed the Blessed One by his name, and with the appellation 'Friend.' 
ครั้นพระผู้มีพระภาคเจ้าเสด็จเข้าไปถึงพระปัญจวัคคีย์ พระปัญจวัคคีย์นั้นไม่ตั้งอยู่ในกติกาของตน ต่างลุกขึ้นต้อนรับพระผู้มีพระภาคเจ้า รูปหนึ่งรับบาตรจีวรของพระผู้มีพระภาคเจ้า รูปหนึ่งปูอาสนะ, รูปหนึ่งจัดหาน้ำล้างพระบาท, รูปหนึ่งจัดตั้งตั่งรองพระบาท, รูปหนึ่งนำกระเบื้องเช็ดพระบาทเข้าไปถวาย  พระผู้มีพระภาคเจ้าประทับนั่งบนอาสนะที่พระปัญจวัคคีย์จัดถวาย แล้วทรงล้างพระบาท  ฝ่ายพระปัญจวัคคีย์เรียกพระผู้มีพระภาคเจ้าโดยระบุพระนาม และใช้คำว่า อาวุโส 
ยถา ยถา โข ภควา ปญฺจวคฺคิเย ภิกฺขู อุปสงฺกมติ ตถา ตถา ปญฺจวคฺคิยา ภิกฺขู นาสกฺขิ๎สุ สกาย กติกาย สณฺฐาตุํ อสณฺฐหนฺตา ภควนฺตํ ปจฺจุคฺคนฺตฺวา เอโก ภควโต ปตฺตจีวรํ ปฏิคฺคเหสิ เอโก อาสนํ ปญฺญเปสิ เอโก ปาโททกํ เอโก ปาทปีฐํ เอโก ปาทกฐลิกํ อุปนิกฺขิปิ.  นิสีทิ ภควา ปญฺญตฺเต อาสเน นิสชฺช โข ภควา ปาเท ปกฺขาเลสิ.  อปิสฺสุ ภควนฺตํ นาเมน จ อาวุโสวาเทน จ สมุทาจรนฺติ. 
evaṃ vutte bhagavā pañcavaggiye bhikkhū etad avoca: mā bhikkhave tathāgataṃ nāmena ca āvusovādena ca samudācaratha.  arahaṃ bhikkhave tathāgato sammāsambuddho. odahatha bhikkhave sotaṃ, amataṃ adhigataṃ, ahaṃ anusāsāmi, ahaṃ dhammaṃ desemi.  yathānusiṭṭhaṃ tathā paṭipajjamānā na cirass’ eva yass’ atthāya kulaputtā sammad eva agārasmā anagāriyaṃ pabbajanti, tad anuttaraṃ brahmacariyapariyosānam diṭṭheva dhamme sayaṃ abhiññā sacchikatvā upasampajja viharissathā ’ti. |12| 
When they spoke to him thus, the Blessed One said to the five Bhikkhus: 'Do not address, O Bhikkhus, the Tathâgata by his name, and with the appellation "Friend."  The Tathâgata, O Bhikkhus, is the holy, absolute Sambuddha. Give ear, O Bhikkhus! The immortal (Amata) has been won (by me);  I will teach you; to you I preach the doctrine. If you walk in the way I show you, you will, ere long, have penetrated to the truth, having yourselves known it and seen it face to face; and you will live in the possession of that highest goal of the holy life, for the sake of which noble youths fully give up the world and go forth into the houseless state. 
เมื่อพระปัญจวัคคีย์กล่าวอย่างนั้นแล้ว พระผู้มีพระภาคเจ้าได้ตรัสห้ามพระปัญจวัคคีย์ว่า ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย พวกเธออย่าเรียกตถาคตโดยระบุชื่อ และอย่าใช้คำว่า อาวุโส  ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ตถาคตเป็นอรหันต์ ตรัสรู้เองโดยชอบ พวกเธอจงเงี่ยโสตสดับ เราได้บรรลุอมตธรรมแล้ว  เราจะสั่งสอน จะแสดงธรรม พวกเธอปฏิบัติอยู่ตามที่เราสั่งสอนแล้ว ไม่ช้าสักเท่าไร จักทำให้แจ้งซึ่งคุณอันยอดเยี่ยม อันเป็นที่สุดแห่งพรหมจรรย์ ที่กุลบุตรทั้งหลาย ออกจากเรือนบวชเป็นบรรพชิตโดยชอบต้องการนั้น ด้วยปัญญาอันยิ่งด้วยตนเองในปัจจุบันเข้าถึงอยู่. 
เอวํ วุตฺเต ภควา ปญฺจวคฺคิเย ภิกฺขู เอตทโวจ “มา ภิกฺขเว ตถาคตํ นาเมน จ อาวุโสวาเทน จ สมุทาจรถ .  อรหํ ภิกฺขเว ตถาคโต สมฺมาสมฺพุทฺโธ โอทหถ ภิกฺขเว โสตํ อมตมธิคตํ อหมนุสาสามิ อหํ ธมฺมํ เทเสมิ.  ยถานุสิฏฺฐํ ตถา ปฏิปชฺชมานา นจิรสฺเสว ยสฺสตฺถาย กุลปุตฺตา สมฺมเทว อคารสฺมา อนคาริยํ ปพฺพชนฺติ ตทนุตฺตรํ พฺรหฺมจริยปริโยสานํ ทิฏฺเฐว ธมฺเม สยํ อภิญฺญา สจฺฉิกตฺวา อุปสมฺปชฺช วิหริสฺสถา”ติ. 
evaṃ vutte pañcavaggiyā bhikkhū bhagavantaṃ etad avocuṃ:  tāya pi kho tvaṃ āvuso Gotama cariyāya tāya paṭipadāya tāya dukkarakārikāya n’ ev’ ajjhagā uttarimanussadhammaṃ alamariyañāṇadassanavisesaṃ, kim pana tvaṃ etarahi bāhulliko padhānavibbhanto āvatto bāhullāya adhigamissasi uttarimanussadhammaṃ alamariyañāṇadassanavisesan ti. |13| 
When he had spoken thus, the five monks said to the Blessed One:  'By those observances, friend Gotama, by those practices, by those austerities, you have not been able to obtain power surpassing that of men, nor the superiority of full and holy knowledge and insight. How will you now, living in abundance, having given up your exertions, having turned to an abundant life, be able to obtain power surpassing that of men, and the superiority of full and holy knowledge and insight?' 
เมื่อพระผู้มีพระภาคเจ้าตรัสอย่างนี้แล้ว พระปัญจวัคคีย์พูดทูลค้านพระผู้มีพระภาคเจ้าว่า  อาวุโสโคตม แม้ด้วยจริยานั้น แม้ด้วยปฏิปทานั้น แม้ด้วยทุกกรกิริยานั้น พระองค์ก็ยังไม่ได้บรรลุอุตตริมนุสสธรรมอันเป็นความรู้ความเห็นพิเศษอย่างประเสริฐ อย่างสามารถ ก็บัดนี้ พระองค์เป็นผู้มักมากคลายความเพียรเวียนมาเพื่อความเป็นคนมักมาก ไฉนจักบรรลุอุตตริมนุสสธรรม อันเป็นความรู้ความเห็นพิเศษอย่างประเสริฐ อย่างสามารถได้เล่า. 
เอวํ วุตฺเต ปญฺจวคฺคิยา ภิกฺขู ภควนฺตํ เอตทโวจุํ  “ตายปิ โข ตฺวํ อาวุโส โคตม อิริยาย ตาย ปฏิปทาย ตาย ทุกฺกรการิกาย เนวชฺฌคา อุตฺตริ มนุสฺสธมฺมา อลมริยญาณทสฺสนวิเสสํ กึ ปน ตฺวํ เอตรหิ พาหุลฺลิโก ปธานวิพฺภนฺโต อาวตฺโต พาหุลฺลาย อธิคมิสฺสสิ อุตฺตริ มนุสฺสธมฺมา อลมริยญาณทสฺสนวิเสส”นฺติ? 
evaṃ vutte bhagavā pañcavaggiye bhikkhū etad avoca:  na bhikkhave tathāgato bāhulliko, na padhānavibbhanto, na āvatto bāhullāya.  arahaṃ bhikkhave tathāgato sammāsambuddho.  odahatha bhikkhave sotaṃ, amataṃ adhigataṃ, ahaṃ anusāsāmi, ahaṃ dhammaṃ desemi.  yathānusiṭṭham tathā paṭipajjamānā na cirass’ eva yass’ atthāya kulaputtā sammad eva agārasmā anagāriyaṃ pabbajanti, tad anuttaraṃ brahmacariyapariyosānaṃ diṭṭheva dhamme sayaṃ abhiññā sacchikatvā upasampajja viharissathā ’ti. |14| 
When they had spoken thus, the Blessed One said to the five Bhikkhus:  'The Tathâgata, O Bhikkhus, does not live in abundance, he has not given up exertion, he has not turned to an abundant life.  The Tathâgata, O Bhikkhus, is the holy, absolute Sambuddha.  Give ear, O Bhikkhus; the immortal has been won (by me); I will teach you, to you I will preach the doctrine.  If you walk in the way I show you, you will, ere long, have penetrated to the truth, having yourselves known it and seen it face to face; and you will live in the possession of that highest goal of the holy life, for the sake of which noble youths fully give up the world and go forth into the houseless state.' 
เมื่อพระปัญจวัคคีย์กราบทูลอย่างนี้แล้ว พระผู้มีพระภาคเจ้าตรัสว่า  ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ตถาคตไม่ใช่เป็นคนมักมาก ไม่ได้เป็นคนคลายความเพียรไม่ได้เวียนมาเพื่อความเป็นคนมักมาก  ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ตถาคตเป็นอรหันต์ตรัสรู้เองโดยชอบ  พวกเธอจงเงี่ยโสตสดับ เราได้บรรลุอมตธรรมแล้ว เราจะสั่งสอน จะแสดงธรรม  พวกเธอปฏิบัติอยู่ตามที่เราสั่งสอนแล้ว ไม่ช้าสักเท่าไร จักทำให้แจ้งซึ่งคุณอันยอดเยี่ยม อันเป็นที่สุดแห่งพรหมจรรย์ ที่กุลบุตรทั้งหลายออกจากเรือนบวชเป็นบรรพชิตโดยชอบต้องการนั้น ด้วยปัญญาอันยิ่งด้วยตนเองในปัจจุบันเข้าถึงอยู่. 
เอวํ วุตฺเต ภควา ปญฺจวคฺคิเย ภิกฺขู เอตทโวจ  “น ภิกฺขเว ตถาคโต พาหุลฺลิโก น ปธานวิพฺภนฺโต น อาวตฺโต พาหุลฺลาย  อรหํ ภิกฺขเว ตถาคโต สมฺมาสมฺพุทฺโธ.  โอทหถ ภิกฺขเว โสตํ อมตมธิคตํ อหมนุสาสามิ อหํ ธมฺมํ เทเสมิ.  ยถานุสิฏฺฐํ ตถา ปฏิปชฺชมานา นจิรสฺเสว ยสฺสตฺถาย กุลปุตฺตา สมฺมเทว อคารสฺมา อนคาริยํ ปพฺพชนฺติ ตทนุตฺตรํ พฺรหฺมจริยปริโยสานํ ทิฏฺเฐวธมฺเม สยํ อภิญฺญา สจฺฉิกตฺวา อุปสมฺปชฺช วิหริสฺสถา”ติ. 
dutiyam pi kho pañcavaggiyā bhikkhū bhagavantaṃ etad avocuṃ --pa--, dutiyam pi kho bhagavā pañcavaggiye bhikkhū etad avoca --pa--, tatiyam pi kho pañcavaggiyā bhikkhū bhagavantaṃ etad avocuṃ:  tāya (10) pi kho tvaṃ āvuso Gotama cariyāya tāya paṭipadāya . . . alamariyañāṇadassanavisesan ti. |15| 
And the five Bhikkhus said to the Blessed One a second time (as above). And the Blessed One said to the five Bhikkhus a second time (as above). And the five Bhikkhus said to the Blessed One a third time (as above). 
แม้ครั้งที่สอง พระปัญจวัคคีย์ได้ทูลค้านพระผู้มีพระภาคเจ้าว่า . . . แม้ครั้งที่สอง พระผู้มีพระภาคเจ้าก็ได้ตรัสว่า . . . แม้ครั้งที่สาม พระปัญจวัคคีย์ได้ทูลค้านพระผู้มีพระภาคเจ้าว่า  อาวุโสโคดมแม้ด้วยจริยานั้น แม้ด้วยปฏิปทานั้น แม้ด้วยทุกกรกิริยานั้น พระองค์ก็ยังไม่ได้บรรลุอุตตริมนุสสธรรม อันเป็นความรู้ความเห็นพิเศษอย่างประเสริฐอย่างสามารถ ก็บัดนี้พระองค์เป็นผู้มักมาก คลายความเพียร เวียนมาเพื่อความเป็นคนมักมาก ไฉนจักบรรลุอุตตริมนุสสธรรม อันเป็นความรู้ความเห็นพิเศษอย่างประเสริฐ อย่างสามารถได้เล่า. 
ทุติยมฺปิ โข ปญฺจวคฺคิยา ภิกฺขู ภควนฺตํ เอตทโวจุํฯเปฯ. ทุติยมฺปิ โข ภควา ปญฺจวคฺคิเย ภิกฺขู เอตทโวจฯเปฯ. ตติยมฺปิ โข ปญฺจวคฺคิยา ภิกฺขู ภควนฺตํ เอตทโวจุํ  “ตายปิ โข ตฺวํ อาวุโส โคตม อิริยาย ตาย ปฏิปทาย ตาย ทุกฺกรการิกาย เนวชฺฌคา อุตฺตริ มนุสฺสธมฺมา อลมริยญาณทสฺสนวิเสสํ กึ ปน ตฺวํ เอตรหิ พาหุลฺลิโก ปธานวิพฺภนฺโต อาวตฺโต พาหุลฺลาย อธิคมิสฺสสิ อุตฺตริ มนุสฺสธมฺมา อลมริยญาณทสฺสนวิเสส”นฺติ? 
evaṃ vutte bhagavā pañcavaggiye bhikkhū etad avoca:  abhijānātha me no tumhe bhikkhave ito pubbe evarūpaṃ bhāsitaṃ etan ti.  no h’ etaṃ bhante ’ti. arahaṃ bhikkhave tathāgato sammāsambuddho.  odahatha . . . viharissathā ’ti.  asakkhi kho bhagavā pañcavaggiye bhikkhū saññāpetuṃ. atha kho pañcavaggiyā bhikkhū bhagavantaṃ puna sussūsiṃsu sotaṃ odahiṃsu aññācittaṃ upaṭṭhāpesuṃ. |16| 
When they had spoken thus, the Blessed One said to the five Bhikkhus:  'Do you admit, O Bhikkhus, that I have never spoken to you in this way before this day?'  'You have never spoken so, Lord.' 'The Tathâgata, O Bhikkhus, is the holy, absolute Sambuddha. Give ear, O Bhikkhus, &c. (as above).'  And the Blessed One was able to convince the five Bhikkhus; and the five Bhikkhus again listened willingly to the Blessed One; they gave ear, and fixed their mind on the knowledge (which the Buddha imparted to them). 
เมื่อพระปัญจวัคคีย์กราบทูลอย่างนี้แล้ว พระผู้มีพระภาคเจ้าได้ตรัสว่า  ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย พวกเธอยังจำได้หรือว่า ถ้อยคำเช่นนี้ เราได้เคยพูดแล้วในปางก่อนแต่กาลนี้.  พระปัญจวัคคีย์กราบทูลว่า คำนี้ไม่เคยได้ฟังเลย พระพุทธเจ้าข้า. พระผู้มีพระภาคเจ้าตรัสว่า ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ตถาคตเป็นอรหันต์ตรัสรู้เองโดยชอบ  พวกเธอจงเงี่ยโสตสดับ เราได้บรรลุอมตธรรมแล้ว เราจะสั่งสอนจักแสดงธรรม พวกเธอปฏิบัติอยู่ตามที่เราสั่งสอนแล้ว ไม่ช้าสักเท่าไรจักทำให้แจ้งซึ่งคุณอันยอดเยี่ยม อันเป็นที่สุดแห่งพรหมจรรย์ ที่กุลบุตรทั้งหลายออกจากเรือนบวชเป็นบรรพชิตโดยชอบต้องการนั้น ด้วยปัญญาอันยิ่งด้วยตนเองในปัจจุบันเข้าถึงอยู่  พระผู้มีพระภาคเจ้าทรงสามารถให้พระปัญจวัคคีย์ยินยอมได้แล้ว ลำดับนั้นพระปัญจวัคคีย์ ได้ยอมเชื่อฟังพระผู้มีพระภาคเจ้า เงี่ยโสตสดับ ตั้งจิตเพื่อรู้ยิ่ง. 
เอวํ วุตฺเต ภควา ปญฺจวคฺคิเย ภิกฺขู เอตทโวจ  “อภิชานาถ เม โน ตุมฺเห ภิกฺขเว อิโต ปุพฺเพ เอวรูปํ ปภาวิตเมต”นฺติ ?  “โนเหตํ ภนฺเต”. อรหํ ภิกฺขเว ตถาคโต สมฺมาสมฺพุทฺโธ  โอทหถ ภิกฺขเว โสตํ อมตมธิคตํ อหมนุสาสามิ อหํ ธมฺมํ เทเสมิ. ยถานุสิฏฺฐํ ตถา ปฏิปชฺชมานา นจิรสฺเสว ยสฺสตฺถาย กุลปุตฺตา สมฺมเทว อคารสฺมา อนคาริยํ ปพฺพชนฺติ ตทนุตฺตรํพฺรหฺมจริยปริโยสานํ ทิฏฺเฐวธมฺเม สยํ อภิญฺญา สจฺฉิกตฺวา อุปสมฺปชฺช วิหริสฺสถาติ.  อสกฺขิ โข ภควา ปญฺจวคฺคิเย ภิกฺขู สญฺญาเปตุํ. อถ โข ปญฺจวคฺคิยา ภิกฺขู ภควนฺตํ สุสฺสูสึสุ โสตํ โอทหึสุ อญฺญา จิตฺตํ อุปฏฺฐาเปสุํ. 
atha kho bhagavā pañcavaggiye bhikkhū āmantesi:  dve ’me bhikkhave antā pabbajitena na sevitabbā. katame dve.  yo cāyaṃ kāmesu kāmasukhallikānuyogo hīno gammo pothujjaniko anariyo anatthasaṃhito, yo cāyaṃ attakilamathānuyogo dukkho anariyo anatthasaṃhito, ete kho bhikkhave ubho ante anupagamma majjhimā paṭipadā tathāgatena abhisambuddhā cakkhukaraṇī ñāṇakaraṇī upasamāya abhiññāya sambodhāya nibbānāya saṃvattati. |17| 
And the Blessed One thus addressed the five Bhikkhus:  'There are two extrernes, O Bhikkhus, which he who has given up the world, ought to avoid. What are these two extremes?  A life given to pleasures, devoted to pleasures and lusts: this is degrading, sensual, vulgar, ignoble, and profitless; and a life given to mortifications: this is painful, ignoble, and profitless. By avoiding these two extrernes, O Bhikkhus, the Tathâgata has gained the knowledge of the Middle Path which leads to insight, which leads to wisdom, which conduces to calm, to knowledge, to the Sambodhi, to Nirvâna. 
ธัมมจักกัปปวัตตนสูตร ปฐมเทศนา [๑๓] ลำดับนั้น พระผู้มีพระภาคเจ้ารับสั่งกะพระปัญจวัคดีย์ว่า  ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ที่สุด ๒ อย่างนี้อันบรรพชิตไม่ควรเสพคือ.  การประกอบตนให้พัวพันด้วยกามสุขในกามทั้งหลาย เป็นธรรมอันเลวเป็นของชาวบ้าน เป็นของปุถุชน ไม่ใช่ของพระอริยะ ไม่ประกอบด้วยประโยชน์ ๑.การประกอบความเหน็ดเหนื่อยแก่ตน เป็นความลำบาก ไม่ใช่ของพระอริยะ ไม่ประกอบด้วยประโยชน์ ๑. ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ปฏิปทาสายกลาง ไม่เข้าไปใกล้ที่สุดสองอย่างนั้นนั่นตถาคตได้ตรัสรู้แล้ว ด้วยปัญญาอันยิ่ง ทำดวงตาให้เกิด ทำญาณให้เกิดย่อมเป็นไปเพื่อความสงบ เพื่อความรู้ยิ่ง เพื่อความตรัสรู้ เพื่อนิพพาน. 
๑๓. อถ โข ภควา ปญฺจวคฺคิเย ภิกฺขู อามนฺเตสิ  “ ทฺเวเม ภิกฺขเว อนฺตา ปพฺพชิเตน น เสวิตพฺพา. กตเม ทฺเว ?  โย จายํ กาเมสุ กามสุขลฺลิกานุโยโค หีโน คมฺโม โปถุชฺชนิโก อนริโย อนตฺถสํหิโต โย จายํ อตฺตกิลมถานุโยโค ทุกฺโข อนริโย อนตฺถสํหิโต. เอเต โข ภิกฺขเว อุโภ อนฺเต อนุปคมฺม มชฺฌิมา ปฏิปทา ตถาคเตน อภิสมฺพุทฺธา จกฺขุกรณี ญาณกรณี อุปสมาย อภิญฺญาย สมฺโพธาย นิพฺพานาย สํวตฺตติ. 
katamā ca sā {bhikkhave} majjhimā paṭipadā tathāgatena abhisambuddhā cakkhukaraṇī ñāṇakaraṇī upasamāya abhiññāya sambodhāya nibbānāya saṃvattati.  ayam eva ariyo aṭṭhaṅgiko maggo, seyyath’ īdaṃ:  sammādiṭṭhi sammāsaṃkappo sammāvācā sammākammanto sammāājīvo sammāvāyāmo sammāsati sammāsamādhi.  ayaṃ kho sā bhikkhave majjhimā paṭipadā tathāgatena abhisambuddhā cakkhukaraṇī ñāṇakaraṇī upasamāya abhiññāya sambodhāya nibbānāya saṃvattati. |18| 
'Which, O Bhikkhus, is this Middle Path the knowledge of which the Tathâgata has gained, which leads to insight, which leads to wisdom, which conduces to calm, to knowledge, to the Sambodhi, to Nirvâna?  It is the holy eightfold Path, namely,  Right Belief, Right Aspiration, Right Speech, Right Conduct, Right Means of Livelihood, Right Endeavour, Right Mernory, Right Meditation.  This, O Bhikkhus, is the Middle Path the knowledge of which the Tathâgata has gained, which leads to insight, which leads to wisdom, which conduces to calm, to knowledge, to the Sambodhi, to Nirvâna. 
ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ก็ปฏิปทาสายกลายที่ตถาคตได้ตรัสรู้แล้วด้วยปัญญาอันยิ่ง ทำดวงตาให้เกิด ทำญาณให้เกิด ย่อมเป็นไปเพื่อความสงบเพื่อความรู้ยิ่ง เพื่อความตรัสรู้ เพื่อนิพพานนั้น เป็นไฉน ?  ปฏิปทาสายกลางนั้น ได้แก่อริยมรรคมีองค์ ๘ นี้แหละ คือ  ปัญญาอันเห็นชอบ ๑ ความดำริชอบ ๑ เจรจาชอบ ๑ การงานชอบ ๑ เลี้ยงชีวิตชอบ ๑ พยายามชอบ ๑ ระลึกชอบ ๑ ตั้งจิตชอบ ๑.  ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย นี้แลคือปฏิปทาสายกลายนั้น ที่ตถาคตได้ตรัสรู้แล้วด้วยปัญญาอันยิ่ง ทำดวงตาให้เกิด ทำญาณได้เกิด ย่อมเป็นไปเพื่อความสงบเพื่อความรู้ยิ่ง เพื่อความตรัสรู้ เพื่อนิพพาน. 
กตมา จ สา ภิกฺขเว มชฺฌิมา ปฏิปทา ตถาคเตน อภิสมฺพุทฺธา จกฺขุกรณี ญาณกรณี อุปสมาย อภิญฺญาย สมฺโพธาย นิพฺพานาย สํวตฺตติ?  อยเมว อริโย อฏฺฐงฺคิโก มคฺโค เสยฺยถิทํ  สมฺมาทิฏฺฐิ สมฺมาสงฺกปฺโป สมฺมาวาจา สมฺมากมฺมนฺโต สมฺมาอาชีโว สมฺมาวายาโม สมฺมาสติ สมฺมาสมาธิ.  อยํ โข สา ภิกฺขเว มชฺฌิมา ปฏิปทา ตถาคเตน อภิสมฺพุทฺธา จกฺขุกรณี ญาณกรณี อุปสมาย อภิญฺญาย สมฺโพธาย นิพฺพานาย สํวตฺตติ. 
idaṃ kho pana bhikkhave dukkhaṃ ariyasaccaṃ, jāti pi dukkhā, jarāpi dukkhā, vyādhi pi dukkhā, maraṇam pi dukkhaṃ, appiyehi sampayogo dukkho, piyehi vippayogo dukkho, yam p’ icchaṃ na labhati tam pi dukkhaṃ, saṃkhittena pañc’ upādānakkhandhāpi dukkhā. |19| 
'This, O Bhikkhus, is the Noble Truth of Suffering: Birth is suffering; decay is suffering; illness is suffering; death is suffering. Presence of objects we hate, is suffering; Separation from objects we love, is suffering; not to obtain what we desire, is suffering. Briefly, the fivefold clinging to existence is suffering. 
[๑๔] ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ข้อนี้แลเป็นทุกขอริยสัจ คือ ความเกิดก็เป็นทุกข์ ความแก่ก็เป็นทุกข์ ความเจ็บไข้ก็เป็นทุกข์ ความตายก็เป็นทุกข์ความประจวบด้วยสิ่งที่เป็นที่รักก็เป็นทุกข์ ความพลัดพรากจากสิ่งที่เป็นที่รักก็เป็นทุกข์ ปรารถนาสิ่งใดไม่ได้สิ่งนั้นก็เป็นทุกข์ โดยย่นย่อ อุปาทานขันธ์ ๕เป็นทุกข์ 
๑๔. “อิทํ โข ปน ภิกฺขเว ทุกฺขํ อริยสจฺจํ. ชาติปิ ทุกฺขา ชราปิ ทุกฺขา พฺยาธิปิ ทุกฺโข มรณมฺปิ ทุกฺขํ อปฺปิเยหิ สมฺปโยโค ทุกฺโข ปิเยหิ วิปฺปโยโค ทุกฺโข ยมฺปิจฺฉํ น ลภติ ตมฺปิ ทุกฺขํ. สํขิตฺเตน ปญฺจุปาทานกฺขนฺธา ทุกฺขา. 
idaṃ kho pana bhikkhave dukkhasamudayaṃ ariyasaccaṃ, yāyaṃ taṇhā ponobbhavikā nandirāgasahagatā tatratatrābhinandinī, seyyath’ īdaṃ: kāmataṇhā bhavataṇhā vibhavataṇhā. |20| 
'This, O Bhikkhus, is the Noble Truth of the Cause of suffering: Thirst, that leads to re-birth, accornpanied by pleasure and lust, finding its delight here and there. (This thirst is threefold), namely, thirst for pleasure, thirst for existence, thirst for prosperity. 
ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ข้อนี้แลเป็นทุกขสมุทยอริยสัจ คือตัณหาอันทำให้เกิดอีก ประกอบด้วยความกำหนัดด้วยอำนาจความเพลิน มีปรกติเพลิดเพลินในอารมณ์นั้นๆ คือ กามตัณหา ภวตัณหา วิภวตัณหา. 
“อิทํ โข ปน ภิกฺขเว ทุกฺขสมุทยํ อริยสจฺจํ ยายํ ตณฺหา โปโนพฺภวิกา นนฺทีราคสหคตา ตตฺรตตฺราภินนฺทินี เสยฺยถิทํ กามตณฺหา ภวตณฺหา วิภวตณฺหา. 
idaṃ kho pana bhikkhave dukkhanirodhaṃ ariyasaccam, yo tassā yeva taṇhāya asesavirāganirodho cāgo paṭinissaggo mutti anālayo. |21| 
'This, O Bhikkhus, is the Noble Truth of the Cessation of suffering: (It ceases with) the complete cessation of this thirst,--a cessation which consists in the absence of every passion,--with the abandoning of this thirst, with the doing away with it, with the deliverance from it, with the destruction of desire. 
ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ข้อนี้แลเป็นทุกขนิโรธอริยสัจ คือ ตัณหานั่นแลดับ โดไม่เหลือด้วยมรรคคือวิราคะ สละ สละคืน ปล่อยไป ไม่พัวพัน. 
“อิทํ โข ปน ภิกฺขเว ทุกฺขนิโรธํ อริยสจฺจํ โย ตสฺสา เยว ตณฺหาย อเสสวิราคนิโรโธ จาโค ปฏินิสฺสคฺโค มุตฺติ อนาลโย. 
idaṃ kho pana bhikkhave dukkhanirodhagāminī paṭipadā ariyasaccaṃ, ayam eva ariyo aṭṭhaṅgiko maggo, seyyath’ īdaṃ: sammādiṭṭhi . . . sammāsamādhi. |22| 
'This, O Bhikkhus, is the Noble Truth of the Path which leads to the cessation of suffering: that holy eightfold Path, that is to say, Right Belief, Right Aspiration, Right Speech, Right Conduct, Right Means of Livelihood, Right Endeavour, Right Memory, Right Meditation. 
ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ข้อนี้แลเป็นทุกขนิโรธคามินีปฏิปทาอริยสัจคืออริยมรรคมีองค์ ๘ นี้แหละ คือ ปัญญาเห็นชอบ ๑. . . ตั้งจิตชอบ ๑. 
“อิทํ โข ปน ภิกฺขเว ทุกฺขนิโรธคามินี ปฏิปทา อริยสจฺจํ อยเมว อริโย อฏฺฐงฺคิโก มคฺโค เสยฺยถิทํ สมฺมาทิฏฺฐิ สมฺมาสงฺกปฺโป สมฺมาวาจา สมฺมากมฺมนฺโต สมฺมาอาชีโว สมฺมาวายาโม สมฺมาสติ สมฺมาสมาธิ. 
(11) idaṃ dukkhaṃ ariyasaccan ti me bhikkhave pubbe ananussutesu dhammesu cakkhuṃ udapādi, ñāṇaṃ udapādi, paññā udapādi, vijjā udapādi, āloko udapādi.  taṃ kho pan’ idaṃ dukkhaṃ ariyasaccaṃ pariññeyyan ti me bhikkhave --la-- pariññātan ti me bhikkhave pubbe ananussutesu dhammesu cakkhuṃ udapādi, ñāṇaṃ udapādi, paññā udapādi, vijjā udapādi, āloko udapādi. |23| 
'"This is the Noble Truth of Suffering;"--thus, O Bhikkhus, of this doctrine, which formerly had not been heard of, have I obtained insight, knowledge, understanding, wisdom, intuition.  "This Noble Truth of Suffering must be understood," thus, O Bhikkhus, of this doctrine, . . . . (&c., down to intuition). "This Noble Truth of Suffering I have understood," thus, O Bhikkhus, of this doctrine, . . . . (&c.,down to intuition). 
[๑๕] ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ดวงตา ญาณ ปัญญา วิชชา แสงสว่างได้เกิดขึ้นแล้ว แก่เราในธรรมทั้งหลายที่เราไม่เคยฟังมาก่อนว่า นี้ทุกขอริยสัจ.  ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ดวงตา ญาณ ปัญญา วิชชา แสงสว่าง ได้เกิดขึ้นแล้วแก่เราในธรรมทั้งหลายที่เราไม่เคยฟังมาก่อนว่า ทุกขอริยสัจนี้นั้นแลควรกำหนดรู้. ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ดวงตา ญาณ ปัญญา วิชชา แสงสว่าง ได้เกิดขึ้นแล้วแก่เราในธรรมทั้งหลายที่เราไม่เคยฟังมาก่อนว่า ทุกขอริยสัจนี้นั้นแล เราก็ได้กำหนดรู้แล้ว. 
๑๕. “อิทํ ทุกฺขํ อริยสจฺจนฺติ เม ภิกฺขเว ปุพฺเพ อนนุสฺสุเตสุ ธมฺเมสุ จกฺขุํ อุทปาทิ ญาณํ อุทปาทิ ปญฺญา อุทปาทิ วิชฺชา อุทปาทิ อาโลโก อุทปาทิ.  ตํ โข ปนิทํ ทุกฺขํ อริยสจฺจํ ปริญฺเญยฺยนฺติ เม ภิกฺขเว ปุพฺเพ อนนุสฺสุเตสุ ธมฺเมสุ จกฺขุํ อุทปาทิ ญาณํ อุทปาทิ ปญฺญา อุทปาทิ วิชฺชา อุทปาทิ อาโลโก อุทปาทิ. ตํ โข ปนิทํ ทุกฺขํ อริยสจฺจํ ปริญฺญาตนฺติ เม ภิกฺขเว ปุพฺเพ อนนุสฺสุเตสุ ธมฺเมสุ จกฺขุํ อุทปาทิ ญาณํ อุทปาทิ ปญฺญา อุทปาทิ วิชฺชา อุทปาทิ อาโลโก อุทปาทิ. 
idaṃ dukkhasamudayaṃ ariyasaccan ti me bhikkhave . . . āloko udapādi. taṃ kho pan’ idaṃ dukkhasamudayaṃ ariyasaccaṃ pahātabban ti me bhikkhave --la-- pahīnan ti me bhikkhave . . . āloko udapādi. |24| 
'"This is the Noble Truth of the Cause of suffering," thus, O Bhikkhus, (&c.) "This Noble Truth of the Cause of suffering must be abandoned has been abandoned by me," thus, O Bhikkhus, (&c.) 
ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ดวงตา ญาณ ปัญญา วิชชา แสงสว่าง ได้เกิดขึ้นแล้วแก่เราในธรรมทั้งหลายที่เราไม่เคยฟังมาก่อนว่า นี้ทุกขสมุทยอริยสัจ.ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ดวงตา ญาณ ปัญญา วิชชา แสงสว่าง ได้เกิดขึ้นแล้วแก่เราในธรรมทั้งหลายที่เราไม่เคยฟังมาก่อนว่า ทุกขสมุทยอริยสัจนี้นั้นแล ควรละเสีย. ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ดวงตา ญาณ ปัญญา วิชชา แสงสว่าง ได้เกิดขึ้นแล้วแก่เราในธรรมทั้งหลายที่เราไม่เคยฟังมาก่อนว่า ทุกขสมุทยอริยสัจนี้นั้นแล เราได้ละแล้ว. 
“อิทํ ทุกฺขสมุทยํ อริยสจฺจนฺติ เม ภิกฺขเว ปุพฺเพ อนนุสฺสุเตสุ ธมฺเมสุ จกฺขุํ อุทปาทิ ญาณํ อุทปาทิ ปญฺญา อุทปาทิ วิชฺชา อุทปาทิ อาโลโก อุทปาทิ. ตํ โข ปนิทํ ทุกฺขสมุทยํ อริยสจฺจํ ปหาตพฺพนฺติ เม ภิกฺขเว ปุพฺเพ อนนุสฺสุเตสุ ธมฺเมสุ จกฺขุํ อุทปาทิ ญาณํ อุทปาทิ ปญฺญา อุทปาทิ วิชฺชา อุทปาทิ อาโลโก อุทปาทิ. ตํ โข ปนิทํ ทุกฺขสมุทยํ อริยสจฺจํ ปหีนนฺติ เม ภิกฺขเว ปุพฺเพ อนนุสฺสุเตสุ ธมฺเมสุ จกฺขุํ อุทปาทิ ญาณํ อุทปาทิ ปญฺญา อุทปาทิ วิชฺชา อุทปาทิ อาโลโก อุทปาทิ. 
idaṃ dukkhanirodhaṃ ariyasaccan ti me bhikkhave . . . āloko udapādi.  taṃ kho pan’ idaṃ dukkhanirodhaṃ ariyasaccaṃ sacchikātabban ti me bhikkhave --la-- sacchikatan ti me bhikkhave . . . āloko udapādi. |25| 
'"This is the Noble Truth of the Cessation of suffering," thus, O Bhikkhus, (&c.)  "This Noble Truth of the Cessation of suffering must be seen face to face . . . . has been seen by me face to face," thus, O Bhikkhus, (&c.) 
ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ดวงตา ญาณ ปัญญา วิชชา แสงสว่าง ได้เกิดขึ้นแล้วแก่เราในธรรมทั้งหลายที่เราไม่เคยฟังมาก่อนว่า นี้ทุกขนิโรธอริยสัจ.  ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ดวงตา ญาณ ปัญญา วิชชา แสงสว่างได้เกิดขึ้นแล้วแก่เราในธรรมทั้งหลายที่เราไม่เคยฟังมาก่อนว่า ทุกขนิโรธอริยสัจนี้นั้นแลควรทำให้แจ้ง. ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ดวงตา ญาณ ปัญญา วิชชา แสงสว่าง ได้เกิดขึ้นแล้วแก่เราในธรรมทั้งหลายที่เราไม่เคยฟังมาก่อนว่า ทุกขนิโรธอริยสัจนี้นั้นแล เราทำให้แจ้งแล้ว. 
“อิทํ ทุกฺขนิโรธํ อริยสจฺจนฺติ เม ภิกฺขเว ปุพฺเพ อนนุสฺสุเตสุ ธมฺเมสุ จกฺขุํ อุทปาทิ ญาณํ อุทปาทิ ปญฺญา อุทปาทิ วิชฺชา อุทปาทิ อาโลโก อุทปาทิ. ตํ โข ปนิทํ ทุกฺขนิโรธํ อริยสจฺจํ สจฺฉิกาตพฺพนฺติ เม ภิกฺขเว ปุพฺเพ อนนุสฺสุเตสุ ธมฺเมสุ จกฺขุํ อุทปาทิ ญาณํ อุทปาทิ ปญฺญา อุทปาทิ วิชฺชา อุทปาทิ อาโลโก อุทปาทิ.  ตํ โข ปนิทํ ทุกฺขนิโรธํ อริยสจฺจํ สจฺฉิกตนฺติ เม ภิกฺขเว ปุพฺเพ อนนุสฺสุเตสุ ธมฺเมสุ จกฺขุํ อุทปาทิ ญาณํ อุทปาทิ ปญฺญา อุทปาทิ วิชฺชา อุทปาทิ อาโลโก อุทปาทิ. 
idaṃ dukkhanirodhagāminī paṭipadā ariyasaccan ti me bhikkhave . . . āloko udapādi.  taṃ kho pan’ idaṃ dukkhanirodhagāminī paṭipadā ariyasaccaṃ bhāvetabban ti me bhikkhave -- la -- bhāvitan ti me bhikkhave . . . āloko udapādi. |26| 
'"This is the Noble Truth of the Path which leads to the cessation of suffering," thus, O Bhikkhus, (&c.)  "This Noble Truth of the Path which leads to the cessation of suffering, must be realised has been realised by me," thus, O Bhikkhus, (&c.) 
ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ดวงตา ญาณ ปัญญา วิชชา แสงสว่าง ได้เกิดขึ้นแล้วแก่เราในธรรมทั้งหลายที่เราไม่เคยฟังมาก่อนว่า นี้ทุกขนิโรธคามินี-ปฏิปทาอริยสัจ.  ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ดวงตา ญาณ ปัญญา วิชชา แสงสว่าง ได้เกิดขึ้นแล้วแก่เราในธรรมทั้งหลายที่เราไม่เคยฟังมาก่อนว่า ทุกขนิโรธคามินีปฏิปทาอริยสัจนี้นั้นแล ควรให้เจริญ. ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ดวงตา ญาณ ปัญญา วิชชา แสงสว่าง ได้เกิดขึ้นแล้วแก่เราในธรรมทั้งหลายที่เราไม่เคยฟังมาก่อนว่า ทุกขนิโรธคามินีปฏิปทาอริยสัจนี้นั้นแล เราให้เจริญแล้ว. 
“อิทํ ทุกฺขนิโรธคามินี ปฏิปทา อริยสจฺจนฺติ เม ภิกฺขเว ปุพฺเพ อนนุสฺสุเตสุ ธมฺเมสุ จกฺขุํ อุทปาทิ ญาณํ อุทปาทิ ปญฺญา อุทปาทิ วิชฺชา อุทปาทิ อาโลโก อุทปาทิ.  ตํ โข ปนิทํ ทุกฺขนิโรธคามินี ปฏิปทา อริยสจฺจํ ภาเวตพฺพนฺติ เม ภิกฺขเว ปุพฺเพ อนนุสฺสุเตสุ ธมฺเมสุ จกฺขุํ อุทปาทิ ญาณํ อุทปาทิ ปญฺญา อุทปาทิ วิชฺชา อุทปาทิ อาโลโก อุทปาทิ. ตํ โข ปนิทํ ทุกฺขนิโรธคามินี ปฏิปทา อริยสจฺจํ ภาวิตนฺติ เม ภิกฺขเว ปุพฺเพ อนนุสฺสุเตสุ ธมฺเมสุ จกฺขุํ อุทปาทิ ญาณํ อุทปาทิ ปญฺญา อุทปาทิ วิชฺชา อุทปาทิ อาโลโก อุทปาทิ. 
yāva kīvañ ca me bhikkhave imesu catusu ariyasaccesu evaṃ tiparivaṭṭaṃ dvādasākāraṃ yathābhūtaṃ ñāṇadassanaṃ na suvisuddhaṃ ahosi, n’ eva tāvāhaṃ bhikkhave sadevake loke samārake sabrahmake sassamaṇabrāhmaṇiyā pajāya sadevamanussāya anuttaraṃ sammāsambodhiṃ abhisambuddho ’ti paccaññāsiṃ. |27| 
'As long, O Bhikkhus, as I did not possess with perfect purity this true knowledge and insight into these four Noble Truths, with its three modifications and its twelve constituent parts; so long, O Bhikkhus, I knew that I had not yet obtained the highest, absolute Sambodhi in the world of men and gods, in Mâra's and Brahma's world, among all beings, Samanas and Brâhmanas, gods and men. 
ญาณทัสสนะมีรอบ ๓ มีอาการ ๑๒ [๑๖] ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ปัญญาอันรู้เห็นตามเป็นจริงของเราในอริยสัจ ๔ นี้ มีรอบ ๓ มีอาการ ๑๒ อย่างนี้ ยังไม่หมดจดดีแล้ว เพียงใดดูก่อนภิกษุทั้งหลาย เรายังยืนยันไม่ได้ว่า เป็นผู้ตรัสรู้สัมมาสัมโพธิญาณ อันยอดเยี่ยมในโลก พร้อมทั้งเทวโลก มารโลก พรหมโลก ในหมู่สัตว์ พร้อมทั้งสมณะพราหมณ์ เทวดาและมนุษย์ เพียงนั้น. 
๑๖. “ยาวกีวญฺจ เม ภิกฺขเว อิเมสุ จตูสุ อริยสจฺเจสุ เอวํ ติปริวฏฺฏํ ทฺวาทสาการํ ยถาภูตํ ญาณทสฺสนํ น สุวิสุทฺธํ อโหสิ เนว ตาวาหํ ภิกฺขเว สเทวเก โลเก สมารเก สพฺรหฺมเก สสฺสมณพฺราหฺมณิยา ปชาย สเทวมนุสฺสาย อนุตฺตรํ สมฺมาสมฺโพธึ อภิสมฺพุทฺโธติ ปจฺจญฺญาสึ. 
yato ca kho me bhikkhave imesu catusu ariyasaccesu evaṃ tiparivaṭṭaṃ dvādasākāraṃ yathābhūtaṃ ñāṇadassanaṃ suvisuddhaṃ ahosi,  athāhaṃ bhikkhave sadevake loke samārake sabrahmake sassamaṇabrāhmaṇiyā pajāya sadevamanussāya anuttaraṃ sammāsambodhiṃ abhisambuddho ’ti paccaññāsiṃ. |28| 
'But since I possessed, O Bhikkhus, with perfect purity this true knowledge and insight into these four Noble Truths, with its three modifications and its twelve constituent parts,  then I knew, O Bhikkhus, that I had obtained the highest, universal Sambodhi in the world of men and gods, . . . . (&c., as in § 27). 
ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ก็เมื่อใดแล ปัญญาอันรู้เห็นตามเป็นจริงของเราในอริยสัจ ๔ นี้ มีรอบ ๓ มีอาการ ๑๒ อย่างนี้ หมดจดดีแล้ว  ดูก่อนภิกษุทั้งหลายเมื่อนั้น เราจึงยืนยันได้ว่า เป็นผู้ตรัสรู้สัมมาสัมโพธิญาณ อันยอดเยี่ยมในโลก พร้อมทั้งเทวโลก มารโลก พรหมโลก ในหมู่สัตว์ พร้อมทั้งสมณะ พรามหณ์ เทวดา และมนุษย์. 
ยโต จ โข เม ภิกฺขเว อิเมสุ จตูสุ อริยสจฺเจสุ เอวํ ติปริวฏฺฏํ ทฺวาทสาการํ ยถาภูตํ ญาณทสฺสนํ สุวิสุทฺธํ อโหสิ  อถาหํ ภิกฺขเว สเทวเก โลเก สมารเก สพฺรหฺมเก สสฺสมณพฺราหฺมณิยา ปชาย สเทวมนุสฺสาย อนุตฺตรํ สมฺมาสมฺโพธึ อภิสมฺพุทฺโธติ ปจฺจญฺญาสึ. 
ñāṇañ ca pana me dassanaṃ udapādi:  akuppā me cetovimutti, ayaṃ antimā jāti, n’ atthi dāni punabbhavo ’ti.  idaṃ avoca bhagavā, attamanā pañcavaggiyā bhikkhū bhagavato bhāsitaṃ abhinandanti.  imasmiñ ca pana veyyākaraṇasmiṃ bhaññamāne āyasmato Koṇḍaññassa virajaṃ vītamalaṃ dhammacakkhuṃ udapādi yaṃ kiñci samudayadhammaṃ sabbaṃ taṃ nirodhadhamman ti. |29| 
'And this knowledge and insight arose in my mind:  "The emancipation of my mind cannot be lost; this is my last birth; hence I shall not be born again!"'  Thus the Blessed One spoke.  The five Bhikkhus were delighted, and they rejoiced at the words of the Blessed One. And when this exposition was propounded, the venerable Kondañña obtained the pure and spotless Eye of the Truth (that is to say, the following knowledge): 'Whatsoever is subject to the condition of origination, is subject also to the condition of cessation.' 
อนึ่ง ปัญญาอันรู้เห็นได้เกิดขึ้นแล้วแก่เราว่า  ความพันวิเศษของเราไม่กลับกำเริบ ชาตินี้เป็นที่สุด ภพใหม่ไม่มีต่อไป.  ก็แลเมื่อพระผู้มีพระภาคเจ้าตรัสไวยากรณภาษิตนี้อยู่  ดวงตาเห็นธรรมปราศจากธุลี ปราศจากมลทิน ได้เกิดขึ้นแก่ท่านพระโกณฑัญญะว่า สิ่งใดสิ่งหนึ่งมีความเกิดขึ้นเป็นธรรมดา สิ่งนั้นทั้งมวล มีความคับเป็นธรรมดา. 
ญาณญฺจ ปน เม ทสฺสนํ อุทปาทิ  อกุปฺปา เม วิมุตฺติ อยมนฺติมา ชาติ นตฺถิ ทานิ ปุนพฺภโว”ติ.  อิทมโวจ ภควา อตฺตมนา ปญฺจวคฺคิยา ภิกฺขู ภควโต ภาสิตํ อภินนฺทุนฺติ .  อิมสฺมิญฺจ ปน เวยฺยากรณสฺมึ ภญฺญมาเน อายสฺมโต โกณฺฑญฺญสฺส วิรชํ วีตมลํ ธมฺมจกฺขุํ อุทปาทิ “ยํ กิญฺจิ สมุทยธมฺมํ สพฺพํ ตํ นิโรธธมฺม”นฺติ. 
pavattite ca bhagavatā dhammacakke bhummā devā saddaṃ anussāvesuṃ:  evaṃ bhagavatā Bārāṇasiyaṃ Isipatane (12) migadāye anuttaraṃ dhammacakkaṃ pavattitaṃ appaṭivattiyaṃ samaṇena vā brāhmaṇena vā devena vā Mārena vā Brahmunā vā kenaci vā lokasmin ti.  bhummānaṃ devānaṃ saddaṃ sutvā Cātumahārājikā devā saddaṃ anussāvesuṃ --la-- Cātumahārājikānaṃ devānaṃ saddaṃ sutvā Tāvatiṃsā devā --la-- Yāmā devā --la-- Tusitā devā --la-- Nimmānaratī devā --la-- Paranimmitavasavattī devā --la-- Brahmakāyikā devā saddaṃ anussāvesuṃ:  evaṃ bhagavatā Bārāṇasiyaṃ Isipatane migadāye anuttaraṃ dhammacakkaṃ pavattitaṃ appaṭivattiyaṃ samaṇena vā brāhmaṇena vā devena vā Mārena vā Brahmunā vā kenaci vā lokasmin ti. |30| 
And as the Blessed One had founded the Kingdom of Truth (by propounding the four Noble Truths), the earth-inhabiting devas shouted:  'Truly the Blessed One has founded at Benares, in the deer park Isipatana, the highest kingdom of Truth, which may be opposed neither by a Samana nor by a Brâhmana, neither by a deva, nor by Mâra, nor by Brahma, nor by any being in the world.'  Hearing the shout of the earth-inhabiting devas, the kâtumahârâgika devas (gods belonging to the world of the four divine mahârâgas) shouted, . . . . (&c., as above). Hearing the shout of the kâtumahârâgika devas, the tâvatimsa devas, the yâma devas, the tusita devas, the nimmânarati devas, the paranimmitavasavatti devas, the brahmakâyika devas shouted:  'Truly the Blessed One, . . . .' (&c., as above). 
[๑๗] ครั้นพระผู้มีพระภาคเจ้าทรงประกาศธรรมจักรให้เป็นไปแล้วเหล่าภุมมเทวดาได้บันลือเสียงว่า  นั่นพระธรรมจักรอันยอดเยี่ยม พระผู้มีพระภาคเจ้าทรงประกาศให้เป็นไปแล้ว ณ ป่าอิสิปตนะมฤคทายวัน เขตพระนครพาราณสี อันสมณะ พราหมณ์ เทวดา มาร พรหม หรือใคร ๆ ในโลกจะปฏิวัติไม่ได้.  เทวดาชั้นจาตุมหาราช ได้ยินเสียงของพวกภุมมเทวดาแล้ว ก็บันลือเสียงต่อไป. เทวดาชั้นดาวดึงส์ ได้ยินเสียงของพวกเทวดาชั้นจาตุมหาราชแล้ว ก็บันลือเสียงต่อไป. เทวดาชั้นยามา . . . เทวดาชั้นดุสิต. . . เทวดาชั้นนิมมานรดี . . . เทวดาชั้นปรนิมมิตวสวัตดี . . . เทวดาที่นับเนื่องในหมู่พรหมได้ยินเสียงของพวกเทวดาชั้นปรนิมมิตวสวัตดีแล้ว ก็บันลือเสียงต่อไปว่า  นั่นพระธรรมจักรอันยอดเยี่ยม พระผู้มีพระภาคเจ้า ทรงประกาศให้เป็นไปแล้ว ณ ป่าอิสิปตนะมฤคทายวัน เขตพระนครพาราณสี อันสมณะ พราหมณ์ เทวดา มาร พรหม หรือใคร ๆ ในโลก จะปฏิวัติไม่ได้. 
๑๗. ปวตฺติเต จ ปน ภควตา ธมฺมจกฺเก ภุมฺมา เทวา สทฺทมนุสฺสาเวสุํ  “เอตํ ภควตา พาราณสิยํ อิสิปตเน มิคทาเย อนุตฺตรํ ธมฺมจกฺกํ ปวตฺติตํ อปฺปฏิวตฺติยํ สมเณน วา พฺราหฺมเณน วา เทเวน วา มาเรน วา พฺรหฺมุนา วา เกนจิ วา โลกสฺมิ”นฺติ.  ภุมฺมานํ เทวานํ สทฺทํ สุตฺวา จาตุมหาราชิกา เทวา สทฺทมนุสฺสาเวสุํฯเปฯ จาตุมหาราชิกานํ เทวานํ สทฺทํ สุตฺวา ตาวตึสา เทวาฯเปฯ ยามา เทวาฯเปฯ ตุสิตา เทวาฯเปฯ นิมฺมานรตี เทวาฯเปฯ ปรนิมฺมิตวสวตฺตี เทวาฯเปฯ พฺรหฺมกายิกา เทวา สทฺทมนุสฺสาเวสุํ  “เอตํ ภควตา พาราณสิยํ อิสิปตเน มิคทาเย อนุตฺตรํ ธมฺมจกฺกํ ปวตฺติตํ อปฺปฏิวตฺติยํ สมเณน วา พฺราหฺมเณน วา เทเวน วา มาเรน วา พฺรหฺมุนา วา เกนจิ วา โลกสฺมิ”นฺติ. 
iti ha tena khaṇena tena layena tena muhuttena yāva Brahmalokā saddo abbhuggacchi, ayañ ca kho dasasahassilokadhātu saṃkampi sampakampi sampavedhi, appamāṇo ca uḷāro obhāso loke pāturahosi atikkamma devānaṃ devānubhāvaṃ.  atha kho bhagavā imaṃ udānaṃ udānesi:  aññāsi vata bho Koṇḍañño aññāsi vata bho Koṇḍañño ’ti.  iti h’ idaṃ āyasmato Koṇḍaññassa Aññātakoṇḍañño tv eva nāmaṃ ahosi. |31| 
Thus in that moment, in that instant, in that second the shout reached the Brahma world; and this whole system of ten thousand worlds quaked, was shaken, and trembled; and an infinite, mighty light was seen through the world, which surpassed the light that can be produced by the divine power of the devas.  And the Blessed One pronounced this solemn utterance:  'Truly Kondañña has perceived it ("aññâsi"), truly Kondañña has perceived it!'  Hence the venerable Kondañña received the name Aññâtakondañña (Kondañña who has perceived the doctrine). 
ชั่วขณะกาลครู่หนึ่งนั้น เสียงกระฉ่อนขึ้นไปจนถึงพรหมโลกด้วยประการฉะนั้นแล. ทั้งหมื่นโลกธาตุนี้ได้หวั่นไหวสะเทือนสะท้าน ทั้งแสงสว่างอันยิ่งใหญ่หาประมาณมิได้ ปรากฏแล้วในโลกล่วงเทวานุภาพของเทวดาทั้งหลาย.  ลำดับนั้น พระผู้มีพระภาคเจ้าทรงเปล่งพระอุทานว่า  ท่านผู้เจริญโกณฑัญญะได้รู้แล้วหนอ ท่านผู้เจริญ โกณฑัญญะได้รู้แล้วหนอ  เพราะเหตุนั้น คำว่า อัญญาโกณฑัญญะนี้ จึงได้เป็นชื่อของท่านพระโกณฑัญญะ ด้วยประการฉะนี้. ธัมมจักกัปปวัตตนสูตร จบ 
อิติห เตน ขเณน เตน ลเยน เตน มุหุตฺเตน ยาว พฺรหฺมโลกา สทฺโท อพฺภุคฺคจฺฉิ. อยญฺจ ทสสหสฺสิโลกธาตุ สํกมฺปิ สมฺปกมฺปิ สมฺปเวธิ อปฺปมาโณ จ อุฬาโร โอภาโส โลเก ปาตุรโหสิ อติกฺกมฺม เทวานํ เทวานุภาวํ.  อถ โข ภควา อิมํ อุทานํ อุทาเนสิ  “อญฺญาสิ วต โภ โกณฺฑญฺโญ อญฺญาสิ วต โภ โกณฺฑญฺโญ”ติ.  อิติ หิทํ อายสฺมโต โกณฺฑญฺญสฺส ‘อญฺญาสิโกณฺฑญฺโญ’ ตฺเวว นามํ อโหสิ. 
atha kho āyasmā Aññātakoṇḍañño diṭṭhadhammo pattadhammo viditadhammo pariyogāḷhadhammo tiṇṇavicikiccho vigatakathaṃkatho vesārajjappatto aparappaccayo satthu sāsane bhagavantaṃ etad avoca:  labheyyāhaṃ bhante bhagavato santike pabbajjaṃ, labheyyaṃ upasampadan ti.  ehi bhikkhū ’ti bhagavā avoca, svākkhāto dhammo, cara brahmacariyaṃ sammā dukkhassa antakiriyāyā ’ti.  sā ’va tassa āyasmato upasampadā ahosi. |32| 
And the venerable Aññâtakondañña, having seen the Truth, having mastered the Truth, having understood the Truth, having penetrated the Truth, having overcome uncertainty, having dispelled all doubts, having gained full knowledge, dependent on nobody else for knowledge of the doctrine of the Teacher, thus spoke to the Blessed One:  'Lord, let me receive the pabbaggâ and upasampadâ ordinations from the Blessed One.'  'Come, O Bhikkhu,' said the Blessed One, 'well taught is the doctrine; lead a holy life for the sake of the complete extinction of suffering.'  Thus this venerable person received the upasampadâ ordination. 
พระปัญจวัคคีย์ทูลขอบรรพชาอุปสมบท [๑๘] ครั้งนั้น ท่านพระอัญญาโกณฑัญญะ ได้เห็นธรรมแล้ว ได้บรรลุธรรมแล้ว ได้รู้ธรรมแจ่มแจ้งแล้ว มีธรรมอันหยั่งลงแล้ว ข้ามความสงสัยได้แล้ว ปราศจากถ้อยคำแสดงความสงสัย ถึงความเป็นผู้แกล้วกล้า ไม่ต้องเชื่อผู้อื่นในคำสอนของพระศาสดา ได้ทูลคำนี้ต่อพระผู้มีพระภาคว่า  ขอข้าพระองค์พึงได้บรรพชา พึงได้อุปสมบท ในสำนักพระผู้มีพระภาคพระพุทธเจ้าข้า.  พระผู้มีพระภาคตรัสว่า เธอจงเป็นภิกษุมาเถิด ดังนี้ แล้วตรัสต่อไปว่าธรรมอันเรากล่าวดีแล้ว เธอจงประพฤติพรหมจรรย์ เพื่อทำที่สุดทุกข์โดยชอบเถิด.  พระวาจานั้นแล ได้เป็นอุปสมบทของท่านผู้มีอายุนั้น. 
๑๘. อถ โข อายสฺมา อญฺญาสิโกณฺฑญฺโญ ทิฏฺฐธมฺโม ปตฺตธมฺโม วิทิตธมฺโม ปริโยคาฬฺหธมฺโม ติณฺณวิจิกิจฺโฉ วิคตกถํกโถ เวสารชฺชปฺปตฺโต อปรปฺปจฺจโย สตฺถุสาสเน ภควนฺตํ เอตทโวจ  “ลเภยฺยาหํ ภนฺเต ภควโต สนฺติเก ปพฺพชฺชํ ลเภยฺยํ อุปสมฺปท”นฺติ.  “เอหิ ภิกฺขู”ติ ภควา อโวจ “สฺวากฺขาโต ธมฺโม จร พฺรหฺมจริยํ สมฺมา ทุกฺขสฺส อนฺตกิริยายา”ติ.  สาว ตสฺส อายสฺมโต อุปสมฺปทา อโหสิ. 
atha kho bhagavā tadavasese bhikkhū dhammiyā kathāya ovadi anusāsi.  atha kho āyasmato ca Vappassa āyasmato ca Bhaddiyassa bhagavatā dhammiyā kathāya ovadiyamānānaṃ anusāsiyamānānaṃ virajaṃ vītamalaṃ dhammacakkhuṃ udapādi yaṃ kiñci samudayadhammaṃ sabbaṃ taṃ nirodhadhamman ti. |33| 
And the Blessed One administered to the other Bhikkhus exhortation and instruction by discourses relating to the Dhamma.  And the venerable Vappa, and the venerable Bhaddiya, when they received from the Blessed One such exhortation and instruction by discourses relating to the Dhamma, obtained the pure and spotless Eye of the Truth (that is to say, the following knowledge): 'Whatsoever is subject to the condition of origination is subject also to the condition of cessation.' 
[๑๙] ครั้นต่อมา พระผู้มีพระภาคได้ทรงประทานโอวาทสั่งสอนภิกษุทั้งหลายที่เหลือจากนั้นด้วยธรรมีกถา.  เมื่อพระผู้มีพระภาคทรงประทานโอวาทสั่งสอนด้วยธรรมีกถาอยู่ ดวงตาเห็นธรรม ปราศจากธุลี ปราศจากมลทิน ได้เกิดขึ้นแก่ท่านพระวัปปะและท่านพระภัททิยะว่าสิ่งใดสิ่งหนึ่งมีความเกิดขึ้นเป็นธรรมดา สิ่งนั้นทั้งมวลมีความดับเป็นธรรมดา. 
๑๙. อถ โข ภควา ตทวเสเส ภิกฺขู ธมฺมิยา กถาย โอวทิ อนุสาสิ.  อถ โข อายสฺมโต จ วปฺปสฺส อายสฺมโต จ ภทฺทิยสฺส ภควตา ธมฺมิยา กถาย โอวทิยมานานํ อนุสาสิยมานานํ วิรชํ วีตมลํ ธมฺมจกฺขุํ อุทปาทิ ยํ กิญฺจิ สมุทยธมฺมํ สพฺพํ ตํ นิโรธธมฺมนฺติ. 
te diṭṭhadhammā pattadhammā viditadhammā pariyogāḷhadhammā tiṇṇavicikicchā vigatakathaṃkathā vesārajjappattā aparappaccayā satthu sāsane bhagavantaṃ etad avocuṃ: labheyyāma mayaṃ bhante bhagavato santike pabbajjaṃ, labheyyāma upasampadan ti.  etha bhikkhavo ’ti bhagavā avoca, svākkhāto dhammo, cara-(13)tha brahmacariyaṃ sammā dukkhassa antakiriyāyā ’ti.  sā ’va tesaṃ āyasmantānaṃ upasampadā ahosi. |34| 
And having seen the Truth, having mastered the Truth, . . . . (&c., as in § 32), they thus spoke to the Blessed One: 'Lord, let us receive the pabbaggâ and upasampadâ ordinations from the Blessed One.'  'Come, O Bhikkhus,' said the Blessed One, 'well taught is the doctrine; lead a holy life for the sake of the complete extinction of suffering.'  Thus these venerable persons received the upasampadâ ordination. 
ท่านทั้งสองนั้นได้เห็นธรรมแล้ว ได้บรรลุธรรมแล้ว ได้รู้ธรรมแจ่มแจ้งแล้ว มีธรรมอันหยั่งลงแล้ว ข้ามความสงสัยได้แล้ว ปราศจากถ้อยคำแสดงความสงสัย ถึงความเป็นผู้แกล้วกล้า ไม่ต้องเชื่อผู้อื่นในคำสอนของพระศาสดา ได้ทูลคำนี้ต่อพระผู้มีพระภาคว่า ขอข้าพระองค์ทั้งสองพึงได้บรรพชาพึงได้อุปสมบท ในสำนักพระผู้มีพระภาค พระพุทธเจ้าข้า.  พระผู้มีพระภาคตรัสว่า เธอทั้งสองจงเป็นภิกษุมาเถิด ดังนี้ แล้วได้ตรัสต่อไปว่าธรรมอันเรากล่าวดีแล้ว เธอทั้งสองจงประพฤติพรหมจรรย์ เพื่อทำที่สุดทุกข์โดยชอบเถิด.  พระวาจานั้นแล ได้เป็นอุปสมบทของท่านผู้มีอายุทั้งสองนั้น. 
เต ทิฏฺฐธมฺมา ปตฺตธมฺมา วิทิตธมฺมา ปริโยคาฬฺหธมฺมา ติณฺณวิจิกิจฺฉา วิคตกถํกถา เวสารชฺชปฺปตฺตา อปรปฺปจฺจยา สตฺถุสาสเน ภควนฺตํ เอตทโวจุํ “ลเภยฺยาม มยํ ภนฺเต ภควโต สนฺติเก ปพฺพชฺชํ ลเภยฺยาม อุปสมฺปท”นฺติ.  “เอถ ภิกฺขโว”ติ ภควา อโวจ “สฺวากฺขาโต ธมฺโม จรถ พฺรหฺมจริยํ สมฺมา ทุกฺขสฺส อนฺตกิริยายา”ติ.  สาว เตสํ อายสฺมนฺตานํ อุปสมฺปทา อโหสิ. 
atha kho bhagavā tadavasese bhikkhū nīhārabhatto iminā nihārena dhammiyā kathāya ovadi anusāsi:  yaṃ tayo bhikkhū piṇḍāya caritvā āharanti, tena chabbaggo yāpeti. |35| 
And the Blessed One, living on what the Bhikkhus brought him, administered to the other Bhikkhus exhortation and instruction by discourse relating to the Dhamma;  in this way the six persons lived on what the three Bhikkhus brought home from their alms pilgrimage. 
ครั้งนั้น พระผู้มีพระภาคเสวยพระกระยาหารที่ท่านทั้งสามนำมาถวาย ได้ทรงประทานโอวาทสั่งสอนภิกษุที่เหลือจากนั้นด้วยธรรมีกถา.  ภิกษุเที่ยวบิณฑบาตนำบิณฑบาตใดมา ทั้ง ๖ รูปก็เลี้ยงชีพด้วยบิณฑบาตนั้น. 
อถ โข ภควา ตทวเสเส ภิกฺขู นีหารภตฺโต ธมฺมิยา กถาย โอวทิ อนุสาสิ.  ยํ ตโย ภิกฺขู ปิณฺฑาย จริตฺวา อาหรนฺติ เตน ฉพฺพคฺโค ยาเปติ. 
atha kho āyasmato ca Mahānāmassa āyasmato ca Assajissa bhagavatā dhammiyā kathāya ovadiyamānānaṃ anusāsiyamānānaṃ virajaṃ vītamalaṃ dhammacakkhuṃ udapādi yaṃ kiñci samudayadhammaṃ sabbaṃ taṃ nirodhadhamman ti. |36| 
And the venerable Mahânâma and the venerable Assagi, when they received from the Blessed One, . . . . (&c., as in §§ 33, 34, down to:). 
วันต่อมา เมื่อพระผู้มีพระภาคทรงประทานโอวาทสั่งสอนด้วยธรรมีกถาอยู่ ดวงตาเห็นธรรม ปราศจากธุลี ปราศจากมลทินได้เกิดขึ้นแก่ท่านพระมหานามะและท่านพระอัสสชิว่า สิ่งใดสิ่งหนึ่งมีความเกิดขึ้นเป็นธรรมดา สิ่งนั้นทั้งมวลมีความดับเป็นธรรมดา. 
อถ โข อายสฺมโต จ มหานามสฺส อายสฺมโต จ อสฺสชิสฺส ภควตา ธมฺมิยา กถาย โอวทิยมานานํ อนุสาสิยมานานํ วิรชํ วีตมลํ ธมฺมจกฺขุํ อุทปาทิ ยํ กิญฺจิ สมุทยธมฺมํ สพฺพํ ตํ นิโรธธมฺมนฺติ 
te diṭṭhadhammā pattadhammā viditadhammā pariyogāḷhadhammā tiṇṇavicikicchā vigatakathaṃkathā vesārajjappattā aparappaccayā satthu sāsane bhagavantaṃ etad avocuṃ:  labheyyāma mayaṃ bhante bhagavato santike pabbajjaṃ, labheyyāma upasampadan ti.  etha bhikkhavo ’ti bhagavā avoca, svākkhāto dhammo, caratha brahmacariyaṃ sammā dukkhassa antakiriyāyā ’ti.  sā ’va tesaṃ āyasmantānaṃ upasampadā ahosi. |37| 
ท่านทั้งสองได้เห็นธรรมแล้ว ได้บรรลุธรรมแล้ว ได้รู้ธรรมแจ่มแจ้งแล้ว มีธรรมอันหยั่งลงแล้ว ข้ามความสงสัยได้แล้ว ปราศจากถ้อยคำแสดงความสงสัย ถึงความเป็นผู้แกล้วกล้า ไม่ต้องเชื่อผู้อื่นในคำสอนของพระศาสดา ได้ทูลคำนี้ต่อพระผู้มีพระภาคว่า  ขอข้าพระองค์ทั้งสอง พึงได้บรรพชา พึงได้อุปสมบทในสำนักพระผู้มีพระภาค พระพุทธเจ้าข้า.  พระผู้มีพระภาคตรัสว่า เธอทั้งสองจงเป็นภิกษุมาเถิด ดังนี้ แล้วได้ตรัสต่อไปว่าธรรมอันเรากล่าวดีแล้ว เธอทั้งสองจงประพฤติพรหมจรรย์ เพื่อทำที่สุดทุกข์โดยชอบเถิด.  พระวาจานั้นแล ได้เป็นอุปสมบทของท่านผู้มีอายุทั้งสองนั้น. 
เต ทิฏฺฐธมฺมา ปตฺตธมฺมา วิทิตธมฺมา ปริโยคาฬฺหธมฺมา ติณฺณวิจิกิจฺฉา วิคตกถํกถา เวสารชฺชปฺปตฺตา อปรปฺปจฺจยา สตฺถุสาสเน ภควนฺตํ เอตทโวจุํ  “ลเภยฺยาม มยํ ภนฺเต ภควโต สนฺติเก ปพฺพชฺชํ ลเภยฺยาม อุปสมฺปท”นฺติ.  “เอถ ภิกฺขโว”ติ ภควา อโวจ “สฺวากฺขาโต ธมฺโม จรถ พฺรหฺมจริยํ สมฺมา ทุกฺขสฺส อนฺตกิริยายา”ติ.  สาว เตสํ อายสฺมนฺตานํ อุปสมฺปทา อโหสิ. 
atha kho bhagavā pañcavaggiye bhikkhū āmantesi:  rūpaṃ bhikkhave anattā, rūpañ ca h’ idaṃ bhikkhave attā abhavissa, na yidaṃ rūpaṃ ābādhāya saṃvatteyya, labbhetha ca rūpe evaṃ me rūpaṃ hotu, evaṃ me rūpaṃ mā ahosīti.  yasmā ca kho bhikkhave rūpaṃ anattā, tasmā rūpaṃ ābādhāya saṃvattati, na ca labbhati rūpe evaṃ me rūpaṃ hotu, evaṃ me rūpaṃ mā ahosīti. |38| 
Thus these venerable persons received the upasampadâ ordination.  And the Blessed One thus spoke to the five Bhikkhus:  'The body (Rûpa), O Bhikkhus, is not the self. If the body, O Bhikkhus, were the self, the body would not be subject to disease, and we should be able to say: "Let my body be such and such a one, let my body not be such and such a one." 
ทรงแสดงอนัตตลักขณสูตร [๒๐] ครั้งนั้น พระผู้มีพระภาครับสั่งกะพระปัญจวัคคีย์ว่า  ดูกรภิกษุทั้งหลาย รูปเป็นอนัตตา ดูกรภิกษุทั้งหลาย ถ้ารูปนี้จักได้เป็นอัตตาแล้ว รูปนี้ไม่พึงเป็นเพื่ออาพาธ และบุคคลพึงได้ในรูปว่า รูปของเราจงเป็นอย่างนี้เถิด รูปของเราอย่าได้เป็นอย่างนั้นเลย.  ดูกรภิกษุทั้งหลาย ก็เพราะรูปเป็นอนัตตา ฉะนั้นรูปจึงเป็นไปเพื่ออาพาธ และบุคคลย่อมไม่ได้ในรูปว่ารูปของเราจงเป็นอย่างนี้เถิด รูปของเราอย่าได้เป็นอย่างนั้นเลย. 
๒๐. อถ โข ภควา ปญฺจวคฺคิเย ภิกฺขู อามนฺเตสิ  “รูปํ ภิกฺขเว อนตฺตา. รูปญฺจ หิทํ ภิกฺขเว อตฺตา อภวิสฺส นยิทํ รูปํ อาพาธาย สํวตฺเตยฺย ลพฺเภถ จ รูเป ‘เอวํ เม รูปํ โหตุ เอวํ เม รูปํ มา อโหสี’ติ.  ยสฺมา จ โข ภิกฺขเว รูปํ อนตฺตา ตสฺมา รูปํ อาพาธาย สํวตฺตติ น จ ลพฺภติ รูเป ‘เอวํ เม รูปํ โหตุ เอวํ เม รูปํ มา อโหสี’ติ. เวทนา อนตฺตา. 
vedanā anattā, vedanā ca h’ idaṃ bhikkhave attā abhavissa, na yidaṃ vedanā ābādhāya saṃvatteyya, labbhetha ca vedanāya evaṃ me vedanā hotu, evaṃ me vedanā mā ahosīti.  yasmā ca kho bhikkhave vedanā anattā, tasmā vedanā ābādhāya saṃvattati, na ca labbhati vedanāya evaṃ me vedanā hotu, evaṃ me vedanā mā ahosīti. |39| 
But since the body, O Bhikkhus, is not the self, therefore the body is subject to disease, and we are not able to say: "Let my body be such and such a one, let my body not be such and such a one."  'Sensation (Vedanâ), O Bhikkhus, is not the self, . . . . (&c.1) Perception (Saññâ) is not the self, . . . . The Samkhâras are not the self, . . . . Consciousness (Viññâna) is not the self, . . . . (&c.1) 
เวทนาเป็นอนัตตา ดูกรภิกษุทั้งหลาย ถ้าเวทนานี้จักได้เป็นอัตตาแล้ว เวทนานี้ไม่พึงเป็นไปเพื่ออาพาธ และบุคคลพึงได้ในเวทนาว่า เวทนาของเราจงเป็นอย่างนี้เถิด เวทนาของเราจงอย่าได้เป็นอย่างนั้นเลย.  ดูกรภิกษุทั้งหลาย ก็เพราะเวทนาเป็นอนัตตา ฉะนั้น เวทนาจึงเป็นไปเพื่ออาพาธ และบุคคลย่อมไม่ได้ในเวทนาว่า เวทนาของเรา จงเป็นอย่างนั้นเถิด เวทนาของเราอย่าได้เป็นอย่างนั้นเลย. 
เวทนา จ หิทํ ภิกฺขเว อตฺตา อภวิสฺส นยิทํ เวทนา อาพาธาย สํวตฺเตยฺย ลพฺเภถ จ เวทนาย ‘เอวํ เม เวทนา โหตุ เอวํ เม เวทนา มา อโหสี’ติ.  ยสฺมา จ โข ภิกฺขเว เวทนา อนตฺตา ตสฺมา เวทนา อาพาธาย สํวตฺตติ น จ ลพฺภติ เวทนาย ‘เอวํ เม เวทนา โหตุ เอวํ เม เวทนา มา อโหสี’ติ. 
saññā anattā --la-- saṃkhārā anattā, saṃkhārā ca h’ idaṃ bhikkhave attā abhavissaṃsu, na yidaṃ saṃkhārā ābādhāya saṃvatteyyuṃ, labbhetha ca saṃkhāresu evaṃ me saṃkhārā hontu, evaṃ me saṃkhārā mā ahesun ti.  yasmā ca kho bhikkhave saṃkhārā anattā, tasmā saṃkhārā ābādhāya saṃvattanti, na ca labbhati saṃkhāresu evaṃ me saṃkhārā hontu, evaṃ me saṃkhārā mā ahesun ti. |40| 
สัญญาเป็นอนัตตา ดูกรภิกษุทั้งหลาย ถ้าสัญญานี้จักได้เป็นอัตตาแล้ว สัญญานี้ไม่พึงเป็นไปเพื่ออาพาธ และบุคคลพึงได้ในสัญญาว่า สัญญาของเราจงเป็นอย่างนี้เถิด สัญญาของเราอย่าได้เป็นอย่างนั้นเลย. ดูกรภิกษุทั้งหลาย ก็เพราะสัญญาเป็นอนัตตา ฉะนั้น สัญญาจึงเป็นไปเพื่ออาพาธ และบุคคลย่อมไม่ได้ในสัญญาว่า สัญญาของเราจงเป็นอย่างนี้เถิด สัญญาของเราอย่าได้เป็นอย่างนั้นเลย. สังขารทั้งหลายเป็นอนัตตา ดูกรภิกษุทั้งหลาย ถ้าสังขารเหล่านี้จักได้เป็นอัตตาแล้วสังขารเหล่านี้ไม่พึงเป็นไปเพื่ออาพาธ และบุคคลพึงได้ในสังขารทั้งหลายว่า สังขารทั้งหลายของเราจงเป็นอย่างนี้เถิด สังขารทั้งหลายของเราอย่าได้เป็นอย่างนั้นเลย.  ดูกรภิกษุทั้งหลาย ก็เพราะสังขารทั้งหลายเป็นอนัตตา ฉะนั้น สังขารทั้งหลายจึงเป็นไปเพื่ออาพาธ และบุคคลย่อมไม่ได้ในสังขารทั้งหลายว่า สังขารทั้งหลายของเรา จงเป็นอย่างนี้เถิด สังขารทั้งหลายของเราอย่าได้เป็นอย่างนั้นเลย. 
สญฺญา อนตฺตา. สญฺญา จ หิทํ ภิกฺขเว อตฺตา อภวิสฺส นยิทํ สญฺญา อาพาธาย สํวตฺเตยฺย ลพฺเภถ จ สญฺญาย ‘เอวํ เม สญฺญา โหตุ เอวํ เม สญฺญา มา อโหสี’ติ.  ยสฺมา จ โข ภิกฺขเว สญฺญา อนตฺตา ตสฺมา สญฺญา อาพาธาย สํวตฺตติ น จ ลพฺภติ สญฺญาย ‘เอวํ เม สญฺญา โหตุ เอวํ เม สญฺญา มา อโหสี’ติ. สงฺขารา อนตฺตา. สงฺขารา จ หิทํ ภิกฺขเว อตฺตา อภวิสฺสํสุ นยิทํ สงฺขารา อาพาธาย สํวตฺเตยฺยุํ ลพฺเภถ จ สงฺขาเรสุ ‘เอวํ เม สงฺขารา โหนฺตุ เอวํ เม สงฺขารา มา อเหสุ’นฺติ. ยสฺมา จ โข ภิกฺขเว สงฺขารา อนตฺตา ตสฺมา สงฺขารา อาพาธาย สํวตฺตนฺติ น จ ลพฺภติ สงฺขาเรสุ ‘เอวํ เม สงฺขารา โหนฺตุ เอวํ เม สงฺขารา มา อเหสุ’นฺติ. 
viññāṇaṃ anattā, viññāṇañ ca h’ idaṃ bhikkhave attā abhavissa, na yidaṃ viññāṇaṃ ābādhāya saṃ-(14)vatteyya, labbhetha ca viññāṇe evaṃ me viññāṇaṃ hotu, evaṃ me viññāṇaṃ mā ahosīti.  yasmā ca kho bhikkhave viññāṇaṃ anattā, tasmā viññāṇaṃ ābādhāya saṃvattati, na ca labbhati viññāṇe evaṃ me viññāṇaṃ hotu, evaṃ me viññāṇaṃ mā ahosīti. |41| 
วิญญาณเป็นอนัตตา ดูกรภิกษุทั้งหลาย ถ้าวิญญาณนี้จักได้เป็นอัตตาแล้ว วิญญาณนี้ไม่พึงเป็นไปเพื่ออาพาธ และบุคคลพึงได้ในวิญญาณว่า วิญญาณของเราจงเป็นอย่างนี้เถิด วิญญาณของเราอย่าได้เป็นอย่างนั้นเลย  ดูกรภิกษุทั้งหลาย ก็เพราะวิญญาณเป็นอนัตตา ฉะนั้นวิญญาณจึงเป็นไปเพื่ออาพาธ และบุคคลย่อมไม่ได้ในวิญญาณว่า วิญญาณของเราจงเป็นอย่างนี้เถิด วิญญาณของเราอย่าได้เป็นอย่างนั้นเลย. 
วิญฺญาณํ อนตฺตา. วิญฺญาณญฺจ หิทํ ภิกฺขเว อตฺตา อภวิสฺส นยิทํ วิญฺญาณํ อาพาธาย สํวตฺเตยฺย ลพฺเภถ จ วิญฺญาเณ ‘เอวํ เม วิญฺญาณํ โหตุ เอวํ เม วิญฺญาณํ มา อโหสี’ติ.  ยสฺมา จ โข ภิกฺขเว วิญฺญาณํ อนตฺตา ตสฺมา วิญฺญาณํ อาพาธาย สํวตฺตติ น จ ลพฺภติ วิญฺญาเณ ‘เอวํ เม วิญฺญาณํ โหตุ เอวํ เม วิญฺญาณํ มา อโหสี’ติ. 
taṃ kiṃ maññatha bhikkhave, rūpaṃ niccaṃ vā aniccaṃ vā ’ti.  aniccaṃ bhante.  yaṃ panāniccaṃ, dukkhaṃ vā taṃ sukhaṃ vā ’ti.  dukkhaṃ bhante.  yaṃ panāniccaṃ dukkhaṃ vipariṇāmadhammaṃ, kallaṃ nu taṃ samanupassituṃ etaṃ mama, eso ’ham asmi, eso me attā ’ti.  no h’ etaṃ bhante. |42|  vedanā -- la --  saññā --la--  saṃkhārā --la--  viññāṇaṃ niccaṃ vā aniccaṃ  vā ’ti.  aniccaṃ bhante.  yaṃ panāniccaṃ, dukkhaṃ vā taṃ sukhaṃ vā ’ti.  dukkhaṃ bhante.  yaṃ panāniccaṃ dukkhaṃ vipariṇāmadhammam, kallaṃ nu taṃ samanupassituṃ etaṃ mama, eso ’ham asmi, eso me attā ’ti.  no h’ etaṃ bhante. |43| 
'Now what do you think, O Bhikkhus, is the body permanent or perishable?'  'It is perishable, Lord.'  'And that which isperishable, does that cause pain or joy?'  'It causes pain, Lord.'  'And that which is perishable, painful, subject to change, is it possible to regard that in this way: 'This is mine, this am I, this is my self?'  'That is impossible, Lord.'  'Is sensation permanent or perishable?' . . . . (&c.1) 
ตรัสถามความเห็นของพระปัญจวัคคีย์ [๒๑] พระผู้มีพระภาคตรัสถามว่า ดูกรภิกษุทั้งหลาย พวกเธอสำคัญความข้อนั้นเป็นไฉน รูปเที่ยงหรือไม่เที่ยง?  พระปัญจวัคคีย์ทูลว่า ไม่เที่ยง พระพุทธเจ้าข้า.  ภ. ก็สิ่งใดไม่เที่ยง สิ่งนั้นเป็นทุกข์หรือเป็นสุขเล่า?  ป. เป็นทุกข์ พระพุทธเจ้าข้า.  ภ. ก็สิ่งใดไม่เที่ยง เป็นทุกข์ มีความแปรปรวนเป็นธรรมดา ควรหรือจะตามเห็นสิ่งนั้นว่า นั่นของเรา นั่นเป็นเรา นั่นเป็นตนของเรา?  ป. ข้อนั้น ไม่ควรเลย พระพุทธเจ้าข้า.  ภ. เวทนาเที่ยงหรือไม่เที่ยง? ป. ไม่เที่ยง พระพุทธเจ้าข้า. ภ. ก็สิ่งใดไม่เที่ยง สิ่งนั้นเป็นทุกข์หรือเป็นสุขเล่า? ป. เป็นทุกข์ พระพุทธเจ้าข้า. ภ. ก็สิ่งใดไม่เที่ยง เป็นทุกข์ มีความแปรปรวนเป็นธรรมดา ควรหรือจะตามเห็นสิ่งนั้นว่า นั่นของเรา นั่นเป็นเรา นั่นเป็นตนของเรา? ป. ข้อนั้นไม่ควรเลย พระพุทธเจ้าข้า.  ภ. สัญญาเที่ยงหรือไม่เที่ยง? ป. ไม่เที่ยง พระพุทธเจ้าข้า. ภ. ก็สิ่งใดไม่เที่ยง สิ่งนั้นเป็นทุกข์หรือเป็นสุขเล่า? ป. เป็นทุกข์ พระพุทธเจ้าข้า. ภ. ก็สิ่งใดไม่เที่ยง เป็นทุกข์ มีความแปรปรวนเป็นธรรมดา ควรหรือจะตามเห็นสิ่งนั้นว่า นั่นของเรา นั่นเป็นเรา นั่นเป็นตนของเรา? ป. ข้อนั้นไม่ควรเลย พระพุทธเจ้าข้า.  ภ. สังขารทั้งหลายเที่ยงหรือไม่เที่ยง? ป. ไม่เที่ยง พระพุทธเจ้าข้า. ภ. ก็สิ่งใดไม่เที่ยง สิ่งนั้นเป็นทุกข์หรือเป็นสุขเล่า? ป. เป็นทุกข์ พระพุทธเจ้าข้า. ภ. ก็สิ่งใดไม่เที่ยง เป็นทุกข์ มีความแปรปรวนเป็นธรรมดา ควรหรือจะตามเห็นสิ่งนั้นว่า นั่นของเรา นั่นเป็นเรา นั่นเป็นตนของเรา? ป. ข้อนั้นไม่ควรเลย พระพุทธเจ้าข้า.  ภ. วิญญาณเที่ยงหรือไม่เที่ยง?  ป. ไม่เที่ยง พระพุทธเจ้าข้า.  ภ. ก็สิ่งใดไม่เที่ยง เป็นทุกข์หรือเป็นสุขเล่า?  ป. เป็นทุกข์ พระพุทธเจ้าข้า.  ภ. ก็สิ่งใดไม่เที่ยง เป็นทุกข์ มีความแปรปรวนเป็นธรรมดา ควรหรือจะตามเห็นสิ่ง  นั้นว่า นั่นของเรา นั่นเป็นเรา นั่นเป็นตนของเรา?  ป. ข้อนั้นไม่ควรเลย พระพุทธเจ้าข้า. 
๒๑. “ตํ กึ มญฺญถ ภิกฺขเว รูปํ นิจฺจํ วา อนิจฺจํ วาติ?  อนิจฺจํ ภนฺเต  ยํ ปนานิจฺจํ ทุกฺขํ วา ตํ สุขํ วาติ?  ทุกฺขํ ภนฺเต.  ยํ ปนานิจฺจํ ทุกฺขํ วิปริณามธมฺมํ กลฺลํ นุ ตํ สมนุปสฺสิตุํ เอตํ มม เอโสหมสฺมิ เอโส เม อตฺตาติ?  โน เหตํ ภนฺเต.  เวทนา นิจฺจา วา อนิจฺจา วาติ? อนิจฺจา ภนฺเต. ยํ ปนานิจฺจํ ทุกฺขํ วา ตํ สุขํ วาติ? ทุกฺขํ ภนฺเต. ยํ ปนานิจฺจํ ทุกฺขํ วิปริณามธมฺมํ กลฺลํ นุ ตํ สมนุปสฺสิตุํ เอตํ มม เอโสหมสฺมิ เอโส เม อตฺตาติ? โน เหตํ ภนฺเต.  สญฺญา นิจฺจา วา อนิจฺจา วาติ? อนิจฺจา ภนฺเต. ยํ ปนานิจฺจํ ทุกฺขํ วา ตํ สุขํ วาติ? ทุกฺขํ ภนฺเต. ยํ ปนานิจฺจํ ทุกฺขํ วิปริณามธมฺมํ กลฺลํ นุ ตํ สมนุปสฺสิตุํ เอตํ มม เอโสหมสฺมิ เอโส เม อตฺตาติ? โน เหตํ ภนฺเต.  สงฺขารา นิจฺจา วา อนิจฺจา วาติ? อนิจฺจา ภนฺเต. ยํ ปนานิจฺจํ ทุกฺขํ วา ตํ สุขํ วาติ? ทุกฺขํ ภนฺเต. ยํ ปนานิจฺจํ ทุกฺขํ วิปริณามธมฺมํ กลฺลํ นุ ตํ สมนุปสฺสิตุํ เอตํ มม เอโสหมสฺมิ เอโส เม อตฺตาติ? โน เหตํ ภนฺเต.  วิญฺญาณํ นิจฺจํ วา อนิจฺจํ  วาติ?  อนิจฺจํ ภนฺเต.  ยํ ปนานิจฺจํ ทุกฺขํ วา ตํ สุขํ วาติ?  ทุกฺขํ ภนฺเต.  ยํ ปนานิจฺจํ ทุกฺขํ วิปริณามธมฺมํ กลฺลํ นุ ตํ สมนุปสฺสิตุํ เอตํ มม เอโสหมสฺมิ เอโส เม อตฺตาติ?  โน เหตํ ภนฺเต. 
tasmāt iha bhikkhave yaṃ kiñci rūpaṃ atītānāgatapaccuppannaṃ ajjhattaṃ va bahiddhā vā oḷārikaṃ vā sukhumaṃ vā hīnaṃ vā paṇītaṃ vā yaṃ dūre vā santike vā, sabbaṃ rūpaṃ n’ etaṃ mama, n’ eso ’ham asmi, na me so attā ’ti evaṃ etaṃ yathābhūtaṃ sammappaññāya daṭṭhabbaṃ. |44|  yā kāci vedanā --la--  yā kāci saññā --la--  ye keci saṃkhārā --la--  yaṃ kiñci viññāṇaṃ atītānāgatapaccuppannaṃ ajjhattaṃ vā bahiddhā {vā} oḷārikaṃ vā sukhumaṃ vā hīnaṃ vā paṇītaṃ vā yaṃ dūre vā santike vā sabbaṃ viññāṇaṃ n’ etaṃ mama, n’ eso ’ham asmi, na {m’ eso} attā ’ti evaṃ etaṃ yathābhūtaṃ sammappaññāya daṭṭhabbaṃ. |45| 
'Therefore, O Bhikkhus, whatever body has been, will be, and is now, belonging or not belonging to sentient beings, gross or subtle, inferior or superior, distant or near, all that body is not mine, is not me, is not my self: thus it should be considered by right knowledge according to the truth.  'Whatever sensation, . . . . (&c.2) 
ตรัสให้พิจารณาโดยยถาภูตญาณทัสสนะ [๒๒] พระผู้มีพระภาคตรัสว่า ดูกรภิกษุทั้งหลาย เพราะเหตุนั้นแล รูปอย่างใดอย่างหนึ่งที่เป็นอดีต อนาคต และปัจจุบัน ภายในหรือภายนอก หยาบหรือละเอียด เลวหรือประณีต ไกลหรือใกล้ ทั้งหมดก็เป็นแต่สักว่ารูป เธอทั้งหลายพึงเห็นรูปนั้นด้วยปัญญาอันชอบตามเป็นจริงอย่างนี้ว่า นั่นไม่ใช่ของเรา นั่นไม่เป็นเรา นั่นไม่ใช่ตนของเรา.  เวทนาอย่างใดอย่างหนึ่ง ที่เป็นอดีต อนาคต และปัจจุบัน ภายในหรือภายนอกหยาบหรือละเอียด เลวหรือประณีต ไกลหรือใกล้ ทั้งหมดก็เป็นแต่สักว่าเวทนา เธอทั้งหลายพึงเห็นเวทนานั้นด้วยปัญญาอันชอบ ตามเป็นจริงอย่างนี้ว่า นั่นไม่ใช่ของเรา นั่นไม่เป็นเรานั่นไม่ใช่ตนของเรา.  สัญญาอย่างใดอย่างหนึ่งที่เป็นอดีต อนาคต และปัจจุบัน ภายในหรือภายนอก หยาบหรือละเอียด เลวหรือประณีต ไกลหรือใกล้ ทั้งหมดก็เป็นแต่สักว่าสัญญา เธอทั้งหลายพึงเห็นสัญญานั้นด้วยปัญญาอันชอบ ตามเป็นจริงอย่างนี้ว่า นั่นไม่ใช่ของเรา นั่นไม่เป็นเรา นั่นไม่ใช่ตนของเรา.  สังขารทั้งหลายอย่างใดอย่างหนึ่งที่เป็นอดีต อนาคต และปัจจุบัน ภายในหรือภายนอกหยาบหรือละเอียด เลวหรือประณีต ไกลหรือใกล้ ทั้งหมดก็เป็นแต่สักว่าสังขาร เธอทั้งหลายพึงเห็นสังขารนั้นด้วยปัญญาอันชอบ ตามเป็นจริงอย่างนี้ว่า นั่นไม่ใช่ของเรา นั่นไม่เป็นเรานั่นไม่ใช่ตนของเรา.  วิญญาณอย่างใดอย่างหนึ่งที่เป็นอดีต อนาคต และปัจจุบัน ภายในหรือภายนอกหยาบหรือละเอียด เลวหรือประณีต ไกลหรือใกล้ ทั้งหมดก็เป็นแต่สักว่าวิญญาณ เธอทั้งหลายพึงเห็นวิญญาณนั้นด้วยปัญญาอันชอบ ตามเป็นจริงอย่างนี้ว่า นั่นไม่ใช่ของเรา นั่นไม่เป็นเรานั่นไม่ใช่ตนของเรา. 
๒๒. “ตสฺมาติห ภิกฺขเว ยํ กิญฺจิ รูปํ อตีตานาคตปจฺจุปฺปนฺนํ อชฺฌตฺตํ วา พหิทฺธา วา โอฬาริกํ วา สุขุมํ วา หีนํ วา ปณีตํ วา ยํ ทูเร สนฺติเก วา สพฺพํ รูปํ เนตํ มม เนโสหมสฺมิ น เมโส อตฺตาติ เอวเมตํ ยถาภูตํ สมฺมปฺปญฺญาย ทฏฺฐพฺพํ.  ยา กาจิ เวทนา อตีตานาคตปจฺจุปฺปนฺนา อชฺฌตฺตํ วา พหิทฺธา วา โอฬาริกา วา สุขุมา วา หีนา วา ปณีตา วา ยา ทูเร สนฺติเก วา สพฺพา เวทนา เนตํ มม เนโสหมสฺมิ น เมโส อตฺตาติ เอวเมตํ ยถาภูตํ สมฺมปฺปญฺญาย ทฏฺฐพฺพํ.  ยา กาจิ สญฺญา อตีตานาคตปจฺจุปฺปนฺนา อชฺฌตฺตํ วา พหิทฺธา วา โอฬาริกา วา สุขุมา วา หีนา วา ปณีตา วา ยา ทูเร สนฺติเก วา สพฺพา สญฺญา เนตํ มม เนโสหมสฺมิ น เมโส อตฺตาติ เอวเมตํ ยถาภูตํ สมฺมปฺปญฺญาย ทฏฺฐพฺพํ.  เย เกจิ สงฺขารา อตีตานาคตปจฺจุปฺปนฺนา อชฺฌตฺตํ วา พหิทฺธา วา โอฬาริกา วา สุขุมา วา หีนา วา ปณีตา วา เย ทูเร สนฺติเก วา สพฺเพ สงฺขารา เนตํ มม เนโสหมสฺมิ น เมโส อตฺตาติ เอวเมตํ ยถาภูตํ สมฺมปฺปญฺญาย ทฏฺฐพฺพํ.  ยํ กิญฺจิ วิญฺญาณํ อตีตานาคตปจฺจุปฺปนฺนํ อชฺฌตฺตํ วา พหิทฺธา วา โอฬาริกํ วา สุขุมํ วา หีนํ วา ปณีตํ วา ยํ ทูเร สนฺติเก วา สพฺพํ วิญฺญาณํ เนตํ มม เนโสหมสฺมิ น เมโส อตฺตาติ เอวเมตํ ยถาภูตํ สมฺมปฺปญฺญาย ทฏฺฐพฺพํ. 
evaṃ passaṃ bhikkhave sutavā ariyasāvako rūpasmim pi nibbindati, vedanāya pi nibbindati, saññāya pi nibbindati, saṃkhāresu pi nibbindati, viññāṇasmim pi nibbindati, nibbindaṃ virajjati, virāgā vimuccati, vimuttasmiṃ vimutt’ amhīti ñāṇaṃ hoti, khīṇā jāti, vusitaṃ brahmacariyaṃ, kataṃ karaṇīyaṃ, nāparaṃ itthattāyā ’ti pajānātīti. |46| 
[๒๓] ดูกรภิกษุทั้งหลาย อริยสาวกผู้ได้ฟังแล้ว เห็นอยู่อย่างนี้ ย่อมเบื่อหน่ายแม้ในรูป ย่อมเบื่อหน่ายแม้ในเวทนา ย่อมเบื่อหน่ายแม้ในสัญญา ย่อมเบื่อหน่ายแม้ในสังขารทั้งหลาย ย่อมเบื่อหน่ายแม้ในวิญญาณ เมื่อเบื่อหน่าย ย่อมสิ้นกำหนัด เพราะสิ้นกำหนัด จิตก็พ้นเมื่อจิตพ้นแล้ว ก็รู้ว่าพ้นแล้ว อริยสาวกนั้นทราบชัดว่า ชาติสิ้นแล้ว พรหมจรรย์ได้อยู่จบแล้วกิจที่ควรทำได้ทำเสร็จแล้ว กิจอื่นอีกเพื่อความเป็นอย่างนี้มิได้มี. 
๒๓. “เอวํ ปสฺสํ ภิกฺขเว สุตวา อริยสาวโก รูปสฺมิมฺปิ นิพฺพินฺทติ เวทนายปิ นิพฺพินฺทติ สญฺญายปิ นิพฺพินฺทติ สงฺขาเรสุปิ นิพฺพินฺทติ วิญฺญาณสฺมิมฺปิ นิพฺพินฺทติ นิพฺพินฺทํ วิรชฺชติ วิราคา วิมุจฺจติ วิมุตฺตสฺมึ วิมุตฺตมิติ ญาณํ โหติ ‘ขีณา ชาติ วุสิตํ พฺรหฺมจริยํ กตํ กรณียํ นาปรํ อิตฺถตฺตายา’ติ ปชานาตี”ติ. 
idaṃ avoca bhagavā, attamanā pañcavaggiyā bhikkhū bhagavato bhāsitaṃ abhinandanti.  imasmiñ ca pana veyyākaraṇasmiṃ bhaññamāne pañcavaggiyānaṃ bhikkhūnaṃ anupādāya āsavehi {cittāni} vimucciṃsu.  tena kho pana samayena cha loke arahanto {honti.} |47| 
'Considering this, O Bhikkhus, a learned, noble hearer of the word becomes weary of body, weary of sensation, weary of perception, weary of the Samkhâras, weary of consciousness. Becoming weary of all that, he divests himself of passion; by absence of passion he is made free; when he is free, he becomes aware that he is free; and he realises that re-birth is exhausted; that holiness is completed; that duty is fulfilled; and that there is no further return to this world.'  Thus the Blessed One spoke; the five Bhikkhus were delighted, and rejoiced at the words of the Blessed One.  And when this exposition had been propounded, the minds of the five Bhikkhus became free from attachment to the world, and were released from the Âsavas. 
[๒๔] พระผู้มีพระภาคได้ตรัสพระสูตรนี้แล้ว พระปัญจวัคคีย์มีใจยินดี เพลิดเพลินภาษิตของพระผู้มีพระภาค.  ก็แลเมื่อพระผู้มีพระภาคตรัสไวยากรณภาษิตนี้อยู่ จิตของพระปัญจวัคคีย์พ้นแล้วจากอาสวะทั้งหลาย เพราะไม่ถือมั่น.  อนัตตลักขณสูตร จบ  ครั้งนั้น มีพระอรหันต์เกิดขึ้นในโลก ๖ องค์. 
๒๔. อิทมโวจ ภควา. อตฺตมนา ปญฺจวคฺคิยา ภิกฺขู ภควโต ภาสิตํ อภินนฺทุนฺติ .  อิมสฺมิญฺจ ปน เวยฺยากรณสฺมึ ภญฺญมาเน ปญฺจวคฺคิยานํ ภิกฺขูนํ อนุปาทาย อาสเวหิ จิตฺตานิ วิมุจฺจึสุ.  เตน โข ปน สมเยน ฉ โลเก อรหนฺโต โหนฺติ. (ปญฺจวคฺคิยกถา นิฏฺฐิตา.)   
||6|| 
At that time there were six Arahats (persons who had reached absolute holiness) in the world. 
 
paṭhamabhāṇavāraṃ. 
ปฐมภาณวาร จบ 
ปฐมภาณวาโร. 
(15) tena kho pana samayena Bārāṇasiyaṃ Yaso nāma kulaputto seṭṭhiputto sukhumālo hoti,  tassa tayo pāsādā honti, eko hemantiko, eko gimhiko, eko vassiko.  so vassike pāsāde cattāro māse nippurisehi turiyehi paricāriyamāno na heṭṭhā pāsādā orohati.  atha kho Yasassa kulaputtassa pañcahi kāmaguṇehi samappitassa samaṅgibhūtassa paricāriyamānassa paṭigacc ’eva niddā okkami, parijanassāpi pacchā niddā okkami, sabbarattiyo ca telappadīpo jhāyati. |1| 
End of the first Bhânavâra.  At that time there was in Benares a noble youth, Yasa by name, the son of a setthi (or treasurer) and delicately nurtured.  He had three palaces, one for winter, one for summer, one for the rainy season.  In the palace for the rainy season he lived during the four months (of that season), surrounded with female musicians among whom no man was, and he did not descend from that palace (all that time). 
เรื่องยสกุลบุตร [๒๕] ก็โดยสมัยนั้นแล ในพระนครพาราณสี มีกุลบุตร ชื่อ ยส เป็นบุตรเศรษฐีสุขุมาลชาติ.  ยสกุลบุตรนั้นมีปราสาท ๓ หลัง คือ หลังหนึ่งเป็นที่อยู่ในฤดูหนาว หลังหนึ่งเป็นที่อยู่ในฤดูร้อน หลังหนึ่งเป็นที่อยู่ในฤดูฝน.  ยสกุลบุตรนั้นรับบำเรอด้วยพวกดนตรี ไม่มีบุรุษเจือปน ในปราสาทฤดูฝนตลอด ๔ เดือน ไม่ลงมาเบื้องล่างปราสาท.  ค่ำวันหนึ่ง เมื่อยสกุลบุตรอิ่มเอิบพร้อมพรั่งบำเรออยู่ด้วยกามคุณ ๕ ได้นอนหลับก่อน ส่วนพวกบริวารชนนอนหลับภายหลัง. ประทีปน้ำมันตามสว่างอยู่ตลอดคืน. 
(๗. ปพฺพชฺชากถา) ๒๕. เตน โข ปน สมเยน พาราณสิยํ ยโส นาม กุลปุตฺโต เสฏฺฐิปุตฺโต สุขุมาโล โหติ.  ตสฺส ตโย ปาสาทา โหนฺติ เอโก เหมนฺติโก เอโก คิมฺหิโก เอโก วสฺสิโก.  โส วสฺสิเก ปาสาเท จตฺตาโร มาเส นิปฺปุริเสหิ ตูริเยหิ ปริจารยมาโน น เหฏฺฐาปาสาทํ โอโรหติ.  อถ โข ยสสฺส กุลปุตฺตสฺส ปญฺจหิ กามคุเณหิ สมปฺปิตสฺส สมงฺคีภูตสฺส ปริจารยมานสฺส ปฏิกจฺเจว นิทฺทา โอกฺกมิ ปริชนสฺสปิ นิทฺทา โอกฺกมิ สพฺพรตฺติโย จ เตลปทีโป ฌายติ. 
atha kho Yaso kulaputto paṭigacc ’eva paṭibujjhitvā addasa sakaṃ parijanaṃ supantaṃ, aññissā kacche vīṇaṃ, aññissā kaṇṭhe mutiṅgaṃ, aññissā kacche ālambaraṃ, aññaṃ vikesikaṃ, aññaṃ vikkheḷikaṃ, vippalapantiyo, hatthappattaṃ susānaṃ maññe.  disvān’ assa ādīnavo pāturahosi, nibbidāya cittaṃ saṇṭhāsi.  atha kho Yaso kulaputto udānaṃ udānesi:  upaddutaṃ vata bho, upassaṭṭhaṃ vata bho ’ti. |2| 
Now one day Yasa, the noble youth, who was endowed with, and possessed of the five pleasures of sense, while he was attended (by those female musicians), fell asleep sooner than usual; and after him his attendants also fell asleep. Now an oil lamp was burning through the whole night.  And Yasa, the noble youth, awoke sooner than usual; and he saw his attendants sleeping; one had her lute leaning against her arm-pit; one had her tabor leaning against her neck; one had her drum leaning against her arm-pit; one had dishevelled hair; one had saliva flowing from her mouth; and they were muttering in their sleep. One would think it was a cemetery one had fallen into.  When he saw that, the evils (of the life he led) manifested themselves to him; his mind became weary (of worldly pleasures).  And Yasa, the noble youth, gave utterance to this solemn exclamation: 
คืนนั้นยสกุลบุตรตื่นขึ้นก่อน ได้เห็นบริวารชนของตนกำลังนอนหลับ บางนางมีพิณตกอยู่ที่รักแร้ บางนางมีตะโพนวางอยู่ข้างคอ บางนางมีเปิงมางตกอยู่ที่อก บางนางสยายผม บางนางมีน้ำลายไหล บางนางบ่นละเมอต่างๆ ปรากฏแก่ยสกุลบุตรดุจป่าช้าผีดิบ.  ครั้นแล้วความเห็นเป็นโทษได้ปรากฏแก่ยสกุลบุตร จิตตั้งอยู่ในความเบื่อหน่าย  จึงยสกุลบุตรเปล่งอุทานว่า  ท่านผู้เจริญ ที่นี่วุ่นวายหนอ ที่นี่ขัดข้องหนอ 
อถ โข ยโส กุลปุตฺโต ปฏิกจฺเจว ปพุชฺฌิตฺวา อทฺทส สกํ ปริชนํ สุปนฺตํ อญฺญิสฺสา กจฺเฉ วีณํ อญฺญิสฺสา กณฺเฐ มุทิงฺคํ อญฺญิสฺสา กจฺเฉ อาฬมฺพรํ อญฺญํ วิเกสิกํ อญฺญํ วิกฺเขฬิกํ อญฺญา วิปฺปลปนฺติโย หตฺถปฺปตฺตํ สุสานํ มญฺเญ.  ทิสฺวานสฺส อาทีนโว ปาตุรโหสิ นิพฺพิทาย จิตฺตํ สณฺฐาสิ.  อถ โข ยโส กุลปุตฺโต อุทานํ อุทาเนสิ  “อุปทฺทุตํ วต โภ อุปสฺสฏฺฐํ วต โภ”ติ. 
atha kho Yaso kulaputto suvaṇṇapādukāyo ārohitvā yena nivesanadvāraṃ ten’ upasaṃkami, amanussā dvāraṃ vivariṃsu mā Yasassa kulaputtassa koci antarāyaṃ akāsi agārasmā anagāriyaṃ pabbajjāyā ’ti.  atha kho Yaso kulaputto yena nagaradvāraṃ ten’ upasaṃkami, amanussā dvāraṃ vivariṃsu mā Yasassa kulaputtassa koci antarāyaṃ akāsi agārasmā anagāriyaṃ pabbajjāyā ’ti.  atha kho Yaso kulaputto yena Isipatanaṃ migadāyo ten’ upasaṃkami. |3| 
'Alas! what distress; alas! what danger!'  And Yasa, the noble youth, put on his gilt slippers, and went to the gate of his house. Non-human beings opened the gate, in order that no being might prevent Yasa the noble youth's leaving the world, and going forth into the houseless state.  And Yasa, the noble youth, went to the gate of the city. Non-human beings opened the gate, in order that no being might prevent Yasa the noble youth's leaving the world, and going forth into the houseless state. 
แล้วสวมรองเท้าทองเดินตรงไปยังประตูนิเวศน์ พวกอมนุษย์เปิดประตูให้ด้วยหวังใจว่า ใครๆ อย่าได้ทำอันตรายแก่การออกจากเรือนบวชเป็นบรรพชิตของยสกุลบุตรเลย.  ลำดับนั้น ยสกุลบุตรเดินตรงไปทางประตูพระนคร. พวกอมนุษย์เปิดประตูให้ด้วยหวังใจว่า ใครๆ อย่าได้ทำอันตรายแก่การออกจากเรือนบวชเป็นบรรพชิตของยสกุลบุตร.  ทีนั้น ยสกุลบุตรได้เดินตรงไปทางป่าอิสิปตนมฤคทายวัน. 
อถ โข ยโส กุลปุตฺโต สุวณฺณปาทุกาโย อาโรหิตฺวา เยน นิเวสนทฺวารํ เตนุปสงฺกมิ. อมนุสฺสา ทฺวารํ วิวรึสุ มา ยสสฺส กุลปุตฺตสฺส โกจิ อนฺตรายมกาสิ อคารสฺมา อนคาริยํ ปพฺพชฺชายาติ  อถ โข ยโส กุลปุตฺโต เยน นครทฺวารํ เตนุปสงฺกมิ. อมนุสฺสา ทฺวารํ วิวรึสุ มา ยสสฺส กุลปุตฺตสฺส โกจิ อนฺตรายมกาสิ อคารสฺมา อนคาริยํ ปพฺพชฺชายาติ.  อถ โข ยโส กุลปุตฺโต เยน อิสิปตนํ มิคทาโย เตนุปสงฺกมิ. 
tena kho pana samayena bhagavā rattiyā paccūsasamayaṃ paccuṭṭhāya ajjhokāse caṅkamati.  addasa kho bhagavā Yasaṃ kulaputtaṃ dūrato ’va āgacchantaṃ, disvāna caṅkamā orohitvā paññatte āsane nisīdi.  atha kho Yaso kulaputto bhagavato avidūre udānaṃ udānesi:  upaddutaṃ vata bho, upassaṭṭhaṃ vata bho ’ti.  atha kho bhagavā Yasaṃ kulaputtaṃ etad avoca:  idaṃ kho Yasa anupaddutaṃ, idaṃ anupassaṭṭhaṃ.  ehi Yasa nisīda, dhammaṃ te desessāmīti. |4| 
And Yasa, the noble youth, went to the deer park Isipatana.  At that time the Blessed One, having arisen in the night, at dawn was walking up and down in the open air.  And the Blessed One saw Yasa, the noble youth, coming from afar. And when he saw him, he left the place where he was walking, and sat down on a seat laid out (for him).  And Yasa, the noble youth, gave utterance near the Blessed One to that solemn exclamation:  'Alas! what distress; alas! what danger!'  And the Blessed One said to Yasa, the noble youth:  'Here is no distress, Yasa, here is no danger. 
[๒๖] ครั้นปัจจุสสมัยแห่งราตรี พระผู้มีพระภาคตื่นบรรทมแล้วเสด็จจงกรมอยู่ ณ ที่แจ้ง  ได้ทอดพระเนตรเห็นยสกุลบุตรเดินมาแต่ไกล ครั้นแล้วเสด็จลงจากที่จงกรมประทับนั่งบนอาสนะที่ปูลาดไว้.  ขณะนั้น ยสกุลบุตรเปล่งอุทานในที่ไม่ไกลพระผู้มีพระภาคว่า  ท่านผู้เจริญ ที่นี่วุ่นวายหนอ ที่นี่ขัดข้องหนอ.  ทันทีนั้น พระผู้มีพระภาคตรัสกะยสกุลบุตรว่า  ดูกรยส ที่นี่ไม่วุ่นวาย ที่นี่ไม่ขัดข้อง  มาเถิดยส นั่งลง เราจักแสดงธรรมแก่เธอ. 
๒๖. เตน โข ปน สมเยน ภควา รตฺติยา ปจฺจูสสมยํ ปจฺจุฏฺฐาย อชฺโฌกาเส จงฺกมติ.  อทฺทสา โข ภควา ยสํ กุลปุตฺตํ ทูรโตว อาคจฺฉนฺตํ ทิสฺวาน จงฺกมา โอโรหิตฺวา ปญฺญตฺเต อาสเน นิสีทิ.  อถ โข ยโส กุลปุตฺโต ภควโต อวิทูเร อุทานํ อุทาเนสิ  “อุปทฺทุตํ วต โภ อุปสฺสฏฺฐํ วต โภ”ติ.  อถ โข ภควา ยสํ กุลปุตฺตํ เอตทโวจ  “อิทํ โข ยส อนุปทฺทุตํ อิทํ อนุปสฺสฏฺฐํ.  เอหิ ยส นิสีท ธมฺมํ เต เทเสสฺสามี”ติ. 
atha kho Yaso kulaputto idaṃ kira anupaddutaṃ, idaṃ anupassaṭṭhan ti haṭṭho udaggo suvaṇṇapādukāhi orohitvā yena bhagavā ten’ upasaṃkami, upasaṃkamitvā bhagavantaṃ abhivādetvā ekamantaṃ nisīdi.  ekamantaṃ nisinnassa kho Yasassa kulaputtassa bhagavā anupubbikathaṃ kathesi seyyath’ īdaṃ:  dānakathaṃ sīlakathaṃ saggakathaṃ kāmānaṃ ādīnavaṃ okāraṃ saṃkilesaṃ nekkhamme ānisaṃsaṃ pakāsesi. |5| 
Come here, Yasa, sit down; I will teach you the Truth (Dhamma).'  And Yasa, the noble youth, when he heard that there was no distress, and that there was no danger, became glad and joyful; and he put off his gilt slippers, and went to the place where the Blessed One was; having approached him and having respectfully saluted the Blessed One, he sat down near him.  When Yasa, the noble youth, was sitting near him, the Blessed One preached to him in due course: 
ที่นั้น ยสกุลบุตรร่าเริงบันเทิงใจว่า ได้ยินว่า ที่นี่ไม่วุ่นวาย ที่นี่ไม่ขัดข้อง ดังนี้ แล้วถอดรองเท้าทองเข้าไปเฝ้าพระผู้มีพระภาคถวายบังคมพระผู้มีพระภาคแล้วนั่ง ณ ที่ควรส่วนข้างหนึ่ง  เมื่อยสกุลบุตรนั่งเรียบร้อยแล้ว พระผู้มีพระภาคได้ทรงแสดงอนุปุพพิกถา คือ  ทรงประกาศทานกถา สีลกถา สัคคกถา โทษความต่ำทราม ความเศร้าหมองของกามทั้งหลาย และอานิสงส์ในความออกจากกาม. 
อถ โข ยโส กุลปุตฺโต อิทํ กิร อนุปทฺทุตํ อิทํ อนุปสฺสฏฺฐนฺติ หฏฺโฐ อุทคฺโค สุวณฺณปาทุกาหิ โอโรหิตฺวา เยน ภควา เตนุปสงฺกมิ อุปสงฺกมิตฺวา ภควนฺตํ อภิวาเทตฺวา เอกมนฺตํ นิสีทิ.  เอกมนฺตํ นิสินฺนสฺส โข ยสสฺส กุลปุตฺตสฺส ภควา อนุปุพฺพิ๎ กถํ กเถสิ เสยฺยถิทํ  ทานกถํ สีลกถํ สคฺคกถํ กามานํ อาทีนวํ โอการํ สํกิเลสํ เนกฺขมฺเม อานิสํสํ ปกาเสสิ. 
yadā bhagavā (16) āññāsi Yasaṃ kulaputtaṃ kallacittaṃ muducittaṃ vinīvaraṇacittaṃ udaggacittaṃ pasannacittaṃ, atha yā buddhānaṃ sāmukkaṃsikā dhammadesanā taṃ pakāsesi, dukkhaṃ samudayaṃ nirodhaṃ maggaṃ.  seyyathāpi nāma suddhaṃ {vatthaṃ} apagatakāḷakaṃ sammad eva rajanaṃ paṭigaṇheyya, evam eva Yasassa kulaputtassa tasmiṃ yeva āsane virajaṃ vītamalaṃ dhammacakkhuṃ udapādi yaṃ kiñci samudayadhammaṃ sabbaṃ taṃ nirodhadhamman ti. |6| 
that is to say, he talked about the merits obtained by alms-giving, about the duties of morality, about heaven, about the evils, the vanity, and the sinfulness of desires, and about the blessings of the abandonment of desire.  When the Blessed One saw that the mind of Yasa, the noble youth, was prepared, impressible, free from obstacles (to understanding the Truth), elated, and believing, then he preached what is the principal doctrine of the Buddhas, namely, Suffering, the Cause of stiffering, the Cessation of suffering, the Path. 
เมื่อพระองค์ทรงทราบว่า ยสกุลบุตรมีจิตสงบ มีจิตอ่อน มีจิตปลอดจากนิวรณ์ มีจิตเบิกบาน มีจิตผ่องใสแล้ว จึงทรงประกาศพระธรรมเทศนา ที่พระพุทธเจ้าทั้งหลายทรงยกขึ้นแสดงด้วยพระองค์เอง คือ ทุกข์ สมุทัย นิโรธ มรรค.  ดวงตาเห็นธรรม ปราศจากธุลี ปราศจากมลทิน ว่า สิ่งใดสิ่งหนึ่งมีความเกิดขึ้นเป็นธรรมดา สิ่งนั้นทั้งมวลมีความดับเป็นธรรมดา ได้เกิดแก่ยสกุลบุตร ณ ที่นั่งนั้นแล ดุจผ้าที่สะอาดปราศจากมลทิน ควรได้รับน้ำย้อมเป็นอย่างดี ฉะนั้น. 
ยทา ภควา อญฺญาสิ ยสํ กุลปุตฺตํ กลฺลจิตฺตํ มุทุจิตฺตํ วินีวรณจิตฺตํ อุทคฺคจิตฺตํ ปสนฺนจิตฺตํ อถ ยา พุทฺธานํ สามุกฺกํสิกา ธมฺมเทสนา ตํ ปกาเสสิ ทุกฺขํ สมุทยํ นิโรธํ มคฺคํ.  เสยฺยถาปิ นาม สุทฺธํ วตฺถํ อปคตกาฬกํ สมฺมเทว รชนํ ปฏิคฺคณฺเหยฺย เอวเมว ยสสฺส กุลปุตฺตสฺส ตสฺมึเยว อาสเน วิรชํ วีตมลํ ธมฺมจกฺขุํ อุทปาทิ ยํ กิญฺจิ สมุทยธมฺมํ สพฺพํ ตํ นิโรธธมฺมนฺติ. 
atha kho Yasassa kulaputtassa mātā pāsādaṃ abhirūhitvā Yasaṃ kulaputtaṃ apassantī yena seṭṭhi gahapati ten’ upasaṃkami, upasaṃkamitvā seṭṭhiṃ gahapatiṃ etad avoca:  putto te gahapati Yaso na dissatīti.  atha kho seṭṭhi gahapati catuddisā assadūte uyyojetvā sāmaṃ yeva yena Isipatanaṃ migadāyo ten’ upasaṃkami.  addasa kho seṭṭhi gahapati suvaṇṇapādukānaṃ nikkhepaṃ, disvāna taṃ yeva anugamāsi. |7| 
Just as a clean cloth free from black specks properly takes the dye, thus Yasa, the noble youth, even while sitting there, obtained the pure and spotless Eye of the Truth (that is, the knowledge): 'Whatsoever is subject to the condition of origination is subject also to the condition of cessation.'  Now the mother of Yasa, the noble youth, having gone up to his palace, did not see Yasa, the noble youth, and she went to the setthi, the householder (her husband), and having approached him, she said to the setthi, the householder:  'Your son Yasa, O householder, has disappeared.'  Then the setthi, the householder, sent messengers on horseback to the four quarters of the horizon; and he went himself to the deer park Isipatana. 
บิดาของยสกุลบุตรตามหา [๒๗] ครั้นรุ่งเช้า มารดาของยสกุลบุตรขึ้นไปยังปราสาท ไม่เห็นยสกุลบุตร จึงเข้าไปหาเศรษฐีผู้คหบดี แล้วได้ถามว่า  ท่านคหบดีเจ้าข้า พ่อยสกุลบุตรของท่านหายไปไหน?  ฝ่ายเศรษฐีผู้คหบดีส่งทูตขี่ม้าไปตามหาทั้ง ๔ ทิศแล้ว ส่วนตัวเองไปหาทางป่าอิสิปตนมฤคทายวัน.  ได้พบรองเท้าทองวางอยู่ ครั้นแล้วจึงตามไปสู่ที่นั้น. 
๒๗. อถ โข ยสสฺส กุลปุตฺตสฺส มาตา ปาสาทํ อภิรุหิตฺวา ยสํ กุลปุตฺตํ อปสฺสนฺตี เยน เสฏฺฐิ คหปติ เตนุปสงฺกมิ อุปสงฺกมิตฺวา เสฏฺฐึ คหปตึ เอตทโวจ  “ปุตฺโต เต คหปติ ยโส น ทิสฺสตี”ติ.  อถ โข เสฏฺฐิ คหปติ จตุทฺทิสา อสฺสทูเต อุยฺโยเชตฺวา สามํเยว เยน อิสิปตนํ มิคทาโย เตนุปสงฺกมิ.  อทฺทสา โข เสฏฺฐิ คหปติ สุวณฺณปาทุกานํ นิกฺเขปํ ทิสฺวาน ตํเยว อนุคมาสิ . 
addasa kho bhagavā seṭṭhiṃ gahapatiṃ dūrato ’va āgacchantaṃ, disvāna bhagavato etad ahosi:  yaṃ nūnāhaṃ tathārūpaṃ iddhābhisaṃkhāraṃ abhisaṃkhāreyyaṃ, yathā seṭṭhi gahapati idha nisinno idha nisinnaṃ Yasaṃ kulaputtaṃ na passeyyā ’ti.  atha kho bhagavā tathārūpaṃ iddhābhisaṃkhāraṃ abhisaṃkhāresi. |8| 
Then the setthi, the householder, saw on the ground the marks of the gilt slippers; and when he saw them, he followed them up.  And the Blessed One saw the setthi, the householder, coming from afar. On seeing him, he thought:  'What if I were to effect such an exercise of miraculous power, that the setthi, the householder, sitting here, should not see Yasa, the noble youth, who is sitting here also.' 
พระผู้มีพระภาคได้ทอดพระเนตรเห็นเศรษฐีผู้คหบดีมาแต่ไกล. ครั้นแล้วทรงพระดำริว่า  ไฉนหนอ เราพึงบันดาลอิทธาภิสังขารให้เศรษฐีคหบดีนั่งอยู่ ณ ที่นี้ ไม่เห็นยสกุลบุตรผู้นั่งอยู่ ณ ที่นี้  แล้วทรงบันดาลอิทธาภิสังขาร ดังพระพุทธดำริ. 
อทฺทสา โข ภควา เสฏฺฐึ คหปตึ ทูรโตว อาคจฺฉนฺตํ ทิสฺวาน ภควโต เอตทโหสิ  “ยํนูนาหํ ตถารูปํ อิทฺธาภิสงฺขารํ อภิสงฺขเรยฺยํ ยถา เสฏฺฐิ คหปติ อิธ นิสินฺโน อิธ นิสินฺนํ ยสํ กุลปุตฺตํ น ปสฺเสยฺยา”ติ.  อถ โข ภควา ตถารูปํ อิทฺธาภิสงฺขารํ อภิสงฺขเรสิ. 
atha kho seṭṭhi gahapati yena bhagavā ten’ upasaṃkami, upasaṃkamitvā bhagavantaṃ etad avoca:  api bhante bhagavā Yasaṃ kulaputtaṃ passeyyā ’ti.  tena hi gahapati nisīda. app eva nāma idha nisinno idha nisinnaṃ Yasaṃ kulaputtaṃ passeyyāsīti.  atha kho seṭṭhi gahapati idh’ eva kirāhaṃ nisinno idha nisinnaṃ Yasaṃ kulaputtaṃ passissāmīti haṭṭho udaggo bhagavantaṃ abhivādetvā ekamantaṃ nisīdi. |9| 
And the Blessed One effected such an exercise of his miraculous power.  And the setthi, the householder, went to the place where the Blessed One was; having approached him, he said to the Blessed One:  'Pray, Lord, has the Blessed One seen Yasa, the noble youth?'  'Well, householder, sit down. Perhaps, sitting here, you may see Yasa, the noble youth, sitting here also.' 
ครั้งนั้น เศรษฐีผู้คหบดีได้เข้าเฝ้าพระผู้มีพระภาคแล้วทูลถามว่า  พระผู้มีพระภาคทรงเห็นยสกุลบุตรบ้างไหม พระพุทธเจ้าข้า?  พระผู้มีพระภาคตรัสว่า ดูกรคหบดี ถ้าอย่างนั้น เชิญนั่ง บางทีท่านนั่งอยู่ ณ ที่นี้ จะพึงได้เห็นยสกุลบุตรผู้นั่งอยู่ ณ ที่นี้.  ครั้งนั้น เศรษฐีผู้คหบดีร่าเริงบันเทิงใจว่า ได้ยินว่า เรานั่งอยู่ ณ ที่นี้แหละ จักเห็นยสกุลบุตรผู้นั่งอยู่ ณ ที่นี้ จึงถวายบังคมพระผู้มีพระภาค แล้วนั่ง ณ ที่ควรส่วนข้างหนึ่ง. 
อถ โข เสฏฺฐิ คหปติ เยน ภควา เตนุปสงฺกมิ อุปสงฺกมิตฺวา ภควนฺตํ เอตทโวจ  “อปิ ภนฺเต ภควา ยสํ กุลปุตฺตํ ปสฺเสยฺยา”ติ?  เตน หิ คหปติ นิสีท อปฺเปว นาม อิธ นิสินฺโน อิธ นิสินฺนํ ยสํ กุลปุตฺตํ ปสฺเสยฺยาสีติ.  อถ โข เสฏฺฐิ คหปติ อิเธว กิราหํ นิสินฺโน อิธ นิสินฺนํ ยสํ กุลปุตฺตํ ปสฺสิสฺสามีติ หฏฺโฐ อุทคฺโค ภควนฺตํ อภิวาเทตฺวา เอกมนฺตํ นิสีทิ. 
ekamantaṃ nisinnassa kho seṭṭhissa gahapatissa bhagavā anupubbikathaṃ kathesi -- la -- aparappaccayo satthu sāsane bhagavantaṃ etad avoca:  abhikkantaṃ bhante, abhikkantaṃ bhante, seyyathāpi bhante nikkujjitaṃ vā ukkujjeyya, paṭicchannaṃ vā vivareyya, mūḷhassa vā maggaṃ ācikkheyya, andhakāre vā telapajjotaṃ dhāreyya cakkhumanto rūpāni dakkhintīti, evam eva bhagavatā anekapariyāyena dhammo pakāsito.  es’ āhaṃ bhante bhagavantaṃ saraṇaṃ gacchāmi dhammañ ca bhikkhusaṃghañ ca, upāsakaṃ maṃ bhagavā dhāretu ajjatagge pāṇupetaṃ saraṇaṃ gatan ti.  so ’va loke paṭhamaṃ upāsako ahosi (17) tevāciko. |10| 
And the setthi, the householder, who thought: 'Indeed, sitting here I shall see Yasa, the noble youth, sitting here also I became glad and joyful, and having respectfully saluted the Blessed One, he sat down near him.  When the setthi, the householder, was sitting near him, the Blessed One preached to him in due course; that is to say, he talked about the merits obtained by alms-giving, . . . . (&c., as at end of § 5). And the setthi, the householder, having seen the Truth, having mastered the Truth, having penetrated the Truth, having overcome uncertainty, having dispelled all doubts, having gained full knowledge, dependent on nobody else for the knowledge of the doctrine of the Teacher, said to the Blessed One:  'Glorious, Lord! glorious, Lord! Just as if one should set up, Lord, what had been overturned, or should reveal what had been hidden, or should point out the way to one who had lost his way, or should bring a lamp into the darkness, in order that those who had eyes might see visible things, thus has the Blessed One preached the doctrine in many ways.  I take my refuge, Lord, in the Blessed One, and in the Dhamma, and in the fraternity of Bhikkhus; may the Blessed One receive me from this day forth while my life lasts as a disciple who has taken his refuge in Him.' 
เมื่อเศรษฐีผู้คหบดีนั่งเรียบร้อยแล้ว พระผู้มีพระภาคได้ทรงแสดงอนุปุพพิกถา คือ ทรงประกาศทานกถา สีลกถา สัคคกถา โทษ ความต่ำทราม ความเศร้าหมองของกามทั้งหลาย และอานิสงส์ในความออกจากกาม. เมื่อพระผู้มีพระภาคทรงทราบว่า เศรษฐีผู้คหบดี มีจิตสงบ มีจิตอ่อน มีจิตปลอดจากนิวรณ์ มีจิตเบิกบาน มีจิตผ่องใสแล้ว จึงทรงประกาศพระธรรมเทศนาที่พระพุทธเจ้าทั้งหลายทรงยกขึ้นแสดงด้วยพระองค์เอง คือ ทุกข์ สมุทัย นิโรธ มรรค. ดวงตาเห็นธรรม ปราศจากธุลี ปราศจากมลทินว่า สิ่งใดสิ่งหนึ่งมีความเกิดขึ้นเป็นธรรมดา สิ่งนั้นทั้งมวลมีความดับเป็นธรรมดา ได้เกิดแก่เศรษฐีผู้คหบดี ณ ที่นั่งนั้นแล ดุจผ้าที่สะอาดปราศจากมลทิน ควรได้รับน้ำย้อม ฉะนั้น. ครั้นเศรษฐีผู้คหบดี ได้เห็นธรรมแล้ว ได้บรรลุธรรมแล้ว ได้รู้ธรรมแจ่มแจ้งแล้ว มีธรรมอันหยั่งลงแล้ว ข้ามความสงสัยได้แล้ว ปราศจากถ้อยคำแสดงความสงสัย ถึงความเป็นผู้แกล้วกล้า ไม่ต้องเชื่อผู้อื่นในคำสอนของพระศาสดา ได้ทูลคำนี้แด่พระผู้มีพระภาคว่า  ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ ภาษิตของพระองค์แจ่มแจ้งนัก ภาษิตของพระองค์ไพเราะนัก พระพุทธเจ้าข้า พระองค์ทรงประกาศธรรมโดยอเนกปริยายอย่างนี้ เปรียบเหมือนบุคคลหงายของที่คว่ำ เปิดของที่ปิด บอกทางแก่คนหลงทาง หรือส่องประทีปในที่มืดด้วยตั้งใจว่า คนมีจักษุจักเห็นรูปดังนี้  ข้าพระพุทธเจ้านี้ ขอถึงพระผู้มีพระภาค พระธรรม และพระสงฆ์ ว่าเป็นสรณะ ขอพระองค์จงทรงจำข้าพระพุทธเจ้าว่า เป็นอุบาสกผู้มอบชีวิตถึงสรณะจำเดิมแต่วันนี้เป็นต้นไป.  ก็เศรษฐีผู้คหบดีนั้น ได้เป็นอุบาสกกล่าวอ้างพระรัตนตรัย เป็นคนแรกในโลก. 
เอกมนฺตํ นิสินฺนสฺส โข เสฏฺฐิสฺส คหปติสฺส ภควา อนุปุพฺพิ๎ กถํ กเถสิ เสยฺยถิทํ ทานกถํ สีลกถํ สคฺคกถํ กามานํ อาทีนวํ โอการํ สํกิเลสํ เนกฺขมฺเม อานิสํสํ ปกาเสสิ. ยทา ภควา อญฺญาสิ เสฏฺฐึ คหปตึ กลฺลจิตฺตํ มุทุจิตฺตํ วินีวรณจิตฺตํ อุทคฺคจิตฺตํ ปสนฺนจิตฺตํ อถ ยา พุทฺธานํ สามุกฺกํสิกา ธมฺมเทสนา ตํ ปกาเสสิ ทุกฺขํ สมุทยํ นิโรธํ มคฺคํ. เสยฺยถาปิ นาม สุทฺธํ วตฺถํ อปคตกาฬกํ สมฺมเทว รชนํ ปฏิคฺคณฺเหยฺย เอวเมว เสฏฺฐิสฺส คหปติสฺส ตสฺมึเยว อาสเน วิรชํ วีตมลํ ธมฺมจกฺขุํ อุทปาทิ ยํ กิญฺจิ สมุทยธมฺมํ สพฺพํ ตํ นิโรธธมฺมนฺติ. อถ โข เสฏฺฐิ คหปติ ทิฏฺฐธมฺโม ปตฺตธมฺโม วิทิตธมฺโม ปริโยคาฬฺหธมฺโม ติณฺณวิจิกิจฺโฉ วิคตกถํกโถ เวสารชฺชปฺปตฺโต อปรปฺปจฺจโย สตฺถุสาสเน ภควนฺตํ เอตทโวจ  “อภิกฺกนฺตํ ภนฺเต อภิกฺกนฺตํ ภนฺเต เสยฺยถาปิ ภนฺเต นิกฺกุชฺชิตํ วา อุกฺกุชฺเชยฺย ปฏิจฺฉนฺนํ วา วิวเรยฺย มูฬฺหสฺส วา มคฺคํ อาจิกฺเขยฺย อนฺธกาเร วา เตลปชฺโชตํ ธาเรยฺย จกฺขุมนฺโต รูปานิ ทกฺขนฺตีติ เอวเมวํ ภควตา อเนกปริยาเยน ธมฺโม ปกาสิโต.  เอสาหํ ภนฺเต ภควนฺตํ สรณํ คจฺฉามิ ธมฺมญฺจ ภิกฺขุสงฺฆญฺจ. อุปาสกํ มํ ภควา ธาเรตุ อชฺชตคฺเค ปาณุเปตํ สรณํ คต”นฺติ  โสว โลเก ปฐมํ อุปาสโก อโหสิ เตวาจิโก 
atha kho Yasassa kulaputtassa pituno dhamme desiyamāne yathādiṭṭhaṃ yathāviditaṃ bhūmiṃ paccavekkhantassa anupādāya āsavehi cittaṃ vimucci.  atha kho bhagavato etad ahosi:  Yasassa kulaputtassa pituno dhamme desiyamāne yathādiṭṭhaṃ yathāviditaṃ bhūmiṃ paccavekkhantassa anupādāya āsavehi cittaṃ vimuttaṃ.  abhabbo kho Yaso kulaputto hīnāyāvattitvā kāme paribhuñjituṃ seyyathāpi pubbe agārikabhūto.  yaṃ nūnāhaṃ taṃ iddhābhisaṃkhāraṃ paṭippassambheyyan ti.  atha kho bhagavā taṃ iddhābhisaṃkhāraṃ paṭippassambhesi. |11| 
This was the first person in the world who became a lay-disciple by the formula of the holy triad  And Yasa, the noble youth, while instruction was administered (by the Buddha) to his father, contemplated the stage of knowledge which he had seen with his mind and understood; and his mind became free from attachment to the world, and was released from the Âsavas.  Then the Blessed One thought:  'Yasa, the noble youth, while instruction was administered to his father, has contemplated the stage of knowledge which he had seen with his mind and understood; and his mind has become free from attachment to the world, and has become released from the Âsavas.  It is impossible that Yasa, the noble youth, should return to the world and enjoy pleasures, as he did before, when he lived in his house.  What if I were now to put an end to that exertion of my miraculous power.' 
ยสกุลบุตรสำเร็จพระอรหัตต์ [๒๘] คราวเมื่อพระผู้มีพระภาคทรงแสดงธรรมแก่บิดาของยสกุลบุตร จิตของยสกุลบุตร ผู้พิจารณาภูมิธรรมตามที่ตนได้เห็นแล้ว ได้รู้แจ้งแล้ว ก็พ้นจากอาสวะทั้งหลาย เพราะไม่ถือมั่น.  ครั้งนั้น พระผู้มีพระภาคได้ทรงพระดำริว่า  เมื่อเราแสดงธรรมแก่บิดาของยสกุลบุตรอยู่ จิตของยสกุลบุตร ผู้พิจารณาเห็นภูมิธรรมตามที่ตนได้เห็นแล้ว ได้รู้แจ้งแล้ว พ้นแล้วจากอาสวะทั้งหลาย เพราะไม่ถือมั่น.  ยสกุลบุตรไม่ควรจะกลับเป็นคฤหัสถ์บริโภคกาม เหมือนเป็นคฤหัสถ์ครั้งก่อน  ถ้ากระไร เราพึงคลายอิทธาภิสังขารนั้นได้แล้ว.  พระองค์ก็ได้ทรงคลายอิทธาภิสังขารนั้น. 
๒๘. อถ โข ยสสฺส กุลปุตฺตสฺส ปิตุโน ธมฺเม เทสิยมาเน ยถาทิฏฺฐํ ยถาวิทิตํ ภูมึ ปจฺจเวกฺขนฺตสฺส อนุปาทาย อาสเวหิ จิตฺตํ วิมุจฺจิ.  อถ โข ภควโต เอตทโหสิ  “ยสสฺส โข กุลปุตฺตสฺส ปิตุโน ธมฺเม เทสิยมาเน ยถาทิฏฺฐํ ยถาวิทิตํ ภูมึ ปจฺจเวกฺขนฺตสฺส อนุปาทาย อาสเวหิ จิตฺตํ วิมุตฺตํ.  อภพฺโพ โข ยโส กุลปุตฺโต หีนายาวตฺติตฺวา กาเม ปริภุญฺชิตุํ เสยฺยถาปิ ปุพฺเพ อคาริกภูโต  ยํนูนาหํ ตํ อิทฺธาภิสงฺขารํ ปฏิปฺปสฺสมฺเภยฺย”นฺติ.  อถ โข ภควา ตํ อิทฺธาภิสงฺขารํ ปฏิปฺปสฺสมฺเภสิ. 
addasa kho seṭṭhi gahapati Yasaṃ kulaputtaṃ nisinnaṃ, disvāna Yasaṃ kulaputtaṃ etad avoca:  mātā tetāta Yasa paridevasokasampannā, dehi mātu jīvitan ti. |12| 
And the Blessed One put an end to that exertion of his miraculous Power.  Then the setthi, the householder, saw Yasa, the noble youth, sitting there. On seeing him he said to Yasa, the noble youth: 
เศรษฐีผู้คหบดีได้เห็นยสกุลบุตรนั่งอยู่ ครั้นแล้วได้พูดกะยสกุลบุตรว่า  พ่อยส มารดาของเจ้าโศกเศร้าคร่ำครวญถึง เจ้าจงให้ชีวิตแก่มารดาของเจ้าเถิด. 
อทฺทสา โข เสฏฺฐิ คหปติ ยสํ กุลปุตฺตํ นิสินฺนํ ทิสฺวาน ยสํ กุลปุตฺตํ เอตทโวจ  “มาตา เต ตาต ยส ปริเทว โสกสมาปนฺนา เทหิ มาตุยา ชีวิต”นฺติ. 
atha kho Yaso kulaputto bhagavantaṃ ullokesi.  atha kho bhagavā seṭṭhiṃ gahapatiṃ etad avoca: taṃ kiṃ maññasi gahapati, Yasassa sekhena ñāṇena sekhena dassanena dhammo diṭṭho seyyathāpi tayā.  tassa yathādiṭṭhaṃ yathāviditaṃ bhūmiṃ paccavekkhantassa anupādāya āsavehi cittaṃ vimuttaṃ.  bhabbo nu kho Yaso gahapati hīnāyāvattitvā kāme paribhuñjituṃ seyyathāpi pubbe agārikabhūto ’ti.  no h’ etaṃ bhante.  Yasassa kho gahapati kulaputtassa sekhena ñāṇena sekhena dassanena dhammo diṭṭho seyyathāpi tayā.  tassa yathādiṭṭhaṃ yathāviditaṃ bhūmiṃ paccavekkhantassa anupādāya āsavehi cittaṃ vimuttaṃ.  abhabbo kho gahapati Yaso kulaputto hīnāyāvattitvā kāme paribhuñjituṃ seyyathāpi pubbe agārikabhūto ’ti. |13| 
'My son Yasa, your mother is absorbed in lamentation and grief; restore your mother to life.'  Then Yasa, the noble youth, looked at the Blessed One.  And the Blessed One said to the setthi, the householder: 'What do you think then, O householder? That Yasa has (first) won only an imperfect degree of knowledge and insight into the Truth, as you have yourself?  Or that rather he was contemplating the stage of knowledge which he had seen with his mind and understood; and that his mind has thus become free from attachment to the world, and has become released from the Âsavas?  Now would it then be possible, O householder, that Yasa should return to the world and enjoy pleasures as he did before, when he lived in his house?'  'Not so, Lord.'  'Yasa, the noble youth, O householder, had (first) won, like yourself, an imperfect degree of knowledge and insight into the Truth.  But when he was contemplating the stage of knowledge which he had seen with his mind and understood, his mind has become free from attachment to the world, and has become released from the Âsavas. 
ครั้งนั้น ยสกุลบุตรได้ชำเลืองดู พระผู้มีพระภาค  พระผู้มีพระภาคได้ตรัสแก่เศรษฐีผู้คหบดีว่า ดูกรคหบดี ท่านจะสำคัญความข้อนั้นเป็นไฉน? ยสกุลบุตรได้เห็นธรรมด้วยญาณทัสสนะเพียงเสขภูมิเหมือนท่าน  เมื่อเธอพิจารณาภูมิธรรมตามที่ตนได้เห็นแล้ว ได้รู้แจ้งแล้ว จิตพ้นแล้วจากอาสวะทั้งหลาย เพราะไม่ถือมั่น  ดูกรคหบดี ยสกุลบุตรควรหรือเพื่อจะกลับเป็นคฤหัสถ์บริโภคกาม เหมือนเป็นคฤหัสถ์ครั้งก่อน?.  เศรษฐีผู้คหบดีกราบทูลว่า ข้อนั้นไม่ควรเลย พระพุทธเจ้าข้า.  พระผู้มีพระภาคตรัสรับรองว่า ดูกรคหบดี ยสกุลบุตรได้เห็นธรรมด้วยญาณทัสสนะเพียงเสขภูมิเหมือนท่าน  เมื่อเธอพิจารณาภูมิธรรมตามที่ตนได้เห็นแล้ว ได้รู้แจ้งแล้ว จิตพ้นแล้วจากอาสวะทั้งหลาย เพราะไม่ถือมั่น  ดูกรคหบดี ยสกุลบุตรไม่ควรจะกลับเป็นคฤหัสถ์บริโภคกามเหมือนเป็นคฤหัสถ์ครั้งก่อน. 
อถ โข ยโส กุลปุตฺโต ภควนฺตํ อุลฺโลเกสิ.  อถ โข ภควา เสฏฺฐึ คหปตึ เอตทโวจ “ตํ กึ มญฺญสิ คหปติ ยสฺส เสกฺเขน ญาเณน เสกฺเขน ทสฺสเนน ธมฺโม ทิฏฺโฐ วิทิโต เสยฺยถาปิ ตยา?  ตสฺส ยถาทิฏฺฐํ ยถาวิทิตํ ภูมึ ปจฺจเวกฺขนฺตสฺส อนุปาทาย อาสเวหิ จิตฺตํ วิมุตฺตํ.  ภพฺโพ นุ โข โส คหปติ หีนายาวตฺติตฺวา กาเม ปริภุญฺชิตุํ เสยฺยถาปิ ปุพฺเพ อคาริกภูโต”ติ?  “โน เหตํ ภนฺเต”.  “ยสสฺส โข คหปติ กุลปุตฺตสฺส เสกฺเขน ญาเณน เสกฺเขน ทสฺสเนน ธมฺโม ทิฏฺโฐ วิทิโต เสยฺยถาปิ ตยา.  ตสฺส ยถาทิฏฺฐํ ยถาวิทิตํ ภูมึ ปจฺจเวกฺขนฺตสฺส อนุปาทาย อาสเวหิ จิตฺตํ วิมุตฺตํ.  อภพฺโพ โข คหปติ ยโส กุลปุตฺโต หีนายาวตฺติตฺวา กาเม ปริภุญฺชิตุํ เสยฺยถาปิ ปุพฺเพ อคาริกภูโต”ติ. 
lābhā bhante Yasassa kulaputtassa, suladdhaṃ bhante Yasassa kulaputtassa, yathā Yasassa kulaputtassa anupādāya āsavehi cittaṃ vimuttaṃ.  adhivāsetu me bhante bhagavā ajjatanāya bhattaṃ Yasena kulaputtena pacchāsamaṇenā ’ti.  adhivāsesi bhagavā tuṇhibhāvena.  atha kho seṭṭhi gahapati bhagavato adhivāsanaṃ viditvā uṭṭhāyāsanā bhagavantaṃ abhivādetvā padakkhiṇaṃ katvā pakkāmi. |14| 
It is impossible, O householder, that Yasa, the noble youth, should return to the world and enjoy pleasures as he did before, when he lived in his house.'  'It is all gain, Lord, to Yasa, the noble youth, it is high bliss, Lord, for Yasa, the noble youth, that the mind of Yasa, the noble youth, has become free from attachment to the world, and has become released from the Âsavas.  Might, Lord, the Blessed One consent to take his meal with me to-day together with Yasa, the noble youth, as his attendant?'  The Blessed One expressed his consent by remaining silent. 
เศรษฐีผู้คหบดีกราบทูลว่า การที่จิตของยสกุลบุตรพ้นจากอาสวะทั้งหลาย เพราะไม่ถือมั่นนั้น เป็นลาภของยสกุลบุตร ยสกุลบุตรได้ดีแล้ว พระพุทธเจ้าข้า  ขอพระผู้มีพระภาคมียสกุลบุตรเป็นปัจฉาสมณะ จงทรงรับภัตตาหารของข้าพระพุทธเจ้า เพื่อเสวยในวันนี้เถิด พระพุทธเจ้าข้า.  พระผู้มีพระภาคทรงรับโดยดุษณีภาพ.  ครั้นเศรษฐีผู้คหบดีทราบการรับนิมนต์ของพระผู้มีพระภาคแล้ว ได้ลุกจากที่นั่ง ถวายบังคมพระผู้มีพระภาค ทำประทักษิณแล้วกลับไป. 
“ลาภา ภนฺเต ยสสฺส กุลปุตฺตสฺส สุลทฺธํ ภนฺเต ยสสฺส กุลปุตฺตสฺส ยถา ยสสฺส กุลปุตฺตสฺส อนุปาทาย อาสเวหิ จิตฺตํ วิมุตฺตํ.  อธิวาเสตุ เม ภนฺเต ภควา อชฺชตนาย ภตฺตํ ยเสน กุลปุตฺเตน ปจฺฉาสมเณนา”ติ.  อธิวาเสสิ ภควา ตุณฺหีภาเวน.  อถ โข เสฏฺฐิ คหปติ ภควโต อธิวาสนํ วิทิตฺวา อุฏฺฐายาสนา ภควนฺตํ อภิวาเทตฺวา ปทกฺขิณํ กตฺวา ปกฺกามิ. 
atha kho Yaso kulaputto acirappakkante seṭṭhimhi gahapatimhi bhagavantaṃ etad avoca: labheyyāhaṃ bhante bhagavato santike pabbajjaṃ, {labheyyaṃ} upasampadan ti.  ehi bhikkhū ’ti bhagavā avoca, svākkhāto dhammo, cara brahmacariyaṃ sammā dukkhassa antakiriyāyā ’ti.  sā (18) ’va tassa āyasmato upasampadā ahosi.  tena kho pana samayena satta loke arahanto honti. |15| 
Then the setthi, the householder, when he understood that the Blessed One had accepted his invitation, rose from his seat, respectfully saluted the Blessed One, and passing round him with his right side towards him, departed thence.  And Vasâ, the noble youth, soon after the setthi, the householder, was gone, said to the Blessed One: 'Lord, let me receive the pabbaggâ and upasampadâ ordinations from the Blessed One.'  'Come, O Bhikkhu,' said the Blessed One, 'well taught is the doctrine; lead a holy life for the sake of the complete extinction of suffering.'  Thus this venerable person received the upasampadâ ordination. 
กาลเมื่อเศรษฐีผู้คหบดีกลับไปแล้วไม่นาน ยสกุลบุตรได้ทูลคำนี้ต่อพระผู้มีพระภาคว่า พระพุทธเจ้าข้า ขอข้าพระองค์พึงได้บรรพชา พึงได้อุปสมบทในสำนักพระผู้มีพระภาค.  พระผู้มีพระภาคตรัสว่า เธอจงเป็นภิกษุมาเถิด แล้วได้ตรัสต่อไปว่า ธรรมอันเรากล่าวดีแล้ว เธอจงประพฤติพรหมจรรย์เถิด.  พระวาจานั้นแล ได้เป็นอุปสมบทของท่านผู้มีอายุนั้น  สมัยนั้น มีพระอรหันต์เกิดขึ้นในโลก ๗ องค์. 
อถ โข ยโส กุลปุตฺโต อจิรปกฺกนฺเต เสฏฺฐิมฺหิ คหปติมฺหิ ภควนฺตํ เอตทโวจ “ลเภยฺยาหํ ภนฺเต ภควโต สนฺติเก ปพฺพชฺชํ ลเภยฺยํ อุปสมฺปท”นฺติ.  “เอหิ ภิกฺขู”ติ ภควา อโวจ “สฺวากฺขาโต ธมฺโม จร พฺรหฺมจริยํ สมฺมา ทุกฺขสฺส อนฺตกิริยายา”ติ.  สาว ตสฺส อายสฺมโต อุปสมฺปทา อโหสิ.  เตน โข ปน สมเยน สตฺต โลเก อรหนฺโต โหนฺติ. 
Yasapabbajjā niṭṭhitā. ||7|| 
At that time there were seven Arahats in the world. 
ยสบรรพชา จบ 
ยสสฺส ปพฺพชฺชา นิฏฺฐิตา. 
atha kho bhagavā pubbaṇhasamayaṃ nivāsetvā pattacīvaraṃ ādāya āyasmatā Yasena pacchāsamaṇena yena seṭṭhissa gahapatissa nivesanaṃ ten’ upasaṃkami, upasaṃkamitvā paññatte āsane nisīdi.  atha kho āyasmato Yasassa mātā ca purāṇadutiyikā ca yena bhagavā ten’ upasaṃkamiṃsu, upasaṃkamitvā bhagavantaṃ abhivādetvā ekamantam {nisīdiṃsu.} |1| 
End of the story of Yasa's pabbaggâ.  And in the forenoon the blessed One, having put on his under-robes, took his alms-bowl, and, with his kîvara on, went with the venerable Yasa as his attendant to the house of the setthi, the householder. When he had arrived there, he sat down on a seat laid out for him. 
มารดาและภรรยาเก่าของพระยสได้ธรรมจักษุ [๒๙] ขณะนั้นเป็นเวลาเช้า พระผู้มีพระภาคทรงอันตรวาสกแล้ว ถือบาตรจีวรมีท่านพระยสเป็นปัจฉาสมณะ เสด็จพระพุทธดำเนินไปสู่นิเวศน์ของเศรษฐีผู้คหบดี ครั้นถึงแล้ว ประทับนั่งเหนือพุทธอาสน์ที่เขาปูลาดถวาย.  ลำดับนั้น มารดาและภรรยาเก่าของท่านพระยส พากันเข้าเฝ้าพระผู้มีพระภาค ถวายบังคมแล้วนั่ง ณ ที่ควรส่วนข้างหนึ่ง. 
๒๙. อถ โข ภควา ปุพฺพณฺหสมยํ นิวาเสตฺวา ปตฺตจีวรมาทาย อายสฺมตา ยเสน ปจฺฉาสมเณน เยน เสฏฺฐิสฺส คหปติสฺส นิเวสนํ เตนุปสงฺกมิ อุปสงฺกมิตฺวา ปญฺญตฺเต อาสเน นิสีทิ. ข  อถ โข อายสฺมโต ยสสฺส มาตา จ ปุราณทุติยิกา จ เยน ภควา เตนุปสงฺกมึสุ อุปสงฺกมิตฺวา ภควนฺตํ อภิวาเทตฺวา เอกมนฺตํ นิสีทึสุ. 
tāsaṃ bhagavā anupubbikathaṃ kathesi seyyath’ īdaṃ: dānakathaṃ sīlakathaṃ saggakathaṃ kāmānaṃ ādīnavaṃ okāraṃ saṃkilesaṃ nekkhamme ānisaṃsaṃ pakāsesi.  yadā tā bhagavā aññāsi kallacittā muducittā vinīvaraṇacittā uddaggacittā pasannacittā, atha yā buddhānaṃ sāmukkaṃsikā dhammadesanā taṃ pakāsesi, dukkhaṃ samudayaṃ nirodhaṃ maggaṃ.  seyyathāpi nāma suddhaṃ vatthaṃ apagatakāḷakaṃ sammad eva rajanaṃ paṭigaṇheyya, evam eva tāsaṃ tasmiṃ yeva āsane virajaṃ vītamalaṃ dhammacakkhuṃ udapādi yaṃ kiñci samudayadhammaṃ sabbaṃ taṃ nirodhadhamman ti. |2| 
Then the mother and the former wife of the venerable Yasa went to the place where the Blessed One was; having approached him and having respectfully saluted the Blessed One. they sat down near him.  Then the Blessed One preached to them in due course; that is to say, he talked about the merits obtained by alms-giving, . . . . (&c., as in chap. 7. 5, 6, down to:);   
พระผู้มีพระภาคตรัสอนุปุพพิกถาแก่นางทั้งสอง คือ ทรงประกาศทานกถา สีลกถา สัคคกถา โทษ ความต่ำทราม ความเศร้าหมองของกามทั้งหลาย และอานิสงส์ในความออกจากกาม.  เมื่อพระผู้มีพระภาคทรงทราบว่า นางทั้งสองมีจิตสงบ มีจิตอ่อน มีจิตปลอดจากนิวรณ์ มีจิตเบิกบาน มีจิตผ่องใสแล้ว จึงทรงประกาศพระธรรมเทศนาที่พระพุทธเจ้าทั้งหลายทรงยกขึ้นแสดงด้วยพระองค์เอง คือ ทุกข์ สมุทัย นิโรธ มรรค.  ดวงตาเห็นธรรม ปราศจากธุลี ปราศจากมลทินว่า สิ่งใดสิ่งหนึ่งมีความเกิดขึ้นเป็นธรรมดา สิ่งนั้นทั้งมวลมีความดับเป็นธรรมดา ได้เกิดแก่นางทั้งสอง ณ ที่นั่งนั้นแล ดุจผ้าที่สะอาดปราศจากมลทิน ควรได้รับน้ำย้อมเป็นอย่างดี ฉะนั้น. 
ตาสํ ภควา อนุปุพฺพิ๎ กถํ กเถสิ เสยฺยถิทํ ทานกถํ สีลกถํ สคฺคกถํ กามานํ อาทีนวํ โอการํ สํกิเลสํ เนกฺขมฺเม อานิสํสํ ปกาเสสิ.  ยทา ตา ภควา อญฺญาสิ กลฺลจิตฺตา มุทุจิตฺตา วินีวรณจิตฺตา อุทคฺคจิตฺตา ปสนฺนจิตฺตา อถ ยา พุทฺธานํ สามุกฺกํสิกา ธมฺมเทสนา ตํ ปกาเสสิ ทุกฺขํ สมุทยํ นิโรธํ มคฺคํ  เสยฺยถาปิ นาม สุทฺธํ วตฺถํ อปคตกาฬกํ สมฺมเทว รชนํ ปฏิคฺคณฺเหยฺย เอวเมว ตาสํ ตสฺมึเยว อาสเน วิรชํ วีตมลํ ธมฺมจกฺขุํ อุทปาทิ ยํ กิญฺจิ สมุทยธมฺมํ สพฺพํ ตํ นิโรธธมฺมนฺติ. 
tā diṭṭhadhammā pattadhammā viditadhammā pariyogāḷhadhammā tiṇṇavicikicchā vigatakathaṃkathā vesārajjappattā aparappaccayā satthu sāsane bhagavantaṃ etad avocuṃ:  abhikkantaṃ bhante, abhikkantaṃ bhante --la-- etā mayaṃ bhante bhagavantaṃ saraṇaṃ gacchāma dhammañ ca bhikkhusaṃghañ ca, upāsikāyo no bhagavā dhāretu ajjatagge pāṇupetā saraṇaṃ gatā ’ti.  tā ’va loke paṭhamaṃ upāsikā ahesuṃ tevācikā. |3| 
thus they obtained, while sitting there, the pure and spotless Eye of theTruth (that is, the knowledge): 'Whatsoever is subject to the condition of origination is subject also to the condition of cessation.'  And having seen the Truth, . . . . (&c., as above, §§ 5, 6, down to:), dependent on nobody else for knowledge of the Teacher's doctrine, they thus spoke to the Blessed One:  'Glorious, Lord! glorious Lord! Just as if one should set up' (&c., as in chap. 7. 10, down to:). We take our refuge, Lord, in the Blessed One, and in the Dhamma, and in the fraternity of Bhikkhus; may the Blessed One receive us from this day forth, while our life lasts, as disciples who have taken their refuge in Him.' 
มารดาและภรรยาเก่าของท่านพระยสได้เห็นธรรมแล้ว ได้บรรลุธรรมแล้ว ได้รู้ธรรมแจ่มแจ้งแล้ว มีธรรมอันหยั่งลงแล้ว ข้ามความสงสัยได้แล้ว ปราศจากถ้อยคำแสดงความสงสัย ถึงความเป็นผู้แกล้วกล้า ไม่ต้องเชื่อผู้อื่นในคำสอนของพระศาสดา ได้ทูลคำนี้ต่อพระผู้มีพระภาคว่า  ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญภาษิตของพระองค์แจ่มแจ้งนัก ภาษิตของพระองค์ไพเราะนัก พระพุทธเจ้าข้า พระองค์ทรงประกาศธรรมโดยอเนกปริยาย เปรียบเหมือนบุคคลหงายของที่คว่ำ เปิดของที่ปิด บอกทางแก่คนหลงทาง หรือส่องประทีปในที่มืดด้วยตั้งใจว่า คนมีจักษุจักเห็นรูป ดังนี้ หม่อมฉันทั้งสองนี้ ขอถึงพระผู้มีพระภาค พระธรรม และพระภิกษุสงฆ์ว่าเป็นสรณะ ขอพระองค์จงทรงจำหม่อมฉันทั้งสองว่า เป็นอุบาสิกาผู้มอบชีวิตถึงสรณะ จำเดิมแต่วันนี้เป็นต้นไป.  ก็มารดาและภรรยาเก่าของท่านพระยส ได้เป็นอุบาสิกา กล่าวอ้างพระรัตนตรัยเป็นชุดแรกในโลก. 
ตา ทิฏฺฐธมฺมา ปตฺตธมฺมา วิทิตธมฺมา ปริโยคาฬฺหธมฺมา ติณฺณวิจิกิจฺฉา วิคตกถํกถา เวสารชฺชปฺปตฺตา อปรปฺปจฺจยา สตฺถุสาสเน ภควนฺตํ เอตทโวจุํ  “อภิกฺกนฺตํ ภนฺเต อภิกฺกนฺตํ ภนฺเตฯเปฯ เอตา มยํ ภนฺเต ภควนฺตํ สรณํ คจฺฉาม ธมฺมญฺจ ภิกฺขุสงฺฆญฺจ. อุปาสิกาโย โน ภควา ธาเรตุ อชฺชตคฺเค ปาณุเปตา สรณํ คตา”ติ.  ตา จ โลเก ปฐมํ อุปาสิกา อเหสุํ เตวาจิกา. 
atha kho āyasmato Yasassa mātā ca pitā ca purāṇadutiyikā ca bhagavantañ ca āyasmantañ ca Yasaṃ paṇītena khādaniyena bhojaniyena sahatthā santappetvā sampavāretvā bhagavantaṃ bhuttāviṃ onītapattapāṇiṃ ekamantaṃ nisīdiṃsu.  atha kho bhagavā āyasmato Yasassa mātarañ ca pitarañ ca purāṇadutiyikañ ca dhammiyā kathāya sandassetvā samādapetvā samuttejetvā sampahaṃsetvā uṭṭhāyāsanā pakkāmi. |4| 
These were the first females in the world who became lay-disciples by the formula of the holy triad.  And the mother and the father and the former wife of the venerable Yasa with their own hands served and offered excellent food, both hard and soft, to the Blessed One and to the venerable Yasa; and when the Blessed One had finished his meal, and cleansed his bowl and his hands, they sat down near him. 
ครั้งนั้น มารดาบิดาและภรรยาเก่าของท่านพระยสได้อังคาสพระผู้มีพระภาคและท่านพระยส ด้วยขาทนียโภชนียาหารอันประณีตด้วยมือของตนๆ จนให้ห้ามภัต ทรงนำพระหัตถ์ออกจากบาตรแล้ว จึงนั่ง ณ ที่ควรส่วนข้างหนึ่ง.  ขณะนั้น พระผู้มีพระภาคทรงชี้แจงให้มารดาบิดา และภรรยาเก่าของท่านพระยส เห็นแจ้ง สมาทาน อาจหาญ ร่าเริง ด้วยธรรมีกถา แล้วเสด็จลุกจากอาสนะกลับไป. 
อถ โข อายสฺมโต ยสสฺส มาตา จ ปิตา จ ปุราณทุติยิกา จ ภควนฺตญฺจ อายสฺมนฺตญฺจ ยสํ ปณีเตน ขาทนีเยน โภชนีเยน สหตฺถา สนฺตปฺเปตฺวา สมฺปวาเรตฺวา ภควนฺตํ ภุตฺตาวึ โอนีตปตฺตปาณึ เอกมนฺตํ นิสีทึสุ.  อถ โข ภควา อายสฺมโต ยสสฺส มาตรญฺจ ปิตรญฺจ ปุราณทุติยิกญฺจ ธมฺมิยา กถาย สนฺทสฺเสตฺวา สมาทเปตฺวา สมุตฺเตเชตฺวา สมฺปหํเสตฺวา อุฏฺฐายาสนา ปกฺกามิ. 
||8|| 
Then the Blessed One taught, incited, animated, and gladdened the mother, and father, and the former wife of the venerable Yasa by religious discourse; and then he rose from his seat and went away. 
 
assosuṃ kho āyasmato Yasassa cattāro gihisahāyakā Bārāṇasiyaṃ seṭṭhānuseṭṭhīnaṃ kulānaṃ puttā Vimalo (19) Subāhu Puṇṇaji Gavampati: Yaso kira kulaputto kesamassuṃ ohāretvā kāsāyāni vatthāni acchādetvā agārasmā anagāriyaṃ pabbajito ’ti.  sutvāna nesaṃ etad ahosi: na hi nūna so orako dhammavinayo, na sā orakā pabbajjā, yattha Yaso kulaputto kesamassuṃ ohāretvā kāsāyāni vatthāni acchādetvā agārasmā anagāriyaṃ pabbajito ’ti. |1| 
Now four lay persons, friends of the venerable Yasa, belonging to the setthi families of Benares, and to the highest after the setthi families, by name Vimala, Subâhu, Punnagi, and Gavampati, heard: 'Yasa, the noble youth, has cut off his hair and beard, and has put on yellow robes, and has given up the world, and gone forth into the houseless state.' 
สหายคฤหัสถ์ ๔ คนของพระยสออกบรรพชา [๓๐] สหายคฤหัสถ์ ๔ คนของท่านพระยส คือ วิมล ๑ สุพาหุ ๑ ปุณณชิ ๑ ควัมปติ ๑ เป็นบุตรของสกุลเศรษฐีสืบๆ มา ในพระนครพาราณสี ได้ทราบข่าวว่า ยสกุลบุตรปลงผมและหนวด นุ่งห่มผ้ากาสายะ ออกจากเรือน บวชเป็นบรรพชิตแล้ว.  ครั้นทราบดังนั้นแล้ว ได้ดำริว่า ธรรมวินัยและบรรพชาที่ยสกุลบุตร ปลงผมและหนวดนุ่งห่มผ้ากาสายะออกจากเรือนบวชเป็นบรรพชิตแล้วนั้น คงไม่ต่ำทรามแน่นอน 
  ๓๐. อสฺโสสุํ โข อายสฺมโต ยสสฺส จตฺตาโร คิหิสหายกา พาราณสิยํ เสฏฺฐานุเสฏฺฐีนํ กุลานํ ปุตฺตา วิมโล สุพาหุ ปุณฺณชิ ควมฺปติ ยโส กิร กุลปุตฺโต เกสมสฺสุํ โอหาเรตฺวา กาสายานิ วตฺถานิ อจฺฉาเทตฺวา อคารสฺมา อนคาริยํ ปพฺพชิโตติ. 
te cattāro janā yenāyasmā Yaso ten’ upasaṃkamiṃsu, upasaṃkamitvā āyasmantaṃ Yasaṃ abhivādetvā ekamantaṃ aṭṭhaṃsu.  atha kho āyasmā Yaso te cattāro gihisahāyake ādāya yena bhagavā ten’ upasaṃkami, upasaṃkamitvā bhagavantaṃ abhivādetvā ekamantaṃ nisīdi. ekamantaṃ nisinno kho āyasmā Yaso bhagavantaṃ etad avoca:  ime me bhante cattāro gihisahāyakā Bārāṇasiyaṃ seṭṭhānuseṭṭhīnaṃ kulānaṃ puttā Vimalo Subāhu Puṇṇaji Gavampati, ime cattāro bhagavā ovadatu anusāsatū ’ti. |2| 
When they had heard that, they thought: 'Surely that cannot be a common doctrine and discipline, that cannot be a common renunciation of the world, if Yasa, the noble youth, has cut off his hair and beard, and has put on yellow robes, and has given up the world, and gone forth into the houseless state.'  Those four persons went to the place where the venerable Yasa was; having approached him and having respectfully saluted the venerable Yasa, they stood by his side.  And the venerable Yasa went with his four lay-friends to the place where the Blessed One was; having approached him and having respectfully saluted the Blessed One, he sat down near him. Sitting near him the venerable Yasa said to the Blessed One: 
ดังนี้ จึงพากันเข้าไปหาท่านพระยส อภิวาทแล้วได้ยืนอยู่ ณ ที่ควรส่วนข้างหนึ่ง  จึงท่านพระยสพาสหายคฤหัสถ์ทั้ง ๔ นั้น เข้าเฝ้าพระผู้มีพระภาคถวายบังคมแล้วนั่ง ณ ที่ควรส่วนข้างหนึ่ง ได้กราบทูลว่า  พระพุทธเจ้าข้า สหายคฤหัสถ์ของข้าพระองค์ ๔ คนนี้ ชื่อ วิมล ๑ สุพาหุ ๑ ปุณณชิ ๑ ควัมปติ ๑ เป็นบุตรของสกุลเศรษฐี สืบๆ มาในพระนครพาราณสี ขอพระผู้มีพระภาคโปรดประทานโอวาทสั่งสอนสหายของข้าพระองค์เหล่านี้. 
สุตฺวาน เนสํ เอตทโหสิ “น หิ นูน โส โอรโก ธมฺมวินโย น สา โอรกา ปพฺพชฺชา ยตฺถ ยโส กุลปุตฺโต เกสมสฺสุํ โอหาเรตฺวา กาสายานิ วตฺถานิ อจฺฉาเทตฺวา อคารสฺมา อนคาริยํ ปพฺพชิโต”ติ.  เต เยนายสฺมา ยโส เตนุปสงฺกมึสุ อุปสงฺกมิตฺวา อายสฺมนฺตํ ยสํ อภิวาเทตฺวา เอกมนฺตํ อฏฺฐํสุ.  อถ โข อายสฺมา ยโส เต จตฺตาโร คิหิสหายเก อาทาย เยน ภควา เตนุปสงฺกมิ อุปสงฺกมิตฺวา ภควนฺตํ อภิวาเทตฺวา เอกมนฺตํ นิสีทิ. เอกมนฺตํ นิสินฺโน โข อายสฺมา ยโส ภควนฺตํ เอตทโวจ 
tesaṃ bhagavā anupubbikathaṃ kathesi seyyath’ īdaṃ: dānakathaṃ sīlakathaṃ saggakathaṃ kāmānaṃ ādīnavaṃ okāraṃ saṃkilesaṃ nekkhamme ānisaṃsaṃ pakāsesi.  yadā te bhagavā aññāsi kallacitte muducitte vinīvaraṇacitte udaggacitte pasannacitte, atha yā buddhānaṃ sāmukkaṃsikā dhammadesanā taṃ pakāsesi, dukkhaṃ samudayaṃ nirodhaṃ maggaṃ.  seyyathāpi nāma suddhaṃ vatthaṃ apagatakāḷakaṃ sammad eva rajanaṃ paṭigaṇheyya, evam eva tesaṃ tasmiṃ yeva āsane virajaṃ vītamalaṃ dhammacakkhuṃ udapādi yaṃ kiñci samudayadhammaṃ sabbaṃ taṃ nirodhadhamman ti. |3| 
'Lord, here are four lay-friends of mine, belonging to the setthi families of Benares and to the highest after the setthi families; their names are Vimala, Subâhu, Punnagi, and Gavampati. May the Blessed One administer exhortation and. instruction to these four persons.  Then the Blessed One preached to them, . . . . (&c., as in chap. 8. 2).   
พระผู้มีพระภาคทรงแสดงอนุปุพพิกถาแก่พวกเขา คือ ทรงประกาศทานกถา สีลกถา สัคคกถา โทษ ความต่ำทราม ความเศร้าหมองของกามทั้งหลาย และอานิสงส์ในความออกจากกาม.  เมื่อพระผู้มีพระภาคทรงทราบว่า พวกเขามีจิตสงบ มีจิตอ่อน มีจิตปลอดจากนิวรณ์ มีจิตเบิกบาน มีจิตผ่องใสแล้ว จึงทรงประกาศพระธรรมเทศนาที่พระพุทธเจ้าทั้งหลายทรงยกขึ้นแสดงด้วยพระองค์เอง คือ ทุกข์ สมุทัย นิโรธ มรรค.  ดวงตาเห็นธรรมปราศจากธุลี ปราศจากมลทิน ว่า สิ่งใดสิ่งหนึ่งมีความเกิดขึ้นเป็นธรรมดา สิ่งนั้นทั้งมวลมีความดับเป็นธรรมดา ได้เกิดแก่พวกเขา ณ ที่นั่งนั้นแล ดุจผ้าที่สะอาดปราศจากมลทิน ควรได้รับน้ำย้อมเป็นอย่างดี ฉะนั้น. 
“อิเม เม ภนฺเต จตฺตาโร คิหิสหายกา พาราณสิยํ เสฏฺฐานุเสฏฺฐีนํ กุลานํ ปุตฺตา วิมโล สุพาหุ ปุณฺณชิ ควมฺปติ. อิเม ภควา โอวทตุ อนุสาสตู”ติ  เตสํ ภควา อนุปุพฺพิ๎ กถํ กเถสิ เสยฺยถิทํ ทานกถํ สีลกถํ สคฺคกถํ กามานํ อาทีนวํ โอการํ สํกิเลสํ เนกฺขมฺเม อานิสํสํ ปกาเสสิ  ยทา เต ภควา อญฺญาสิ กลฺลจิตฺเต มุทุจิตฺเต วินีวรณจิตฺเต อุทคฺคจิตฺเต ปสนฺนจิตฺเต อถ ยา พุทฺธานํ สามุกฺกํสิกา ธมฺมเทสนา ตํ ปกาเสสิ ทุกฺขํ สมุทยํ นิโรธํ มคฺคํ 
te diṭṭhadhammā pattadhammā viditadhammā {pariyogāḷhadhammā} tiṇṇavicikicchā vigatakathaṃkathā vesārajjappattā aparappaccayā satthu sāsane bhagavantaṃ etad avocuṃ:  labheyyāma mayaṃ bhante bhagavato santike pabbajjaṃ, labheyyāma upasampadan ti.  etha bhikkhavo ’ti bhagavā avoca, svākkhāto dhammo, caratha brahmacariyaṃ sammā dukkhassa antakiriyāyā ’ti.  sā ’va tesaṃ āyasmantānaṃ upasampadā ahosi.  atha kho bhagavā te {bhikkhū} dhammiyā kathāya ovadi anusāsi.  tesaṃ bhagavatā dhammiyā kathāya ovadiyamānānaṃ anusāsiyamānānaṃ anupādāya āsavehi cittāni vimucciṃsu.  tena kho pana samayena ekādasa loke arahanto honti. |4| 
  And having seen the Truth, . . . . (&c., down to:) dependent on nobody else for the knowledge of the Teacher's doctrine, they thus spoke to the Blessed One:  'Lord, let us receive the pabbaggâ and upasampadâ ordinations from the Blessed One.'  'Come, O Bhikkhus,' said the Blessed One, 'well taught is the doctrine; lead a holy life for the sake of the complete extinction of suffering.'  Thus these venerable persons received the upasampadâ ordination.  And the Blessed One administered to these Bhikkhus exhortation and instruction by discourse relating to the Dhamma.  While they received exhortation and instruction from the Blessed One by discourse relating to the Dhamma. their minds became free from attachment to the world, and were released from the Âsavas. 
พวกเขาได้เห็นธรรมแล้ว ได้บรรลุธรรมแล้ว ได้รู้ธรรมแจ่มแจ้งแล้ว มีธรรมอันหยั่งลงแล้ว ข้ามความสงสัยได้แล้ว ปราศจากถ้อยคำแสดงความสงสัย ถึงความเป็นผู้แกล้วกล้า ไม่ต้องเชื่อผู้อื่นในคำสอนของพระศาสดา ได้ทูลคำนี้ต่อพระผู้มีพระภาคว่า  พระพุทธเจ้าข้า ขอพวกข้าพระองค์พึงได้บรรพชา พึงได้อุปสมบทในสำนักพระผู้มีพระภาค.  พระผู้มีพระภาคตรัสว่า พวกเธอจงเป็นภิกษุมาเถิด ดังนี้ แล้วได้ตรัสต่อไปว่า ธรรมอันเรากล่าวดีแล้ว พวกเธอจงประพฤติพรหมจรรย์ เพื่อทำที่สุดทุกข์โดยชอบเถิด.  พระวาจานั้นแล ได้เป็นอุปสมบทของท่านผู้มีอายุเหล่านั้น.  ต่อมา พระผู้มีพระภาคทรงประทานโอวาทสั่งสอนภิกษุเหล่านั้นด้วยธรรมีกถา.  เมื่อพระผู้มีพระภาคทรงประทานโอวาทสั่งสอนภิกษุเหล่านั้นด้วยธรรมีกถา จิตของภิกษุเหล่านั้น พ้นแล้วจากอาสวะทั้งหลาย เพราะไม่ถือมั่น.  สมัยนั้น มีพระอรหันต์เกิดขึ้นในโลก ๑๑ องค์. 
เสยฺยถาปิ นาม สุทฺธํ วตฺถํ อปคตกาฬกํ สมฺมเทว รชนํ ปฏิคฺคณฺเหยฺย เอวเมว เตสํ ตสฺมึเยว อาสเน วิรชํ วีตมลํ ธมฺมจกฺขุํ อุทปาทิ “ยํ กิญฺจิ สมุทยธมฺมํ สพฺพํ ตํ นิโรธธมฺม”นฺติ.  เต ทิฏฺฐธมฺมา ปตฺตธมฺมา วิทิตธมฺมา ปริโยคาฬฺหธมฺมา ติณฺณวิจิกิจฺฉา วิคตกถํกถา เวสารชฺชปฺปตฺตา อปรปฺปจฺจยา สตฺถุสาสเน ภควนฺตํ เอตทโวจุํ  “ลเภยฺยาม มยํ ภนฺเต ภควโต สนฺติเก ปพฺพชฺชํ ลเภยฺยาม อุปสมฺปท”นฺติ.  “เอถ ภิกฺขโว”ติ ภควา อโวจ “สฺวากฺขาโต ธมฺโม จรถ พฺรหฺมจริยํ สมฺมา ทุกฺขสฺส อนฺตกิริยายา”ติ.  สาว เตสํ อายสฺมนฺตานํ อุปสมฺปทา อโหสิ.  อถ โข ภควา เต ภิกฺขู ธมฺมิยา กถาย โอวทิ อนุสาสิ.  เตสํ ภควตา ธมฺมิยา กถาย โอวทิยมานานํ อนุสาสิยมานานํ อนุปาทาย อาสเวหิ จิตฺตานิ วิมุจฺจึสุ. 
Catugihipabbajjā niṭṭhitā. ||9|| 
At that time there were eleven Arahats in the world. 
สหายคฤหัสถ์ ๔ คน ของพระยสออกบรรพชา จบ. 
เตน โข ปน สมเยน เอกาทส โลเก อรหนฺโต โหนฺติ. 
([page 020] 20 MAHĀVAGGA. [I. 10-11. 1.) assosuṃ kho āyasmato Yasassa paññāsamattā gihisahāyakā janapadā pubbānupubbakānaṃ kulānaṃ puttā:  Yaso kira kulaputto kesamassuṃ ohāretvā kāsāyāni vatthāni acchādetvā agārasmā anagāriyaṃ pabbajito ’ti.  sutvāna nesaṃ etad ahosi: na hi nūna so orako dhammavinayo, na sā orakā pabbajjā, yattha Yaso kulaputto kesamassuṃ ohāretvā kāsāyāni vatthāni acchādetvā agārasmā anagāriyaṃ pabbajito ’ti. |1| 
Here ends the story of the ordination of the four laymen.  Now fifty lay persons, friends of the venerable Yasa, belonging to the highest families in the country and to those next to the highest, heard, . . . . ( &c., as in chap. 9, §§ 1, 2, 3, 4, down to:).   
สหายคฤหัสถ์ ๕๐ คน ของพระยสออกบรรพชา [๓๑] สหายคฤหัสถ์ของท่านพระยส เป็นชาวชนบทจำนวน ๕๐ คน เป็นบุตรของสกุลเก่าสืบๆ กันมา ได้ทราบข่าวว่า  ยสกุลบุตร ปลงผมและหนวด นุ่งห่มผ้ากาสายะ ออกจากเรือนบวชเป็นบรรพชิตแล้ว.  ครั้นทราบดังนั้นแล้วได้ดำริว่า ธรรมวินัยและบรรพชาที่ยสกุลบุตรปลงผมและหนวด นุ่งห่มผ้ากาสายะออกจากเรือนบวชเป็นบรรพชิตแล้วนั้น คงไม่ต่ำทรามแน่นอน 
จตุคิหิสหายกปพฺพชฺชา นิฏฺฐิตา.  ๓๑. อสฺโสสุํ โข อายสฺมโต ยสสฺส ปญฺญาสมตฺตา คิหิสหายกา ชานปทา ปุพฺพานุปุพฺพกานํ กุลานํ ปุตฺตา  ยโส กิร กุลปุตฺโต เกสมสฺสุํ โอหาเรตฺวา กาสายานิ วตฺถานิ อจฺฉาเทตฺวา อคารสฺมา อนคาริยํ ปพฺพชิโตติ. 
te yenāyasmā Yaso ten’ upasaṃkamiṃsu, upasaṃkamitvā āyasmantaṃ Yasaṃ abhivādetvā ekamantaṃ aṭṭhaṃsu.  atha kho āyasmā Yaso te paññāsamatte gihisahāyake ādāya yena bhagavā ten’ upasaṃkami, upasaṃkamitvā bhagavantaṃ abhivādetvā ekamantaṃ nisīdi. ekamantaṃ nisinno kho āyasmā Yaso bhagavantaṃ etad avoca:  ime me bhante paññāsamattā gihisahāyakā janapadā pubbānupubbakānaṃ kulānaṃ puttā, ime bhagavā ovadatu anusāsatū ’ti. |2| 
     
ดังนี้ จึงพากันเข้าไปหาท่านพระยส อภิวาทแล้วได้ยืนอยู่ ณ ที่ควรส่วนข้างหนึ่ง  จึงท่านพระยสพาสหายคฤหัสถ์จำนวน ๕๐ คนนั้นเข้าเฝ้าพระผู้มีพระภาค ถวายบังคมแล้วนั่ง ณ ที่ควรส่วนข้างหนึ่ง ได้กราบทูลว่า  พระพุทธเจ้าข้า สหายคฤหัสถ์ของข้าพระองค์เหล่านี้เป็นชาวชนบท เป็นบุตรของสกุลเก่าสืบๆ กันมา ขอพระผู้มีพระภาคโปรดประทานโอวาทสั่งสอนสหายของข้าพระองค์เหล่านี้. 
สุตฺวาน เนสํ เอตทโหสิ “น หิ นูน โส โอรโก ธมฺมวินโย น สา โอรกา ปพฺพชฺชา ยตฺถ ยโส กุลปุตฺโต เกสมสฺสุํ โอหาเรตฺวา กาสายานิ วตฺถานิ อจฺฉาเทตฺวา อคารสฺมา อนคาริยํ ปพฺพชิโต”ติ.  เต เยนายสฺมา ยโส เตนุปสงฺกมึสุ อุปสงฺกมิตฺวา อายสฺมนฺตํ ยสํ อภิวาเทตฺวา เอกมนฺตํ อฏฺฐํสุ.  อถ โข อายสฺมา ยโส เต ปญฺญาสมตฺเต คิหิสหายเก อาทาย เยน ภควา เตนุปสงฺกมิ อุปสงฺกมิตฺวา ภควนฺตํ อภิวาเทตฺวา เอกมนฺตํ นิสีทิ. เอกมนฺตํ นิสินฺโน โข อายสฺมา ยโส ภควนฺตํ เอตทโวจ 
tesaṃ bhagavā anupubbikathaṃ kathesi seyyath’ īdaṃ: dānakathaṃ sīlakathaṃ saggakathaṃ kāmānaṃ ādīnavaṃ okāraṃ saṃkilesaṃ nekkhamme ānisaṃsaṃ pakāsesi --pa-- dukkhaṃ samudayaṃ nirodhaṃ maggaṃ.  seyyathāpi nāma suddhaṃ vatthaṃ apagatakāḷakaṃ sammad eva rajanaṃ paṭigaṇheyya, evam eva tesaṃ tasmiṃ yeva āsane virajaṃ vītamalaṃ dhammacakkhuṃ udapādi yaṃ kiñci samudayadhammaṃ sabbaṃ taṃ nirodhadhamman ti. |3| 
   
พระผู้มีพระภาคทรงแสดงอนุปุพพิกถาแก่พวกเขา คือ ทรงประกาศทานกถา สีลกถา สัคคกถา โทษ ความต่ำทราม ความเศร้าหมองของกามทั้งหลาย และอานิสงส์ในความออกจากกาม. เมื่อพระผู้มีพระภาคทรงทราบว่า พวกเขามีจิตสงบ มีจิตอ่อน มีจิตปลอดจากนิวรณ์ มีจิตเบิกบาน มีจิตผ่องใสแล้ว จึงทรงประกาศพระธรรมเทศนา ที่พระพุทธเจ้าทั้งหลายทรงยกขึ้นแสดงด้วยพระองค์เอง คือ ทุกข์ สมุทัย นิโรธ มรรค.  ดวงตาเห็นธรรม ปราศจากธุลี ปราศจากมลทิน ว่า สิ่งใดสิ่งหนึ่งมีความเกิดขึ้นเป็นธรรมดา สิ่งนั้นทั้งมวลมีความดับเป็นธรรมดา ได้เกิดแก่พวกเขา ณ ที่นั่งนั้นแล ดุจผ้าที่สะอาดปราศจากมลทิน ควรได้รับน้ำย้อมเป็นอย่างดี ฉะนั้น. 
“อิเม เม ภนฺเต ปญฺญาสมตฺตา คิหิสหายกา ชานปทา ปุพฺพานุปุพฺพกานํ กุลานํ ปุตฺตา. อิเม ภควา โอวทตุ อนุสาสตู”ติ.  เตสํ ภควา อนุปุพฺพิ๎ กถํ กเถสิ เสยฺยถิทํ ทานกถํ สีลกถํ สคฺคกถํ กามานํ อาทีนวํ โอการํ สํกิเลสํ เนกฺขมฺเม อานิสํสํ ปกาเสสิ. ยทา เต ภควา อญฺญาสิ กลฺลจิตฺเต มุทุจิตฺเต วินีวรณจิตฺเต อุทคฺคจิตฺเต ปสนฺนจิตฺเต อถ ยา พุทฺธานํ สามุกฺกํสิกา ธมฺมเทสนา ตํ ปกาเสสิ ทุกฺขํ สมุทยํ นิโรธํ มคฺคํ 
te diṭṭhadhammā pattadhammā viditadhammā pariyogāḷhadhammā tiṇṇavicikicchā vigatakathaṃkathā vesārajjappattā aparappaccayā satthu sāsane bhagavantaṃ etad avocuṃ:  labheyyāma mayaṃ bhante bhagavato santike pabbajjaṃ, labheyyāma upasampadan ti.  etha bhikkhavo ’ti bhagavā avoca, svākkhāto dhammo, caratha brahmacariyaṃ sammā dukkhassa antakiriyāyā ’ti.  sā ’va tesaṃ āyasmantānaṃ upasampadā ahosi.  atha kho bhagavā te bhikkhū dhammiyā kathāya ovadi anusāsi.  tesaṃ bhagavatā dhammiyā kathāya ovadiyamānānaṃ anusāsiyamānānaṃ anupādāya āsavehi cittāni vimucciṃsu.  tena kho pana samayena ekasaṭṭhi loke arahanto honti. |4| 
            While they received exhortation and instruction from the Blessed One by discourse relating to the Dhamma, their minds became free from attachment to the world, and were released from the Âsavas. 
พวกเขาได้เห็นธรรมแล้ว ได้บรรลุธรรมแล้ว ได้รู้ธรรมแจ่มแจ้งแล้ว มีธรรมอันหยั่งลงแล้ว ข้ามความสงสัยได้แล้ว ปราศจากถ้อยคำแสดงความสงสัย ถึงความเป็นผู้แกล้วกล้า ไม่ต้องเชื่อผู้อื่นในคำสอนของพระศาสดา ได้ทูลคำนี้ต่อพระผู้มีพระภาคว่า  พระพุทธเจ้าข้า ขอพวกข้าพระองค์พึงได้บรรพชา พึงได้อุปสมบทในสำนักพระผู้มีพระภาค.  พระผู้มีพระภาคตรัสว่า พวกเธอจงเป็นภิกษุมาเถิด ดังนี้ แล้วได้ตรัสต่อไปว่า ธรรมอันเรากล่าวดีแล้ว พวกเธอจงประพฤติพรหมจรรย์เพื่อทำที่สุดทุกข์โดยชอบเถิด.  พระวาจานั้นแล ได้เป็นอุปสมบทของท่านผู้มีอายุเหล่านั้น.  ต่อมาพระผู้มีพระภาคทรงประทานโอวาทสั่งสอนภิกษุเหล่านั้น ด้วยธรรมีกถา.  เมื่อพระผู้มีพระภาคทรงประทานโอวาทสั่งสอนภิกษุเหล่านั้นด้วยธรรมีกถา จิตของภิกษุเหล่านั้นพ้นแล้วจากอาสวะทั้งหลาย เพราะไม่ถือมั่น.  สมัยนั้น มีพระอรหันต์เกิดขึ้นในโลก ๖๑ องค์. 
เสยฺยถาปิ นาม สุทฺธํ วตฺถํ อปคตกาฬกํ สมฺมเทว รชนํ ปฏิคฺคณฺเหยฺย เอวเมว เตสํ ตสฺมึเยว อาสเน วิรชํ วีตมลํ ธมฺมจกฺขุํ อุทปาทิ ยํ กิญฺจิ สมุทยธมฺมํ สพฺพํ ตํ นิโรธธมฺมนฺติ.  เต ทิฏฺฐธมฺมา ปตฺตธมฺมา วิทิตธมฺมา ปริโยคาฬฺหธมฺมา ติณฺณวิจิกิจฺฉา วิคตกถํกถา เวสารชฺชปฺปตฺตา อปรปฺปจฺจยา สตฺถุสาสเน ภควนฺตํ เอตทโวจุํ  “ลเภยฺยาม มยํ ภนฺเต ภควโต สนฺติเก ปพฺพชฺชํ ลเภยฺยาม อุปสมฺปท”นฺติ.  “เอถ ภิกฺขโว”ติ ภควา อโวจ “สฺวากฺขาโต ธมฺโม จรถ พฺรหฺมจริยํ สมฺมา ทุกฺขสฺส อนฺตกิริยายา”ติ.  สาว เตสํ อายสฺมนฺตานํ อุปสมฺปทา อโหสิ.  อถ โข ภควา เต ภิกฺขู ธมฺมิยา กถาย โอวทิ อนุสาสิ.  เตสํ ภควตา ธมฺมิยา กถาย โอวทิยมานานํ อนุสาสิยมานานํ อนุปาทาย อาสเวหิ จิตฺตานิ วิมุจฺจึสุ. 
||10|| 
At that time there were sixty-one Arahats in the world. 
สหายคฤหัสถ์ ๕๐ คน ของพระยสออกบรรพชา จบ. 
เตน โข ปน สมเยน เอกสฏฺฐิ โลเก อรหนฺโต โหนฺติ. (ปญฺญาสคิหิสหายกปพฺพชฺชา นิฏฺฐิตา.) 
atha kho bhagavā bhikkhū āmantesi: mutt’ āhaṃ bhikkhave sabbapāsehi ye dibbā ye ca mānusā.  tumhe pi bhik-(21)khave muttā sabbapāsehi ye dibbā ye ca mānusā.  caratha bhikkhave cārikaṃ bahujanahitāya bahujanasukhāya lokānukampāya atthāya hitāya sukhāya devamanussānaṃ.  mā ekena dve agamittha. desetha bhikkhave dhammaṃ ādikalyāṇaṃ majjhekalyāṇaṃ pariyosānakalyāṇaṃ sātthaṃ savyañjanaṃ kevalaparipuṇṇaṃ parisuddhaṃ brahmacariyaṃ pakāsetha.  santi sattā apparajakkhajātikā assavanatā dhammassa parihāyanti, bhavissanti dhammassa aññātāro.  aham pi bhikkhave yena Uruvelā yena Senāninigamo ten’ upasaṃkamissāmi dhammadesanāyā ’ti. |1| 
And the Blessed One said to the Bhikkhus: 'I am delivered, O Bhikkhus, from all fetters, human and divine.  You, O Bhikkhus, are also delivered from all fetters, human and divine.  Go ye now, O Bhikkhus, and wander, for the gain of the many, for the welfare of the many, out of compassion for the world, for the good, for the gain, and for the welfare of gods and men,  Let not two of you go the same way, Preach, O Bhikkhus, the doctrine which is glorious in the beginning, glorious in the middle, glorious at the end, in the spirit and in the letter; proclaim a consummate, perfect, and pure life of holiness.  There are beings whose mental eyes are covered by scarcely any dust, but if the doctrine is not preached to them, they cannot attain salvation. They will understand the doctrine. 
เรื่องพ้นจากบ่วง [๓๒] ครั้งนั้น พระผู้มีพระภาครับสั่งกะภิกษุทั้งหลายว่า ดูกรภิกษุทั้งหลาย เราพ้นแล้วจากบ่วงทั้งปวง ทั้งที่เป็นของทิพย์ ทั้งที่เป็นของมนุษย์  แม้พวกเธอก็พ้นแล้วจากบ่วงทั้งปวงทั้งที่เป็นของทิพย์ ทั้งที่เป็นของมนุษย์  พวกเธอจงเที่ยวจาริก เพื่อประโยชน์และความสุขแก่ชนหมู่มาก เพื่ออนุเคราะห์โลก เพื่อประโยชน์เกื้อกูลและความสุขแก่ทวยเทพและมนุษย์  พวกเธออย่าได้ไปรวมทางเดียวกันสองรูป จงแสดงธรรมงามในเบื้องต้น งามในท่ามกลาง งามในที่สุด จงประกาศพรหมจรรย์พร้อมทั้งอรรถทั้งพยัญชนะครบบริบูรณ์ บริสุทธิ์  สัตว์ทั้งหลายจำพวกที่มีธุลีคือกิเลสในจักษุน้อย มีอยู่ เพราะไม่ได้ฟังธรรมย่อมเสื่อม ผู้รู้ทั่วถึงธรรม จักมี  ดูกรภิกษุทั้งหลาย แม้เราก็จักไปยังตำบลอุรุเวลาเสนานิคม เพื่อแสดงธรรม. เรื่องพ้นจากบ่วง จบ. 
    (นิฏฺฐิตา จ ปพฺพชฺชากถา. ๘. มารกถา) ๓๒. อถ โข ภควา เต ภิกฺขู อามนฺเตสิ “มุตฺตาหํ ภิกฺขเว สพฺพปาเสหิ เย ทิพฺพา เย จ มานุสา.  ตุมฺเหปิ ภิกฺขเว มุตฺตา สพฺพปาเสหิ เย ทิพฺพา เย จ มานุสา.  จรถ ภิกฺขเว จาริกํ พหุชนหิตาย พหุชนสุขาย โลกานุกมฺปาย อตฺถาย หิตาย สุขาย เทวมนุสฺสานํ.  มา เอเกน ทฺเว อคมิตฺถ. เทเสถ ภิกฺขเว ธมฺมํ อาทิกลฺยาณํ มชฺเฌกลฺยาณํ ปริโยสานกลฺยาณํ สาตฺถํ สพฺยญฺชนํ เกวลปริปุณฺณํ ปริสุทฺธํ พฺรหฺมจริยํ ปกาเสถ. 
atha kho Māro pāpimā yena bhagavā ten’ upasaṃkami, upasaṃkamitvā bhagavantaṃ gāthāya ajjhabhāsi:  baddho ’si sabbapāsehi ye dibbā ye ca mānusā, mahābandhanabaddho ’si, na me samaṇa mokkhasīti. |  mutt’ āhaṃ sabbapāsehi ye dibbā ye ca mānusā, mahābandhanamutto ’mhi, nihato tvam asi Antakā ’ti. |  antalikkhacaro pāso yv’ āyaṃ carati mānaso tena taṃ bādhayissāmi, na me samaṇa mokkhasīti. |  rūpā saddā gandhā rasā phoṭṭhabbā ca manoramā ettha me vigato chando, nihato tvam asi Antakā ’ti.  atha kho Māro pāpimā jānāti maṃ bhagavā, jānāti maṃ sugato ’ti dukkhī dummano tatth’ ev’ antaradhāyīti. |2| 
And I will go also, O Bhikkhus, to Uruvelâ, to Senâninigama, in order to preach the doctrine.'  And Mâra the wicked One went to the place where the Blessed One was; having approached him, he addressed the Blessed One in the following stanza:  'Thou art bound by all fetters, human and divine. Thou art bound by strong fetters. Thou wilt not be delivered from me, O Samana.'  Buddha replied: 'I am delivered from all fetters, human and divine. I am delivered from the strong fetters. Thou art struck down, O Death.'  (Mâra said): 'The fetter which pervades the sky, with which mind is bound, with that fetter I will bind thee. Thou wilt not be delivered from me, O Samana.'  (Buddha replied): 'Whatever forms, sounds, odours, flavours, or contacts there are which please the senses, in me desire for them has ceased. Thou art struck down, O Death.' 
เรื่องมาร [๓๓] ครั้งนั้น มารผู้มีใจบาปเข้าไปเฝ้าพระผู้มีพระภาค ครั้นแล้วได้ทูลพระผู้มีพระภาค ด้วยคาถาว่า  ท่านเป็นผู้อันบ่วงทั้งปวง ทั้งที่เป็นของทิพย์ ทั้งที่เป็นของมนุษย์ ผูกพันไว้แล้ว ท่านเป็นผู้อันเครื่องผูกใหญ่รัดรึงแล้ว แน่ะสมณะ ท่านจักไม่พ้นเรา.  พระผู้มีพระภาคตรัสตอบว่า เราเป็นผู้พ้นแล้วจากบ่วงทั้งปวง ทั้งที่เป็นของทิพย์ ทั้งที่เป็นของมนุษย์ เราเป็นผู้พ้นแล้วจากเครื่องผูกใหญ่ ดูกรมาร ท่านถูกเรากำจัดเสียแล้ว.  มารกราบทูลว่า บ่วงนี้เที่ยวไปได้ในอากาศ เป็นของมีในจิต สัญจรอยู่ เราจักผูกรัดท่านด้วยบ่วงนั้น แน่ะสมณะ ท่านจักไม่พ้นเรา.  พระผู้มีพระภาคตรัสตอบว่า เราปราศจากความพอใจในอารมณ์เหล่านี้ คือ รูป เสียง กลิ่น รส โผฏฐัพพะ อันเป็นที่รื่นรมย์ใจ ดูกรมาร ท่านถูกเรากำจัดเสียแล้ว.  ครั้งนั้น มารผู้มีใจบาปรู้ว่า พระผู้มีพระภาคทรงรู้จักเรา พระสุคตทรงรู้จักเรา ดังนี้แล้ว มีทุกข์ เสียใจ หายไปในที่นั้นเอง. 
สนฺติ สตฺตา อปฺปรชกฺขชาติกา อสฺสวนตา ธมฺมสฺส ปริหายนฺติ ภวิสฺสนฺติ ธมฺมสฺส อญฺญาตาโร.  อหมฺปิ ภิกฺขเว เยน อุรุเวลา เสนานิคโม เตนุปสงฺกมิสฺสามิ ธมฺมเทสนายา”ติ.  ๓๓. อถ โข มาโร ปาปิมา เยน ภควา เตนุปสงฺกมิ อุปสงฺกมิตฺวา ภควนฺตํ คาถาย อชฺฌภาสิ  “พทฺโธสิ สพฺพปาเสหิ เย ทิพฺพา เย จ มานุสา. มหาพนฺธนพทฺโธสิ น เม สมณ โมกฺขสี”ติฯ  “มุตฺตาหํ สพฺพปาเสหิ เย ทิพฺพา เย จ มานุสา. มหาพนฺธนมุตฺโตมฺหิ นิหโต ตฺวมสิ อนฺตกาติฯ  “อนฺตลิกฺขจโร ปาโส ยฺวายํ จรติ มานโส. เตน ตํ พาธยิสฺสามิ น เม สมณ โมกฺขสีติฯ 
Mārakathā niṭṭhitā. ||11|| 
Then Mâra the wicked One understood: 'The Blessed One knows me, the perfect One knows me,' and, sad and afflicted, he vanished away. 
เรื่องมาร จบ. 
“รูปา สทฺทา รสา คนฺธา โผฏฺฐพฺพา จ มโนรมา. เอตฺถ เม วิคโต ฉนฺโท นิหโต ตฺวมสิ อนฺตกา”ติฯ 
tena kho pana samayena bhikkhū nānādisā nānājanapadā pabbajjāpekkhe ca upasampadāpekkhe ca ānenti bhagavā ne pabbājessati upasampādessatīti, tattha bhikkhū c’ eva kilamanti pabbajjāpekkhā ca upasampadāpekkhā ca.  atha kho bhagavato rahogatassa paṭisallīnassa evaṃ cetaso parivitakko udapādi:  etarahi kho bhikkhū nānādisā nānājanapadā pabbajjāpekkhe ca upasampadāpekkhe ca ānenti bhagavā ne pabbājessati upasampādessatīti, tattha bhikkhū c’ eva kilamanti pabbajjāpekkhā ca upasampadāpekkhā ca.  yaṃ nūnāhaṃ bhikkhūnaṃ anujāneyyaṃ tumheva dāni bhikkhave tāsu-tāsu disāsu tesu-tesu janapadesu pabbājetha upasampādethā ’ti. |1| 
Here ends the story of Mâra.  At that time the Bhikkhus brought (to Buddha), from different regions and different countries, persons who desired to obtain the pabbaggâ andupasampadâ ordinations, thinking: 'The Blessed One will confer on them the pabbaggâ and upasampadâ ordinations.' Thus both the Bhikkhus became tired (from the journey), and also those who desired to obtain the pabbaggâ and upasampadâ ordinations.  Now when the Blessed One was alone and had retired into solitude, the following consideration presented itself to his mind:  'The Bhikkhus now bring to me from different regions and different countries persons who desire to obtain the pabbaggâ and upasampadâ ordinations, thinking: "The Blessed One will confer on them the pabbaggâ and upasampadâ ordinations." Now both the Bhikkhus become tired, and also those who desire to obtain the pabbaggâ and upasampadâ ordinations. 
ทรงอนุญาตบรรพชาและอุปสมบทด้วยไตรสรณคมน์ [๓๔] ก็โดยสมัยนั้น ภิกษุทั้งหลายพากุลบุตรผู้มุ่งบรรพชาและผู้มุ่งอุปสมบท มาจากทิศต่างๆ จากชนบทต่างๆ ด้วยตั้งใจว่า พระผู้มีพระภาคจักให้พวกเขาบรรพชาอุปสมบท. ในเพราะเหตุนั้น ทั้งพวกภิกษุ ทั้งกุลบุตรผู้มุ่งบรรพชาและกุลบุตรผู้มุ่งอุปสมบท ย่อมลำบาก.  ครั้งนั้น พระผู้มีพระภาคประทับในที่สงัด หลีกเร้นอยู่ มีพระทัยปริวิตกเกิดขึ้นอย่างนี้ว่า  บัดนี้ ภิกษุทั้งหลายพากุลบุตรผู้มุ่งบรรพชาและผู้มุ่งอุปสมบทมาจากทิศต่างๆ จากชนบทต่างๆ ด้วยตั้งใจว่า พระผู้มีพระภาคจักให้พวกเขาบรรพชา อุปสมบท ในเพราะเหตุนั้น ทั้งพวกภิกษุ ทั้งกุลบุตรผู้มุ่งบรรพชาและกุลบุตรผู้มุ่งอุปสมบท ย่อมลำบาก  ผิฉะนั้น เราพึงอนุญาตแก่ภิกษุทั้งหลายว่า ดูกรภิกษุทั้งหลาย บัดนี้ พวกเธอนั่นแหละจงให้กุลบุตรทั้งหลายบรรพชาอุปสมบทในทิศนั้นๆ ในชนบทนั้นๆ เถิด. 
อถ โข มาโร ปาปิมา ชานาติ มํ ภควา ชานาติ มํ สุคโตติ ทุกฺขี ทุมฺมโน ตตฺเถวนฺตรธายีติ.  มารกถา นิฏฺฐิตา.  (๙. ปพฺพชฺชูปสมฺปทากถา) ๓๔. เตน โข ปน สมเยน ภิกฺขู นานาทิสา นานาชนปทา ปพฺพชฺชาเปกฺเข จ อุปสมฺปทาเปกฺเข จ อาเนนฺติ ภควา เน ปพฺพาเชสฺสติ อุปสมฺปาเทสฺสตีติ. ตตฺถ ภิกฺขู เจว กิลมนฺติ ปพฺพชฺชาเปกฺขา จ อุปสมฺปทาเปกฺขา จ.  อถ โข ภควโต รโหคตสฺส ปฏิสลฺลีนสฺส เอวํ เจตโส ปริวิตกฺโก อุทปาทิ 
atha kho bhagavā sāyaṇhasamayaṃ paṭisallānā vuṭṭhito etasmiṃ nidāne --pa-- dhammiṃ kathaṃ katvā (22) bhikkhū āmantesi:  idha mayhaṃ bhikkhave rahogatassa paṭisallīnassa evaṃ cetaso parivitakko udapādi:  etarahi kho bhikkhū nānādisā nānājanapadā pabbajjāpekkhe ca upasampadāpekkhe ca ānenti bhagavā ne pabbājessati upasampādessatīti, tattha bhikkhū c’ eva kilamanti pabbajjāpekkhā ca upasampadāpekkhā ca.  yaṃ nūnāhaṃ bhikkhūnaṃ anujāneyyaṃ tumheva dāni bhikkhave tāsu-tāsu disāsu tesu-tesu janapadesu pabbājetha upasampādethā ’ti. |2| 
What if I were to grant permission to the Bhikkhus, saying: "Confer henceforth, O Bhikkhus, in the different regions, and in the different countries, the pabbaggâ and upasampadâ ordinations yourselves (on those who desire to receive them)."'  And the Blessed One, having left the solitude in the evening, in consequence of that, and on this occasion, after having delivered a religious discourse, thus addressed the Bhikkhus:  'When I was alone, a Bhikkhus, and had retired into solitude, the following consideration, &c. What if I were to permit, . . . .' (&c., as in § 1).   
ครั้นเวลาเย็น เสด็จออกจากที่เร้น รับสั่งให้ประชุมภิกษุสงฆ์ ในเพราะเหตุเป็นเค้ามูลนั้น ในเพราะเหตุแรกเกิดนั้น ทรงทำธรรมีกถาแล้ว รับสั่งกะภิกษุทั้งหลายว่า  ดูกรภิกษุทั้งหลาย เราไปในที่สงัด หลีกเร้นอยู่ ณ ที่นี้ ได้มีใจปริวิตกเกิดขึ้นอย่างนี้ว่า  บัดนี้ ภิกษุทั้งหลายพากุลบุตรผู้มุ่งบรรพชาและผู้มุ่งอุปสมบท มาจากทิศต่างๆ จากชนบทต่างๆ ด้วยตั้งใจว่า พระผู้มีพระภาคจักให้พวกเขาบรรพชาอุปสมบท ในเพราะเหตุนั้น ทั้งพวกภิกษุ ทั้งกุลบุตรผู้มุ่งบรรพชา และกุลบุตรผู้มุ่งอุปสมบท ย่อมลำบาก  ผิฉะนั้น เราพึงอนุญาตแก่ภิกษุทั้งหลายว่า ดูกรภิกษุทั้งหลาย บัดนี้ พวกเธอนั่นแหละจงให้กุลบุตรทั้งหลายบรรพชาอุปสมบทในทิศนั้นๆ ในชนบทนั้นๆ เถิด. 
“เอตรหิ โข ภิกฺขู นานาทิสา นานาชนปทา ปพฺพชฺชาเปกฺเข จ อุปสมฺปทาเปกฺเข จ อาเนนฺติ ภควา เน ปพฺพาเชสฺสติ อุปสมฺปาเทสฺสตีติ. ตตฺถ ภิกฺขู เจว กิลมนฺติ ปพฺพชฺชาเปกฺขา จ อุปสมฺปทาเปกฺขา จ.  ยํนูนาหํ ภิกฺขูนํ อนุชาเนยฺยํ ตุมฺเหว ทานิ ภิกฺขเว ตาสุ ตาสุ ทิสาสุ เตสุ เตสุ ชนปเทสุ ปพฺพาเชถ อุปสมฺปาเทถา”ติ.  อถ โข ภควา สายนฺหสมยํ ปฏิสลฺลานา วุฏฺฐิโต เอตสฺมึ นิทาเน เอตสฺมึ ปกรเณ ธมฺมึ กถํ กตฺวา ภิกฺขู อามนฺเตสิ  “อิธ มยฺหํ ภิกฺขเว รโหคตสฺส ปฏิสลฺลีนสฺส เอวํ เจตโส ปริวิตกฺโก อุทปาทิ 
anujānāmi bhikkhave tumheva dāni tāsu-tāsu disāsu tesu-tesu janapadesu pabbājetha upasampādetha.  evañ ca pana bhikkhave pabbājetabbo upasampādetabbo:  paṭhamaṃ kesamassuṃ ohārāpetvā, kāsāyāni vatthāni acchādāpetvā, ekaṃsaṃ uttarāsaṅgaṃ kārāpetvā, bhikkhūnaṃ pāde vandāpetvā, ukkuṭikaṃ nisīdāpetvā, añjaliṃ paggaṇhāpetvā evaṃ vadehīti vattabbo: |3| 
  'I grant you, O Bhikkhus, this permission: Confer henceforth in the different regions and in the different countries the pabbaggâ and upasampadâ ordinations yourselves (on those who desire to receive them).  And you ought, O Bhikkhus, to confer the pabbaggâ and upasampadâ ordinations in this way: 
ดูกรภิกษุทั้งหลาย บัดนี้ เราอนุญาต พวกเธอนั่นแหละจงให้กุลบุตรทั้งหลายบรรพชาอุปสมบท ในทิศนั้นๆ ในชนบทนั้นๆ เถิด.  ดูกรภิกษุทั้งหลาย ก็แลพวกเธอพึงให้กุลบุตรบรรพชาอุปสมบทอย่างนี้:-  ชั้นแรก พวกเธอพึงให้กุลบุตรผู้มุ่งบรรพชาและผู้มุ่งอุปสมบท ปลงผมและหนวด แล้ว ให้ครองผ้ากาสายะ ให้ทำผ้าอุตราสงค์เฉวียงบ่า ให้กราบเท้าภิกษุทั้งหลายแล้ว ให้นั่งกระหย่ง ประคองอัญชลีสั่งว่า เธอจงว่าอย่างนี้ แล้วให้ว่าสรณคมน์ ดังนี้:- 
‘เอตรหิ โข ภิกฺขู นานาทิสา นานาชนปทา ปพฺพชฺชาเปกฺเข จ อุปสมฺปทาเปกฺเข จ อาเนนฺติ ภควา เน ปพฺพาเชสฺสติ อุปสมฺปาเทสฺสตีติ ตตฺถ ภิกฺขู เจว กิลมนฺติ ปพฺพชฺชาเปกฺขา จ อุปสมฺปทาเปกฺขา จ  ยํนูนาหํ ภิกฺขูนํ อนุชาเนยฺยํ ตุมฺเหว ทานิ ภิกฺขเว ตาสุ ตาสุ ทิสาสุ เตสุ เตสุ ชนปเทสุ ปพฺพาเชถ อุปสมฺปาเทถา”’ติ  อนุชานามิ ภิกฺขเว ตุมฺเหว ทานิ ตาสุ ตาสุ ทิสาสุ เตสุ เตสุ ชนปเทสุ ปพฺพาเชถ อุปสมฺปาเทถ. 
buddhaṃ saraṇaṃ gacchāmi, dhammaṃ saraṇaṃ gacchāmi, saṃghaṃ saraṇaṃ gacchāmi, dutiyam pi buddhaṃ saraṇaṃ gacchāmi, dutiyam pi dhammaṃ saraṇaṃ gacchāmi, dutiyam pi saṃghaṃ saraṇaṃ gacchāmi, tatiyam pi buddhaṃ saraṇaṃ gacchāmi, tatiyam pi dhammaṃ saraṇaṃ gacchāmi, tatiyam pi saṃghaṃ saraṇaṃ gacchāmīti.  anujānāmi bhikkhave imehi tīhi saraṇagamanehi pabbajjaṃ upasampadan ti. |4| 
Let him (who desires to receive the ordination), first have his hair and beard cut off; let him put on yellow robes, adjust his upper robe so as to cover one shoulder, salute the feet of the Bhikkhus (with his head), and sit down squatting; then let him raise his joined hands and tell him to say:  '"I take my refuge in the Buddha, I take my refuge in the Dhamma, I take my refuge in the Samgha. And for the second time I take (&c. . . . . Samgha). And for the third time I take my refuge in the Buddha, and for the third time I take my refuge in the Dhamma, and for the third time I take my refuge in the Samgha." 
ข้าพเจ้าถึงพระพุทธเจ้าเป็นที่พึ่ง ข้าพเจ้าถึงพระธรรมเป็นที่พึ่ง ข้าพเจ้าถึงพระสงฆ์เป็นที่พึ่ง แม้วาระที่ ๒ ข้าพเจ้าถึงพระพุทธเจ้าเป็นที่พึ่ง แม้วาระที่ ๒ ข้าพเจ้าถึงพระธรรมเป็นที่พึ่ง แม้วาระที่ ๒ ข้าพเจ้าถึงพระสงฆ์เป็นที่พึ่ง แม้วาระที่ ๓ ข้าพเจ้าถึงพระพุทธเจ้าเป็นที่พึ่ง แม้วาระที่ ๓ ข้าพเจ้าถึงพระธรรมเป็นที่พึ่ง แม้วาระที่ ๓ ข้าพเจ้าถึงพระสงฆ์เป็นที่พึ่ง  ดูกรภิกษุทั้งหลาย เราอนุญาตบรรพชาอุปสมบท ด้วยไตรสรณคมน์นี้. 
เอวญฺจ ปน ภิกฺขเว ปพฺพาเชตพฺโพ อุปสมฺปาเทตพฺโพ  ปฐมํ เกสมสฺสุํ โอหาราเปตฺวา กาสายานิ วตฺถานิ อจฺฉาทาเปตฺวา เอกํสํ อุตฺตราสงฺคํ การาเปตฺวา ภิกฺขูนํ ปาเท วนฺทาเปตฺวา อุกฺกุฏิกํ นิสีทาเปตฺวา อญฺชลึ ปคฺคณฺหาเปตฺวา เอวํ วเทหีติ วตฺตพฺโพ 
tīhisaraṇagamanehi upasampadākathā niṭṭhitā. ||12|| 
'I prescribe, a Bhikkhus, the pabbaggâ and upasampadâ ordinations consisting in the three times repeated declaration of taking refuge (in the holy triad).' 
กถาว่าด้วยอุปสมบทด้วยไตรสรณคมน์ จบ. 
พุทฺธํ สรณํ คจฺฉามิ ธมฺมํ สรณํ คจฺฉามิ สงฺฆํ สรณํ คจฺฉามิ ทุติยมฺปิ พุทฺธํ สรณํ คจฺฉามิ ทุติยมฺปิ ธมฺมํ สรณํ คจฺฉามิ ทุติยมฺปิ สงฺฆํ สรณํ คจฺฉามิ ตติยมฺปิ พุทฺธํ สรณํ คจฺฉามิ ตติยมฺปิ ธมฺมํ สรณํ คจฺฉามิ ตติยมฺปิ สงฺฆํ สรณํ คจฺฉามี”ติ. 
atha kho bhagavā vassaṃ vuttho bhikkhū āmantesi:  mayhaṃ kho bhikkhave yonisomanasikārā yonisosammappadhānā anuttarā vimutti anuppattā anuttarā vimutti sacchikatā.  tumhe pi bhikkhave yonisomanasikārā yonisosammappadhānā anuttaraṃ vimuttiṃ anupāpuṇātha anuttaraṃ vimuttiṃ sacchikarothā ’ti. |1| 
End of the account of the upasampadâ ordination by the threefold declaration of taking refuge.  And the Blessed One, after having kept the vassa residence, thus addressed the Bhikkhus:  'By wise contemplation, O Bhikkhus, and by wise firmness of exertion have I attained the highest emancipation, have I realised the highest emancipation. 
ทรงประทานโอวาทแก่ภิกษุสงฆ์ [๓๕] ครั้งนั้น พระผู้มีพระภาคทรงจำพรรษาแล้ว รับสั่งกะภิกษุทั้งหลายว่า  ดูกรภิกษุทั้งหลาย เพราะทำในใจโดยแยบคาย เพราะตั้งความเพียรชอบโดยแยบคาย เราจึงได้บรรลุอนุตตรวิมุติ จึงได้ทำอนุตตรวิมุติให้แจ้ง  แม้พวกเธอก็ได้บรรลุอนุตตรวิมุติ ทำอนุตตรวิมุติให้แจ้ง เพราะทำในใจโดยแยบคาย เพราะตั้งความเพียรชอบโดยแยบคาย. 
“อนุชานามิ ภิกฺขเว อิเมหิ ตีหิ สรณคมเนหิ ปพฺพชฺชํ อุปสมฺปท”นฺติ.  ตีหิ สรณคมเนหิ อุปสมฺปทากถา นิฏฺฐิตา.  (๑๐. ทุติยมารกถา) ๓๕. อถ โข ภควา วสฺสํวุฏฺโฐ ภิกฺขู อามนฺเตสิ 
atha kho Māro pāpimā yena bhagavā ten’ upasaṃkami, upasaṃkamitvā bhagavantaṃ gāthāya ajjhabhāsi:  baddho ’si Mārapāsehi ye dibbā ye ca mānusā, mahābandhanabaddho ’si, na me samaṇa mokkhasīti. |  mutt’ āhaṃ Mārapāsehi ye dibbā ye ca mānusā, mahābandhanamutto ’mhi nihato tvam asi Antakā ’ti. |  atha kho Māro pāpimā jānāti maṃ bhagavā, jānāti maṃ sugato ’ti dukkhī dummano tatth’ ev’ antaradhāyi. |2| 
Attain ye also, O Bhikkhus, the highest emancipation, realise the highest emancipation, by wise contemplation and by wise firmness of exertion.'  And Mâra the wicked One went to the place where the Blessed One was; having approached him, he addressed the Blessed One by the following stanza:  'Thou art bound by Mâra's fetters, human and divine. Thou art bound by strong fetters. Thou wilt not be delivered from me, O Samana.'  (Buddha replied): 'I am delivered from Mâra's fetters, human and divine. I am delivered from the strong fetters. Thou art struck down; O Death.' 
ครั้งนั้น มารผู้มีใจบาปเข้าไปเฝ้าพระผู้มีพระภาค ครั้นแล้วได้ทูลพระผู้มีพระภาคด้วยคาถาว่า  ท่านเป็นผู้อันบ่วงมาร ทั้งที่เป็นของทิพย์ ทั้งที่เป็นของมนุษย์ผูกพันไว้แล้ว ท่านเป็นผู้อันเครื่องผูกแห่งมารรัดรึงแล้ว แน่ะสมณะ ท่านจักไม่พ้นเรา.  พระผู้มีพระภาคตรัสตอบว่า เราเป็นผู้พ้นแล้วจากบ่วงมาร ทั้งที่เป็นของทิพย์ ทั้งที่เป็นของมนุษย์ เราเป็นผู้พ้นแล้วจากเครื่องผูกแห่งมาร ดูกรมาร ท่านถูกเรากำจัดเสียแล้ว.  ครั้งนั้น มารผู้มีใจบาปรู้ว่า พระผู้มีพระภาคทรงรู้จักเรา พระสุคตทรงรู้จักเรา ดังนี้แล้ว มีทุกข์ เสียใจ หายไปในที่นั้นเอง. 
“มยฺหํ โข ภิกฺขเว โยนิโส มนสิการา โยนิโส สมฺมปฺปธานา อนุตฺตรา วิมุตฺติ อนุปฺปตฺตา อนุตฺตรา วิมุตฺติ สจฺฉิกตา  ตุมฺเหปิ ภิกฺขเว โยนิโส มนสิการา โยนิโส สมฺมปฺปธานา อนุตฺตรํ วิมุตฺตึ อนุปาปุณาถ อนุตฺตรํ วิมุตฺตึ สจฺฉิกโรถา”ติ.  อถ โข มาโร ปาปิมา เยน ภควา เตนุปสงฺกมิ อุปสงฺกมิตฺวา ภควนฺตํ คาถาย อชฺฌภาสิ  “พทฺโธสิ มารปาเสหิ เย ทิพฺพา เย จ มานุสา. มหาพนฺธนพทฺโธสิ น เม สมณ โมกฺขสี”ติฯ 
||13|| 
Then Mâra the wicked One understood: 'The Blessed One knows me, the perfect One knows me;' and, sad and afflicted, he vanished away. 
“มุตฺตาหํ มารปาเสหิ เย ทิพฺพา เย จ มานุสา. มหาพนฺธนมุตฺโตมฺหิ นิหโต ตฺวมสิ อนฺตกา”ติฯ 
(23) atha kho bhagavā Bārāṇasiyaṃ yathābhirantaṃ viharitvā yena Uruvelā tena cārikaṃ pakkāmi.  atha kho bhagavā maggā okkamma yena aññataro vanasaṇḍo ten’ upasaṃkami, upasaṃkamitvā taṃ vanasaṇḍaṃ ajjhogāhetvā aññatarasmiṃ rukkhamūle nisīdi.  tena kho pana samayena tiṃsamattā Bhaddavaggiyā sahāyakā sapajāpatikā tasmiṃ yeva vanasaṇḍe paricārenti.  ekassa pajāpati nāhosi, tass’ atthāya vesī ānītā ahosi.  atha kho sā vesī tesu pamattesu paricārentesu bhaṇḍaṃ ādāya palāyittha. |1| 
And the Blessed One, after having dwelt at Benares as long as he thought fit, went forth to Uruvelâ.  And the Blessed One left the road and went to a certain grove; having gone there, and having entered it, he sat down at the foot of a tree.  At that time there was a party of thirty friends, rich young men, who were sporting in that same grove together with their wives.  One of them had no wife; 
เรื่องสหายภัททวัคคีย์ [๓๖] ครั้นพระผู้มีพระภาคประทับอยู่ที่พระนครพาราณสีตามพระพุทธาภิรมย์ แล้วเสด็จจาริกไปโดยมรรคาอันจะไปสู่ตำบลอุรุเวลา  และทรงแวะจากทาง แล้วเสด็จเข้าไปยังไพรสณฑ์แห่งหนึ่ง ครั้นถึงไพรสณฑ์นั้นแล้ว ประทับนั่ง ณ โคนไม้ต้นหนึ่ง.  ก็โดยสมัยนั้นแล สหายภัททวัคคีย์จำนวน ๓๐ คน พร้อมด้วยปชาบดีบำเรอกันอยู่ ณ ไพรสณฑ์แห่งนั้น.  สหายคนหนึ่งไม่มีประชาบดี.  สหายทั้งหลายจึงได้นำหญิงแพศยามาเพื่อประโยชน์แก่เขา. 
อถ โข มาโร ปาปิมา ชานาติ มํ ภควา ชานาติ มํ สุคโตติ ทุกฺขี ทุมฺมโน ตตฺเถวนฺตรธายิ. (ทุติยมารกถา นิฏฺฐิตา.)      (๑๑. ภทฺทวคฺคิยวตฺถุ) ๓๖. อถ โข ภควา พาราณสิยํ ยถาภิรนฺตํ วิหริตฺวา เยน อุรุเวลา เตน จาริกํ ปกฺกามิ.  อถ โข ภควา มคฺคา โอกฺกมฺม เยน อญฺญตโร วนสณฺโฑ เตนุปสงฺกมิ อุปสงฺกมิตฺวา ตํ วนสณฺฑํ อชฺโฌคาเหตฺวา อญฺญตรสฺมึ รุกฺขมูเล นิสีทิ. 
atha kho te sahāyakā sahāyakassa veyyāvaccaṃ karontā taṃ itthiṃ gavesantā taṃ vanasaṇḍaṃ āhiṇḍantā addasaṃsu bhagavantaṃ aññatarasmiṃ rukkhamūle nisinnaṃ, disvāna yena bhagavā ten’ upasaṃkamiṃsu, upasaṃkamitvā bhagavantaṃ etad avocuṃ:  api bhante bhagavā ekaṃ itthiṃ passeyyā ’ti.  kiṃ pana vo kumārā itthiyā ’ti.  idha mayaṃ bhante tiṃsamattā Bhaddavaggiyā sahāyakā sapajāpatikā imasmiṃ vanasaṇḍe paricārayimhā, ekassa pajāpati nāhosi, tass’ atthāya vesī ānītā ahosi.  atha kho sā bhante vesī amhesu pamattesu paricārentesu bhaṇḍaṃ ādāya palāyittha.  tena mayaṃ bhante sahāyakā sahāyakassa veyyāvaccaṃ karontā taṃ itthiṃ gavesantā imaṃ vanasaṇḍaṃ āhiṇḍāmā ’ti. |2| 
for him they had procured a harlot.  Now while they did not pay attention, and were indulging in their sports, that harlot took up the articles belonging to them, and ran away. Then those companions, doing service to their friend, went in search of that woman; and, roaming about that grove, they saw the Blessed One sitting at the foot of a tree. Seeing him they went to the place where the Blessed One was; having approached him, they said to the Blessed One:  'Pray, Lord, has the Blessed One seen a woman passing by?'  'What have you to do, young men, with the woman?'  'We were sporting, Lord, in this grove, thirty friends, rich young men, together with our wives. One of us had no wife; for him we had procured a harlot.  Now, Lord, while we did not pay attention, and were indulging in our sports, that harlot has taken up the articles belonging to us, and has run away. 
ต่อมาหญิงแพศยานั้น เมื่อพวกสหายนั้นเผลอตัวมัวบำเรอกันอยู่ ได้ลักเครื่องประดับหนีไป. จึงพวกสหายนั้น เมื่อจะทำการช่วยเหลือสหาย เที่ยวตามหาหญิงแพศยานั้น ไปถึงไพรสณฑ์แห่งนั้น ได้เห็นพระผู้มีพระภาคประทับนั่งอยู่ ณ โคนไม้ต้นหนึ่ง ครั้นแล้วจึงเข้าไปเฝ้าพระผู้มีพระภาค แล้วได้ทูลถามพระผู้มีพระภาคว่า  พระผู้มีพระภาคเห็นหญิงบ้างไหมเจ้าข้า?  พระผู้มีพระภาคทรงย้อนถามว่า ดูกรกุมารทั้งหลาย พวกเธอจะต้องการอะไรด้วยหญิงเล่า?  ภัท. เจ้าข้า พวกข้าพเจ้าเป็นสหายภัททวัคคีย์จำนวน ๓๐ คน ในตำบลนี้ พร้อมด้วยปชาบดี บำเรอกันอยู่ในไพรสณฑ์แห่งนี้ สหายคนหนึ่งไม่มีปชาบดี พวกข้าพเจ้าจึงได้นำหญิงแพศยามาเพื่อประโยชน์แก่เขา  ต่อมา หญิงแพศยานั้น เมื่อพวกข้าพเจ้าเผลอตัวมัวบำเรอกันอยู่ ได้ลักเครื่องประดับหนีไป  เพราะเหตุนั้น พวกข้าพระองค์ผู้เป็นสหายกัน เมื่อจะทำการช่วยเหลือสหาย จึงเที่ยวตามหาหญิงนั้นมาถึงไพรสณฑ์แห่งนี้ เจ้าข้า. 
เตน โข ปน สมเยน ตึสมตฺตา ภทฺทวคฺคิยา สหายกา สปชาปติกา ตสฺมึ วนสณฺเฑ ปริจาเรนฺติ.  เอกสฺส ปชาปติ นาโหสิ ตสฺส อตฺถาย เวสี อานีตา อโหสิ.  อถ โข สา เวสี เตสุ ปมตฺเตสุ ปริจาเรนฺเตสุ ภณฺฑํ อาทาย ปลายิตฺถ.  อถ โข เต สหายกา สหายกสฺส เวยฺยาวจฺจํ กโรนฺตา ตํ อิตฺถึ คเวสนฺตา ตํ วนสณฺฑํ อาหิณฺฑนฺตา อทฺทสํสุ ภควนฺตํ อญฺญตรสฺมึ รุกฺขมูเล นิสินฺนํ. ทิสฺวาน เยน ภควา เตนุปสงฺกมึสุ อุปสงฺกมิตฺวา ภควนฺตํ เอตทโวจุํ  “อปิ ภนฺเต ภควา เอกํ อิตฺถึ ปสฺเสยฺยา”ติ?  “กึ ปน โว กุมารา อิตฺถิยา”ติ? 
taṃ kiṃ maññatha vo kumārā, katamaṃ nu kho tumhākaṃ varaṃ, yaṃ vā tumhe itthiṃ gaveseyyātha yaṃ vā attānaṃ gaveseyyāthā ’ti.  etad eva bhante amhākaṃ varaṃ yaṃ mayaṃ attānaṃ gaveseyyāmā ’ti.  tena hi vo kumārā nisīdatha, dhammaṃ vo desessāmīti.  evaṃ bhante ’ti kho te Bhaddavaggiyā sahāyakā bhagavantaṃ abhivādetvā ekamantaṃ nisīdiṃsu. |3| 
Therefore, Lord, we companions, doing service to our friend, go in search of that woman, and roam about this grove.'  'Now what think you, young men? Which would be the better for you; that you should go in search of a woman, or that you should go in search of yourselves?'  'That, Lord, would be the better for us, that we should go in search of ourselves.'  'If so, young men, sit down, I will preach to you the Truth (Dhamma).' 
ภ. ดูกรกุมารทั้งหลาย พวกเธอสำคัญความข้อนั้นเป็นไฉน ข้อที่พวกเธอแสวงหาหญิง หรือแสวงหาตนนั้น อย่างไหนเป็นความดีของพวกเธอเล่า?  ภัท. ข้อที่พวกข้าพระองค์แสวงหาตนนั่นแล เป็นความดีของพวกข้าพเจ้า เจ้าข้า.  ภ. ดูกรกุมารทั้งหลาย ถ้าอย่างนั้นพวกเธอนั่งลงเถิด เราจักแสดงธรรมแก่พวกเธอ.  พวกสหายภัททวัคคีย์เหล่านั้น รับพระพุทธาณัติพจน์ว่า อย่างนั้น เจ้าข้า ถวายบังคมพระผู้มีพระภาคแล้ว นั่งอยู่ ณ ที่ควรส่วนข้างหนึ่ง. 
“อิธ มยํ ภนฺเต ตึสมตฺตา ภทฺทวคฺคิยา สหายกา สปชาปติกา อิมสฺมึ วนสณฺเฑ ปริจาริมฺหา. เอกสฺส ปชาปติ นาโหสิ ตสฺส อตฺถาย เวสี อานีตา อโหสิ.  อถ โข สา ภนฺเต เวสี อมฺเหสุ ปมตฺเตสุ ปริจาเรนฺเตสุ ภณฺฑํ อาทาย ปลายิตฺถ.  เต มยํ ภนฺเต สหายกา สหายกสฺส เวยฺยาวจฺจํ กโรนฺตา ตํ อิตฺถึ คเวสนฺตา อิมํ วนสณฺฑํ อาหิณฺฑามา”ติ.  “ตํ กึ มญฺญถ โว กุมารา กตมํ นุ โข ตุมฺหากํ วรํ ยํ วา ตุมฺเห อิตฺถึ คเวเสยฺยาถ ยํ วา อตฺตานํ คเวเสยฺยาถา”ติ? 
tesaṃ bhagavā anupubbikathaṃ kathesi seyyath’ īdaṃ: dānakathaṃ sīlakathaṃ saggakathaṃ kāmānaṃ ādīnavaṃ okāraṃ saṃkilesaṃ nekkhamme ānisaṃsaṃ pakāsesi.  yadā te bhagavā aññāsi kallacitte muducitte vinīvaraṇacitte udaggacitte pasannacitte, atha yā buddhānaṃ sāmukkaṃsikā dhammadesanā, taṃ pakāsesi, dukkhaṃ samudayaṃ nirodhaṃ maggaṃ.  seyyathāpi nāma suddhaṃ vatthaṃ apagatakāḷakaṃ sammad eva rajanaṃ paṭigaṇheyya, evam eva tesaṃ tasmiṃ yeva āsane virajaṃ vītamalaṃ dhammacakkhuṃ udapādi yaṃ kiñci samudayadhammaṃ sabbaṃ taṃ nirodhadhammaṃ ti. |4| 
The rich young companions replied: 'Yes, Lord,' and respectfully saluted the Blessed One, and sat down near him.  Then the Blessed One preached to them, . . . . (&c., as in chap. 8. 2, or 9. 3).   
พระผู้มีพระภาคทรงแสดงอนุปุพพิกถาแก่พวกเขา คือทรงประกาศทานกถา สีลกถา สัคคกถา โทษ ความต่ำทราม ความเศร้าหมองของกามทั้งหลาย และอานิสงส์ในความออกจากกาม.  เมื่อพระองค์ทรงทราบว่า พวกเขามีจิตสงบ มีจิตอ่อน มีจิตปลอดจากนิวรณ์ มีจิตเบิกบาน มีจิตผ่องใสแล้ว จึงทรงประกาศพระธรรมเทศนา ที่พระพุทธเจ้าทั้งหลายทรงยกขึ้นแสดงด้วยพระองค์เอง คือ ทุกข์ สมุทัย นิโรธ มรรค.  ดวงตาเห็นธรรม ปราศจากธุลี ปราศจากมลทินว่า สิ่งใดสิ่งหนึ่งมีความเกิดขึ้นเป็นธรรมดา สิ่งนั้นทั้งมวลมีความดับเป็นธรรมดา ได้เกิดแก่พวกเขา ณ ที่นั่งนั่นแล ดุจผ้าที่สะอาด ปราศจากมลทิน ควรได้รับน้ำย้อมเป็นอย่างดี ฉะนั้น. 
“เอตเทว ภนฺเต อมฺหากํ วรํ ยํ มยํ อตฺตานํ คเวเสยฺยามา”ติ.  “เตน หิ โว กุมารา นิสีทถ ธมฺมํ โว เทเสสฺสามี”ติ.  “เอวํ ภนฺเต”ติ โข เต ภทฺทวคฺคิยา สหายกา ภควนฺตํ อภิวาเทตฺวา เอกมนฺตํ นิสีทึสุ. 
te diṭṭhadhammā pattadhammā viditadhammā pariyogāḷhadhammā (24) tiṇṇavicikicchā vigatakathaṃkathā vesārajjappattā aparappaccayā satthu sāsane bhagavantaṃ etad avocuṃ:  labheyyāma mayaṃ bhante bhagavato santike pabbajjaṃ, labheyyāma upasampadan ti.  etha bhikkhavo ’ti bhagavā avoca, svākkhāto dhammo, caratha brahmacariyaṃ sammā dukkhassa antakiriyāyā ’ti.  sā ’va tesaṃ āyasmantānaṃ upasampadā ahosi. |5| 
  And having seen the Truth, . . . . (&c., as in chap. 9. 4 down to:).     
พวกเขาได้เห็นธรรมแล้ว ได้บรรลุธรรมแล้ว ได้รู้ธรรมแจ่มแจ้งแล้ว มีธรรมอันหยั่งลงแล้ว ข้ามความสงสัยได้แล้ว ปราศจากถ้อยคำแสดงความสงสัย ถึงความเป็นผู้แกล้วกล้า ไม่ต้องเชื่อผู้อื่นในคำสอนของพระศาสดา ได้ทูลคำนี้ต่อพระผู้มีพระภาคว่า  พระเจ้าข้า พวกข้าพระองค์พึงได้บรรพชา พึงได้อุปสมบทในสำนักพระผู้มีพระภาค.  พระผู้มีพระภาคตรัสว่า พวกเธอจงเป็นภิกษุมาเถิด ดังนี้ แล้วได้ตรัสต่อไปว่า ธรรมอันเรากล่าวดีแล้ว พวกเธอจงประพฤติพรหมจรรย์ เพื่อทำที่สุดทุกข์โดยชอบเถิด.  พระวาจานั้นแล ได้เป็นอุปสมบทของท่านผู้มีอายุเหล่านั้น. 
เตสํ ภควา อนุปุพฺพิ๎ กถํ กเถสิ เสยฺยถิทํ ทานกถํ สีลกถํ สคฺคกถํ กามานํ อาทีนวํ โอการํ สํกิเลสํ เนกฺขมฺเม อานิสํสํ ปกาเสสิ  ยทา เต ภควา อญฺญาสิ กลฺลจิตฺเต มุทุจิตฺเต วินีวรณจิตฺเต อุทคฺคจิตฺเต ปสนฺนจิตฺเต อถ ยา พุทฺธานํ สามุกฺกํสิกา ธมฺมเทสนา ตํ ปกาเสสิ ทุกฺขํ สมุทยํ นิโรธํ มคฺคํ  เสยฺยถาปิ นาม สุทฺธํ วตฺถํ อปคตกาฬกํ สมฺมเทว รชนํ ปฏิคฺคณฺเหยฺย เอวเมว เตสํ ตสฺมึเยว อาสเน วิรชํ วีตมลํ ธมฺมจกฺขุํ อุทปาทิ “ยํ กิญฺจิ สมุทยธมฺมํ สพฺพํ ตํ นิโรธธมฺม”นฺติ.  เต ทิฏฺฐธมฺมา ปตฺตธมฺมา วิทิตธมฺมา ปริโยคาฬฺหธมฺมา ติณฺณวิจิกิจฺฉา วิคตกถํกถา เวสารชฺชปฺปตฺตา อปรปฺปจฺจยา สตฺถุสาสเน ภควนฺตํ เอตทโวจุํ 
Bhaddavaggiyasahāyakānaṃ vatthuṃ niṭṭhitaṃ ||14|| 
Thus these venerable persons received the upasampadâ ordination. 
เรื่องสหายภัททวัคคีย์ จบ 
“ลเภยฺยาม มยํ ภนฺเต ภควโต สนฺติเก ปพฺพชฺชํ ลเภยฺยาม อุปสมฺปท”นฺติ. 
dutiyakabhāṇavāraṃ. 
Here ends the story of the thirty rich young companions. 
ทุติยภาณวาร จบ. 
“เอถ ภิกฺขโว”ติ ภควา อโวจ “สฺวากฺขาโต ธมฺโม จรถ พฺรหฺมจริยํ สมฺมา ทุกฺขสฺส อนฺตกิริยายา”ติ. 
atha kho bhagavā anupubbena cārikaṃ caramāno yena Uruvelā tad avasari. tena kho pana samayena Uruvelāyaṃ tayo jaṭilā paṭivasanti Uruvelakassapo Nadīkassapo Gayākassapo ’ti.  tesu Uruvelakassapo jaṭilo pañcannaṃ jaṭilasatānaṃ nāyako hoti vināyako aggo pamukho pāmokkho, Nadīkassapo jaṭilo tiṇṇaṃ jaṭilasatānaṃ nāyako hoti vināyako aggo pamukho pāmokkho, Gayākassapo jaṭilo dvinnaṃ jaṭilasatānaṃ nāyako hoti vināyako aggo pamukho pāmokkho. |1| 
End of the second Bhânavâra.  And the Blessed One, wandering from place to place, came to Uruvelâ. 
เรื่องชฎิล ๓ พี่น้อง [๓๗] ครั้งนั้น พระผู้มีพระภาคเสด็จจาริกโดยลำดับ ถึงตำบลอุรุเวลาแล้ว. ก็โดยสมัยนั้นแล ชฎิล ๓ คน คือ อุรุเวลกัสสป ๑ นทีกัสสป ๑ คยากัสสป ๑ อาศัยอยู่ในตำบลอุรุเวลา.  บรรดาชฎิล ๓ คนนั้น ชฎิลชื่ออุรุเวลกัสสป เป็นผู้นำ เป็นผู้ฝึกสอน เป็นผู้เลิศ เป็นหัวหน้า เป็นประธาน ของชฎิล ๕๐๐ คน. ชฎิลชื่อนทีกัสสป เป็นผู้นำ เป็นผู้ฝึกสอน เป็นผู้เลิศ เป็นหัวหน้า เป็นประธาน ของชฎิล ๓๐๐ คน. ชฎิลชื่อคยากัสสป เป็นผู้นำ เป็นผู้ฝึกสอน เป็นผู้เลิศ เป็นหัวหน้า เป็นประธาน ของชฎิล ๒๐๐ คน. 
สาว เตสํ อายสฺมนฺตานํ อุปสมฺปทา อโหสิ.  ภทฺทวคฺคิยสหายกานํ วตฺถุ นิฏฺฐิตํ. 
atha kho bhagavā yena Uruvelakassapassa jaṭilassa assamo ten’ upasaṃkami, upasaṃkamitvā Uruvelakassapaṃ jaṭilaṃ etad avoca: sace te Kassapa agaru, vaseyyāma ekarattaṃ agyāgāre ’ti.  na kho me mahāsamaṇa garu, caṇḍ’ ettha nāgarājā iddhimā āsiviso ghoraviso, so taṃ mā viheṭhesīti.  dutiyam pi kho bhagavā Uruvelakassapaṃ jaṭilaṃ etad avoca: sace te Kassapa agaru, vaseyyāma ekarattaṃ agyāgāre ’ti.  na kho me mahāsamaṇa garu, caṇḍ’ ettha nāgarājā iddhimā āsiviso ghoraviso, so taṃ mā viheṭhesīti.  tatiyam pi kho bhagavā Uruvelakassapaṃ jaṭilaṃ etad avoca: sace te Kassapa agaru, vaseyyāma ekarattaṃ agyāgāre ’ti.  na kho me mahāsamaṇa garu, caṇḍ’ ettha nāgarājā iddhimā āsiviso ghoraviso, so taṃ mā viheṭhesīti.  app eva maṃ na viheṭheyya, iṅgha tvaṃ Kassapa anujānāhi agyāgāran ti.  vihara mahāsamaṇa yathāsukhan ti. |2| 
At that time there lived in Uruvelâ three Gatilas, Uruvelâ Kassapa, Nadî Kassapa (Kassapa of the River, i.e. the Nerañgarâ), and Gayâ Kassapa (Kassapa of the village Gayâ.). Of these the Gatila Uruvelâ Kassapa was chief, leader, foremost, first, and highest over five hundred Gatilas; Nadî Kassapa was chief . . . . (&c., down to highest over) three hundred Gatilas, Gayâ Kassapa was chief (&c., down to highest over) two hundred Gatilas.  And the Blessed One went to the hermitage of the Gatila Uruvelâ Kassapa; having gone there, he said to the Gatila Uruvelâ Kassapa: 'If it is not disagreeable to you, Kassapa, let me spend one night in the room where your (sacred) fire is kept.'  'It is not disagreeable to me, great Samana, but there is a savage Nâga (or Serpent) king of great magical power, a dreadfully venomous serpent; let him do no harm to you.'  And a second time the Blessed One said to the Gatila Uruvelâ Kassapa: 'If it is not disagreeable,' &c. . . . .  'It is not disagreeable,' &c.  And a third time the Blessed One said: 'If it not disagreeable,' &c. . . . .  'It is not disagreeable,' &c. . . . .  'He is not likely to do any harm to me. Pray, Kassapa, allow me a place in the room where your fire is kept.' 
ครั้งนั้น พระผู้มีพระภาคได้เสด็จเข้าไปสู่อาศรมของชฎิลชื่ออุรุเวลกัสสป แล้วได้ตรัสกะชฎิลชื่ออุรุเวลกัสสปว่า ดูกรกัสสป ถ้าท่านไม่หนักใจ เราขออาศัยอยู่ในโรงบูชาเพลิงสักคืนหนึ่ง.  อุรุ. ข้าแต่มหาสมณะ ข้าพเจ้าไม่หนักใจเลย แต่ในโรงบูชาเพลิงนั้นมีพญานาคดุร้ายมีฤทธิ์ เป็นอสรพิษ มีพิษร้ายแรง อย่าเลย มันจะทำให้ท่านลำบาก.  แม้ครั้งที่สอง พระผู้มีพระภาคได้ตรัสแก่ชฎิลชื่ออุรุเวลกัสสปว่า ดูกรกัสสป ถ้าท่านไม่หนักใจ เราขออาศัยอยู่ในโรงบูชาเพลิงสักคืนหนึ่ง.  อุรุ. ข้าแต่มหาสมณะ ข้าพเจ้าไม่หนักใจเลย แต่ในโรงบูชาเพลิงนั้นมีพญานาคดุร้ายมีฤทธิ์ เป็นอสรพิษ มีพิษร้ายแรง อย่าเลย มันจะทำให้ท่านลำบาก.  แม้ครั้งที่สาม พระผู้มีพระภาคได้ตรัสแก่ชฎิลชื่ออุรุเวลกัสสปว่า ดูกรกัสสป ถ้าท่านไม่หนักใจ เราขออาศัยอยู่ในโรงบูชาเพลิงสักคืนหนึ่ง.  อุรุ. ข้าแต่มหาสมณะ ข้าพเจ้าไม่หนักใจเลย แต่ในโรงบูชาเพลิงนั้นมีพญานาคดุร้ายมีฤทธิ์ เป็นอสรพิษ มีพิษร้ายแรง อย่าเลย มันจะทำให้ท่านลำบาก.  ภ. ลางที พญานาคจะไม่ทำให้เราลำบาก ดูกรกัสสป เอาเถิด ขอท่านจงอนุญาตโรงบูชาเพลิง.  อุรุ. ข้าแต่มหาสมณะ เชิญท่านอยู่ตามสบายเถิด. 
ทุติยภาณวาโร.  (๑๒. อุรุเวลปาฏิหาริยกถา) ๓๗. อถ โข ภควา อนุปุพฺเพน จาริกํ จรมาโน เยน อุรุเวลา ตทวสริ. เตน โข ปน สมเยน อุรุเวลายํ ตโย ชฏิลา ปฏิวสนฺติ อุรุเวลกสฺสโป นทีกสฺสโป คยากสฺสโปติ.  เตสุ อุรุเวลกสฺสโป ชฏิโล ปญฺจนฺนํ ชฏิลสตานํ นายโก โหติ วินายโก อคฺโค ปมุโข ปาโมกฺโข. นทีกสฺสโป ชฏิโล ติณฺณํ ชฏิลสตานํ นายโก โหติ วินายโก อคฺโค ปมุโข ปาโมกฺโข. คยากสฺสโป ชฏิโล ทฺวินฺนํ ชฏิลสตานํ นายโก โหติ วินายโก อคฺโค ปมุโข ปาโมกฺโข.  อถ โข ภควา เยน อุรุเวลกสฺสปสฺส ชฏิลสฺส อสฺสโม เตนุปสงฺกมิ อุปสงฺกมิตฺวา อุรุเวลกสฺสปํ ชฏิลํ เอตทโวจ “สเจ เต กสฺสป อครุ วเสยฺยาม เอกรตฺตํ อคฺยาคาเร”ติ?  “น โข เม มหาสมณ ครุ จณฺเฑตฺถ นาคราชา อิทฺธิมา อาสิวิโส โฆรวิโส โส ตํ มา วิเหเฐสี”ติ.  ทุติยมฺปิ โข ภควา อุรุเวลกสฺสปํ ชฏิลํ เอตทโวจ “สเจ เต กสฺสป อครุ วเสยฺยาม เอกรตฺตํ อคฺยาคาเร”ติ?  “น โข เม มหาสมณ ครุ จณฺเฑตฺถ นาคราชา อิทฺธิมา อาสิวิโส โฆรวิโส โส ตํ มา วิเหเฐสี”ติ.  ตติยมฺปิ โข ภควา อุรุเวลกสฺสปํ ชฏิลํ เอตทโวจ “สเจ เต กสฺสป อครุ วเสยฺยาม เอกรตฺตํ อคฺยาคาเร”ติ? 
atha kho bhagavā agyāgāraṃ pavisitvā tiṇasantharakaṃ paññāpetvā nisīdi pallaṅkaṃ ābhuñjitvā ujuṃ kāyaṃ paṇidhāya parimukhaṃ satiṃ upaṭṭhāpetvā.  atha kho so nāgo bhagavantaṃ paviṭṭhaṃ addasa, disvāna dukkhī dummano padhūpāsi.  atha kho bhagavato etad ahosi: yaṃ nūnāhaṃ imassa nāgassa anupahacca (25) chaviñ ca cammañ ca maṃsañ ca nhāruñ ca aṭṭhiñ ca aṭṭhimiñjañ ca tejasā tejaṃ pariyādiyeyyan ti. |3| 
'Stay there, great Samana, as you wish it.'  Then the Blessed One entered the room where the fire was kept, made himself a couch of grass, and sat down cross-legged, keeping the body erect and surrounding himself with watchfulness of mind.  And the Nâga saw that the Blessed One had entered; when he saw that, he became annoyed, and irritated, and sent forth a cloud of smoke. 
ครั้งนั้น พระผู้มีพระภาคเสด็จเข้าไปสู่โรงบูชาเพลิง แล้วทรงปูหญ้า เครื่องลาด ประทับนั่งคู้บัลลังก์ ตั้งพระกายตรง ดำรงพระสติมั่น.  ปาฏิหาริย์ที่ ๑ [๓๘] ครั้งนั้น พญานาคนั้นได้เห็นพระผู้มีพระภาคเสด็จเข้าไปดังนั้น ครั้นแล้ว มีความขึ้งเคียดไม่พอใจ จึงบังหวนควันขึ้น.  ลำดับนั้น พระผู้มีพระภาคได้ทรงดำริว่า ไฉนหนอ เราพึงครอบงำเดชของพญานาคนี้ด้วยเดชของตน ไม่กระทบกระทั่งผิวหนัง เนื้อ เอ็น กระดูก และเยื่อในกระดูก 
“น โข เม มหาสมณ ครุ จณฺเฑตฺถ นาคราชา อิทฺธิมา อาสิวิโส โฆรวิโส โส ตํ มา วิเหเฐสี”ติ.  “อปฺเปว มํ น วิเหเฐยฺย อิงฺฆ ตฺวํ กสฺสป อนุชานาหิ อคฺยาคาร”นฺติ.  “วิหร มหาสมณ ยถาสุข”นฺติ. 
atha kho bhagavā tathārūpaṃ iddhābhisaṃkhāraṃ abhisaṃkharitvā padhūpāsi.  atha kho so nāgo makkhaṃ asahamāno pajjali.  bhagavāpi tejodhātuṃ samāpajjitvā pajjali.  ubhinnaṃ sajotibhūtānaṃ agyāgāraṃ ādittaṃ viya hoti sampajjalitaṃ sajotibhūtaṃ.  atha kho te jaṭilā agyāgāraṃ parivāretvā evaṃ āhaṃsu: abhirūpo vata bho mahāsamaṇo, nāgena viheṭhiyissatīti. |4| 
Then the Blessed One thought: 'What if I were to leave intact the skin, and hide, and flesh, and ligaments, and bones, and marrow of this Nâga; but were to conquer the fire, which he will send forth, by my fire.'  And the Blessed One effected the appropriate exercise of miraculous power and sent forth a cloud of smoke.  Then the Nâga, who could not master his rage, sent forth flames.  And the Blessed One, converting his body into fire, sent forth flames.  When they both shone forth with their flames, the fire room looked as if it were burning and blazing, as if it were all in flames. 
ดังนี้ แล้วทรงบันดาลอิทธาภิสังขารเช่นนั้น ทรงบังหวนควันแล้ว.  พญานาคนั้นทนความลบหลู่ไม่ได้ จึงพ่นไฟสู้ในทันที.  แม้พระผู้มีพระภาคก็ทรงเข้ากสิณสมาบัติมีเตโชธาตุเป็นอารมณ์ บันดาลไฟต้านทานไว้.  เมื่อทั้งสองฝ่ายโพลงไฟขึ้น โรงบูชาเพลิงรุ่งโรจน์เป็นเปลวเพลิงดุจไฟลุกไหม้ทั่วไป.  จึงชฎิลพวกนั้นพากันล้อมโรงบูชาเพลิง แล้วกล่าวอย่างนี้ว่า ชาวเราพระมหาสมณะรูปงามคงถูกพญานาคเบียดเบียนแน่. 
อถ โข ภควา อคฺยาคารํ ปวิสิตฺวา ติณสนฺถารกํ ปญฺญเปตฺวา นิสีทิ ปลฺลงฺกํ อาภุชิตฺวา อุชุํ กายํ ปณิธาย ปริมุขํ สตึ อุปฏฺฐเปตฺวา.  ๓๘. อทฺทสา โข โส นาโค ภควนฺตํ ปวิฏฺฐํ ทิสฺวาน ทุมฺมโน ปธูปายิ .  อถ โข ภควโต เอตทโหสิ “ยํนูนาหํ อิมสฺส นาคสฺส อนุปหจฺจ ฉวิญฺจ จมฺมญฺจ มํสญฺจ นฺหารุญฺจ อฏฺฐิญฺจ อฏฺฐิมิญฺชญฺจ เตชสา เตชํ ปริยาทิเยยฺย”นฺติ.  อถ โข ภควา ตถารูปํ อิทฺธาภิสงฺขารํ อภิสงฺขริตฺวา ปธูปายิ.  อถ โข โส นาโค มกฺขํ อสหมาโน ปชฺชลิ. 
atha kho bhagavā tassā rattiyā accayena tassa nāgassa anupahacca chaviñ ca cammañ ca maṃsañ ca nhāruñ ca aṭṭhiñ ca aṭṭhimiñjañ ca tejasā tejaṃ pariyādiyitvā patte pakkhipitvā Uruvelakassapassa jaṭilassa dassesi:  ayaṃ te Kassapa nāgo, pariyādinno assa tejasā tejo ’ti.  atha kho Uruvelakassapassa jaṭilassa etad ahosi:  mahiddhiko kho mahāsamaṇo mahānubhāvo, yatra hi nāma caṇḍassa nāgarājassa iddhimato āsivisassa ghoravisassa tejasā tejaṃ pariyādiyissati, na tv eva ca kho arahā yathā ahan ti. |5| 
And the Gatilas, surrounding the fire room, said: 'Truly, the countenance of the great Samana is beautiful, but the Nâga will do harm to him.'  That night having elapsed, the Blessed One, leaving intact the skin and hide and flesh and ligaments and bones and marrow of that Nâga, and conquering the Nâga's fire by his fire, threw him into his alms-bowl, and showed him to the Gatila Uruvelâ Kassapa (saying),  'Here you see the Nâga, Kassapa; his fire has been conquered by my fire.'  Then the Gatila Uruvelâ Kassapa thought: 
ต่อมา พระผู้มีพระภาคได้ทรงครอบงำเดชของพญานาคนั้น ด้วยเดชของพระองค์ ไม่กระทบกระทั่งผิวหนัง เนื้อ เอ็น กระดูก และเยื่อในกระดูก ทรงขดพญานาคไว้ในบาตร โดยผ่านราตรีนั้น แล้วทรงแสดงแก่ชฎิลอุรุเวลกัสสปด้วยพระพุทธดำรัสว่า  ดูกรกัสสป นี่พญานาคของท่าน เราครอบงำเดชของมันด้วยเดชของเราแล้ว  จึงชฎิลอุรุเวลกัสสปได้ดำริว่า  พระมหาสมณะมีฤทธิ์มาก มีอานุภาพมากแท้ จึงครอบงำเดชของพญานาคที่ดุร้าย มีฤทธิ์ เป็นอสรพิษ มีพิษร้ายแรง ด้วยเดชของตนได้ แต่พระมหาสมณะนี้ก็ไม่เป็นพระอรหันต์เหมือนเราแน่. 
ภควาปิ เตโชธาตุํ สมาปชฺชิตฺวา ปชฺชลิ.  อุภินฺนํ สโชติภูตานํ อคฺยาคารํ อาทิตฺตํ วิย โหติ สมฺปชฺชลิตํ สโชติภูตํ.  อถ โข เต ชฏิลา อคฺยาคารํ ปริวาเรตฺวา เอวมาหํสุ “อภิรูโป วต โภ มหาสมโณ นาเคน วิเหฐิยตี”ติ.  อถ โข ภควา ตสฺสา รตฺติยา อจฺจเยน ตสฺส นาคสฺส อนุปหจฺจ ฉวิญฺจ จมฺมญฺจ มํสญฺจ นฺหารุญฺจ อฏฺฐิญฺจ อฏฺฐิมิญฺชญฺจ เตชสา เตชํ ปริยาทิยิตฺวา ปตฺเต ปกฺขิปิตฺวา อุรุเวลกสฺสปสฺส ชฏิลสฺส ทสฺเสสิ 
Nerañjarāyaṃ bhagavā Uruvelakassapaṃ jaṭilam avoca: sace te Kassapa agaru, viharemu ajjuṇho aggisālamhīti.  na kho me mahāsamaṇa gara, phāsukāmo ’va taṃ nivāremi, caṇḍ’ ettha nāgarājā iddhimā āsiviso ghoraviso, so taṃ mā viheṭhesīti.  app eva maṃ na viheṭheyya, iṅgha tvaṃ Kassapa anujānāhi agyāgāran ti.  dinnan ti naṃ viditvā asambhīto pāvisi bhayamatīto.  disvā isiṃ paviṭṭhaṃ ahināgo dummano padhūpāsi.  sumānaso avimano manussanāgo pi tattha padhūpāsi.  makkhañ ca asahamāno ahināgo pāvako va pajjali.  tejodhātusukusalo manussanāgo pi tattha pajjali.  ubhinnaṃ sajotibhūtānaṃ agyāgāraṃ udiccare jaṭilā:  abhirūpo vata bho mahāsamaṇo nāgena viheṭhiyissatīti bhaṇanti. |6| 
'Truly the great Samana possesses high magical powers and great faculties, in that he is able to conquer by his fire the fire of that savage Nâga king, who is possessed of magical power, that dreadfully venomous serpent. He is not, however, holy (arahâ) as I am.'  Near the Nerañgarâ river the Blessed One said to the Gatila Uruvelâ Kassapa: 'If it is not disagreeable to you, Kassapa, let me dwell this moonlight night in your fire room.'  'It is not disagreeable to me, great Samana, but in your own behalf I warn you off. There is a savage Snake king there possessed of magical power, a dreadfully venomous serpent; let him do no harm to you.'  'He is not likely to do any harm to me; pray, Kassapa, allow me a place in your fire room.'  When he saw that Kassapa had given his permission, fearlessly He, who had overcome all fear, entered.  When the chief of Serpents saw that the Sage had entered, he became irritated, and sent forth a cloud of smoke.  Then the chief of men, joyful and unperplexed, also sent forth a cloud of smoke.  Unable to master his rage, the chief of Serpents sent forth flames like a burning fire.  Then the chief of men, the perfect master of the element of fire, also sent forth flames.  When they shone forth both with their flames, 
[๓๙] ที่แม่น้ำเนรัญชรา พระผู้มีพระภาคได้ตรัสกะชฎิลอุรุเวลกัสสป ว่าดังนี้:ดูกรกัสสป ถ้าท่านไม่หนักใจ เราขออาศัยอยู่ในโรงบูชาเพลิงสักวันหนึ่ง.  อุรุ. ข้าแต่มหาสมณะ ข้าพเจ้าไม่หนักใจเลย แต่ข้าพเจ้าหวังความสำราญจึงห้ามท่านว่า ในโรงบูชาเพลิงนั้นมีพญานาคดุร้าย มีฤทธิ์ เป็นอสรพิษ มีพิษร้ายแรง อย่าเลย มันจะทำให้ท่านลำบาก.  ภ. ลางที พญานาคนั้นจะไม่ทำให้เราลำบาก ดูกรกัสสป เอาเถิด ท่านจงอนุญาตโรงบูชาเพลิง.  พระผู้มีพระภาคทรงทราบอุรุเวลกัสสปนั้นว่า อนุญาตให้แล้ว ไม่ทรงครั่นคร้าม ปราศจากความกลัว เสด็จเข้าไป.  พญานาคเห็นพระผู้มีพระภาคผู้แสวงคุณความดี เสด็จเข้าไปแล้ว ไม่พอใจ จึงบังหวนควันขึ้น.  ส่วนพระพุทธเจ้าผู้เป็นมนุษย์ประเสริฐ มีพระทัยดี มีพระทัยไม่ขัดเคือง ทรงบังหวนควันขึ้นในที่นั้น.  แต่พญานาคทนความลบหลู่ไม่ได้ จึงพ่นไฟสู้.  ส่วนพระพุทธเจ้าผู้เป็นมนุษย์ประเสริฐ ทรงฉลาดในกสิณสมาบัติมีเตโชธาตุเป็นอารมณ์ได้ทรงบันดาลไฟต้านทานไว้ในที่นั้น.  เมื่อทั้งสองฝ่ายโพลงไฟขึ้นแล้ว โรงบูชาเพลิงรุ่งโรจน์เป็นเปลวเพลิง.  พวกชฎิลกล่าวกันว่า ชาวเรา พระสมณะรูปงามคงถูกพญานาคเบียดเบียนแน่. 
“อยํ เต กสฺสป นาโค ปริยาทินฺโน อสฺส เตชสา เตโช”ติ.  อถ โข อุรุเวลกสฺสปสฺส ชฏิลสฺส เอตทโหสิ  “มหิทฺธิโก โข มหาสมโณ มหานุภาโว ยตฺร หิ นาม จณฺฑสฺส นาคราชสฺส อิทฺธิมโต อาสิวิสสฺส โฆรวิสสฺส เตชสา เตชํ ปริยาทิยิสฺสติ นตฺเวว จ โข อรหา ยถา อห”นฺติ.  ๓๙. เนรญฺชรายํ ภควา อุรุเวลกสฺสปํ ชฏิลํ อโวจ. “สเจ เต กสฺสป อครุ วิหเรมุ อชฺชณฺโห อคฺคิสาลมฺหี”ติ ฯ  “น โข เม มหาสมณ ครุ. ผาสุกาโมว ตํ นิวาเรมิ. จณฺเฑตฺถ นาคราชา. อิทฺธิมา อาสิวิโส โฆรวิโส. โส ตํ มา วิเหเฐสี”ติฯ  “อปฺเปว มํ น วิเหเฐยฺย. อิงฺฆ ตฺวํ กสฺสป อนุชานาหิ อคฺยาคาร”นฺติ.  ทินฺนนฺติ นํ วิทิตฺวา. อภีโต ปาวิสิ ภยมตีโตฯ  ทิสฺวา อิสึ ปวิฏฺฐํ อหินาโค ทุมฺมโน ปธูปายิ.  สุมนมนโส อธิมโน มนุสฺสนาโคปิ ตตฺถ ปธูปายิฯ  มกฺขญฺจ อสหมาโน อหินาโค ปาวโกว ปชฺชลิ. 
atha kho tassā rattiyā accayena hatā nāgassa acciyo honti, iddhimato pana ṭhitā anekavaṇṇā acciyo honti, nīlā atha lohitikā mañjeṭṭhā pītakā phalikavaṇṇāyo Aṅgirasassa kāye anekavaṇṇā acciyo honti.  pattamhi odahitvā ahināgaṃ brāhmaṇassa dassesi: ayaṃ te Kassapa nāgo, pariyādinno assa tejasā tejo ’ti.  atha kho Uruvelakassapo jaṭilo bhagavato iminā iddhipāṭihāriyena abhippasanno bhagavantaṃ etad avoca:  idh’ eva mahāsamaṇa vihara, ahan te dhuvabhattenā ’ti. |7| 
the Gatilas looked at the fire room (saying), 'Truly the countenance of the great Samana is beautiful, but the Nâga will do harm to him.'  And when that night had elapsed, the flames of the Nâga were extinguished, but the various-coloured flames of Him who is possessed of magical powers remained. Dark blue and red, light red, yellow, and crystal-coloured flames of various colours appeared on the Angirasa's body.  Having put the chief of Serpents into his alms-bowl, he showed him to the Brâhmana (saying), 'Here you see the Nâga, Kassapa; his fire has been conquered by my fire.'  And the Gatila Uruvelâ Kassapa, having conceived an affection for the Blessed One in consequence of this wonder, said to the Blessed One: 
ครั้นราตรีผ่านไป เปลวไฟของพญานาคไม่ปรากฏ. แต่เปลวไฟสีต่างๆ ของพระผู้มีพระภาคผู้ทรงฤทธิ์ยังสถิตอยู่. พระรัศมีสีต่างๆ คือสีเขียว สีแดง สีหงสบาท สีเหลือง สีแก้วผลึก ปรากฏที่พระกายพระอังคีรส.  พระพุทธองค์ทรงขดพญานาคไว้ในบาตรแล้ว ทรงแสดงแก่พราหมณ์ว่า ดูกรกัสสปนี่พญานาคของท่าน เราครอบงำเดชของมันด้วยเดชของเราแล้ว.  ครั้งนั้น ชฎิลอุรุเวลกัสสป เลื่อมใสยิ่งนัก เพราะอิทธิปาฏิหารย์นี้ของพระผู้มีพระภาค ได้ทูลคำนี้ต่อพระผู้มีพระภาคว่า  ข้าแต่มหาสมณะ นิมนต์อยู่ในที่นี้แหละ ข้าพเจ้าจักบำรุงท่านด้วยภัตตาหารประจำ. 
เตโชธาตุสุ กุสโล มนุสฺสนาโคปิ ตตฺถ ปชฺชลิฯ  อุภินฺนํ สโชติภูตานํ. อคฺยาคารํ อาทิตฺตํ โหติ สมฺปชฺชลิตํ สโชติภูตํ. อุทิจฺฉเร ชฏิลา.  “อภิรูโป วต โภ มหาสมโณ. นาเคน วิเหฐิยตี”ติ ภณนฺติฯ  อถ ตสฺสา รตฺติยา อจฺจเยน. หตา นาคสฺส อจฺจิโย โหนฺติ . อิทฺธิมโต ปน ฐิตา . อเนกวณฺณา อจฺจิโย โหนฺติฯ นีลา อถ โลหิติกา. มญฺชิฏฺฐา ปีตกา ผลิกวณฺณาโย. องฺคีรสสฺส กาเย. อเนกวณฺณา อจฺจิโย โหนฺติฯ 
paṭhamaṃ pāṭihāriyaṃ. ||15|| 
'Stay with me, great Samana, I will daily provide you with food.' 
ปาฏิหาริย์ที่ ๑ จบ 
ปตฺตมฺหิ โอทหิตฺวา. อหินาคํ พฺราหฺมณสฺส ทสฺเสสิ. “อยํ เต กสฺสป นาโค. ปริยาทินฺโน อสฺส เตชสา เตโช”ติฯ 
(26) atha kho bhagavā Uruvelakassapassa jaṭilassa assamassa avidūre aññatarasmiṃ vanasaṇḍe vihāsi.  atha kho cattāro Mahārājāno abhikkantāya rattiyā abhikkantavaṇṇā kevalakappaṃ vanasaṇḍaṃ obhāsetvā yena bhagavā ten’ upasaṃkamiṃsu, upasaṃkamitvā bhagavantaṃ abhivādetvā catuddisā aṭṭhaṃsu seyyathāpi mahantā aggikkhandhā. |1| 
End of the first Wonder.  And the Blessed One resided in a certain grove near the hermitage of the Gatila Uruvelâ Kassapa. 
ปาฏิหาริย์ที่ ๒ [๔๐] ครั้งนั้น พระผู้มีพระภาคประทับอยู่ ณ ไพรสณฑ์แห่งหนึ่ง ไม่ไกลจากอาศรมของชฎิลอุรุเวลกัสสป.  ครั้งนั้น ท้าวมหาราชทั้ง ๔ เมื่อราตรีปฐมยามผ่านไปแล้ว เปล่งรัศมีงามยังไพรสณฑ์ทั้งสิ้นให้สว่างไสว แล้วเข้าไปเฝ้าพระผู้มีพระภาค ครั้นถึงแล้วจึงถวายบังคมพระผู้มีพระภาค ได้ยืนเฝ้าอยู่ทั้ง ๔ ทิศ ดุจกองไฟใหญ่ฉะนั้น. 
อถ โข อุรุเวลกสฺสโป ชฏิโล ภควโต อิมินา อิทฺธิปาฏิหาริเยน อภิปฺปสนฺโน ภควนฺตํ เอตทโวจ  “อิเธว มหาสมณ วิหร อหํ เต ธุวภตฺเตนา”ติ. 
atha kho Uruvelakassapo jaṭilo tassā rattiyā accayena yena bhagavā ten’ upasaṃkami, upasaṃkamitvā bhagavantaṃ etad avoca: kālo mahāsamaṇa niṭṭhitaṃ bhattaṃ.  ke nu kho te mahāsamaṇa abhikkantāya rattiyā abhikkantavaṇṇā kevalakappaṃ vanasaṇḍaṃ obhāsetvā yena tvaṃ ten’ upasaṃkamiṃsu, upasaṃkamitvā taṃ abhivādetvā catuddisā aṭṭhaṃsu seyyathāpi mahantā aggikkhandhā ’ti.  ete kho Kassapa cattāro Mahārājāno yenāhaṃ ten’ upasaṃkamiṃsu dhammasavanāyā ’ti.  atha kho Uruvelakassapassa jaṭilassa etad ahosi:  mahiddhiko kho mahāsamaṇo mahānubhavo, yatra hi nāma cattāro pi Mahārājāno upasaṃkamissanti dhammasavanāya, na tv eva ca kho arahā yathā ahan ti.  atha kho bhagavā Uruvelakassapassa jaṭilassa bhattaṃ bhuñjitvā tasmiṃ yeva vanasaṇḍe vihāsi. |2| 
And on a beautiful night the four Mahârâgas, filling the whole grove with light by the brilliancy of their complexion, went to the place where the Blessed One was; having approached him and respectfully saluted the Blessed One, they stood in the four directions like great firebrands.  And when that night had elapsed, the Gatila Uruvelâ Kassapa went to the place where the Blessed One was; having approached him, he said to the Blessed One: 'It is time, great Samana, the meal is ready.  Who were they, great Samana, who came, this beautiful night, filling the whole grove with light by the brilliancy of their complexion, to the place where you were, and having approached you and respectfully saluted you, stood in the four directions like great firebrands?'  'They were the four Mahârâgas, Kassapa, who came to me in order to hearmy preaching.'  Then the Gatila Uruvelâ Kassapa thought:  'Truly the great Samana possesses high magical powers and great faculties, since even the four Mahârâgas come to hear his preaching. He is not, however, holy like me.' 
ต่อมาชฎิลอุรุเวลกัสสป เข้าไปเฝ้าพระผู้มีพระภาคโดยผ่านราตรีนั้น ครั้นถึงแล้วได้ทูลคำนี้ต่อพระผู้มีพระภาคว่า ถึงเวลาแล้วมหาสมณะ ภัตตาหารเสร็จแล้ว  พวกนั้นคือใครกันหนอ เมื่อราตรีปฐมยามผ่านไปแล้ว มีรัศมีงาม ยังไพรสณฑ์ทั้งสิ้นให้สว่างไสว เข้าไปหาท่าน ครั้นถึงแล้วอภิวาทท่าน ได้ยืนอยู่ทั้ง ๔ ทิศ ดุจกองไฟใหญ่ฉะนั้น?  พระผู้มีพระภาคตรัสตอบว่า ดูกรกัสสป พวกนั้นคือท้าวมหาราชทั้ง ๔ เข้ามาหาเราเพื่อฟังธรรม.  ครั้งนั้น ชฎิลอุรุเวลกัสสปได้มีความดำริว่า  พระมหาสมณะมีฤทธิ์มาก มีอานุภาพมากแท้ ถึงกับท้าวมหาราชทั้ง ๔ เข้ามาหาเพื่อฟังธรรม แต่ก็ไม่เป็นพระอรหันต์เหมือนเราแน่.  ครั้งนั้น พระผู้มีพระภาคเสวยภัตตาหารของชฎิลอุรุเวลกัสสป แล้วประทับอยู่ในไพรสณฑ์ตำบลนั้นแล. 
ปฐมํ ปาฏิหาริยํ.  ๔๐. อถ โข ภควา อุรุเวลกสฺสปสฺส ชฏิลสฺส อสฺสมสฺส อวิทูเร อญฺญตรสฺมึ วนสณฺเฑ วิหาสิ.  อถ โข จตฺตาโร มหาราชาโน อภิกฺกนฺตาย รตฺติยา อภิกฺกนฺตวณฺณา เกวลกปฺปํ วนสณฺฑํ โอภาเสตฺวา เยน ภควา เตนุปสงฺกมึสุ อุปสงฺกมิตฺวา ภควนฺตํ อภิวาเทตฺวา จตุทฺทิสา อฏฺฐํสุ เสยฺยถาปิ มหนฺตา อคฺคิกฺขนฺธา.  อถ โข อุรุเวลกสฺสโป ชฏิโล ตสฺสา รตฺติยา อจฺจเยน เยน ภควา เตนุปสงฺกมิ อุปสงฺกมิตฺวา ภควนฺตํ เอตทโวจ “กาโล มหาสมณ นิฏฺฐิตํ ภตฺตํ.  เก นุ โข เต มหาสมณ อภิกฺกนฺตาย รตฺติยา อภิกฺกนฺตวณฺณา เกวลกปฺปํ วนสณฺฑํ โอภาเสตฺวา เยน ตฺวํ เตนุปสงฺกมึสุ อุปสงฺกมิตฺวา ตํ อภิวาเทตฺวา จตุทฺทิสา อฏฺฐํสุ “เสยฺยถาปิ มหนฺตา อคฺคิกฺขนฺธา”ติ.  “เอเต โข กสฺสป จตฺตาโร มหาราชาโน เยนาหํ เตนุปสงฺกมึสุ ธมฺมสฺสวนายา”ติ. 
dutiyakapāṭihāriyaṃ. ||16|| 
And the Blessed One ate the food offered by the Gatila Uruvelâ Kassapa, and continued to stay in that same grove. 
ปาฏิหาริย์ที่ ๒ จบ 
อถ โข อุรุเวลกสฺสปสฺส ชฏิลสฺส เอตทโหสิ 
atha kho Sakko devānam indo abhikkantāya rattiyā abhikkantavaṇṇā kevalakappaṃ vanasaṇḍaṃ obhāsetvā yena bhagavā ten’ upasaṃkami, upasaṃkamitvā bhagavantaṃ abhivādetvā ekamantaṃ aṭṭhāsi seyyathāpi mahā aggikkhandho, pūrimāhi vaṇṇanibhāhi abhikkantataro ca paṇītataro ca. |1| 
End of the second Wonder. 
ปาฏิหาริย์ที่ ๓ [๔๑] ครั้งนั้น ท้าวสักกะจอมทวยเทพ เมื่อราตรีปฐมยามล่วงไปแล้ว เปล่งรัศมีงาม ยังไพรสณฑ์ทั้งสิ้นให้สว่างไสว เข้าไปเฝ้าพระผู้มีพระภาค ครั้นถึงแล้วจึงถวายบังคมพระผู้มีพระภาคได้ประทับยืนอยู่ ณ ที่ควรส่วนข้างหนึ่ง ดุจกองไฟใหญ่ งามและประณีตกว่ารัศมีแต่ก่อน. 
“มหิทฺธิโก โข มหาสมโณ มหานุภาโว ยตฺร หิ นาม จตฺตาโรปิ มหาราชาโน อุปสงฺกมิสฺสนฺติ ธมฺมสฺสวนาย น ตฺเวว จ โข อรหา ยถา อห”นฺติ. 
atha kho Uruvelakassapo jaṭilo tassā rattiyā accayena yena bhagavā ten’ upasāmi, upasaṃkamitvā bhagavantaṃ etad avoca: kālo mahāsamaṇa niṭṭhitaṃ bhattaṃ.  ko nu kho so mahāsamaṇa abhikkantāya rattiyā abhikkantavaṇṇā kevalakappaṃ vanasaṇḍaṃ obhāsetvā yena tvaṃ ten’ upasaṃkami, upasaṃkamitvā taṃ abhivādetvā ekamantaṃ aṭṭhāsi seyyathāpi mahā aggikkhandho purimāhi vaṇṇanibhāhi abhikkantataro ca paṇītataro cā ’ti.  eso kho Kassapa Sakko devānam indo yenāhaṃ ten’ upasaṃkami dhammasavanāyā ’ti.  atha kho Uruvelakassapassa jaṭilassa etad ahosi:  mahiddhiko kho mahāsamaṇo mahānubhāvo, yatra hi nāma (27) Sakko pi devānam indo upasaṃkamissati dhammasavanāya, na tv eva ca kho arahā yathā ahan ti.  atha kho bhagavā Uruvelakassapassa jaṭilassa bhattaṃ bhuñjitvā tasmiṃ yeva vanasaṇḍe vihāsi. |2| 
And on a beautiful night Sakka (Sakra or Indra) the king of the devas, filling the whole grove with light by the brilliancy of his complexion, went to the place where the Blessed One was; having approached him and respectfully saluted the Blessed One, he stood near him like a great firebrand, surpassing in beauty and brilliancy the splendour of the former appearances.  And when that night had elapsed (&c., as in chap. 16. 2).         
ต่อมาชฎิลอุรุเวลกัสสปเข้าไปเฝ้าพระผู้มีพระภาคโดยผ่านราตรีนั้น ครั้นถึงแล้วได้ทูลคำนี้ต่อพระผู้มีพระภาคว่า ถึงเวลาแล้ว มหาสมณะ ภัตตาหารเสร็จแล้ว  ผู้นั้นคือใครกันหนอ เมื่อราตรีปฐมยามผ่านไปแล้ว เปล่งรัศมีงาม ยังไพรสณฑ์ทั้งสิ้นให้สว่างไสว เข้ามาหาท่าน ครั้นถึงแล้วอภิวาทท่าน ได้ยืนอยู่ ณ ที่ควรส่วนข้างหนึ่ง ดุจกองไฟใหญ่ งามและประณีตกว่ารัศมีแต่ก่อน?  พระผู้มีพระภาคตรัสตอบว่า ดูกรกัสสป ผู้นั้น คือ ท้าวสักกะจอมทวยเทพเข้ามาหาเราเพื่อฟังธรรม.  ครั้งนั้น ชฎิลอุรุกัสสปได้มีความดำริว่า  พระมหาสมณะมีฤทธิ์มาก มีอานุภาพมากแท้ถึงกับท้าวสักกะจอมทวยเทพเข้ามาหาเพื่อฟังธรรม แต่ก็ไม่เป็นพระอรหันต์เหมือนเราแน่.  ครั้งนั้น พระผู้มีพระภาคเสวยภัตตาหารของชฎิลอุรุเวลกัสสป แล้วประทับอยู่ในไพรสณฑ์ตำบลนั้นแล. 
อถ โข ภควา อุรุเวลกสฺสปสฺส ชฏิลสฺส ภตฺตํ ภุญฺชิตฺวา ตสฺมึเยว วนสณฺเฑ วิหาสิ.  ทุติยํ ปาฏิหาริยํ.  ๔๑. อถ โข สกฺโก เทวานมินฺโท อภิกฺกนฺตาย รตฺติยา อภิกฺกนฺตวณฺโณ เกวลกปฺปํ วนสณฺฑํ โอภาเสตฺวา เยน ภควา เตนุปสงฺกมิ อุปสงฺกมิตฺวา ภควนฺตํ อภิวาเทตฺวา เอกมนฺตํ อฏฺฐาสิ เสยฺยถาปิ มหาอคฺคิกฺขนฺโธ ปุริมาหิ วณฺณนิภาหิ อภิกฺกนฺตตโร จ ปณีตตโร จ.  อถ โข อุรุเวลกสฺสโป ชฏิโล ตสฺสา รตฺติยา อจฺจเยน เยน ภควา เตนุปสงฺกมิ อุปสงฺกมิตฺวา ภควนฺตํ เอตทโวจ “กาโล มหาสมณ นิฏฺฐิตํ ภตฺตํ.  โก นุ โข โส มหาสมณ อภิกฺกนฺตาย รตฺติยา อภิกฺกนฺตวณฺโณ เกวลกปฺปํ วนสณฺฑํ โอภาเสตฺวา เยน ตฺวํ เตนุปสงฺกมิ อุปสงฺกมิตฺวา ตํ อภิวาเทตฺวา เอกมนฺตํ อฏฺฐาสิ เสยฺยถาปิ มหาอคฺคิกฺขนฺโธ ปุริมาหิ วณฺณนิภาหิ อภิกฺกนฺตตโร จ ปณีตตโร จา”ติ?  “เอโส โข กสฺสป สกฺโก เทวานมินฺโท เยนาหํ เตนุปสงฺกมิ ธมฺมสฺสวนายา”ติ. 
tatiyakapāṭihāriyaṃ. ||17|| 
 
ปาฏิหาริย์ที่ ๓ จบ 
อถ โข อุรุเวลกสฺสปสฺส ชฏิลสฺส เอตทโหสิ 
atha kho Brahmā Sahaṃpati abhikkantāya rattiyā abhikkantavaṇṇā kevalakappaṃ vanasaṇḍaṃ obhāsetvā yena bhagavā ten’ upasaṃkami, upasaṃkamitvā bhagavantaṃ abhivādetvā ekamantaṃ aṭṭhāsi seyyathāpi mahā aggikkhandho purimāhi vaṇṇanibhāhi abhikkantataro ca paṇītataro ca. |1| 
End of the third Wonder. 
ปาฏิหาริย์ที่ ๔ [๔๒] ครั้งนั้น ท้าวสหัมบดีพรหม เมื่อราตรีปฐมยามล่วงไปแล้ว เปล่งรัศมีงาม ยังไพรสณฑ์ทั้งสิ้นให้สว่างไสว เข้าไปเฝ้าพระผู้มีพระภาค ครั้นถึงแล้วจึงถวายบังคมพระผู้มีพระภาคได้ยืนอยู่ ณ ที่ควรส่วนข้างหนึ่ง ดุจกองไฟใหญ่ งามและประณีตกว่ารัศมีแต่ก่อน. 
“มหิทฺธิโก โข มหาสมโณ มหานุภาโว ยตฺร หิ นาม สกฺโกปิ เทวานมินฺโท อุปสงฺกมิสฺสติ ธมฺมสฺสวนาย น ตฺเวว จ โข อรหา ยถา อห”นฺติ. 
atha kho Uruvelakassapo jaṭilo tassā rattiyā accayena yena bhagavā ten’ upasaṃkami, upasaṃkamitvā bhagavantaṃ etad avoca: kālo mahāsamaṇa niṭṭhitaṃ bhattaṃ.  ko nu kho so mahāsamaṇa abhikkantāya rattiyā abhikkantavaṇṇā kevalakappaṃ vanasaṇḍaṃ obhāsetvā yena tvaṃ ten’ upasaṃkami, upasaṃkamitvā taṃ abhivādetvā ekamantaṃ aṭṭhāsi seyyathāpi mahā aggikkhandho purimāhi vaṇṇanibhāhi abhikkantataro ca paṇītataro cā ’ti.  eso kho Kassapa Brahmā Sahaṃpati yenāhaṃ ten’ upasaṃkami dhammasavanāyā ’ti.  atha kho Uruvelakassapassa jaṭilassa etad ahosi: mahiddhiko kho mahāsamaṇo mahānubhāvo, yatra hi nāma Brahmāpi Sahaṃpati upasaṃkamissati dhammasavanāya, na tv eva ca kho arahā yathā ahan ti.  atha kho bhagavā Uruvelakassapassa jaṭilassa bhattaṃ bhuñjitvā tasmiṃ yeva vanasaṇḍe vihāsi. |2| 
And on a beautiful night Brahmâ Sahampati (&c., as in chap. 17).         
ครั้นล่วงราตรีนั้น ชฎิลอุรุเวลกัสสป ได้เข้าไปเฝ้าพระผู้มีพระภาค ครั้นถึงแล้วได้ทูลคำนี้ต่อพระผู้มีพระภาคว่า ถึงเวลาแล้ว มหาสมณะ ภัตตาหารเสร็จแล้ว  ผู้นั้นคือใครกันหนอ เมื่อราตรีปฐมยามผ่านไปแล้ว เปล่งรัศมีงาม ยังไพรสนฑ์ทั้งสิ้นให้สว่างไสว เข้ามาหาท่าน ครั้นถึงแล้วอภิวาทท่าน ได้ยืนอยู่ ณ ที่ควรส่วนข้างหนึ่ง ดุจกองไฟใหญ่ งามและประณีตกว่ารัศมีแต่ก่อน?  พระผู้มีพระภาคตรัสตอบว่า ดูกรกัสสป ผู้นั้น คือ ท้าวสหัมบดีพรหมเข้ามาหาเราเพื่อฟังธรรม.  ครั้งนั้น ชฎิลอุรุเวลกัสสปได้ดำริว่า พระมหาสมณะมีฤทธิ์มาก มีอานุภาพมากแท้ถึงกับท้าวสหัมบดีพรหมเข้ามาหาเพื่อฟังธรรม แต่ก็ไม่เป็นพระอรหันต์เหมือนเราแน่.  ครั้งนั้น พระผู้มีพระภาคเสวยภัตตาหารของชฎิลอุรุเวลกัสสป แล้วประทับอยู่ในไพรสณฑ์ตำบลนั้นแล. 
อถ โข ภควา อุรุเวลกสฺสปสฺส ชฏิลสฺส ภตฺตํ ภุญฺชิตฺวา ตสฺมึเยว วนสณฺเฑ วิหาสิ.  ตติยํ ปาฏิหาริยํ.  ๔๒. อถ โข พฺรหฺมา สหมฺปติ อภิกฺกนฺตาย รตฺติยา อภิกฺกนฺตวณฺโณ เกวลกปฺปํ วนสณฺฑํ โอภาเสตฺวา เยน ภควา เตนุปสงฺกมิ อุปสงฺกมิตฺวา ภควนฺตํ อภิวาเทตฺวา เอกมนฺตํ อฏฺฐาสิ เสยฺยถาปิ มหาอคฺคิกฺขนฺโธ ปุริมาหิ วณฺณนิภาหิ อภิกฺกนฺตตโร จ ปณีตตโร จ.  อถ โข อุรุเวลกสฺสโป ชฏิโล ตสฺสา รตฺติยา อจฺจเยน เยน ภควา เตนุปสงฺกมิ อุปสงฺกมิตฺวา ภควนฺตํ เอตทโวจ “กาโล มหาสมณ นิฏฺฐิตํ ภตฺตํ.  โก นุ โข โส มหาสมณ อภิกฺกนฺตาย รตฺติยา อภิกฺกนฺตวณฺโณ เกวลกปฺปํ วนสณฺฑํ โอภาเสตฺวา เยน ตฺวํ เตนุปสงฺกมิ อุปสงฺกมิตฺวา ตํ อภิวาเทตฺวา เอกมนฺตํ อฏฺฐาสิ เสยฺยถาปิ มหาอคฺคิกฺขนฺโธ ปุริมาหิ วณฺณนิภาหิ อภิกฺกนฺตตโร จ ปณีตตโร จา”ติ? 
catutthapātihāriyaṃ. ||18|| 
 
ปาฏิหาริย์ที่ ๔ จบ 
“เอโส โข กสฺสป พฺรหฺมา สหมฺปติ เยนาหํ เตนุปสงฺกมิ ธมฺมสฺสวนายา”ติ. 
tena kho pana samayena Uruvelakassapassa jaṭilassa mahāyañño paccupaṭṭhito hoti kevalakappā ca Aṅgamagadhā pahūtaṃ khādaniyaṃ bhojaniyaṃ ādāya abhikkamitukāmā honti.  atha kho Uruvelakassapassa jaṭilassa etad ahosi:  etarahi kho me mahāyañño paccupaṭṭhito kevalakappā ca Aṅgamagadhā pahūtaṃ khādaniyaṃ bhojaniyaṃ ādāya abhikkamissanti.  sace mahāsamaṇo mahājanakāye iddhipāṭihāriyaṃ karissati, mahāsamaṇassa lābhasakkāro abhivaḍḍhissati, mama lābhasakkāro parihāyissati.  aho nūna mahāsamaṇo svātanāya nāgaccheyyā ’ti. |1| 
End of the fourth Wonder.  At that time a great sacrifice which the Gatila Uruvelâ Kassapa used to celebrate was approaching, and all the people of Anga and Magadha wished to go to that sacrifice carrying abundant food, both hard and soft.  Now the Gatila Uruvelâ Kassapa thought:  'Presently my great sacrifice is approaching, and all the people of Anga and Magadha will come and bring with them abundant food, both hard and soft.  If the great Samana should perform a wonder before that great assembly, gain and honour would increase to the great Samana, and my gain and honour would diminish. 
ปาฏิหาริย์ที่ ๕ [๔๓] ก็โดยสมัยนั้นแล ชฎิลอุรุเวลกัสสปได้เตรียมการบูชายัญเป็นการใหญ่. และประชาชนชาวอังคะและมคธทั้งสิ้น ถือของเคี้ยวของบริโภคเป็นอันมาก บ่ายหน้ามุ่งไปหา.  จึงชฎิลอุรุเวลกัสสปได้ดำริว่า  บัดนี้ เราได้เตรียมการบูชายัญเป็นการใหญ่ และประชาชนชาวอังคะและมคธทั้งสิ้น ได้นำของเคี้ยวของบริโภคเป็นอันมากบ่ายหน้ามุ่งมาหา  ถ้าพระมหาสมณะจักทำอิทธิปาฏิหาริย์ในหมู่มหาชน ลาภสักการะจักเจริญยิ่งแก่พระมหาสมณะ ลาภสักการะของเราจักเสื่อม  โอ ทำไฉน วันพรุ่งนี้ พระมหาสมณะจึงจะไม่มาฉัน. 
อถ โข อุรุเวลกสฺสปสฺส ชฏิลสฺส เอตทโหสิ “มหิทฺธิโก โข มหาสมโณ มหานุภาโว ยตฺร หิ นาม พฺรหฺมาปิ สหมฺปติ อุปสงฺกมิสฺสติ ธมฺมสฺสวนาย น ตฺเวว จ โข อรหา ยถา อห”นฺติ.  อถ โข ภควา อุรุเวลกสฺสปสฺส ชฏิลสฺส ภตฺตํ ภุญฺชิตฺวา ตสฺมึเยว วนสณฺเฑ วิหาสิ.  จตุตฺถํ ปาฏิหาริยํ.  ๔๓. เตน โข ปน สมเยน อุรุเวลกสฺสปสฺส ชฏิลสฺส มหายญฺโญ ปจฺจุปฏฺฐิโต โหติ เกวลกปฺปา จ องฺคมคธา ปหูตํ ขาทนียํ โภชนียํ อาทาย อภิกฺกมิตุกามา โหนฺติ  อถ โข อุรุเวลกสฺสปสฺส ชฏิลสฺส เอตทโหสิ 
atha kho bhagavā ([page 028] 28 MAHĀVAGGA. [I. 19. 2-20. 2.) Uruvelakassapassa jaṭilassa cetasā cetoparivitakkaṃ aññāya Uttarakuruṃ gantvā tato piṇḍapātaṃ āharitvā Anotattadahe paribhuñjitvā tatth’ eva divāvihāraṃ akāsi.  atha kho Uruvelakassapo jaṭilo tassā rattiyā accayena yena bhagavā ten’ upasaṃkami, upasaṃkamitvā bhagavantaṃ etad avoca: kālo mahāsamaṇa, niṭṭhitaṃ bhattaṃ.  kiṃ nu kho mahāsamaṇa hiyyo nāgamāsi.  api ca mayaṃ taṃ sarāma kiṃ nu kho mahāsamaṇo nāgacchatīti, khādaniyassa ca bhojaniyassa ca te paṭiviso ṭhapito ’ti. |2| 
Well, the great Samana shall not appear here to-morrow.'  Then the Blessed One, understanding by the power of his mind this reflection which had arisen in the mind of the Gatila Uruvelâ Kassapa, went to Uttara Kuru; having begged alms there, he took the food (he had received) to the Anotatta lake; there he took his meal and rested during the heat of the day at the same place.  And when the night had elapsed, the Gatila Uruvelâ Kassapa went to the place where the Blessed One was; having approached him, he said to the Blessed One: 'It is time, great Samana, the meal is ready.  Why did you not come yesterday, great Samana? 
ครั้งนั้น พระผู้มีพระภาคทรงทราบความปริวิตกแห่งจิตของชฎิลอุรุเวลกัสสปด้วยพระทัยแล้ว เสด็จไปอุตตรกุรุทวีป ทรงนำบิณฑบาตมาจากอุตตรกุรุทวีปนั้น แล้วเสวยที่ริมสระอโนดาต ประทับกลางวันอยู่ ณ ที่นั้นแหละ.  ครั้นล่วงราตรีนั้น ชฎิลอุรุเวลกัสสปได้เข้าไปเฝ้าพระผู้มีพระภาค ครั้นถึงแล้วได้ทูลคำนี้ต่อพระผู้มีพระภาคว่า ถึงเวลาแล้ว มหาสมณะ ภัตตาหารเสร็จแล้ว  เพราะเหตุไรหนอ วานนี้ท่านจึงไม่มา  เป็นความจริง พวกข้าพเจ้าระลึกถึงท่านว่า เพราะเหตุไรหนอ พระมหาสมณะจึงไม่มาแต่ส่วนแห่งขาทนียาหาร ข้าพเจ้าได้จัดไว้เพื่อท่าน 
“เอตรหิ โข เม มหายญฺโญ ปจฺจุปฏฺฐิโต เกวลกปฺปา จ องฺคมคธา ปหูตํ ขาทนียํ โภชนียํ อาทาย อภิกฺกมิสฺสนฺติ.  สเจ มหาสมโณ มหาชนกาเย อิทฺธิปาฏิหาริยํ กริสฺสติ มหาสมณสฺส ลาภสกฺกาโร อภิวฑฺฒิสฺสติ มม ลาภสกฺกาโร ปริหายิสฺสติ.  อโห นูน มหาสมโณ สฺวาตนาย นาคจฺเฉยฺยา”ติ.  อถ โข ภควา อุรุเวลกสฺสปสฺส ชฏิลสฺส เจตสา เจโตปริวิตกฺกมญฺญาย อุตฺตรกุรุํ คนฺตฺวา ตโต ปิณฺฑปาตํ อาหริตฺวา อโนตตฺตทเห ปริภุญฺชิตฺวา ตตฺเถว ทิวาวิหารํ อกาสิ. 
nanu te Kassapa etad ahosi: etarahi kho me mahāyañño paccupaṭṭhito kevalakappā ca Aṅgamagadhā pahūtaṃ khādaniyaṃ bhojaniyaṃ ādāya abhikkamissanti.  sace mahāsamaṇo mahājanakāye iddhipāṭihāriyaṃ karissati, mahāsamaṇassa lābhasakkāro abhivaḍḍhissati, mama lābhasakkāro parihāyissati.  aho nūna mahāsamaṇo svātanāya nāgaccheyyā ’ti. |3| 
We have thought of you: "Why does the great Samana not come?" and your portions of food, both hard and soft, were served up for you.'  (Buddha replied): 'Did you not think, Kassapa: "Presently my great sacrifice (&c., as above down to:).   
พระผู้มีพระภาคตรัสย้อนถามว่า ดูกรกัสสป ท่านได้ดำริอย่างนี้มิใช่หรือว่า บัดนี้เราได้เตรียมการบูชายัญเป็นการใหญ่ และประชาชนชาวอังคะและมคธทั้งสิ้นได้นำของเคี้ยวและของบริโภคเป็นอันมากบ่ายหน้ามุ่งมาหา  ถ้าพระมหาสมณะจักทำอิทธิปาฏิหาริย์ ในหมู่มหาชนลาภสักการะจักเจริญยิ่งแก่พระมหาสมณะ ลาภสักการะของเราจักเสื่อม  โอ ทำไฉน วันพรุ่งนี้พระมหาสมณะจึงจะไม่มาฉัน 
อถ โข อุรุเวลกสฺสโป ชฏิโล ตสฺสา รตฺติยา อจฺจเยน เยน ภควา เตนุปสงฺกมิ อุปสงฺกมิตฺวา ภควนฺตํ เอตทโวจ “กาโล มหาสมณ นิฏฺฐิตํ ภตฺตํ.  กึ นุ โข มหาสมณ หิยฺโย นาคมาสิ?  อปิ จ มยํ ตํ สราม กึ นุ โข มหาสมโณ นาคจฺฉตีติ? ขาทนียสฺส จ โภชนียสฺส จ เต ปฏิวีโส ฐปิโต”ติ. 
so kho ahaṃ Kassapa tava cetasā cetoparivitakkaṃ aññāya Uttarakuruṃ gantvā tato piṇḍapātaṃ āharitvā Anotattadahe paribhuñjitvā tatth’ eva divāvihāraṃ akāsin ti.  atha kho Uruvelakassapassa jaṭilassa etad ahosi: mahiddhiko kho mahāsamaṇo mahānubhāvo, yatra hi nāma cetasāpi cittaṃ pajānissati, na tv eva ca kho arahā yathā ahan ti.  atha kho bhagavā Uruvelakassapassa jaṭilassa bhattaṃ paribhuñjitvā tasmiṃ yeva vanasaṇḍe vihāsi. |4| 
Well, the great Samana shall not appear here tomorrow?"  'Now I understood, Kassapa, by the power of my mind this reflection which had arisen in your mind, and I went to Uttara Kuru; having begged alms there, I took the food to the Anotatta lake; there I took my meal and rested during the heat of the day at the same place.'  Then the Gatila Uruvelâ Kassapa thought: 'Truly the great Samana possesses high magical powers and great faculties, since he is able to understand by the power of his mind the thoughts of other people. He is not, however, holy like fie.' 
ดูกรกัสสป เรานั้นแลทราบความปริวิตกแห่งจิตของท่านด้วยใจของเรา จึงไปอุตตรกุรุทวีป นำบิณฑบาตมาจากอุตตรกุรุทวีปนั้น มาฉันที่ริมสระอโนดาตแล้ว ได้พักกลางวันอยู่ ณ ที่นั้นแหละ.  ทีนั้น ชฎิลอุรุเวลกัสสปได้ดำริว่า พระมหาสมณะมีฤทธิ์มาก มีอานุภาพมากแท้ จึงได้ทราบความคิดนึกแม้ด้วยใจได้ แต่ก็ไม่เป็นพระอรหันต์เหมือนเราแน่.  ครั้งนั้น พระผู้มีพระภาคเสวยภัตตาหารของชฎิลอุรุเวลกัสสป แล้วประทับอยู่ ณ ไพรสณฑ์ตำบลนั้นแล. 
นนุ เต กสฺสป เอตทโหสิ “‘เอตรหิ โข เม มหายญฺโญ ปจฺจุปฏฺฐิโต เกวลกปฺปา จ องฺคมคธา ปหูตํ ขาทนียํ โภชนียํ อาทาย อภิกฺกมิสฺสนฺติ  สเจ มหาสมโณ มหาชนกาเย อิทฺธิปาฏิหาริยํ กริสฺสติ มหาสมณสฺส ลาภสกฺกาโร อภิวฑฺฒิสฺสติ มม ลาภสกฺกาโร ปริหายิสฺสติ  อโห นูน มหาสมโณ สฺวาตนาย นาคจฺเฉยฺยา’ติ. 
pañcamaṃ paṭihāriyaṃ. ||19|| 
And the Blessed One ate (&c., as in chap. 16, 2). 
ปาฏิหาริย์ที่ ๕ จบ 
โส โข อหํ กสฺสป ตว เจตสา เจโตปริวิตกฺกํ อญฺญาย อุตฺตรกุรุํ คนฺตฺวา ตโต ปิณฺฑปาตํ อาหริตฺวา อโนตตฺตทเห ปริภุญฺชิตฺวา ตตฺเถว ทิวาวิหารํ อกาสิ”นฺติ. 
tena kho pana samayena bhagavato paṃsukūlaṃ uppannaṃ hoti.  atha kho bhagavato etad ahosi: kattha nu kho ahaṃ paṃsukūlaṃ dhoveyyan ti.  atha kho Sakko devānam indo bhagavato cetasā cetoparivitakkaṃ aññāya pāṇinā pokkharaṇiṃ khanitvā bhagavantaṃ etad avoca:  idha bhante bhagavā paṃsukūlaṃ dhovatū ’ti.  atha kho bhagavato etad ahosi: kimhi nu kho ahaṃ paṃsukūlaṃ parimaddeyyan ti.  atha kho Sakko devānam indo bhagavato cetasā cetoparivitakkaṃ aññāya mahatiṃ silaṃ upanikkhipi idha bhante bhagavā paṃsukūlaṃ parimaddatū ’ti. |1| 
End of the fifth Wonder.  At that time the Blessed One had rags taken from a dust heap (of which he was going to make himiself a dress).  Now the Blessed One thought: 'Where shall I wash these rags?'  Then Sakka the king of the devas, understanding in his mind the thought which had arisen in the mind of the Blessed One, dug a tank with his own hand, and said to the Blessed One:  'Lord, might the Blessed One wash the rags here.'  And the Blessed One thought: 'What shall I rub the rags upon?' 
ผ้าบังสุกุล [๔๔] ก็โดยสมัยนั้น ผ้าบังสุกุลบังเกิดแก่พระผู้มีพระภาค.  จึงพระองค์ได้ทรงพระดำริว่า เราจะพึงซักผ้าบังสุกุล ณ ที่ไหนหนอ.  ลำดับนั้น ท้าวสักกะจอมทวยเทพ ทรงทราบพระดำริในพระทัยของพระผู้มีพระภาคด้วยพระทัยของพระองค์ จึงขุดสระโบกขรณีด้วยพระหัตถ์ แล้วได้ทูลพระผู้มีพระภาคว่า  พระพุทธเจ้าข้า ขอพระผู้มีพระภาคโปรดซักผ้าบังสุกุลในสระนี้.  ที่นั้น พระผู้มีพระภาคได้ทรงพระดำริว่า เราจะพึงขยำผ้าบังสุกุล ณ ที่ไหนหนอ.  ลำดับนั้น ท้าวสักกะจอมทวยเทพ ทรงทราบพระดำริในพระทัยของพระผู้มีพระภาคด้วยพระทัยของพระองค์แล้ว ได้ยกศิลาแผ่นใหญ่มาวางพลางทูลว่า พระพุทธเจ้าข้า ขอพระผู้มีพระภาคโปรดทรงขยำผ้าบังสุกุลบนศิลาแผ่นนี้. 
อถ โข อุรุเวลกสฺสปสฺส ชฏิลสฺส เอตทโหสิ “มหิทฺธิโก โข มหาสมโณ มหานุภาโว ยตฺร หิ นาม เจตสาปิ จิตฺตํ ปชานิสฺสติ น ตฺเวว จ โข อรหา ยถา อห”นฺติ.  อถ โข ภควา อุรุเวลกสฺสปสฺส ชฏิลสฺส ภตฺตํ ภุญฺชิตฺวา ตสฺมึเยว วนสณฺเฑ วิหาสิ.  ปญฺจมํ ปาฏิหาริยํ.  ๔๔. เตน โข ปน สมเยน ภควโต ปํสุกูลํ อุปฺปนฺนํ โหติ.  อถ โข ภควโต เอตทโหสิ “กตฺถ นุ โข อหํ ปํสุกูลํ โธเวยฺย”นฺติ?  อถ โข สกฺโก เทวานมินฺโท ภควโต เจตสา เจโตปริวิตกฺกมญฺญาย ปาณินา โปกฺขรณึ ขณิตฺวา ภควนฺตํ เอตทโวจ 
atha kho bhagavato etad ahosi: kimhi nu kho ahaṃ ālambitvā uttareyyan ti.  atha kho kakudhe adhivatthā devatā bhagavato cetasā cetoparivitakkaṃ aññāya sākhaṃ onamesi idha bhante bhagavā (29) ālambitvā uttaratū ’ti.  atha kho bhagavato etad ahosi: kimhi nu kho ahaṃ paṃsukūlaṃ vissajjeyyan ti.  atha kho Sakko devānam indo bhagavato cetasā cetoparivitakkaṃ aññāya mahatiṃ silaṃ upanikkhipi idha bhante bhagavā paṃsukūlaṃ vissajjetū ’ti. |2| 
Then Sakka the king of the devas, understanding, &c., put there a great stone and said: 'Lord, might the Blessed One rob the rags upon this stone.'  And the Blessed One thought: 'What shall I take hold of when going up (from the tank)?'  Then a deity that resided in a Kakudha tree, understanding, &c., bent down a branch and said: 'Lord, might the Blessed One take hold of this branch when going up (from the tank).'  And the Blessed One thought: 'What shall I lay the rags upon (in order to dry them)?' 
ลำดับนั้น พระผู้มีพระภาคได้ทรงพระดำริว่า เราจะพึงพาดผ้าบังสุกุลไว้ ณ ที่ไหนหนอ.  ครั้งนั้น เทพยดาที่สิงสถิตอยู่ที่ต้นกุ่มบก ทราบพระดำริในพระหทัยของพระผู้มีพระภาคด้วยใจของตน จึงน้อมกิ่งกุ่มลงมา พลางกราบทูลว่า พระพุทธเจ้าข้า ขอพระผู้มีพระภาคโปรดทรงพาดผ้าบังสุกุลไว้ที่กิ่งกุ่มนี้.  ครั้งนั้น พระผู้มีพระภาคได้ทรงพระดำริว่า เราจะผึ่งผ้าบังสุกุล ณ ที่ไหนหนอ.  ครั้งนั้น ท้าวสักกะจอมทวยเทพ ทรงทราบพระดำริในพระหทัยของพระผู้มีพระภาคด้วยพระทัยของพระองค์แล้ว ได้ยกแผ่นศิลาใหญ่มาวางไว้ พลางกราบทูลว่า พระพุทธเจ้าข้า ขอพระผู้มีพระภาคโปรดทรงผึ่งผ้าบังสุกุลบนศิลาแผ่นนี้. 
“อิธ ภนฺเต ภควา ปํสุกูลํ โธวตู”ติ.  อถ โข ภควโต เอตทโหสิ “กิมฺหิ นุ โข อหํ ปํสุกูลํ ปริมทฺเทยฺย”นฺติ?  อถ โข สกฺโก เทวานมินฺโท ภควโต เจตสา เจโตปริวิตกฺกมญฺญาย มหตึ สิลํ อุปนิกฺขิปิ อิธ ภนฺเต ภควา ปํสุกูลํ ปริมทฺทตูติ.  อถ โข ภควโต เอตทโหสิ “กิมฺหิ นุ โข อหํ อาลมฺพิตฺวา อุตฺตเรยฺย”นฺติ? 
atha kho Uruvelakassapo jaṭilo tassā rattiyā accayena yena bhagavā ten’ upasaṃkami, upasaṃkamitvā bhagavantaṃ etad avoca: kālo mahāsamaṇa, niṭṭhitaṃ bhattaṃ.  kiṃ nu kho mahāsamaṇa nāyaṃ pubbe idha pokkharaṇī, sāyaṃ idha pokkharaṇī, na yimā silā pubbe upanikkhittā, ken’ imā silā upanikkhittā, na yimassa kakudhassa pubbe sākhā onatā, sāyaṃ sākhā onatā ’ti. |3| 
Then Sakka the king of the devas, understanding, &c., put there a great stone and sald: 'Lord, might the Blessed One lay the rags upon this stone.'  And when that night had elapsed, the Gatila Uruvelâ Kassapa went to the place where the Blessed One was; having approached him, he said to the Blessed One: 'It is time, great Samana, the meal is ready. 
หลังจากนั้น ชฎิลอุรุเวลกัสสปเข้าไปเฝ้าพระผู้มีพระภาคโดยล่วงราตรีนั้น ครั้นถึงแล้ว ได้ทูลคำนี้ต่อพระผู้มีพระภาคว่า ถึงเวลาแล้ว มหาสมณะ ภัตตาหารเสร็จแล้ว  เพราะเหตุไรหนอ มหาสมณะ เมื่อก่อนสระนี้ไม่มีที่นี้ เดี๋ยวนี้มีสระอยู่ที่นี้ เมื่อก่อนศิลาเหล่านี้ไม่มีวางอยู่ ใครยกศิลาเหล่านี้มาวางไว้ เมื่อก่อนกิ่งกุ่มบกต้นนี้ไม่น้อมลง เดี๋ยวนี้กิ่งนั้นน้อมลง? 
อถ โข กกุเธ อธิวตฺถา เทวตา ภควโต เจตสา เจโตปริวิตกฺกมญฺญาย สาขํ โอนาเมสิ อิธ ภนฺเต ภควา อาลมฺพิตฺวา อุตฺตรตูติ.  อถ โข ภควโต เอตทโหสิ “กิมฺหิ นุ โข อหํ ปํสุกูลํ วิสฺสชฺเชยฺย”นฺติ? 
idha me Kassapa paṃsukūlaṃ uppannaṃ ahosi, tassa mayhaṃ Kassapa etad ahosi: kattha nu kho ahaṃ paṃsukūlaṃ dhoveyyan ti.  atha kho Kassapa Sakko devānam indo mama cetasā cetoparivitakkaṃ aññāya pāṇinā pokkharaṇiṃ khanitvā maṃ etad avoca: idha bhante bhagavā paṃsukūlaṃ dhovatū ’ti.  sāyaṃ amanussena pāṇinā khanitā pokkharaṇī.  tassa mayhaṃ Kassapa etad ahosi: kimhi nu kho ahaṃ paṃsukūlaṃ parimaddeyyan ti.  atha kho Kassapa Sakko devānam indo mama cetasā cetoparivitakkaṃ aññāya mahatiṃ silaṃ upanikkhipi idha bhante paṃsukūlaṃ parimaddatū ’ti.  sāyaṃ amanussena nikkhittā silā. |4| 
What is this, great Samana? Formerly there was here no tank, and now here is this tank. Formerly no stone was put here; by whom has this stone been put here? Formerly this Kakudha tree did not bend down its branch, and now this branch is bent down.'  'I had rags, Kassapa, taken from a dust heap; and I thought, Kassapa: "Where shall I wash these rags?"  Then, Kassapa, Sakka the king of the devas, understanciing in his mind the thought which had arisen in my mind, dug a tank with his hand and said to me: "Lord, might the Blessed One wash the rags here."  Thus this tank has been dug by the hand of a non-human being.  'And I thought, Kassapa: "What shall I rub the rags upon?" Then, Kassapa, Sakka, &c.   
พระผู้มีพระภาคตรัสตอบว่า ดูกรกัสสป ผ้าบังสุกุลบังเกิดแก่เรา ณ ที่นี้ เรานั้นได้ดำริว่า จะพึงซักผ้าบังสุกุล ณ ที่ไหนหนอ  ครั้งนั้น ท้าวสักกะจอมทวยเทพ ทรงทราบความดำริในจิตของเราด้วยพระทัยของพระองค์แล้ว จึงขุดสระโบกขรณีด้วยพระหัตถ์ แล้วตรัสบอกแก่เราว่า พระพุทธเจ้าข้า ขอพระผู้มีพระภาคโปรดทรงซักผ้าบังสุกุลในสระนี้  สระนี้อันผู้มิใช่มนุษย์ได้ขุดแล้วด้วยมือ  ดูกรกัสสป เรานั้นได้ดำริว่า จะพึงขยำผ้าบังสุกุล ณ ที่ไหนหนอ  ครั้งนั้นท้าวสักกะจอมทวยเทพ ทราบความดำริในจิตของเราด้วยพระทัยของพระองค์แล้ว ได้ทรงยกศิลาแผ่นใหญ่มาวางไว้ โดยทูลว่า พระพุทธเจ้าข้า ขอพระผู้มีพระภาคโปรดทรงขยำผ้าบังสุกุลบนศิลาแผ่นนี้  ศิลาแผ่นนี้อันผู้มิใช่มนุษย์ได้ยกมาวางไว้ 
อถ โข สกฺโก เทวานมินฺโท ภควโต เจตสา เจโตปริวิตกฺกมญฺญาย มหตึ สิลํ อุปนิกฺขิปิ อิธ ภนฺเต ภควา ปํสุกูลํ วิสฺสชฺเชตูติ.  อถ โข อุรุเวลกสฺสโป ชฏิโล ตสฺสา รตฺติยา อจฺจเยน เยน ภควา เตนุปสงฺกมิ อุปสงฺกมิตฺวา ภควนฺตํ เอตทโวจ “กาโล มหาสมณ นิฏฺฐิตํ ภตฺตํ.  กึ นุ โข มหาสมณ นายํ ปุพฺเพ อิธ โปกฺขรณี สายํ อิธ โปกฺขรณี. นยิมา สิลา ปุพฺเพ อุปนิกฺขิตฺตา. เกนิมา สิลา อุปนิกฺขิตฺตา? นยิมสฺส กกุธสฺส ปุพฺเพ สาขา โอนตา สายํ สาขา โอนตา”ติ.  อิธ เม กสฺสป ปํสุกูลํ อุปฺปนฺนํ อโหสิ. ตสฺส มยฺหํ กสฺสป เอตทโหสิ “กตฺถ นุ โข อหํ ปํสุกูลํ โธเวยฺย”นฺติ?  อถ โข กสฺสป สกฺโก เทวานมินฺโท มม เจตสา เจโตปริวิตกฺกมญฺญาย ปาณินา โปกฺขรณึ ขณิตฺวา มํ เอตทโวจ “อิธ ภนฺเต ภควา ปํสุกูลํ โธวตู”ติ.  สายํ กสฺสป อมนุสฺเสน ปาณินา ขณิตา โปกฺขรณี. 
tassa mayhaṃ Kassapa etad ahosi: kimhi nu kho ahaṃ ālambitvā uttareyyan ti.  atha kho Kassapa kakudhe adhivatthā devatā mama cetasā cetoparivitakkaṃ aññāya sākhaṃ onamesi idha bhante bhagavā ālambitvā uttaratū ’ti.  sv āyaṃ āharahattho kakudho.  tassa mayhaṃ Kassapa etad ahosi: kimhi nu kho ahaṃ paṃsukūlaṃ vissajjeyyan ti.  atha kho Sakko devānam indo mama cetasā cetoparivitakkaṃ aññāya mahatiṃ silaṃ upanikkhipi idha bhante bhagavā paṃsukūlaṃ vissajjetū ’ti.  sāyaṃ amanussena nikkhittā silā ’ti. |5| 
Thus this stone has been put here by a non-human being.  'And I thought, Kassapa: "What shall I take hold of when going up (from the tank)?"  Then, Kassapa, a deity, &c.  Thus this Kakudha tree has served me as a hold for my hand.  'And I thought, Kassapa: "Where shall I lay the rags upon (in order to dry them)?"  Then, Kassapa, Sakka, &c. 
ดูกรกัสสป เรานั้นได้ดำริว่า จะพึงพาดผ้าบังสุกุล ณ ที่ไหนหนอ  ครั้งนั้น เทพดาที่สิงสถิตอยู่ที่ต้นกุ่มบก ทราบความดำริในจิตของเราด้วยใจของตนแล้ว จึงน้อมกิ่งกุ่มลงมาโดยทูลว่า พระพุทธเจ้าข้า ขอพระผู้มีพระภาคโปรดทรงพาดผ้าบังสุกุลไว้บนกิ่งกุ่มนี้  ต้นกุ่มบกนี้นั้นประหนึ่งจะกราบทูลว่า ขอพระองค์จงทรงนำพระหัตถ์มาแล้วน้อมลง  ดูกรกัสสป เรานั้นได้ดำริว่า จะพึงผึ่งผ้าบังสุกุล ณ ที่ไหนหนอ  ครั้งนั้น ท้าวสักกะจอมทวยเทพ ทรงทราบความดำริแห่งจิตของเราด้วยพระทัยของพระองค์แล้ว ได้ยกศิลาแผ่นใหญ่มาวางไว้ โดยทูลว่า พระพุทธเจ้า ขอพระผู้มีพระภาคโปรดทรงผึ่งผ้าบังสุกุลบนศิลาแผ่นนี้  ศิลาแผ่นนี้อันผู้มิใช่มนุษย์ได้ยกมาวางไว้. 
ตสฺส มยฺหํ กสฺสป เอตทโหสิ “กิมฺหิ นุ โข อหํ ปํสุกูลํ ปริมทฺเทยฺย”นฺติ?  อถ โข กสฺสป สกฺโก เทวานมินฺโท มม เจตสา เจโตปริวิตกฺกมญฺญาย มหตึ สิลํ อุปนิกฺขิปิ “อิธ ภนฺเต ภควา ปํสุกูลํ ปริมทฺทตู”ติ.  สายํ กสฺสป อมนุสฺเสน อุปนิกฺขิตฺตา สิลา.  ตสฺส มยฺหํ กสฺสป เอตทโหสิ “กิมฺหิ นุ โข อหํ อาลมฺพิตฺวา อุตฺตเรยฺย”นฺติ?  อถ โข กสฺสป กกุเธ อธิวตฺถา เทวตาชฺ มม เจตสา เจโตปริวิตกฺกมญฺญาย สาขํ โอนาเมสิ “อิธ ภนฺเต ภควา อาลมฺพิตฺวา อุตฺตรชฺตู”ติ.  สฺวายํ อาหรหตฺโถ กกุโธ. 
atha kho Uruvelakassapassa jaṭilassa etad ahosi: mahiddhiko kho mahāsamaṇo mahānubhāvo, yatra hi nāma Sakko devānam indo veyyāvaccaṃ karissati, na tv eva ca kho arahā yathā ahan ti.  atha kho bhagavā Uruvelakassapassa jaṭilassa bhattaṃ bhuñjitvā tasmiṃ yeva vanasaṇḍe vihāsi. |6| 
Thus this stone has been put here by a non-human being.'  Then the Gatila Uruvelâ Kassapa thought: 'Truly the great Samana possesses high magical powers and great faculties, since Sakka the king of the devas does service to him. He is not, however, holy like me.' 
ครั้งนั้น ชฎิลอุรุเวลกัสสปได้ดำริว่า พระมหาสมณะมีฤทธิ์มาก มีอานุภาพมากแท้ ถึงกับท้าวสักกะจอมทวยเทพได้ทำการช่วยเหลือ แต่ก็ไม่เป็นพระอรหันต์เหมือนเราแน่.  ครั้งนั้น พระผู้มีพระภาคเสวยภัตตาหารของชฎิลอุรุเวลกัสสป แล้วประทับอยู่ในไพรสณฑ์ตำบลนั้นแล. ผ้าบังสุกุล จบ. 
ตสฺส มยฺหํ กสฺสป เอตทโหสิ “กิมฺหิ นุ โข อหํ ปํสุกูลํ วิสฺสชฺเชยฺย”นฺติ?  อถ โข กสฺสป สกฺโก เทวานมินฺโท มม เจตสา เจโตปริวิตกฺกมญฺญาย มหตึ สิลํ อุปนิกฺขิปิ “อิธ ภนฺเต ภควา ปํสุกูลํ วิสฺสชฺเชตู”ติ 
atha kho Uruvelakassapo jaṭilo tassā rattiyā accayena yena bhagavā ten’ upasaṃkami, upasaṃkamitvā bhaga-(30)vato kālaṃ ārocesi: kālo mahāsamaṇa niṭṭhitaṃ bhattan ti.  gaccha tvaṃ Kassapa, āyām’ ahan ti Uruvelakassapaṃ jaṭilaṃ uyyojetvā yāya jambuyāyaṃ Jambudīpo paññāyati, tato phalaṃ gahetvā paṭhamataraṃ āgantvā agyāgāre nisīdi. |7| 
And the Blessed One ate (&c., as in chap. 16. 2 ).  And when that night had elapsed, the Gatila Uruvelâ Kassapa went to the place where the Blessed One was; having approached him, he announced to the Blessed One that it was time, by saying, 'It is time, great Samana, the meal is ready.' 
ปาฏิหาริย์เก็บผลหว้าเป็นต้น [๔๕] ครั้นล่วงราตรีนั้นไป ชฎิลอุรุเวลกัสสปเข้าไปเฝ้าพระผู้มีพระภาค ครั้นแล้วจึงกราบทูลภัตตกาลแด่พระผู้มีพระภาคว่า ถึงเวลาแล้ว มหาสมณะ ภัตตาหารเสร็จแล้ว.  พระผู้มีพระภาคตรัสว่า ดูกรกัสสป ท่านไปเถิด เราจะตามไป. พระผู้มีพระภาคทรงส่งชฎิลอุรุเวลกัสสปไปแล้ว ทรงเก็บผลหว้าจากต้นหว้าประจำชมพูทวีป แล้วเสด็จมาประทับนั่งในโรงบูชาเพลิงก่อน. 
สายํ กสฺสป อมนุสฺเสน อุปนิกฺขิตฺตา สิลาติ.  อถ โข อุรุเวลกสฺสปสฺส ชฏิลสฺส เอตทโหสิ “มหิทฺธิโก โข มหาสมโณ มหานุภาโว ยตฺร หิ นาม สกฺโกปิ เทวานมินฺโท เวยฺยาวจฺจํ กริสฺสติ น ตฺเวว จ โข อรหา ยถา อห”นฺติ. 
addasa kho Uruvelakassapo jaṭilo bhagavantaṃ agyāgāre nisinnaṃ, disvāna bhagavantaṃ etad avoca: katamena tvaṃ mahāsamaṇa maggena āgato.  ahaṃ tayā paṭhamataraṃ pakkanto, so tvaṃ paṭhamataraṃ āgantvā agyāgāre nisinno ’ti. |8| 
(Buddha replied): 'Go you, Kassapa; I will follow you.' Having thus sent away the Gatila Uruvelâ Kassapa, he went to pluck a fruit from the gambu tree after which this continent of Gambudîpa (the Gambu Island, or India) is named; then arriving before Kassapa he sat down in the room where Kassapa's (sacred) fire was kept.  Then the Gatila Uruvelâ Kassapa saw the Blessed One sitting in the fire room; seeing him he said to the Blessed One: 'By what way have you come, great Samana? 
ชฎิลอุรุเวลกัสสปได้เห็นพระผู้มีพระภาคประทับนั่งในโรงบูชาเพลิงแล้ว ได้ทูลคำนี้ต่อพระผู้มีพระภาคว่า ข้าแต่มหาสมณะ ท่านมาทางไหน  ข้าพเจ้ากลับมาก่อนท่าน แต่ท่านยังมานั่งในโรงบูชาเพลิงก่อน? 
อถ โข ภควา อุรุเวลกสฺสปสฺส ชฏิลสฺส ภตฺตํ ภุญฺชิตฺวา ตสฺมึเยว วนสณฺเฑ วิหาสิ.  อถ โข อุรุเวลกสฺสโป ชฏิโล ตสฺสา รตฺติยา อจฺจเยน เยน ภควา เตนุปสงฺกมิ อุปสงฺกมิตฺวา ภควโต กาลํ อาโรเจสิ “กาโล มหาสมณ นิฏฺฐิตํ ภตฺต”นฺติ. 
idhāhaṃ Kassapa taṃ uyyojetvā yāya jambuyāyaṃ Jambudīpo paññāyati, tato phalaṃ gahetvā paṭhamataraṃ āgantvā agyāgāre nisinno.  idaṃ kho Kassapa jambuphalaṃ vaṇṇasampannaṃ gandhasampannaṃ rasasampannaṃ, sace ākaṅkhasi, paribhuñjā ’ti.  alaṃ mahāsamaṇa, tvaṃ yev’ etaṃ arahasi, tvaṃ yev’ etaṃ paribhuñjāhīti.  atha kho Uruvelakassapassa jaṭilassa etad ahosi:  mahiddhiko kho mahāsamaṇo mahānubhāvo, yatra hi nāma maṃ paṭhamataraṃ uyyojetvā yāya jambuyāyaṃ Jambūdipo paññāyati, tato phalaṃ gahetvā paṭhamataraṃ āgantvā agyāgāre nisīdissati, na tv eva ca kho arahā yathā ahan ti.  atha kho bhagavā Uruvelakassapassa jaṭilassa bhattaṃ bhuñjitvā tasmiṃ yeva vanasaṇḍe vihāsi. |9| 
I have departed before you, and you have arrived before me and are sitting in the fire room.'  'When I had sent you away, Kassapa, I went to pluck a fruit from the garnbu tree after which this continent of Gambudîpa is named; then I arrived before you and sat down in the fire room.  Here is the gambu fruit, Kassapa, it is beautiful, fragrant, and full of flavour; you may eat it, if you like.'  'Nay, great Samana, to you alone it is becoming to eat it; eat it yourself.'  And the Gatila Uruvelâ Kassapa thought:  'Truly the great Samana possesses high magical powers and great faculties, since he is able, having sent me away before him, to go and pluck a fruit from the gambu tree after which this continent of Gambudîpa is named, and then to arrive before me and to sit down in the fire room. He is not however, holy like me.' 
ภ. ดูกรกัสสป เราส่งท่านไปแล้ว ได้เก็บผลหว้าจากต้นหว้าประจำชมพูทวีป แล้วมานั่งในโรงบูชาเพลิงนี้ก่อน  ดูกรกัสสป ผลหว้านี้แล สมบูรณ์ด้วยสี กลิ่น รส ถ้าท่านต้องการ เชิญบริโภคเถิด.  อุรุ. อย่าเลย มหาสมณะ ท่านนั่นแหละเก็บผลไม้นี้มา ท่านนั่นแหละ จงฉันผลไม้นี้เถิด.  ลำดับนั้น ชฎิลอุรุเวลกัสสปได้มีความดำริว่า  พระมหาสมณะมีฤทธิ์มาก มีอานุภาพมากแท้ เพราะส่งเรามาก่อนแล้ว ยังเก็บผลหว้าจากต้นหว้าประจำชมพูทวีปแล้วมานั่งในโรงบูชาเพลิงก่อน แต่ก็ไม่เป็นพระอรหันต์เหมือนเราแน่.  ครั้งนั้น พระผู้มีพระภาคเสวยภัตตาหารของชฎิลอุรุเวลกัสสปแล้ว ประทับอยู่ในไพรสณฑ์ตำบลนั้นแล. 
“คจฺฉ ตฺวํ กสฺสป อายามห”นฺติ อุรุเวลกสฺสปํ ชฏิลํ อุยฺโยเชตฺวา ยาย ชมฺพุยา ‘ชมฺพุทีโป’ ปญฺญายติ ตโต ผลํ คเหตฺวา ปฐมตรํ อาคนฺตฺวา อคฺยาคาเร นิสีทิ.  อทฺทสา โข อุรุเวลกสฺสโป ชฏิโล ภควนฺตํ อคฺยาคาเร นิสินฺนํ ทิสฺวาน ภควนฺตํ เอตทโวจ “กตเมน ตฺวํ มหาสมณ มคฺเคน อาคโต?  อหํ ตยา ปฐมตรํ ปกฺกนฺโต โส ตฺวํ ปฐมตรํ อาคนฺตฺวา อคฺยาคาเร นิสินฺโน”ติ.  “อิธาหํ กสฺสป ตํ อุยฺโยเชตฺวา ยาย ชมฺพุยา ‘ชมฺพุทีโป’ ปญฺญายติ ตโต ผลํ คเหตฺวา ปฐมตรํ อาคนฺตฺวา อคฺยาคาเร นิสินฺโน.  อิทํ โข กสฺสป ชมฺพุผลํ วณฺณสมฺปนฺนํ คนฺธสมฺปนฺนํ รสสมฺปนฺนํ. สเจ อากงฺขสิ ปริภุญฺชา”ติ.  “อลํ มหาสมณ ตฺวํเยว ตํ อรหสิ ตฺวํเยว ตํ ปริภุญฺชาหี”ติ. 
atha kho Uruvelakassapo jaṭilo tassā rattiyā accayena yena bhagavā ten’ upasaṃkami, upasaṃkamitvā bhagavato kālaṃ ārocesi: kālo mahāsamaṇa niṭṭhitaṃ bhattan ti.  gaccha tvaṃ Kassapa, āyām’ ahan ti Uruvelakassapaṃ jaṭilaṃ uyyojetvā yāya jambuyāyaṃ Jambudīpo paññāyati, tassā avidūre ambo --gha-- tassā avidūre āmalakī --la-- tassā avidūre harītakī --la-- Tāvatiṃsaṃ gantvā pāricchattakapupphaṃ gahetvā paṭhamataraṃ āgantvā agyāgāre nisīdi.  addasa kho Uruvelakassapo jaṭilo bhagavantaṃ agyāgāre nisinnaṃ, disvāna bhagavantaṃ etad avoca: katamena tvaṃ mahāsamaṇa maggena āgato.  ahaṃ tayā paṭhamataraṃ pakkanto, so tvaṃ paṭhamataraṃ āgantvā agyāgāre nisinno ’ti. |10| 
And the Blessed One ate (&c., as in chap. 16. 2).  And when that night had elapsed (&c., as in § 7, down to:).  Having thus sent away the Gatila Uruvelâ Kassapa, he went to pluck a fruit from a mango tree growing near the gambu tree after which this continent of Gambudîpa is named, &c. He went to pluck a fruit from an emblic myrobalan tree, &c., from a yellow myrobalan tree growing near the gambu tree, &c. He went to the Tâvatimsa heaven to pluck a pârikkhattaka (or pârigâtaka) flower; then arriving before Kassapa he sat down in the fire room. Then the Gatila Uruvelâ Kassapa saw (&c., as in § 8).   
ครั้นล่วงราตรีนั้นไป ชฎิลอุรุเวลกัสสปไปเฝ้าพระผู้มีพระภาค ครั้นแล้ว จึงทูลภัตตกาลแด่พระผู้มีพระภาคว่า ถึงเวลาแล้ว มหาสมณะ ภัตตาหารเสร็จแล้ว.  พระผู้มีพระภาคทรงส่งชฎิลอุรุเวลกัสสปไปด้วยพระดำรัสว่า ดูกรกัสสป ท่านไปเถิด เราจักตามไป แล้วทรงเก็บผลมะม่วง ... ผลมะขามป้อม ... ผลสมอ ในที่ไม่ไกลต้นหว้าประจำชมพูทวีปนั้น ... เสด็จไปสู่ภพดาวดึงส์ ทรงเก็บดอกปาริฉัตตกะ แล้วมาประทับนั่งในโรงบูชาเพลิงก่อน.  ชฎิลอุรุเวลกัสสปได้เห็นพระผู้มีพระภาคประทับนั่งในโรงบูชาเพลิง ครั้นแล้วได้ทูลคำนี้ต่อพระผู้มีพระภาคว่า ข้าแต่มหาสมณะ ท่านมาทางไหน  ข้าพเจ้ากลับมาก่อนท่าน แต่ท่านยังมานั่งในโรงบูชาเพลิงก่อน?. 
อถ โข อุรุเวลกสฺสปสฺส ชฏิลสฺส เอตทโหสิ  “มหิทฺธิโก โข มหาสมโณ มหานุภาโว ยตฺร หิ นาม มํ ปฐมตรํ อุยฺโยเชตฺวา ยาย ชมฺพุยา ‘ชมฺพุทีโป’ ปญฺญายติ ตโต ผลํ คเหตฺวา ปฐมตรํ อาคนฺตฺวา อคฺยาคาเร นิสีทิสฺสติ น ตฺเวว จ โข อรหา ยถา อห”นฺติ.  อถ โข ภควา อุรุเวลกสฺสปสฺส ชฏิลสฺส ภตฺตํ ภุญฺชิตฺวา ตสฺมึเยว วนสณฺเฑ วิหาสิ.  ๔๕. อถ โข อุรุเวลกสฺสโป ชฏิโล ตสฺสา รตฺติยา อจฺจเยน เยน ภควา เตนุปสงฺกมิ อุปสงฺกมิตฺวา ภควโต กาลํ อาโรเจสิ “กาโล มหาสมณ นิฏฺฐิตํ ภตฺต”นฺติ. 
idhāhaṃ Kassapa taṃ uyyojetvā Tāvatiṃsaṃ gantvā pāricchattakapupphaṃ gahetvā paṭhamataraṃ āgantvā agyāgāre nisinno.  idaṃ kho Kassapa pāricchattakapupphaṃ vaṇṇasampannaṃ gandhasampannaṃ, sace ākaṅkhasi, gaṇhā ’ti.  alaṃ mahāsamaṇa, tvaṃ yev’ etaṃ arahasi, tvaṃ yev’ etaṃ (31) gaṇhā ’ti.  atha kho Uruvelakassapassa jaṭilassa etad ahosi:  mahiddhiko kho mahāsamaṇo mahānubhāvo, yatra hi nāma maṃ paṭhamataraṃ uyyojetvā Tāvatiṃsaṃ gantvā pāricchattakapupphaṃ gahetvā paṭhamataraṃ āgantvā agyāgāre nisīdissati, na tv eva ca kho arahā yathā ahan ti. |11| 
  'When I had sent you away, Kassapa, I went to the Tâvatimsa heaven to pluck a pârikkhattaka flower; then I arrived before you and sat down in the fire room.  Here is the pârikkhattaka flower, Kassapa; it is beautiful and fragrant; you may take it, if you like.'  'Nay, great Samana, to you alone it is becoming to keep it; keep it yourself.'  And the Gatila (&c., as in § 9). 
พระผู้มีพระภาคตรัสตอบว่า ดูกรกัสสป เราส่งท่านแล้วได้ไปสู่ภพดาวดึงส์ เก็บดอกปาริฉัตตกะแล้ว มานั่งในโรงบูชาเพลิงก่อน  ดูกรกัสสป ดอกปาริฉัตตกะนี้แล สมบูรณ์ด้วยสีและกลิ่น.  ครั้งนั้น ชฎิลอุรุเวลกัสสปได้มีความดำริว่า  พระมหาสมณะมีฤทธิ์มาก มีอานุภาพมากแท้ เพราะส่งเรามาก่อนแล้วยังไปสู่ภพดาวดึงส์ เก็บดอกปาริฉัตตกะแล้ว มานั่งในโรงบูชาเพลิงก่อน แต่ก็ไม่เป็นพระอรหันต์เหมือนเราแน่. 
คจฺฉ ตฺวํ กสฺสป อายามหนฺติ อุรุเวลกสฺสปํ ชฏิลํ อุยฺโยเชตฺวา ยาย ชมฺพุยา ‘ชมฺพุทีโป’ ปญฺญายติ ตสฺสา อวิทูเร อมฺโพฯเปฯ ตสฺสา อวิทูเร อามลกีฯเปฯ ตสฺสา อวิทูเร หรีตกีฯเปฯ ตาวตึสํ คนฺตฺวา ปาริจฺฉตฺตกปุปฺผํ คเหตฺวา ปฐมตรํ อาคนฺตฺวา อคฺยาคาเร นิสีทิ.  อทฺทสา โข อุรุเวลกสฺสโป ชฏิโล ภควนฺตํ อคฺยาคาเร นิสินฺนํ ทิสฺวาน ภควนฺตํ เอตทโวจ “กตเมน ตฺวํ มหาสมณ มคฺเคน อาคโต?  อหํ ตยา ปฐมตรํ ปกฺกนฺโต โส ตฺวํ ปฐมตรํ อาคนฺตฺวา อคฺยาคาเร นิสินฺโน”ติ.  “อิธาหํ กสฺสป ตํ อุยฺโยเชตฺวา ตาวตึสํ คนฺตฺวา ปาริจฺฉตฺตกปุปฺผํ คเหตฺวา ปฐมตรํ อาคนฺตฺวา อคฺยาคาเร นิสินฺโน.  อิทํ โข กสฺสป ปาริจฺฉตฺตกปุปฺผํ วณฺณสมฺปนฺนํ คนฺธสมฺปนฺนํ . (สเจ อากงฺขสิ คณฺหา”ติ. 
tena kho pana samayena te jaṭilā aggī paricaritukāmā na sakkonti kaṭṭhāni phāletuṃ.  atha kho tesaṃ jaṭilānaṃ etad ahosi: nissaṃsayaṃ kho mahāsamaṇassa iddhānubhāvo, yathā mayaṃ na sakkoma kaṭṭhāni phāletun ti.  atha kho bhagavā Uruvelakassapaṃ jaṭilaṃ etad avoca: phāliyantu Kassapa kaṭṭhānīti.  phāliyantu mahāsamaṇā ’ti.  sakid eva pañcakaṭṭhasatāni phāliyiṃsu.  atha kho Uruvelakassapassa jaṭilassa etad ahosi:  mahiddhiko kho mahāsamaṇo mahānubhāvo, yatra hi nāma kaṭṭhāni pi phāliyissanti, na tv eva ca kho arahā yathā ahan ti. |12| 
'He is not, however, holy as I am.'  At that time one day the Gatilas, who wished to attend on their sacred fires, could not succeed in splitting fire-wood.  Now these Gatilas thought: 'Doubtless this is the magical power and the high faculty of the great Samana that we cannot succeed in splitting fire-wood.'  Then the Blessed One said to the Gatila Uruvelâ Kassapa: 'Shall the fire-wood be split, Kassapa?'  'Let it be split, great Samana.'  Then in a moment the five hundred pieces of fire-wood were split.  And the Gatila Uruvelâ Kassapa thought: 
ปาฏิหาริย์ผ่าฟืน [๔๖] ก็โดยสมัยนั้นแล ชฎิลเหล่านั้นปรารถนาจะบำเรอไฟ แต่ไม่อาจจะฝ่าฟืนได้.  จึงชฎิลเหล่านั้นได้มีความดำริต้องกันว่า ข้อที่พวกเราไม่อาจผ่าฟืนได้นั้น คงเป็นอิทธานุภาพของพระมหาสมณะ ไม่ต้องสงสัยเลย.  ครั้งนั้น พระผู้มีพระภาคได้ตรัสกะชฎิลอุรุเวลกัสสปว่า ดูกรกัสสป พวกชฎิลจงผ่าฟืนเถิด.  ชฎิลอุรุเวลกัสสป รับพระพุทธดำรัสว่า ข้าแต่มหาสมณะ พวกชฎิลจงผ่าฟืนกัน.  ชฎิลทั้งหลายได้ผ่าฟืน ๕๐๐ ท่อนคราวเดียวเท่านั้น.  ครั้งนั้นแล ชฎิลอุรุเวลกัสสปได้มีความดำริว่า  พระมหาสมณะมีฤทธิ์มาก มีอานุภาพมากแท้ ถึงกับให้พวกชฎิลผ่าฟืนได้ แต่ก็ไม่เป็นพระอรหันต์เหมือนเราแน่. 
“อลํ มหาสมณ ตฺวํเยว ตํ อรหสิ ตฺวํเยว ตํ คณฺหา”ติ) .  อถ โข อุรุเวลกสฺสปสฺส ชฏิลสฺส เอตทโหสิ  “มหิทฺธิโก โข มหาสมโณ มหานุภาโว ยตฺร หิ นาม มํ ปฐมตรํ อุยฺโยเชตฺวา ตาวตึสํ คนฺตฺวา ปาริจฺฉตฺตกปุปฺผํ คเหตฺวา ปฐมตรํ อาคนฺตฺวา อคฺยาคาเร นิสีทิสฺสติ น ตฺเวว จ โข อรหา ยถา อห”นฺติ.  ๔๖. เตน โข ปน สมเยน เต ชฏิลา อคฺคิ๎ ปริจริตุกามา น สกฺโกนฺติ กฏฺฐานิ ผาเลตุํ  อถ โข เตสํ ชฏิลานํ เอตทโหสิ “นิสฺสํสยํ โข มหาสมณสฺส อิทฺธานุภาโว ยถา มยํ น สกฺโกม กฏฺฐานิ ผาเลตุ”นฺติ.  อถ โข ภควา อุรุเวลกสฺสปํ ชฏิลํ เอตทโวจ “ผาลิยนฺตุ กสฺสป กฏฺฐานี”ติ.  “ผาลิยนฺตุ มหาสมณา”ติ. 
tena kho pana samayena te jaṭilā aggī paricaritukāmā na sakkonti aggī ujjaletuṃ.  atha kho tesaṃ jaṭilānaṃ etad ahosi: nissaṃsayaṃ kho mahāsamaṇassa iddhānubhāvo, yathā mayaṃ na sakkoma aggī ujjaletun ti.  atha kho bhagavā Uruvelakassapaṃ jaṭilaṃ etad avoca: ujjaliyantu Kassapa aggīti.  ujjaliyantu mahāsamaṇā ’ti.  sakid eva pañca aggisatāni ujjaliṃsu.  atha kho Uruvelakassapassa jaṭilassa etad ahosi: mahiddhiko kho mahāsamaṇo mahānubhāvo, yatra hi nāma aggī pi ujjaliyissanti, na tv eva ca kho arahā yathā ahan ti. |13| 
'Truly the great Samana possesses high magical powers and great faculties, since even the fire-wood splits itself (at his command). He is not, however, holy like me.'  At that time the Gatilas who wished to attend on their sacred fires, could not succeed in lighting up the fires (&c., as in the preceding story).         
ปาฏิหาริย์ก่อไฟ [๔๗] ก็โดยสมัยนั้นแล ชฎิลเหล่านั้นปรารถนาจะบำเรอไฟ แต่ไม่อาจจะก่อไฟให้ลุกได้.  จึงชฎิลเหล่านั้นได้มีความดำริต้องกันว่า ข้อที่พวกเราไม่อาจจะก่อไฟให้ลุกขึ้นได้นั้น คงเป็นอิทธานุภาพของพระมหาสมณะ ไม่ต้องสงสัยเลย.  ครั้งนั้น พระผู้มีพระภาคได้ตรัสกะชฎิลอุรุเวลกัสสปว่า ดูกรกัสสป พวกชฎิลจงก่อไฟให้ลุกเถิด.  ชฎิลอุรุเวลกัสสป รับพระพุทธดำรัสว่า ข้าแต่มหาสมณะ พวกชฎิลจงก่อไฟให้ลุก.  ไฟทั้ง ๕๐๐ กอง ได้ลุกขึ้นคราวเดียวกันเทียว.  ลำดับนั้น ชฎิลอุรุเวลกัสสป ได้มีความดำริว่า พระมหาสมณะมีฤทธิ์มาก มีอานุภาพมากแท้ ถึงกับให้ไฟลุกขึ้นได้ แต่ก็ไม่เป็นพระอรหันต์เหมือนเราแน่. 
สกิเทว ปญฺจ กฏฺฐสตานิ ผาลิยิ๎สุ.  อถ โข อุรุเวลกสฺสปสฺส ชฏิลสฺส เอตทโหสิ  “มหิทฺธิโก โข มหาสมโณ มหานุภาโว ยตฺร หิ นาม กฏฺฐานิปิ ผาลิยิสฺสนฺติ น ตฺเวว จ โข อรหา ยถา อห”นฺติ.  ๔๗. เตน โข ปน สมเยน เต ชฏิลา อคฺคิ๎ ปริจริตุกามา น สกฺโกนฺติ อคฺคิ๎ อุชฺชเลตุํ .  อถ โข เตสํ ชฏิลานํ เอตทโหสิ “นิสฺสํสยํ โข มหาสมณสฺส อิทฺธานุภาโว ยถา มยํ น สกฺโกม อคฺคิ๎ อุชฺชเลตุ”นฺติ.  อถ โข ภควา อุรุเวลกสฺสปํ ชฏิลํ เอตทโวจ “อุชฺชลิยนฺตุ กสฺสป อคฺคี”ติ. 
tena kho pana samayena te jaṭilā aggī paricaritvā na sakkonti aggī vijjhāpetuṃ.  atha kho tesaṃ jaṭilānaṃ etad ahosi: nissaṃsayaṃ kho mahāsamaṇassa iddhānubhāvo, yathā mayaṃ na sakkoma aggī vijjhāpetun ti.  atha kho bhagavā Uruvelakassapaṃ jaṭilaṃ etad avoca: vijjhāyantu Kassapa aggīti.  vijjhāyantu mahāsamaṇā ’ti.  sakid eva pañca aggisatāni vijjhāyiṃsu.  atha kho Uruvelakassapassa jaṭilassa etad ahosi:  mahiddhiko kho mahāsamaṇo mahānubhāvo, yatra hi nāma aggī pi vijjhāyissanti, na tv eva ca kho arahā yathā ahan ti. |14| 
  At that time the Gatilas, after having attended on their sacred fires, could not succeed in extinguishing the fires (&c., as above).           
ปาฏิหาริย์ดับไฟ [๔๘] ก็โดยสมัยนั้นแล ชฎิลเหล่านั้นบำเรอไฟกันแล้วไม่อาจดับไฟได้.  จึงได้คิดต้องกันว่า ข้อที่พวกเราไม่อาจดับไฟได้นั้น คงเป็นอิทธานุภาพของพระสมณะ ไม่ต้องสงสัยเลย.  ครั้งนั้น พระผู้มีพระภาคได้ตรัสกะชฎิลอุรุเวลกัสสปว่า ดูกรกัสสป พวกชฎิลจงดับไฟเถิด.  ชฎิลอุรุเวลกัสสป รับพระพุทธดำรัสว่า ข้าแต่มหาสมณะ พวกชฎิลจงดับไฟกัน.  ไฟทั้ง ๕๐๐ กอง ได้ดับคราวเดียวกันเทียว.  ครั้งนั้นแล ชฎิลอุรุเวลกัสสปได้มีความดำริว่า  พระมหาสมณะมีฤทธิ์มาก มีอานุภาพมากแท้ ถึงกับให้พวกชฏิลดับไฟได้ แต่ก็ไม่เป็นพระอรหันต์เหมือนเราแน่. 
“อุชฺชลิยนฺตุ มหาสมณา”ติ.  สกิเทว ปญฺจ อคฺคิสตานิ อุชฺชลิยิ๎สุ.  อถ โข อุรุเวลกสฺสปสฺส ชฏิลสฺส เอตทโหสิ “มหิทฺธิโก โข มหาสมโณ มหานุภาโว ยตฺร หิ นาม อคฺคีปิ อุชฺชลิยิสฺสนฺติ น ตฺเวว จ โข อรหา ยถา อห”นฺติ.  ๔๘. เตน โข ปน สมเยน เต ชฏิลา อคฺคิ๎ ปริจริตฺวา น สกฺโกนฺติ อคฺคิ๎ วิชฺฌาเปตุํ.  อถ โข เตสํ ชฏิลานํ เอตทโหสิ “นิสฺสํสยํ โข มหาสมณสฺส อิทฺธานุภาโว ยถา มยํ น สกฺโกม อคฺคิ๎ วิชฺฌาเปตุ”นฺติ.  อถ โข ภควา อุรุเวลกสฺสปํ ชฏิลํ เอตทโวจ “วิชฺฌายนฺตุ กสฺสป อคฺคี”ติ.  “วิชฺฌายนฺตุ มหาสมณา”ติ. 
tena kho pana samayena te jaṭilā sītāsu hemantikāsu rattisu antaraṭṭhakāsu himapātasamaye najjā Nerañjarāyaṃ nimujjanti pi, ummujjanti pi, ummujjanimujjam pi karonti.  atha kho bhagavā pañcamattāni mandāmukhisatāni abhinimmini, yattha te jaṭilā uttaritvā visib-(32)besuṃ.  atha kho tesaṃ jaṭilānaṃ etad ahosi: nissaṃsayaṃ kho mahāsamaṇassa iddhānubhāvo, yathā h’ imā mandāmukhiyo nimmitā ’ti.  atha kho Uruvelakassapassa jaṭilassa etad ahosi:  mahiddhiko kho mahāsamaṇo mahānubhāvo, yatra hi nāma mahāmandāmukhiyo abhinimminissati, na tv eva ca kho arahā yathā ahan ti. |15| 
  At that time in the cold winter nights, in the time between the ashtakâ festivals, when snow falls, the Gatilas plunged into the river Nerañgarâ, and emerged again, and repeatedly plunged into the water and emerged.  And the Blessed One created five hundred vessels with burning fire; at those the Gatilas coming out of the river warmed themselves.  And the Gatilas thought: 'Doubtless this is the magical power and the high faculty of the great Samana that these vessels with fire have been caused to appear here.  'And the Gatila Uruvelâ Kassapa thought: 
ปาฏิหาริย์กองไฟ [๔๙] ก็โดยสมัยนั้นแล ชฎิลเหล่านั้น พากันดำลงบ้าง ผุดขึ้นบ้าง ทั้งดำทั้งผุดบ้างในแม่น้ำเนรัญชรา ในราตรีหนาวเหมันตฤดู ระหว่างท้ายเดือน ๓ ต้นเดือน ๔ ในสมัยน้ำค้างตก.  ครั้งนั้น พระผู้มีพระภาคได้ทรงนิรมิตกองไฟไว้ ๕๐๐ กอง สำหรับให้ชฎิลเหล่านั้นขึ้นจากน้ำแล้วจะได้ผิง.  จึงชฎิลเหล่านั้นได้มีความดำริต้องกันว่า ข้อที่กองไฟเหล่านี้ถูกนิรมิตไว้นั้น คงต้องเป็นอิทธานุภาพของพระมหาสมณะ ไม่ต้องสงสัยเลย.  ครั้งนั้น ชฎิลอุรุเวลกัสสปได้มีความดำริว่า  พระมหาสมณะมีฤทธิ์มาก มีอานุภาพมากแท้ ถึงกับนิรมิตกองไฟได้มากมายถึงเพียงนั้น แต่ก็ไม่เป็นพระอรหันต์เหมือนเราแน่. 
สกิเทว ปญฺจ อคฺคิสตานิ วิชฺฌายิ๎สุ.  อถ โข อุรุเวลกสฺสปสฺส ชฏิลสฺส เอตทโหสิ  “มหิทฺธิโก โข มหาสมโณ มหานุภาโว ยตฺร หิ นาม อคฺคีปิ วิชฺฌายิสฺสนฺติ น ตฺเวว จ โข อรหา ยถา อห”นฺติ.  ๔๙. เตน โข ปน สมเยน เต ชฏิลา สีตาสุ เหมนฺติกาสุ รตฺตีสุ อนฺตรฏฺฐกาสุ หิมปาตสมเย นชฺชา เนรญฺชราย อุมฺมุชฺชนฺติปิ นิมุชฺชนฺติปิ อุมฺมุชฺชนนิมุชฺชนมฺปิ กโรนฺติ.  อถ โข ภควา ปญฺจมตฺตานิ มนฺทามุขิสตานิ อภินิมฺมินิ ยตฺถ เต ชฏิลา อุตฺตริตฺวา วิสิพฺเพสุํ 
tena kho pana samayena mahāakālamegho vassi, mahāudakavāhako sañjāyi.  yasmiṃ padese bhagavā viharati, so padeso udakena anuotthaṭo hoti.  atha kho bhagavato etad ahosi: yaṃ nūnāhaṃ samantā udakaṃ ussāretvā majjhe reṇuhatāya bhūmiyā caṅkameyyan ti.  atha kho bhagavā samantā udakaṃ ussāretvā majjhe reṇuhatāya bhūmiyā caṅkami.  atha kho Uruvelakassapo jaṭilo mā h’ eva kho mahāsamaṇo udakena vuḷho ahosīti nāvāya sambahulehi jaṭilehi saddhiṃ yasmiṃ padese bhagavā viharati taṃ padesaṃ agamāsi.  addasa kho Uruvelakassapo jaṭilo bhagavantaṃ samantā udakaṃ ussāretvā majjhe reṇuhatāya bhūmiyā caṅkamantaṃ, disvāna bhagavantaṃ etad avoca: idha nu tvaṃ mahāsamaṇā ’ti.  ayam ah’ asmi Kassapā ’ti bhagavā vehāsaṃ abbhuggantvā nāvāya paccuṭṭhāsi.  atha kho Uruvelakassapassa jaṭilassa etad ahosi: mahiddhiko kho mahāsamaṇo mahānubhāvo, yatra hi nāma udakam pi na pavahissati, na tv eva ca kho arahā yathā ahan ti. |16| 
'Truly the great Samana possesses high magical powers and great faculties, since he can create such great vessels with fire. He is not, however, holy like me.'  At that time a great rain fell out of season; and a great inundation arose.  The place where the Blessed One livcd was covered with water.  Then the Blessed One thought: 'What if I were to cause the water to recede round about, and if I were to walk up and down in the midst of the water on a dust-covered spot.  'And the Blessed One caused the water to recede round about, and he walked up and down in the midst of the water on a dust-covered spot.  And the Gatila Uruvelâ Kassapa, who was afraid that the water might have carried away the great Samana, went with a boat together with many Gatilas to the place where the Blessed One lived.  Then the Gatila Uruvelâ Kassapa saw the Blessed One, who had caused the water to recede round about, walking up and down in the midst of the water on a dust-covered spot. Seeing him, he said to the Blessed One: 'Are you there, great Samana?'  'Here I am, Kassapa,' replied the Blessed One, and he rose in the air and stationed himself in the boat. 
ปาฏิหาริย์น้ำท่วม [๕๐] ก็โดยสมัยนั้นแล เมฆใหญ่ในสมัยที่มิใช่ฤดูกาลยังฝนให้ตกแล้ว ห้วงน้ำใหญ่ได้ไหลนองไป.  ประเทศที่พระผู้มีพระภาคประทับอยู่นั้นถูกน้ำท่วม.  ขณะนั้น พระผู้มีพระภาคได้ทรงพระดำริว่า ไฉนหนอ เราพึงบันดาลให้น้ำห่างออกไปโดยรอบ แล้วจงกรมอยู่บนภาคพื้นอันมีฝุ่นฟุ้งขึ้นตอนกลาง.  ครั้นแล้วจึงทรงบันดาลให้น้ำห่างออกไปโดยรอบแล้วเสด็จจงกรมอยู่บนภาคพื้น อันมีฝุ่นฟุ้งขึ้นตอนกลาง.  ต่อมา ชฎิลอุรุเวลกัสสปกล่าวว่า พระมหาสมณะอย่าได้ถูกน้ำพัดไปเสียเลย ดังนี้ แล้วพร้อมด้วยชฎิลมากด้วยกัน ได้เอาเรือไปสู่ประเทศที่พระผู้มีพระภาคประทับอยู่.  ได้เห็นพระผู้มีพระภาคผู้ทรงบันดาลให้น้ำห่างออกไปโดยรอบแล้ว เสด็จจงกรมอยู่บนภาคพื้นอันมีฝุ่นฟุ้งขึ้นตอนกลาง แล้วได้ทูลพระผู้มีพระภาคว่า ข้าแต่มหาสมณะ ท่านยังอยู่ที่นี่ดอกหรือ?  พระผู้มีพระภาคตรัสตอบว่าถูกละ กัสสป เรายังอยู่ที่นี่ ดังนี้แล้วเสด็จขึ้นสู่เวหาสปรากฏอยู่ที่เรือ.  จึงชฎิลอุรุเวลกัสสปได้มีความดำริว่า พระมหาสมณะมีฤทธิ์มาก มีอานุภาพมากแท้ ถึงกับบันดาลไม่ให้น้ำไหลไปได้ แต่ก็ไม่เป็นพระอรหันต์เหมือนเราแน่. 
อถ โข เตสํ ชฏิลานํ เอตทโหสิ “นิสฺสํสยํ โข มหาสมณสฺส อิทฺธานุภาโว ยถยิมา มนฺทามุขิโย นิมฺมิตา”ติ.  อถ โข อุรุเวลกสฺสปสฺส ชฏิลสฺส เอตทโหสิ  “มหิทฺธิโก โข มหาสมโณ มหานุภาโว ยตฺร หิ นาม ตาว พหู มนฺทามุขิโยปิ อภินิมฺมินิสฺสติ น ตฺเวว จ โข อรหา ยถา อห”นฺติ.  ๕๐. เตน โข ปน สมเยน มหา อกาลเมโฆ ปาวสฺสิ มหา อุทกวาหโก สญฺชายิ.  ยสฺมึ ปเทเส ภควา วิหรติ โส ปเทโส อุทเกน น โอตฺถโฏ โหติ.  อถ โข ภควโต เอตทโหสิ “ยํนูนาหํ สมนฺตา อุทกํ อุสฺสาเรตฺวา มชฺเฌ เรณุหตาย ภูมิยา จงฺกเมยฺย”นฺติ.  อถ โข ภควา สมนฺตา อุทกํ อุสฺสาเรตฺวา มชฺเฌ เรณุหตาย ภูมิยา จงฺกมิ.  อถ โข อุรุเวลกสฺสโป ชฏิโล มาเหว โข มหาสมโณ อุทเกน วูฬฺโห อโหสีติ นาวาย สมฺพหุเลหิ ชฏิเลหิ สทฺธึ ยสฺมึ ปเทเส ภควา วิหรติ ตํ ปเทสํ อคมาสิ. 
atha kho bhagavato etad ahosi:  ciram pi kho imassa moghapurisassa evaṃ bhavissati:  mahiddhiko kho mahāsamaṇo mahānubhāvo, na tv eva ca kho arahā yathā ahan ti.  yaṃ nūnāhaṃ imaṃ jaṭilaṃ saṃvejeyyan ti.  atha kho bhagavā Uruvelakassapaṃ {jaṭilaṃ} etad avoca:  n’ eva kho tvaṃ Kassapa arahā, na pi arahattamaggaṃ samāpanno, sā pi te paṭipadā n’ atthi, yāya tvaṃ arahā vā assa arahattamaggaṃ vā samāpanno ’ti.  atha kho Uruvelakassapo jaṭilo bhagavato pādesu sirasā nipatitvā bhagavantaṃ etad avoca:  labheyyāhaṃ bhante bhagavato santike pabbajjaṃ, labheyyaṃ upasampadan ti. |17| 
And the Gatila Uruvelâ Kassapa thought: 'Truly the great Samana possesses high magical powers and great faculties, since the water does not carry him away. He is not, however, holy like me.'  Then the Blessed One thought:  'This foolish man will still for a long time think thus:  "Truly the great Samana possesses high magical powers and great faculties; he is not, however, holy like me."  What if I were to move the mind of this Gatila (in order to show him my superiority).'  And the Blessed One said to the Gatila Uruvelâ Kassapa:  'You are not holy (arahâ), Kassapa, nor have you entered the path of Arahatship, nor do you walk in such a practice as will lead you to Arahatship. or to entering the path of Arahatship.'  Then the Gatila Uruvelâ. Kassapa prostrated himself, inclining his head to the feet of the Blessed One, and said to the Blessed One: 
ทูลขอบรรพชาและอุปสมบท [๕๑] ลำดับนั้น พระผู้มีพระภาคได้ทรงพระดำริว่า  โมฆบุรุษนี้ ได้มีความคิดอย่างนี้มานานแล้วว่า  พระมหาสมณะมีฤทธิ์มาก มีอานุภาพมากแท้ แต่ก็ไม่เป็นพระอรหันต์เหมือนเราแน่  ถ้ากระไร เราพึงให้ชฎิลนี้สลดใจ  แล้วจึงตรัสกะชฎิลอุรุเวลกัสสปว่า  ดูกรกัสสป ท่านไม่ใช่พระอรหันต์แน่ ทั้งยังไม่พบทางแห่งความเป็นพระอรหันต์ แม้ปฏิปทาของท่านที่จะเป็นเหตุให้เป็นพระอรหันต์ หรือพบทางแห่งความเป็นพระอรหันต์ ก็ไม่มี.  ทีนั้น ชฎิลอุรุเวลกัสสปได้ซบเศียรลงที่พระบาทของพระผู้มีพระภาค แล้วทูลขอบรรพชาอุปสมบทต่อพระผู้มีพระภาคว่า  ขอข้าพระพุทธเจ้าพึงได้บรรพชา พึงได้อุปสมบทในสำนักพระผู้มีพระภาค พระพุทธเจ้าข้า. 
อทฺทสา โข อุรุเวลกสฺสโป ชฏิโล ภควนฺตํ สมนฺตา อุทกํ อุสฺสาเรตฺวา มชฺเฌ เรณุหตาย ภูมิยา จงฺกมนฺตํ ทิสฺวาน ภควนฺตํ เอตทโวจ “อิทํ นุ ตฺวํ มหาสมณา”ติ?  “อยมหมสฺมิ กสฺสปา”ติ ภควา เวหาสํ อพฺภุคฺคนฺตฺวา นาวาย ปจฺจุฏฺฐาสิ.  อถ โข อุรุเวลกสฺสปสฺส ชฏิลสฺส เอตทโหสิ “มหิทฺธิโก โข มหาสมโณ มหานุภาโว ยตฺร หิ นาม อุทกมฺปิ น ปวาหิสฺสติ น ตฺเวว จ โข อรหา ยถา อห”นฺติ.  ๕๑. อถ โข ภควโต เอตทโหสิ  “จิรมฺปิ โข อิมสฺส โมฆปุริสสฺส เอวํ ภวิสฺสติ  ‘มหิทฺธิโก โข มหาสมโณ มหานุภาโว น ตฺเวว จ โข อรหา ยถา อห’นฺติ  ยํนูนาหํ อิมํ ชฏิลํ สํเวเชยฺย”นฺติ.  อถ โข ภควา อุรุเวลกสฺสปํ ชฏิลํ เอตทโวจ 
tvaṃ kho ’si Kassapa pañcannaṃ jaṭilasatānaṃ nāyako vināyako aggo pamukho pāmokkho, te pi tāva apalokehi, yathā te maññissanti tathā karissantīti.  atha kho Uruvelakassapo jaṭilo yena te jaṭilā ten’ upasaṃkami, upasaṃkamitvā te jaṭile etad avoca:  icchām’ (33) ahaṃ bho mahāsamaṇe brahmacariyaṃ carituṃ, yathā bhavanto maññanti tathā karontū ’ti.  cirapaṭikā mayaṃ bho mahāsamaṇe abhippasannā, sace bhavaṃ mahāsamaṇe brahmacariyaṃ carissati, sabbeva mayaṃ mahāsamaṇe brahmacariyaṃ carissāmā ’ti. |18| 
'Lord, let me receive the pabbaggâ and upasampadâ ordinations from the Blessed One.'  (Buddha replied): 'You, Kassapa, are chief, leader, foremost, first, and highest of five hundred Gatilas; go first and inform them of your intention, and let them do what they think fit.'  Then the Gatila Uruvelâ Kassapa went to those Gatilas; having gone to them, he said to those Gatilas:  'I wish, Sirs, to lead a religious life under the direction of the great Samana; you may do, Sirs, what you think fit.' 
พระผู้มีพระภาคตรัสว่า ดูกรกัสสป ท่านเป็นผู้นำ เป็นผู้ฝึกสอน เป็นผู้เลิศ เป็นหัวหน้า เป็นประธานของชฎิล ๕๐๐ คน ท่านจงบอกกล่าวพวกนั้นก่อน พวกนั้นจักทำตามที่เข้าใจ.  ลำดับนั้น ชฎิลอุรุเวลกัสสปเข้าไปหาชฎิลเหล่านั้น ครั้นแล้วได้แจ้งความประสงค์ต่อชฎิลเหล่านั้นว่า  ผู้เจริญทั้งหลาย เราปรารถนาจะประพฤติพรหมจรรย์ในพระมหาสมณะ ท่านผู้เจริญทั้งหลาย จงทำตามที่เข้าใจ.  ชฎิลพวกนั้นกราบเรียนว่า พวกข้าพเจ้าเลื่อมใสยิ่งในพระมหาสมณะมานานแล้ว ขอรับ ถ้าท่านอาจารย์จักประพฤติพรหมจรรย์ในพระมหาสมณะ พวกข้าพเจ้าทั้งหมดก็จักประพฤติพรหมจรรย์ในพระมหาสมณะเหมือนกัน. 
“เนว จ โข ตฺวํ กสฺสป อรหา นาปิ อรหตฺตมคฺคสมาปนฺโน. สาปิ เต ปฏิปทา นตฺถิ ยาย ตฺวํ อรหา วา อสฺสสิ อรหตฺตมคฺคํ วา สมาปนฺโน”ติ.  อถ โข อุรุเวลกสฺสโป ชฏิโล ภควโต ปาเทสุ สิรสา นิปติตฺวา ภควนฺตํ เอตทโวจ  “ลเภยฺยาหํ ภนฺเต ภควโต สนฺติเก ปพฺพชฺชํ ลเภยฺยํ อุปสมฺปท”นฺติ.  ตฺวํ โขสิ กสฺสป ปญฺจนฺนํ ชฏิลสตานํ นายโก วินายโก อคฺโค ปมุโข ปาโมกฺโข. เตปิ ตาว อปโลเกหิ ยถา เต มญฺญิสฺสนฺติ ตถา เต กริสฺสนฺตีติ. 
atha kho te jaṭilā kesamissaṃ jaṭāmissaṃ khārikājamissaṃ aggihuttamissaṃ udake pavāhetvā yena bhagavā ten’ upasaṃkamiṃsu, upasaṃkamitvā bhagavato pādesu sirasā nipatitvā bhagavantaṃ etad avocuṃ: labheyyāma mayaṃ bhante bhagavato santike pabbajjaṃ, labheyyāma upasampadan ti.  etha bhikkhavo ’ti bhagavā avoca, svākkhāto dhammo, caratha brahmacariyaṃ sammā dukkhassa antakiriyāyā ’ti.  sā ’va tesaṃ āyasmantānaṃ upasampadā ahosi. |19| 
(The Gatilas replied): 'We have conceived, Sir, an affection for the great Samana long since; if you will lead. Sir, a religious life under the great Samana' s direction; we will all lead a religious life under the great Samana's direction.'  Then the Gatilas flung their hair, their braids, their provisions, and the things for the agnihotra sacrifice into the river, and went to the place where the Blessed One was; having approached him and prostrated themselves before him, inclining their heads to the feet of the Blessed One, they said to the Blessed One: 'Lord, let us receive the pabbaggâ and upasampadâ ordinations from the Blessed One.'  'Come, O Bhikkhus,' said the Blessed One, 'well taught is the doctrine; lead a holy life for the sake of the complete extinction of suffering.' 
ต่อมา ชฎิลเหล่านั้นได้ลอยผม ชฎา เครื่องบริขาร และเครื่องบูชาเพลิงในน้ำ แล้วพากันเข้าเฝ้าพระผู้มีพระภาค ซบเศียรลงแทบพระบาทของพระผู้มีพระภาค แล้วได้ทูลขอบรรพชาอุปสมบทต่อพระผู้มีพระภาคว่า ขอพวกข้าพระองค์พึงได้บรรพชา พึงได้อุปสมบทในสำนักพระผู้มีพระภาค พระพุทธเจ้าข้า.  พระผู้มีพระภาคตรัสว่า พวกเธอจงเป็นภิกษุมาเถิด ดังนี้แล้ว ได้ตรัสต่อไปว่า ธรรมอันเรากล่าวดีแล้ว พวกเธอจงประพฤติพรหมจรรย์เพื่อทำที่สุดทุกข์โดยชอบเถิด.  พระวาจานั้นแล ได้เป็นอุปสมบทของท่านผู้มีอายุเหล่านั้น. 
อถ โข อุรุเวลกสฺสโป ชฏิโล เยน เต ชฏิลา เตนุปสงฺกมิ อุปสงฺกมิตฺวา เต ชฏิเล เอตทโวจ  “อิจฺฉามหํ โภ มหาสมเณ พฺรหฺมจริยํ จริตุํ ยถา ภวนฺโต มญฺญนฺติ ตถา กโรนฺตู”ติ.  “จิรปฏิกา มยํ โภ มหาสมเณ อภิปฺปสนฺนา สเจ ภวํ มหาสมเณ พฺรหฺมจริยํ จริสฺสติ สพฺเพว มยํ มหาสมเณ พฺรหฺมจริยํ จริสฺสามา”ติ. 
addasa kho Nadīkassapo jaṭilo kesamissaṃ jaṭāmissaṃ khārikājamissaṃ aggihuttamissaṃ udake vuyhamāne, disvān’ assa etad ahosi:  mā h’ eva me bhātuno upasaggo ahosīti, jaṭile pāhesi gacchatha me bhātaraṃ jānāthā ’ti, sāmañ ca tīhi jaṭilasatehi saddhiṃ yenāyasmā Uruvelakassapo ten’ upasaṃkami, upasaṃkamitvā āyasmantaṃ Uruvelakassapaṃ etad avoca: idaṃ nu kho Kassapa seyyo ’ti.  āmāvuso idaṃ seyyo ’ti. |20| 
Thus these venerable persons received the upasampadâ ordination.  And the Gatila Nadî Kassapa saw the hair, the braids, the provisions, the things for the agnihotra sacrifice, which were carried down by the river; when he saw that, he became afraid that some misfortune might have befallen his brother. He sent some Gatilas, saying,  'Go and look after my brother,' and went himself with his three hundred Gatilas to the venerable Uruvelâ Kassapa; having approached him, he said to the venerable Uruvelâ Kassapa: 'Now, Kassapa, is this bliss?' 
[๕๒] ชฎิลนทีกัสสปได้เห็นผม ชฎา เครื่องบริขาร และเครื่องบูชาเพลิงลอยน้ำมา ครั้นแล้วได้มีความดำริว่า  อุปสรรคอย่าได้มีแก่พี่ชายเราเลย จึงส่งชฎิลไปด้วยคำสั่งว่า พวกเธอจงไป จงรู้พี่ชายของเรา ดังนี้แล้ว ทั้งตนเองกับชฎิล ๓๐๐ ได้เข้าไปหาท่านพระอุรุเวลกัสสป แล้วเรียนถามว่า ข้าแต่พี่กัสสป พรหมจรรย์นี้ประเสริฐแน่หรือ?  พระอุรุเวลกัสสปตอบว่า แน่ละเธอ พรหมจรรย์นี้ประเสริฐ. 
อถ โข เต ชฏิลา เกสมิสฺสํ ชฏามิสฺสํ ขาริกาชมิสฺสํ อคฺคิหุตมิสฺสํ อุทเก ปวาเหตฺวา เยน ภควา เตนุปสงฺกมึสุ อุปสงฺกมิตฺวา ภควโต ปาเทสุ สิรสา นิปติตฺวา ภควนฺตํ เอตทโวจุํ “ลเภยฺยาม มยํ ภนฺเต ภควโต สนฺติเก ปพฺพชฺชํ ลเภยฺยาม อุปสมฺปท”นฺติ.  “เอถ ภิกฺขโว”ติ ภควา อโวจ “สฺวากฺขาโต ธมฺโม จรถ พฺรหฺมจริยํ สมฺมา ทุกฺขสฺส อนฺตกิริยายา”ติ.  สาว เตสํ อายสฺมนฺตานํ อุปสมฺปทา อโหสิ. 
atha kho te jaṭilā kesamissaṃ jaṭāmissaṃ khārikājamissaṃ aggihuttamissaṃ udake pavāhetvā yena bhagavā ten’ upasaṃkamiṃsu, upasaṃkamitvā bhagavato pādesu sirasā nipatitvā bhagavantaṃ etad avocuṃ: labheyyāma mayaṃ bhante bhagavato santike pabbajjaṃ, labheyyāma upasampadan ti.  etha bhikkhavo ’ti bhagavā avoca, svākkhāto dhammo, caratha brahmacariyaṃ sammā dukkhassa antakiriyāyā ’ti.  sā ’va tesaṃ āyasmantānaṃ upasampadā ahosi. |21| 
(Uruvelâ Kassapa replied): 'Yes, friend, this is bliss.'  And the Gatilas (who had come with Nadî Kassapa) (&c., as in § 19).   
หลังจากนั้น ชฎิลเหล่านั้นลอยผม ชฎา เครื่องบริขารและเครื่องบูชาเพลิงในน้ำ แล้วพากันเข้าเฝ้าพระผู้มีพระภาค ซบเศียรลงแทบพระบาทของพระผู้มีพระภาค แล้วได้ทูลขอบรรพชาอุปสมบทต่อพระผู้มีพระภาคว่า ขอพวกข้าพระพุทธเจ้าพึงได้บรรพชา พึงได้อุปสมบทในสำนักพระผู้มีพระภาค พระพุทธเจ้าข้า.  พระผู้มีพระภาคตรัสว่า พวกเธอจงเป็นภิกษุมาเถิด ดังนี้แล้ว ได้ตรัสต่อไปว่า ธรรมอันเรากล่าวดีแล้ว พวกเธอจงประพฤติพรหมจรรย์เพื่อทำที่สุดทุกข์โดยชอบเถิด.  พระวาจานั้นแล ได้เป็นอุปสมบทของท่านผู้มีอายุเหล่านั้น. 
๕๒. อทฺทสา โข นทีกสฺสโป ชฏิโล เกสมิสฺสํ ชฏามิสฺสํ ขาริกาชมิสฺสํ อคฺคิหุตมิสฺสํ อุทเก วุยฺหมาเน ทิสฺวานสฺส เอตทโหสิ  “มาเหว เม ภาตุโน อุปสคฺโค อโหสี”ติ. ชฏิเล ปาเหสิ คจฺฉถ เม ภาตรํ ชานาถาติ. สามญฺจ ตีหิ ชฏิลสเตหิ สทฺธึ เยนายสฺมา อุรุเวลกสฺสโป เตนุปสงฺกมิ อุปสงฺกมิตฺวา อายสฺมนฺตํ อุรุเวลกสฺสปํ เอตทโวจ “อิทํ นุ โข กสฺสป เสยฺโย”ติ?  “อามาวุโส อิทํ เสยฺโย”ติ. 
addasa kho Gayākassapo jaṭilo kesamissaṃ jaṭāmissaṃ khārikājamissaṃ aggihuttamissaṃ udake vuyhamāne, disvān’ assa etad ahosi:  mā h’ eva me bhātūnaṃ upasaggo ahosīti, jaṭile pāhesi gacchatha me bhātaro jānāthā ’ti, sāmañ ca dvīhi jaṭilasatehi saddhiṃ yenāyasmā Uruvelakassapo ten’ upasaṃkami, upasaṃkamitvā āyasmantaṃ Uruvelakassapaṃ etad avoca: idaṃ nu kho Kassapa seyyo ’ti.  āmāvuso idaṃ seyyo ’ti. |22| 
  And the Gatila Gayâ Kassapa saw (&c., as in § 20); when he saw that, he became afraid that some misfortune might have befallen his brothers. He sent some Gatilas, saying, 'Go and look after my brothers,' and went himself with his two hundred Gatilas to the venerable Uruvelâ Kassapa (&c., as above).   
[๕๓] ชฎิลคยากัสสปได้เห็นผม ชฎา เครื่องบริขาร และเครื่องบูชาเพลิง ลอยน้ำมา. ครั้นแล้ว ได้มีความดำริว่า  อุปสรรคอย่าได้มีแก่พี่ชายทั้งสองของเราเลย แล้วส่งชฎิลไปด้วยคำสั่งว่า พวกเธอจงไป จงรู้พี่ชายทั้งสองของเรา ดังนี้แล้ว ทั้งตนเองกับชฎิล ๒๐๐ คน ได้เข้าไปหาท่านพระอุรุเวลกัสสป แล้วเรียนถามว่า ข้าแต่พี่กัสสป พรหมจรรย์นี้ประเสริฐแน่หรือ?  พระอุรุเวลกัสสปตอบว่า แน่ละเธอ พรหมจรรย์นี้ประเสริฐ. 
อถ โข เต ชฏิลา เกสมิสฺสํ ชฏามิสฺสํ ขาริกาชมิสฺสํ อคฺคิหุตมิสฺสํ อุทเก ปวาเหตฺวา เยน ภควา เตนุปสงฺกมึสุ อุปสงฺกมิตฺวา ภควโต ปาเทสุ สิรสา นิปติตฺวา ภควนฺตํ เอตทโวจุํ “ลเภยฺยาม มยํ ภนฺเต ภควโต สนฺติเก ปพฺพชฺชํ ลเภยฺยาม อุปสมฺปท”นฺติ.  “เอถ ภิกฺขโว”ติ ภควา อโวจ “สฺวากฺขาโต ธมฺโม จรถ พฺรหฺมจริยํ สมฺมา ทุกฺขสฺส อนฺตกิริยายา”ติ.  สาว เตสํ อายสฺมนฺตานํ อุปสมฺปทา อโหสิ. 
atha kho te jaṭilā kesamissaṃ jaṭāmissaṃ khārikājamissaṃ aggihuttamissaṃ udake pavāhetvā yena bhagavā ten’ upasaṃkamiṃsu, upasaṃkamitvā bhagavato (34) pādesu sirasā nipatitvā bhagavantaṃ etad avocuṃ:  labheyyāma mayaṃ bhante bhagavato santike pabbajjaṃ, labheyyāma upasampadan ti.  etha bhikkhavo ’ti bhagavā avoca, svākkhāto dhammo, caratha brahmacariyaṃ sammā dukkhassa antakiriyāyā ’ti.  sā ’va tesaṃ āyasmantānaṃ upasampadā ahosi. |23| 
  And the Gatilas (who had come with Gayâ Kassapa) (&c., as in § 19).     
หลังจากนั้น ชฎิลเหล่านั้นลอยผม ชฎา เครื่องบริขาร และเครื่องบูชาเพลิงในน้ำ แล้วพากันเข้าเฝ้าพระผู้มีพระภาค ซบเศียรลงแทบพระบาทของพระผู้มีพระภาคแล้ว ได้ทูลขอบรรพชาอุปสมบทต่อพระผู้มีพระภาคว่า  ขอพวกข้าพระพุทธเจ้าพึงได้บรรพชา พึงได้อุปสมบทในสำนักพระผู้มีพระภาค พระพุทธเจ้าข้า.  พระผู้มีพระภาคตรัสว่า พวกเธอจงเป็นภิกษุมาเถิด ดังนี้แล้ว ได้ตรัสต่อไปว่า ธรรมอันเรากล่าวดีแล้ว พวกเธอจงประพฤติพรหมจรรย์เพื่อทำที่สุดทุกข์โดยชอบเถิด.  พระวาจานั้นแล ได้เป็นอุปสมบทของท่านผู้มีอายุเหล่านั้น. 
๕๓. อทฺทสา โข คยากสฺสโป ชฏิโล เกสมิสฺสํ ชฏามิสฺสํ ขาริกาชมิสฺสํ อคฺคิหุตมิสฺสํ อุทเก วุยฺหมาเน ทิสฺวานสฺส เอตทโหสิ  “มาเหว เม ภาตูนํ อุปสคฺโค อโหสี”ติ. ชฏิเล ปาเหสิ คจฺฉถ เม ภาตโร ชานาถาติ. สามญฺจ ทฺวีหิ ชฏิลสเตหิ สทฺธึ เยนายสฺมา อุรุเวลกสฺสโป เตนุปสงฺกมิ อุปสงฺกมิตฺวา อายสฺมนฺตํ อุรุเวลกสฺสปํ เอตทโวจ “อิทํ นุ โข กสฺสป เสยฺโย”ติ?  “อามาวุโส อิทํ เสยฺโย”ติ.  อถ โข เต ชฏิลา เกสมิสฺสํ ชฏามิสฺสํ ขาริกาชมิสฺสํ อคฺคิหุตมิสฺสํ อุทเก ปวาเหตฺวา เยน ภควา เตนุปสงฺกมึสุ อุปสงฺกมิตฺวา ภควโต ปาเทสุ สิรสา นิปติตฺวา ภควนฺตํ เอตทโวจุํ 
bhagavato adhiṭṭhānena pañca kaṭṭhasatāni na phāliyiṃsu, phāliyiṃsu, aggī na ujjaliṃsu, ujjaliṃsu, na vijjhāyiṃsu, vijjhāyiṃsu, pañca mandāmukhisatāni abhinimmini.  etena nayena aḍḍhuḍḍhapāṭihāriyasahassāni honti. |24| 
  At the command of the Blessed One the five hundred pieces of fire-wood could not be split and were split, the fires could not be lit up and were lit up, could not be extinguished and were extinguished; besides he created five hundred vessels with fire. 
[๕๔] พวกชฎิลนั้น ผ่าฟืน ๕๐๐ ท่อนไม่ได้ แล้วผ่าได้ ก่อไฟไม่ติด แล้วก่อไฟติดขึ้นได้ ดับไฟไม่ดับ แล้วดับได้ ด้วยการเพ่งอธิษฐานของพระผู้มีพระภาค พระผู้มีพระภาคทรงนิรมิตกองไฟไว้ ๕๐๐ กอง.  ปาฏิหาริย์ ๓๕๐๐ วิธี ย่อมมีโดยนัยนี้. 
“ลเภยฺยาม มยํ ภนฺเต ภควโต สนฺติเก ปพฺพชฺชํ ลเภยฺยาม อุปสมฺปท”นฺติ.  “เอถ ภิกฺขโว”ติ ภควา อโวจ “สฺวากฺขาโต ธมฺโม จรถ พฺรหฺมจริยํ สมฺมา ทุกฺขสฺส อนฺตกิริยายา”ติ. 
||20|| 
Thus the number of these miracles amounts to three thousand five hundred. 
สาว เตสํ อายสฺมนฺตานํ อุปสมฺปทา อโหสิ. 
atha kho bhagavā Uruvelāyaṃ yathābhirantaṃ viharitvā yena Gayāsīsaṃ tena cārikaṃ pakkāmi mahatā bhikkhusaṃghena saddhiṃ bhikkhusahassena sabbeh’ eva purāṇajaṭilehi.  tatra sudaṃ bhagavā Gayāyaṃ viharati Gayāsīse saddhiṃ bhikkhusahassena. |1| 
And the Blessed One, after having dwelt at Uruvelâ as long as he thought fit, went forth to Gayâsîsa, accompanied by a great number of Bhikkhus, by one thousand Bhikkhus who all had been Gatilas before. 
อาทิตตปริยายสูตร [๕๕] ครั้นพระผู้มีพระภาคประทับอยู่ ณ ตำบลอุรุเวลา ตามพระพุทธาภิรมย์แล้ว เสด็จจาริกไปโดยมรรคาอันจะไปสู่ตำบลคยาสีสะ พร้อมด้วยภิกษุสงฆ์หมู่ใหญ่ ๑๐๐๐ รูป ล้วนเป็นปุราณชฎิล.  ได้ยินว่า พระองค์ประทับอยู่ที่ตำบลคยาสีสะ ใกล้แม่น้ำคยานั้น พร้อมด้วยภิกษุ ๑๐๐๐ รูป. 
ภควโต อธิฏฺฐาเนน ปญฺจ กฏฺฐสตานิ น ผาลิยิ๎สุ ผาลิยิ๎สุ อคฺคี น อุชฺชลิยิ๎สุ อุชฺชลิยิ๎สุ น วิชฺฌายิ๎สุ วิชฺฌายิ๎สุ ปญฺจมนฺทามุขิสตานิ อภินิมฺมินิ.  เอเตน นเยน อฑฺฒุฑฺฒปาฏิหาริยสหสฺสานิ โหนฺติ. 
tatra kho bhagavā bhikkhū āmantesi: sabbaṃ bhikkhave ādittaṃ. kiñ ca bhikkhave sabbaṃ ādittaṃ. cakkhuṃ bhikkhave ādittaṃ, rūpā ādittā, cakkhuviññāṇaṃ ādittaṃ, cakkhusamphasso āditto, yad idaṃ cakkhusamphassapaccayā uppajjati vedayitaṃ sukhaṃ vā dukkhaṃ vā adukkhamasukhaṃ vā, tam pi ādittaṃ. kena ādittaṃ, rāgagginā dosagginā mohagginā ādittaṃ, jātiyā jarāya maraṇena sokehi paridevehi dukkhehi domanassehi upāyāsehi ādittan ti vadāmi. |2| 
There near Gayâ, at Gayâsîsa, the Blessed One dwelt together with those thousand Bhikkhus. 
ณ ที่นั้น พระผู้มีพระภาครับสั่งกะภิกษุทั้งหลาย ว่าดังนี้:- ดูกรภิกษุทั้งหลาย สิ่งทั้งปวงเป็นของร้อน ก็อะไรเล่าชื่อว่าสิ่งทั้งปวงเป็นของร้อน? ดูกรภิกษุทั้งหลาย จักษุเป็นของร้อน รูปทั้งหลายเป็นของร้อน วิญญาณอาศัยจักษุเป็นของร้อน สัมผัสอาศัยจักษุเป็นของร้อน ความเสวยอารมณ์ เป็นสุขเป็นทุกข์ หรือมิใช่สุขมิใช่ทุกข์ ที่เกิดขึ้นเพราะจักษุสัมผัสเป็นปัจจัย แม้นั้นก็เป็นของร้อน ร้อนเพราะอะไร? เรากล่าวว่า ร้อนเพราะไฟคือราคะ เพราะไฟคือโทสะ เพราะไฟคือโมหะ ร้อนเพราะความเกิด เพราะความแก่ และความตาย ร้อนเพราะความโศก เพราะความรำพัน เพราะทุกข์กาย เพราะทุกข์ใจ เพราะความคับแค้น. 
 
sotaṃ ādittaṃ, saddā ādittā, --la-- ghānaṃ ādittaṃ, gandhā ādittā, jivhā ādittā, rasā ādittā, kāyo āditto, phoṭṭhabbā ādittā, mano āditto, dhammā ādittā, manoviññāṇaṃ ādittaṃ, manosamphasso āditto, yad idaṃ manosamphassapaccayā uppajjati vedayitaṃ sukhaṃ vā dukkhaṃ vā adukkhamasukhaṃ vā, tam pi ādittaṃ.  kena ādittaṃ, rāgagginā dosagginā mohagginā ādittaṃ, jātiyā jarāya maraṇena sokehi paridevehi dukkhehi domanassehi upāyāsehi ādittan ti vadāmi. |3| 
There the Blessed One thus addressed the Bhikkhus: 'Everything, O Bhikkhus, is burning. And how, O Bhikkhus, is everything burning? 'The eye, O Bhikkhus, is burning; visible things are burning; the mental impressions based on the eye are burning; the contact of the eye (with visible things) is burning; the sensation produced by the contact of the eye (with visible things), be it pleasant, be it painful, be it neither pleasant nor painful, that also is burning. With what fire is it burning? I declare unto you that it is burning with the fire of lust, with the fire of anger, with the fire of ignorance; it is burning with (the anxieties of) birth, decay, death, grief, lamentation, suffering, dejection, and despair.  'The ear is burning, sounds are burning, &c. . . . . The nose is burning, odours are burning, &c. . . . . The tongue is burning, tastes are burning, &c. . . . . The body is burning, objects of contact are burning, &c. . . . . The mind is burning, thoughts are burning, &c. . . . . 
โสตเป็นของร้อน เสียงทั้งหลายเป็นของร้อน ... ฆานะเป็นของร้อน กลิ่นทั้งหลายเป็นของร้อน ... ชิวหาเป็นของร้อน รสทั้งหลายเป็นของร้อน ... กายเป็นของร้อน โผฏฐัพพะทั้งหลายเป็นของร้อน ... มนะเป็นของร้อน ธรรมทั้งหลายเป็นของร้อน วิญญาณอาศัยมนะเป็นของร้อน สัมผัสอาศัยมนะเป็นของร้อน ความเสวยอารมณ์เป็นสุข เป็นทุกข์หรือมิใช่ทุกข์มิใช่สุข ที่เกิดขึ้นเพราะมโนสัมผัสเป็นปัจจัย แม้นั้นก็เป็นของร้อน ร้อนเพราะอะไร?  เรากล่าวว่า ร้อนเพราะไฟคือราคะ เพราะไฟคือโทสะ เพราะไฟคือโมหะ ร้อนเพราะความเกิด เพราะความแก่ และความตาย ร้อนเพราะความโศก เพราะความรำพัน เพราะทุกข์กาย เพราะทุกข์ใจ เพราะความคับแค้น. 
  ๕๔. อถ โข ภควา อุรุเวลายํ ยถาภิรนฺตํ วิหริตฺวา เยน คยาสีสํ เตน ปกฺกามิ มหตา ภิกฺขุสงฺเฆน สทฺธึ ภิกฺขุสหสฺเสน สพฺเพเหว ปุราณชฏิเลหิ. 
evam passaṃ bhikkhave sutavā ariyasāvako cakkhusmiṃ pi nibbindati, rūpesu pi nibbindati, cakkhuviññāṇe pi nibbindati, cakkhusamphasse pi nibbindati, yad idaṃ cakkhusamphassapaccayā uppajjati vedayitaṃ sukhaṃ vā dukkhaṃ vā adukkhamasukhaṃ vā, tasmiṃ pi nibbindati.  sotasmiṃ pi nibbindati, saddesu pi nibbindati, ghānasmiṃ pi nibbin-(35)dati, gandhesu pi nibbindati, jivhāya pi nibbindati, rasesu pi nibbindati, kāyasmiṃ pi nibbindati, phoṭṭhabbesu pi nibbindati, manasmiṃ pi nibbindati, dhammesu pi nibbindati, manoviññāṇe pi nibbindati, manosamphasse pi nibbindati, yad idaṃ manosamphassapaccayā uppajjati vedayitaṃ sukhaṃ vā dukkhaṃ vā adukkhamasukhaṃ vā, tasmiṃ pi nibbindati, nibbindaṃ virajjati, virāgā vimuccati, vimuttasmiṃ vimutt’ amhīti ñāṇaṃ hoti, khīṇā jāti, vusitaṃ brahmacariyaṃ, kataṃ karaṇīyaṃ, nāparaṃ itthattāyā ’ti pajānātīti.  imasmiṃ ca pana veyyākaraṇasmiṃ bhaññamāne tassa bhikkhusahassassa anupādāya āsavehi cittāni vimucciṃsu. |4| 
  'Considering this, O Bhikkhus, a disciple learned (in the scriptures), walking in the Noble Path, becomes weary of the eye, weary of visible things, weary of the mental impressions based on the eye, weary of the contact of the eye (with visible things), weary also of the sensation produced by the contact of the eye (with visible things), be it pleasant, be it painful, be it neither pleasant nor painful.  He becomes weary of the ear (&c. . . . . , down to . . . . thoughts). Becoming weary of all that, he divests himself of passion; by absence of passion he is made free; when he is free, he becomes aware that he is free; and he realises that re-birth is exhausted; that holiness is completed; that duty is fulfilled; and that there is no further return to this world.' 
ดูกรภิกษุทั้งหลาย อริยสาวกผู้ได้ฟังแล้วเห็นอยู่อย่างนี้ ย่อมเบื่อหน่ายแม้ในจักษุ ย่อมเบื่อหน่ายแม้ในรูปทั้งหลาย ย่อมเบื่อหน่ายแม้ในวิญญาณอาศัยจักษุ ย่อมเบื่อหน่ายแม้ในสัมผัสอาศัยจักษุ ย่อมเบื่อหน่ายแม้ในความเสวยอารมณ์ ที่เป็นสุข เป็นทุกข์ หรือมิใช่ทุกข์ มิใช่สุข ที่เกิดขึ้นเพราะจักษุสัมผัสเป็นปัจจัย ย่อมเบื่อหน่ายแม้ในโสต ย่อมเบื่อหน่ายแม้ในเสียงทั้งหลาย ... ย่อมเบื่อหน่ายแม้ในฆานะ ย่อมเบื่อหน่ายแม้ในกลิ่นทั้งหลาย ... ย่อมเบื่อหน่ายแม้ในชิวหา ย่อมเบื่อหน่ายแม้ในรสทั้งหลาย ... ย่อมเบื่อหน่ายแม้ในกาย ย่อมเบื่อหน่ายแม้ในโผฏฐัพพะทั้งหลาย ... ย่อมเบื่อหน่ายแม้ในมนะ ย่อมเบื่อหน่ายแม้ในธรรมทั้งหลาย ย่อมเบื่อหน่ายแม้ในวิญญาณอาศัยมนะ ย่อมเบื่อหน่ายแม้ในสัมผัสอาศัยมนะ ย่อมเบื่อหน่ายแม้ในความเสวยอารมณ์ที่เป็นสุข เป็นทุกข์ หรือมิใช่ทุกข์มิใช่สุข ที่เกิดขึ้นเพราะมโนสัมผัสเป็นปัจจัย.  เมื่อเบื่อหน่าย ย่อมสิ้นกำหนัด เพราะสิ้นกำหนัด จิตก็พ้น เมื่อจิตพ้นแล้ว ก็รู้ว่าพ้นแล้ว อริยสาวกนั้นทราบชัดว่า ชาติสิ้นแล้ว พรหมจรรย์ได้อยู่จบแล้ว กิจที่ควรทำได้ทำเสร็จแล้ว กิจอื่นอีกเพื่อความเป็นอย่างนี้ไม่มี.  ก็แล เมื่อพระผู้มีพระภาคตรัสไวยากรณภาษิตนี้อยู่ จิตของภิกษุ ๑๐๐๐ รูปนั้น พ้นแล้วจากอาสวะทั้งหลาย เพราะไม่ถือมั่น. 
ตตฺร สุทํ ภควา คยายํ วิหรติ คยาสีเส สทฺธึ ภิกฺขุสหสฺเสน.  ตตฺร โข ภควา ภิกฺขู อามนฺเตสิ “สพฺพํ ภิกฺขเว อาทิตฺตํ. กิญฺจ ภิกฺขเว สพฺพํ อาทิตฺตํ? จกฺขุ อาทิตฺตํ รูปา อาทิตฺตา จกฺขุวิญฺญาณํ อาทิตฺตํ จกฺขุสมฺผสฺโส อาทิตฺโต ยมิทํ จกฺขุสมฺผสฺสปจฺจยา อุปฺปชฺชติ เวทยิตํ สุขํ วา ทุกฺขํ วา อทุกฺขมสุขํ วา ตมฺปิ อาทิตฺตํ. เกน อาทิตฺตํ? ราคคฺคินา โทสคฺคินา โมหคฺคินา อาทิตฺตํ ชาติยา ชราย มรเณน โสเกหิ ปริเทเวหิ ทุกฺเขหิ โทมนสฺเสหิ อุปายาเสหิ อาทิตฺตนฺติ วทามิ.  โสตํ อาทิตฺตํ สทฺทา อาทิตฺตา โสตวิญฺญาณํ อาทิตฺตํ โสตสมฺผสฺโส อาทิตฺโต ยมิทํ โสตสมฺผสฺสปจฺจยา อุปฺปชฺชติ เวทยิตํ สุขํ วา ทุกฺขํ วา อทุกฺขมสุขํ วา ตมฺปิ อาทิตฺตํ. เกน อาทิตฺตํ? ราคคฺคินา โทสคฺคินา โมหคฺคินา อาทิตฺตํ ชาติยา ชราย มรเณน โสเกหิ ปริเทเวหิ ทุกฺเขหิ โทมนสฺเสหิ อุปายาเสหิ อาทิตฺตนฺติ วทามิ. ฆานํ อาทิตฺตํ คนฺธา อาทิตฺตา ฆานวิญฺญาณํ อาทิตฺตํ ฆานสมฺผสฺโส อาทิตฺโต ยมิทํ ฆานสมฺผสฺสปจฺจยา อุปฺปชฺชติ เวทยิตํ สุขํ วา ทุกฺขํ วา อทุกฺขมสุขํ วา ตมฺปิ อาทิตฺตํ. เกน อาทิตฺตํ? ราคคฺคินา โทสคฺคินา โมหคฺคินา อาทิตฺตํ ชาติยา ชราย มรเณน โสเกหิ ปริเทเวหิ ทุกฺเขหิ โทมนสฺเสหิ อุปายาเสหิ อาทิตฺตนฺติ วทามิ. ชิวฺหา อาทิตฺตา รสา อาทิตฺตา ชิวฺหาวิญฺญาณํ อาทิตฺตํ ชิวฺหาสมฺผสฺโส อาทิตฺโต ยมิทํ ชิวฺหาสมฺผสฺสปจฺจยา อุปฺปชฺชติ เวทยิตํ สุขํ วา ทุกฺขํ วา อทุกฺขมสุขํ วา ตมฺปิ อาทิตฺตํ. เกน อาทิตฺตํ? ราคคฺคินา โทสคฺคินา โมหคฺคินา อาทิตฺตํ ชาติยา ชราย มรเณน โสเกหิ ปริเทเวหิ ทุกฺเขหิ โทมนสฺเสหิ อุปายาเสหิ อาทิตฺตนฺติ วทามิ. กาโย อาทิตฺโต โผฏฺฐพฺพา อาทิตฺตา กายวิญฺญาณํ อาทิตฺตํ กายสมฺผสฺโส อาทิตฺโต ยมิทํ กายสมฺผสฺสปจฺจยา อุปฺปชฺชติ เวทยิตํ สุขํ วา ทุกฺขํ วา อทุกฺขมสุขํ วา ตมฺปิ อาทิตฺตํ. เกน อาทิตฺตํ? ราคคฺคินา โทสคฺคินา โมหคฺคินา อาทิตฺตํ ชาติยา ชราย มรเณน โสเกหิ ปริเทเวหิ ทุกฺเขหิ โทมนสฺเสหิ อุปายาเสหิ อาทิตฺตนฺติ วทามิ. มโน อาทิตฺโต ธมฺมา อาทิตฺตา มโนวิญฺญาณํ อาทิตฺตํ มโนสมฺผสฺโส อาทิตฺโต ยมิทํ มโนสมฺผสฺสปจฺจยา อุปฺปชฺชติ เวทยิตํ สุขํ วา ทุกฺขํ วา อทุกฺขมสุขํ วา ตมฺปิ อาทิตฺตํ. 
ādittapariyāyaṃ niṭṭhitaṃ. ||21|| 
When this exposition was propounded, the minds of those thousand Bhikkhus became free from attachment to the world, and were released from the Âsavas. 
อาทิตตปริยายสูตร จบ 
เกน อาทิตฺตํ? ราคคฺคินา โทสคฺคินา โมหคฺคินา อาทิตฺตํ ชาติยา ชราย มรเณน โสเกหิ ปริเทเวหิ ทุกฺเขหิ โทมนสฺเสหิ อุปายาเสหิ อาทิตฺตนฺติ วทามิ. 
Uruvelapāṭihāriyaṃ tatiyakabhāṇavāraṃ niṭṭhitaṃ. 
Here ends the sermon on 'The Burning.' 
อุรุเวลปาฏิหาริย์ ตติยภาณวาร จบ. 
“เอวํ ปสฺสํ ภิกฺขเว สุตวา อริยสาวโก จกฺขุสฺมิมฺปิ นิพฺพินฺทติ รูเปสุปิ นิพฺพินฺทติ จกฺขุวิญฺญาเณปิ นิพฺพินฺทติ จกฺขุสมฺผสฺเสปิ นิพฺพินฺทติ ยมิทํ จกฺขุสมฺผสฺสปจฺจยา อุปฺปชฺชติ เวทยิตํ สุขํ วา ทุกฺขํ วา อทุกฺขมสุขํ วา ตสฺมิมฺปิ นิพฺพินฺทติ. 
atha kho bhagavā Gayāsīse yathābhirantaṃ viharitvā yena Rājagahaṃ tena cārikaṃ pakkāmi mahatā bhikkhusaṃghena saddhiṃ bhikkhusahassena sabbeh’ eva purāṇajaṭilehi.  atha kho bhagavā anupubbena cārikaṃ caramāno yena Rājagahaṃ tad avasari.  tatra sudaṃ bhagavā Rājagahe viharati Laṭṭhivanuyyāne Supatiṭṭhe cetiye. |1| 
End of the third Bhânavâra concerning the Wonders done at Uruvelâ.  And the Blessed One, after having dwelt at Gayâsisa as long as he thought fit, went forth to Râgaha, accompanied by a great number of Bhikkhus, by one thousand Bhikkhus who all had been Gatilas before. And the Blessed One, wandering from place to place, came to Râgagaha.  There the Blessed One dwelt near Râgagaha, 
ทรงเทศนาโปรดพระเจ้าพิมพิสาร เสด็จพระนครราชคฤห์ครั้งแรก [๕๖] ครั้งนั้น พระผู้มีพระภาคประทับอยู่ ณ ตำบลคยาสีสะตามพระพุทธาภิรมย์แล้วเสด็จจาริกไป โดยมรรคาอันจะไปสู่พระนครราชคฤห์ พร้อมด้วยภิกษุสงฆ์หมู่ใหญ่จำนวน ๑๐๐๐ รูป ล้วนเป็นปุราณชฎิล.  เสด็จจาริกโดยลำดับถึงพระนครราชคฤห์แล้ว.  ทราบว่า พระองค์ประทับอยู่ใต้ต้นไทรชื่อสุประดิษฐเจดีย์ ในสวนตาลหนุ่ม เขตพระนครราชคฤห์นั้น. 
โสตสฺมิมฺปิ นิพฺพินฺทติ สทฺเทสุปิ นิพฺพินฺทติฯเปฯ ฆานสฺมิมฺปิ นิพฺพินฺทติ คนฺเธสุปิ นิพฺพินฺทติฯเปฯ ชิวฺหายปิ นิพฺพินฺทติ รเสสุปิ นิพฺพินฺทติฯเปฯ กายสฺมิมฺปิ นิพฺพินฺทติ โผฏฺฐพฺเพสุปิ นิพฺพินฺทติฯเปฯ มนสฺมิมฺปิ นิพฺพินฺทติ ธมฺเมสุปิ นิพฺพินฺทติ มโนวิญฺญาเณปิ นิพฺพินฺทติ มโนสมฺผสฺเสปิ นิพฺพินฺทติ ยมิทํ มโนสมฺผสฺสปจฺจยา อุปฺปชฺชติ เวทยิตํ สุขํ วา ทุกฺขํ วา อทุกฺขมสุขํ วา ตสฺมิมฺปิ นิพฺพินฺทติ นิพฺพินฺทํ วิรชฺชติ วิราคา วิมุจฺจติ วิมุตฺตสฺมึ วิมุตฺตมิติ ญาณํ โหติ. ขีณา ชาติ วุสิตํ พฺรหฺมจริยํ กตํ กรณียํ นาปรํ อิตฺถตฺตายาติ ปชานาตี”ติ.  อิมสฺมิญฺจ ปน เวยฺยากรณสฺมึ ภญฺญมาเน ตสฺส ภิกฺขุสหสฺสสฺส อนุปาทาย อาสเวหิ จิตฺตานิ วิมุจฺจึสุ.  อาทิตฺตปริยายสุตฺตํ นิฏฺฐิตํ. 
assosi kho rājā Māgadho Seniyo Bimbisāro: samaṇo khalu bho Gotamo Sakyaputto Sakyakulā pabbajito Rājagahaṃ anuppatto Rājagahe viharati Laṭṭhivanuyyāne Supatiṭṭhe cetiye.  taṃ kho pana bhagavantaṃ Gotamaṃ evaṃ kalyāṇo kittisaddo abbhuggato iti pi, so bhagavā arahaṃ sammāsambuddho vijjācaraṇasampanno sugato lokavidū anuttaro purisadammasārathi satthā devamanussānaṃ buddho bhagavā, so imaṃ lokaṃ sadevakaṃ samārakaṃ sabrahmakaṃ sassamaṇabrāhmaṇiṃ pajaṃ sadevamanussaṃ sayaṃ abhiññā sacchikatvā pavedeti, so dhammaṃ deseti ādikalyāṇaṃ majjhekalyāṇaṃ pariyosānakalyāṇaṃ sātthaṃ savyañjanaṃ kevalaparipuṇṇaṃ parisuddhaṃ brahmacariyaṃ pakāseti.  sādhu kho pana tathārūpānaṃ arahataṃ dassanaṃ hotīti. |2| 
in the Latthivana pleasure garden, near the sacred shrine of Supatittha.  Then the Magadha king Seniya Bimbisâra heard: 'The Samana Gotama Sakyaputta, an ascetic of the Sakya tribe, has just arrived at Râgagaha and is staying near Râgagaha, in the Latthivana pleasure garden, near the sacred shrine of Supatittha.  Of Him the blessed Gotama such a glorious fame is spread abroad: "Truly he is the blessed, holy, absolute Sambuddha, endowed with knowledge and conduct, the most happy One, who understands all worlds, the highest One, who guides men as a driver curbs a bullock, the teacher of gods and men, the blessed Buddha. He makes known the Truth, which he has understood himself and seen face to face, to this world system with its devas, its Mâras, and its Brahmâs; to all beings, Samanas and Brâhmanas, gods and men; he preaches that Truth (Dhamma) which is glorious in the beginning, glorious in the middle, glorious at the end, in the spirit and in the letter; he proclaims a consummate, perfect, and pure life." 
[๕๗] พระเจ้าพิมพิสารจอมเสนามาคธราช ได้ทรงสดับข่าวถนัดแน่ว่า พระสมณโคดมศากยบุตรทรงผนวชจากศากยตระกูล เสด็จพระนครราชคฤห์โดยลำดับ ประทับอยู่ใต้ต้นไทร ชื่อสุประดิษฐเจดีย์ ในสวนตาลหนุ่ม เขตพระนครราชคฤห์  ก็แลพระกิตติศัพท์อันงามของท่านพระโคดมพระองค์นั้น ขจรไปแล้วอย่างนี้ว่า แม้เพราะเหตุนี้ๆ พระผู้มีพระภาคพระองค์นั้นทรง เป็นพระอรหันต์ ตรัสรู้เองโดยชอบ สมบูรณ์ด้วยวิชชาและจรณะ เสด็จไปดี ทรงทราบโลก ทรงเป็นสารถีฝึกบุรุษที่ควรฝึก ไม่มีผู้อื่นยิ่งกว่า เป็นศาสดาของเทพและมนุษย์ทั้งหลาย เป็นผู้เบิกบานแล้ว เป็นผู้จำแนกธรรม พระองค์ทรงทำโลกนี้ พร้อมทั้งเทวโลก มารโลก พรหมโลก ให้แจ้งชัด ด้วยพระปัญญาอันยิ่งของพระองค์เอง แล้วทรงสอนหมู่สัตว์พร้อมทั้งสมณะ พราหมณ์ เทพ และมนุษย์ ให้รู้ ทรงแสดงธรรมงามในเบื้องต้น งามในท่ามกลาง งามในที่สุด ทรงประกาศพรหมจรรย์ พร้อมทั้งอรรถทั้งพยัญชนะบริบูรณ์บริสุทธิ์  อนึ่ง การเห็นพระอรหันต์ทั้งหลายเห็นปานนั้น เป็นความดี. 
อุรุเวลปาฏิหาริยํ ตติยภาณวาโร นิฏฺฐิโต.  (๑๓. พิมฺพิสารสมาคมกถา) ๕๕. อถ โข ภควา คยาสีเส ยถาภิรนฺตํ วิหริตฺวา เยน ราชคหํ เตน จาริกํ ปกฺกามิ มหตา ภิกฺขุสงฺเฆน สทฺธึ ภิกฺขุสหสฺเสน สพฺเพเหว ปุราณชฏิเลหิ.  อถ โข ภควา อนุปุพฺเพน จาริกํ จรมาโน เยน ราชคหํ ตทวสริ. 
atha kho rājā Māgadho Seniyo Bimbisāro dvādasanahutehi Māgadhikehi brāhmaṇagahapatikehi parivuto yena bhagavā ten’ upasaṃkami, upasaṃkamitvā bhagavantaṃ abhivādetvā ekamantaṃ nisīdi.  te pi kho dvādasanahutā Māgadhikā brāh-(36)maṇagahapatikā appekacce bhagavantaṃ abhivādetvā ekamantaṃ nisīdiṃsu, appekacce bhagavatā saddhiṃ sammodiṃsu, sammodanīyaṃ kathaṃ sāraṇīyaṃ vītisāretvā ekamantaṃ nisīdiṃsu, appekacce yena bhagavā ten’ añjaliṃ paṇāmetvā ekamantaṃ nisīdiṃsu, appekacce bhagavato santike nāmagottaṃ sāvetvā ekamantam nisīdiṃsu, {appekacce} tuṇhibhūtā ekamantaṃ nisīdiṃsu. |3| 
It is good to obtain the sight of holy men (Arahats) like that.'  And the Magadha king Seniya Bimbisâra, surrounded by twelve myriads of Magadha Brâhmanas and householders, went to the place where the Blessed One was; having approached him and respectfully saluted the Blessed One, he sat down near him. 
หลังจากนั้น พระเจ้าพิมพิสารจอมเสนามาคธราช ทรงแวดล้อมด้วยพราหมณ์คหบดีชาวมคธ ๑๒ นหุต เสด็จเข้าไปเฝ้าพระผู้มีพระภาค ครั้นถึงจึงถวายบังคมพระผู้มีพระภาค แล้วประทับนั่ง ณ ที่ควรส่วนข้างหนึ่ง.  ส่วนพราหมณ์คหบดีชาวมคธ ๑๒ นหุต นั้นแล บางพวกถวายบังคมพระผู้มีพระภาคแล้วนั่ง ณ ที่ควรส่วนข้างหนึ่ง บางพวกได้ทูลปราศรัยกับพระผู้มีพระภาค ครั้นผ่านการทูลปราศรัยพอให้เป็นที่บันเทิง เป็นที่ระลึกถึงกันไปแล้ว จึงนั่ง ณ ที่ควรส่วนข้างหนึ่ง บางพวกประคองอัญชลีไปทางที่พระผู้มีพระภาคประทับ แล้วนั่ง ณ ที่ควรส่วนข้างหนึ่ง บางพวกประกาศนามและโคตรในสำนักพระผู้มีพระภาค แล้วนั่ง ณ ที่ควรส่วนข้างหนึ่ง บางพวกนั่งนิ่งอยู่ ณ ที่ควรส่วนข้างหนึ่ง. 
ตตฺร สุทํ ภควา ราชคเห วิหรติ ลฏฺฐิวเน สุปฺปติฏฺเฐ เจติเย.  อสฺโสสิ โข ราชา มาคโธ เสนิโย พิมฺพิสาโร สมโณ ขลุ โภ โคตโม สกฺยปุตฺโต สกฺยกุลา ปพฺพชิโต ราชคหํ อนุปฺปตฺโต ราชคเห วิหรติ ลฏฺฐิวเน สุปฺปติฏฺเฐ เจติเย. 
atha kho tesaṃ dvādasanahutānaṃ Māgadhikānaṃ brāhmaṇagahapatikānaṃ etad ahosi:  kiṃ nu kho mahāsamaṇo Uruvelakassape brahmacariyaṃ carati, udāhu Uruvelakassapo mahāsamaṇe brahmacariyaṃ caratīti.  atha kho bhagavā tesaṃ dvādasanahutānaṃ Māgadhikānaṃ brāhmaṇagahapatikānaṃ cetasā cetoparivitakkaṃ aññāya āyasmantaṃ Uruvelakassapaṃ gāthāya ajjhabhāsi:  kim eva disvā Uruvelavāsi pahāsi aggiṃ kisako vadāno. pucchāmi taṃ Kassapa etam atthaṃ, kathaṃ pahīnaṃ tava aggihuttan ti. |  rūpe ca sadde ca atho rase ca kāmitthiyo cābhivadanti yaññā. etaṃ malan ti upadhīsu ñatvā, tasmā na yiṭṭhe na hute arañjin ti. |4| 
And of those twelve myriads of Magadha Brâhmanas and householders some also respectfully saluted the Blessed One and sat down near him; some exchanged greeting with the Blessed One, having exchanged with him greeting and complaisant words, they sat down near him; some bent their clasped hands towards the Blessed One and sat down near him; some shouted out their name and their family name before the Blessed One and sat down near him; some silently sat down near him.  Now those twelve myriads of Magadha Brâhmanas and householders thought:  'How now is this? has the great Samana placed himself under the spiritual direction of Uruvelâ Kassapa, or has Uruvelâ Kassapa placed himself under the spiritual direction of the great Samana?'  And the Blessed One, who understood in his mind the reflection which had arisen in the minds of those twelve myriads of Magadha Brâhmanas and householders, addressed the venerable Uruvelâ Kassapa in this stanza:  'What knowledge have you gained, O inhabitant of Uruvelâ, that has induced you, who were renowned for your penances, to forsake your sacred fire? I ask you, Kassapa, this question: How is it that your fire sacrifice has become deserted?' 
ครั้งนั้น พราหมณ์คหบดีชาวมคธ ๑๒ นหุตนั้นได้มีความดำริว่า  พระมหาสมณะประพฤติพรหมจรรย์ในท่านอุรุเวลกัสสป หรือว่าท่านอุรุเวลกัสสปประพฤติพรหมจรรย์ในพระมหาสมณะ.  ลำดับนั้น พระผู้มีพระภาคทรงทราบความดำริในใจของพราหมณ์คหบดีชาวมคธ ๑๒ นหุตนั้น ด้วยพระทัยของพระองค์ ได้ตรัสกะท่านพระอุรุเวลกัสสปด้วยพระคาถาว่า ดังนี้:-  ดูกรท่านผู้อยู่ในอุรุเวลามานาน เคยเป็นอาจารย์สั่งสอนหมู่ชฎิลผู้ผอม เพราะกำลังพรต ท่านเห็นเหตุอะไร จึงยอมละเพลิงเสียเล่า? ดูกรกัสสป เราถามเนื้อความนี้กะท่าน ท่านละเพลิงที่บูชาเสียทำไมเล่า?  ท่านพระอุรุเวลกัสสปทูลตอบว่า ยัญทั้งหลายกล่าวยกย่องรูปเสียงและรสที่น่าปรารถนาและสตรีทั้งหลาย ข้าพระพุทธเจ้ารู้ว่านั่นเป็นมลทินในอุปธิทั้งหลายแล้ว เพราะเหตุนั้น จึงไม่ยินดี ในการเซ่นสรวง ในการบูชา. 
ตํ โข ปน ภควนฺตํ โคตมํ เอวํ กลฺยาโณ กิตฺติสทฺโท อพฺภุคฺคโต อิติปิ โส ภควา อรหํ สมฺมาสมฺพุทฺโธ วิชฺชาจรณสมฺปนฺโน สุคโต โลกวิทู อนุตฺตโร ปุริสทมฺมสารถิ สตฺถา เทวมนุสฺสานํ พุทฺโธ ภควา . โส อิมํ โลกํ สเทวกํ สมารกํ สพฺรหฺมกํ สสฺสมณพฺราหฺมณึ ปชํ สเทวมนุสฺสํ สยํ อภิญฺญา สจฺฉิกตฺวา ปเวเทติ. โส ธมฺมํ เทเสติ อาทิกลฺยาณํ มชฺเฌกลฺยาณํ ปริโยสานกลฺยาณํ สาตฺถํ สพฺยญฺชนํ เกวลปริปุณฺณํ ปริสุทฺธํ พฺรหฺมจริยํ ปกาเสติ.  สาธุ โข ปน ตถารูปานํ อรหตํ ทสฺสนํ โหตีติ.  อถ โข ราชา มาคโธ เสนิโย พิมฺพิสาโร ทฺวาทสนหุเตหิ มาคธิเกหิ พฺราหฺมณคหปติเกหิ ปริวุโต เยน ภควา เตนุปสงฺกมิ อุปสงฺกมิตฺวา ภควนฺตํ อภิวาเทตฺวา เอกมนฺตํ นิสีทิ.  เตปิ โข ทฺวาทสนหุตา มาคธิกา พฺราหฺมณคหปติกา อปฺเปกจฺเจ ภควนฺตํ อภิวาเทตฺวา เอกมนฺตํ นิสีทึสุ อปฺเปกจฺเจ ภควตา สทฺธึ สมฺโมทึสุ สมฺโมทนียํ กถํ สารณียํ วีติสาเรตฺวา เอกมนฺตํ นิสีทึสุ อปฺเปกจฺเจ เยน ภควา เตนญฺชลึ ปณาเมตฺวา เอกมนฺตํ นิสีทึสุ อปฺเปกจฺเจ ภควโต สนฺติเก นามโคตฺตํ สาเวตฺวา เอกมนฺตํ นิสีทึสุ อปฺเปกจฺเจ ตุณฺหีภูตา เอกมนฺตํ นิสีทึสุ.  อถ โข เตสํ ทฺวาทสนหุตานํ มาคธิกานํ พฺราหฺมณคหปติกานํ เอตทโหสิ 
ettha ca te mano na ramittha Kassapā ’ti bhagavā avoca, rūpesu saddesu atho rasesu atha ko carahi devamanussaloke rato mano Kassapa brūhi me tan ti. |  disvā padaṃ santam anupadhīkaṃ akiñcanaṃ kāmabhave asattaṃ anaññathābhāviṃ anaññaneyyaṃ, tasmā na yiṭṭhe na hute arañjin ti. |5| 
(Kassapa replied): 'It is visible things and sounds, and also tastes, pleasures and woman that the sacrifices speak of; because I understood that whatever belongs to existence is filth, therefore I took no more delight in sacrifices and offerings.'  'But if your mind, Kassapa (said the Blessed One), found there no more delight,--either in visible things, or sounds, or tastes,--what is it in the world of men or gods in which your mind, Kassapa, now finds delight? Tell me that.' 
พระผู้มีพระภาคตรัสถามว่า ดูกรกัสสป ก็ใจของท่านไม่ยินดีแล้วในอารมณ์ คือรูป เสียงและรสเหล่านั้น ดูกรกัสสป ก็เมื่อเป็นเช่นนั้น ใจของท่านยินดีในสิ่งไรเล่า ในเทวโลกหรือมนุษยโลก ท่านจงบอกข้อนั้นแก่เรา?  ท่านพระอุรุเวลกัสสปทูลตอบว่า ข้าพระพุทธเจ้าได้เห็นทางอันสงบ ไม่มีอุปธิ ไม่มีกังวล ไม่ติดอยู่ในกามภพ ไม่มีภาวะเป็นอย่างอื่น ไม่ใช่ธรรมที่ผู้อื่นแนะให้บรรลุ เพราะฉะนั้น จึงไม่ยินดีในการเซ่นสรวง ในการบูชา 
“กึ นุ โข มหาสมโณ อุรุเวลกสฺสเป พฺรหฺมจริยํ จรติ อุทาหุ อุรุเวลกสฺสโป มหาสมเณ พฺรหฺมจริยํ จรตี”ติ?  อถ โข ภควา เตสํ ทฺวาทสนหุตานํ มาคธิกานํ พฺราหฺมณคหปติกานํ เจตสา เจโตปริวิตกฺกมญฺญาย อายสฺมนฺตํ อุรุเวลกสฺสปํ คาถาย อชฺฌภาสิ 
atha kho āyasmā Uruvelakassapo uṭṭhāyāsanā ekaṃsaṃ uttarāsaṅgaṃ karitvā bhagavato pādesu sirasā nipatitvā bhagavantaṃ etad avoca: satthā me bhante bhagavā, sāvako ’ham asmi, satthā me bhante bhagavā, sāvako ’ham asmīti.  atha kho tesaṃ dvādasanahutānaṃ Māgadhikānaṃ brāhmaṇagahapatikānaṃ etad ahosi:  Uruvelakassapo mahāsamaṇe brahmacariyaṃ caratīti. |6| 
(Kassapa replied): 'I have seen the state of peace (i.e. Nirvâna) in which the basis of existence (upadhi) and the obstacles to perfection (kiñkana) have ceased, which is free from attachment to sensual existence, which cannot pass over into another state, which cannot be led to another state; therefore I took no more delight in sacrifices and offerings.'  Then the venerable Uruvelâ Kassapa rose from his seat, adjusted his upper robe so as to cover one shoulder, prostrated himself, inclining his head to the feet of the Blessed One, and said to the Blessed One: 'My teacher, Lord, is the Blessed One, I am his pupil; my teacher, Lord, is the Blessed One, I am his pupil.'  Then those twelve myriads of Magadha Brâhmanas and householders understood: 
[๕๘] ลำดับนั้น ท่านพระอุรุเวลกัสสปลุกจากอาสนะ ห่มผ้าอุตราสงค์เฉวียงบ่า ซบเศียรลงที่พระบาทของพระผู้มีพระภาค แล้วได้กราบทูลพระผู้มีพระภาคว่า พระพุทธเจ้าข้า พระผู้มีพระภาคเป็นพระศาสดาของข้าพระพุทธเจ้า ข้าพระพุทธเจ้าเป็นสาวก, พระผู้มีพระภาคเป็นพระศาสดาของข้าพระพุทธเจ้า ข้าพระพุทธเจ้าเป็นสาวก พระพุทธเจ้าข้า.  ลำดับนั้น พราหมณ์คหบดีชาวมคธ ทั้ง ๑๒ นหุต นั้น ได้มีความเข้าใจว่า  ท่านพระอุรุเวลกัสสปประพฤติพรหมจรรย์ในพระมหาสมณะ. 
“กิเมว ทิสฺวา อุรุเวลวาสิ ปหาสิ อคฺคิ๎ กิสโกวทาโน. ปุจฺฉามิ ตํ กสฺสป เอตมตฺถํ กถํ ปหีนํ ตว อคฺคิหุตฺตนฺติฯ  “รูเป จ สทฺเท จ อโถ รเส จ. กามิตฺถิโย จาภิวทนฺติ ยญฺญา. เอตํ มลนฺติ อุปธีสุ ญตฺวา. ตสฺมา น ยิฏฺเฐ น หุเต อรญฺชินฺติฯ  “เอตฺเถว เต มโน น รมิตฺถ (กสฺสปาติ ภควา). รูเปสุ สทฺเทสุ อโถ รเสสุ. อถ โก จรหิ เทวมนุสฺสโลเก. รโต มโน กสฺสป พฺรูหิ เมตนฺติฯ 
atha kho bhagavā tesaṃ dvādasanahutānaṃ Māgadhikānaṃ brāhmaṇagahapatikānaṃ ce-(37)tasā cetoparivitakkaṃ aññāya anupubbikathaṃ kathesi seyyath’ īdaṃ: dānakathaṃ sīlakathaṃ saggakathaṃ kāmānaṃ ādīnavaṃ okāraṃ saṃkilesaṃ nekkhamme ānisaṃsaṃ pakāsesi.  yadā te bhagavā aññāsi kallacitte muducitte vinīvaraṇacitte udaggacitte pasannacitte, atha yā buddhānaṃ sāmukkaṃsikā dhammadesanā, taṃ pakāsesi, dukkhaṃ samudayaṃ nirodhaṃ maggaṃ. |7| 
'Uruvelâ Kassapa has placed himself under the spiritual direction of the great Samana.'  And the Blessed One, who understood in his mind the reflection that had arisen in the minds of those twelve myriads of Magadha Brâhmanas and householders, preached to them in due course 
ครั้งนั้น พระผู้มีพระภาคทรงทราบความปริวิตกแห่งจิตของพราหมณ์คหบดีชาวมคธทั้ง ๑๒ นหุตนั้น ด้วยพระทัยของพระองค์แล้ว ทรงแสดงอนุปุพพิกถา คือทรงประกาศทานกถา สีลกถา สัคคกถา โทษ ความต่ำทราม ความเศร้าหมองของกามทั้งหลายและอานิสงส์ในความออกจากกาม.  เมื่อพระผู้มีพระภาคทรงทราบว่า พวกเขามีจิตสงบ มีจิตอ่อน มีจิตปลอดจากนิวรณ์ มีจิตเบิกบาน มีจิตผ่องใสแล้ว จึงทรงประกาศพระธรรมเทศนาที่พระพุทธเจ้าทั้งหลายทรงยกขึ้นแสดงด้วยพระองค์เอง คือทุกข์ สมุทัย นิโรธ มรรค. 
“ทิสฺวา ปทํ สนฺตมนูปธีกํ. อกิญฺจนํ กามภเว อสตฺตํ. อนญฺญถาภาวิมนญฺญเนยฺยํ. ตสฺมา น ยิฏฺเฐ น หุเต อรญฺชิ”นฺติฯ  ๕๖. อถ โข อายสฺมา อุรุเวลกสฺสโป อุฏฺฐายาสนา เอกํสํ อุตฺตราสงฺคํ กริตฺวา ภควโต ปาเทสุ สิรสา นิปติตฺวา ภควนฺตํ เอตทโวจ “สตฺถา เม ภนฺเต ภควา สาวโกหมสฺมิ สตฺถา เม ภนฺเต ภควา สาวโกหมสฺมี”ติ. 
seyyathāpi nāma suddhaṃ vatthaṃ apagatakāḷakaṃ sammad eva rajanaṃ paṭigaṇheyya, evam eva ekādasanahutānaṃ Māgadhikānaṃ brāhmaṇagahapatikānaṃ Bimbisārapamukhānaṃ tasmiṃ yeva āsane virajaṃ vītamalaṃ dhammacakkhuṃ udapādi yaṃ kiñci samudayadhammaṃ sabbaṃ taṃ nirodhadhamman ti, ekanahutaṃ upāsakattaṃ paṭivedesi. |8| 
(&c., as in chap. 7, §§ 5, 6, down to:). 
ดวงตาเห็นธรรม ปราศจากธุลี ปราศจากมลทิน ว่าสิ่งใดสิ่งหนึ่งมีความเกิดขึ้นเป็นธรรมดาสิ่งนั้นทั้งหมดมีความดับเป็นธรรมดา ได้เกิดแก่พราหมณ์คหบดีชาวมคธ ๑๑ นหุต ซึ่งมีพระเจ้าพิมพิสารเป็นประมุข ณ ที่นั่งนั้นแล ดุจผ้าที่สะอาด ปราศจากมลทิน ควรได้รับน้ำย้อมเป็นอย่างดี ฉะนั้น. พราหมณ์คหบดีอีก ๑ นหุต แสดงตนเป็นอุบาสก. 
อถ โข เตสํ ทฺวาทสนหุตานํ มาคธิกานํ พฺราหฺมณคหปติกานํ เอตทโหสิ 
atha kho rājā Māgadho Seniyo Bimbisāro diṭṭhadhammo pattadhammo viditadhammo pariyogāḷhadhammo tiṇṇavicikiccho vigatakathaṃkatho vesārajjappatto aparappaccayo satthu sāsane bhagavantaṃ etad avoca:  pubbe me bhante kumārassa sato pañca assāsakā ahesuṃ, te me etarahi samiddhā. pubbe me bhante kumārassa sato etad ahosi:  aho vata maṃ rajje abhisiñceyyun ti, ayaṃ kho me bhante paṭhamo assāsako ahosi, so me etarahi samiddho.  tassa ca me vijitaṃ arahaṃ sammāsambuddho okkameyyā ’ti, ayaṃ kho me bhante dutiyo assāsako ahosi, so me etarahi samiddho. |9| 
Just as a clean cloth free from black specks properly takes the dye, thus eleven myriads of those Magadha Brâhmanas and householders with Bimbisâra at their head, while sitting there, obtained the pure and spotless Eye of the Truth (that is, the knowledge): 'Whatsoever is subject to the condition of origination is subject also to the condition of cessation.' One myriad announced their having become lay-pupils.  Then the Magadha king Seniya Bimbisâra, having seen the Truth (&c. . . . . down to) dependent on nobody else for the knowledge of the Teacher's doctrine, said to the Blessed One:  'In former days, Lord, when I was a prince, I entertained five wishes; these are fulfilled now.  In former days, Lord, when I was a prince, I wished: "O that I might be inaugurated as king." This was my first wish, Lord; this is fulfilled now. 
[๕๙] ครั้งนั้น พระเจ้าพิมพิสารจอมเสนามาคธราช ได้ทรงเห็นธรรมแล้ว ได้ทรงบรรลุธรรมแล้ว ได้ทรงรู้ธรรมแจ่มแจ้งแล้ว ทรงมีธรรมอันหยั่งลงแล้ว ทรงข้ามความสงสัยได้แล้วnปราศจากถ้อยคำแสดงความสงสัย ทรงถึงความเป็นผู้แกล้วกล้า ไม่ต้องทรงเชื่อผู้อื่นในคำสอนของพระศาสดา ได้ทูลพระวาจานี้ต่อพระผู้มีพระภาคว่า  ครั้งก่อน เมื่อหม่อมฉันยังเป็นราชกุมารได้มีความปรารถนา ๕ อย่าง บัดนี้ ความปรารถนา ๕ อย่างนั้น ของหม่อมฉันสำเร็จแล้ว.  ความปรารถนา ๕ อย่าง ๑. ครั้งก่อน เมื่อหม่อมฉันยังเป็นราชกุมาร ได้มีความปรารถนาว่า ไฉนหนอ ชนทั้งหลายพึงอภิเษกเราในราชสมบัติดังนี้ นี้เป็นความปรารถนาของหม่อมฉันประการที่ ๑ บัดนี้ความปรารถนานั้น ของหม่อมฉันสำเร็จแล้ว พระพุทธเจ้าข้า  ๒. ขอพระอรหันตสัมมาสัมพุทธเจ้า พึงเสด็จมาสู่แว่นแคว้นของหม่อมฉันนั้น นี้เป็นความปรารถนาของหม่อมฉันประการที่ ๒ บัดนี้ ความปรารถนานั้นของหม่อมฉันสำเร็จแล้ว พระพุทธเจ้าข้า 
“อุรุเวลกสฺสโป มหาสมเณ พฺรหฺมจริยํ จรตี”ติ.  อถ โข ภควา เตสํ ทฺวาทสนหุตานํ มาคธิกานํ พฺราหฺมณคหปติกานํ เจตสา เจโตปริวิตกฺกมญฺญาย อนุปุพฺพิ๎ กถํ กเถสิ เสยฺยถิทํ ทานกถํ สีลกถํ สคฺคกถํ กามานํ อาทีนวํ โอการํ สํกิเลสํ เนกฺขมฺเม อานิสํสํ ปกาเสสิ.  ยทา เต ภควา อญฺญาสิ กลฺลจิตฺเต มุทุจิตฺเต วินีวรณจิตฺเต อุทคฺคจิตฺเต ปสนฺนจิตฺเต อถ ยา พุทฺธานํ สามุกฺกํสิกา ธมฺมเทสนา ตํ ปกาเสสิ ทุกฺขํ สมุทยํ นิโรธํ มคฺคํ.  เสยฺยถาปิ นาม สุทฺธํ วตฺถํ อปคตกาฬกํ สมฺมเทว รชนํ ปฏิคฺคณฺเหยฺย เอวเมว เอกาทสนหุตานํ มาคธิกานํ พฺราหฺมณคหปติกานํ พิมฺพิสารปฺปมุขานํ ตสฺมึ เยว อาสเน วิรชํ วีตมลํ ธมฺมจกฺขุํ อุทปาทิ ยํ กิญฺจิ สมุทยธมฺมํ สพฺพํ ตํ นิโรธธมฺมนฺติ. เอกนหุตํ อุปาสกตฺตํ ปฏิเวเทสิ. 
tañ cāhaṃ bhagavantaṃ payirupāseyyan ti, ayaṃ kho me bhante tatiyo assāsako ahosi, so me etarahi samiddho.  so ca me bhagavā dhammaṃ deseyyā ’ti, ayaṃ kho me bhante catuttho assāsako ahosi, so me etarahi samiddho.  tassa cāhaṃ bhagavato dhammaṃ ājāneyyan ti, ayaṃ kho me bhante pañcamo assāsako ahosi, so me etarahi samiddho.  pubbe me bhante kumārassa sato ime pañca assāsakā ahesuṃ, te me etarahi samiddhā. |10| 
"And might then the holy, absolute Sambuddha come into my kingdom." This was my second wish, Lord; this is fulfilled now.  '"And might I pay my respects to Him, the Blessed One." This was my third wish, Lord; this is fulfilled now.  "And might He the Blessed One preach his doctrine (Dhamma) to me." This was my fourth wish, Lord; this is fulfilled now.  "And might I understand His, the Blessed One's doctrine." This was my fifth wish, Lord; this is fulfilled now. 
๓. ขอหม่อมฉันพึงได้เข้าเฝ้าพระผู้มีพระภาคพระองค์นั้น นี้เป็นความปรารถนาของหม่อมฉันประการที่ ๓ บัดนี้ ความปรารถนานั้น ของหม่อมฉันสำเร็จแล้ว พระพุทธเจ้าข้า  ๔. ขอพระผู้มีพระภาคพระองค์นั้นพึงแสดงธรรมแก่หม่อมฉัน นี้เป็นความปรารถนาของหม่อมฉันประการที่ ๔ บัดนี้ความปรารถนานั้น ของหม่อมฉันสำเร็จแล้ว พระพุทธเจ้าข้า  ๕. ขอหม่อมฉันพึงรู้ทั่วถึงธรรมของพระผู้มีพระภาคพระองค์นั้น นี้เป็นความปรารถนาของหม่อมฉันประการที่ ๕ บัดนี้ ความปรารถนานั้น ของหม่อมฉันสำเร็จแล้ว พระพุทธเจ้าข้า  พระพุทธเจ้าข้า ครั้งก่อนหม่อมฉันยังเป็นราชกุมาร ได้มีความปรารถนา ๕ อย่างนี้ บัดนี้ความปรารถนา ๕ อย่างนั้นของหม่อมฉันสำเร็จแล้ว 
๕๗. อถ โข ราชา มาคโธ เสนิโย พิมฺพิสาโร ทิฏฺฐธมฺโม ปตฺตธมฺโม วิทิตธมฺโม ปริโยคาฬฺหธมฺโม ติณฺณวิจิกิจฺโฉ วิคตกถํกโถ เวสารชฺชปฺปตฺโต อปรปฺปจฺจโย สตฺถุสาสเน ภควนฺตํ เอตทโวจ  “ปุพฺเพ เม ภนฺเต กุมารสฺส สโต ปญฺจ อสฺสาสกา อเหสุํ เต เม เอตรหิ สมิทฺธา. ปุพฺเพ เม ภนฺเต กุมารสฺส สโต เอตทโหสิ  ‘อโห วต มํ รชฺเช อภิสิญฺเจยฺยุ’นฺติ อยํ โข เม ภนฺเต ปฐโม อสฺสาสโก อโหสิ โส เม เอตรหิ สมิทฺโธ.  ‘ตสฺส จ เม วิชิตํ อรหํ สมฺมาสมฺพุทฺโธ โอกฺกเมยฺยา’ติ อยํ โข เม ภนฺเต ทุติโย อสฺสาสโก อโหสิ โส เม เอตรหิ สมิทฺโธ. 
abhikkantaṃ bhante, abhikkantaṃ bhante, seyyathāpi bhante nikkujjitaṃ vā. ukkujjeyya paṭicchannaṃ vā vivareyya mūḷhassa vā maggaṃ ācikkheyya andhakāre vā telapajjotaṃ dhāreyya cakkhumanto rūpāni dakkhintīti, evam eva bhagavatā anekapariyāyena dhammo pakāsito.  es’ āhaṃ bhante bhagavantaṃ saraṇaṃ gacchāmi dhammañ ca bhikkhusaṃghañ ca, upāsakaṃ maṃ bhante bhagavā dhāretu ajjatagge pāṇupetaṃ saraṇaṃ gatan ti, adhivāsetu ca me bhante (38) bhagavā svātanāya bhattaṃ saddhiṃ bhikkhusaṃghenā ’ti.  adhivāsesi bhagavā tunhibhāvena. |11| 
These were the five wishes, Lord, which I entertalned in former days when I was a prince; these are fulfilled now.  'Glorious, Lord! (&c., as in chap. 7. 10, down to:) who has taken his refuge in Him.  And might the Blessed One, Lord, consent to take his meal with me to-morrow together with the fraternity of Bhikkhus.' 
ภาษิตของพระองค์แจ่มแจ้งนัก ภาษิตของพระองค์ไพเราะนัก พระพุทธเจ้าข้า พระองค์ทรงประกาศธรรมโดยอเนกปริยายอย่างนี้ เปรียบเหมือนบุคคลหงายของที่คว่ำ เปิดของที่ปิด บอกทางแก่คนหลงทาง หรือส่องประทีปในที่มืด ด้วยตั้งใจว่า คนมีจักษุจักเห็นรูป ดังนี้  หม่อมฉันนี้ ขอถึงพระผู้มีพระภาค พระธรรมและพระภิกษุสงฆ์ ว่าเป็นสรณะ ขอพระองค์จงทรงจำหม่อมฉันว่า เป็นอุบาสกผู้มอบชีวิตถึงสรณะ จำเดิมแต่วันนี้เป็นต้นไป และขอพระผู้มีพระภาคพร้อมด้วยภิกษุสงฆ์จงทรงรับภัตตาหารของหม่อมฉัน ในวันพรุ่งนี้.  พระผู้มีพระภาคทรงรับด้วยดุษณีภาพ. 
‘ตญฺจาหํ ภควนฺตํ ปยิรุปาเสยฺย’นฺติ อยํ โข เม ภนฺเต ตติโย อสฺสาสโก อโหสิ โส เม เอตรหิ สมิทฺโธ.  ‘โส จ เม ภควา ธมฺมํ เทเสยฺยา’ติ อยํ โข เม ภนฺเต จตุตฺโถ อสฺสาสโก อโหสิ โส เม เอตรหิ สมิทฺโธ.  ‘ตสฺส จาหํ ภควโต ธมฺมํ อาชาเนยฺย’นฺติ อยํ โข เม ภนฺเต ปญฺจโม อสฺสาสโก อโหสิ โส เม เอตรหิ สมิทฺโธ. 
atha kho rājā Māgadho Seniyo Bimbisāro bhagavato adhivāsanaṃ viditvā uṭṭhāyāsanā bhagavantaṃ abhivādetvā padakkhiṇaṃ katvā pakkāmi.  atha kho rājā Māgadho Seniyo Bimbisāro tassā rattiyā accayena paṇītaṃ khādaniyaṃ bhojaniyaṃ paṭiyādāpetvā bhagavato kālaṃ ārocāpesi: kālo bhante, niṭṭhitaṃ bhattan ti.  atha kho bhagavā pubbaṇhasamayaṃ nivāsetvā pattacīvaraṃ ādāya Rājagahaṃ pāvisi mahatā bhikkhusaṃghena saddhiṃ bhikkhusahassena sabbeh’ eva purāṇajaṭilehi. |12| 
The Blessed One expressed his consent by remaining silent.  Then the Magadha king Seniya Bimbisâra, when he understood that the Blessed One had accepted his invitation, rose from his seat, respectfully saluted the Blessed One, and, passing round him with his right side towards him, went away.  And when the night had elapsed, the Magadha king Seniya Bimbisâra ordered excellent food, both hard and soft, to be prepared, and had dinner-time announced to the Blessed One in the words: 'It is time, Lord, the meal is ready.' 
ครั้นพระเจ้าพิมพิสารจอมเสนามาคธราชทรงทราบการรับนิมนต์ของพระผู้มีพระภาคแล้ว เสด็จลุกจากที่ประทับถวายบังคมพระผู้มีพระภาค ทรงทำประทักษิณแล้วเสด็จกลับไป.  [๖๐] หลังจากนั้น พระเจ้าพิมพิสารจอมเสนามาคธราช รับสั่งให้ตกแต่งของเคี้ยวของฉันอันประณีตโดยผ่านราตรีนั้น แล้วให้เจ้าพนักงานไปกราบทูลภัตตกาลแด่พระผู้มีพระภาคว่า ถึงเวลาแล้ว พระพุทธเจ้าข้า ภัตตาหารเสร็จแล้ว.  ขณะนั้นเป็นเวลาเช้า พระผู้มีพระภาคทรงอันตรวาสกแล้ว ทรงถือบาตรจีวร เสด็จพระพุทธดำเนินสู่พระนครราชคฤห์ พร้อมด้วยภิกษุสงฆ์หมู่ใหญ่ จำนวน ๑๐๐๐ รูป ล้วนปุราณชฎิล. 
ปุพฺเพ เม ภนฺเต กุมารสฺส สโต อิเม ปญฺจ อสฺสาสกา อเหสุํ เต เม เอตรหิ สมิทฺธา.  อภิกฺกนฺตํ ภนฺเต อภิกฺกนฺตํ ภนฺเต เสยฺยถาปิ ภนฺเต นิกฺกุชฺชิตํ วา อุกฺกุชฺเชยฺย ปฏิจฺฉนฺนํ วา วิวเรยฺย มูฬฺหสฺส วา มคฺคํ อาจิกฺเขยฺย อนฺธกาเร วา เตลปชฺโชตํ ธาเรยฺย จกฺขุมนฺโต รูปานิ ทกฺขนฺตีติ เอวเมวํ ภควตา อเนกปริยาเยน ธมฺโม ปกาสิโต.  เอสาหํ ภนฺเต ภควนฺตํ สรณํ คจฺฉามิ ธมฺมญฺจ ภิกฺขุสงฺฆญฺจ. อุปาสกํ มํ ภควา ธาเรตุ อชฺชตคฺเค ปาณุเปตํ สรณํ คตํ อธิวาเสตุ จ เม ภนฺเต ภควา สฺวาตนาย ภตฺตํ สทฺธึ ภิกฺขุสงฺเฆนา”ติ 
tena kho pana samayena Sakko devānam indo māṇavakavaṇṇaṃ abhinimminitvā buddhapamukhassa bhikkhusaṃghassa purato-purato gacchati imā gāthāyo gīyamāno:  danto dantehi saha purāṇajaṭilehi vippamutto vippamuttehi siṅgīnikkhasuvaṇṇo Rājagahaṃ pāvisi bhagavā. |  mutto muttehi saha purāṇajaṭilehi vippamutto vippamuttehi siṅgīnikkhasuvaṇṇo Rājagahaṃ pāvisi bhagavā. |  tiṇṇo tiṇṇehi saha purāṇajaṭilehi vippamutto vippamuttehi siṅgīnikkhasuvaṇṇo Rājagahaṃ pāvisi bhagavā. |  dasavāso dasabalo dasadhammavidū dasabhi c’ upeto so dasasataparivāro Rājagahaṃ pāvisi bhagavā ’ti. |13| 
And in the forenoon the Blessed One, having put on his under-robes, took his alms-bowl, and with his kîvara on entered the city of Râgagaha accompanied by a great number of Bhikkhus, by one thousand Bhikkhus who all had been Gatilas before.  At that time Sakka the king of the devas, assuming the appearance of a young Brâhman, walked in front of the Bhikkhu fraternity with Buddha at its head, singing the following stanzas:  'The self-controlled One with the self-controlled, with the former Gatilas, the released One with the released, the Blessed One, gold-coloured like an ornament of singî gold, has entered Râgagaha.  'The emancipated One with the emancipated, with the former Gatilas, &c.  'He who has crossed (the ocean of passion) with them who have crossed (it), with the former Gatilas, the released One with the released, the Blessed One, gold-coloured like an ornament of singi gold, has entered Râgagaha. 
[๖๑] ก็โดยสมัยนั้นแล ท้าวสักกะจอมทวยเทพทรงนิรมิตเพศเป็นมาณพ เสด็จพระดำเนินนำหน้าภิกษุสงฆ์มีพระพุทธเจ้าเป็นประมุข พลางขับคาถาเหล่านี้ ว่าดังนี้:- คาถาสดุดีพระผู้มีพระภาค  พระผู้มีพระภาค มีพระฉวีเสมอด้วยลิ่มทองสิงคี ทรงฝึกอินทรีย์แล้ว ทรงพ้นวิเศษแล้ว เสด็จประเวศสู่พระนครราชคฤห์พร้อมด้วยพระปุราณชฎิลทั้งหลาย ผู้ฝึกอินทรีย์แล้ว ผู้พ้นวิเศษแล้ว.  พระผู้มีพระภาค มีพระฉวีเสมอด้วยลิ่มทองสิงคี ทรงพ้นแล้ว ทรงพ้นวิเศษแล้ว เสด็จประเวศสู่พระนครราชคฤห์พร้อมด้วยพระปุราณชฎิลทั้งหลาย ผู้พ้นแล้ว ผู้พ้นวิเศษแล้ว.  พระผู้มีพระภาค มีพระฉวีเสมอด้วยลิ่มทองสิงคี ทรงสงบแล้ว ทรงพ้นวิเศษแล้ว เสด็จประเวศสู่พระนครราชคฤห์พร้อมด้วยพระปุราณชฎิลทั้งหลาย ผู้สงบแล้ว ผู้พ้นวิเศษแล้ว.  พระผู้มีพระภาคพระองค์นั้นทรงมีอริยวาสธรรม ๑๐ ประการ เป็นเครื่องอยู่ ทรงประกอบด้วยพระกำลัง ๑๐ ทรงทราบธรรม คือ กรรมบถ ๑๐ และทรงประกอบด้วยธรรมอันเป็นองค์ของพระอเสขะ ๑๐ มีภิกษุบริวารพันหนึ่ง เสด็จประเวศสู่พระนครราชคฤห์ 
อธิวาเสสิ ภควา ตุณฺหีภาเวน.  อถ โข ราชา มาคโธ เสนิโย พิมฺพิสาโร ภควโต อธิวาสนํ วิทิตฺวา อุฏฺฐายาสนา ภควนฺตํ อภิวาเทตฺวา ปทกฺขิณํ กตฺวา ปกฺกามิ.  อถ โข ราชา มาคโธ เสนิโย พิมฺพิสาโร ตสฺสา รตฺติยา อจฺจเยน ปณีตํ ขาทนียํ โภชนียํ ปฏิยาทาเปตฺวา ภควโต กาลํ อาโรจาเปสิ “กาโล ภนฺเต นิฏฺฐิตํ ภตฺต”นฺติ.  ๕๘. อถ โข ภควา ปุพฺพณฺหสมยํ นิวาเสตฺวา ปตฺตจีวรมาทาย ราชคหํ ปาวิสิ มหตา ภิกฺขุสงฺเฆน สทฺธึ ภิกฺขุสหสฺเสน สพฺเพเหว ปุราณชฏิเลหิ.  เตน โข ปน สมเยน สกฺโก เทวานมินฺโท มาณวกวณฺณํ อภินิมฺมินิตฺวา พุทฺธปฺปมุขสฺส ภิกฺขุสงฺฆสฺส ปุรโต ปุรโต คจฺฉติ อิมา คาถาโย คายมาโน 
manussā Sakkaṃ devānam indaṃ passitvā evaṃ āhaṃsu:  abhirūpo vatāyaṃ māṇavako, dassanīyo vatāyaṃ māṇavako, pāsādiko vatāyaṃ māṇavako.  kassa nu kho ayaṃ māṇavako ’ti.  evaṃ vutte Sakko devānam indo te manusse gāthāya ajjhabhāsi:  yo dhīro sabbadhī danto buddho appaṭipuggalo arahaṃ sugato loke tassāhaṃ paricārako ’ti. |14| 
'He who is possessed of the ten Noble States and of the ten Powers, who understands the ten Paths of Kamma and possesses the ten (attributes of Arahatship), the Blessed One, surrounded by ten hundred of followers, has entered Râgagaha.'  The people when they saw Sakka the king of the devas, said:  'This youth indeed is handsome; this youth indeed has a lovely appearance; this youth indeed is pleasing. Whose attendant may this youth be?'  When they talked thus,  Sakka the king of the devas addressed those people in this stanza: 
[๖๒] ประชาชนได้เห็นท้าวสักกะจอมทวยเทพแล้วพากันกล่าวอย่างนี้ว่า  พ่อหนุ่มนี้มีรูปงามยิ่งนัก น่าดูนัก น่าชมนัก พ่อหนุ่มนี้ของใครหนอ.  เมื่อประชาชนกล่าวอย่างนี้แล้ว  ท้าวสักกะจอมทวยเทพได้กล่าวตอบประชาชนพวกนั้นด้วยคาถา ว่าดังนี้:-  พระผู้มีพระภาคพระองค์ใดเป็นนักปราชญ์ ทรงฝึกอินทรีย์ทั้งปวงแล้ว เป็นผู้ผ่องแผ้วหาบุคคลเปรียบมิได้ ไกลจากกิเลส เสด็จไปดีแล้วในโลก ข้าพเจ้าเป็นผู้รับใช้ของพระผู้มีพระภาคพระองค์นั้น. 
“ทนฺโต ทนฺเตหิ สห ปุราณชฏิเลหิ วิปฺปมุตฺโต วิปฺปมุตฺเตหิ. สิงฺคีนิกฺขสวณฺโณ ราชคหํ ปาวิสิ ภควาฯ  “มุตฺโต มุตฺเตหิ สห ปุราณชฏิเลหิ วิปฺปมุตฺโต วิปฺปมุตฺเตหิ. สิงฺคีนิกฺขสวณฺโณ ราชคหํ ปาวิสิ ภควาฯ  “ติณฺโณ ติณฺเณหิ สห ปุราณชฏิเลหิ. วิปฺปมุตฺโต วิปฺปมุตฺเตหิ. สิงฺคีนิกฺขสุวณฺโณ. ราชคหํ ปาวิสิ ภควาฯ “สนฺโต สนฺเตหิ สห ปุราณชฏิเลหิ. วิปฺปมุตฺโต วิปฺปมุตฺเตหิ. สิงฺคีนิกฺขสวณฺโณ. ราชคหํ ปาวิสิ ภควาฯ  “ทสวาโส ทสพโล ทสธมฺมวิทู ทสภิ จุเปโต. โส ทสสตปริวาโร ราชคหํ ปาวิสิ ภควา”ติฯ  มนุสฺสา สกฺกํ เทวานมินฺทํ ปสฺสิตฺวา เอวมาหํสุ 
atha kho bhagavā yena rañño Māgadhassa Seniyassa Bimbisārassa nivesanaṃ ten’ upasaṃkami, upasaṃkamitvā paññatte āsane nisīdi saddhiṃ bhikkhusaṃghena.  atha kho rājā Māgadho Seniyo Bimbisāro buddhapamukhaṃ bhikkhusaṃghaṃ paṇītena khādaniyena bhojaniyena sahatthā santappetvā sampavāretvā bhagavantaṃ bhuttāviṃ onītapattapāṇiṃ ekamantaṃ nisīdi. |15| 
'He who is wise, entirely self-controlled, the unrivalled Buddha, tie Arahat, the most happy upon earth: his attendant am I.'  And the Blessed One went to the palace of the Magadha king Seniya Bimbisâra. Having gone there, he sat down with the Bhikkhus who followed him, on seats laid out for them. 
ทรงรับพระเวฬุวันเป็นสังฆิกาวาส [๖๓] ครั้งนั้น พระผู้มีพระภาคเสด็จพระพุทธดำเนินไปสู่พระราชนิเวศน์ของพระเจ้าพิมพิสารจอมเสนามาคธราช ครั้นถึงแล้ว ประทับนั่งเหนือพระพุทธอาสน์ที่เขาจัดถวายพร้อมด้วยภิกษุสงฆ์.  จึงพระเจ้าพิมพิสารจอมเสนามาคธราช ทรงอังคาสภิกษุสงฆ์มีพระพุทธเจ้าเป็นประมุข ด้วยขาทนียโภชนียาหารอันประณีตด้วยพระหัตถ์ของพระองค์ จนให้พระผู้มีพระภาคเสวยเสร็จ ทรงนำพระหัตถ์ออกจากบาตร ห้ามภัตแล้ว จึงประทับนั่ง ณ ที่ควรส่วนข้างหนึ่ง. 
“อภิรูโป วตายํ มาณวโก ทสฺสนีโย วตายํ มาณวโก ปาสาทิโก วตายํ มาณวโก.  กสฺส นุ โข อยํ มาณวโก”ติ? 
ekamantaṃ ni-(39)sinnassa kho rañño Māgadhassa Seniyassa Bimbisārassa etad ahosi:  kattha nu kho bhagavā vihareyya, yaṃ assa gāmato n’ eva avidūre na accāsanne gamanāgamanasampannaṃ atthikānaṃ-atthikānaṃ manussānaṃ abhikkamanīyaṃ, divā appākiṇṇaṃ rattiṃ appasaddaṃ appanigghosaṃ vijanavātaṃ manussarāhaseyyakaṃ paṭisallānasāruppan ti. |16| 
Then the Magadha king Seniya Bimbisâra with his own hands served and offered excellent food, both hard and soft, to the fraternity of Bhikkhus with the Buddha at its head; and when the Blessed One had finished his meal and cleansed his bowl and his hands, he sat down near him.  Sitting near him the Magadha king Seniya Bimbisâra thought: 
ท้าวเธอได้ทรงพระราชดำริว่า  พระผู้มีพระภาคพึงประทับอยู่ ณ ที่ไหนดีหนอ ซึ่งจะเป็นสถานที่ไม่ไกล ไม่ใกล้จากบ้านนัก สะดวกด้วยการคมนาคม ควรที่ประชาชนผู้ต้องประสงค์จะเข้าไปเฝ้าได้ กลางวันไม่พลุกพล่าน กลางคืนเงียบสงัด เสียงไม่กึกก้อง ปราศจากลมแต่ชนที่เดินเข้าออก ควรเป็นที่ประกอบกิจของผู้ต้องการที่สงัด และควรเป็นที่หลีกเร้นอยู่ตามสมณวิสัย. 
เอวํ วุตฺเต สกฺโก เทวานมินฺโท เต มนุสฺเส คาถาย อชฺฌภาสิ  “โย ธีโร สพฺพธิ ทนฺโต สุทฺโธ อปฺปฏิปุคฺคโล. อรหํ สุคโต โลเก ตสฺสาหํ ปริจารโก”ติฯ 
atha kho rañño Māgadhassa Seniyassa Bimbisārassa etad ahosi:  idaṃ kho amhākaṃ Veḷuvanaṃ uyyānaṃ gāmato n’ eva avidūre na accāsanne gamanāgamanasampannaṃ atthikānaṃ-atthikānaṃ manussānaṃ abhikkamanīyaṃ, divā appākiṇṇaṃ, rattiṃ appasaddaṃ appanigghosaṃ vijanavātaṃ manussarāhaseyyakaṃ paṭisallānasāruppaṃ.  yaṃ nūnāhaṃ Veḷuvanaṃ uyyānaṃ buddhapamukhassa bhikkhusaṃghassa dadeyyan ti. |17| 
'Where may I find a place for the Blessed One to live in, not too far from the town and not too near, suitable for going and coming, easily accessible for all people who want (to see him), by day not too crowded, at night not exposed to much noise and alarm, clean of the smell of people, hidden from men, well fitted for a retired life?'  And the Magadha king Seniya Bimbisâra thought:  'There is the Veluvana, my pleasure garden, which is not too far from the town and not too near, suitable for going and coming, . . . . (&c., down to a retired life). 
แล้วได้ทรงพระราชดำริต่อไปว่า  สวนเวฬุวันของเรานี้แล ไม่ไกลไม่ใกล้จากบ้านนัก สะดวกด้วยการคมนาคม ควรที่ประชาชนผู้ต้องประสงค์จะพึงเข้าไปเฝ้าได้ กลางวันไม่พลุกพล่าน กลางคืนเงียบสงัด เสียงไม่กึกก้อง ปราศจากลมแต่ชนที่เข้าออก ควรเป็นที่ประกอบกิจของผู้ต้องการที่สงัด และควรเป็นที่หลีกเร้นอยู่ตามสมณวิสัย  ผิฉะนั้น เราพึงถวายสวนเวฬุวันแก่ภิกษุสงฆ์มีพระพุทธเจ้าเป็นประมุข ดังนี้. 
๕๙. อถ โข ภควา เยน รญฺโญ มาคธสฺส เสนิยสฺส พิมฺพิสารสฺส นิเวสนํ เตนุปสงฺกมิ อุปสงฺกมิตฺวา ปญฺญตฺเต อาสเน นิสีทิ สทฺธึ ภิกฺขุสงฺเฆน.  อถ โข ราชา มาคโธ เสนิโย พิมฺพิสาโร พุทฺธปฺปมุขํ ภิกฺขุสงฺฆํ ปณีเตน ขาทนีเยน โภชนีเยน สหตฺถา สนฺตปฺเปตฺวา สมฺปวาเรตฺวา ภควนฺตํ ภุตฺตาวึ โอนีตปตฺตปาณึ เอกมนฺตํ นิสีทิ.  เอกมนฺตํ นิสินฺนสฺส โข รญฺโญ มาคธสฺส เสนิยสฺส พิมฺพิสารสฺส เอตทโหสิ 
atha kho rājā Māgadho Seniyo Bimbisāro sovaṇṇamayaṃ bhiṅkāraṃ gahetvā bhagavato onojesi etāhaṃ bhante Veḷuvanaṃ uyyānaṃ buddhapamukhassa bhikkhusaṃghassa dammīti.  paṭiggahesi bhagavā ārāmaṃ.  atha kho bhagavā rājānaṃ Māgadhaṃ Seniyaṃ Bimbisāraṃ dhammiyā kathāya sandassetvā samādapetvā samuttejetvā saṃpahaṃsetvā uṭṭhāyāsanā pakkāmi.  atha kho bhagavā etasmiṃ nidāne dhammiṃ kathaṃ katvā bhikkhū āmantesi: anujānāmi bhikkhave ārāman ti. |18| 
What if I were to make an offering of the Veluvana pleasure garden to the fraternity of Bhikkhus with the Buddha at its head?'  And the Magadha king Seniya Bimbisâra took a golden vessel (with water in it, to be poured over the Buddha's hand); and dedicated (the garden) to the Blessed One (by saying), 'I give up this Veluvana pleasure garden, Lord, to the fraternity of Bhikkhus with the Buddha at its head.'  The Blessed One accepted the ârâma (park).  Then the Blessed One, after having taught, incited, animated, and gladdened the Magadha king Seniya Bimbisâra by religious discourse, rose from his seat and went away. 
ลำดับนั้น จึงทรงจับพระสุวรรณภิงคาร ทรงหลั่งน้ำน้อมถวายแด่พระผู้มีพระภาค ด้วยพระราชดำรัสว่า หม่อมฉันถวายสวนเวฬุวันนั่นแก่ภิกษุสงฆ์ มีพระพุทธเจ้าเป็นประมุข พระพุทธเจ้าข้า.  พระผู้มีพระภาคทรงรับอารามแล้ว.  และทรงชี้แจงให้พระเจ้าพิมพิสารจอมเสนามาคธราชทรงเห็นแจ้ง สมาทาน อาจหาญ ร่าเริง ด้วยธรรมีกถา แล้วเสด็จลุกจากที่ประทับเสด็จกลับ.  ต่อมา พระองค์ทรงทำธรรมีกถาในเพราะเหตุเป็นเค้ามูลนั้น แล้วรับสั่งกะภิกษุทั้งหลายว่า ดูกรภิกษุทั้งหลาย เราอนุญาตอาราม. 
“กตฺถ นุ โข ภควา วิหเรยฺย? ยํ อสฺส คามโต เนว อวิทูเร น อจฺจาสนฺเน คมนาคมนสมฺปนฺนํ อตฺถิกานํ อตฺถิกานํ มนุสฺสานํ อภิกฺกมนียํ ทิวา อปฺปากิณฺณํ รตฺตึ อปฺปสทฺทํ อปฺปนิคฺโฆสํ วิชนวาตํ มนุสฺสราหสฺเสยฺยกํ ปฏิสลฺลานสารุปฺป”นฺติ.  อถ โข รญฺโญ มาคธสฺส เสนิยสฺส พิมฺพิสารสฺส เอตทโหสิ  “อิทํ โข อมฺหากํ เวฬุวนํ อุยฺยานํ คามโต เนว อวิทูเร น อจฺจาสนฺเน คมนาคมนสมฺปนฺนํ อตฺถิกานํ อตฺถิกานํ มนุสฺสานํ อภิกฺกมนียํ ทิวา อปฺปากิณฺณํ รตฺตึ อปฺปสทฺทํ อปฺปนิคฺโฆสํ วิชนวาตํ มนุสฺสราหสฺเสยฺยกํ ปฏิสลฺลานสารุปฺปํ.  ยํนูนาหํ เวฬุวนํ อุยฺยานํ พุทฺธปฺปมุขสฺส ภิกฺขุสงฺฆสฺส ทเทยฺย”นฺติ. 
||22|| 
And in consequence of this event the Blessed One, after having delivered a religious discourse, thus addressed the Bhikkhus: 'I allow you, O Bhikkhus, to receive the donation of an ârâma (a park).' 
ทรงเทศนาโปรดพระเจ้าพิมพิสาร จบ. 
อถ โข ราชา มาคโธ เสนิโย พิมฺพิสาโร โสวณฺณมยํ ภิงฺการํ คเหตฺวา ภควโต โอโณเชสิ “เอตาหํ ภนฺเต เวฬุวนํ อุยฺยานํ พุทฺธปฺปมุขสฺส ภิกฺขุสงฺฆสฺส ทมฺมี”ติ. 
tena kho pana samayena Sañjayo paribbājako Rājagahe paṭivasati mahatiyā paribbājakaparisāya saddhiṃ aḍḍhateyyehi paribbājakasatehi.  tena kho pana samayena Sāriputtamoggallānā Sañjaye paribbājake brahmacariyaṃ caranti, tehi katikā katā hoti: yo paṭhamaṃ amataṃ adhigacchati so ārocetū ’ti. |1| 
At that time Sañgaya, a paribbâgaka (wandering ascetic), resided at Râgagaha with a great retinue of paribbâgakas, with two hundred and fifty paribbâgakas. 
พระสารีบุตรและพระโมคคัลลานะบรรพชา/พระอัสสชิเถระ [๖๔] ก็โดยสมัยนั้นแล สญชัยปริพาชกอาศัยอยู่ในพระนครราชคฤห์ พร้อมด้วยปริพาชกบริษัทหมู่ใหญ่ จำนวน ๒๕๐ คน.  ก็ครั้งนั้น พระสารีบุตรพระโมคคัลลานะประพฤติพรหมจรรย์อยู่ในสำนักสญชัยปริพาชก. ท่านทั้งสองได้ทำกติกากันไว้ว่า ผู้ใดบรรลุอมตธรรมก่อน ผู้นั้นจงบอกแก่อีกคนหนึ่ง. 
ปฏิคฺคเหสิ ภควา อารามํ.  อถ โข ภควา ราชานํ มาคธํ เสนิยํ พิมฺพิสารํ ธมฺมิยา กถาย สนฺทสฺเสตฺวา สมาทเปตฺวา สมุตฺเตเชตฺวา สมฺปหํเสตฺวา อุฏฺฐายาสนา ปกฺกามิ. 
atha kho āyasmā Assaji pubbaṇhasamayaṃ nivāsetvā pattacīvaraṃ ādāya Rājagahaṃ piṇḍāya pāvisi pāsādikena abhikkantena paṭikkantena ālokitena vilokitena sammiñjitena pasāritena okkhittacakkhu iriyāpathasampanno.  addasa kho Sāriputto paribbājako āyasmantaṃ Assajiṃ Rājagahe piṇḍāya carantaṃ pāsādikena abhikkantena paṭikkantena ālokitena vilokitena sammiñjitena pasāritena okkhittacakkhuṃ iriyāpathasampannaṃ, disvān’ assa etad ahosi:  ye vata loke arahanto vā arahattamaggaṃ vā samāpannā, ayaṃ tesaṃ bhikkhūnaṃ aññataro, yaṃ nūnā-(40)haṃ imaṃ bhikkhuṃ upasaṃkamitvā puccheyyaṃ: kaṃ ’si tvaṃ āvuso uddissa pabbajito, ko vā te satthā, kassa vā tvaṃ dhammaṃ rocesīti. |2| 
At that time Sâriputta and Moggallâna (two young Brâhmanas) led a religious life as followers of Sañgaya the paribbâgaka; these had given their word to each other: 'He who first attains to the immortal (amata, i.e. Nirvâna) shall tell the other one.'  Now one day the venerable Assagi in the forenoon, having put on his under-robes, and having taken his alms-bowl, and with his kîvara on, entered the city of Râgagaha for alms; his walking, turning back, regarding, looking, drawing (his arms) back, and stretching (them) out was decorous; he turned his eyes to the ground, and was dignified in deportment.  Now the paribbâgaka Sâriputta saw the venerable Assagi, who went through Râgagaha for alms, whose walking, &c., was docorous, who kept his eyes on the ground, and was dignified in deportment. Seeing him he thought: 
ขณะนั้นเป็นเวลาเช้า ท่านพระอัสสชินุ่งอันตรวาสกแล้ว ถือบาตรจีวร เข้าไปบิณฑบาตยังพระนครราชคฤห์ มีมรรยาทก้าวไป ถอยกลับ แลเหลียว คู้แขน เหยียดแขน น่าเลื่อมใส มีนัยน์ตาทอดลง ถึงพร้อมด้วยอิริยาบถ.  สารีบุตรปาริพาชกได้เห็นท่านพระอัสสชิกำลังเที่ยวบิณฑบาตในพระนครราชคฤห์ มีมรรยาทก้าวไป ถอยกลับ แลเหลียว คู้แขน เหยียดแขน น่าเลื่อมใส มีนัยน์ตาทอดลง ถึงพร้อมด้วยอิริยาบถ ครั้นแล้วได้มีความดำริว่า  บรรดาพระอรหันต์ หรือท่านผู้ได้บรรลุพระอรหัตมรรคในโลก ภิกษุรูปนี้คงเป็นผู้ใดผู้หนึ่งแน่ ถ้ากระไร เราพึงเข้าไปหาภิกษุรูปนี้ แล้วถามว่า ท่านบวชเฉพาะใคร ใครเป็นศาสดาของท่าน หรือท่านชอบใจธรรมของใคร? 
อถ โข ภควา เอตสฺมึ นิทาเน เอตสฺมึ ปกรเณ ธมฺมึ กถํ กตฺวา ภิกฺขู อามนฺเตสิ “อนุชานามิ ภิกฺขเว อาราม”นฺติ.  พิมฺพิสารสมาคมกถา นิฏฺฐิตา.  ๑๔. สาริปุตฺตโมคฺคลฺลานปพฺพชฺชากถา 
atha kho Sāriputtassa paribbājakassa etad ahosi: akālo kho imaṃ bhikkhuṃ pucchituṃ, antaragharaṃ paviṭṭho piṇḍāya carati.  yaṃ nūnāhaṃ imaṃ bhikkhuṃ piṭṭhito-piṭṭhito anubandheyyaṃ atthikehi upaññātaṃ maggan ti.  atha kho āyasmā Assaji Rājagahe piṇḍāya caritvā piṇḍapātaṃ ādāya paṭikkami.  atha kho Sāriputto paribbājako yenāyasmā Assaji ten’ upasaṃkami, upasaṃkamitvā āyasmatā Assajinā saddhiṃ sammodi, sammodanīyaṃ kathaṃ sāraṇīyaṃ vītisāretvā ekamantaṃ aṭṭhāsi, ekamantaṃ ṭhito kho Sāriputto paribbājako āyasmantaṃ Assajiṃ etad avoca:  vippasannāni kho te āvuso indriyāni, parisuddho chavivaṇṇo pariyodāto, kaṃ ’si tvaṃ āvuso uddissa pabbajito, ko vā te satthā, kassa vā tvaṃ dhammaṃ rocesīti. |3| 
'Indeed this person is one of those Bhikkhus who are the worthy ones (Arahats) in the world, or who have entered the path of Arahatship. What if I were to approach this Bhikkhu and to ask him: "In whose name, friend, have you retired from the world? Who is your teacher? Whose doctrine do you profess?"'  Now the paribbâgaka Sâriputta thought: 'This is not the time to ask this Bhikkhu; he has entered the interior yard of a house, walking for alms.  What if I were to follow this Bhikkhu step by step, according to the course recognised by those who want something.'  And the venerable Assagi, having finished his alms-pilgrimage through Râgagaha, went back with the food he had received.  Then the paribbâgaka Sâriputta went to the place where the venerable Assagi was; having approached him, he exchanged greeting with the venerable Assagi; having exchanged with him greeting and complaisant words, he stationed himself at his side; standing at his side the paribbâgaka Sâriputta said to the venerable Assagi: 
แล้วได้ดำริต่อไปว่า ยังเป็นกาลไม่สมควรจะถามภิกษุรูปนี้ เพราะท่านกำลังเข้าละแวกบ้านเที่ยวบิณฑบาต  ผิฉะนั้น เราพึงติดตามภิกษุรูปนี้ไปข้างหลังๆ เพราะเป็นทางอันผู้มุ่งประโยชน์ทั้งหลายจะต้องสนใจ.  ครั้งนั้น ท่านพระอัสสชิเที่ยวบิณฑบาตในพระนครราชคฤห์ ถือบิณฑบาตกลับไป.  จึงสารีบุตรปริพาชกเข้าไปหาท่านพระอัสสชิ ถึงแล้วได้พูดปราศรัยกับท่านพระอัสสชิ ครั้นผ่านการพูดปราศรัยพอให้เป็นที่บันเทิง เป็นที่ระลึกถึงกันไปแล้ว ได้ยืนอยู่ ณ ที่ควรส่วนหนึ่ง. สารีบุตรปริพาชกยืนอยู่ ณ ที่ควรส่วนข้างหนึ่งแล้ว ได้กล่าวคำนี้กะท่านพระอัสสชิว่า  อินทรีย์ของท่านผ่องใส ผิวพรรณของท่านบริสุทธิ์ผุดผ่อง ท่านบวชเฉพาะใคร ใครเป็นศาสดาของท่าน หรือท่านชอบใจธรรมของใคร ขอรับ? 
๖๐. เตน โข ปน สมเยน สญฺจโย ปริพฺพาชโก ราชคเห ปฏิวสติ มหติยา ปริพฺพาชกปริสาย สทฺธึ อฑฺฒเตยฺเยหิ ปริพฺพาชกสเตหิ.  เตน โข ปน สมเยน สาริปุตฺตโมคฺคลฺลานา สญฺจเย ปริพฺพาชเก พฺรหฺมจริยํ จรนฺติ. เตหิ กติกา กตา โหติ โย ปฐมํ อมตํ อธิคจฺฉติ โส อิตรสฺส อาโรเจตูติ.  อถ โข อายสฺมา อสฺสชิ ปุพฺพณฺหสมยํ นิวาเสตฺวา ปตฺตจีวรมาทาย ราชคหํ ปิณฺฑาย ปาวิสิ ปาสาทิเกน อภิกฺกนฺเตน ปฏิกฺกนฺเตน อาโลกิเตน วิโลกิเตน สมิญฺชิเตน ปสาริเตน โอกฺขิตฺตจกฺขุ อิริยาปถสมฺปนฺโน.  อทฺทสา โข สาริปุตฺโต ปริพฺพาชโก อายสฺมนฺตํ อสฺสชึ ราชคเห ปิณฺฑาย จรนฺตํ ปาสาทิเกน อภิกฺกนฺเตน ปฏิกฺกนฺเตน อาโลกิเตน วิโลกิเตน สมิญฺชิเตน ปสาริเตน โอกฺขิตฺตจกฺขุํ อิริยาปถสมฺปนฺนํ. ทิสฺวานสฺส เอตทโหสิ  “เย วต โลเก อรหนฺโต วา อรหตฺตมคฺคํ วา สมาปนฺนา อยํ เตสํ ภิกฺขุ อญฺญตโร. ยํนูนาหํ อิมํ ภิกฺขุํ อุปสงฺกมิตฺวา ปุจฺเฉยฺยํ ‘กํสิ ตฺวํ อาวุโส อุทฺทิสฺส ปพฺพชิโต โก วา เต สตฺถา กสฺส วา ตฺวํ ธมฺมํ โรเจสี”’ติ? 
atth’ āvuso mahāsamaṇo Sakyaputto Sakyakulā pabbajito, tāhaṃ bhagavantaṃ uddissa pabbajito, so ca me bhagavā satthā, tassa cāhaṃ bhagavato dhammaṃ rocemīti.  kiṃvādī panāyasmato satthā kimakkhāyīti.  ahaṃ kho āvuso navo acirapabbajito adhunāgato imaṃ dhammavinayaṃ, na t’ āhaṃ sakkomi vitthārena dhammaṃ desetuṃ, api ca te saṃkhittena atthaṃ vakkhāmīti.  atha kho Sāriputto paribbājako āyasmantaṃ Assajiṃ etad avoca: hotu āvuso, appaṃ vā bahuṃ vā bhāsassu, atthaṃ yeva me brūhi, atthen’ eva me attho, kiṃ kāhasi vyañjanaṃ bahun ti. |4| 
'Your countenance, friend, is serene; your complexion is pure and bright. In whose name, friend, have you retired from the world? Who is your teacher? Whose doctrine do you profess?'  (Assagi replied): 'There is, friend, the great Samana Sakyaputta, an ascetic of the Sakya tribe; in His, the Blessed One's, name have I retired from the world; He, the Blessed One, is my teacher; and His, the Blessed One's, doctrine do I profess.'  'And what is the doctrine, Sir, which your teacher holds, and preaches to you?'  'I am only a young disciple, friend; I have but recently received the ordination; and I have newly adopted this doctrine and discipline. I cannot explain to you the doctrine in detail; but I will tell you in short what it means.' 
อ. มีอยู่ ท่าน พระมหาสมณะศากยบุตร เสด็จออกทรงผนวชจากศากยตระกูล เราบวชเฉพาะพระผู้มีพระภาคพระองค์นั้น พระผู้มีพระภาคพระองค์นั้นเป็นศาสดาของเรา และเราชอบใจธรรมของพระผู้มีพระภาคพระองค์นั้น.  สา. ก็พระศาสดาของท่านสอนอย่างไร แนะนำอย่างไร?  อ. เราเป็นคนใหม่ บวชยังไม่นาน เพิ่งมาสู่พระธรรมวินัยนี้ ไม่อาจแสดงธรรมแก่ท่านได้กว้างขวาง แต่จักกล่าวใจความแก่ท่านโดยย่อ.  สา. น้อยหรือมาก นิมนต์กล่าวเถิด ท่านจงกล่าวแต่ใจความแก่ข้าพเจ้า ข้าพเจ้าต้องการใจความอย่างเดียว ท่านจักทำพยัญชนะให้มากทำไม. 
อถ โข สาริปุตฺตสฺส ปริพฺพาชกสฺส เอตทโหสิ “อกาโล โข อิมํ ภิกฺขุํ ปุจฺฉิตุํ อนฺตรฆรํ ปวิฏฺโฐ ปิณฺฑาย จรติ.  ยํนูนาหํ อิมํ ภิกฺขุํ ปิฏฺฐิโต ปิฏฺฐิโต อนุพนฺเธยฺยํ อตฺถิเกหิ อุปญฺญาตํ มคฺค”นฺติ.  อถ โข อายสฺมา อสฺสชิ ราชคเห ปิณฺฑาย จริตฺวา ปิณฺฑปาตํ อาทาย ปฏิกฺกมิ.  อถ โข สาริปุตฺโตปิ ปริพฺพาชโก เยนายสฺมา อสฺสชิ เตนุปสงฺกมิ อุปสงฺกมิตฺวา อายสฺมตา อสฺสชินา สทฺธึ สมฺโมทิ สมฺโมทนียํ กถํ สารณียํ วีติสาเรตฺวา เอกมนฺตํ อฏฺฐาสิ. เอกมนฺตํ ฐิโต โข สาริปุตฺโต ปริพฺพาชโก อายสฺมนฺตํ อสฺสชึ เอตทโวจ 
atha kho āyasmā Assaji Sāriputtassa paribbājakassa imaṃ dhammapariyāyaṃ abhāsi:  ye dhammā hetuppabhavā tesaṃ hetuṃ tathāgato āha tesañ ca yo nirodho evaṃvādī mahāsamaṇo ’ti.  atha kho Sāriputtassa paribbājakassa imaṃ dhammapariyāyaṃ sutvā virajaṃ vītamalaṃ dhammacakkhuṃ udapādi yaṃ kiñci samudayadhammaṃ sabbaṃ taṃ nirodhadhamman ti.  es’ eva dhammo yadi tāvad eva paccavyathā padam asokaṃ adiṭṭhaṃ {abbhatītaṃ} bahukehi kappanahutehīti. |5| 
Then the paribbâgaka Sâriputta said to the venerable Assagi: 'Well, friend, tell me much or little as you like, but be sure to tell me the spirit (of the doctrine); I want but the spirit; why do you make so much of the letter?'  Then the venerable Assagi pronounced to the paribbâgaka Sâriputta the following text of the Dhamma:  'Of all objects which proceed from a cause, the Tathâgata has explained the cause, and He has explained theîr cessation also; this is the doctrine of the 'great Samana.'  And the paribbâgaka 'Sâriputta after having heard this text obtained the pure and spotless Eye of the Truth (that is, the following knowledge): 'Whatsoever is subject to the condition of origination is subject also to the condition of cessation.' 
พระอัสสชิเถระแสดงธรรม [๖๕] ลำดับนั้น ท่านพระอัสสชิ ได้กล่าวธรรมปริยายนี้แก่สารีบุตรปริพาชก ว่าดังนี้:-  ธรรมเหล่าใดเกิดแต่เหตุ พระตถาคตทรงแสดงเหตุแห่งธรรมเหล่านั้น และความดับแห่งธรรมเหล่านั้น พระมหาสมณะมีปกติทรงสั่งสอนอย่างนี้.  สารีบุตรปริพาชกได้ดวงตาเห็นธรรม [๖๖] ครั้นได้ฟังธรรมปริยายนี้ ดวงตาเห็นธรรม ปราศจากธุลี ปราศจากมลทินว่า สิ่งใดสิ่งหนึ่งมีความเกิดขึ้นเป็นธรรมดา สิ่งนั้นทั้งมวลมีความดับไปเป็นธรรมดา ได้เกิดขึ้นแก่สารีบุตรปริพาชก  ธรรมนี้แหละถ้ามีก็เพียงนี้เท่านั้น ท่านทั้งหลายจงแทงตลอดบทอันหาความโศกมิได้ บทอันหาความโศกมิได้นี้ พวกเรายังไม่เห็น ล่วงเลยมาแล้วหลายหมื่นกัลป์. 
“วิปฺปสนฺนานิ โข เต อาวุโส อินฺทฺริยานิ ปริสุทฺโธ ฉวิวณฺโณ ปริโยทาโต. กํสิ ตฺวํ อาวุโส อุทฺทิสฺส ปพฺพชิโต โก วา เต สตฺถา กสฺส วา ตฺวํ ธมฺมํ โรเจสี”ติ?  “อตฺถาวุโส มหาสมโณ สกฺยปุตฺโต สกฺยกุลา ปพฺพชิโต ตาหํ ภควนฺตํ อุทฺทิสฺส ปพฺพชิโต โส จ เม ภควา สตฺถา ตสฺส จาหํ ภควโต ธมฺมํ โรเจมี”ติ.  “กึวาที ปนายสฺมโต สตฺถา กิมกฺขายี”ติ?  “อหํ โข อาวุโส นโว อจิรปพฺพชิโต อธุนาคโต อิมํ ธมฺมวินยํ น ตาหํ สกฺโกมิ วิตฺถาเรน ธมฺมํ เทเสตุํ อปิ จ เต สํขิตฺเตน อตฺถํ วกฺขามี”ติ. 
atha kho Sāriputto paribbājako yena Moggallāno paribbājako ten’ upasaṃkami.  addasa kho Moggallāno paribbājako Sāriputtaṃ paribbājakaṃ dūrato ’va āgacchantaṃ, disvāna Sāri-(41)puttaṃ paribbājakaṃ etad avoca: vippasannāni kho te āvuso indriyāni, parisuddho chavivaṇṇo pariyodāto, kacci nu tvaṃ āvuso amataṃ adhigato ’ti.  āmāvuso amataṃ adhigato ’ti.  yathā kathaṃ pana tvaṃ āvuso amataṃ adhigato ’ti. |6| 
(And he said): 'If this alone be the Doctrine (the Dhamma), now you have reached up to the state where all sorrow ceases (i.e. Nirvâna), (the state) which has remained unseen through many myriads of Kappas (world-ages) of the past.'  Then the paribbâgaka Sâriputta went to the place where the paribbâgaka Moggallâna was.  And the paribbâgaka Moggallâna saw the paribbâgaka Sâriputta coming from afar; seeing him he said to the paribbâgaka Sâriputta: 'Your countenance, friend, is serene; your complexion is pure and bright. Have you then really reached the immortal, friend?'  'Yes, friend, I have attained to the immortal.' 
สารีบุตรปริพาชกเปลื้องคำปฏิญญา [๖๗] เวลาต่อมา สารีบุตรปริพาชกเข้าไปหาโมคคัลลานปริพาชก.  โมคคัลลานปริพาชกได้เห็นสารีบุตรปริพาชกเดินมาแต่ไกล ครั้นแล้วได้ถามสารีบุตรปริพาชกว่า ผู้มีอายุ อินทรีย์ของท่านผ่องใส ผิวพรรณของท่านบริสุทธิ์ผุดผ่อง ท่านได้บรรลุอมตธรรมแล้วกระมังหนอ?  สา. ถูกละ ผู้มีอายุ เราได้บรรลุอมตธรรมแล้ว.  โมค. ท่านบรรลุอมตธรรมได้อย่างไร ด้วยวิธีไร? 
อถ โข สาริปุตฺโต ปริพฺพาชโก อายสฺมนฺตํ อสฺสชึ เอตทโวจ “โหตุ อาวุโส “อปฺปํ วา พหุํ วา ภาสสฺสุ อตฺถํเยว เม พฺรูหิ. อตฺเถเนว เม อตฺโถ กึ กาหสิ พฺยญฺชนํ พหุ”นฺติฯ  อถ โข อายสฺมา อสฺสชิ สาริปุตฺตสฺส ปริพฺพาชกสฺส อิมํ ธมฺมปริยายํ อภาสิ  “เย ธมฺมา เหตุปฺปภวา เตสํ เหตุํ ตถาคโต อาห. เตสญฺจ โย นิโรโธ เอวํวาที มหาสมโณ”ติฯ  อถ โข สาริปุตฺตสฺส ปริพฺพาชกสฺส อิมํ ธมฺมปริยายํ สุตฺวา วิรชํ วีตมลํ ธมฺมจกฺขุํ อุทปาทิ “ยํ กิญฺจิ สมุทยธมฺมํ สพฺพํ ตํ นิโรธธมฺม”นฺติ. 
idhāhaṃ āvuso addasaṃ Assajiṃ bhikkhuṃ Rājagahe piṇḍāya carantaṃ pāsādikena abhikkantena paṭikkantena ālokitena vilokitena sammiñjitena pasāritena okkhittacakkhuṃ iriyāpathasampannaṃ, disvāna me etad ahosi:  ye vata loke arahanto vā arahattamaggaṃ vā samāpannā, ayaṃ tesaṃ bhikkhūnaṃ aññataro, yaṃ nūnāhaṃ imaṃ bhikkhuṃ upasaṃkamitvā puccheyyaṃ:  kaṃ ’si tvaṃ āvuso uddissa pabbajito, ko vā te satthā, kassa vā tvaṃ dhammaṃ rocesīti. |7| 
'And how, friend, have you done so?'  'I saw, friend, the Bhikkhu Assagi who went through Râgagaha for alms (&c.1, down to:);   
สา. ผู้มีอายุ วันนี้เราได้เห็นพระอัสสชิกำลังเที่ยวบิณฑบาตในพระนครราชคฤห์ มีมรรยาทก้าวไป ถอยกลับ แลเหลียว เหยียดแขน คู้แขน น่าเลื่อมใส มีนัยน์ตาทอดลง ถึงพร้อมด้วยอิริยาบถ ครั้นแล้วเราได้มีความดำริว่า  บรรดาพระอรหันต์หรือท่านผู้ได้บรรลุอรหัตมรรคในโลก ภิกษุรูปนี้คงเป็นผู้ใดผู้หนึ่งแน่ ถ้ากระไร เราพึงเข้าไปหาภิกษุรูปนี้ แล้วถามว่า  ท่านบวชเฉพาะใคร ใครเป็นศาสดาของท่าน หรือท่านชอบใจธรรมของใคร 
เอเสว ธมฺโม ยทิ ตาวเทว ปจฺจพฺยตฺถ ปทมโสกํ. อทิฏฺฐํ อพฺภตีตํ พหุเกหิ กปฺปนหุเตหีติฯ  ๖๑. อถ โข สาริปุตฺโต ปริพฺพาชโก เยน โมคฺคลฺลาโน ปริพฺพาชโก เตนุปสงฺกมิ.  อทฺทสา โข โมคฺคลฺลาโน ปริพฺพาชโก สาริปุตฺตํ ปริพฺพาชกํ ทูรโตว อาคจฺฉนฺตํ ทิสฺวาน สาริปุตฺตํ ปริพฺพาชกํ เอตทโวจ “วิปฺปสนฺนานิ โข เต อาวุโส อินฺทฺริยานิ ปริสุทฺโธ ฉวิวณฺโณ ปริโยทาโต. กจฺจิ นุ ตฺวํ อาวุโส อมตํ อธิคโต”ติ? 
tassa mayhaṃ āvuso etad ahosi: akālo kho imaṃ bhikkhuṃ pucchituṃ, antaragharaṃ paviṭṭho piṇḍāya carati.  yaṃ nūnāhaṃ imaṃ bhikkhuṃ piṭṭhito-piṭṭhito anubandheyyaṃ atthikehi upaññātaṃ maggan ti. atha kho āvuso Assaji {bhikkhu} Rājagahe piṇḍāya caritvā piṇḍapātaṃ ādāya paṭikkami.  atha khv’ āhaṃ avuso yena Assaji bhikkhu ten’ upasaṃkamiṃ, upasaṃkamitvā Assajinā bhikkhunā saddhiṃ sammodiṃ, sammodanīyaṃ kathaṃ sāraṇīyaṃ vītisāretvā ekamantaṃ aṭṭhāsiṃ, ekamantaṃ ṭhito kho ahaṃ āvuso Assajiṃ bhikkhuṃ etad avocaṃ:  vippasannāni kho te āvuso indriyāni, parisuddho chavivaṇṇo pariyodāto, kaṃ ’si tvaṃ āvuso uddissa pabbajito, ko vā te satthā, kassa vā tvaṃ dhammaṃ rocesīti. |8| 
       
เรานั้นได้ยั้งคิดว่า ยังเป็นกาลไม่สมควรจะถามภิกษุรูปนี้ เพราะท่านยังกำลังเข้าละแวกบ้านเที่ยวบิณฑบาต  ผิฉะนั้น เราพึงติดตามภิกษุรูปนี้ไปข้างหลังๆ เพราะเป็นทางอันผู้มุ่งประโยชน์ทั้งหลายจะต้องสนใจ ลำดับนั้น พระอัสสชิเที่ยวบิณฑบาตในพระนครราชคฤห์ ถือบิณฑบาตกลับไปแล้ว  ต่อมา เราได้เข้าไปหาพระอัสสชิ ครั้นถึงแล้ว ได้พูดปราศรัยกับพระอัสสชิ ครั้นผ่านการพูดปราศรัยพอให้เป็นที่บันเทิง เป็นที่ระลึกถึงกันไปแล้ว ได้ยืนอยู่ ณ ที่ควรส่วนข้างหนึ่ง เรายืนอยู่ ณ ที่ควรส่วนข้างหนึ่งแล้ว ได้กล่าวคำนี้ต่อพระอัสสชิว่า  อินทรีย์ของท่านผ่องใส ผิวพรรณของท่านบริสุทธิ์ผุดผ่อง ท่านบวชเฉพาะใคร ใครเป็นศาสดาของท่าน หรือท่านชอบใจธรรมของใคร ขอรับ? 
“อามาวุโส อมตํ อธิคโต”ติ.  “ยถากถํ ปน ตฺวํ อาวุโส อมตํ อธิคโต”ติ?  “อิธาหํ อาวุโส อทฺทสํ อสฺสชึ ภิกฺขุํ ราชคเห ปิณฺฑาย จรนฺตํ ปาสาทิเกน อภิกฺกนฺเตน ปฏิกฺกนฺเตน อาโลกิเตน วิโลกิเตน สมิญฺชิเตน ปสาริเตน โอกฺขิตฺตจกฺขุํ อิริยาปถสมฺปนฺนํ. ทิสฺวาน เม เอตทโหสิ ‘  เย วต โลเก อรหนฺโต วา อรหตฺตมคฺคํ วา สมาปนฺนา อยํ เตสํ ภิกฺขุ อญฺญตโร. ยํนูนาหํ อิมํ ภิกฺขุํ อุปสงฺกมิตฺวา ปุจฺเฉยฺยํ 
atth’ āvuso mahāsamaṇo Sakyaputto Sakyakulā pabbajito, tāhaṃ bhagavantaṃ uddissa pabbajito, so ca me bhagavā satthā, tassa cāhaṃ bhagavato dhammaṃ rocemīti.  kiṃvādī panāyasmato satthā kimakkhāyīti.  ahaṃ kho āvuso navo acirapabbajito adhunāgato imaṃ dhammavinayaṃ, na t’ āhaṃ sakkomi vitthārena dhammaṃ desetuṃ, api ca te saṃkhittena atthaṃ vakkhāmīti.  appaṃ vā bahuṃ vā bhāsassu, atthaṃ yeva me brūhi, atthen’ eva me attho, kiṃ kāhasi vyañjanaṃ bahun ti. |9| 
      "But I will tell you in short what it means." 
พระอัสสชิตอบว่า มีอยู่ ท่าน พระมหาสมณะศากยบุตรเสด็จออกทรงผนวชจากศากยตระกูล เราบวชเฉพาะพระผู้มีพระภาคพระองค์นั้น พระผู้มีพระภาคพระองค์นั้นเป็นศาสดาของเรา และเราชอบใจธรรมของพระผู้มีพระภาคพระองค์นั้น  เราได้ถามพระอัสสชิต่อไปว่า ก็พระศาสดาของท่านสอนอย่างไร แนะนำอย่างไร?  พระอัสสชิตอบว่า เราเป็นคนใหม่ บวชยังไม่นาน เพิ่งมาสู่พระธรรมวินัยนี้ ไม่อาจแสดงธรรมแก่ท่านได้กว้างขวาง แต่จักกล่าวใจความแก่ท่านโดยย่อ  เราได้เรียนว่า น้อยหรือมาก นิมนต์กล่าวเถิด ท่านจงกล่าวแต่ใจความแก่ข้าพเจ้า ข้าพเจ้าต้องการใจความอย่างเดียว ท่านจักทำพยัญชนะให้มากทำไม. 
กํสิ ตฺวํ อาวุโส อุทฺทิสฺส ปพฺพชิโต โก วา เต สตฺถา กสฺส วา ตฺวํ ธมฺมํ โรเจสี”’ติ.  ตสฺส มยฺหํ อาวุโส เอตทโหสิ “อกาโล โข อิมํ ภิกฺขุํ ปุจฺฉิตุํ อนฺตรฆรํ ปวิฏฺโฐ ปิณฺฑาย จรติ  ยํนูนาหํ อิมํ ภิกฺขุํ ปิฏฺฐิโต ปิฏฺฐิโต อนุพนฺเธยฺยํ อตฺถิเกหิ อุปญฺญาตํ มคฺค”นฺติ. อถ โข อาวุโส อสฺสชิ ภิกฺขุ ราชคเห ปิณฺฑาย จริตฺวา ปิณฺฑปาตํ อาทาย ปฏิกฺกมิ.  อถ ขฺวาหํ อาวุโส เยน อสฺสชิ ภิกฺขุ เตนุปสงฺกมึ อุปสงฺกมิตฺวา อสฺสชินา ภิกฺขุนา สทฺธึ สมฺโมทึ สมฺโมทนียํ กถํ สารณียํ วีติสาเรตฺวา เอกมนฺตํ อฏฺฐาสึ. เอกมนฺตํ ฐิโต โข อหํ อาวุโส อสฺสชึ ภิกฺขุํ เอตทโวจํ 
atha kho āvuso Assaji bhikkhu imaṃ dhammapariyāyaṃ abhāsi:  ye dhammā hetuppabhavā tesaṃ hetuṃ tathāgato āha tesañ ca yo nirodho evaṃvādī mahāsamaṇo ’ti.  atha kho Moggallānassa paribbājakassa imaṃ dhammapari-(42)yāyaṃ sutvā virajaṃ vītamalaṃ dhammacakkhuṃ udapādi yaṃ kiñci samudayadhammaṃ sabbaṃ taṃ nirodhadhamman ti.  es’ eva dhammo yadi tāvad eva paccavyathā padam asokaṃ adiṭṭhaṃ {abbhatītaṃ} bahukehi kappanahutehīti. |10| 
'"Tell me much or little as you like, but be sure to tell me the spirit (of the doctrine); I want but the spirit; why do you make so much of the letter?"  'Then, friend, the Bhikkhu Assagi pronounced the following Dhamma sentence:  "Of all objects which proceed from a cause, the Tathâgata has explained the cause, and He has explained their cessation also; this is the doctrine of the great Samana."'  And the paribbâgaka Moggallâna, after having heard (&c., as in § 5, down to the end). 
[๖๘] ผู้มีอายุ ครั้งนั้น พระอัสสชิได้กล่าวธรรมปริยายนี้ ว่าดังนี้:-  ธรรมเหล่าใดเกิดแต่เหตุ พระตถาคตทรงแสดงเหตุแห่งธรรมเหล่านั้น และความดับแห่งธรรมเหล่านั้น พระมหาสมณะมีปกติทรงสั่งสอนอย่างนี้.  โมคคัลลานปริพาชกได้ดวงตาเห็นธรรม [๖๙] ครั้นได้ฟังธรรมปริยายนี้ ดวงตาเห็นธรรม ปราศจากธุลี ปราศจากมลทินว่า สิ่งใดสิ่งหนึ่งมีความเกิดขึ้นเป็นธรรมดา สิ่งนั้นทั้งมวลมีความดับไปเป็นธรรมดา ได้เกิดขึ้นแก่โมคคัลลานปริพาชก  ธรรมนี้แหละถ้ามีก็เพียงนี้เท่านั้น ท่านทั้งหลายจงแทงตลอดบทอันหาความโศกมิได้ บทอันหาความโศกมิได้นี้ พวกเรายังไม่เห็น ล่วงเลยมาแล้วหลายหมื่นกัลป์. 
“วิปฺปสนฺนานิ โข เต อาวุโส อินฺทฺริยานิ ปริสุทฺโธ ฉวิวณฺโณ ปริโยทาโต. ‘กํสิ ตฺวํ อาวุโส อุทฺทิสฺส ปพฺพชิโต โก วา เต สตฺถา กสฺส วา ตฺวํ ธมฺมํ โรเจสี”’ติ?  ‘อตฺถาวุโส มหาสมโณ สกฺยปุตฺโต สกฺยกุลา ปพฺพชิโต ตาหํ ภควนฺตํ อุทฺทิสฺส ปพฺพชิโต โส จ เม ภควา สตฺถา ตสฺส จาหํ ภควโต ธมฺมํ โรเจมี’ติ.  ‘กึวาที ปนายสฺมโต สตฺถา กิมกฺขายี’ติ  ‘อหํ โข อาวุโส นโว อจิรปพฺพชิโต อธุนาคโต อิมํ ธมฺมวินยํ น ตาหํ สกฺโกมิ วิตฺถาเรน ธมฺมํ เทเสตุํ อปิ จ เต สํขิตฺเตน อตฺถํ วกฺขามี”’ติ อถ ขฺวาหํ อาวุโส อสฺสชึ ภิกฺขุํ เอตทโวจํ “โหตุ อาวุโส 
||23|| 
 
อปฺปํ วา พหุํ วา ภาสสฺสุ อตฺถํเยว เม พฺรูหิ. อตฺเถเนว เม อตฺโถ กึ กาหสิ พฺยญฺชนํ พหุ”นฺติฯ 
atha kho Moggallāno paribbājako Sāriputtaṃ paribbājakaṃ etad avoca: gacchāma mayaṃ āvuso bhagavato santike, so no bhagavā satthā ’ti.  imāni kho āvuso aḍḍhateyyāni paribbājakasatāni amhe nissāya amhe sampassantā idha viharanti, te pi tāva apalokāma, yathā te maññissanti, tathā karissantīti.  atha kho Sāriputtamoggallānā yena te paribbājakā ten’ upasaṃkamiṃsu, upasaṃkamitvā te paribbājake etad avocuṃ: gacchāma mayaṃ āvuso bhagavato santike, so no bhagavā satthā ’ti.  mayaṃ āyasmante nissāya āyasmante sampassantā idha viharāma, sace āyasmantā mahāsamaṇe brahmacariyaṃ carissanti, sabbeva mayaṃ mahāsamaṇe brahmacariyaṃ carissāmā ’ti. |1| 
Then the paribbâgaka Moggallâna said to the paribbâgaka Sâriputta: 'Let us go, friend, and join the Blessed One; that He, the Blessed One, may be our teacher.'  (Sâriputta replied): 'It is on our account, friend; that these two hundred and fifty paribbâgakas live here (as followers of Sañgaya), and it is we whom they regard; let us first inform them also of our intention; then they may do what they think fit.'  Then Sâriputta and Moggallâna went to the place where those paribbâgakas were; having approached them, they said to the paribbâgakas: 'Friends, we are going to join the Blessed One; that He, the Blessed One, may be our teacher.' 
สองสหายอำลาอาจารย์ [๗๐] ครั้งนั้น โมคคัลลานปริพาชกได้กล่าวชักชวนสารีบุตรปริพาชกว่า ผู้มีอายุ เราพากันไปสำนักพระผู้มีพระภาคเถิด เพราะพระผู้มีพระภาคนั้นเป็นพระศาสดาของเรา.  สารีบุตรปริพาชกกล่าวว่า ผู้มีอายุ ปริพาชก ๒๕๐ คนนี้อาศัยเรา เห็นแก่เรา จึงอยู่ในสำนักนี้ เราจงบอกกล่าวพวกนั้นก่อน พวกนั้นจักทำตามที่เข้าใจ.  ลำดับนั้น สารีบุตรโมคคัลลานะพากันเข้าไปหาปริพาชกเหล่านั้น ครั้นถึงแล้วได้กล่าวคำนี้ต่อพวกปริพาชกนั้นว่า ท่านทั้งหลาย เราจะไปในสำนักพระผู้มีพระภาค เพราะพระผู้มีพระภาคนั้นเป็นพระศาสดาของเรา.  พวกปริพาชกตอบว่า พวกข้าพเจ้าอาศัยท่าน เห็นแก่ท่านจึงอยู่ในสำนักนี้ ถ้าท่านจักประพฤติพรหมจรรย์ในพระมหาสมณะ พวกข้าพเจ้าทั้งหมด ก็จักประพฤติพรหมจรรย์ในพระมหาสมณะด้วย. 
อถ โข อาวุโส อสฺสชิ ภิกฺขุ อิมํ ธมฺมปริยายํ อภาสิ  “เย ธมฺมา เหตุปฺปภวา เตสํ เหตุํ ตถาคโต อาห. เตสญฺจ โย นิโรโธ เอวํวาที มหาสมโณ”ติฯ  อถ โข โมคฺคลฺลานสฺส ปริพฺพาชกสฺส อิมํ ธมฺมปริยายํ สุตฺวา วิรชํ วีตมลํ ธมฺมจกฺขุํ อุทปาทิ ยํ กิญฺจิ สมุทยธมฺมํ สพฺพํ ตํ นิโรธธมฺมนฺติ.  เอเสว ธมฺโม ยทิ ตาวเทว ปจฺจพฺยตฺถ ปทมโสกํ. อทิฏฺฐํ อพฺภตีตํ พหุเกหิ กปฺปนหุเตหีติฯ 
atha kho Sāriputtamoggallānā yena Sañjayo paribbājako ten’ upasaṃkamiṃsu, upasaṃkamitvā Sañjayaṃ paribbājakaṃ etad avocuṃ:  gacchāma mayaṃ āvuso bhagavato santike, so no bhagavā satthā ’ti.  alaṃ āvuso mā agamittha, sabbeva tayo imaṃ gaṇaṃ pariharissāmā ’ti.  dutiyam pi kho --la-- tatiyam pi kho Sāriputtamoggallānā Sañjayaṃ paribbājakaṃ etad avocuṃ: gacchāma mayaṃ āvuso bhagavato santike, so no bhagavā satthā ’ti.  alaṃ avuso mā agamittha, sabbeva tayo imaṃ gaṇaṃ pariharissāmā ’ti. |2| 
(The paribbâgakas replied): 'It is on your account, Sirs, that we live here, and it is you whom we regard; if you, Sirs, are about to place yourselves under the spiritual direction of the great Samana, we all will place ourselves also under the spiritual direction of the great Samana.'  Then Sâriputta and Moggallâna went to the place where the paribbâgaka Sañgaya was; having approached him, they said to the paribbâgaka Sañgaya:  'Friend, we are going to join the Blessed One; that He, the Blessed One, may be our teacher.'  (Sañgaya replied): 'Nay, friends, do not go; let us all three share in the leadership of this body (of disciples).'  And a second time Sâriputta and Moggallâna said, &c. And a third time Sâriputta and Moggallâna said, &c. (And a third time he replied): 
ต่อมา สารีบุตรโมคคัลลานะได้พากันเข้าไปหาท่านสญชัยปริพาชก ครั้นถึงแล้วได้เรียนว่า  ท่านขอรับ พวกกระผมจะไปในสำนักพระผู้มีพระภาค เพราะพระผู้มีพระภาคนั้นเป็นพระศาสดาของพวกกระผม  สญชัยปริพาชกพูดห้ามว่า อย่าเลย ท่านทั้งหลาย อย่าไปเลย เราทั้งหมด ๓ คน จักช่วยกันบริหารคณะนี้.  แม้ครั้งที่ ๒ ... แม้ครั้งที่สาม สารีบุตรโมคคัลลานะได้กล่าวคำนี้ต่อสญชัยปริพาชกว่า ท่านขอรับ พวกกระผมจะไปในสำนักพระผู้มีพระภาค เพราะพระผู้มีพระภาคนั้นเป็นพระศาสดาของพวกกระผม.  สญชัยปริพาชกพูดห้ามว่า อย่าเลย ท่านทั้งหลาย อย่าไปเลย เราทั้งหมด ๓ คน จักช่วยกันบริหารคณะนี้. 
    ๖๒. อถ โข โมคฺคลฺลาโน ปริพฺพาชโก สาริปุตฺตํ ปริพฺพาชกํ เอตทโวจ “คจฺฉาม มยํ อาวุโส ภควโต สนฺติเก โส โน ภควา สตฺถา”ติ.  “อิมานิ โข อาวุโส อฑฺฒเตยฺยานิ ปริพฺพาชกสตานิ อมฺเห นิสฺสาย อมฺเห สมฺปสฺสนฺตา อิธ วิหรนฺติ เตปิ ตาว อปโลเกม . ยถา เต มญฺญิสฺสนฺติ ตถา เต กริสฺสนฺตี”ติ.  อถ โข สาริปุตฺตโมคฺคลฺลานา เยน เต ปริพฺพาชกา เตนุปสงฺกมึสุ อุปสงฺกมิตฺวา เต ปริพฺพาชเก เอตทโวจุํ “คจฺฉาม มยํ อาวุโส ภควโต สนฺติเก โส โน ภควา สตฺถา”ติ. 
atha kho Sāriputtamoggallānā tāni aḍḍhateyyāni paribbājakasatāni ādāya yena Veḷuvanaṃ ten’ upasaṃkamiṃsu, Sañjayassa pana paribbājakassa tatth’ eva uṇhaṃ lohitaṃ mukhato uggacchi.  addasa kho bhagavā te Sāriputtamoggallāne dūrato ’va āgacchante, disvāna bhikkhū āmantesi:  ete bhikkhave dve sahāyakā āgacchanti Kolito Upatisso ca, etaṃ me sāvakayugaṃ bhavissati aggaṃ bhaddayugan ti.  gambhīre ñāṇavisaye anuttare upadhisaṃkhaye vimutte anuppatte Veḷuvanaṃ atha ne satthā vyākāsi:  ete dve sahāyakā āgacchanti Kolito Upatisso ca, etaṃ me sāvakayugaṃ bhavissati aggaṃ bhaddayugan ti. |3| 
'Nay, friends, do not go; let us all three share in the leadership of this body (of disciples).'  But Sâriputta and Moggallâna took with them those two hundred and fifty paribbâgakas and went to the Veluvana. But the paribbâgaka Sañgaya began, on the spot, to vomit hot blood from his mouth.  And the Blessed One saw them, Sâriputta and Moggallâna, coming from afar; on seeing them he thus addressed the Bhikkhus:  'There, O Bhikkhus, two companions arrive, Kolita and U patissa; these will be a pair of (true) pupils, a most distinguished, auspicious pair.  When (Sâriputta and Moggallâna), who had reached emancipation in the perfect destruction of the substrata (of existence), which is a profound subject accessible only to knowledge, came to the Veluvana, the Teacher, who saw them, foretold about them: 
ครั้งนั้น สารีบุตรโมคคัลลานะพาปริพาชก ๒๕๐ คนนั้น มุ่งไปทางที่จะไปพระวิหารเวฬุวัน. ก็โลหิตร้อนได้พุ่งออกจากปากสญชัยปริพาชกในที่นั้นเอง.  ทรงพยากรณ์พระอัครสาวก [๗๑] พระผู้มีพระภาคได้ทอดพระเนตรเห็นสารีบุตรโมคคัลลานะมาแต่ไกลเทียว ครั้นแล้วรับสั่งกะภิกษุทั้งหลายว่า  ดูกรภิกษุทั้งหลาย สหายสองคนนั้น คือโกลิตะ และอุปติสสะกำลังมานั่น จักเป็นคู่สาวกของเรา จักเป็นคู่อันเจริญชั้นเยี่ยมของเรา  ก็สหายสองคนนั้นพ้นวิเศษแล้ว ในธรรมอันเป็นที่สิ้นอุปธิ อันยอดเยี่ยม มีญาณวิสัยอันลึกซึ้งยังมาไม่ทันถึงพระวิหารเวฬุวัน พระศาสดาทรงพยากรณ์ ว่าดังนี้  สหายสองคนนี้คือ โกลิตะและอุปติสสะกำลังมานั่น จักเป็นคู่สาวกของเรา จักเป็นคู่อันเจริญชั้นเยี่ยมของเรา. 
“มยํ อายสฺมนฺเต นิสฺสาย อายสฺมนฺเต สมฺปสฺสนฺตา อิธ วิหราม สเจ อายสฺมนฺตา มหาสมเณ พฺรหฺมจริยํ จริสฺสนฺติ สพฺเพว มยํ มหาสมเณ พฺรหฺมจริยํ จริสฺสามา”ติ.  อถ โข สาริปุตฺตโมคฺคลฺลานา เยน สญฺจโย ปริพฺพาชโก เตนุปสงฺกมึสุ อุปสงฺกมิตฺวา สญฺจยํ ปริพฺพาชกํ เอตทโวจุํ  “คจฺฉาม มยํ อาวุโส ภควโต สนฺติเก โส โน ภควา สตฺถา”ติ.  “อลํ อาวุโส มา อคมิตฺถ สพฺเพว ตโย อิมํ คณํ ปริหริสฺสามา”ติ.  ทุติยมฺปิ โขฯเปฯ ตติยมฺปิ โข สาริปุตฺตโมคฺคลฺลานา สญฺจยํ ปริพฺพาชกํ เอตทโวจุํ “คจฺฉาม มยํ อาวุโส ภควโต สนฺติเก โส โน ภควา สตฺถา”ติ. 
atha kho Sāriputtamoggallānā yena bhagavā (43) ten’ upasaṃkamiṃsu, upasaṃkamitvā bhagavato pādesu sirasā nipatitvā bhagavantaṃ etad avocuṃ: labheyyāma mayaṃ bhante bhagavato santike pabbajjaṃ, labheyyāma upasampadan ti. etha bhikkhavo ’ti bhagavā avoca, svākkhāto dhammo, caratha brahmacariyaṃ sammā dukkhassa antakiriyāyā ’ti.  sā ’va tesaṃ āyasmantānaṃ upasampadā ahosi. |4| 
'These two companions who are now coming--Kolita and Upatissa--these will be a pair of (true) pupils, a most distinguished, auspicious pair.'  Then Sâriputta and Moggallâna went to the place where the Blessed One was; having approached him, they prostrated thernselves, inclining their heads to the feet of the Blessed One, and said to the Blessed One: 'Lord, let us receive the pabbaggâ and upasampadâ ordinations from the Blessed One.' 'Come, O Bhikkhus,' said the Blessed One, 'well taught is the doctrine; lead a holy life for the sake of the complete extinction of suffering.' 
เข้าเฝ้าทูลขอบรรพชาอุปสมบท [๗๒] ครั้งนั้น สารีบุตรโมคคัลลานะได้พากันเข้าไปเฝ้าพระผู้มีพระภาค ครั้นถึงแล้ว ได้ซบเศียรลงที่พระบาทของพระผู้มีพระภาค แล้วทูลขอบรรพชาอุปสมบทต่อพระผู้มีพระภาคว่า ขอพวกข้าพระพุทธเจ้า พึงได้บรรพชา พึงได้อุปสมบทในสำนักพระผู้มีพระภาค พระพุทธเจ้าข้า. พระผู้มีพระภาคตรัสว่า พวกเธอจงเป็นภิกษุมาเถิด ดังนี้ แล้วได้ตรัสต่อไปว่า ธรรมอันเรากล่าวดีแล้ว พวกเธอจงประพฤติพรหมจรรย์เพื่อทำที่สุดทุกข์โดยชอบเถิด.  พระวาจานั้นแล ได้เป็นอุปสมบทของท่านผู้มีอายุเหล่านั้น. 
“อลํ อาวุโส มา อคมิตฺถ สพฺเพว ตโย อิมํ คณํ ปริหริสฺสามา”ติ.  อถ โข สาริปุตฺตโมคฺคลฺลานา ตานิ อฑฺฒเตยฺยานิ ปริพฺพาชกสตานิ อาทาย เยน เวฬุวนํ เตนุปสงฺกมึสุ. สญฺจยสฺส ปน ปริพฺพาชกสฺส ตตฺเถว อุณฺหํ โลหิตํ มุขโต อุคฺคญฺฉิ. 
tena kho pana samayena abhiññātā-abhiññātā Māgadhikā kulaputtā bhagavati brahmacariyaṃ caranti.  manussā ujjhāyanti khīyanti vipācenti: aputtakatāya paṭipanno samaṇo Gotamo, vedhavyāya paṭipanno samaṇo Gotamo, kulupacchedāya paṭipanno samaṇo Gotamo.  idāni anena jaṭilasahassaṃ pabbājitaṃ, imāni ca aḍḍhateyyāni paribbājakasatāni Sañjayāni pabbājitāni, ime ca abhiññātā-abhiññātā Māgadhikā kulaputtā samaṇe Gotame brahmacariyaṃ carantīti.  api ’ssu bhikkhū disvā imāya gāthāya codenti: āgato kho mahāsamaṇo Magadhānaṃ Giribbajaṃ sabbe Sañjaye netvāna, kaṃ su dāni nayissatīti. |5| 
Thus these venerable persons received the upasampadâ ordination.  At that time many distinguished young Magadha noblemen led a religious life under the direction of the Blessed One.  The people were annoyed, murmured, and became angry (saying),  'The Samana Gotama causes fathers to beget no sons; the Samana Gotama causes wives to become widows; the Samana Gotama causes families to become extinct. Now he has ordained one thousand Gatilas, and he has ordained these two hundred and fifty paribbâgakas who were followers of Sañgaya; and these many distingtiished young Magadha noblemen are now leading a religious life under the direction of the Samana Gotama.' 
เสียงติเตียน [๗๓] ก็โดยสมัยนั้นแล พวกกุลบุตรชาวมคธที่มีชื่อเสียงๆ พากันประพฤติพรหมจรรย์ในพระผู้มีพระภาค.  ประชาชนพากันเพ่งโทษ ติเตียน โพนทะนาว่า พระสมณะโคดมปฏิบัติเพื่อให้ชายไม่มีบุตร พระสมณโคดมปฏิบัติเพื่อให้หญิงเป็นหม้าย พระสมณโคดมปฏิบัติเพื่อตัดสกุล  บัดนี้ พระสมณโคดมให้ชฎิลพันรูปบวชแล้ว และให้ปริพาชกศิษย์ของท่านสญชัย ๒๕๐ คนนี้บวชแล้ว และกุลบุตรชาวมคธที่มีชื่อเสียงๆ พากันประพฤติพรหมจรรย์ในพระสมณโคดม.  อนึ่ง ประชาชนได้เห็นภิกษุทั้งหลายแล้วได้โจทย์ด้วยคาถานี้ ว่าดังนี้:- พระมหาสมณะเสด็จมาสู่พระนครคอกเขาของชาวมคธแล้ว ได้ทรงนำปริพาชกพวกสญชัยทั้งปวงไปแล้ว บัดนี้ จักทรงนำใครไปอีกเล่า. 
อทฺทสา โข ภควา สาริปุตฺตโมคฺคลฺลาเน ทูรโตว อาคจฺฉนฺเต ทิสฺวาน ภิกฺขู อามนฺเตสิ  “เอเต ภิกฺขเว ทฺเว สหายกา อาคจฺฉนฺติ โกลิโต อุปติสฺโส จ. เอตํ เม สาวกยุคํ ภวิสฺสติ อคฺคํ ภทฺทยุค”นฺติ.  คมฺภีเร ญาณวิสเย อนุตฺตเร อุปธิสงฺขเย. วิมุตฺเต อปฺปตฺเต เวฬุวนํ อถ เน สตฺถา พฺยากาสิฯ  เอเต ทฺเว สหายกา อาคจฺฉนฺติ โกลิโต อุปติสฺโส จ. เอตํ เม สาวกยุคํ ภวิสฺสติ อคฺคํ ภทฺทยุคนฺติฯ 
assosuṃ kho bhikkhū tesaṃ manussānaṃ ujjhāyantānaṃ khīyantānaṃ vipācentānaṃ.  atha kho te bhikkhū bhagavato etam atthaṃ ārocesuṃ. na bhikkhave so saddo ciraṃ bhavissati, sattāham eva bhavissati, sattāhassa accayena antaradhāyissati. tena hi bhikkhave ye tumhe imāya gāthāya codenti:  āgato kho mahāsamaṇo Magadhānaṃ Giribbajaṃ sabbe Sañjaye netvāna, kaṃ su dāni nayissatīti,  te tumhe imāya gāthāya paṭicodetha: nayanti ve mahāvīrā saddhammena tathāgatā, dhammena nayamānānaṃ kā usuyyā vijānatan ti. |6| 
And moreover, when they saw the Bhikkhus, they reviled them in the following stanza: 'The great Samana has come to Giribbaga (i.e. Râgagaha) of the Magadha people, leading with hi in all the follawers of Sañgaya; who will be the next to be led by him?'  Some Bhikkhus heard those people that were annoyed, murmured, and had hecome angry; these Bhikkhus told this thing to the Blessed One.  (He replied): 'This noise, O Bhikkhus, will not last long; it will last only seven days; after seven days it will he over. And if they revile you, O Bhikkhus, in this stanza:  "The great Samana has come, &c.," 
[๗๔] ภิกษุทั้งหลายได้ยินประชาชนพวกนั้นเพ่งโทษ ติเตียน โพนทะนาอยู่ จึงกราบทูลเรื่องนั้นแด่พระผู้มีพระภาค.  พระผู้มีพระภาคตรัสว่า ดูกรภิกษุทั้งหลาย เสียงนั้นจักอยู่ไม่ได้นาน จักอยู่ได้เพียง๗ วันเท่านั้น พ้น ๗ วันก็จักหายไป ดูกรภิกษุทั้งหลาย ถ้าชนเหล่าใดกล่าวหาต่อพวกเธอ ด้วยคาถานี้ ว่าดังนี้:-  พระมหาสมณะเสด็จมาสู่พระนครคอกเขาของชาวมคธแล้ว ได้ทรงนำปริพาชกพวกสญชัยทั้งปวงไปแล้ว บัดนี้ จักทรงนำใครไปอีกเล่า.  [๗๕] พวกเธอจงกล่าวโต้ตอบต่อชนเหล่านั้น ด้วยคาถานี้ ว่าดังนี้:- พระตถาคตทั้งหลายผู้แกล้วกล้ามาก ย่อมทรงนำชนทั้งหลายไปด้วยพระสัทธรรม เมื่อชนทั้งหลายอันพระองค์ทรงนำไปอยู่โดยธรรม ผู้เข้าใจอย่างนี้จะริษยาทำไม. 
อถ โข สาริปุตฺตโมคฺคลฺลานา เยน ภควา เตนุปสงฺกมึสุ อุปสงฺกมิตฺวา ภควโต ปาเทสุ สิรสา นิปติตฺวา ภควนฺตํ เอตทโวจุํ “ลเภยฺยาม มยํ ภนฺเต ภควโต สนฺติเก ปพฺพชฺชํ ลเภยฺยาม อุปสมฺปท”นฺติ. “เอถ ภิกฺขโว”ติ ภควา อโวจ “สฺวากฺขาโต ธมฺโม จรถ พฺรหฺมจริยํ สมฺมา ทุกฺขสฺส อนฺตกิริยายา”ติ.  สาว เตสํ อายสฺมนฺตานํ อุปสมฺปทา อโหสิ. (อภิญฺญาตานํ ปพฺพชฺชา)  ๖๓. เตน โข ปน สมเยน อภิญฺญาตา อภิญฺญาตา มาคธิกา กุลปุตฺตา ภควติ พฺรหฺมจริยํ จรนฺติ.  มนุสฺสา อุชฺฌายนฺติ ขิยฺยนฺติ วิปาเจนฺติ อปุตฺตกตาย ปฏิปนฺโน สมโณ โคตโม เวธพฺยาย ปฏิปนฺโน สมโณ โคตโม กุลุปจฺเฉทาย ปฏิปนฺโน สมโณ โคตโม 
tena kho pana samayena manussā bhikkhū disvā imāya gāthāya codenti:  āgato kho mahāsamaṇo Magadhānaṃ Giribbajaṃ sabbe Sañjaye netvāna, kaṃ su dāni nayissatīti.  bhikkhū te manusse imāya gāthāya paṭicodenti: nayanti ve mahāvīrā saddhammena tathāgatā, dhammena nayamānānaṃ kā usuyyā vijānatan ti.  (44) manussā dhammena kira samaṇā Sakyaputtiyā nenti no adhammenā ’ti sattāham eva so saddo ahosi, sattāhassa accayena antaradhāyi. |7| 
you should reply to the revilers in the following stanza: "It is by means of the true doctrine that the great heroes, the Tathâgatas, lead men. Who will murmur at the wise, who lead men by the power of the Truth?"'  At that time the people, when seeing the Bhikkhus, reviled them in the following stanza:  'The great Samana has come, &c.'  Then the Bhikkhus replied to the revilers in the following stanza: 'It is by means of the true doctrine, &c.' 
ก็โดยสมัยนั้นแล ประชาชนทั้งหลายได้เห็นภิกษุทั้งหลายแล้ว ย่อมกล่าวหาด้วยคาถานี้ว่าดังนี้:-  พระมหาสมณะเสด็จมาสู่พระนครคอกเขาของชาวมคธแล้ว ได้ทรงนำปริพาชกพวกสญชัยทั้งปวงไปแล้ว บัดนี้ จักทรงนำใครไปอีกเล่า.  ภิกษุทั้งหลายได้กล่าวโต้ตอบต่อประชาชนพวกนั้น ด้วยคาถานี้ ว่าดังนี้:- พระตถาคตทั้งหลายผู้แกล้วกล้ามาก ย่อมทรงนำชนทั้งหลายไปด้วยพระสัทธรรม เมื่อชนทั้งหลายอันพระองค์ทรงนำไปอยู่โดยธรรม ผู้เข้าใจอย่างนี้จะริษยาทำไม.  [๗๖] ประชาชนกล่าวอย่างนี้ว่า ได้ยินว่า พระสมณะเชื้อสายพระศากยบุตรทรงนำชนทั้งหลายไปโดยธรรม ไม่ทรงนำไปโดยอธรรม. เสียงนั้นได้มีเพียง ๗ วันเท่านั้น พ้น ๗ วันก็หายไป. 
อิทานิ อเนน ชฏิลสหสฺสํ ปพฺพาชิตํ อิมานิ จ อฑฺฒเตยฺยานิ ปริพฺพาชกสตานิ สญฺจยานิ ปพฺพาชิตานิ. อิเม จ อภิญฺญาตา อภิญฺญาตา มาคธิกา กุลปุตฺตา สมเณ โคตเม พฺรหฺมจริยํ จรนฺตีติ.  อปิสฺสุ ภิกฺขู ทิสฺวา อิมาย คาถาย โจเทนฺติ “อาคโต โข มหาสมโณ มาคธานํ คิริพฺพชํ. สพฺเพ สญฺจเย เนตฺวาน กํสุ ทานิ นยิสฺสตี”ติฯ  อสฺโสสุํ โข ภิกฺขู เตสํ มนุสฺสานํ อุชฺฌายนฺตานํ ขิยฺยนฺตานํ วิปาเจนฺตานํ.  อถ โข เต ภิกฺขู ภควโต เอตมตฺถํ อาโรเจสุํฯเปฯ น ภิกฺขเว โส สทฺโท จิรํ ภวิสฺสติ สตฺตาหเมว ภวิสฺสติ สตฺตาหสฺส อจฺจเยน อนฺตรธายิสฺสติ. เตน หิ ภิกฺขเว เย ตุมฺเห อิมาย คาถาย โจเทนฺติ 
Sāriputtamoggallānapabbajjā niṭṭhitā. ||24|| 
Then the people understood: 'It is by truth, and not by wrong, that the Sakyaputtiya Samanas lead men;' and thus that noise lasted only seven days, and after seven days it was over. 
พระสารีบุตรพระโมคคัลลานะบรรพชา จบ. 
“อาคโต โข มหาสมโณ มาคธานํ คิริพฺพชํ. สพฺเพ สญฺจเย เนตฺวาน กํสุ ทานิ นยิสฺสตี”ติฯ 
catutthakabhāṇavāraṃ niṭṭhitaṃ. 
Here ends the narration of the ordination of Sâriputta and Moggallâna. 
จตุตถภาณวาร จบ 
เต ตุมฺเห อิมาย คาถาย ปฏิโจเทถ “นยนฺติ เว มหาวีรา สทฺธมฺเมน ตถาคตา. ธมฺเมน นยมานานํ กา อุสูยา วิชานต”นฺติฯ 
tena kho pana samayena bhikkhū anupajjhāyakā anovadiyamānā ananusāsiyamānā dunnivatthā duppārutā anākappasampannā piṇḍāya caranti.  te manussānaṃ bhuñjamānānaṃ upari bhojane pi uttiṭṭhapattaṃ upanāmenti, upari khādaniye pi uttiṭṭhapattaṃ upanāmenti, upari sāyaniye pi uttiṭṭhapattaṃ upanāmenti, upari pāniye pi uttiṭṭhapattaṃ upanāmenti, sāmaṃ sūpam pi odanam pi viññāpetvā bhuñjanti, bhattagge pi uccāsaddā mahāsaddā viharanti. |1| 
End of the fourth Bhânavâra.  At that time some Bhikkhus, as they had no upagghâyas (preceptors) and received no exhortation and instruction, went on their rounds for alms wearing improper under and upper garments (or, wearing their under and upper garments improperly), and in an improper attire. 
ต้นเหตุอุปัชฌายวัตร [๗๗] ก็โดยสมัยนั้นแล ภิกษุทั้งหลายไม่มีอุปัชฌาย์ ไม่มีใครตักเตือน ไม่มีใครพร่ำสอน ย่อมนุ่งห่มไม่เรียบร้อย มีมรรยาทไม่สมควร เที่ยวบิณฑบาต  เมื่อประชาชนกำลังบริโภค ย่อมน้อมบาตรสำหรับเที่ยวบิณฑบาตเข้าไปข้างบนของควรบริโภคบ้าง ข้างบนของควรเคี้ยวบ้าง ข้างบนของควรลิ้มบ้าง ข้างบนของควรดื่มบ้าง ขอแกงบ้าง ข้าวสุกบ้าง ด้วยตนเองมาฉัน แม้ในโรงอาหารก็เป็นผู้มีเสียงอื้ออึง มีเสียงดังอยู่. 
เตน โข ปน สมเยน มนุสฺสา ภิกฺขู ทิสฺวา อิมาย คาถาย โจเทนฺติ  “อาคโต โข มหาสมโณ มาคธานํ คิริพฺพชํ. สพฺเพ สญฺจเย เนตฺวาน กํสุ ทานิ นยิสฺสตี”ติฯ 
manussā ujjhāyanti khīyanti vipācenti: kathaṃ hi nāma samaṇā Sakyaputtiyā dunnivatthā duppārutā anākappasampannā piṇḍāya carissanti, manussānaṃ bhuñjamānānaṃ upari bhojane pi uttiṭṭhapattaṃ upanāmessanti, upari khādaniye pi uttiṭṭhapattaṃ upanāmessanti, upari sāyaniye pi uttiṭṭhapattaṃ upanāmessanti, upari pāniye pi uttiṭṭhapattaṃ upanāmessanti, sāmaṃ sūpam pi odanam pi viññāpetvā bhuñjissanti, bhattagge pi uccāsaddā mahāsaddā viharissanti, seyyathāpi brāhmaṇā brāhmaṇabhojane ’ti. |2| 
While people were eating, they held out their alms-bowls in which were leavings of food, over the hard food (which the people were eating), and held them out over soft food, and held them out over savoury food, and held them out over drinks. They asked for soup and boiled rice themselves, and ate it; in the dining halls they made a great and loud noise. 
คนทั้งหลายจึงเพ่งโทษ ติเตียน โพนทะนาว่า ไฉนพระสมณะเชื้อสายพระศากยบุตรจึงได้นุ่งห่มไม่เรียบร้อย มีมรรยาทไม่สมควร เที่ยวบิณฑบาต เมื่อประชาชนกำลังบริโภค ได้น้อมบาตรสำหรับเที่ยวบิณฑบาตเข้าไปข้างบนของควรบริโภคบ้าง ข้างบนของควรเคี้ยวบ้าง ข้างบนของควรลิ้มบ้าง ข้างบนของควรดื่มบ้าง ขอแกงบ้าง ข้าวสุกบ้าง ด้วยตนเองมาฉัน แม้ในโรงอาหารก็ได้เป็นผู้มีเสียงอื้ออึง มีเสียงดังอยู่ เหมือนพวกพราหมณ์ในสถานที่เลี้ยงพราหมณ์ฉะนั้น. 
ภิกฺขู เต มนุสฺเส อิมาย คาถาย ปฏิโจเทนฺติ “นยนฺติ เว มหาวีรา สทฺธมฺเมน ตถาคตา. ธมฺเมน นยมานานํ กา อุสูยา วิชานต”นฺติฯ 
assosuṃ kho bhikkhū tesaṃ manussānaṃ ujjhāyantānaṃ khīyantānaṃ vipācentānaṃ.  ye te bhikkhū appicchā santuṭṭhā lajjino kukkuccakā sikkhākāmā, te ujjhāyanti khīyanti vipācenti:  kathaṃ hi nāma bhikkhū dunnivatthā duppārutā anākappasampannā piṇḍāya carissanti, manussānaṃ bhuñjamānānaṃ upari bhojane pi uttiṭṭhapattaṃ upanāmessanti, upari khādaniye pi uttiṭṭhapattaṃ upanāmessanti, upari sāyaniye pi uttiṭṭhapattaṃ upanāmessanti, upari pāniye pi uttiṭṭhapattaṃ upanāmessanti, sāmaṃ sūpam pi odanam pi viññāpetvā bhuñjissanti, bhattagge pi uccāsaddā mahāsaddā viharissantīti. |3| 
The people were annoyed, murmured, and became angry (saying), 'How can the Sakyaputtiya Samanas go on their rounds for alms wearing improper under and upper garments, . . . . (&c., as in § 1, down to drinks)? How can they make so great and loud a noise in the dining halls? They behave like Brâhmanas at the dinners given to them.'  Some Bhikkhus heard those people that were annoyed, murmured, and had become angry.  Those Bhikkhus who were moderate, frugal, modest, conscientious, anxious for training, were annoyed, murmured, and became angry: 
[๗๘] ภิกษุทั้งหลายได้ยินประชาชนพวกนั้นเพ่งโทษ ติเตียน โพนทะนาอยู่.  บรรดาที่เป็นผู้มักน้อย สันโดษ มีความละอาย มีความรังเกียจ ผู้ใคร่ต่อสิกขา ต่างก็เพ่งโทษ ติเตียนโพนทะนาว่า  ไฉนภิกษุทั้งหลาย จึงได้นุ่งห่มไม่เรียบร้อย มีมรรยาทไม่สมควร เที่ยวบิณฑบาต เมื่อประชาชนกำลังบริโภค ได้น้อมบาตรสำหรับเที่ยวบิณฑบาตเข้าไปข้างบนของควรบริโภคบ้าง ข้างบนของควรเคี้ยวบ้าง ข้างบนของควรลิ้มบ้าง ข้างบนของควรดื่มบ้าง ขอแกงบ้าง ข้าวสุกบ้างด้วยตนเองมาฉัน แม้ในโรงอาหารก็ได้เป็นผู้มีเสียงอื้ออึง มีเสียงดังอยู่ 
มนุสฺสา ธมฺเมน กิร สมณา สกฺยปุตฺติยา เนนฺติ โน อธมฺเมนาติ สตฺตาหเมว โส สทฺโท อโหสิ สตฺตาหสฺส อจฺจเยน อนฺตรธายิ.  สาริปุตฺตโมคฺคลฺลานปพฺพชฺชากถา นิฏฺฐิตา.  จตุตฺถภาณวาโร นิฏฺฐิโต. 
atha kho te bhikkhū bhagavato etam atthaṃ ārocesuṃ.  atha kho bhagavā etasmiṃ nidāne etasmiṃ pakaraṇe bhikkhusaṃghaṃ sannipātāpetvā bhikkhū paṭipucchi:  saccaṃ kira bhikkhave bhikkhū dunnivatthā duppārutā anākappasampannā piṇḍāya caranti manussānaṃ bhuñjamānānaṃ (45) upari bhojane pi uttiṭṭhapattaṃ upanāmenti, upari khādaniye pi uttiṭṭhapattaṃ upanāmenti, upari sāyaniye pi uttiṭṭhapattaṃ upanāmenti, upari pāniye pi uttiṭṭhapattaṃ upanāmenti, sāmaṃ sūpam pi odanam pi viññāpetvā bhuñjanti, bhattagge pi uccāsaddā mahāsaddā viharantīti.  saccaṃ bhagavā. |4| 
'How can the Bhikkhus go on their rounds for alms wearing improper under and upper garments, &c.? How can they make so great and loud a noise in the dining halls?'  These Bhikkhus told this thing to the Blessed One.  In consequence of that and on this occasion the Blessed One, having ordered the fraternity of Bhikkhus to assemble, questioned the Bhikkhus:  'Is it true, O Bhikkhus, that some Bhikkhus go on their rounds, . . . . (&c., down to), that they make a great and loud noise in the dining halls?' 
ดังนี้ แล้วกราบทูลความนั้นแด่พระผู้มีพระภาค.  ประชุมภิกษุสงฆ์ทรงสอบถาม [๗๙] ครั้งนั้น พระผู้มีพระภาครับสั่งให้ประชุมภิกษุสงฆ์ ในเพราะเหตุเป็นเค้ามูลนั้นในเพราะเหตุแรกเกิดนั้น แล้วทรงสอบถามภิกษุทั้งหลายว่า  ดูกรภิกษุทั้งหลาย ข่าวว่า ภิกษุทั้งหลาย นุ่งห่มไม่เรียบร้อย มีมรรยาทไม่สมควรเที่ยวบิณฑบาต เมื่อประชาชนกำลังบริโภค ย่อมน้อมบาตรสำหรับเที่ยวบิณฑบาต เข้าไปข้างบนของควรบริโภคบ้าง ข้างบนของควรเคี้ยวบ้าง ข้างบนของควรลิ้มบ้าง ข้างบนของควรดื่มบ้าง ขอแกงบ้าง ข้าวสุกบ้าง ด้วยตนเองมาฉัน แม้ในโรงอาหารก็เป็นผู้มีเสียงอื้ออึง มีเสียงดังอยู่ จริงหรือ?  ภิกษุทั้งหลายทูลรับว่า จริง พระพุทธเจ้าข้า. 
(๑๕. อุปชฺฌายวตฺตกถา) ๖๔. เตน โข ปน สมเยน ภิกฺขู อนุปชฺฌายกา อนาจริยกา อโนวทิยมานา อนนุสาสิยมานา ทุนฺนิวตฺถา ทุปฺปารุตา อนากปฺปสมฺปนฺนา ปิณฺฑาย จรนฺติ  มนุสฺสานํ ภุญฺชมานานํ อุปริโภชเนปิ อุตฺติฏฺฐปตฺตํ อุปนาเมนฺติ อุปริขาทนีเยปิ อุตฺติฏฺฐปตฺตํ อุปนาเมนฺติ อุปริสายนีเยปิ อุตฺติฏฺฐปตฺตํ อุปนาเมนฺติ อุปริปานีเยปิ อุตฺติฏฺฐปตฺตํ อุปนาเมนฺติ สามํ สูปมฺปิ โอทนมฺปิ วิญฺญาเปตฺวา ภุญฺชนฺติ ภตฺตคฺเคปิ อุจฺจาสทฺทา มหาสทฺทา วิหรนฺติ.  มนุสฺสา อุชฺฌายนฺติ ขิยฺยนฺติ วิปาเจนฺติ “กถญฺหิ นาม สมณา สกฺยปุตฺติยา ทุนฺนิวตฺถา ทุปฺปารุตา อนากปฺปสมฺปนฺนา ปิณฺฑาย จริสฺสนฺติ มนุสฺสานํ ภุญฺชมานานํ อุปริโภชเนปิ อุตฺติฏฺฐปตฺตํ อุปนาเมสฺสนฺติ อุปริขาทนีเยปิ อุตฺติฏฺฐปตฺตํ อุปนาเมสฺสนฺติ อุปริสายนีเยปิ อุตฺติฏฺฐปตฺตํ อุปนาเมสฺสนฺติ อุปริปานีเยปิ อุตฺติฏฺฐปตฺตํ อุปนาเมสฺสนฺติ สามํ สูปมฺปิ โอทนมฺปิ วิญฺญาเปตฺวา ภุญฺชิสฺสนฺติ ภตฺตคฺเคปิ อุจฺจาสทฺทา มหาสทฺทา วิหริสฺสนฺติ เสยฺยถาปิ พฺราหฺมณา พฺราหฺมณโภชเน”ติ.  อสฺโสสุํ โข ภิกฺขู เตสํ มนุสฺสานํ อุชฺฌายนฺตานํ ขิยฺยนฺตานํ วิปาเจนฺตานํ. 
vigarahi buddho bhagavā: ananucchaviyaṃ bhikkhave tesaṃ moghapurisānaṃ ananulomikaṃ appaṭirūpaṃ assāmaṇakaṃ akappiyaṃ akaraṇīyaṃ.  kathaṃ hi nāma te bhikkhave moghapurisā dunnivatthā duppārutā anākappasampannā piṇḍāya carissanti, manussānaṃ bhuñjamānānaṃ upari bhojane pi uttiṭṭhapattaṃ upanāmessanti upari khādaniye pi uttiṭṭhapattaṃ upanāmessanti, upari sāyaniye pi uttiṭṭhapattaṃ upanāmessanti, upari pāniye pi uttiṭṭhapattaṃ upanāmessanti, sāmaṃ sūpam pi odanam pi viññāpetvā bhuñjissanti, bhattagge pi uccāsaddā mahāsaddā viharissanti.  n’ etaṃ bhikkhave appasannānaṃ vā pasādāya pasannānaṃ vā bhiyyobhāvāya, atha kho taṃ bhikkhave appasannānañ c’ eva appasādāya, pasannānañ ca ekaccānaṃ aññathattāyā ’ti. |5| 
'It is true, Lord.'  Then the Blessed Buddha rebuked those Bhikkhus: 'It is improper, O Bhikkhus, what these foolish persons are doing, it is unbecoming, indecent, un worthy of Samanas, unallowable, and to be avoided.  How can these foolish persons, O Bhikkhus, go on their rounds, &c.? How can they make so great and loud a noise in the dining halls? 
ทรงติเตียน // พระผู้มีพระภาคพุทธเจ้าทรงติเตียนว่า ดูกรภิกษุทั้งหลาย การกระทำของโมฆบุรุษเหล่านั้นไม่เหมาะ ไม่สม ไม่ควร ไม่ใช่กิจของสมณะ ใช้ไม่ได้ ไม่ควรทำ  ไฉนโมฆบุรุษเหล่านั้น จึงได้นุ่งห่มไม่เรียบร้อย มีมรรยาทไม่สมควรเที่ยวบิณฑบาต เมื่อประชาชนกำลังบริโภค ได้น้อมบาตรสำหรับเที่ยวบิณฑบาตเข้าไปข้างบนของควรบริโภคบ้าง ข้างบนของควรเคี้ยวบ้าง ข้างบนของควรลิ้มบ้าง ข้างบนของควรดื่มบ้าง ขอแกงบ้าง ข้าวสุกบ้าง ด้วยตนเองมาฉัน แม้ในโรงอาหารก็ได้เป็นผู้มีเสียงอื้ออึง มีเสียงดังอยู่  ดูกรภิกษุทั้งหลาย การกระทำของโมฆบุรุษเหล่านั้นนั่น ไม่เป็นไปเพื่อความเลื่อมใสของชุมชนที่ยังไม่เลื่อมใส หรือเพื่อความเลื่อมใสยิ่งของชุมชนที่เลื่อมใสแล้ว โดยที่แท้ ย่อมเป็นไปเพื่อความไม่เลื่อมใสของชุมชนที่ยังไม่เลื่อมใส และเพื่อความเป็นอย่างอื่นของชนบางพวกผู้เลื่อมใสแล้ว. 
เย เต ภิกฺขู อปฺปิจฺฉา สนฺตุฏฺฐา ลชฺชิโน กุกฺกุจฺจกา สิกฺขากามา เต อุชฺฌายนฺติ ขิยฺยนฺติ วิปาเจนฺติ  “กถญฺหิ นาม ภิกฺขู ทุนฺนิวตฺถา ทุปฺปารุตา อนากปฺปสมฺปนฺนา ปิณฺฑาย จริสฺสนฺติ มนุสฺสานํ ภุญฺชมานานํ อุปริโภชเนปิ อุตฺติฏฺฐปตฺตํ อุปนาเมสฺสนฺติ อุปริขาทนีเยปิ อุตฺติฏฺฐปตฺตํ อุปนาเมสฺสนฺติ อุปริสายนีเยปิ อุตฺติฏฺฐปตฺตํ อุปนาเมสฺสนฺติ อุปริปานีเยปิ อุตฺติฏฺฐปตฺตํ อุปนาเมสฺสนฺติ สามํ สูปมฺปิ โอทนมฺปิ วิญฺญาเปตฺวา ภุญฺชิสฺสนฺติ ภตฺตคฺเคปิ อุจฺจาสทฺทา มหาสทฺทา วิหริสฺสนฺตี”ติ.  อถ โข เต ภิกฺขูฯเปฯ ภควโต เอตมตฺถํ อาโรเจสุํ. 
atha kho bhagavā te bhikkhū anekapariyāyena vigarahitvā dubbharatāya dupposatāya mahicchatāya asantuṭṭhiyā saṃgaṇikāya kosajjassa avaṇṇaṃ bhāsitvā anekapariyāyena subharatāya suposatāya appicchassa santuṭṭhassa sallekhassa dhutassa pāsādikassa apacayassa viriyārambhassa vaṇṇaṃ bhāsitvā bhikkhūnaṃ tadanucchavikaṃ tadanulomikaṃ dhammiṃ kathaṃ katvā bhikkhū āmantesi: anujānāmi bhikkhave upajjhāyaṃ.  upajjhāyo bhikkhave saddhivihārikamhi puttacittaṃ upaṭṭhāpessati, saddhivihāriko upajjhāyamhi pitucittaṃ upaṭṭhāpessati.  evaṃ te aññamaññaṃ sagāravā sappatissā sabhāgavuttino viharantā imasmiṃ dhammavinaye vuḍḍhiṃ virūḷhiṃ vepullaṃ āpajjissanti. |6| 
This will not do, O Bhikkhus, for converting the unconverted, and for augmenting the number of the converted; but it will result, O Bhikkhus, in the unconverted being repulsed (from the faith), and in many of the converted being estranged.'  And the Blessed One rebuked those Bhikkhus in many ways, spoke against unfrugality, ill-nature, immoderation, insatiableness, delighting in society, and indolence; spoke in many ways in praise of frugality, good-nature, of the moderate, contented, who have eradicated (sin), who have shaken off (sin), of the gracious, of the reverent, and of the energetic. And having delivered beforethe Bhikkhus a religious discourse in accordance to, and in conformity with these subjects, he thus addressed the Bhikkhus: 'I prescribe, O Bhikkhus, (that young Bhikkhus choose) an upagghâya (or preceptor).  'The upagghâya, O Bhikkhus, ought to consider the saddhivihârika (i.e. pupil) as a son; the saddhivihârika ought to consider the upagghâya as a father. 
ทรงอนุญาตอุปัชฌายะ [๘๐] ครั้นพระผู้มีพระภาคทรงติเตียนภิกษุเหล่านั้นโดยอเนกปริยายดังนี้แล้ว จึงตรัสโทษแห่งความเป็นคนเลี้ยงยาก ความเป็นคนบำรุงยาก ความเป็นคนมักมาก ความเป็นคนไม่สันโดษ ความคลุกคลี ความเกียจคร้าน ตรัสคุณแห่งความเป็นคนเลี้ยงง่าย ความเป็นคนบำรุงง่าย ความมักน้อย ความสันโดษ ความกำจัด ความขัดเกลา อาการที่น่าเลื่อมใส การไม่สะสม การปรารภความเพียร โดยอเนกปริยาย ทรงทำธรรมีกถาที่สมควรแก่เรื่องนั้น ที่เหมาะสมแก่เรื่องนั้นแก่ภิกษุทั้งหลาย แล้วรับสั่งว่า ดูกรภิกษุทั้งหลาย เราอนุญาตอุปัชฌายะ  อุปัชฌายะจักตั้งจิตสนิทสนมในสัทธิวิหาริกฉันบุตร สัทธิวิหาริกจักตั้งจิตสนิทสนมในอุปัชฌายะฉันบิดา  เมื่อเป็นเช่นนี้ อุปัชฌายะและสัทธิวิหาริกนั้น ต่างจักมีความเคารพ ยำเกรง ประพฤติกลมเกลียวกันอยู่ จักถึงความเจริญงอกงามไพบูลย์ในธรรมวินัยนี้. 
อถ โข ภควา เอตสฺมึ นิทาเน เอตสฺมึ ปกรเณ ภิกฺขุสงฺฆํ สนฺนิปาตาเปตฺวา ภิกฺขู ปฏิปุจฺฉิ  “สจฺจํ กิร ภิกฺขเว ภิกฺขู ทุนฺนิวตฺถา ทุปฺปารุตา อนากปฺปสมฺปนฺนา ปิณฺฑาย จรนฺติ มนุสฺสานํ ภุญฺชมานานํ อุปริ โภชเนปิ อุตฺติฏฺฐปตฺตํ อุปนาเมนฺติ อุปริขาทนีเยปิ อุตฺติฏฺฐปตฺตํ อุปนาเมนฺติ อุปริสายนีเยปิ อุตฺติฏฺฐปตฺตํ อุปนาเมนฺติ อุปริปานีเยปิ อุตฺติฏฺฐปตฺตํ อุปนาเมนฺติ สามํ สูปมฺปิ โอทนมฺปิ วิญฺญาเปตฺวา ภุญฺชนฺติ ภตฺตคฺเคปิ อุจฺจาสทฺทา มหาสทฺทา วิหรนฺตี”ติ?  “สจฺจํ ภควา”ติ. 
evañ ca pana bhikkhave upajjhāyo gahetabbo: ekaṃsaṃ uttarāsaṅgaṃ karitvā pāde vanditvā ukkuṭikaṃ nisīditvā añjaliṃ paggahetvā evam assa vacanīyo:  upajjhāyo me bhante hohi, upajjhāyo me bhante hohi, {upajjhāyo} me bhante hohīti.  sāhū ’ti vā, lahū ’ti vā, opāyikan ti vā, paṭirūpan ti vā, pāsādikena sampādehīti vā kāyena viññāpeti, vācāya viññāpeti, kāyena vācāya viññāpeti, gahito hoti upajjhāyo, na kāyena viññāpeti, na vācāya viññā-(46)peti, na kāyenavācāya viññāpeti, na gahito hoti upajjhāyo. |7| 
Thus these two, united by mutual reverence, confidence, and communion of life, will progress, advance, and reach a high stage in this doctrine and discipline.  'And let them choose, O Bhikkhus, an upagghâya in this way: Let him (who is going to choose an upagghâya) adjust his upper robe so as to cover one shoulder, salute the feet (of the intended upagghâya), sit down squatting, raise his joined hands, and say:  "Venerable Sir, be my upagghâya; venerable Sir, be my upagghâya; venerable Sir, be my upagghâya." 
ดูกรภิกษุทั้งหลาย ก็แลสัทธิวิหาริกพึงถืออุปัชฌายะอย่างนี้.(วิธีถืออุปัชฌายะ) สิทธิวิหาริกนั้น พึงห่มผ้าอุตราสงค์เฉวียงบ่า ไหว้เท้า นั่งกระหย่ง ประคองอัญชลีแล้วกล่าวคำอย่างนี้ ๓ หน  ท่านเจ้าข้า ขอท่านจงเป็นอุปัชฌายะของข้าพเจ้า, ท่านเจ้าข้า ขอท่านจงเป็นอุปัชฌายะของข้าพเจ้า, ท่านเจ้าข้า ขอท่านจงเป็นอุปัชฌายะของข้าพเจ้า.  อุปัชฌายะรับว่า ดีละ เบาใจละ ชอบแก่อุบายละ สมควรละ หรือรับว่า จงยังความปฏิบัติให้ถึงพร้อมด้วยอาการอันน่าเลื่อมใสเถิด ดังนี้ก็ได้ รับด้วยกาย รับด้วยวาจา รับด้วยกายด้วยวาจาก็ได้ เป็นอันสัทธิวิหาริกถืออุปัชฌายะแล้ว ไม่รับด้วยกาย ไม่รับด้วยวาจา ไม่รับด้วยทั้งกายและวาจา ไม่เป็นอันสิทธิวิหาริกถืออุปัชฌายะ. 
วิครหิ พุทฺโธ ภควา “อนนุจฺฉวิกํ ภิกฺขเว เตสํ โมฆปุริสานํ อนนุโลมิกํ อปฺปติรูปํ อสฺสามณกํ อกปฺปิยํ อกรณียํ.  กถญฺหิ นาม เต ภิกฺขเว โมฆปุริสา ทุนฺนิวตฺถา ทุปฺปารุตา อนากปฺปสมฺปนฺนา ปิณฺฑาย จริสฺสนฺติ มนุสฺสานํ ภุญฺชมานานํ อุปริโภชเนปิ อุตฺติฏฺฐปตฺตํ อุปนาเมสฺสนฺติ อุปริขาทนีเยปิ อุตฺติฏฺฐปตฺตํ อุปนาเมสฺสนฺติ อุปริสายนีเยปิ อุตฺติฏฺฐปตฺตํ อุปนาเมสฺสนฺติ อุปริปานีเยปิ อุตฺติฏฺฐปตฺตํ อุปนาเมสฺสนฺติ สามํ สูปมฺปิ โอทนมฺปิ วิญฺญาเปตฺวา ภุญฺชิสฺสนฺติ ภตฺตคฺเคปิ อุจฺจาสทฺทา มหาสทฺทา วิหริสฺสนฺติ.  เนตํ ภิกฺขเว อปฺปสนฺนานํ วา ปสาทาย ปสนฺนานํ วา ภิยฺโยภาวาย. อถ ขฺเวตํ ภิกฺขเว อปฺปสนฺนานญฺเจว อปฺปสาทาย ปสนฺนานญฺจ เอกจฺจานํ อญฺญถตฺตายา”ติ. 
saddhivihārikena bhikkhave upajjhāyamhi sammāvattitabbaṃ, tatrāyaṃ sammāvattanā:  kālass’ eva uṭṭhāya upāhanā omuñcitvā ekaṃsaṃ uttarāsaṅgaṃ karitvā dantakaṭṭhaṃ dātabbaṃ, mukhodakaṃ dātabbaṃ, āsanaṃ paññāpetabbaṃ.  sace yāgu hoti, bhājanaṃ dhovitvā yāgu upanāmetabbā.  yāguṃ pītassa udakaṃ datvā bhājanaṃ paṭiggahetvā nīcaṃ katvā sādhukaṃ aparighaṃsantena dhovitvā paṭisāmetabbaṃ.  upajjhāyamhi vuṭṭhite āsanaṃ uddharitabbaṃ.  sace so deso uklāpo hoti, so deso sammajjitabbo. |8| 
(If the other answer): "Well," or, "Certainly," or, "Good," or, "All right," or, "Carry on (your work) with friendliness (towards me)," or should he express this by gesture (lit. by his body). or by word, or by gesture and word, then the upagghâya has been chosen. If he does not express this by gesture, nor by word, nor by gesture and word, the upagghâya has not been chosen.  'The saddhivihârika, O Bhikkhus, ought to observe a strict conduct towards his upagghâya. And these are the rules for his conduct:  Let him arise betimes, and having taken off his shoes and adjusted his upper robe so as to cover one shoulder, let him give (to the upagghâya) the teeth-cleanser and water to rinse his mouth with. Then let him prepare a seat (for the upagghâya).  If there is rice-milk, let him rinse the jug and offer the rice-milk (to the upagghâya).  When he has drunk it, let him give water (to the upagghâya), take the jug, hold it down, rinse it properly without (damaging it by) rubbing, and put it away.  When the upagghâya has risen, let him take away the seat. 
อุปัชฌายวัตร [๘๑] ดูกรภิกษุทั้งหลาย สัทธิวิหาริกพึงประพฤติชอบในอุปัชฌายะ. วิธีประพฤติชอบในอุปัชฌายะนั้น มีดังต่อไปนี้:-  สัทธิวิหาริกพึงลุกแต่เช้าตรู่ ถอดรองเท้า ห่มผ้าเฉวียงบ่า แล้วถวายไม้ชำระฟัน ถวายน้ำล้างหน้า ปูอาสนะไว้  ถ้ายาคูมี พึงล้างภาชนะแล้วน้อมยาคูเข้าไปถวาย  เมื่ออุปัชฌายะดื่มยาคูแล้ว พึงถวายน้ำ รับภาชนะมา ถือต่ำๆ อย่าให้กระทบกัน ล้างให้สะอาดแล้วเก็บไว้  เมื่ออุปัชฌายะลุกแล้ว พึงเก็บอาสนะ  ถ้าที่นั้นรก พึงกวาดที่นั้นเสีย. 
อถ โข ภควา เต ภิกฺขู อเนกปริยาเยน วิครหิตฺวา ทุพฺภรตาย ทุปฺโปสตาย มหิจฺฉตาย อสนฺตุฏฺฐิตาย สงฺคณิกาย โกสชฺชสฺส อวณฺณํ ภาสิตฺวา อเนกปริยาเยน สุภรตาย สุโปสตาย อปฺปิจฺฉสฺส สนฺตุฏฺฐสฺส สลฺเลขสฺส ธุตสฺส ปาสาทิกสฺส อปจยสฺส วีริยารมฺภสฺส วณฺณํ ภาสิตฺวา ภิกฺขูนํ ตทนุจฺฉวิกํ ตทนุโลมิกํ ธมฺมึ กถํ กตฺวา ภิกฺขู อามนฺเตสิ ๖๕. “อนุชานามิ ภิกฺขเว อุปชฺฌายํ.  อุปชฺฌาโย ภิกฺขเว สทฺธิวิหาริกมฺหิ ปุตฺตจิตฺตํ อุปฏฺฐเปสฺสติ สทฺธิวิหาริโก อุปชฺฌายมฺหิ ปิตุจิตฺตํ อุปฏฺฐเปสฺสติ.  เอวํ เต อญฺญมญฺญํ สคารวา สปฺปติสฺสา สภาควุตฺติโน วิหรนฺตา อิมสฺมึ ธมฺมวินเย วุฑฺฒิ๎ วิรุฬฺหึ เวปุลฺลํ อาปชฺชิสฺสนฺติ.  เอวญฺจ ปน ภิกฺขเว อุปชฺฌาโย คเหตพฺโพ เอกํสํ อุตฺตราสงฺคํ กริตฺวา ปาเท วนฺทิตฺวา อุกฺกุฏิกํ นิสีทิตฺวา อญฺชลึ ปคฺคเหตฺวา เอวมสฺส วจนีโย  ‘อุปชฺฌาโย เม ภนฺเต โหหิ อุปชฺฌาโย เม ภนฺเต โหหิ อุปชฺฌาโย เม ภนฺเต โหหี’ติ.  สาหูติ วา ลหูติ วา โอปายิกนฺติ วา ปติรูปนฺติ วา ปาสาทิเกน สมฺปาเทหีติ วา กาเยน วิญฺญาเปติ วาจาย วิญฺญาเปติ กาเยน วาจาย วิญฺญาเปติ คหิโต โหติ อุปชฺฌาโย น กาเยน วิญฺญาเปติ น วาจาย วิญฺญาเปติ น กาเยน วาจาย วิญฺญาเปติ น คหิโต โหติ อุปชฺฌาโย. 
sace upajjhāyo gāmaṃ pavisitukāmo hoti, nivāsanaṃ dātabbaṃ, paṭinivāsanaṃ paṭiggahetabbaṃ, kāyabandhanaṃ dātabbaṃ, saguṇaṃ katvā saṃghāṭiyo dātabbā, dhovitvā patto saudako dātabbo.  sace upajjhāyo pacchāsamaṇaṃ ākaṅkhati, timaṇḍalaṃ paṭicchādentena parimaṇḍalaṃ nivāsetvā kāyabandhanaṃ bandhitvā saguṇaṃ katvā saṃghāṭiyo pārupitvā gaṇṭhikaṃ paṭimuñcitvā dhovitvā pattaṃ gahetvā upajjhāyassa pacchāsamaṇena hotabbaṃ.  nātidūre gantabbaṃ, na accāsanne gantabbaṃ.  pattapariyāpannaṃ paṭiggahetabbaṃ. |9| 
If the place is dirty, let him sweep the place.  'If the upagghâya wishes to go into the village, let (the saddhivihârika) give (to the upagghâya) his under garment, take (from him) his second under garment (i.e. his house-dress ?), give him his girdle, lay the two upper garments upon each other and give them (to the upagghâya), rinse the alms-bowl, and give it him with some water in it.  If the upagghâya wishes (to go with) an attendant Bhikkhu, let him put on his under garment so as to conceal the three circles (viz. the navel and the two knees) and as to cover the body all around; then let him put on his girdle, lay the two upper garments upon each other and put them on, tie the knots, take his alms-bowl, after having it rinsed, and follow the upagghâya as his attendant.  Let him not go too far (from the upagghâya) nor too near. 
ถ้าอุปัชฌายะประสงค์จะเข้าบ้าน พึงถวายผ้านุ่ง พึงรับผ้านุ่งผลัดมา พึงถวายประคตเอว พึงพับผ้าสังฆาฏิเป็นชั้นถวาย พึงล้างบาตรแล้วถวายพร้อมทั้งน้ำด้วย  ถ้าอุปัชฌายะปรารถนาจะให้เป็นปัจฉาสมณะ พึงปกปิดมณฑล ๓ นุ่งให้เป็นปริมณฑลแล้วคาดประคตเอว ห่มสังฆาฏิ ทำเป็นชั้น กลัดดุม ล้างบาตรแล้ว ถือไป เป็นปัจฉาสมณะของอุปัชฌายะ  ไม่พึงเดินให้ห่างนัก ไม่พึงเดินให้ชิดนัก  พึงรับวัตถุที่เนื่องในบาตร 
๖๖. “สทฺธิวิหาริเกน ภิกฺขเว อุปชฺฌายมฺหิ สมฺมา วตฺติตพฺพํ. ตตฺรายํ สมฺมาวตฺตนา  “กาลสฺเสว วุฏฺฐาย อุปาหนา โอมุญฺจิตฺวา เอกํสํ อุตฺตราสงฺคํ กริตฺวา ทนฺตกฏฺฐํ ทาตพฺพํ มุโขทกํ ทาตพฺพํ อาสนํ ปญฺญเปตพฺพํ.  สเจ ยาคุ โหติ ภาชนํ โธวิตฺวา ยาคุ อุปนาเมตพฺพา.  ยาคุํ ปีตสฺส อุทกํ ทตฺวา ภาชนํ ปฏิคฺคเหตฺวา นีจํ กตฺวา สาธุกํ อปฺปฏิฆํสนฺเตน โธวิตฺวา ปฏิสาเมตพฺพํ. 
na upajjhāyassa bhaṇamānassa antarantarā kathā opātetabbā.  upajjhāyo āpattisāmantā bhaṇamāno nivāretabbo.  nivattantena paṭhamataraṃ āgantvā āsanaṃ paññāpetabbaṃ, pādodakaṃ pādapīṭhaṃ pādakathalikaṃ upanikkhipitabbaṃ, paccuggantvā pattacīvaraṃ paṭiggahetabbaṃ, paṭinivāsanaṃ dātabbaṃ, nivāsanaṃ paṭiggahetabbaṃ.  sace cīvaraṃ sinnaṃ hoti, muhuttaṃ uṇhe otāpetabbaṃ, na ca uṇhe cīvaraṃ nidahitabbaṃ.  cīvaraṃ saṃharitabbaṃ.  cīvaraṃ saṃharantena caturaṅgulaṃ kaṇṇaṃ ussāretvā cīvaraṃ saṃharitabbaṃ mā majjhe bhaṅgo ahosīti.  obhoge kāyabandhanaṃ kātabbaṃ.  sace piṇḍapāto hoti upajjhāyo ca bhuñjitukāmo hoti, udakaṃ datvā piṇḍapāto upanāmetabbo. |10| 
Let him take (from the upagghâya) what has been put into his alms-bowl.  'When the upagghâya speaks, let (the saddhivihârika) not interrupt him.  If the upagghâya is in danger of committing an offence by the words he says, let (the saddhivihârika) keep him back.  When (the upagghâya) turns back (from his alms-pilgrimage), let the saddhivihârika go back (to the Vihâra) before (the upagghâya), prepares seat, get water for the washing of his feet, a foot-stool, and a towel; then let him go to meet the upagghâya, take his bowl and his robe, give him his second under garment (his house-dress ?), and take his under garment.  If the robe (of the upagghâya) is wet with perspiration, let him dry it a while in a hot place, but let him not leave the robe in a hot place.  Let him fold up the robe.  When folding up the robe, let him fold it up so as to leave (every day) four inches (more than the day before) hanging over at the corners, in order that no fold may arise in the middle of it.  Let him the girdle. 
เมื่ออุปัชฌายะกำลังพูด ไม่พึงพูดสอดขึ้นในระหว่าง  อุปัชฌายะกล่าวถ้อยคำใกล้ต่ออาบัติ พึงห้ามเสีย  เมื่อกลับ พึงมาก่อน แล้วปูอาสนะที่นั่งฉันไว้ พึงเตรียมน้ำล้างเท้า ตั่งรองเท้ากระเบื้องเช็ดเท้าไว้ พึงลุกขึ้นรับบาตรและจีวร พึงถวายผ้านุ่งผลัด พึงรับผ้านุ่งมา.  ถ้าจีวรชุ่มเหงื่อ พึงผึ่งแดดไว้ครู่หนึ่ง แต่ไม่พึงผึ่งทิ้งไว้ที่แดด  พึงพับจีวร  เมื่อพับจีวร พึงพับให้เหลื่อมมุมกัน ๔ นิ้ว ด้วยตั้งใจมิให้มีรอยพับตรงกลาง  พึงทำประคตเอวไว้ในขนดอันตรวาสก.  ถ้าบิณฑบาตมี และอุปัชฌายะประสงค์จะฉัน พึงถวายน้ำ แล้วน้อมบิณฑบาตเข้าไปถวาย 
อุปชฺฌายมฺหิ วุฏฺฐิเต อาสนํ อุทฺธริตพฺพํ.  สเจ โส เทโส อุกฺลาโป โหติ โส เทโส สมฺมชฺชิตพฺโพ.  “สเจ อุปชฺฌาโย คามํ ปวิสิตุกาโม โหติ นิวาสนํ ทาตพฺพํ ปฏินิวาสนํ ปฏิคฺคเหตพฺพํ กายพนฺธนํ ทาตพฺพํ สคุณํ กตฺวา สงฺฆาฏิโย ทาตพฺพา โธวิตฺวา ปตฺโต โสทโก ทาตพฺโพ.  สเจ อุปชฺฌาโย ปจฺฉาสมณํ อากงฺขติ ติมณฺฑลํ ปฏิจฺฉาเทนฺเตน ปริมณฺฑลํ นิวาเสตฺวา กายพนฺธนํ พนฺธิตฺวา สคุณํ กตฺวา สงฺฆาฏิโย ปารุปิตฺวา คณฺฐิกํ ปฏิมุญฺจิตฺวา โธวิตฺวา ปตฺตํ คเหตฺวา อุปชฺฌายสฺส ปจฺฉาสมเณน โหตพฺพํ.  นาติทูเร คนฺตพฺพํ นาจฺจาสนฺเน คนฺตพฺพํ  ปตฺตปริยาปนฺนํ ปฏิคฺคเหตพฺพํ.  น อุปชฺฌายสฺส ภณมานสฺส อนฺตรนฺตรา กถา โอปาเตตพฺพา.  อุปชฺฌาโย อาปตฺติสามนฺตา ภณมาโน นิวาเรตพฺโพ. 
upajjhāyo pāniyena pucchitabbo.  bhuttāvissa udakaṃ datvā pattaṃ paṭiggahetvā nīcaṃ katvā sādhukaṃ aparighaṃsantena dhovitvā vodakaṃ katvā muhuttaṃ uṇhe otāpetabbo, na ca uṇhe patto nidahitabbo.  pattacīvaraṃ nikkhipitabbaṃ.  pattaṃ nikkhipantena ekena hatthena pattaṃ gahetvā ekena hatthena heṭṭhāmañcaṃ vā (47)heṭṭhāpīṭhaṃ vā parāmasitvā patto nikkhipitabbo, na ca anantarahitāya bhūmiyā patto nikkhipitabbo.  cīvaraṃ nikkhipantena ekena hatthena cīvaraṃ gahetvā ekena hatthena cīvaravaṃsaṃ vā cīvararajjuṃ vā pamajjitvā pārato antaṃ orato bhogaṃ katvā cīvaraṃ nikkhipitabbaṃ.  upajjhāyamhi vuṭṭhite āsanaṃ uddharitabbaṃ, pādodakaṃ pādapīṭhaṃ pādakathalikaṃ paṭisāmetabbaṃ.  sace so deso uklāpo hoti, so deso sammajjitabbo. |11| 
If there is any food received in the alms-bowl, and the upagghâya desires to eat it, let him give water (to the upagghâya) and then offer him the food.  'Let him offer to the upagghâya (water) to drink.  When the upagghâya has finished his meal, let (the saddhivihârika) give him water, take his alms-bowl, hold it down, rinse it properly without (damaging it by) rubbing, pour the water out, and dry (the bowl) a while in some hot place, but let him not leave the bowl in the hot place.  Let him put away the alms-bowl and the robe.  When he puts away the alms-bowl, let him do so holding the alms-bowl with one hand, and first feeling with the other hand under the bed or under the chair (where he is going to put the bowl), and let him not put the bowl on the bare ground.  When he hangs up the robe, let him take the robe with one hand and stroke with the other hand along the bambu peg or rope on which the robe is to be hung up, and hang up the robe so that the border is turned away from him (and turned to the wall), and the fold is turned towards him.  When the upagghâya has risen, let him take away the seat and put away the water for the washing of the feet, the foot-stool, and the towel. 
พึงถามอุปัชฌายะด้วยน้ำฉัน  เมื่ออุปัชฌายะฉันแล้ว พึงถวายน้ำ รับบาตรมา ถือต่ำๆ อย่าให้กระทบ ล้างให้สะอาด เช็ดให้แห้งแล้ว ผึ่งไว้ที่แดดครู่หนึ่ง แต่ไม่พึงผึ่งทิ้งไว้ที่แดด  พึงเก็บบาตรจีวร  เมื่อเก็บบาตร พึงเอามือข้างหนึ่งจับบาตร เอามือข้างหนึ่งลูบคลำใต้เตียงหรือใต้ตั่ง แล้วจึงเก็บบาตร แต่ไม่พึงเก็บบาตรไว้บนพื้นที่ไม่มีสิ่งใดรอง  เมื่อเก็บจีวร พึงเอามือข้างหนึ่งถือจีวร เอามือข้างหนึ่งลูบราวจีวรหรือสายระเดียง แล้วทำชายไว้ข้างนอก ทำขนดไว้ข้างใน แล้วจึงเก็บจีวร  เมื่ออุปัชฌายะลุกแล้ว พึงเก็บอาสนะ เก็บน้ำล้างเท้า ตั่งรองเท้า กระเบื้องเช็ดเท้า  ถ้าที่นั้นรก พึงกวาดที่นั้นเสีย. 
“นิวตฺตนฺเตน ปฐมตรํ อาคนฺตฺวา อาสนํ ปญฺญเปตพฺพํ ปาโททกํ ปาทปีฐํ ปาทกถลิกํ อุปนิกฺขิปิตพฺพํ ปจฺจุคฺคนฺตฺวา ปตฺตจีวรํ ปฏิคฺคเหตพฺพํ ปฏินิวาสนํ ทาตพฺพํ นิวาสนํ ปฏิคฺคเหตพฺพํ.  สเจ จีวรํ สินฺนํ โหติ มุหุตฺตํ อุณฺเห โอตาเปตพฺพํ น จ อุณฺเห จีวรํ นิทหิตพฺพํ  จีวรํ สงฺฆริตพฺพํ  จีวรํ สงฺฆรนฺเตน จตุรงฺคุลํ กณฺณํ อุสฺสาเรตฺวา จีวรํ สงฺฆริตพฺพํ มา มชฺเฌ ภงฺโค อโหสีติ.  โอโภเค กายพนฺธนํ กาตพฺพํ.  “สเจ ปิณฺฑปาโต โหติ อุปชฺฌาโย จ ภุญฺชิตุกาโม โหติ อุทกํ ทตฺวา ปิณฺฑปาโต อุปนาเมตพฺโพ.  อุปชฺฌาโย ปานีเยน ปุจฺฉิตพฺโพ 
sace upajjhāyo {nahāyitukāmo} hoti, nahānaṃ paṭiyādetabbaṃ.  sace sītena attho hoti, sītaṃ paṭiyādetabbaṃ.  sace uṇhena attho hoti, uṇhaṃ paṭiyādetabbaṃ.  sace upajjhāyo jantāgharaṃ pavisitukāmo hoti, cuṇṇaṃ sannetabbaṃ, mattikā temetabbā, jantāgharapīṭhaṃ ādāya upajjhāyassa piṭṭhito-piṭṭhito gantvā jantāgharapīṭhaṃ datvā cīvaraṃ paṭiggahetvā ekamantaṃ nikkhipitabbaṃ, cuṇṇaṃ dātabbaṃ, mattikā dātabbā.  sace ussahati, jantāgharaṃ pavisitabbaṃ.  jantāgharaṃ pavisantena mattikāya mukhaṃ makkhetvā purato ca pacchato ca paṭicchādetvā jantāgharaṃ pavisitabbaṃ. |12| 
If the place is dirty, let him sweep the place.  'If the upagghâya wishes to bathe, let him prepare a bath.  If he wants cold water, let him get cold water;  if he wants hot water, let him get hot water.  If the upagghâya wishes to go to the gantâghara, let (the saddhivihârika) knead the powder, moisten the clay, take up the chair belonging to the gantâghara, follow the upagghâya from behind, give him the chair, take his robe and put it aside, give him the powder and the clay.  If he is able, let him also enter the gantâghara. 
ถ้าอุปัชฌายะใคร่จะสรงน้ำ พึงจัดน้ำสรงถวาย  ถ้าต้องการน้ำเย็น พึงจัดน้ำเย็นถวาย  ถ้าต้องการน้ำร้อน พึงจัดน้ำร้อนถวาย.  ถ้าอุปัชฌายะประสงค์จะเข้าเรือนไฟ พึงบดจุณ แช่ดิน ถือตั่งสำหรับเรือนไฟแล้ว เดินตามหลังอุปัชฌายะไป ถวายตั่งสำหรับเรือนไฟแล้ว รับจีวรมาวางไว้ ณ ที่ควรส่วนข้างหนึ่ง พึงถวายจุณ ถวายดิน  ถ้าอุตสาหะอยู่ พึงเข้าเรือนไฟ  เมื่อเข้าเรือนไฟ พึงเอาดินทาหน้า ปิดทั้งข้างหน้า ข้างหลัง แล้วเข้าเรือนไฟ 
ภุตฺตาวิสฺส อุทกํ ทตฺวา ปตฺตํ ปฏิคฺคเหตฺวา นีจํ กตฺวา สาธุกํ อปฺปฏิฆํสนฺเตน โธวิตฺวา โวทกํ กตฺวา มุหุตฺตํ อุณฺเห โอตาเปตพฺโพ น จ อุณฺเห ปตฺโต นิทหิตพฺโพ.  ปตฺตจีวรํ นิกฺขิปิตพฺพํ.  ปตฺตํ นิกฺขิปนฺเตน เอเกน หตฺเถน ปตฺตํ คเหตฺวา เอเกน หตฺเถน เหฏฺฐามญฺจํ วา เหฏฺฐาปีฐํ วา ปรามสิตฺวา ปตฺโต นิกฺขิปิตพฺโพ. น จ อนนฺตรหิตาย ภูมิยา ปตฺโต นิกฺขิปิตพฺโพ.  จีวรํ นิกฺขิปนฺเตน เอเกน หตฺเถน จีวรํ คเหตฺวา เอเกน หตฺเถน จีวรวํสํ วา จีวรรชฺชุํ วา ปมชฺชิตฺวา ปารโต อนฺตํ โอรโต โภคํ กตฺวา จีวรํ นิกฺขิปิตพฺพํ.  อุปชฺฌายมฺหิ วุฏฺฐิเต อาสนํ อุทฺธริตพฺพํ ปาโททกํ ปาทปีฐํ ปาทกถลิกํ ปฏิสาเมตพฺพํ.  สเจ โส เทโส อุกฺลาโป โหติ โส เทโส สมฺมชฺชิตพฺโพ. 
na there bhikkhū anupakhajja nisīditabbaṃ, na navā bhikkhū āsanena paṭibāhetabbā. jantāghare upajjhāyassa parikammaṃ kātabbaṃ.  jantāgharā nikkhamantena jantāgharapīṭhaṃ ādāya purato ca pacchato ca paṭicchādetvā jantāgharā nikkhamitabbaṃ.  udake pi upajjhāyassa parikammaṃ kātabbaṃ.  nahātena paṭhamataraṃ uttaritvā attano gattaṃ vodakaṃ katvā nivāsetvā upajjhāyassa gattato udakaṃ pamajjitabbaṃ, nivāsanaṃ dātabbaṃ, saṃghāṭi dātabbā, jantāgharapīṭhaṃ ādāya paṭhamataraṃ āgantvā āsanaṃ paññāpetabbaṃ, pādodakaṃ pādapīṭhaṃ pādakathalikaṃ upanikkhipitabbaṃ.  upajjhāyo pāniyena pucchitabbo. |13| 
When he is going to enter the gantâghara, let him besmear his face with clay, cover himself from before and behind, and thus enter the gantâghara.  'Let him not sit down so as to encroach on senior Bhikkhus, nor let him dislodge junior Bhikkhus from their seats. Let him wait upon the upagghâya in the gantâghara.  When he is going to leave thegantâghara, let him take up the chair belonging to the gantâghara, cover himself from before and behind, and thus leave the gantâghara.  Let him wait upon the upagghâya also in the water.  When he has bathed, let (the saddhivihârika) go out of the water first, let him dry his own body, put on his dress, then wipe off the water from his upagghâya's body, give him his under garment and his upper garment, take the chair belonging to the gantâghara, go before the upagghâya, prepare a seat for him, and get water for the washing of his feet, a foot-stool, and a towel. 
ไม่พึงนั่งเบียดภิกษุผู้เถระ ไม่พึงห้ามกันอาสนะภิกษุใหม่ พึงทำบริกรรม แก่อุปัชฌายะในเรือนไฟ  เมื่อออกจากเรือนไฟ พึงถือตั่งสำหรับเรือนไฟ แล้วปิดทั้งข้างหน้าทั้งข้างหลังออกจากเรือนไฟ  พึงทำบริกรรมแก่อุปัชฌายะแม้ในน้ำ  อาบเสร็จแล้ว พึงขึ้นมาก่อน ทำตัวของตนให้แห้งน้ำ นุ่งผ้าแล้ว พึงเช็ดน้ำจากตัวของอุปัชฌายะ พึงถวายผ้านุ่ง พึงถวายผ้าสังฆาฏิ ถือตั่งสำหรับเรือนไฟมาก่อน แล้วปูอาสนะไว้ เตรียมน้ำล้างเท้า ตั่งรองเท้า กระเบื้องเช็ดเท้าไว้  พึงถามอุปัชฌายะด้วยน้ำฉัน. 
“สเจ อุปชฺฌาโย นหายิตุกาโม โหติ นหานํ ปฏิยาเทตพฺพํ.  สเจ สีเตน อตฺโถ โหติ สีตํ ปฏิยาเทตพฺพํ.  สเจ อุณฺเหน อตฺโถ โหติ อุณฺหํ ปฏิยาเทตพฺพํ.  “สเจ อุปชฺฌาโย ชนฺตาฆรํ ปวิสิตุกาโม โหติ จุณฺณํ สนฺเนตพฺพํ มตฺติกา เตเมตพฺพา ชนฺตาฆรปีฐํ อาทาย อุปชฺฌายสฺส ปิฏฺฐิโต ปิฏฺฐิโต คนฺตฺวา ชนฺตาฆรปีฐํ ทตฺวา จีวรํ ปฏิคฺคเหตฺวา เอกมนฺตํ นิกฺขิปิตพฺพํ จุณฺณํ ทาตพฺพํ มตฺติกา ทาตพฺพา.  สเจ อุสฺสหติ ชนฺตาฆรํ ปวิสิตพฺพํ. 
sace uddisāpetukāmo hoti, uddisāpetabbo. sace paripucchitukāmo hoti, paripucchitabbo.  yasmiṃ vihāre upajjhāyo viharati, sace so vihāro uklāpo hoti, sace ussahati, sodhetabbo.  vihāraṃ sodhentena paṭhamaṃ pattacīvaraṃ nīharitvā ekamantaṃ nikkhipitabbaṃ.  nisīdanapaccattharaṇaṃ nīharitvā ekamantaṃ nikkhipitabbaṃ. bhisibimbohanaṃ nīharitvā ekamantaṃ nikkhipitabbaṃ. |14| 
Let him offer to the upagghâya (water) to drink.  'If (the upagghâya) likes being called upon to deliver a discourse, let him call upon (the upagghâya to do so). If (the upagghâya) likes questions being put to him, let him put questions (to the upagghâya).  'If the Vihâra, in which the upagghâya dwells, is dirty, let him clean that Vihâra, if he is able to do so.  When cleaning the Vihâra, let him first take away the alms-bowl and the robe (of the upagghâya) and lay them aside. 
ถ้าประสงค์จะเรียนบาลี พึงขอให้อุปัชฌายะแสดงบาลีขึ้น ถ้าประสงค์จะสอบถามอรรถกถา พึงสอบถาม.  อุปัชฌายะอยู่ในวิหารแห่งใด ถ้าวิหารแห่งนั้นรก ถ้าอุตสาหะอยู่ พึงปัดกวาดเสีย  เมื่อปัดกวาดวิหาร พึงขนบาตรจีวรออกก่อน แล้ววางไว้ ณ ที่ควรส่วนข้างหนึ่ง  พึงขนผ้าปูนั่งและผ้าปูนอน ฟูก หมอน ออกวางไว้ ณ ที่ควรส่วนข้างหนึ่ง 
ชนฺตาฆรํ ปวิสนฺเตน มตฺติกาย มุขํ มกฺเขตฺวา ปุรโต จ ปจฺฉโต จ ปฏิจฺฉาเทตฺวา ชนฺตาฆรํ ปวิสิตพฺพํ.  น เถเร ภิกฺขู อนุปขชฺช นิสีทิตพฺพํ. น นวา ภิกฺขู อาสเนน ปฏิพาหิตพฺพา. ชนฺตาฆเร อุปชฺฌายสฺส ปริกมฺมํ กาตพฺพํ.  ชนฺตาฆรา นิกฺขมนฺเตน ชนฺตาฆรปีฐํ อาทาย ปุรโต จ ปจฺฉโต จ ปฏิจฺฉาเทตฺวา ชนฺตาฆรา นิกฺขมิตพฺพํ.  “อุทเกปิ อุปชฺฌายสฺส ปริกมฺมํ กาตพฺพํ. 
mañco nīcaṃ katvā sādhukaṃ aparighaṃsantena asaṃghaṭṭantena kavāṭapiṭṭhaṃ nīharitvā ekamantaṃ nikkhipitabbo. pīṭhaṃ nīcaṃ katvā sādhukaṃ (48) aparighaṃsantena asaṃghaṭṭantena kavāṭapiṭṭhaṃ nīharitvā ekamantaṃ nikkhipitabbaṃ.  mañcapaṭipādakā nīharitvā ekamantaṃ nikkhipitabbā. kheḷamallako nīharitvā ekamantaṃ nikkhipitabbo.  apassenaphalakaṃ nīharitvā ekamantaṃ nikkhipitabbaṃ. bhummattharaṇaṃ yathāpaññattaṃ sallakkhetvā nīharitvā ekamantaṃ nikkhipitabbaṃ.  sace vihāre santānakaṃ hoti, ullokā paṭhamaṃ ohāretabbaṃ.  ālokasandhikaṇṇabhāgā pamajjitabbā.  sace gerukaparikammakatā bhitti kaṇṇakitā hoti, coḷakaṃ temetvā pīḷetvā pamajjitabbā. sace kāḷavaṇṇakatā bhūmi kaṇṇakitā hoti, coḷakaṃ temetvā pīḷetvā pamajjitabbā.  sace akatā hoti bhūmi, udakena parippositvā sammajjitabbā mā vihāro rajena ūhaññīti.  saṃkāraṃ vicinitvā ekamantaṃ chaḍḍetabbaṃ. |15| 
Let him take away the mat and the sheet and lay them aside. Let him take away the mattress and the pillow and lay them aside.  'Let him turn down the bed, take it away properly without rubbing it (against the floor) and without knocking it against door or doorpost, and put it aside. Let him turn down the chair, take it away properly without rubbing it (against the floor) and without knocking it against door or doorpost, and put it aside.  Let him take away the supporters of the bed and put them aside. Let him take away the spitting-box and put it aside. Let him take away the board to recline on and put it aside.  Let him take away the carpet, after having noticed how it was spread out, and put it aside.  If there are cobwebs in the Vihâra, let him remove them as soon as he sees them.  Let him wipe off the casements and the corners of the room.  If a wall which is coated with red chalk, is dirty, let him moisten the mop, wring it out, and scour the wall. If the floor is coated black and is dirty, let him moisten the mop, wring it out, and scour the floor.  If the floor is not blacked, let him sprinkle it with water and scrub it in order that the Vihâra may not become dusty. 
เตียงตั่ง สัทธิวิหาริกพึงยกต่ำๆ อย่าให้ครูดสี อย่าให้กระทบกระแทกบานและกรอบประตู ขนออกให้เรียบร้อย แล้วตั้งไว้ ณ ที่ควรส่วนข้างหนึ่ง  เขียงรองเตียง กระโถน พนักอิง พึงขนออกตั้งไว้ ณ ที่ควรส่วนข้างหนึ่ง  เครื่องปูพื้น พึงสังเกตที่ปูไว้เดิม แล้วขนออกวางไว้ ณ ที่ควรส่วนข้างหนึ่ง  ถ้าในวิหารมีหยากเยื่อ พึงกวาดแต่เพดานลงมาก่อน  กรอบหน้าต่างและมุมห้องพึงเช็ดเสีย  ถ้าฝาเขาทำบริกรรมด้วยน้ำมัน หรือพื้นเขาทาสีดำขึ้นรา พึงเอาผ้าชุบน้ำบิดแล้วเช็ดเสีย  ถ้าพื้นเขามิได้ทำ พึงเอาน้ำประพรมแล้วเช็ดเสีย ระวังอย่าให้วิหารฟุ้งด้วยธุลี  พึงกวาดหยากเยื่อทิ้งเสีย ณ ที่ควรส่วนข้างหนึ่ง 
นหาเตน ปฐมตรํ อุตฺตริตฺวา อตฺตโน คตฺตํ โวทกํ กตฺวา นิวาเสตฺวา อุปชฺฌายสฺส คตฺตโต อุทกํ ปมชฺชิตพฺพํ นิวาสนํ ทาตพฺพํ สงฺฆาฏิ ทาตพฺพา ชนฺตาฆรปีฐํ อาทาย ปฐมตรํ อาคนฺตฺวา อาสนํ ปญฺญเปตพฺพํ ปาโททกํ ปาทปีฐํ ปาทกถลิกํ อุปนิกฺขิปิตพฺพํ  อุปชฺฌาโย ปานีเยน ปุจฺฉิตพฺโพ.  สเจ อุทฺทิสาเปตุกาโม โหติ อุทฺทิสิตพฺโพ. สเจ ปริปุจฺฉิตุกาโม โหติ ปริปุจฺฉิตพฺโพ.  “ยสฺมึ วิหาเร อุปชฺฌาโย วิหรติ สเจ โส วิหาโร อุกฺลาโป โหติ สเจ อุสฺสหติ โสเธตพฺโพ.  วิหารํ โสเธนฺเตน ปฐมํ ปตฺตจีวรํ นีหริตฺวา เอกมนฺตํ นิกฺขิปิตพฺพํ.  นิสีทนปจฺจตฺถรณํ นีหริตฺวา เอกมนฺตํ นิกฺขิปิตพฺพํ. ภิสิพิพฺโพหนํ นีหริตฺวา เอกมนฺตํ นิกฺขิปิตพฺพํ.  มญฺโจ นีจํ กตฺวา สาธุกํ อปฺปฏิฆํสนฺเตน อสงฺฆฏฺเฏนฺเตน กวาฏปิฏฺฐํ นีหริตฺวา เอกมนฺตํ นิกฺขิปิตพฺโพ. ปีฐํ นีจํ กตฺวา สาธุกํ อปฺปฏิฆํสนฺเตน อสงฺฆฏฺเฏนฺเตน กวาฏปิฏฺฐํ นีหริตฺวา เอกมนฺตํ นิกฺขิปิตพฺพํ.  มญฺจปฏิปาทกา นีหริตฺวา เอกมนฺตํ นิกฺขิปิตพฺพา. เขฬมลฺลโก นีหริตฺวา เอกมนฺตํ นิกฺขิปิตพฺโพ. 
bhummattharaṇaṃ otāpetvā sodhetvā pappoṭhetvā atiharitvā yathāpaññattaṃ paññāpetabbaṃ.  mañcapaṭipādakā otāpetvā pamajjitvā atiharitvā yathāṭṭhāne ṭhapetabbā.  mañco otāpetvā sodhetvā pappoṭhetvā nīcaṃ katvā sādhukaṃ aparighaṃsantena asaṃghaṭṭantena kavāṭapiṭṭhaṃ atiharitvā yathāpaññattaṃ paññāpetabbo. pīṭhaṃ otāpetvā sodhetvā pappoṭhetvā nīcaṃ katvā sādhukaṃ aparighaṃsantena asaṃghaṭṭantena kavāṭapiṭṭhaṃ atiharitvā yathāpaññattaṃ paññāpetabbaṃ.  bhisibimbohanaṃ otāpetvā sodhetvā pappoṭhetvā atiharitvā yathāpaññattaṃ paññāpetabbaṃ. nisīdanapaccattharaṇaṃ otāpetvā sodhetvā pappoṭhetvā atiharitvā yathāpaññattaṃ paññāpetabbaṃ.  kheḷamallako otāpetvā pamajjitvā atiharitvā yathāṭṭhāne ṭhapetabbo. apassenaphalakaṃ otāpetvā pamajjitvā atiharitvā yathāṭṭhāne ṭhapetabbaṃ. |16| 
Let him heap up the sweepings and cast them aside.  'Let him bask the carpet in the sunshine, clean it, dust it by beating, take it back, and spread it out as it was spread before.  Let him put the supporters of the bed in the sunshine, wipe them take them back, and put them in their place.  Let him put the bed in the sunshine, dean it, dust it by beating, turn it down, take it back properly without rubbing it (against the floor) and without knocking it against door and doorpost, and put it in its place. Let him put the chair in the sunshine, &c.1  Let him put mattress and pillow in the sunshine, clean them, dust them by beating, take them back, and lay them out as they were laid out before. Let him put the mat and sheet in the sunshine, &c.1 
เครื่องลาดพื้น พึงผึ่งแดด ชำระ เคาะปัด แล้วขนกลับปูไว้ตามเดิม  เขียงรองเตียง พึงผึ่งแดด ขัด เช็ด แล้วขนกลับตั้งไว้ที่เดิม  เตียงตั่ง พึงผึ่งแดดขัดสี เคาะเสีย ยกต่ำๆ อย่าให้ครูดสี กระทบกระแทกบานและกรอบประตู ขนกลับไปให้ดีๆ แล้วตั้งไว้ตามเดิม  ฟูก หมอน ผ้าปูนั่ง ผ้าปูนอน พึงผึ่งแดด ทำให้สะอาด ตบเสีย แล้วนำกลับวางปูไว้ตามเดิม  กระโถน พนักอิง พึงผึ่งแดด เช็ดถูเสียแล้วขนกลับตั้งไว้ตามเดิม 
อปสฺเสนผลกํ นีหริตฺวา เอกมนฺตํ นิกฺขิปิตพฺพํ. ภูมตฺถรณํ ยถาปญฺญตฺตํ สลฺลกฺเขตฺวา นีหริตฺวา เอกมนฺตํ นิกฺขิปิตพฺพํ.  สเจ วิหาเร สนฺตานกํ โหติ อุลฺโลกา ปฐมํ โอหาเรตพฺพํ  อาโลกสนฺธิกณฺณภาคา ปมชฺชิตพฺพา.  สเจ เครุกปริกมฺมกตา ภิตฺติ กณฺณกิตา โหติ โจฬกํ เตเมตฺวา ปีเฬตฺวา ปมชฺชิตพฺพา. สเจ กาฬวณฺณกตา ภูมิ กณฺณกิตา โหติ โจฬกํ เตเมตฺวา ปีเฬตฺวา ปมชฺชิตพฺพา.  สเจ อกตา โหติ ภูมิ อุทเกน ปริปฺโผสิตฺวา สมฺมชฺชิตพฺพา มา วิหาโร รเชน อุหญฺญีติ. 
pattacīvaraṃ nikkhipitabbaṃ. pattaṃ nikkhipantena ekena hatthena pattaṃ gahetvā ekena hatthena heṭṭhāmañcaṃ vā heṭṭhāpīṭhaṃ vā parāmasitvā patto nikkhipitabbo, na ca anantarahitāya bhūmiyā patto nikkhipitabbo.  cīvaraṃ nikkhipantena ekena hatthena cīvaraṃ gahetvā ekena hatthena cīvaravaṃsaṃ vā cīvararajjuṃ vā pamajjitvā pārato antaṃ orato bhogaṃ katvā cīvaraṃ nikkhipitabbaṃ. |17| 
Let him put the spittoon in the sunshine, wipe it, take it back, and put it in its place. Let him put in the sunshine the board to recline on, &c.1  'Let him put away the alms-bowl and the robe. When he puts them away (&c., as in § 11, down to:), 
พึงเก็บบาตรจีวร เมื่อเก็บบาตร พึงเอามือข้างหนึ่งจับบาตร เอามือข้างหนึ่งลูบคลำใต้เตียงหรือใต้ตั่งแล้วจึงเก็บบาตร แต่ไม่พึงเก็บบาตรบนพื้นที่ไม่มีสิ่งใดรอง  เมื่อเก็บจีวร พึงเอามือข้างหนึ่งถือจีวร เอามือข้างหนึ่งลูบราวจีวรหรือสายระเดียง แล้ว แล้วทำชายไว้ข้างนอก ทำขนดไว้ข้างใน แล้วเก็บจีวร. 
สงฺการํ วิจินิตฺวา เอกมนฺตํ ฉฑฺเฑตพฺพํ.  “ภูมตฺถรณํ โอตาเปตฺวา โสเธตฺวา ปปฺโผเฏตฺวา อติหริตฺวา ยถาปญฺญตฺตํ ปญฺญเปตพฺพํ. 
sace puratthimā sarajā vātā vāyanti, puratthimā vātapānā thaketabbā.  sace pacchimā sarajā vātā vāyanti, pacchimā vātapānā thaketabbā.  sace uttarā sarajā vātā vāyanti, uttarā vātapānā thaketabbā.  sace dakkhiṇā sarajā vātā vāyanti, dakkhiṇā vā-(49)tapānā thaketabbā.  sace sītakālo hoti, divā vātapānā vivaritabbā, rattiṃ thaketabbā.  sace uṇhakālo hoti, divā vātapānā thaketabbā, rattiṃ vivaritabbā. |18| 
and hang up the robe so that the border is turned away from him and the fold is turned towards him.  'If dusty winds blow from the East, let him shut the windows on the East.  If dusty winds blow from the West, let him shut the windows on the West, &c.2      If it is cold weather, let him open the windows by day and shut them at night. 
ถ้าลมเจือด้วยผงคลีพัดมาแต่ทิศตะวันออก พึงปิดหน้าต่างด้านตะวันออก  ถ้าพัดมาแต่ทิศตะวันตก พึงปิดหน้าต่างด้านตะวันตก  ถ้าพัดมาแต่ทิศเหนือ พึงปิดหน้าต่างด้านเหนือ  ถ้าพัดมาแต่ทิศใต้ พึงปิดหน้าต่างด้านใต้  ถ้าฤดูหนาวพึงเปิดหน้าต่างกลางวัน กลางคืนพึงปิด  ถ้าฤดูร้อน พึงปิดหน้าต่างกลางวัน กลางคืนพึงเปิด. 
มญฺจปฏิปาทกา โอตาเปตฺวา ปมชฺชิตฺวา อติหริตฺวา ยถาฐาเน ฐเปตพฺพา.  มญฺโจ โอตาเปตฺวา โสเธตฺวา ปปฺโผเฏตฺวา นีจํ กตฺวา สาธุกํ อปฺปฏิฆํสนฺเตน อสงฺฆฏฺเฏนฺเตน กวาฏปิฏฺฐํ อติหริตฺวา ยถาปญฺญตฺตํ ปญฺญเปตพฺโพ. ปีฐํ โอตาเปตฺวา โสเธตฺวา ปปฺโผเฏตฺวา นีจํ กตฺวา สาธุกํ อปฺปฏิฆํสนฺเตน อสงฺฆฏฺเฏนฺเตน กวาฏปิฏฺฐํ อติหริตฺวา ยถาปญฺญตฺตํ ปญฺญเปตพฺพํ.  ภิสิพิพฺโพหนํ โอตาเปตฺวา โสเธตฺวา ปปฺโผเฏตฺวา อติหริตฺวา ยถาปญฺญตฺตํ ปญฺญเปตพฺพํ. นิสีทนปจฺจตฺถรณํ โอตาเปตฺวา โสเธตฺวา ปปฺโผเฏตฺวา อติหริตฺวา ยถาปญฺญตฺตํ ปญฺญเปตพฺพํ.  เขฬมลฺลโก โอตาเปตฺวา ปมชฺชิตฺวา อติหริตฺวา ยถาฐาเน ฐเปตพฺโพ. อปสฺเสนผลกํ โอตาเปตฺวา ปมชฺชิตฺวา อติหริตฺวา ยถาฐาเน ฐเปตพฺพํ.  ปตฺตจีวรํ นิกฺขิปิตพฺพํ. ปตฺตํ นิกฺขิปนฺเตน เอเกน หตฺเถน ปตฺตํ คเหตฺวา เอเกน หตฺเถน เหฏฺฐามญฺจํ วา เหฏฺฐาปีฐํ วา ปรามสิตฺวา ปตฺโต นิกฺขิปิตพฺโพ. น จ อนนฺตรหิตาย ภูมิยา ปตฺโต นิกฺขิปิตพฺโพ.  จีวรํ นิกฺขิปนฺเตน เอเกน หตฺเถน จีวรํ คเหตฺวา เอเกน หตฺเถน จีวรวํสํ วา จีวรรชฺชุํ วา ปมชฺชิตฺวา ปารโต อนฺตํ โอรโต โภคํ กตฺวา จีวรํ นิกฺขิปิตพฺพํ. 
sace pariveṇaṃ uklāpaṃ hoti, pariveṇaṃ sammajjitabbaṃ. sace koṭṭhako uklāpo hoti, koṭṭhako sammajjitabbo. sace upaṭṭhānasālā uklāpā hoti, upaṭṭhānasālā sammajjitabbā. sace aggisālā uklāpā hoti, aggisālā sammajjitabbā. sace vaccakuṭī uklāpā hoti, vaccakuṭī sammajjitabbā.  sace pāniyaṃ na hoti, pāniyaṃ upaṭṭhāpetabbaṃ. sace paribhojaniyaṃ na hoti, paribhojaniyaṃ upaṭṭhāpetabbaṃ.  sace ācamanakumbhiyā udakaṃ na hoti, ācamanakumbhiyā udakaṃ āsiñcitabbaṃ. |19| 
If it is hot weather, let him shut the windows by day and open them at night.  'If the cell is dirty, let him sweep the cell. If the store-room is dirty, let him sweep the store-room. If the refectory, &c. If the fire room, &c. If the privy is dirty, let him sweep the privy.  If there is no drinkable water, let him provide drinkable water. If there is no food, let him provide food. 
ถ้าบริเวณ ซุ้มน้ำ โรงฉัน โรงไฟ วัจจกุฎี รก พึงปัดกวาดเสีย  ถ้าน้ำฉันน้ำใช้ไม่มีพึงจัดตั้งไว้  ถ้าน้ำในหม้อชำระไม่มี พึงตักน้ำมาไว้ในหม้อชำระ. 
“สเจ ปุรตฺถิมา สรชา วาตา วายนฺติ ปุรตฺถิมา วาตปานา ถเกตพฺพา.  สเจ ปจฺฉิมา สรชา วาตา วายนฺติ ปจฺฉิมา วาตปานา ถเกตพฺพา.  สเจ อุตฺตรา สรชา วาตา วายนฺติ อุตฺตรา วาตปานา ถเกตพฺพา. 
sace upajjhāyassa anabhirati uppannā hoti, saddhivihārikena vūpakāsetabbā vūpakāsāpetabbā dhammakathā vāssa kātabbā.  sace upajjhāyassa kukkuccaṃ uppannaṃ hoti, saddhivihārikena vinodetabbaṃ vinodāpetabbaṃ dhammakathā vāssa kātabbā.  sace upajjhāyassa diṭṭhigataṃ uppannaṃ hoti, saddhivihārikena vivecetabbaṃ vivecāpetabbaṃ dhammakathā vāssa kātabbā. |20| 
If there is no water in the waterpot for rinsing the mouth with, let him pour water into the pot.  'If discontent has arisen within the upagghâya's heart, let the saddhivihârika appease him, or cause him to be appeased (by another), by compose him by religious conversation.  If indecision has arisen in the upagghâya's mind, let the saddhivihârika dispel it, or cause it to be dispelled, or compose him by religious conversation. 
ถ้าความกระสันบังเกิดแก่อุปัชฌายะ สัทธิวิหาริกพึงช่วยระงับ หรือพึงวานภิกษุอื่นให้ช่วยระงับ หรือพึงทำธรรมกถาแก่อุปัชฌายะนั้น  ถ้าความรำคาญบังเกิดแก่อุปัชฌายะ สัทธิวิหาริกพึงช่วยบรรเทา หรือพึงวานภิกษุอื่นให้ช่วยบรรเทา หรือพึงทำธรรมกถาแก่อุปัชฌายะนั้น  ถ้าความเห็นผิดบังเกิดแก่อุปัชฌายะ สัทธิวิหาริกพึงให้สละเสีย หรือพึงวานภิกษุอื่นให้ช่วย หรือพึงทำธรรมกถาแก่อุปัชฌายะนั้น. 
สเจ ทกฺขิณา สรชา วาตา วายนฺติ ทกฺขิณา วาตปานา ถเกตพฺพา.  สเจ สีตกาโล โหติ ทิวา วาตปานา วิวริตพฺพา รตฺตึ ถเกตพฺพา.  สเจ อุณฺหกาโล โหติ ทิวา วาตปานา ถเกตพฺพา รตฺตึ วิวริตพฺพา. 
sace upajjhāyo garudhammaṃ ajjhāpanno hoti parivāsāraho, saddhivihārikena ussukkaṃ kātabbaṃ kin ti nu kho saṃgho upajjhāyassa parivāsaṃ dadeyyā ’ti.  sace upajjhāyo mūlāya paṭikassanāraho hoti, saddhivihārikena ussukkaṃ kātabbaṃ kin ti nu kho saṃgho upajjhāyaṃ mūlāya paṭikasseyyā ’ti.  sace upajjhāyo mānattāraho hoti, saddhivihārikena ussukkaṃ kātabbaṃ kin ti nu kho saṃgho upajjhāyassa mānattaṃ dadeyyā ’ti.  sace upajjhāyo abbhānāraho hoti, saddhivihārikena ussukkaṃ kātabbaṃ kin ti nu kho saṃgho upajjhāyaṃ abbheyyā ’ti. |21| 
If the upagghâya takes to a false doctrine, let the saddhivihârika discuss it, or cause another to discuss it, or compose (the upagghâya) by religious conversation.  'If the upagghâya is guilty of a grave offence, and ought to be sentenced to parivâsa discipline, let the saddhivihârika take care that the Samgha sentence the upagghâya to parivâsa discipline.  If the upagghâya ought to be sentenced to recommence his penal discipline, let the saddhivihârika take care that the Samgha may order the upagghâya to recommence his penal discipline.  If the mânatta discipline ought to be imposed on the upagghâya, let the saddhivihârika take care that the Samgha impose the mânatta discipline on the upagghâya. 
ถ้าอุปัชฌายะต้องอาบัติหนักควรปริวาส สัทธิวิหาริกพึงทำความขวนขวายว่า ด้วยอุบายอย่างไรหนอ สงฆ์พึงให้ปริวาสแก่อุปัชฌายะ  ถ้าอุปัชฌายะควรชักเข้าหาอาบัติเดิม สัทธิวิหาริกพึงทำความขวนขวายว่า ด้วยอุบายอย่างไรหนอ สงฆ์พึงชักอุปัชฌายะเข้าหาอาบัติเดิม  ถ้าอุปัชฌายะควรมานัต สัทธิวิหาริกพึงทำความขวนขวายว่า ด้วยอุบายอย่างไรหนอ สงฆ์พึงให้มานัตแก่อุปัชฌายะ  ถ้าอุปัชฌายะควรอัพภาน สัทธิวิหาริกพึงทำความขวนขวายว่าด้วยอุบายอย่างไรหนอ สงฆ์พึงอัพภานอุปัชฌายะ. 
“สเจ ปริเวณํ อุกฺลาปํ โหติ ปริเวณํ สมฺมชฺชิตพฺพํ. สเจ โกฏฺฐโก อุกฺลาโป โหติ โกฏฺฐโก สมฺมชฺชิตพฺโพ. สเจ อุปฏฺฐานสาลา อุกฺลาปา โหติ อุปฏฺฐานสาลา สมฺมชฺชิตพฺพา. สเจ อคฺคิสาลา อุกฺลาปา โหติ อคฺคิสาลา สมฺมชฺชิตพฺพา. สเจ วจฺจกุฏิ อุกฺลาปา โหติ วจฺจกุฏิ สมฺมชฺชิตพฺพา.  สเจ ปานียํ น โหติ ปานียํ อุปฏฺฐาเปตพฺพํ. สเจ ปริโภชนียํ น โหติ ปริโภชนียํ อุปฏฺฐาเปตพฺพํ.  สเจ อาจมนกุมฺภิยา อุทกํ น โหติ อาจมนกุมฺภิยา อุทกํ อาสิญฺจิตพฺพํ.  “สเจ อุปชฺฌายสฺส อนภิรติ อุปฺปนฺนา โหติ สทฺธิวิหาริเกน วูปกาเสตพฺโพ วูปกาสาเปตพฺโพ ธมฺมกถา วาสฺส กาตพฺพา. 
sace saṃgho upajjhāyassa kammaṃ kattukāmo hoti tajjaniyaṃ vā nissayaṃ vā pabbājaniyaṃ vā paṭisāraṇiyaṃ vā ukkhepaniyaṃ vā, saddhivihārikena ussukkaṃ kātabbaṃ kin ti nu kho saṃgho upajjhāyassa kammaṃ na kareyya lahukāya vā pariṇāmeyyā ’ti.  kataṃ vā pan’ assa hoti saṃghena kammaṃ tajjaniyaṃ vā nissayaṃ vā pabbājaniyaṃ vā paṭisāraṇiyaṃ vā ukkhepaniyaṃ vā, saddhivihārikena ussukkaṃ kātabbaṃ kin ti nu kho upajjhāyo sammāvatteyya lomaṃ pāteyya netthāraṃ vatteyya, saṃgho taṃ kammaṃ paṭippassambheyyā ’ti. |22| 
If the upagghâya is to be rehabilitated (when his penal discipline has been duly undergone), let the saddhivihârika take care that the Samgha rehabilitate the upagghâya.  'If the Samgha wishes to proceed against the upagghâya by the tagganiyakamma, or the nissaya, or the pabbâganiyakamma, or the patisâraniyakamma, or the ukkhepaniyakamma, let the saddhivihârika do what he can in order that the Samgha may not proceed against the upagghâya or may mitigate the proceeding. 
ถ้าสงฆ์ปรารถนาจะทำกรรมแก่อุปัชฌายะ คือ ตัชชนียกรรม นิยสกรรม ปัพพาชนียกรรม ปฏิสารณียกรรม หรืออุกเขปนียกรรม สัทธิวิหาริก พึงทำความขวนขวายว่า ด้วยอุบายอย่างไรหนอ สงฆ์ไม่พึงทำกรรมแก่อุปัชฌายะ หรือสงฆ์พึงน้อมไปเพื่อกรรมสถานเบา  หรืออุปัชฌายะ นั้นถูกสงฆ์ลงตัชชนียกรรม นิยสกรรม ปัพพาชนียกรรม ปฏิสารณียกรรม หรืออุกเขปนียกรรมแล้ว สัทธิวิหาริกพึงทำความขวนขวายว่า ด้วยอุบายอย่างไรหนอ อุปัชฌายะ พึงประพฤติชอบ พึงหายเย่อหยิ่ง พึงประพฤติแก้ตัว สงฆ์พึงระงับกรรมนั้นเสีย. 
สเจ อุปชฺฌายสฺส กุกฺกุจฺจํ อุปฺปนฺนํ โหติ สทฺธิวิหาริเกน วิโนเทตพฺพํ วิโนทาเปตพฺพํ ธมฺมกถา วาสฺส กาตพฺพา.  สเจ อุปชฺฌายสฺส ทิฏฺฐิคตํ อุปฺปนฺนํ โหติ สทฺธิวิหาริเกน วิเวเจตพฺพํ วิเวจาเปตพฺพํ ธมฺมกถา วาสฺส กาตพฺพา 
sace upajjhāyassa cīvaraṃ dhovitabbaṃ hoti, saddhivihārikena dhovitabbaṃ ussukkaṃ vā (50) kātabbaṃ kin ti nu kho upajjhāyassa cīvaraṃ dhoviyethā ’ti.  sace upajjhāyassa cīvaraṃ kātabbaṃ hoti, saddhivihārikena kātabbaṃ ussukkaṃ vā katabbaṃ kin ti nu kho upajjhāyassa cīvaraṃ kariyethā ’ti.  sace upajjhāyassa rajanaṃ pacitabbaṃ hoti, saddhivihārikena pacitabbaṃ ussukkaṃ vā kātabbaṃ kin ti nu kho upajjhāyassa rajanaṃ paciyethā ’ti.  sace upajjhāyassa cīvaraṃ rajitabbaṃ hoti, saddhivihārikena rajitabbaṃ ussukkaṃ vā kātabbaṃ kin ti nu kho upajjhāyassa cīvaraṃ rajiyethā ’ti.  cīvaraṃ rajantena sādhukaṃ saṃparivattakaṃ-saṃparivattakaṃ rajitabbaṃ na ca acchinne theve pakkamitabbaṃ. |23| 
Or if thc Samgha has instituted a proceeding against him, the tagganiyakamma, &c., or the ukkhepaniyakamma, let the saddhivihârika do what he can in order that the upagghâya may behave himself properly, live modestly, and aspire to get clear of his penance, and that the Samgha may revoke its sentence.  'If the robe of the upagghâya must be washed, let the saddhivihârika wash it or take care that the upagghâya's robe is washed.  If a robe must be made for the upagghâya, let the saddhivihârika make it or take care that the upagghâya's robe is made.  If dye must be boiled for the upagghâya, &c.  If the robe of the upagghâya must be dyed, &c. 
ถ้าจีวรของอุปัชฌายะจะต้องซัก สัทธิวิหาริกพึงซัก หรือพึงทำความขวนขวายว่า ด้วยอุบายอย่างไรหนอ ใครๆ พึงซักจีวรของอุปัชฌายะ  ถ้าจีวรของอุปัชฌายะจะต้องทำ สัทธิวิหาริกพึงทำ หรือพึงทำความขวนขวายว่า ด้วยอุบายอย่างไรหนอ ใครๆ พึงทำจีวรของอุปัชฌายะ  ถ้าน้ำย้อมของอุปัชฌายะจะต้องต้ม สัทธิวิหาริกพึงต้ม หรือพึงทำความขวนขวายว่า ด้วยอุบายอย่างไรหนอ ใครๆ พึงต้มน้ำย้อมของอุปัชฌายะ  ถ้าจีวรของอุปัชฌายะจะต้องย้อม สัทธิวิหาริกพึงย้อม หรือพึงทำความขวนขวายว่า ด้วยอุบายอย่างไรหนอ ใครๆ พึงย้อมจีวรของอุปัชฌายะ  เมื่อย้อมจีวร พึงย้อมพลิกกลับไปกลับมาให้ดีๆ เมื่อหยาดน้ำย้อมยังหยดไม่ขาดสาย ไม่พึงหลีกไปเสีย. 
สเจ อุปชฺฌาโย ครุธมฺมํ อชฺฌาปนฺโน โหติ ปริวาสารโห สทฺธิวิหาริเกน อุสฺสุกฺกํ กาตพฺพํ กินฺติ นุ โข สงฺโฆ อุปชฺฌายสฺส ปริวาสํ ทเทยฺยาติ.  สเจ อุปชฺฌาโย มูลาย ปฏิกสฺสนารโห โหติ สทฺธิวิหาริเกน อุสฺสุกฺกํ กาตพฺพํ กินฺติ นุ โข สงฺโฆ อุปชฺฌายํ มูลาย ปฏิกสฺเสยฺยาติ.  สเจ อุปชฺฌาโย มานตฺตารโห โหติ สทฺธิวิหาริเกน อุสฺสุกฺกํ กาตพฺพํ กินฺติ นุ โข สงฺโฆ อุปชฺฌายสฺส มานตฺตํ ทเทยฺยาติ.  สเจ อุปชฺฌาโย อพฺภานารโห โหติ สทฺธิวิหาริเกน อุสฺสุกฺกํ กาตพฺพํ กินฺติ นุ โข สงฺโฆ อุปชฺฌายํ อพฺเภยฺยาติ.  สเจ สงฺโฆ อุปชฺฌายสฺส กมฺมํ กตฺตุกาโม โหติ ตชฺชนียํ วา นิยสฺสํ วา ปพฺพาชนียํ วา ปฏิสารณียํ วา อุกฺเขปนียํ วา สทฺธิวิหาริเกน อุสฺสุกฺกํ กาตพฺพํ กินฺติ นุ โข สงฺโฆ อุปชฺฌายสฺส กมฺมํ น กเรยฺย ลหุกาย วา ปริณาเมยฺยาติ. 
na upajjhāyaṃ anāpucchā ekaccassa patto dātabbo, na ekaccassa patto paṭiggahetabbo, na ekaccassa cīvaraṃ dātabbaṃ, na ekaccassa cīvaraṃ paṭiggahetabbaṃ, na ekaccassa parikkhāro dātabbo, na ekaccassa parikkhāro paṭiggahetabbo, na ekaccassa kesā chedātabbā, na ekaccena kesā chedāpetabbā, na ekaccassa parikammaṃ kātabbaṃ, na ekaccena parikammaṃ kārāpetabbaṃ, na ekaccassa veyyāvacco kātabbo, na ekaccena veyyāvacco kārāpetabbo, na ekaccassa pacchāsamaṇena hotabbaṃ, na ekacco pacchāsamaṇo ādātabbo, na ekaccassa piṇḍapāto nīharitabbo, na ekaccena piṇḍapāto nīharāpetabbo.  na upajjhāyaṃ anāpucchā gāmo pavisitabbo, na susānaṃ gantabbaṃ, na disā pakkamitabbā.  sace upajjhāyo gilāno hoti, yāvajīvaṃ upaṭṭhātabbo, vuṭṭhānassa āgametabban ti. |24| 
When he dyes the robe, let him dye it properly and turn it whenever required, and let him not go away before the dye has ceased to drop.  'Let him not give his alms-bowl to any one without the permission of his upagghâya. Let him not accept an alms-bowl from any one else without the permission of his upagghâya. Let him not give his robe to any one else, &c. Let him not accept a robe from any one else; let him not give articles (required for a Bhikkhu) to any one else; let him not receive (such) articles from anyone else; let him not shave the hair of any one else; let him not have his hair shaven by any one else; let him not wait upon any one else; let him not have done service by any one else; let him not execute commissions for any one else; let him not have commissions executed by anyone else; let him not go with anyone else as his attendant; let him not take any one else with him as his attendant; let him not carry any one's food received by him in alms (to the Vihâra); let him not have the food received by himself in alms carried by any one (to the Vihâra) without the permission of his upagghâya.  Let him not enter the village, or go to a cemetery, or go abroad on journeys without the permission of his upagghâya. 
สัทธิวิหาริกไม่บอกอุปัชฌายะก่อน ไม่พึงให้บาตรแก่ภิกษุบางรูป ไม่พึงรับบาตรของภิกษุบางรูป ไม่พึงให้จีวรแก่ภิกษุบางรูป ไม่พึงรับจีวรของภิกษุบางรูป ไม่พึงให้บริขารแก่ภิกษุบางรูป ไม่พึงรับบริขารของภิกษุบางรูป ไม่พึงปลงผมให้ภิกษุบางรูป ไม่พึงให้ภิกษุบางรูปปลงผมให้ ไม่พึงทำบริกรรม ไม่พึงให้ภิกษุบางรูปทำบริกรรมให้ ไม่พึงทำความขวนขวายแก่ภิกษุบางรูป ไม่พึงสั่งให้ภิกษุบางรูปทำความขวนขวาย ไม่พึงเป็นปัจฉาสมณะของภิกษุบางรูป ไม่พึงพาภิกษุบางรูปไปเป็นปัจฉาสมณะ ไม่พึงนำบิณฑบาตไปให้ภิกษุบางรูป ไม่พึงให้ภิกษุบางรูปนำบิณฑบาตมาให้  ไม่ลาอุปัชฌายะก่อน ไม่พึงเข้าบ้าน ไม่พึงไปป่าช้า ไม่พึงหลีกไปสู่ทิศ  ถ้าอุปัชฌายะอาพาธ พึงพยาบาลจนตลอดชีวิต พึงรอจนกว่าจะหาย. 
กตํ วา ปนสฺส โหติ สงฺเฆน กมฺมํ ตชฺชนียํ วา นิยสฺสํ วา ปพฺพาชนียํ วา ปฏิสารณียํ วา อุกฺเขปนียํ วา สทฺธิวิหาริเกน อุสฺสุกฺกํ กาตพฺพํ กินฺติ นุ โข อุปชฺฌาโย สมฺมา วตฺเตยฺย โลมํ ปาเตยฺย เนตฺถารํ วตฺเตยฺย สงฺโฆ ตํ กมฺมํ ปฏิปฺปสฺสมฺเภยฺยาติ.  “สเจ อุปชฺฌายสฺส จีวรํ โธวิตพฺพํ โหติ สทฺธิวิหาริเกน โธวิตพฺพํ อุสฺสุกฺกํ วา กาตพฺพํ กินฺติ นุ โข อุปชฺฌายสฺส จีวรํ โธวิเยถาติ.  สเจ อุปชฺฌายสฺส จีวรํ กาตพฺพํ โหติ สทฺธิวิหาริเกน กาตพฺพํ อุสฺสุกฺกํ วา กาตพฺพํ กินฺติ นุ โข อุปชฺฌายสฺส จีวรํ กริเยถาติ. 
upajjhāyavattaṃ niṭṭhitaṃ. ||25|| 
If his upagghâya is sick, let him nurse him as long as his life lasts, and wait until he has recovered.' 
อุปัชฌายวัตร จบ 
สเจ อุปชฺฌายสฺส รชนํ ปจิตพฺพํ โหติ สทฺธิวิหาริเกน ปจิตพฺพํ อุสฺสุกฺกํ วา กาตพฺพํ กินฺติ นุ โข อุปชฺฌายสฺส รชนํ ปจิเยถาติ. 
upajjhāyena bhikkhave saddhivihārikamhi sammāvattitabbaṃ, tatrāyaṃ sammāvattanā:  upajjhāyena bhikkhave saddhivihāriko saṃgahetabbo anuggahetabbo uddesena paripucchāya ovādena anusāsaniyā.  sace upajjhāyassa patto hoti, saddhivihārikassa patto na hoti, upajjhāyena saddhivihārikassa patto dātabbo ussukkaṃ vā kātabbaṃ kin ti nu kho saddhivihārikassa patto uppajjiyethā ’ti.  sace upajjhāyassa cīvaraṃ hoti, saddhivihārikassa cīvaraṃ na hoti, upajjhāyena saddhivihārikassa cīvaraṃ dātabbaṃ ussukkaṃ vā kātabbaṃ kin ti nu kho saddhivihārikassa cīvaraṃ uppajjiyethā ’ti.  sace upajjhāyassa parikkhāro hoti, saddhivihārikassa parikkhāro na hoti, upajjhāyena saddhivihārikassa (51) parikkhāro dātabbo ussukkaṃ vā kātabbaṃ kin ti nu kho saddhivihārikassa parikkhāro uppajjiyethā ’ti. |1| 
End of the duties towards an upagghâya.  'The upagghâya, O Bhikkhus, ought to observe a strict conduct towards his saddhivihârika. And these are the rules for his conduct:  Let the upagghâya, O Bhikkhus, afford (spiritual) help and furtherance to the saddhivihârika by teaching by putting questions to him, by exhortation, by instruction.  If the upagghâya has an alms-bowl and the saddhivihârika has not, let the upagghâya give the alms-bowl to the saddhivihârika or take care that the saddhivihârika gets an alms-bowl.  If the upagghâya has a robe and the saddhivihârika has not, let the upagghâya give the robe, &c. 
สัทธิวิหาริกวัตร [๘๒] ดูกรภิกษุทั้งหลาย อุปัชฌายะพึงประพฤติชอบในสัทธิวิหาริก. วิธีประพฤติชอบในสัทธิวิหาริกนั้น มีดังต่อไปนี้:-  ดูกรภิกษุทั้งหลาย อุปัชฌายะพึงสงเคราะห์ อนุเคราะห์ สัทธิวิหาริก ด้วยสอนบาลีและอรรถกถา ด้วยให้โอวาทและอนุศาสนี.  ถ้าอุปัชฌายะมีบาตร สัทธิวิหาริกไม่มีบาตร อุปัชฌายะพึงให้บาตรแก่สัทธิวิหาริก หรือพึงทำความขวนขวายว่า ด้วยอุบายอย่างไรหนอ บาตรพึงบังเกิดแก่สัทธิวิหาริก  ถ้าอุปัชฌายะมีจีวร สัทธิวิหาริกไม่มีจีวร อุปัชฌายะพึงให้จีวรแก่สัทธิวิหาริก หรือพึงทำความขวนขวายว่า ด้วยอุบายอย่างไรหนอ จีวรพึงบังเกิดแก่สัทธิวิหาริก  ถ้าอุปัชฌายะมีบริขาร สัทธิวิหาริกไม่มีบริขาร อุปัชฌายะ พึงให้บริขารแก่สัทธิวิหาริกหรือพึงทำความขวนขวายว่า ด้วยอุบายอย่างไรหนอ บริขารพึงบังเกิดแก่สัทธิวิหาริก. 
สเจ อุปชฺฌายสฺส จีวรํ รชิตพฺพํ โหติ สทฺธิวิหาริเกน รชิตพฺพํ อุสฺสุกฺกํ วา กาตพฺพํ กินฺติ นุ โข อุปชฺฌายสฺส จีวรํ รชิเยถาติ.  จีวรํ รชนฺเตน สาธุกํ สมฺปริวตฺตกํ สมฺปริวตฺตกํ รชิตพฺพํ น จ อจฺฉินฺเน เถเว ปกฺกมิตพฺพํ.  “น อุปชฺฌายํ อนาปุจฺฉา เอกจฺจสฺส ปตฺโต ทาตพฺโพ น เอกจฺจสฺส ปตฺโต ปฏิคฺคเหตพฺโพ น เอกจฺจสฺส จีวรํ ทาตพฺพํ น เอกจฺจสฺส จีวรํ ปฏิคฺคเหตพฺพํ น เอกจฺจสฺส ปริกฺขาโร ทาตพฺโพ น เอกจฺจสฺส ปริกฺขาโร ปฏิคฺคเหตพฺโพ น เอกจฺจสฺส เกสา เฉเทตพฺพา น เอกจฺเจน เกสา เฉทาเปตพฺพา น เอกจฺจสฺส ปริกมฺมํ กาตพฺพํ น เอกจฺเจน ปริกมฺมํ การาเปตพฺพํ น เอกจฺจสฺส เวยฺยาวจฺโจ กาตพฺโพ น เอกจฺเจน เวยฺยาวจฺโจ การาเปตพฺโพ น เอกจฺจสฺส ปจฺฉาสมเณน โหตพฺพํ น เอกจฺโจ ปจฺฉาสมโณ อาทาตพฺโพ น เอกจฺจสฺส ปิณฺฑปาโต นีหริตพฺโพ น เอกจฺเจน ปิณฺฑปาโต นีหราเปตพฺโพ  น อุปชฺฌายํ อนาปุจฺฉา คาโม ปวิสิตพฺโพ น สุสานํ คนฺตพฺพํ น ทิสา ปกฺกมิตพฺพา.  สเจ อุปชฺฌาโย คิลาโน โหติ ยาวชีวํ อุปฏฺฐาตพฺโพ วุฏฺฐานมสฺส อาคเมตพฺพ”นฺติ. 
sace saddhivihāriko gilāno hoti, kālass’ eva uṭṭhāya dantakaṭṭhaṃ dātabbaṃ, mukhodakaṃ dātabbaṃ, āsanaṃ paññāpetabbaṃ.  sace yāgu hoti, bhājanaṃ dhovitvā yāgu upanāmetabbā.  yāguṃ pītassa udakaṃ datvā bhājanaṃ paṭiggahetvā nīcaṃ katvā sādhukaṃ aparighaṃsantena dhovitvā paṭisāmetabbaṃ.  saddhivihārikamhi vuṭṭhite āsanaṃ uddharitabbaṃ.  sace so deso uklāpo hoti, so deso sammajjitabbo. |2| 
If the upagghâya has the articles (required for a Bhikkhu) and the saddhivihârika has not, &c.  'If the saddhivihârika is sick, let (the upagghâya) arise betimes and give him the teeth-cleanser and water to rinse his mouth with. Then let him prepare a seat (for the saddhivihârika).  If there is rice-milk (&c, as in chap 25. 8, 9, down to:),     
ถ้าสัทธิวิหาริกอาพาธ อุปัชฌายะพึงลุกแต่เช้าตรู่ แล้วให้ไม้ชำระฟัน ให้น้ำล้างหน้า ปูอาสนะไว้  ถ้ายาคูมี พึงล้างภาชนะแล้ว นำยาคูเข้าไปให้  เมื่อสัทธิวิหาริกดื่มยาคูแล้ว พึงให้น้ำ รับภาชนะมา ถือต่ำๆ อย่าให้กระทบกัน ล้างให้สะอาดแล้วเก็บไว้  เมื่อสัทธิหาริกลุกแล้ว พึงเก็บอาสนะ  ถ้าที่นั้นรก พึงกวาดที่นั้นเสีย. 
อุปชฺฌายวตฺตํ นิฏฺฐิตํ.  (๑๖. สทฺธิวิหาริกวตฺตกถา) ๖๗. “อุปชฺฌาเยน ภิกฺขเว สทฺธิวิหาริกมฺหิ สมฺมา วตฺติตพฺพํ. ตตฺรายํ สมฺมาวตฺตนา  “อุปชฺฌาเยน ภิกฺขเว สทฺธิวิหาริโก สงฺคเหตพฺโพ อนุคฺคเหตพฺโพ อุทฺเทเสน ปริปุจฺฉาย โอวาเทน อนุสาสนิยา.  สเจ อุปชฺฌายสฺส ปตฺโต โหติ สทฺธิวิหาริกสฺส ปตฺโต น โหติ อุปชฺฌาเยน สทฺธิวิหาริกสฺส ปตฺโต ทาตพฺโพ อุสฺสุกฺกํ วา กาตพฺพํ กินฺติ นุ โข สทฺธิวิหาริกสฺส ปตฺโต อุปฺปชฺชิเยถาติ.  สเจ อุปชฺฌายสฺส จีวรํ โหติ สทฺธิวิหาริกสฺส จีวรํ น โหติ อุปชฺฌาเยน สทฺธิวิหาริกสฺส จีวรํ ทาตพฺพํ อุสฺสุกฺกํ วา กาตพฺพํ กินฺติ นุ โข สทฺธิวิหาริกสฺส จีวรํ อุปฺปชฺชิเยถาติ. 
sace saddhivihāriko gāmaṃ pavisitukāmo hoti, nivāsanaṃ dātabbaṃ, paṭinivāsanaṃ paṭiggahetabbaṃ, kāyabandhanaṃ dātabbaṃ, saguṇaṃ katvā {saṃghāṭiyo} dātabbā, dhovitvā patto saudako dātabbo.  ettāvatā nivattissatīti āsanaṃ paññāpetabbaṃ, pādodakaṃ pādapīṭhaṃ pādakathalikaṃ upanikkhipitabbaṃ, paccuggantvā pattacīvaraṃ paṭiggahetabbaṃ, paṭinivāsanaṃ dātabbaṃ, nivāsanaṃ paṭiggahetabbaṃ.  sace cīvaraṃ sinnaṃ hoti, muhuttaṃ uṇhe otāpetabbaṃ, na ca uṇhe cīvaraṃ nidahitabbaṃ.  cīvaraṃ saṃharitabbaṃ.  cīvaraṃ saṃharantena caturaṅgulaṃ kaṇṇaṃ ussāretvā cīvaraṃ saṃharitabbaṃ mā majjhe bhaṅgo ahosīti.  obhoge kāyabandhanaṃ kātabbaṃ.  sace piṇḍapāto hoti saddhivihāriko ca bhuñjitukāmo hoti, udakaṃ datvā piṇḍapāto upanāmetabbo. |3| 
             
ถ้าสัทธิวิหาริกประสงค์จะเข้าบ้าน พึงให้ผ้านุ่ง พึงรับผ้านุ่งผลัดมา พึงให้ประคตเอว พึงพับสังฆาฏิเป็นชั้นให้ พึงล้างบาตรแล้วให้พร้อมทั้งน้ำด้วย  พึงปูอาสนะที่นั่งฉันไว้ ด้วยกำหนดในใจว่าเพียงเวลาเท่านี้ สัทธิวิหาริกจักกลับมา น้ำล้างเท้า ตั่งรองเท้า กระเบื้องเช็ดเท้า พึงเตรียมตั้งไว้ พึงลุกขึ้นรับบาตรและจีวร พึงให้ผ้านุ่งผลัด พึงรับผ้านุ่งมา.  ถ้าจีวรชุ่มเหงื่อ พึงผึ่งแดดไว้ครู่หนึ่ง แต่ไม่พึงผึ่งทิ้งไว้ที่แดด  พึงพับจีวร  เมื่อพับจีวร พึงพับให้เหลื่อมมุมกัน ๔ นิ้ว ด้วยตั้งใจมิให้มีรอยพับตรงกลาง  พึงทำประคตเอวไว้ในขนดอันตรวาสก.  ถ้าบิณฑบาตมี และสัทธิวิหาริกประสงค์จะฉัน พึงให้น้ำแล้วนำบิณฑบาตเข้าไปให้ 
สเจ อุปชฺฌายสฺส ปริกฺขาโร โหติ สทฺธิวิหาริกสฺส ปริกฺขาโร น โหติ อุปชฺฌาเยน สทฺธิวิหาริกสฺส ปริกฺขาโร ทาตพฺโพ อุสฺสุกฺกํ วา กาตพฺพํ กินฺติ นุ โข สทฺธิวิหาริกสฺส ปริกฺขาโร อุปฺปชฺชิเยถาติ.  “สเจ สทฺธิวิหาริโก คิลาโน โหติ กาลสฺเสว อุฏฺฐาย ทนฺตกฏฺฐํ ทาตพฺพํ มุโขทกํ ทาตพฺพํ อาสนํ ปญฺญเปตพฺพํ.  สเจ ยาคุ โหติ ภาชนํ โธวิตฺวา ยาคุ อุปนาเมตพฺพา.  ยาคุํ ปีตสฺส อุทกํ ทตฺวา ภาชนํ ปฏิคฺคเหตฺวา นีจํ กตฺวา สาธุกํ อปฺปฏิฆํสนฺเตน โธวิตฺวา ปฏิสาเมตพฺพํ.  สทฺธิวิหาริกมฺหิ วุฏฺฐิเต อาสนํ อุทฺธริตพฺพํ.  สเจ โส เทโส อุกฺลาโป โหติ โส เทโส สมฺมชฺชิตพฺโพ.  “สเจ สทฺธิวิหาริโก คามํ ปวิสิตุกาโม โหติ นิวาสนํ ทาตพฺพํ ปฏินิวาสนํ ปฏิคฺคเหตพฺพํ กายพนฺธนํ ทาตพฺพํ สคุณํ กตฺวา สงฺฆาฏิโย ทาตพฺพา โธวิตฺวา ปตฺโต โสทโก ทาตพฺโพ. 
saddhivihāriko pāniyena pucchitabbo.  bhuttāvissa udakaṃ datvā pattaṃ paṭiggahetvā nīcaṃ katvā sādhukaṃ aparighaṃsantena dhovitvā vodakaṃ katvā muhuttaṃ uṇhe otāpetabbo, na ca uṇhe patto nidahitabbo.  pattacīvaraṃ nikkhipitabbaṃ.  pattaṃ nikkhipantena ekena hatthena pattaṃ gahetvā ekena hatthena heṭṭhāmañcaṃ vā heṭṭhāpīṭhaṃ vā parāmasitvā patto nikkhipitabbo, na ca anantarahitāya bhūmiyā patto nikkhipitabbo.  cīvaraṃ nikkhipantena ekena hatthena cīvaraṃ gahetvā ekena hatthena cīvaravaṃsaṃ vā cīvararajjuṃ vā pamajjitvā pārato antaṃ orato bhogaṃ katvā cīvaraṃ nikkhipitabbaṃ.  saddhivihārikamhi vuṭṭhite āsanaṃ uddharitabbaṃ, pādodakaṃ pādapīṭhaṃ pādakathalikaṃ paṭisāmetabbaṃ.  sace so deso uklāpo hoti, so deso sammajjitabbo. |4| 
             
พึงถามสัทธิวิหาริกด้วยน้ำฉัน  เมื่อสัทธิวิหาริกฉันแล้ว พึงให้น้ำ รับบาตรมา ถือต่ำๆ อย่าให้กระทบ ล้างให้สะอาด เช็ดให้แห้ง แล้วพึงผึ่งไว้ที่แดดครู่หนึ่ง แต่ไม่พึงผึ่งทิ้งไว้ที่แดด  พึงเก็บบาตรจีวร  เมื่อเก็บบาตร พึงเอามือข้างหนึ่งจับบาตร เอามือข้างหนึ่งลูบคลำใต้เตียงหรือใต้ตั่งแล้วจึงเก็บบาตร แต่ไม่พึงเก็บบาตรไว้บนพื้นที่ไม่มีสิ่งใดรอง  เมื่อเก็บจีวร พึงเอามือข้างหนึ่งถือจีวร เอามือข้างหนึ่งลูบราวจีวร หรือสายระเดียงแล้วทำชายไว้ข้างนอก ขนดไว้ข้างในแล้วจึงเก็บจีวร  เมื่อสัทธิวิหาริกลุกแล้ว พึงเก็บอาสนะ เก็บน้ำล้างเท้า ตั่งรองเท้า กระเบื้องเช็ดเท้า  ถ้าที่นั้นรก พึงกวาดที่นั้นเสีย. 
เอตฺตาวตา นิวตฺติสฺสตีติ อาสนํ ปญฺญเปตพฺพํ ปาโททกํ ปาทปีฐํ ปาทกถลิกํ อุปนิกฺขิปิตพฺพํ ปจฺจุคฺคนฺตฺวา ปตฺตจีวรํ ปฏิคฺคเหตพฺพํ ปฏินิวาสนํ ทาตพฺพํ นิวาสนํ ปฏิคฺคเหตพฺพํ  สเจ จีวรํ สินฺนํ โหติ มุหุตฺตํ อุณฺเห โอตาเปตพฺพํ น จ อุณฺเห จีวรํ นิทหิตพฺพํ  จีวรํ สงฺฆริตพฺพํ  จีวรํ สงฺฆรนฺเตน จตุรงฺคุลํ กณฺณํ อุสฺสาเรตฺวา จีวรํ สงฺฆริตพฺพํ มา มชฺเฌ ภงฺโค อโหสีติ.  โอโภเค กายพนฺธนํ กาตพฺพํ.  “สเจ ปิณฺฑปาโต โหติ สทฺธิวิหาริโก จ ภุญฺชิตุกาโม โหติ อุทกํ ทตฺวา ปิณฺฑปาโต อุปนาเมตพฺโพ.  สทฺธิวิหาริโก ปานีเยน ปุจฺฉิตพฺโพ. 
sace saddhivihāriko nahāyitukāmo hoti, nahānaṃ paṭiyādetabbaṃ.  sace sītena attho hoti, sītaṃ paṭiyādetabbaṃ. sace uṇhena attho hoti, uṇhaṃ (52) paṭiyādetabbaṃ. sace saddhivihāriko jantāgharaṃ pavisitukāmo hoti, cuṇṇaṃ sannetabbaṃ, mattikā temetabbā, jantāgharapīṭhaṃ ādāya gantvā jantāgharapīṭhaṃ datvā cīvaraṃ paṭiggahetvā ekamantaṃ nikkhipitabbaṃ, cuṇṇaṃ dātabbaṃ, mattikā dātabbā.  sace ussahati, jantāgharaṃ pavisitabbaṃ.  jantāgharaṃ pavisantena mattikāya mukhaṃ makkhetvā purato ca pacchato ca paṭicchādetvā jantāgharaṃ pavisitabbam. |5| 
       
ถ้าสัทธิวิหาริกใคร่จะสรงน้ำ พึงจัดน้ำสรงให้ ถ้าต้องการน้ำเย็น พึงจัดน้ำเย็นให้ ถ้าต้องการน้ำร้อน พึงจัดน้ำร้อนให้.  ถ้าสัทธิวิหาริกประสงค์จะเข้าเรือนไฟ พึงบดจุณ แช่ดิน ถือตั่งสำหรับเรือนไฟไปแล้วให้ตั่งสำหรับเรือนไฟ แล้วรับจีวรมาวางไว้ ณ ที่ควรส่วนข้างหนึ่ง พึงให้จุณ ให้ดิน  ถ้าอุตสาหะอยู่ พึงเข้าเรือนไฟ  เมื่อเข้าเรือนไฟ พึงเอาดินทาหน้า ปิดทั้งข้างหน้า ทั้งข้างหลัง แล้วเข้าเรือนไฟ 
ภุตฺตาวิสฺส อุทกํ ทตฺวา ปตฺตํ ปฏิคฺคเหตฺวา นีจํ กตฺวา สาธุกํ อปฺปฏิฆํสนฺเตน โธวิตฺวา โวทกํ กตฺวา มุหุตฺตํ อุณฺเห โอตาเปตพฺโพ น จ อุณฺเห ปตฺโต นิทหิตพฺโพ.  ปตฺตจีวรํ นิกฺขิปิตพฺพํ.  ปตฺตํ นิกฺขิปนฺเตน เอเกน หตฺเถน ปตฺตํ คเหตฺวา เอเกน หตฺเถน เหฏฺฐามญฺจํ วา เหฏฺฐาปีฐํ วา ปรามสิตฺวา ปตฺโต นิกฺขิปิตพฺโพ. น จ อนนฺตรหิตาย ภูมิยา ปตฺโต นิกฺขิปิตพฺโพ.  จีวรํ นิกฺขิปนฺเตน เอเกน หตฺเถน จีวรํ คเหตฺวา เอเกน หตฺเถน จีวรวํสํ วา จีวรรชฺชุํ วา ปมชฺชิตฺวา ปารโต อนฺตํ โอรโต โภคํ กตฺวา จีวรํ นิกฺขิปิตพฺพํ. 
na there bhikkhū anupakhajja nisīditabbaṃ, na navā bhikkhū āsanena paṭibāhetabbā.  jantāghare saddhivihārikassa parikammaṃ kātabbaṃ.  jantāgharā nikkhamantena jantāgharapīṭhaṃ ādāya purato ca pacchato ca paṭicchādetvā jantāgharā nikkhamitabbaṃ.  udake pi saddhivihārikassa parikammaṃ kātabbaṃ.  nahātena paṭhamataraṃ uttaritvā attano gattaṃ vodakaṃ katvā nivāsetvā saddhivihārikassa gattato udakaṃ pamajjitabbaṃ, nivāsanaṃ dātabbaṃ, saṃghāṭi dātabbā, jantāgharapīṭhaṃ ādāya paṭhamataraṃ āgantvā āsanaṃ paññāpetabbaṃ, pādodakaṃ padapīṭhaṃ pādakathalikaṃ upanikkhipitabbaṃ.  saddhivihāriko pāniyena pucchitabbo. |6| 
          and give it him with some water in it. When he expects: "Now he must be about to return," let him prepare a seat, get water for the washing of his feet (&c., as in chap. 25. 10-131, down to:). 
ไม่พึงนั่งเบียดภิกษุผู้เถระ ไม่พึงห้ามกันอาสนะภิกษุใหม่  พึงทำบริกรรมแก่สัทธิวิหาริกในเรือนไฟ  เมื่อออกจากเรือนไฟ พึงถือตั่งสำหรับเรือนไฟ แล้วปิดทั้งข้างหน้าทั้งข้างหลัง ออกจากเรือนไฟ  พึงทำบริกรรมแก่สัทธิวิหาริก แม้ในน้ำ  อาบเสร็จแล้วพึงขึ้นมาก่อน ทำตัวของตนให้แห้งน้ำ นุ่งผ้าแล้วพึงเช็ดน้ำจากตัวของสัทธิวิหาริก พึงให้ผ้านุ่ง พึงให้ผ้าสังฆาฏิ พึงถือตั่งสำหรับเรือนไฟมาก่อน แล้วปูอาสนะไว้ เตรียมน้ำล้างเท้า ตั่งรองเท้า กระเบื้องเช็ดเท้าไว้  พึงถามสัทธิวิหาริกด้วยน้ำฉัน. 
สทฺธิวิหาริกมฺหิ วุฏฺฐิเต อาสนํ อุทฺธริตพฺพํ ปาโททกํ ปาทปีฐํ ปาทกถลิกํ ปฏิสาเมตพฺพํ.  สเจ โส เทโส อุกฺลาโป โหติ โส เทโส สมฺมชฺชิตพฺโพ.  “สเจ สทฺธิวิหาริโก นหายิตุกาโม โหติ นหานํ ปฏิยาเทตพฺพํ.  สเจ สีเตน อตฺโถ โหติ สีตํ ปฏิยาเทตพฺพํ. สเจ อุณฺเหน อตฺโถ โหติ อุณฺหํ ปฏิยาเทตพฺพํ “สเจ สทฺธิวิหาริโก ชนฺตาฆรํ ปวิสิตุกาโม โหติ จุณฺณํ สนฺเนตพฺพํ มตฺติกา เตเมตพฺพา ชนฺตาฆรปีฐํ อาทาย คนฺตฺวา ชนฺตาฆรปีฐํ ทตฺวา จีวรํ ปฏิคฺคเหตฺวา เอกมนฺตํ นิกฺขิปิตพฺพํ จุณฺณํ ทาตพฺพํ มตฺติกา ทาตพฺพา.  สเจ อุสฺสหติ ชนฺตาฆรํ ปวิสิตพฺพํ.  ชนฺตาฆรํ ปวิสนฺเตน มตฺติกาย มุขํ มกฺเขตฺวา ปุรโต จ ปจฺฉโต จ ปฏิจฺฉาเทตฺวา ชนฺตาฆรํ ปวิสิตพฺพํ. 
yasmiṃ vihāre saddhivihāriko viharati, sace so vihāro uklāpo hoti, sace ussahati, sodhetabbo. vihāraṃ sodhentena paṭhamaṃ pattacīvaraṃ nīharitvā ekamantaṃ nikkhipitabbaṃ . . . (= I.25,14-19) . . .  sace ācamanakumbhiyā udakaṃ na hoti, ācamanakumbhiyā udakaṃ āsiñcitabbaṃ. |7| 
Let him offer to the saddhivihârika water to drink.  'If the Vihâra in which the saddhivihârika dwells, is dirty . . . . (&c., as in chap. 25. 14-22). 
สัทธิวิหาริกอยู่ในวิหารแห่งใด ถ้าวิหารแห่งนั้นรก ถ้าอุตสาหะอยู่ พึงปัดกวาดเสีย เมื่อปัดกวาดวิหาร พึงขนบาตรจีวรออกก่อนแล้ววางไว้ ณ ที่ควรส่วนข้างหนึ่ง พึงขนผ้าปูนั่ง และผ้าปูนอน ฟูก หมอน ออกวางไว้ ณ ที่ควรส่วนข้างหนึ่ง เตียงตั่ง อุปัชฌายะพึงยกต่ำๆ อย่าให้ครูดสี อย่าให้กระทบกระแทกบานและกรอบประตู ขนออกให้เรียบร้อย แล้วตั้งไว้ ณ ที่ควรส่วนข้างหนึ่ง เขียงรองเตียง กระโถน พนักอิง พึงขนออกวางไว้ ณ ที่ควรส่วนข้างหนึ่ง เครื่องปูพื้น พึงสังเกตที่ปูไว้ที่เดิม แล้วขนออกวางไว้ ณ ที่ควรส่วนข้างหนึ่ง ถ้าในวิหารมีหยากเยื่อ พึงกวาดแต่เพดานลงมาก่อน กรอบหน้าต่างและมุมห้อง พึงเช็ดเสีย ถ้าฝาเขาทำบริกรรมด้วยน้ำมัน หรือพื้นเขาทาสีดำขึ้นรา พึงเอาผ้าชุบน้ำบิดแล้วเช็ดเสีย ถ้าพื้นเขามิได้ทำ พึงเอาน้ำประพรมแล้วเช็ดเสีย ระวังอย่าให้วิหารฟุ้งด้วยธุลี พึงกวาดหยากเยื่อทิ้งเสีย ณ ที่ควรส่วนข้างหนึ่ง เครื่องลาดพื้น พึงผึ่งแดด ชำระ เคาะ ปัดแล้ว ขนกลับปูไว้ตามเดิม เขียงรองเตียง พึงผึ่งแดด ขัด เช็ดแล้ว ขนกลับไว้ในที่เดิม เตียงตั่ง พึงผึ่งแดด ขัดสี เคาะเสีย ยกต่ำๆ อย่าให้ครูดสี อย่าให้กระทบกระแทกบานและกรอบประตู ขนกลับไปให้ดีๆ แล้วตั้งไว้ตามเดิม ฟูก หมอน ผ้าปูนั่ง ผ้าปูนอน พึงผึ่งแดด ทำให้สะอาด ตบเสีย แล้วนำกลับวางปูไว้ตามเดิม กระโถน พนักอิง พึงผึ่งแดด เช็ด ถูเสีย แล้วขนกลับตั้งไว้ตามเดิม พึงเก็บบาตรจีวร เมื่อเก็บบาตร พึงเอามือข้างหนึ่งจับบาตร เอามือข้างหนึ่งลูบคลำใต้เตียงหรือใต้ตั่ง แล้วจึงเก็บบาตร แต่ไม่พึงวางบาตรบนพื้นที่ไม่มีสิ่งใดรอง เมื่อเก็บจีวร พึงเอามือข้างหนึ่งถือจีวร เอามือข้างหนึ่งลูบราวจีวรหรือสายระเดียงแล้วทำชายไว้ข้างนอก ทำขนดไว้ข้างในแล้วจึงเก็บจีวร. ถ้าลมเจือด้วยผลคลีพัดมาแต่ทิศตะวันออก พึงปิดหน้าต่างด้านตะวันออก ถ้าพัดมาแต่ทิศตะวันตก พึงปิดหน้าต่างด้านตะวันตก ถ้าพัดมาแต่ทิศเหนือ พึงปิดหน้าต่างด้านเหนือ ถ้าพัดมาแต่ทิศใต้ พึงปิดหน้าต่างด้านใต้ ถ้าฤดูหนาว พึงเปิดหน้าต่างกลางวัน พึงปิดกลางคืน ถ้าฤดูร้อน พึงปิดหน้าต่างกลางวัน พึงเปิดกลางคืน. ถ้าบริเวณ ซุ้มน้ำ โรงฉัน โรงไฟ วัจจกุฎี รก พึงปัดกวาดเสีย  ถ้าน้ำฉันน้ำใช้ไม่มี พึงจัดตั้งไว้ ถ้าน้ำในหม้อชำระไม่มี พึงตักน้ำมาไว้ในหม้อชำระ. 
น เถเร ภิกฺขู อนุปขชฺช นิสีทิตพฺพํ. น นวา ภิกฺขู อาสเนน ปฏิพาหิตพฺพา.  ชนฺตาฆเร สทฺธิวิหาริกสฺส ปริกมฺมํ กาตพฺพํ. 
sace saddhivihārikassa anabhirati uppannā hoti, upajjhāyena vūpakāsetabbā vūpakāsāpetabbā dhammakathā vāssa kātabbā.  sace saddhivihārikassa kukkuccaṃ uppannaṃ hoti, upajjhāyena vinodetabbaṃ vinodāpetabbaṃ dhammakathā vāssa kātabbā.  sace saddhivihārikassa diṭṭhigataṃ uppannaṃ hoti, upajjhāyena vivecetabbaṃ vivecāpetabbaṃ dhammakathā vāssa kātabbā. |8| 
     
ถ้าความกระสันบังเกิดแก่สัทธิวิหาริก อุปัชฌายะพึงช่วยระงับหรือพึงวานภิกษุอื่นให้ช่วยระงับ หรือพึงทำธรรมกถาแก่สัทธิวิหาริกนั้น  ถ้าความรำคาญบังเกิดแก่สัทธิวิหาริก อุปัชฌายะพึงบรรเทา หรือพึงวานภิกษุอื่นให้ช่วยบรรเทา หรือพึงทำธรรมกถาแก่สัทธิวิหาริกนั้น  ถ้าความเห็นผิดบังเกิดแก่สัทธิวิหาริก อุปัชฌายะพึงให้สละเสีย หรือพึงวานภิกษุอื่นให้ช่วย หรือพึงทำธรรมกถาแก่สัทธิวิหาริกนั้น. 
ชนฺตาฆรา นิกฺขมนฺเตน ชนฺตาฆรปีฐํ อาทาย ปุรโต จ ปจฺฉโต จ ปฏิจฺฉาเทตฺวา ชนฺตาฆรา นิกฺขมิตพฺพํ.  “อุทเกปิ สทฺธิวิหาริกสฺส ปริกมฺมํ กาตพฺพํ.  นหาเตน ปฐมตรํ อุตฺตริตฺวา อตฺตโน คตฺตํ โวทกํ กตฺวา นิวาเสตฺวา สทฺธิวิหาริกสฺส คตฺตโต อุทกํ ปมชฺชิตพฺพํ นิวาสนํ ทาตพฺพํ สงฺฆาฏิ ทาตพฺพา. ชนฺตาฆรปีฐํ อาทาย ปฐมตรํ อาคนฺตฺวา อาสนํ ปญฺญเปตพฺพํ ปาโททกํ ปาทปีฐํ ปาทกถลิกํ อุปนิกฺขิปิตพฺพํ. 
sace saddhivihāriko garudhammaṃ ajjhāpanno hoti parivāsāraho, upajjhāyena ussukkaṃ kātabbaṃ kin ti nu kho saṃgho saddhivihārikassa parivāsaṃ dadeyyā ’ti.  sace saddhivihāriko mūlāya paṭikassanāraho hoti, upajjhāyena ussukkaṃ kātabbaṃ kin ti nu kho saṃgho saddhivihārikaṃ mūlāya paṭikasseyyā ’ti.  sace saddhivihāriko mānattāraho hoti, upajjhāyena ussukkaṃ kātabbaṃ kin ti nu kho saṃgho saddhivihārikassa mānattaṃ dadeyyā ’ti.  sace saddhivihā-(53)riko abbhānāraho hoti, upajjhāyena ussukkaṃ kātabbaṃ kin ti nu kho saṃgho saddhivihārikaṃ abbheyyā ’ti. |9| 
       
ถ้าสัทธิวิหาริกต้องอาบัติหนัก ควรปริวาส อุปัชฌายะพึงทำความขวนขวายว่า ด้วยอุบายอย่างไรหนอ สงฆ์พึงให้ปริวาสแก่สัทธิวิหาริก  ถ้าสัทธิวิหาริกควรชักเข้าหาอาบัติเดิม อุปัชฌายะพึงทำความขวนขวายว่า ด้วยอุบายอย่างไรหนอ สงฆ์พึงชักสัทธิวิหาริกเข้าหาอาบัติเดิม  ถ้าสัทธิวิหาริกควรมานัต อุปัชฌายะพึงทำความขวนขวายว่า ด้วยอุบายอย่างไรหนอ สงฆ์พึงให้มานัตแก่สัทธิวิหาริก  ถ้าสัทธิวิหาริกควรอัพภาน อุปัชฌายะพึงทำความขวนขวายว่า ด้วยอุบายอย่างไรหนอ สงฆ์พึงอัพภานสัทธิวิหาริก. 
สทฺธิวิหาริโก ปานีเยน ปุจฺฉิตพฺโพ.  “ยสฺมึ วิหาเร สทฺธิวิหาริโก วิหรติ สเจ โส วิหาโร อุกฺลาโป โหติ สเจ อุสฺสหติ โสเธตพฺโพ. วิหารํ โสเธนฺเตน ปฐมํ ปตฺตจีวรํ นีหริตฺวา เอกมนฺตํ นิกฺขิปิตพฺพํ นิสีทนปจฺจตฺถรณํ นีหริตฺวา เอกมนฺตํ นิกฺขิปิตพฺพํ ภิสิพิพฺโพหนํ นีหริตฺวา เอกมนฺตํ นิกฺขิปิตพฺพํ มญฺโจ นีจํ กตฺวา สาธุกํ อปฺปฏิฆํสนฺเตน อสงฺฆฏฺเฏนฺเตน กวาฏปิฏฺฐํ นีหริตฺวา เอกมนฺตํ นิกฺขิปิตพฺโพ ปีฐํ นีจํ กตฺวา สาธุกํ อปฺปฏิฆํสนฺเตน อสงฺฆฏฺเฏนฺเตน กวาฏปิฏฺฐํ นีหริตฺวา เอกมนฺตํ นิกฺขิปิตพฺพํ มญฺจปฏิปาทกา นีหริตฺวา เอกมนฺตํ นิกฺขิปิตพฺพา เขฬมลฺลโก นีหริตฺวา เอกมนฺตํ นิกฺขิปิตพฺโพ อปสฺเสนผลกํ นีหริตฺวา เอกมนฺตํ นิกฺขิปิตพฺพํ ภูมตฺถรณํ ยถาปญฺญตฺตํ สลฺลกฺเขตฺวา นีหริตฺวา เอกมนฺตํ นิกฺขิปิตพฺพํ. สเจ วิหาเร สนฺตานกํ โหติ อุลฺโลกา ปฐมํ โอหาเรตพฺพํ อาโลกสนฺธิกณฺณภาคา ปมชฺชิตพฺพา. สเจ เครุกปริกมฺมกตา ภิตฺติ กณฺณกิตา โหติ โจฬกํ เตเมตฺวา ปีเฬตฺวา ปมชฺชิตพฺพา. สเจ กาฬวณฺณกตา ภูมิ กณฺณกิตา โหติ โจฬกํ เตเมตฺวา ปีเฬตฺวา ปมชฺชิตพฺพา. สเจ อกตา โหติ ภูมิ อุทเกน ปริปฺโผสิตฺวา สมฺมชฺชิตพฺพา มา วิหาโร รเชน อุหญฺญีติ. สงฺการํ วิจินิตฺวา เอกมนฺตํ ฉฑฺเฑตพฺพํ. “ภูมตฺถรณํ โอตาเปตฺวา โสเธตฺวา ปปฺโผเฏตฺวา อติหริตฺวา ยถาปญฺญตฺตํ ปญฺญเปตพฺพํ. มญฺจปฏิปาทกา โอตาเปตฺวา ปมชฺชิตฺวา อติหริตฺวา ยถาฐาเน ฐเปตพฺพา. มญฺโจ โอตาเปตฺวา โสเธตฺวา ปปฺโผเฏตฺวา นีจํ กตฺวา สาธุกํ อปฺปฏิฆํสนฺเตน อสงฺฆฏฺเฏนฺเตน กวาฏปิฏฺฐํ อติหริตฺวา ยถาปญฺญตฺตํ ปญฺญเปตพฺโพ. ปีฐํ โอตาเปตฺวา โสเธตฺวา ปปฺโผเฏตฺวา นีจํ กตฺวา สาธุกํ อปฺปฏิฆํสนฺเตน อสงฺฆฏฺเฏนฺเตน กวาฏปิฏฺฐํ อติหริตฺวา ยถาปญฺญตฺตํ ปญฺญเปตพฺพํ. ภิสิพิพฺโพหนํ โอตาเปตฺวา โสเธตฺวา ปปฺโผเฏตฺวา อติหริตฺวา ยถาปญฺญตฺตํ ปญฺญเปตพฺพํ. นิสีทนปจฺจตฺถรณํ โอตาเปตฺวา โสเธตฺวา ปปฺโผเฏตฺวา อติหริตฺวา ยถาปญฺญตฺตํ ปญฺญเปตพฺพํ. เขฬมลฺลโก โอตาเปตฺวา ปมชฺชิตฺวา อติหริตฺวา ยถาฐาเน ฐเปตพฺโพ. อปสฺเสนผลกํ โอตาเปตฺวา ปมชฺชิตฺวา อติหริตฺวา ยถาฐาเน ฐเปตพฺพํ. ปตฺตจีวรํ นิกฺขิปิตพฺพํ. ปตฺตํ นิกฺขิปนฺเตน เอเกน หตฺเถน ปตฺตํ คเหตฺวา เอเกน หตฺเถน เหฏฺฐามญฺจํ วา เหฏฺฐาปีฐํ วา ปรามสิตฺวา ปตฺโต นิกฺขิปิตพฺโพ. น จ อนนฺตรหิตาย ภูมิยา ปตฺโต นิกฺขิปิตพฺโพ. จีวรํ นิกฺขิปนฺเตน เอเกน หตฺเถน จีวรํ คเหตฺวา เอเกน หตฺเถน จีวรวํสํ วา จีวรรชฺชุํ วา ปมชฺชิตฺวา ปารโต อนฺตํ โอรโต โภคํ กตฺวา จีวรํ นิกฺขิปิตพฺพํ. “สเจ ปุรตฺถิมา สรชา วาตา วายนฺติ ปุรตฺถิมา วาตปานา ถเกตพฺพา. สเจ ปจฺฉิมา สรชา วาตา วายนฺติ ปจฺฉิมา วาตปานา ถเกตพฺพา. สเจ อุตฺตรา สรชา วาตา วายนฺติ อุตฺตรา วาตปานา ถเกตพฺพา. สเจ ทกฺขิณา สรชา วาตา วายนฺติ ทกฺขิณา วาตปานา ถเกตพฺพา. สเจ สีตกาโล โหติ ทิวา วาตปานา วิวริตพฺพา รตฺตึ ถเกตพฺพา. สเจ อุณฺหกาโล โหติ ทิวา วาตปานา ถเกตพฺพา รตฺตึ วิวริตพฺพา. “สเจ ปริเวณํ อุกฺลาปํ โหติ ปริเวณํ สมฺมชฺชิตพฺพํ. สเจ โกฏฺฐโก อุกฺลาโป โหติ โกฏฺฐโก สมฺมชฺชิตพฺโพ. สเจ อุปฏฺฐานสาลา อุกฺลาปา โหติ อุปฏฺฐานสาลา สมฺมชฺชิตพฺพา. สเจ อคฺคิสาลา อุกฺลาปา โหติ อคฺคิสาลา สมฺมชฺชิตพฺพา. สเจ วจฺจกุฏิ อุกฺลาปา โหติ วจฺจกุฏิ สมฺมชฺชิตพฺพา. สเจ ปานียํ น โหติ ปานียํ อุปฏฺฐาเปตพฺพํ. สเจ ปริโภชนียํ น โหติ ปริโภชนียํ อุปฏฺฐาเปตพฺพํ.  สเจ อาจมนกุมฺภิยา อุทกํ น โหติ อาจมนกุมฺภิยา อุทกํ อาสิญฺจิตพฺพํ.  “สเจ สทฺธิวิหาริกสฺส อนภิรติ อุปฺปนฺนา โหติ อุปชฺฌาเยน วูปกาเสตพฺโพ วูปกาสาเปตพฺโพ ธมฺมกถา วาสฺส กาตพฺพา. 
sace saṃgho saddhivihārikassa kammaṃ kattukāmo hoti tajjaniyaṃ vā nissayaṃ vā pabbājaniyaṃ vā paṭisāraṇiyaṃ vā ukkhepaniyaṃ vā, upajjhāyena ussukkaṃ kātabbaṃ kin ti nu kho saṃgho saddhivihārikassa kammaṃ na kareyya lahukāya vā pariṇāmeyyā ’ti.  kataṃ vā pan’ assa hoti saṃghena kammaṃ tajjaniyaṃ vā nissayaṃ vā pabbājaniyaṃ vā paṭisāraṇiyaṃ vā ukkhepaniyaṃ vā, upajjhāyena ussukkaṃ kātabbaṃ kin ti nu kho saddhivihāriko sammāvatteyya lomaṃ pāteyya netthāraṃ vatteyya, saṃgho taṃ kammaṃ paṭippassambheyyā ’ti. |10| 
   
ถ้าสงฆ์ปรารถนาจะทำกรรมแก่สัทธิวิหาริก คือ ตัชชนียกรรม นิยสกรรม ปัพพาชนียกรรม ปฏิสารณียกรรม หรืออุกเขปนียกรรม อุปัชฌายะพึงทำความขวนขวายว่า ด้วยอุบายอย่างไรหนอ สงฆ์ไม่พึงทำกรรมแก่สัทธิวิหาริก  หรือสงฆ์พึงน้อมไปเพื่อกรรมสถานเบา หรือสัทธิวิหาริกนั้น ถูกสงฆ์ลงตัชชนียกรรม นิยสกรรม ปัพพาชนียกรรม ปฏิสารณียกรรม หรืออุกเขปนียกรรมแล้ว อุปัชฌายะพึงทำความขวนขวายว่า ด้วยอุบายอย่างไรหนอ สัทธิวิหาริกพึงประพฤติชอบ พึงหายเย่อหยิ่ง พึงประพฤติแก้ตัว สงฆ์พึงระงับกรรมนั้นเสีย. 
สเจ สทฺธิวิหาริกสฺส กุกฺกุจฺจํ อุปฺปนฺนํ โหติ อุปชฺฌาเยน วิโนเทตพฺพํ วิโนทาเปตพฺพํ ธมฺมกถา วาสฺส กาตพฺพา  สเจ สทฺธิวิหาริกสฺส ทิฏฺฐิคตํ อุปฺปนฺนํ โหติ อุปชฺฌาเยน วิเวเจตพฺพํ วิเวจาเปตพฺพํ ธมฺมกถา วาสฺส กาตพฺพา. 
sace saddhivihārikassa cīvaraṃ dhovitabbaṃ hoti, upajjhāyena ācikkhitabbaṃ evaṃ dhoveyyāsīti, ussukkaṃ vā kātabbaṃ kin ti nu kho saddhivihārikassa cīvaraṃ dhoviyethā ’ti.  sace saddhivihārikassa cīvaraṃ kātabbaṃ hoti, upajjhāyena ācikkhitabbaṃ evaṃ kareyyāsīti, ussukkaṃ vā kātabbaṃ kin ti nu kho saddhivihārikassa cīvaraṃ kariyethā ’ti.  sace saddhivihārikassa rajanaṃ pacitabbaṃ hoti, upajjhāyena ācikkhitabbaṃ evaṃ paceyyāsīti, ussukkaṃ vā kātabbaṃ kin ti nu kho saddhivihārikassa rajanaṃ paciyethā ’ti.  sace saddhivihārikassa cīvaraṃ rajitabbaṃ hoti, upajjhāyena ācikkhitabbaṃ evaṃ rajeyyāsīti, ussukkaṃ vā kātabbaṃ kin ti nu kho saddhivihārikassa cīvaraṃ rajiyethā ’ti.  cīvaraṃ rajantena sādhukaṃ saṃparivattakaṃ-saṃparivattakaṃ rajitabbaṃ na ca acchinne theve pakkamitabbaṃ.  sace saddhivihāriko gilāno hoti, yāvajīvaṃ upaṭṭhātabbo, vuṭṭhānassa āgametabban ti. |11| 
  'If the robe of the saddhivihârika must be washed, let the upagghâya tell the saddhivihârika: "Thus must you wash your robe," or let him take care that the saddhivihârika's robe is washed.  If a robe must be made for the saddhivihârika, let the upagghâya tell the saddhivihârika: "Thus must you make the robe," or let him take care that the saddhivihârika's robe is made.  If dye must be boiled for the saddhivihârika, &c.  If the robe of the saddhivihârika must be dyed, let the upagghâya tell, &c.  When he dyes the robe, let him dye it properly, and turn it whenever required, and let him not go away before the dye has ceased to drop. 
ถ้าจีวรของสัทธิวิหาริกจะต้องซัก อุปัชฌายะพึงบอกว่า ท่านพึงซักอย่างนี้ หรือพึงทำความขวนขวายว่า ด้วยอุบายอย่างไรหนอ ใครๆ พึงซักจีวรของสัทธิวิหาริก  ถ้าจีวรของสัทธิวิหาริกจะต้องทำ อุปัชฌายะพึงบอกว่า ท่านพึงทำอย่างนี้ หรือพึงทำความขวนขวายว่า ด้วยอุบายอย่างไรหนอ ใครๆ พึงทำจีวรของสัทธิวิหาริก  ถ้าน้ำย้อมของสัทธิวิหาริกจะต้องต้ม อุปัชฌายะพึงบอกว่า ท่านพึงต้มอย่างนี้ หรือพึงทำความขวนขวายว่า ด้วยอุบายอย่างไรหนอ ใครๆ พึงต้มน้ำย้อมของสัทธิวิหาริก  ถ้าจีวรของสัทธิวิหาริกจะต้องย้อม อุปัชฌายะพึงบอกว่า ท่านพึงย้อมอย่างนี้ หรือพึงทำความขวนขวายว่า ด้วยอุบายอย่างไรหนอ ใครๆ พึงย้อมจีวรของสัทธิวิหาริก  เมื่อย้อมจีวร พึงย้อมพลิกกลับไปมาให้ดีๆ เมื่อหยาดน้ำย้อมยังไม่ขาดสาย ไม่พึงหลีกไปเสีย.  ถ้าสัทธิวิหาริกอาพาธ พึงพยาบาลจนตลอดชีวิต พึงรอจนกว่าจะหาย. 
สเจ สทฺธิวิหาริโก ครุธมฺมํ อชฺฌาปนฺโน โหติ ปริวาสารโห อุปชฺฌาเยน อุสฺสุกฺกํ กาตพฺพํ กินฺติ นุ โข สงฺโฆ สทฺธิวิหาริกสฺส ปริวาสํ ทเทยฺยาติ.  สเจ สทฺธิวิหาริโก มูลาย ปฏิกสฺสนารโห โหติ อุปชฺฌาเยน อุสฺสุกฺกํ กาตพฺพํ กินฺติ นุ โข สงฺโฆ สทฺธิวิหาริกํ มูลาย ปฏิกสฺเสยฺยาติ.  สเจ สทฺธิวิหาริโก มานตฺตารโห โหติ อุปชฺฌาเยน อุสฺสุกฺกํ กาตพฺพํ กินฺติ นุ โข สงฺโฆ สทฺธิวิหาริกสฺส มานตฺตํ ทเทยฺยาติ.  สเจ สทฺธิวิหาริโก อพฺภานารโห โหติ อุปชฺฌาเยน อุสฺสุกฺกํ กาตพฺพํ กินฺติ นุ โข สงฺโฆ สทฺธิวิหาริกํ อพฺเภยฺยาติ.  สเจ สงฺโฆ สทฺธิวิหาริกสฺส กมฺมํ กตฺตุกาโม โหติ ตชฺชนียํ วา นิยสฺสํ วา ปพฺพาชนียํ วา ปฏิสารณียํ วา อุกฺเขปนียํ วา อุปชฺฌาเยน อุสฺสุกฺกํ กาตพฺพํ กินฺติ นุ โข สงฺโฆ สทฺธิวิหาริกสฺส กมฺมํ น กเรยฺย ลหุกาย วา ปริณาเมยฺยาติ.  กตํ วา ปนสฺส โหติ สงฺเฆน กมฺมํ ตชฺชนียํ วา นิยสฺสํ วา ปพฺพาชนียํ วา ปฏิสารณียํ วา อุกฺเขปนียํ วา อุปชฺฌาเยน อุสฺสุกฺกํ กาตพฺพํ กินฺติ นุ โข สทฺธิวิหาริโก สมฺมา วตฺเตยฺย โลมํ ปาเตยฺย เนตฺถารํ วตฺเตยฺย สงฺโฆ ตํ กมฺมํ ปฏิปฺปสฺสมฺเภยฺยาติ. 
saddhivihārikavattaṃ niṭṭhitaṃ. ||26|| 
If the saddhivihârika is sick, let him nurse him as long as his life lasts and wait until he has recovered.' 
สัทธิวิหาริกวัตร จบ 
“สเจ สทฺธิวิหาริกสฺส จีวรํ โธวิตพฺพํ โหติ อุปชฺฌาเยน อาจิกฺขิตพฺพํ เอวํ โธเวยฺยาสีติ อุสฺสุกฺกํ วา กาตพฺพํ กินฺติ นุ โข สทฺธิวิหาริกสฺส จีวรํ โธวิเยถาติ. 
tena kho pana samayena saddhivihārikā upajjhāyesu na sammāvattanti.  ye te bhikkhū appicchā, te ujjhāyanti khīyanti vipācenti:  kathaṃ hi nāma saddhivihārikā upajjhāyesu na sammāvattissantīti.  atha kho te bhikkhū bhagavato etam atthaṃ ārocesuṃ.  saccaṃ kira bhikkhave saddhivihārikā upajjhāyesu na sammāvattantīti.  saccaṃ bhagavā.  vigarahi buddho bhagavā: kathaṃ hi nāma bhikkhave saddhivihārikā upajjhāyesu na sammāvattissantīti.  vigarahitvā dhammiṃ kathaṃ katvā bhikkhū āmantesi: na bhikkhave (54) saddhivihārikena upajjhāyamhi na sammāvattitabbaṃ.  yo na sammāvatteyya, āpatti dukkaṭassā ’ti. |1| 
End of the duties towards a saddhivihârika.  At that time the saddhivihârikas did not observe a proper conduct towards their upagghâyas.  The moderate Bhikkhus were annoyed, murmured, and became angry, saying,  'How can the saddhivihârikas not observe a proper conduct towards their upagghâyas?'  These Bhikkhus told this thing to the Blessed One.  (Then Buddha questioned the Bhikkhus): 'Is it true, O Bhikkhus, that the saddhivihârikas do not observe a proper conduct towards their upagghâyas?'  (They replied): 'It is true, Lord.'  Then the blessed Buddha rebuked those Bhikkhus: 'How can the saddhivihârikas, O Bhikkhus, not observe a proper conduct towards their upagghâyas?'  Having rebuked them and delivered a religious discourse, he thus addressed the Bhikkhus: 'Let a saddhivihârika, O Bhikkhus, not forbear to observe a proper conduct towards his upagghâya. 
การประณามและการให้ขมา [๘๓] ก็โดยสมัยนั้นแล สัทธิวิหาริกทั้งหลายไม่ประพฤติชอบในอุปัชฌายะทั้งหลาย.  บรรดาภิกษุที่เป็นผู้มักน้อย ... ต่างก็เพ่งโทษ ติเตียน โพนทะนาว่า  ไฉนสัทธิวิหาริกทั้งหลายจึงไม่ประพฤติชอบในอุปัชฌายะทั้งหลายเล่า  แล้วได้กราบทูลเรื่องนั้นแด่พระผู้มีพระภาค.  ทรงสอบถาม // พระผู้มีพระภาคทรงสอบถามภิกษุทั้งหลายว่า ดูกรภิกษุทั้งหลาย ข่าวว่า สัทธิวิหาริกทั้งหลายไม่ประพฤติชอบในอุปัชฌายะทั้งหลาย จริงหรือ?  ภิกษุทั้งหลายทูลรับว่า จริง พระพุทธเจ้าข้า.  ทรงติเตียน // พระผู้มีพระภาคพุทธเจ้าทรงติเตียนว่า ดูกรภิกษุทั้งหลาย ไฉนสัทธิวิหาริกทั้งหลายจึงไม่ประพฤติชอบในอุปัชฌายะทั้งหลายเล่า  ครั้นแล้วทรงทำธรรมีกถา รับสั่งกะภิกษุทั้งหลายว่า ดูกรภิกษุทั้งหลาย สัทธิวิหาริกจะไม่ประพฤติชอบในอุปัชฌายะไม่ได้  รูปใดไม่ประพฤติชอบ ต้องอาบัติทุกกฏ. 
สเจ สทฺธิวิหาริกสฺส จีวรํ กาตพฺพํ โหติ อุปชฺฌาเยน อาจิกฺขิตพฺพํ เอวํ กเรยฺยาสีติ อุสฺสุกฺกํ วา กาตพฺพํ กินฺติ นุ โข สทฺธิวิหาริกสฺส จีวรํ กริเยถาติ.  สเจ สทฺธิวิหาริกสฺส รชนํ ปจิตพฺพํ โหติ อุปชฺฌาเยน อาจิกฺขิตพฺพํ เอวํ ปเจยฺยาสีติ อุสฺสุกฺกํ วา กาตพฺพํ กินฺติ นุ โข สทฺธิวิหาริกสฺส รชนํ ปจิเยถาติ.  สเจ สทฺธิวิหาริกสฺส จีวรํ รชิตพฺพํ โหติ อุปชฺฌาเยน อาจิกฺขิตพฺพํ เอวํ รเชยฺยาสีติ อุสฺสุกฺกํ วา กาตพฺพํ กินฺติ นุ โข สทฺธิวิหาริกสฺส จีวรํ รชิเยถาติ.  จีวรํ รชนฺเตน สาธุกํ สมฺปริวตฺตกํ สมฺปริวตฺตกํ รชิตพฺพํ. น จ อจฺฉินฺเน เถเว ปกฺกมิตพฺพํ.  สเจ สทฺธิวิหาริโก คิลาโน โหติ ยาวชีวํ อุปฏฺฐาตพฺโพ วุฏฺฐานมสฺส อาคเมตพฺพ”นฺติ.  สทฺธิวิหาริกวตฺตํ นิฏฺฐิตํ.  (๑๗. ปณามิตกถา) ๖๘. เตน โข ปน สมเยน สทฺธิวิหาริกา อุปชฺฌาเยสุ น สมฺมา วตฺตนฺติ.  เย เต ภิกฺขู อปฺปิจฺฉาฯเปฯ เต อุชฺฌายนฺติ ขิยฺยนฺติ วิปาเจนฺติ  “กถญฺหิ นาม สทฺธิวิหาริกา อุปชฺฌาเยสุ น สมฺมา วตฺติสฺสนฺตี”ติ. 
n’ eva sammāvattanti.  bhagavato etam atthaṃ ārocesuṃ.  anujānāmi bhikkhave asammāvattantaṃ paṇāmetum.  evañ ca pana bhikkhave paṇāmetabbo: paṇāmemi tan ti vā, mā yidha paṭikkamīti vā, nīhara te pattacīvaran ti vā, nāhaṃ tayā upaṭṭhātabbo ’ti vā kāyena viññāpeti, vācāya viññāpeti, kāyena vācāya viññāpeti, paṇāmito hoti saddhivihāriko.  na kāyena viññāpeti, na vācāya viññāpeti, na kāyena vācāya viññāpeti, na paṇāmito hoti saddhivihāriko ’ti. |2| 
He who does not observe it, is guilty of a dukkata offence.'  Notwithstanding this, they did not observe a proper conduct.  They told this thing to the Blessed One.  'I ordain, O Bhikkhus, to turn away (a saddhivihârika) who does not observe a proper conduct.  And he ought, O Bhikkhus, to be turned away in this way: (The upagghâya is to say): "I turn you away," or, " Do not come back hither," or, "Take away your alms-bowl and robe," or, "I am not to be attended by you any more." Whether he express this by gesture, or by word, or by gesture and word, the saddhivihârika has then been turned away. 
สัทธิวิหาริกทั้งหลายยังไม่ประพฤติชอบอย่างเดิม.  ภิกษุทั้งหลายจึงกราบทูลเรื่องนั้นแด่พระผู้มีพระภาค พระผู้มีพระภาคตรัสว่า  ดูกรภิกษุทั้งหลาย เราอนุญาตให้ประณามสัทธิวิหาริกผู้ไม่ประพฤติชอบ  วิธีประณาม // ดูกรภิกษุทั้งหลาย ก็แล อุปัชฌายะพึงประณามสัทธิวิหาริกอย่างนี้ว่า ฉันประณามเธอ เธออย่าเข้ามา ณ ที่นี้ เธอจงขนบาตรจีวรของเธอออกไปเสีย, พึงประณามว่า เธอไม่ต้องอุปฐากฉัน ดังนี้ก็ได้ อุปัชฌายะย่อมยังสัทธิวิหาริกให้รู้ด้วยกายก็ได้ ให้รู้ด้วยวาจาก็ได้ ให้รู้ด้วยทั้งกายและวาจาก็ได้ เป็นอันประณามแล้ว  ถ้ายังมิได้แสดงอาการกายให้รู้ ยังมิบอกให้รู้ด้วยวาจา ยังมิได้แสดงอาการกายและวาจาให้รู้ สัทธิวิหาริกไม่ชื่อว่าถูกประณาม. 
อถ โข เต ภิกฺขู ภควโต เอตมตฺถํ อาโรเจสุํฯเปฯ  สจฺจํ กิร ภิกฺขเว สทฺธิวิหาริกา อุปชฺฌาเยสุ น สมฺมา วตฺตนฺตีติ?  สจฺจํ ภควาติ.  วิครหิ พุทฺโธ ภควาฯเปฯ กถญฺหิ นาม ภิกฺขเว สทฺธิวิหาริกา อุปชฺฌาเยสุ น สมฺมา วตฺติสฺสนฺตีติฯเปฯ  วิครหิตฺวาฯเปฯ ธมฺมึ กถํ กตฺวา ภิกฺขู อามนฺเตสิ “น ภิกฺขเว สทฺธิวิหาริเกน อุปชฺฌายมฺหิ น สมฺมา วตฺติตพฺพํ. 
tena kho pana samayena saddhivihārikā paṇāmitā na khamāpenti.  bhagavato, etam atthaṃ ārocesuṃ.  anujānāmi bhikkhave khamāpetun ti.  n’ eva khamāpenti.  bhagavato etam atthaṃ ārocesuṃ.  na bhikkhave paṇāmitena na khamāpetabbo.  yo na khamāpeyya, āpatti dukkaṭassā ’ti. |3| 
If he does not express this by gesture, nor by word, nor by gesture and word, the saddhivihârika has not been turned away.'  At that time saddhivihârikas who had been turned away did not beg pardon (of their upagghâyas).  They told this thing to the Blessed One.  'I prescribe, O Bhikkhus, that (a saddhivihârika who has been turned away) should, beg pardon (of his upagghâya).'  They did not beg pardon notwithstanding.  They told, &c.  'I prescribe, O Bhikkhus, that (a saddhivihârika) who has been turned away shall not forbear to beg pardon (of his upagghâya). 
สมัยต่อมา สัทธิวิหาริกทั้งหลายถูกประณามแล้ว ไม่ขอให้อุปัชฌายะอดโทษ.  ภิกษุทั้งหลายจึงกราบทูลเรื่องนั้นแด่พระผู้มีพระภาค. พระผู้มีพระภาคตรัสว่า  ดูกรภิกษุทั้งหลาย เราอนุญาตให้สัทธิวิหาริกขอให้อุปัชฌายะอดโทษ.  สัทธิวิหาริกทั้งหลายไม่ยอมขอให้อุปัชฌายะอดโทษอย่างเดิม.  ภิกษุทั้งหลายจึงกราบทูลเรื่องนั้นแด่พระผู้มีพระภาค พระผู้มีพระภาคตรัสว่า  ดูกรภิกษุทั้งหลาย สัทธิวิหาริกถูกประณามแล้ว จะไม่ขอให้อุปัชฌายะอดโทษไม่ได้  รูปใดไม่ขอให้อุปัชฌายะอดโทษ ต้องอาบัติทุกกฏ. 
โย น สมฺมา วตฺเตยฺย อาปตฺติ ทุกฺกฏสฺสา”ติ  เนว สมฺมา วตฺตนฺติ.  ภควโต เอตมตฺถํ อาโรเจสุํ.  อนุชานามิ ภิกฺขเว อสมฺมาวตฺตนฺตํ ปณาเมตุํ.  เอวญฺจ ปน ภิกฺขเว ปณาเมตพฺโพ “ปณาเมมิ ต”นฺติ วา “มายิธ ปฏิกฺกมี”ติ วา “นีหร เต ปตฺตจีวร”นฺติ วา “นาหํ ตยา อุปฏฺฐาตพฺโพ”ติ วา กาเยน วิญฺญาเปติ วาจาย วิญฺญาเปติ กาเยน วาจาย วิญฺญาเปติ ปณามิโต โหติ สทฺธิวิหาริโก  น กาเยน วิญฺญาเปติ น วาจาย วิญฺญาเปติ น กาเยน วาจาย วิญฺญาเปติ น ปณามิโต โหติ สทฺธิวิหาริโกติ.  เตน โข ปน สมเยน สทฺธิวิหาริกา ปณามิตา น ขมาเปนฺติ. 
tena kho pana samayena upajjhāyā khamāpiyamānā na khamanti.  bhagavato etam atthaṃ ārocesuṃ.  anujānāmi bhikkhave khamitun ti.  n’ eva khamanti.  saddhivihārikā pakkamanti pi, vibbhamanti pi, titthiyesu pi saṃkamanti.  bhagavato etam atthaṃ ārocesuṃ.  na bhikkhave khamāpiyamānena na khamitabbaṃ.  yo na khameyya, āpatti dukkaṭassā ’ti. |4| 
If he does not beg pardon, it is a dukkata offence.'  At that time upagghâyas, when the saddhivihârikas begged their pardon, would not forgive them.  They told, &c.  'I prescribe, O Bhikkhus, forgiving.'  Notwithstanding this they did not forgive.  The saddhivihârikas went away, or returned to the world, or went over to other schools.  They told, &c.  'Let him who is asked for his pardon, not withhold it. 
สมัยต่อมา อุปัชฌายะทั้งหลายอันพวกสัทธิวิหาริกขอให้อดโทษอยู่ ก็ไม่ยอมอดโทษ.  ภิกษุทั้งหลายจึงกราบทูลเรื่องนั้นแด่พระผู้มีพระภาค พระผู้มีพระภาคตรัสว่า  ดูกรภิกษุทั้งหลาย เราอนุญาตให้อุปัชฌายะอดโทษ.  อุปัชฌายะทั้งหลายยังไม่ยอมอดโทษอย่างเดิม.  พวกสัทธิวิหาริกหลีกไปเสียบ้าง สึกไปเสียบ้าง ไปเข้ารีดเดียรถีย์เสียบ้าง.  ภิกษุทั้งหลายจึงกราบทูลเรื่องนั้นแด่พระผู้มีพระภาค พระผู้มีพระภาคตรัสว่า  ดูกรภิกษุทั้งหลาย อุปัชฌายะอันพวกสัทธิวิหาริกขอให้อดโทษอยู่ จะไม่ยอมอดโทษไม่ได้  รูปใดไม่ยอมอดโทษ ต้องอาบัติทุกกฏ. 
ภควโต เอตมตฺถํ อาโรเจสุํ.  อนุชานามิ ภิกฺขเว ขมาเปตุนฺติ.  เนว ขมาเปนฺติ.  ภควโต เอตมตฺถํ อาโรเจสุํ  น ภิกฺขเว ปณามิเตน น ขมาเปตพฺโพ.  โย น ขมาเปยฺย อาปตฺติ ทุกฺกฏสฺสาติ.  เตน โข ปน สมเยน อุปชฺฌายา ขมาปิยมานา น ขมนฺติ.  ภควโต เอตมตฺถํ อาโรเจสุํ. 
tena kho pana samayena upajjhāyā sammāvattantaṃ paṇāmenti, asammāvattantaṃ na paṇāmenti.  bhagavato etam atthaṃ ārocesuṃ.  na bhikkhave sammāvattanto paṇāmetabbo. yo paṇāmeyya, āpatti dukkaṭassa.  na ca bhikkhave asammāvattanto na paṇāmetabbo.  yo na paṇāmeyya, āpatti dukkaṭassa. |5| 
He who does not forgive, is guilty of a dukkata offence:  At that time upagghâyas turned away (a saddhivihârika) who observed a proper conduct, and did not turn awayone who did not observe it.  They told, &c.  'Let no one, O Bhikkhus, who observes a proper conduct, be turned away. He who turns him away is guilty of a dukkata offence.  And let no one, O Bhikkhus, who dues not observe a proper conduct, not be turned away. 
[๘๔] ก็โดยสมัยนั้นแล อุปัชฌายะประณามสัทธิวิหาริกผู้ประพฤติชอบ ไม่ประณามสัทธิวิหาริกผู้ประพฤติมิชอบ.  ภิกษุทั้งหลายจึงกราบทูลเรื่องนั้นแด่พระผู้มีพระภาค พระผู้มีพระภาคตรัสว่า  ดูกรภิกษุทั้งหลาย สัทธิวิหาริกผู้ประพฤติชอบ อุปัชฌายะไม่พึงประณาม รูปใดประณามต้องอาบัติทุกกฏ.  ดูกรภิกษุทั้งหลาย อนึ่ง สัทธิวิหาริกผู้ประพฤติมิชอบ อุปัชฌายะจะไม่ประณามไม่ได้  รูปใดไม่ประณามต้องอาบัติทุกกฏ. 
อนุชานามิ ภิกฺขเว ขมิตุนฺติ.  เนว ขมนฺติ.  สทฺธิวิหาริกา ปกฺกมนฺติปิ วิพฺภมนฺติปิ ติตฺถิเยสุปิ สงฺกมนฺติ.  ภควโต เอตมตฺถํ อาโรเจสุํ.  น ภิกฺขเว ขมาปิยมาเนน น ขมิตพฺพํ. 
pañcahi bhikkhave aṅgehi samannāgato saddhivihāriko paṇāmetabbo:  upajjhāyamhi nādhimattaṃ pemaṃ hoti, nādhimatto pasādo hoti, nādhimattā hirī hoti, nādhimatto gāravo hoti, nādhimattā bhāvanā hoti.  imehi kho bhikkhave pañcah’ aṅgehi samannāgato saddhivihāriko paṇāmetabbo.  pañcahi bhikkhave aṅgehi samannāgato saddhivihāriko na paṇāmetabbo:  upajjhāyamhi adhimattaṃ pemaṃ hoti, adhimatto pasādo hoti, adhimattā hirī hoti, adhimatto gāravo hoti, adhimattā bhāvanā hoti.  imehi kho bhikkhave pañcah’ aṅgehi samannāgato saddhivihāriko na paṇāmetabbo. |6| 
(An upagghâya) who does not turn him away is guilty of a dukkata offence.  'In five cases, O Bhikkhus, a saddhivihârika ought to be turned away:  when he does not feel great affection for his upagghâya, nor great inclination (towards him), nor much shame, nor great reverence, nor great devotion (towards the upagghâya).  In these five cases, O Bhikkhus, a saddhivihârika ought to be turned away.  'In five cases, O Bhikkhus, a saddhivihârika ought not to be turned away:  when he feels great affection for his upagghâya, great inclination (towards him), &c. 
องค์แห่งการประณาม // ดูกรภิกษุทั้งหลาย อุปัชฌายะพึงประณามสัทธิวิหาริกผู้ประกอบด้วยองค์ ๕ คือ:-  ๑. หาความรักใคร่อย่างยิ่งในอุปัชฌายะมิได้ ๒. หาความเลื่อมใสอย่างยิ่งมิได้ ๓. หาความละอายอย่างยิ่งมิได้ ๔. หาความเคารพอย่างยิ่งมิได้ และ ๕. หาความหวังดีต่ออย่างยิ่งมิได้  ดูกรภิกษุทั้งหลาย อุปัชฌายะพึงประณามสัทธิวิหาริก ผู้ประกอบด้วยองค์ ๕ นี้แล.  ดูกรภิกษุทั้งหลาย อุปัชฌายะไม่พึงประณามสัทธิวิหาริก ผู้ประกอบด้วยองค์ ๕ คือ  ๑. มีความรักใคร่อย่างยิ่งในอุปัชฌายะ ๒. มีความเลื่อมใสอย่างยิ่ง ๓. มีความละอายอย่างยิ่ง ๔. มีความเคารพอย่างยิ่ง และ ๕. มีความหวังดีต่ออย่างยิ่ง  ดูกรภิกษุทั้งหลาย อุปัชฌายะไม่พึงประณามสัทธิวิหาริก ผู้ประกอบด้วยองค์ ๕ นี้แล. 
โย น ขเมยฺย อาปตฺติ ทุกฺกฏสฺสาติ.  เตน โข ปน สมเยน อุปชฺฌายา สมฺมาวตฺตนฺตํ ปณาเมนฺติ อสมฺมาวตฺตนฺตํ น ปณาเมนฺติ.  ภควโต เอตมตฺถํ อาโรเจสุํ.  น ภิกฺขเว สมฺมาวตฺตนฺโต ปณาเมตพฺโพ. โย ปณาเมยฺย อาปตฺติ ทุกฺกฏสฺส  น จ ภิกฺขเว อสมฺมาวตฺตนฺโต น ปณาเมตพฺโพ.  โย น ปณาเมยฺย อาปตฺติ ทุกฺกฏสฺสาติ. 
pañcahi bhikkhave aṅgehi samannāgato saddhivihāriko alaṃ paṇāmetuṃ: upa-(55)jjhāyamhi nādhimattaṃ pemaṃ hoti . . . nādhimattā bhāvanā hoti.  imehi kho bhikkhave pañcah’ aṅgehi samannāgato saddhivihāriko alaṃ paṇāmetuṃ.  pañcahi bhikkhave aṅgehi samannāgato saddhivihāriko nālaṃ paṇāmetuṃ: upajjhāyamhi adhimattaṃ pemaṃ hoti . . . adhimattā bhāvanā hoti.  imehi kho bhikkhave pañcah’ aṅgehi samannāgato saddhivihāriko nālaṃ paṇāmetuṃ. |7| 
In these five cases, O Bhikkhus, a saddhivihârika ought not to be turned away.  'In five cases, O Bhikkhus, it is right to turn away a saddhivihârika: when he does not feel great affection, &c.  In these five cases, O Bhikkhus, it is right to turn away a saddhivihârika.  'In five cases, O Bhikkhus, it is not right, &c. 
ดูกรภิกษุทั้งหลาย สัทธิวิหาริกผู้ประกอบด้วยองค์ ๕ ควรประณาม คือ ๑. หาความรักใคร่อย่างยิ่งในอุปัชฌายะมิได้ ๒. หาความเลื่อมใสอย่างยิ่งมิได้ ๓. หาความละอายอย่างยิ่งมิได้ ๔. หาความเคารพอย่างยิ่งมิได้ และ ๕. หาความหวังดีต่ออย่างยิ่งมิได้  ดูกรภิกษุทั้งหลาย สัทธิวิหาริกผู้ประกอบด้วยองค์ ๕ นี้แล ควรประณาม.  ดูกรภิกษุทั้งหลาย สัทธิวิหาริกผู้ประกอบด้วยองค์ ๕ ไม่ควรประณาม คือ ๑. มีความรักใคร่อย่างยิ่งในอุปัชฌายะ ๒. มีความเลื่อมใสอย่างยิ่ง ๓. มีความละอายอย่างยิ่ง ๔. มีความเคารพอย่างยิ่ง และ ๕. มีความหวังดีต่ออย่าง  ดูกรภิกษุทั้งหลาย สัทธิวิหาริกผู้ประกอบด้วยองค์ ๕ นี้แล ไม่ควรประณาม. 
“ปญฺจหิ ภิกฺขเว องฺเคหิ สมนฺนาคโต สทฺธิวิหาริโก ปณาเมตพฺโพ.  อุปชฺฌายมฺหิ นาธิมตฺตํ เปมํ โหติ นาธิมตฺโต ปสาโท โหติ นาธิมตฺตา หิรี โหติ นาธิมตฺโต คารโว โหติ นาธิมตฺตา ภาวนา โหติ  อิเมหิ โข ภิกฺขเว ปญฺจหงฺเคหิ สมนฺนาคโต สทฺธิวิหาริโก ปณาเมตพฺโพ.  “ปญฺจหิ ภิกฺขเว องฺเคหิ สมนฺนาคโต สทฺธิวิหาริโก น ปณาเมตพฺโพ. 
pañcahi bhikkhave aṅgehi samannāgataṃ saddhivihārikaṃ apaṇāmento upajjhāyo sātisāro hoti, paṇāmento anatisāro hoti: upajjhāyamhi nādhimattaṃ pemaṃ hoti . . . nādhimattā bhāvanā hoti.  imehi kho bhikkhave pañcah’ aṅgehi samannāgataṃ saddhivihārikaṃ apaṇāmento upajjhāyo sātisāro hoti, paṇāmento anatisāro hoti.  pañcahi bhikkhave aṅgehi samannāgataṃ saddhivihārikaṃ paṇāmento upajjhāyo sātisāro hoti, apaṇāmento anatisāro hoti: upajjhāyamhi adhimattaṃ pemaṃ hoti . . . adhimattā bhāvanā hoti.  imehi kho bhikkhave pañcah’ aṅgehi samannāgataṃ saddhivihārikaṃ paṇāmento upajjhāyo sātisāro hoti, apaṇāmento anatisāro hotīti. |8| 
  'In five cases, O Bhikkhus, an upagghâya who does not turn away a saddhivihârika, trespasses (against the law), and an upagghâya who turns him away, does not trespass: when he does not feel great affection, &c.  In these five cases, &c.  'In five cases, O Bhikkhus, an upagghâya who turns away a saddhivihârika, trespasses (against the law), and an upagghâya who does not turn him away, does not trespass, &c.' 
ดูกรภิกษุทั้งหลาย สัทธิวิหาริกผู้ประกอบด้วยองค์ ๕ อุปัชฌายะเมื่อไม่ประณาม มีโทษ เมื่อประณาม ไม่มีโทษ คือ ๑. หาความรักใคร่อย่างยิ่งในอุปัชฌายะมิได้ ๒. หาความเลื่อมใสอย่างยิ่งมิได้ ๓. หาความละอายอย่างยิ่งมิได้ ๔. หาความเคารพอย่างยิ่งมิได้ และ ๕. หาความหวังดีต่ออย่างยิ่งมิได้  ดูกรภิกษุทั้งหลาย สัทธิวิหาริกผู้ประกอบด้วยองค์ ๕ นี้แล อุปัชฌายะ เมื่อไม่ประณาม มีโทษ เมื่อประณาม ไม่มีโทษ.  ดูกรภิกษุทั้งหลาย สัทธิวิหาริกผู้ประกอบด้วยองค์ ๕ อุปัชฌายะ เมื่อประณาม มีโทษ เมื่อไม่ประณามไม่มีโทษ คือ ๑. มีความรักใคร่อย่างยิ่งในอุปัชฌายะ ๒. มีความเลื่อมใสอย่างยิ่ง ๓. มีความละอายอย่างยิ่ง ๔. มีความเคารพอย่างยิ่ง และ ๕. มีความหวังดีต่ออย่างยิ่ง  ดูกรภิกษุทั้งหลาย สัทธิวิหาริกผู้ประกอบด้วยองค์ ๕ นี้แล อุปัชฌายะ เมื่อประณาม มีโทษ เมื่อไม่ประณาม ไม่มีโทษ 
อุปชฺฌายมฺหิ อธิมตฺตํ เปมํ โหติ อธิมตฺโต ปสาโท โหติ อธิมตฺตา หิรี โหติ อธิมตฺโต คารโว โหติ อธิมตฺตา ภาวนา โหติ  อิเมหิ โข ภิกฺขเว ปญฺจหงฺเคหิ สมนฺนาคโต สทฺธิวิหาริโก น ปณาเมตพฺโพ.  “ปญฺจหิ ภิกฺขเว องฺเคหิ สมนฺนาคโต สทฺธิวิหาริโก อลํ ปณาเมตุํ. อุปชฺฌายมฺหิ นาธิมตฺตํ เปมํ โหติ นาธิมตฺโต ปสาโท โหติ นาธิมตฺตา หิรี โหติ นาธิมตฺตา คารโว โหติ นาธิมตฺตา ภาวนา โหติ  อิเมหิ โข ภิกฺขเว ปญฺจหงฺเคหิ สมนฺนาคโต สทฺธิวิหาริโก อลํ ปณาเมตุํ. 
||27|| 
 
“ปญฺจหิ ภิกฺขเว องฺเคหิ สมนฺนาคโต สทฺธิวิหาริโก นาลํ ปณาเมตุํ. อุปชฺฌายมฺหิ อธิมตฺตํ เปมํ โหติ อธิมตฺโต ปสาโท โหติ อธิมตฺตา หิรี โหติ อธิมตฺโต คารโว โหติ อธิมตฺตา ภาวนา โหติ 
tena kho pana samayena aññataro brāhmaṇo bhikkhū upasaṃkamitvā pabbajjaṃ yāci, taṃ bhikkhū na icchiṃsu pabbājetuṃ, so bhikkhūsu pabbajjaṃ alabhamāno kiso ahosi lūkho dubbaṇṇo uppaṇḍuppaṇḍukajāto dhamanisanthatagatto.  addasa kho bhagavā taṃ brāhmaṇaṃ kisaṃ lūkhaṃ dubbaṇṇaṃ uppaṇḍuppaṇḍukajātaṃ dhamanisanthatagattaṃ, disvāna bhikkhū āmantesi:  kiṃ nu kho so bhikkhave brāhmaṇo kiso lūkho dubbaṇṇo uppaṇḍuppaṇḍukajāto dhamanisanthatagatto ’ti.  eso bhante brāhmaṇo bhikkhū upasaṃkamitvā pabbajjaṃ yāci, taṃ bhikkhū na icchiṃsu pabbājetuṃ, so bhikkhūsu pabbajjaṃ alabhamāno kiso lūkho dubbaṇṇo uppaṇḍuppaṇḍukajāto dhamanisanthatagatto ’ti. |1| 
At that time a certain Brâhmana came to the Bhikkhus and asked them for the pabbaggâ ordination. The Bhikkhus were not willing to ordain him. As he did not obtain the pabbaggâ ordination from the Bhikkhus, he became emaciated, lean, discoloured, more and more livid, and the veins became visible all over his body.  And the Blessed One saw this Brâhmana, who had become emaciated, &c. When he had seen him, he said to the Bhikkhus:  'How is it, O Bhikkhus, that this Brâhmana has become emaciated, &c.' 
มูลเหตุอุปสมบทด้วยญัตติจตุตถกรรม เรื่องพราหมณ์คนหนึ่ง [๘๕] ก็โดยสมัยนั้นแล พราหมณ์คนหนึ่งเข้าไปหาภิกษุทั้งหลาย แล้วขอบรรพชา. ภิกษุทั้งหลายไม่ปรารถนาจะให้เธอบรรพชา. เมื่อเธอไม่ได้บรรพชาในสำนักภิกษุ จึงได้ซูบผอม เศร้าหมอง มีผิวพรรณคล้ำ มีผิวเหลืองๆ ขึ้น มีเนื้อตัวสะพรั่งด้วยเอ็น.  พระผู้มีพระภาคทอดพระเนตรเห็นพราหมณ์นั้นซูบผอม เศร้าหมอง มีผิวพรรณคล้ำ มีผิวเหลืองขึ้นๆ มีเนื้อตัวสะพรั่งด้วยเอ็น ครั้นแล้วรับสั่งถามภิกษุทั้งหลายว่า  ดูกรภิกษุทั้งหลาย เหตุไฉนพราหมณ์นั้นจึงได้ซูบผอม เศร้าหมอง มีผิวพรรณคล้ำ มีผิวเหลืองขึ้นๆ มีเนื้อตัวสะพรั่งด้วยเอ็นเล่า?  ภิกษุทั้งหลายทูลว่า เพราะพราหมณ์นั่นเข้าไปหาภิกษุทั้งหลาย แล้วขอบรรพชา ภิกษุทั้งหลายไม่ปรารถนาจะให้เธอบรรพชา เมื่อเธอไม่ได้บรรพชาในสำนักภิกษุ จึงได้ซูบผอม เศร้าหมอง มีผิวพรรณคล้ำ มีผิวเหลืองขึ้นๆ มีเนื้อตัวสะพรั่งด้วยเอ็น พระพุทธเจ้าข้า. 
อิเมหิ โข ภิกฺขเว ปญฺจหงฺเคหิ สมนฺนาคโต สทฺธิวิหาริโก นาลํ ปณาเมตุํ.  “ปญฺจหิ ภิกฺขเว องฺเคหิ สมนฺนาคตํ สทฺธิวิหาริกํ อปฺปณาเมนฺโต อุปชฺฌาโย สาติสาโร โหติ ปณาเมนฺโต อนติสาโร โหติ. อุปชฺฌายมฺหิ นาธิมตฺตํ เปมํ โหติ นาธิมตฺโต ปสาโท โหติ นาธิมตฺตา หิรี โหติ นาธิมตฺโต คารโว โหติ นาธิมตฺตา ภาวนา โหติ อิ  เมหิ โข ภิกฺขเว ปญฺจหงฺเคหิ สมนฺนาคตํ สทฺธิวิหาริกํ อปฺปณาเมนฺโต อุปชฺฌาโย สาติสาโร โหติ ปณาเมนฺโต อนติสาโร โหติ.  “ปญฺจหิ ภิกฺขเว องฺเคหิ สมนฺนาคตํ สทฺธิวิหาริกํ ปณาเมนฺโต อุปชฺฌาโย สาติสาโร โหติ อปฺปณาเมนฺโต อนติสาโร โหติ. อุปชฺฌายมฺหิ อธิมตฺตํ เปมํ โหติ อธิมตฺโต ปสาโท โหติ อธิมตฺตา หิรี โหติ อธิมตฺโต คารโว โหติ อธิมตฺตา ภาวนา โหติ 
atha kho bhagavā bhikkhū āmantesi: ko nu kho bhikkhave tassa brāhmaṇassa adhikāraṃ saratīti.  evaṃ vutte āyasmā Sāriputto bhagavantaṃ etad avoca: ahaṃ kho bhante tassa brāhmaṇassa adhikāraṃ sarāmīti.  kiṃ pana tvaṃ Sāriputta tassa brāhmaṇassa adhikāraṃ sarasīti.  idha me bhante so brāhmaṇo Rājagahe piṇḍāya carantassa kaṭacchubhikkhaṃ dāpesi, imaṃ kho ahaṃ bhante tassa brāhmaṇassa (56) adhikāraṃ sarāmīti. |2| 
'This Brâhmana, Lord, came to the Bhikkhus and asked them for the pabbaggâ ordination (&c., as above, down to:), and the veins became visible all over his body.'  Then the Blessed One said to the Bhikkhus: 'Now, O Bhikkhus, who remembers anything about this Brâhmana?'  When he had spoken thus, the venerabIe Sâriputta said to the Blessed One: 'I remember something, Lord, about this Brâhmana.'  'And what is it you remember, Sâriputta, about this Brâhmana?' 
ทีนั้น พระผู้มีพระภาครับสั่งถามภิกษุทั้งหลายว่า ดูกรภิกษุทั้งหลาย ใครระลึกถึงบุญคุณของพราหมณ์นั้นได้บ้าง?  เมื่อตรัสถามอย่างนี้แล้ว ท่านพระสารีบุตรได้ทูลคำนี้ต่อพระผู้มีพระภาคว่า ข้าพระพุทธเจ้าระลึกถึงบุญคุณของพราหมณ์นั้นได้อยู่ พระพุทธเจ้าข้า.  ภ. ดูกรสารีบุตร ก็เธอระลึกถึงบุญคุณของพราหมณ์นั้นได้อย่างไรบ้าง?  สา. พระพุทธเจ้าข้า เมื่อข้าพระพุทธเจ้าเที่ยวบิณฑบาตอยู่ ณ พระนครราชคฤห์นี้ พราหมณ์ผู้นั้นได้สั่งให้ถวายภิกษา ๑ ทัพพี ข้าพระพุทธเจ้าระลึกถึงบุญคุณของพราหมณ์นั้นได้เท่านี้แล พระพุทธเจ้าข้า. 
อิเมหิ โข ภิกฺขเว ปญฺจหงฺเคหิ สมนฺนาคตํ สทฺธิวิหาริกํ ปณาเมนฺโต อุปชฺฌาโย สาติสาโร โหติ อปฺปณาเมนฺโต อนติสาโร โหตี”ติ.      ๖๙. เตน โข ปน สมเยน อญฺญตโร พฺราหฺมโณ ภิกฺขู อุปสงฺกมิตฺวา ปพฺพชฺชํ ยาจิ. ตํ ภิกฺขู น อิจฺฉึสุ ปพฺพาเชตุํ. โส ภิกฺขูสุ ปพฺพชฺชํ อลภมาโน กิโส อโหสิ ลูโข ทุพฺพณฺโณ อุปฺปณฺฑุปฺปณฺฑุกชาโต ธมนิสนฺถตคตฺโต. 
sādhu sādhu Sāriputta, kataññuno hi Sāriputta sappurisā katavedino.  tena hi tvaṃ Sāriputta taṃ brāhmaṇaṃ pabbājehi upasampādehīti.  kathāhaṃ bhante taṃ brāhmaṇaṃ pabbājemi upasampādemīti.  atha kho bhagavā etasmiṃ pakaraṇe dhammiṃ kathaṃ katvā bhikkhū āmantesi: yā sā bhikkhave mayā tīhi saraṇagamanehi upasampadā anuññātā, tāhaṃ ajjatagge paṭikkhipāmi.  anujānāmi bhikkhave ñatticatutthena kammena upasampādetuṃ. |3| 
'This Brâhmana, Lord, one day, when I went through Râgagaha for alms, ordered a spoonful of food to be given to me; this is what I remember, Lord, about this Brâhmana.'  'Good, good, Sâriputta; pious men, Sâriputta, are gratefuI and remember what has been done to them.  Therefore, Sâriputta, confer you the pabbaggâ and upasampadâ ordinations on that Brâhmana.'  'Lord, how shall I confer the pabbaggâ and upasampadâ ordinations on this Brâhmana?'  Then the Blessed One on this occasion, after having delivered a religious discourse, thus addressed the Bhikkhus: 'I abolish, O Bhikkhus, from this day the upasampadâ ordination by the threefold declaration of taking refuge, which I had prescribed. 
ภ. ดีละๆ สารีบุตร ความจริงสัตบุรุษทั้งหลาย เป็นผู้กตัญญูกตเวที  สารีบุตร ถ้าเช่นนั้น เธอจงให้พราหมณ์นั้นบรรพชาอุปสมบทเถิด.  สา. ข้าพระพุทธเจ้าจะให้พราหมณ์นั้นบรรพชาอุปสมบทอย่างไร พระพุทธเจ้าข้า?  อุปสมบทด้วยญัตติจตุตถกรรม // ลำดับนั้น พระผู้มีพระภาคทรงทำธรรมีกถา ในเพราะเหตุเป็นเค้ามูลนั้น ในเพราะเหตุแรกเกิดนั้น แล้วรับสั่งกะภิกษุทั้งหลายว่า ดูกรภิกษุทั้งหลาย ตั้งแต่วันนี้เป็นต้นไป เราห้ามการอุปสมบทด้วยไตรสรณคมน์ ซึ่งเราได้อนุญาตไว้  ดูกรภิกษุทั้งหลาย เราอนุญาตการอุปสมบทด้วยญัตติจตุตถกรรม 
อทฺทสา โข ภควา ตํ พฺราหฺมณํ กิสํ ลูขํ ทุพฺพณฺณํ อุปฺปณฺฑุปฺปณฺฑุกชาตํ ธมนิสนฺถตคตฺตํ ทิสฺวาน ภิกฺขู อามนฺเตสิ  “กึ นุ โข โส ภิกฺขเว พฺราหฺมโณ กิโส ลูโข ทุพฺพณฺโณ อุปฺปณฺฑุปฺปณฺฑุกชาโต ธมนิสนฺถตคตฺโต”ติ?  เอโส ภนฺเต พฺราหฺมโณ ภิกฺขู อุปสงฺกมิตฺวา ปพฺพชฺชํ ยาจิ. ตํ ภิกฺขู น อิจฺฉึสุ ปพฺพาเชตุํ. โส ภิกฺขูสุ ปพฺพชฺชํ อลภมาโน กิโส ลูโข ทุพฺพณฺโณ อุปฺปณฺฑุปฺปณฺฑุกชาโต ธมนิสนฺถตคตฺโตติ.  อถ โข ภควา ภิกฺขู อามนฺเตสิ “โก นุ โข ภิกฺขเว ตสฺส พฺราหฺมณสฺส อธิการํ สรสี”ติ?  เอวํ วุตฺเต อายสฺมา สาริปุตฺโต ภควนฺตํ เอตทโวจ “อหํ โข ภนฺเต ตสฺส พฺราหฺมณสฺส อธิการํ สรามี”ติ. 
evañ ca pana bhikkhave upasampādetabbo: vyattena bhikkhunā paṭibalena saṃgho ñāpetabbo:  suṇātu me bhante saṃgho. ayaṃ itthannāmo itthannāmassa āyasmato upasampadāpekkho.  yadi saṃghassa pattakallaṃ, saṃgho itthannāmaṃ upasampādeyya itthannāmena upajjhāyena.  esā ñatti. |4| 
I prescribe, O Bhikkhus, that you confer the upasampadâ ordination by a formal act of the Order in which the announcement (ñatti) is followed by three questions.  'And you ought, O Bhikkhus, to confer the upasampadâ ordination in this way: Let a learned, competent Bhikkhu proclaim the following ñatti before the Samgha:  'Let the Samgha, reverend Sirs, hear me. This person N. N., desires to receive the upasampadâ ordination from the venerable N. N. (i.e. with the venerable N. N. as his upagghâya).  If the Samgha is ready, let the Samgha confer on N. N. the upasampadâ ordination with N. N. as upagghâya. 
วิธีให้อุปสมบท // ดูกรภิกษุทั้งหลาย ก็แล พวกเธอพึงให้อุปสมบทอย่างนี้ ภิกษุผู้ฉลาด ผู้สามารถ พึงประกาศให้สงฆ์ทราบ ด้วยญัตติจตุตถกรรมวาจา ว่าดังนี้:-  กรรมวาจาให้อุปสมบท // ท่านเจ้าข้า ขอสงฆ์จงฟังข้าพเจ้า ผู้มีชื่อนี้ ผู้นี้ เป็นอุปสัมปทาเปกขะของท่านผู้มีชื่อนี้  ถ้าความพร้อมพรั่งของสงฆ์ถึงที่แล้ว สงฆ์พึงอุปสมบทผู้มีชื่อนี้ มีท่านผู้มีชื่อนี้เป็นอุปัชฌายะ  นี่เป็นญัตติ. 
“กึ ปน ตฺวํ สาริปุตฺต ตสฺส พฺราหฺมณสฺส อธิการํ สรสี”ติ?  “อิธ เม ภนฺเต โส พฺราหฺมโณ ราชคเห ปิณฺฑาย จรนฺตสฺส กฏจฺฉุภิกฺขํ ทาเปสิ. อิมํ โข อหํ ภนฺเต ตสฺส พฺราหฺมณสฺส อธิการํ สรามี”ติ.  “สาธุ สาธุ สาริปุตฺต กตญฺญุโน หิ สาริปุตฺต สปฺปุริสา กตเวทิโน.  เตน หิ ตฺวํ สาริปุตฺต ตํ พฺราหฺมณํ ปพฺพาเชหิ อุปสมฺปาเทหี”ติ 
suṇātu me bhante saṃgho.  ayaṃ itthannāmo itthannāmassa āyasmato upasampadāpekkho.  saṃgho itthannāmaṃ upasampādeti itthannāmena upajjhāyena.  yassāyasmato khamati itthannāmassa upasampadā itthannāmena upajjhāyena, so tuṇh’ assa, yassa na kkhamati, so bhāseyya.  dutiyaṃ pi etam atthaṃ vadāmi: suṇātu me bhante saṃgho.  ayaṃ itthannāmo itthannāmassa āyasmato upasampadāpekkho.  saṃgho itthannāmaṃ upasampādeti itthannāmena upajjhāyena.  yassāyasmato khamati itthannāmassa upasampadā itthannāmena upajjhāyena, so tuṇh’ assa, yassa na kkhamati, so bhāseyya. |5| 
This is the ñatti.  'Let the Samgha, reverend Sirs, hear me.  This person N. N. desires to receive the upasampadâ ordination from the venerable N. N.  The Samgha confers on N. N. the upasampadâ ordination with N. N. as upagghâya.  Let any one of the venerable brethren who is in favour of the upasampadâ ordination of N. N. with N. N. as upagghâya, be silent, and any one who is not in favour of it, speak.  'And for the second time I thus speak to you: Let the Samgha (&c., as before).     
ท่านเจ้าข้า ขอสงฆ์จงฟังข้าพเจ้า  ผู้มีชื่อนี้ ผู้นี้ เป็นอุปสัมปทาเปกขะของท่านผู้มีชื่อนี้  สงฆ์อุปสมบทผู้มีชื่อนี้ มีท่านผู้มีชื่อนี้เป็นอุปัชฌายะ  การอุปสมบทผู้มีชื่อนี้ มีท่านผู้มีชื่อนี้เป็นอุปัชฌายะ ชอบแก่ท่านผู้ใด ท่านผู้นั้นพึงเป็นผู้นิ่ง ไม่ชอบแก่ท่านผู้ใด ท่านผู้นั้นพึงพูด.  ข้าพเจ้ากล่าวความนี้เป็นครั้งที่สอง ท่านเจ้าข้า ขอสงฆ์จงฟังข้าพเจ้า  ผู้มีชื่อผู้นี้เป็นอุปสัมปทาเปกขะของท่านผู้มีชื่อนี้  สงฆ์อุปสมบทผู้มีชื่อนี้ มีท่านผู้มีชื่อนี้เป็นอุปัชฌายะ.  การอุปสมบทผู้มีชื่อนี้ มีท่านผู้มีชื่อนี้เป็นอุปัชฌายะ ชอบแก่ท่านผู้ใด ท่านผู้นั้นพึงเป็นผู้นิ่ง ไม่ชอบแก่ท่านผู้ใด ท่านผู้นั้นพึงพูด. 
“กถาหํ ภนฺเต ตํ พฺราหฺมณํ ปพฺพาเชมิ อุปสมฺปาเทมี”ติ?  อถ โข ภควา เอตสฺมึ นิทาเน เอตสฺมึ ปกรเณ ธมฺมึ กถํ กตฺวา ภิกฺขู อามนฺเตสิ ยา สา ภิกฺขเว มยา ตีหิ สรณคมเนหิ อุปสมฺปทา อนุญฺญาตา ตํ อชฺชตคฺเค ปฏิกฺขิปามิ.  อนุชานามิ ภิกฺขเว ญตฺติจตุตฺเถน กมฺเมน อุปสมฺปาเทตุํ .  เอวญฺจ ปน ภิกฺขเว อุปสมฺปาเทตพฺโพ. พฺยตฺเตน ภิกฺขุนา ปฏิพเลน สงฺโฆ ญาเปตพฺโพ  ๗๐. “สุณาตุ เม ภนฺเต สงฺโฆ. อยํ อิตฺถนฺนาโม อิตฺถนฺนามสฺส อายสฺมโต อุปสมฺปทาเปกฺโข.  ยทิ สงฺฆสฺส ปตฺตกลฺลํ สงฺโฆ อิตฺถนฺนามํ อุปสมฺปาเทยฺย อิตฺถนฺนาเมน อุปชฺฌาเยน.  เอสา ญตฺติ.  “สุณาตุ เม ภนฺเต สงฺโฆ. 
tatiyam pi etam atthaṃ vadāmi: suṇātu me bhante saṃgho. ayaṃ itthannāmo itthannāmassa āyasmato upasampadāpekkho.  saṃgho itthannāmaṃ upasampādeti itthannāmena upajjhāyena.  yassāyasmato khamati itthannāmassa upasampadā itthannāmena upajjhāyena, so tuṇh’ assa, yassa na kkhamati, so bhāseyya.  upasampanno saṃghena itthannāmo itthannāmena upajjhāyena.  khamati saṃghassa, tasmā tuṇhī, evam etaṃ dhārayāmīti. |6| 
  'And for the third time I thus speak to you: Let the Samgha, &c.      'N. N. has received the upasampadâ ordination from the Samgha with N. N. as upagghâya. 
ข้าพเจ้ากล่าวความนี้เป็นครั้งที่สาม ท่านเจ้าข้า ขอสงฆ์จงฟังข้าพเจ้า ผู้มีชื่อนี้ ผู้นี้เป็นอุปสัมปทาเปกขะของท่านผู้มีชื่อนี้  สงฆ์อุปสมบทผู้มีชื่อนี้ มีท่านผู้มีชื่อนี้เป็นอุปัชฌายะ  การอุปสมบทผู้มีชื่อนี้ มีท่านผู้มีชื่อนี้เป็นอุปัชฌายะ ชอบแก่ท่านผู้ใด ท่านผู้นั้นพึงเป็นผู้นิ่ง ไม่ชอบแก่ท่านผู้ใด ท่านผู้นั้นพึงพูด.  ผู้มีชื่อนี้ สงฆ์อุปสมบทแล้ว มีท่านผู้มีชื่อนี้เป็นอุปัชฌายะ  ชอบแก่สงฆ์ เหตุนั้นจึงนิ่ง ข้าพเจ้าทรงความนี้ไว้ด้วยอย่างนี้. 
อยํ อิตฺถนฺนาโม อิตฺถนฺนามสฺส อายสฺมโต อุปสมฺปทาเปกฺโข.  สงฺโฆ อิตฺถนฺนามํ อุปสมฺปาเทติ อิตฺถนฺนาเมน อุปชฺฌาเยน.  ยสฺสายสฺมโต ขมติ อิตฺถนฺนามสฺส อุปสมฺปทา อิตฺถนฺนาเมน อุปชฺฌาเยน โส ตุณฺหสฺส ยสฺส นกฺขมติ โส ภาเสยฺย.  “ทุติยมฺปิ เอตมตฺถํ วทามิ สุณาตุ เม ภนฺเต สงฺโฆ.  อยํ อิตฺถนฺนาโม อิตฺถนฺนามสฺส อายสฺมโต อุปสมฺปทาเปกฺโข. 
||28|| 
The Samgha is in favour of it, therefore it is silent. Thus I understand.' 
สงฺโฆ อิตฺถนฺนามํ อุปสมฺปาเทติ อิตฺถนฺนาเมน อุปชฺฌาเยน. 
tena kho pana samayena aññataro bhikkhu upasampannasamanantarā anācāraṃ ācarati.  bhikkhū evaṃ āhaṃsu: mā āvuso evarūpaṃ akāsi, n’ etaṃ kappatīti.  so evaṃ āha: n’ evāhaṃ āyasmante yāciṃ upasampādetha man ti, kissa maṃ tumhe ayācitā upasampāditthā ’ti.  bhagavato etam atthaṃ (57) ārocesuṃ. na bhikkhave ayācitena upasampādetabbo.  yo upasampādeyya, āpatti dukkaṭassa.  anujānāmi bhikkhave yācitena upasampādetuṃ. |1| 
At that time a certain Bhikkhu shortly after having received the upasampadâ ordination, abandoned himself to bad conduct.  The Bhikkhus said to him: 'You ought not to do so, friend; it is not becoming.'  He replied: 'I never asked you, Sirs, saying, "Confer on me the upasampadâ ordination." Why have you ordained me without your being asked?'  They told this thing to the Blessed One. 'Let no one, O Bhikkhus, ordain a person unless he has been asked to do so.  He who does, commits a dukkata offence. 
ภิกษุประพฤติอนาจาร // [๘๖] ก็โดยสมัยนั้นแล ภิกษุรูปหนึ่งพออุปสมบทแล้ว ได้ประพฤติอนาจาร.  ภิกษุทั้งหลายพากันกล่าวห้ามอย่างนี้ว่า อาวุโส คุณอย่าได้ทำอย่างนั้น เพราะนั่นไม่ควร.  เธอกล่าวอย่างนี้ว่า กระผมมิได้ขอร้องท่านทั้งหลายว่า ขอจงให้กระผมอุปสมบท ท่านทั้งหลายมิได้ถูกขอร้องแล้ว ให้กระผมอุปสมบทเพื่ออะไร.  ภิกษุทั้งหลายกราบทูลเรื่องนั้นแด่พระผู้มีพระภาค พระผู้มีพระภาคตรัสว่า ดูกรภิกษุทั้งหลาย ภิกษุผู้มิได้รับการขอร้อง ไม่พึงอุปสมบทให้  รูปใดอุปสมบทให้ ต้องอาบัติทุกกฏ.  ดูกรภิกษุทั้งหลาย เราอนุญาตให้ภิกษุผู้ถูกขอร้องอุปสมบทให้. 
ยสฺสายสฺมโต ขมติ อิตฺถนฺนามสฺส อุปสมฺปทา อิตฺถนฺนาเมน อุปชฺฌาเยน โส ตุณฺหสฺส ยสฺส นกฺขมติ โส ภาเสยฺย  “ตติยมฺปิ เอตมตฺถํ วทามิ สุณาตุ เม ภนฺเต สงฺโฆ. อยํ อิตฺถนฺนาโม อิตฺถนฺนามสฺส อายสฺมโต อุปสมฺปทาเปกฺโข.  สงฺโฆ อิตฺถนฺนามํ อุปสมฺปาเทติ อิตฺถนฺนาเมน อุปชฺฌาเยน.  ยสฺสายสฺมโต ขมติ อิตฺถนฺนามสฺส อุปสมฺปทา อิตฺถนฺนาเมน อุปชฺฌาเยน โส ตุณฺหสฺส ยสฺส นกฺขมติ โส ภาเสยฺย.  “อุปสมฺปนฺโน สงฺเฆน อิตฺถนฺนาโม อิตฺถนฺนาเมน อุปชฺฌาเยน.  ขมติ สงฺฆสฺส ตสฺมา ตุณฺหี เอวเมตํ ธารยามี”ติ. 
evañ ca pana bhikkhave yācitabbo.  tena upasampadāpekkhena saṃghaṃ upasaṃkamitvā ekaṃsaṃ uttarāsaṅgaṃ karitvā bhikkhūnaṃ pāde vanditvā ukkuṭikaṃ nisīditvā añjaliṃ paggahetvā evam assa vacanīyo:  saṃghaṃ bhante upasampadaṃ yācāmi, ullumpatu maṃ bhante saṃgho anukampaṃ upādāya, dutiyam pi yācitabbo --la-- tatiyam pi yācitabbo --la--. |2| 
I prescribe, O Bhikkhus, that you ordain only after having been asked.  'And (a Bhikkhu) ought to be asked in this way:  Let him who desires to receive the upasampadâ ordination, go to the Samgha, adjust his upper robe so as to cover one shoulder, salute the feet of the Bhikkhus with his head, sit down squatting, raise his joined hands, and say: 
วิธีขออุปสมบท // ดูกรภิกษุทั้งหลาย ก็แลอุปสัมปทาเปกขะพึงขออย่างนี้  อุปสัมปทาเปกขะนั้น พึงเข้าไปหาสงฆ์ ห่มผ้าเฉวียงบ่า ไหว้เท้าภิกษุทั้งหลาย นั่งกระหย่ง ประคองอัญชลี แล้วกล่าวคำขออุปสมบทอย่างนี้ว่า  ข้าพเจ้าขออุปสมบทต่อสงฆ์ เจ้าข้า ขอสงฆ์โปรดเอ็นดูยกข้าพเจ้าขึ้นเถิด เจ้าข้า. พึงขอแม้ครั้งที่สอง ... พึงขอแม้ครั้งที่สาม ... 
    ๗๑. เตน โข ปน สมเยน อญฺญตโร ภิกฺขุ อุปสมฺปนฺนสมนนฺตรา อนาจารํ อาจรติ. 
vyattena bhikkhunā paṭibalena saṃgho ñāpetabbo:  suṇātu me bhante saṃgho. ayaṃ itthannāmo itthannāmassa āyasmato upasampadāpekkho.  itthannāmo saṃghaṃ upasampadaṃ yācati itthannāmena upajjhāyena.  yadi saṃghassa pattakallaṃ, saṃgho itthannāmaṃ upasampādeyya itthannāmena upajjhāyena.  esā ñatti. |3| 
"I ask the Samgha, reverend Sirs, for the upasampadâ ordination; might the Samgha, reverend Sirs, draw me out (of the sinful world) out of compassion towards me." And for the second time, &c.; and for the third time let him ask, &c.  'Then let a learned, competent Bhikkhu proclaim the following ñatti before the Samgha:  "Let the Samgha, reverend Sirs, hear me. This person N. N. desires to receive the upasampadâ ordination from the venerable N. N.;  N. N. asks the Samgha for the upasampadâ ordination with N. N. as upagghâya.  If the Samgha is ready, &c,1"' 
ภิกษุผู้ฉลาด ผู้สามารถ พึงประกาศให้สงฆ์ทราบด้วยญัตติจตุตถกรรมวาจา ว่าดังนี้:-  กรรมวาจาให้อุปสมบท // ท่านเจ้าข้า ขอสงฆ์จงฟังข้าพเจ้า ผู้มีชื่อนี้ ผู้นี้ เป็นอุปสัมปทาเปกขะของท่านผู้มีชื่อนี้.  ผู้มีชื่อนี้ขออุปสมบทต่อสงฆ์ มีท่านผู้มีชื่อนี้เป็นอุปัชฌายะ.  ถ้าความพร้อมพรั่งของสงฆ์ถึงที่แล้ว สงฆ์พึงอุปสมบทผู้มีชื่อนี้ มีท่านผู้มีชื่อนี้เป็นอุปัชฌายะ.  นี่เป็นญัตติ. 
ภิกฺขู เอวมาหํสุ “มาวุโส เอวรูปํ อกาสิ เนตํ กปฺปตี”ติ.  โส เอวมาห “เนวาหํ อายสฺมนฺเต ยาจึ อุปสมฺปาเทถ มนฺติ. กิสฺส มํ ตุมฺเห อยาจิตา อุปสมฺปาทิตฺถา”ติ?  ภควโต เอตมตฺถํ อาโรเจสุํ น ภิกฺขเว อยาจิเตน อุปสมฺปาเทตพฺโพ  โย อุปสมฺปาเทยฺย อาปตฺติ ทุกฺกฏสฺส.  อนุชานามิ ภิกฺขเว ยาจิเตน อุปสมฺปาเทตุํ. 
suṇātu me bhante saṃgho.  ayaṃ itthannāmo itthannāmassa āyasmato upasampadāpekkho.  itthannāmo saṃghaṃ upasampadaṃ yācati itthannāmena upajjhāyena.  saṃgho itthannāmaṃ upasampādeti itthannāmena upajjhāyena.  yassāyasmato khamati itthannāmassa upasampadā itthannāmena upajjhāyena, so tuṇh’ assa, yassa na kkhamati, so bhāseyya.  dutiyam pi etam atthaṃ vadāmi --la-- tatiyam pi etam atthaṃ vadāmi --la--.  upasampanno saṃghena itthannāmo itthannāmena upajjhāyena.  khamati saṃghassa, tasmā tuṇhī, evam etaṃ dhārayāmīti. |4| 
               
ท่านเจ้าข้า ขอสงฆ์จงฟังข้าพเจ้า  ผู้มีชื่อนี้ ผู้นี้ เป็นอุปสัมปทาเปกขะของท่านผู้มีชื่อนี้  ผู้มีชื่อนี้ขออุปสมบทต่อสงฆ์ มีท่านผู้มีชื่อนี้เป็นอุปัชฌายะ  สงฆ์อุปสมบทผู้มีชื่อนี้ มีท่านผู้มีชื่อนี้เป็นอุปัชฌายะ.  การอุปสมบทผู้มีชื่อนี้ มีท่านผู้มีชื่อนี้เป็นอุปัชฌายะ ชอบแก่ท่านผู้ใด ท่านผู้นั้นพึงเป็นผู้นิ่ง ไม่ชอบแก่ท่านผู้ใด ท่านผู้นั้นพึงพูด.  ข้าพเจ้ากล่าวความนี้เป็นครั้งที่สอง ... ข้าพเจ้ากล่าวความนี้เป็นครั้งที่สาม ...  ผู้มีชื่อนี้ สงฆ์อุปสมบทแล้ว มีท่านผู้มีชื่อนี้เป็นอุปัชฌายะ.  ชอบแก่สงฆ์ เหตุนั้น จึงนิ่ง ข้าพเจ้าทรงความนี้ไว้ด้วยอย่างนี้. 
เอวญฺจ ปน ภิกฺขเว ยาจิตพฺโพ.  เตน อุปสมฺปทาเปกฺเขน สงฺฆํ อุปสงฺกมิตฺวา เอกํสํ อุตฺตราสงฺคํ กริตฺวา ภิกฺขูนํ ปาเท วนฺทิตฺวา อุกฺกุฏิกํ นิสีทิตฺวา อญฺชลึ ปคฺคเหตฺวา เอวมสฺส วจนีโย  “สงฺฆํ ภนฺเต อุปสมฺปทํ ยาจามิ อุลฺลุมฺปตุ มํ ภนฺเต สงฺโฆ อนุกมฺปํ อุปาทายา”ติ. ทุติยมฺปิ ยาจิตพฺโพ. ตติยมฺปิ ยาจิตพฺโพ.  พฺยตฺเตน ภิกฺขุนา ปฏิพเลน สงฺโฆ ญาเปตพฺโพ  ๗๒. “สุณาตุ เม ภนฺเต สงฺโฆ. อยํ อิตฺถนฺนาโม อิตฺถนฺนามสฺส อายสฺมโต อุปสมฺปทาเปกฺโข.  อิตฺถนฺนาโม สงฺฆํ อุปสมฺปทํ ยาจติ อิตฺถนฺนาเมน อุปชฺฌาเยน.  ยทิ สงฺฆสฺส ปตฺตกลฺลํ สงฺโฆ อิตฺถนฺนามํ อุปสมฺปาเทยฺย อิตฺถนฺนาเมน อุปชฺฌาเยน.  เอสา ญตฺติ. 
||29|| 
 
“สุณาตุ เม ภนฺเต สงฺโฆ. 
tena kho pana samayena Rājagahe paṇītānaṃ bhattānaṃ bhattapaṭipāṭi adhiṭṭhitā hoti.  atha kho aññatarassa brāhmaṇassa etad ahosi: ime kho samaṇā Sakyaputtiyā sukhasīlā sukhasamācārā, subhojanāni bhuñjitvā nivātesu sayanesu sayanti.  yaṃ nūnāhaṃ samaṇesu Sakyaputtiyesu pabbajeyyan ti.  atha kho so brāhmaṇo bhikkhū upasaṃkamitvā pabbajjaṃ yāci, taṃ bhikkhū pabbājesuṃ upasampādesuṃ. |1| 
At that time an arrangement had been made at Râgagaha that the Bhikkhus were to receive excellent meals successively (in the houses of different rich upâsakas).  Now (one day) a certain Brâhmana thought: 'Indeed the precepts which these Sakyaputtiya Samanas keep and the life they live are commodious; they have good meals and lie down on beds protected from the wind.  What if I were to embrace the religious life among the Sakyaputtiya Samanas?' 
พราหมณ์ขออุปสมบท // [๘๗] ก็โดยสมัยนั้นแล ประชาชนทั้งหลายได้จัดตั้งลำดับภัตตาหารอันประณีตไว้ที่ในพระนครราชคฤห์.  ครั้งนั้น พราหมณ์คนหนึ่งได้มีความดำริว่า พระสมณะเชื้อสายพระศากยบุตรเหล่านี้ มีปกติเป็นสุข มีความประพฤติสบาย ฉันโภชนะที่ดี นอนบนที่นอนที่เงียบสงัด  ถ้ากระไร เราพึงบวชในพระสมณะเชื้อสายพระศากยบุตรเถิด  ดังนี้ แล้วได้เข้าไปหาภิกษุทั้งหลาย แล้วขอบรรพชา. ภิกษุทั้งหลายให้เขาบรรพชาอุปสมบทแล้ว. 
อยํ อิตฺถนฺนาโม อิตฺถนฺนามสฺส อายสฺมโต อุปสมฺปทาเปกฺโข.  อิตฺถนฺนาโม สงฺฆํ อุปสมฺปทํ ยาจติ อิตฺถนฺนาเมน อุปชฺฌาเยน.  สงฺโฆ อิตฺถนฺนามํ อุปสมฺปาเทติ อิตฺถนฺนาเมน อุปชฺฌาเยน.  ยสฺสายสฺมโต ขมติ อิตฺถนฺนามสฺส อุปสมฺปทา อิตฺถนฺนาเมน อุปชฺฌาเยน โส ตุณฺหสฺส ยสฺส นกฺขมติ โส ภาเสยฺย. 
tasmiṃ pabbajite bhattapaṭipāṭi khīyittha.  bhikkhū evaṃ āhaṃsu: ehi dāni āvuso piṇḍāya carissāmā ’ti.  so evaṃ āha: nāhaṃ āvuso etaṃkāraṇā pabbajito piṇḍāya carissāmīti, sace me dassatha bhuñjissāmi, no ce me dassatha vibbhamissāmīti.  kiṃ pana tvaṃ āvuso udarassa kāraṇā (58) pabbajito ’ti.  evaṃ āvuso ’ti. |2| 
Then this Brâhmana went to the Bhikkhus and asked them for the pabbaggâ ordination; the Bhikkhus conferred the pabbaggâ and upasampadâ ordinations on him.  When he had been ordained, the arrangement of successive meals (with the rich upâsakas) came to an end.  The Bhikkhus said to him: 'Come, friend, let us now go on our rounds for alms.'  He replied: 'I have not embraced the religious life for that purpose--to going about for alms; if you give me (food), I will eat; if you do not, I will return to the world.'  (The Bhikkhus said): 'What, friend! have you indeed embraced the religious life for your belly's sake?' 
ครั้นเขาบวชแล้ว ประชาชนให้เลิกลำดับภัตตาหารเสีย.  ภิกษุทั้งหลายกล่าวอย่างนี้ว่า คุณจงมาเดี๋ยวนี้ พวกเราจักไปบิณฑบาต.  เธอพูดอย่างนี้ว่า กระผมมิได้บวชเพราะเหตุนี้ว่า จักเที่ยวบิณฑบาต ถ้าท่านทั้งหลายให้กระผม กระผมจักฉัน ถ้าไม่ให้กระผม กระผมจะสึก ขอรับ.  พวกภิกษุถามว่า อาวุโส ก็คุณบวชเพราะเหตุแห่งท้องหรือ?  เธอตอบว่า อย่างนั้นซิ ขอรับ. 
“ทุติยมฺปิ เอตมตฺถํ วทามิฯเปฯ ตติยมฺปิ เอตมตฺถํ วทามิฯเปฯ.  “อุปสมฺปนฺโน สงฺเฆน อิตฺถนฺนาโม อิตฺถนฺนาเมน อุปชฺฌาเยน.  ขมติ สงฺฆสฺส ตสฺมา ตุณฺหี เอวเมตํ ธารยามี”ติ.     
ye te bhikkhū appicchā, te ujjhāyanti khīyanti vipācenti: kathaṃ hi nāma bhikkhu evaṃ svākkhāte dhammavinaye udarassa kāraṇā pabbajissatīti.  te bhikkhū bhagavato etam atthaṃ ārocesuṃ.  saccaṃ kira tvaṃ bhikkhu udarassa kāraṇā pabbajito ’ti.  saccaṃ bhagavā.  vigarahi buddho bhagavā.  kathaṃ hi nāma tvaṃ moghapurisa evaṃ svākkhāte dhammavinaye udarassa kāraṇā pabbajissasi.  n’ etaṃ moghapurisa appasannānaṃ vā pasādāya pasannānaṃ vā bhiyyobhāvāya.  vigarahitvā dhammiṃ kathaṃ katvā {bhikkhū} āmantesi: |3| 
'Yes, friends.'  The moderate Bhikkhus were annoyed, murmured, and became angry: 'How can a Bhikkhu embrace the religious life in so well-taught a doctrine and discipline for his belly's sake?'  These Bhikkhus told this thing to the Blessed One.  (The Buddha said): 'Is it true, O Bhikkhu, that you have embraced the religious life for your belly's sake?'  (He replied): 'It is true, Lord.'  Then the blessed Buddha rebuked that Bhikkhu:  'How can you, foolish person that you are, embrace the religious life in so well-taught a doctrine and discipline for your belly's sake?  This will not do, O foolish one, for converting the unconverted and for augmenting the number of the converted.' 
บรรดาภิกษุที่เป็นผู้มักน้อย ... ต่างก็เพ่งโทษ ติเตียน โพนทะนาว่า ไฉนภิกษุจึงได้บวชในพระธรรมวินัย อันพระผู้มีพระภาคตรัสดีแล้วอย่างนี้ เพราะเหตุแห่งท้องเล่า  แล้วกราบทูลเรื่องนั้นแด่พระผู้มีพระภาค.  ทรงสอบถาม // พระผู้มีพระภาคทรงสอบถามภิกษุนั้นว่า จริงหรือ ภิกษุ ข่าวว่า เธอบวชเพราะเหตุแห่งท้อง?  ภิกษุนั้นทูลรับว่า จริง พระพุทธเจ้าข้า.  ทรงติเตียน // พระผู้มีพระภาคพุทธเจ้าทรงติเตียนว่า  ดูกรโมฆบุรุษ ไฉนเธอจึงได้บวชในธรรมวินัยที่เรากล่าวดีแล้วอย่างนี้ เพราะเหตุแห่งท้องเล่า  ดูกรโมฆบุรุษ การกระทำของเธอนั่น ไม่เป็นไปเพื่อความเลื่อมใสของชุมชนที่ยังไม่เลื่อมใส หรือเพื่อความเลื่อมใสยิ่งของชุมชนที่เลื่อมใสแล้ว ...  ครั้นแล้ว ทรงทำธรรมีกถา รับสั่งกะภิกษุทั้งหลายว่า 
๗๓. เตน โข ปน สมเยน ราชคเห ปณีตานํ ภตฺตานํ ภตฺตปฏิปาฏิ อฏฺฐิตา โหติ.  อถ โข อญฺญตรสฺส พฺราหฺมณสฺส เอตทโหสิ “อิเม โข สมณา สกฺยปุตฺติยา สุขสีลา สุขสมาจารา สุโภชนานิ ภุญฺชิตฺวา นิวาเตสุ สยเนสุ สยนฺติ.  ยํนูนาหํ สมเณสุ สกฺยปุตฺติเยสุ ปพฺพเชยฺย”นฺติ.  อถ โข โส พฺราหฺมโณ ภิกฺขู อุปสงฺกมิตฺวา ปพฺพชฺชํ ยาจิ. ตํ ภิกฺขู ปพฺพาเชสุํ อุปสมฺปาเทสุํ.  ตสฺมึ ปพฺพชิเต ภตฺตปฏิปาฏิ ขียิตฺถ.  ภิกฺขู เอวมาหํสุ “เอหิ ทานิ อาวุโส ปิณฺฑาย จริสฺสามา”ติ.  โส เอวมาห “นาหํ อาวุโส เอตํการณา ปพฺพชิโต ปิณฺฑาย จริสฺสามีติ. สเจ เม ทสฺสถ ภุญฺชิสฺสามิ โน เจ เม ทสฺสถ วิพฺภมิสฺสามี”ติ.  “กึ ปน ตฺวํ อาวุโส อุทรสฺส การณา ปพฺพชิโต”ติ 
anujānāmi bhikkhave upasampādentena cattāro nissaye ācikkhituṃ:  piṇḍiyālopabhojanaṃ nissāya pabbajjā, tattha te yāvajīvaṃ ussāho karaṇīyo.  atirekalābho saṃghabhattaṃ uddesabhattaṃ nimantanaṃ salākabhattaṃ pakkhikaṃ uposathikaṃ pāṭipadikaṃ.  paṃsukūlacīvaraṃ nissāya pabbajjā, tattha te yāvajīvaṃ ussāho karaṇīyo.  atirekalābho khomaṃ kappāsikaṃ koseyyaṃ kambalaṃ sāṇaṃ bhaṅgaṃ.  rukkhamūlasenāsanaṃ nissāya pabbajjā, tattha te yāvajīvaṃ ussāho karaṇīyo.  atirekalābho vihāro aḍḍhayogo pāsādo hammiyaṃ guhā.  pūtimuttabhesajjaṃ nissāya pabbajjā, tattha te yāvajīvaṃ ussāho karaṇīyo.  atirekalābho sappi navanītaṃ telaṃ madhu phāṇitan ti. |4| 
Having rebuked him and delivered a religious discourse, he thus addressed the Bhikkhus:  'I prescribe, O Bhikkhus, that he who confers the upasampadâ ordination (on a Bhikkhu), tell him the four Resources.  'The religious life has morsels of food given in alms for its resource. Thus you must endeavour to live all your life.  Meals given to the Samgha, to certain persons, invitations, food distributed by ticket, meals given each fortnight, each uposatha day (i.e. the last day of each fortnight), or the first day of each fortnight, are extra allowances.  'The religious life has the robe made of rags taken from a dust heap for its resource. Thus you must endeavour to live all your life.  Linen, cotton, silk, woollen garments, coarse cloth, hempen cloth are extra allowances.  'The religious life has dwelling at the foot of a tree for its resource. Thus you must endeavour to live all your life.  Vihâras, addhayogas, storied dwellings, attics, caves are extra allowances.  'The religious life has decomposing urine as medicine for its resource. Thus you must endeavour to live all your life. 
ดูกรภิกษุทั้งหลาย เราอนุญาตให้ภิกษุผู้ให้อุปสมบท บอกนิสสัย ๔ ว่าดังนี้:-  นิสสัย ๔ // ๑. บรรพชาอาศัยโภชนะคือคำข้าวอันหาได้ด้วยกำลังปลีแข้ง เธอพึงทำอุตสาหะในสิ่งนั้นตลอดชีวิต  อดิเรกลาภ คือ ภัตถวายสงฆ์ ภัตเฉพาะสงฆ์ การนิมนต์ ภัตถวายตามสลาก ภัตถวายในปักษ์ ภัตถวายในวันอุโบสถ์ ภัตถวายในวันปาฏิบท.  ๒. บรรพชาอาศัยบังสุกุลจีวร เธอพึงทำอุตสาหะในสิ่งนั้นตลอดชีวิต  อดิเรกลาภ คือ ผ้าเปลือกไม้ ผ้าฝ้าย ผ้าไหม ผ้าขนสัตว์ ผ้าป่าน ผ้าเจือกัน. (เช่นผ้าด้ายแกมไหม)  ๓. บรรพชา อาศัยโคนไม้เป็นเสนาสนะ เธอพึงทำอุตสาหะในสิ่งนั้นตลอดชีวิต  อดิเรกลาภ คือ วิหาร เรือนมุงแถบเดียว เรือนชั้น เรือนโล้น ถ้ำ.  ๔. บรรพชาอาศัยมูตรเน่าเป็นยา เธอพึงทำอุตสาหะในสิ่งนั้นตลอดชีวิต  อดิเรกลาภ คือ เนยใส เนยข้น น้ำมัน น้ำผึ้ง น้ำอ้อย. 
“เอวมาวุโส”ติ.  เย เต ภิกฺขู อปฺปิจฺฉาฯเปฯ เต อุชฺฌายนฺติ ขิยฺยนฺติ วิปาเจนฺติ กถญฺหิ นาม ภิกฺขุ เอวํ สฺวากฺขาเต ธมฺมวินเย อุทรสฺส การณา ปพฺพชิสฺสตีติ.  เต ภิกฺขู ภควโต เอตมตฺถํ อาโรเจสุํฯเปฯ  สจฺจํ กิร ตฺวํ ภิกฺขุ อุทรสฺส การณา ปพฺพชิโตติ?  สจฺจํ ภควาติ.  วิครหิ พุทฺโธ ภควาฯเปฯ  “กถญฺหิ นาม ตฺวํ โมฆปุริส เอวํ สฺวากฺขาเต ธมฺมวินเย อุทรสฺส การณา ปพฺพชิสฺสสิ.  เนตํ โมฆปุริส อปฺปสนฺนานํ วา ปสาทาย ปสนฺนานํ วา ภิยฺโยภาวาย”ฯเปฯ  วิครหิตฺวาฯเปฯ ธมฺมึ กถํ กตฺวา ภิกฺขู อามนฺเตสิ 
||30|| 
Ghee, butter, oil, honey, and molasses are extra allowances.' 
“อนุชานามิ ภิกฺขเว อุปสมฺปาเทนฺเตน จตฺตาโร นิสฺสเย อาจิกฺขิตุํ 
upajjhāyavattabhāṇavāraṃ niṭṭhitaṃ pañcamaṃ. 
อุปัชฌายวัตรภาณวาร จบ 
ปิณฺฑิยาโลปโภชนํ นิสฺสาย ปพฺพชฺชา ตตฺถ เต ยาวชีวํ อุสฺสาโห กรณีโย 
tena kho pana samayena aññataro māṇavako bhikkhū upasaṃkamitvā pabbajjaṃ yāci.  tassa bhikkhū paṭigacc’ eva nissaye ācikkhiṃsu.  so evaṃ āha: sace me bhante pabbajite nissaye ācikkheyyātha abhirameyyaṃ sv āhaṃ, na dān’ āhaṃ bhante pabbajissāmi, jegucchā me nissayā paṭikūlā ’ti.  bhikkhū bhagavato etam atthaṃ ārocesuṃ.  na bhikkhave paṭigacc’ eva nissayā ācikkhitabbā.  yo ācikkheyya, āpatti dukkaṭassa.  anujānāmi bhikkhave upasampannasamanantarā nissaye ācikkhitun ti. |1| 
Here ends the fifth Bhânavâra, which contains the duties towards upagghâyas.  At that time a certain youth came to the Bhikkhus and asked them to be ordained.  The Bhikkhus told him the (four) Resources before his ordination.  Then he said: 'If you had told me the Resources, venerable Sirs, after my ordination, I should have persisted (in the religious life); but now, venerable Sirs, I will not be ordained; the Resources are repulsive and loathsome to me.'  The Bhikkhus told this thing to the Blessed One.  'You ought not, O Bhikkhus, to tell the Resources (to the candidates) before their ordination.  He who does, is guilty of a dukkata offence. 
การบอกนิสสัย [๘๘] ก็โดยสมัยนั้นแล มาณพคนหนึ่งเข้าไปหาภิกษุทั้งหลาย แล้วขอบรรพชา.  พวกภิกษุได้บอกนิสสัยแก่เธอก่อนบวช.  เธอจึงพูดอย่างนี้ว่า ถ้าเมื่อกระผมบวชแล้ว พระคุณเจ้า ทั้งหลายพึงบอกนิสสัยแก่กระผม กระผมก็จะยินดียิ่ง บัดนี้ กระผมจักไม่บวชละ เพราะนิสสัยเป็นสิ่งที่น่าเกลียด เป็นปฏิกูลแก่กระผม.  ภิกษุทั้งหลายกราบทูลเรื่องนั้นแด่พระผู้มีพระภาค.  พระผู้มีพระภาคตรัสว่า ดูกรภิกษุทั้งหลาย ภิกษุไม่พึงบอกนิสสัยก่อนบวช  รูปใดบอก ต้องอาบัติทุกกฏ  ดูกรภิกษุทั้งหลาย พออุปสมบทแล้ว เราอนุญาตให้บอกนิสสัย. 
อติเรกลาโภ สงฺฆภตฺตํ อุทฺเทสภตฺตํ นิมนฺตนํ สลากภตฺตํ ปกฺขิกํ อุโปสถิกํ ปาฏิปทิกํ.  ปํสุกูลจีวรํ นิสฺสาย ปพฺพชฺชา ตตฺถ เต ยาวชีวํ อุสฺสาโห กรณีโย  อติเรกลาโภ โขมํ กปฺปาสิกํ โกเสยฺยํ กมฺพลํ สาณํ ภงฺคํ.  รุกฺขมูลเสนาสนํ นิสฺสาย ปพฺพชฺชา ตตฺถ เต ยาวชีวํ อุสฺสาโห กรณีโย  อติเรกลาโภ วิหาโร อฑฺฒโยโค ปาสาโท หมฺมิยํ คุหา.  ปูติมุตฺตเภสชฺชํ นิสฺสาย ปพฺพชฺชา ตตฺถ เต ยาวชีวํ อุสฺสาโห กรณีโย  อติเรกลาโภ สปฺปิ นวนีตํ เตลํ มธุ ผาณิต”นฺติ. (ปณามิตกถา นิฏฺฐิตา.) 
tena kho pana samayena bhikkhū duvaggena pi tivaggena pi gaṇena upasampādenti.  bhagavato etam atthaṃ ārocesum.  na bhikkhave ūnadasavaggena gaṇena upasampādetabbo.  yo upasampādeyya, āpatti dukkaṭassa.  anujānāmi bhikkhave dasavaggena vā atirekadasavaggena vā gaṇena upasampā-(59)detun ti. |2| 
I prescribe, O Bhikkhus, that you tell the Resources (to the newly-ordained Bhikkhus) immediately after their upasampadâ.'  At that time some Bhikkhus performed the upasampadâ service with a chapter of two or three Bhikkhus.  They told this thing to the Blessed One.  'Let no one, O Bhikkhus, receive the upasampadâ ordination before a chapter of less than ten Bhikkhus.  He who performs the upasampadâ service (with a smaller number of Bhikkhus), is guilty of a dukkata offence. 
อุปสมบทด้วยคณะ [๘๙] ก็โดยสมัยนั้นแล ภิกษุทั้งหลายให้อุปสมบทด้วยคณะมีพวกสองบ้าง มีพวกสามบ้าง มีพวกสี่บ้าง.  ภิกษุทั้งหลายจึงกราบทูลเรื่องนั้นแด่พระผู้มีพระภาค.  พระผู้มีพระภาคตรัสว่า ดูกรภิกษุทั้งหลาย ภิกษุไม่พึงให้อุปสมบทด้วยคณะ ซึ่งมีพวกหย่อน ๑๐  รูปใดให้อุปสมบทต้องอาบัติทุกกฏ.  ดูกรภิกษุทั้งหลาย เราอนุญาตให้อุปสมบทด้วยคณะมีพวก ๑๐ หรือมีพวกเกิน ๑๐. 
    อุปชฺฌายวตฺตภาณวาโร นิฏฺฐิโต ปญฺจโม.  (ปญฺจมภาณวาโร ๑๘. อาจริยวตฺตกถา) ๗๔. เตน โข ปน สมเยน อญฺญตโร มาณวโก ภิกฺขู อุปสงฺกมิตฺวา ปพฺพชฺชํ ยาจิ.  ตสฺส ภิกฺขู ปฏิกจฺเจว นิสฺสเย อาจิกฺขิ๎สุ. 
tena kho pana samayena bhikkhū ekavassāpi duvassāpi saddhivihārikaṃ upasampādenti.  āyasmāpi Upaseno Vaṅgantaputto ekavasso saddhivihārikaṃ upasampādesi.  so vassaṃ vuttho duvasso ekavassaṃ saddhivihārikaṃ ādāya yena bhagavā ten’ upasaṃkami, upasaṃkamitvā bhagavantaṃ abhivādetvā ekamantaṃ nisīdi.  āciṇṇaṃ kho pan’ etaṃ buddhānaṃ bhagavantānaṃ āgantukehi bhikkhūhi saddhiṃ paṭisammodituṃ. |3| 
I prescribe you, O Bhikkhus, the holding of upasampadâ services with a chapter of ten Bhikkhus or more than ten.'  At that time some Bhikkhus conferred the upasampadâ ordination on their saddhivihârikas one or two years after their own upasampadâ.  Thus also the venerable Upasena Vangantaputta conferred the upasampadâ ordination on a saddhivihârika of his one year after his own upasampadâ.  When he had concluded the vassa residence, after two years from his own upasampadâ had elapsed, he went with his saddhivihârika, who had completed the first year after his upasampadâ, to the place where the Blessed One was; having approached him and respectfully saluted the Blessed One, he sat down near him. 
พระอุปเสนวังคันตบุตรอุปสมบทสัทธิวิหาริก [๙๐] ก็โดยสมัยนั้นแล ภิกษุทั้งหลายมีพรรษาหนึ่งบ้าง มีพรรษาสองบ้าง อุปสมบทสัทธิวิหาริก.  แม้ท่านพระอุปเสนวังคันตบุตร มีพรรษาเดียว อุปสมบทสัทธิวิหาริก.  ท่านออกพรรษาแล้ว มีพรรษาสอง ได้พาสัทธิวิหาริกมีพรรษาหนึ่งเข้าไปเฝ้าพระผู้มีพระภาค ครั้นแล้วถวายบังคมพระผู้มีพระภาคแล้วนั่ง ณ ที่ควรส่วนข้างหนึ่ง.  ก็การที่พระผู้มีพระภาคพุทธเจ้าทั้งหลาย ทรงปราศรัยกับพระอาคันตุกะทั้งหลาย นั่นเป็นพุทธประเพณี. 
โส เอวมาห “สเจ เม ภนฺเต ปพฺพชิเต นิสฺสเย อาจิกฺเขยฺยาถ อภิรเมยฺยามหํ . น ทานาหํ ภนฺเต ปพฺพชิสฺสามิ เชคุจฺฉา เม นิสฺสยา ปฏิกูลา”ติ.  ภควโต เอตมตฺถํ อาโรเจสุํ.  น ภิกฺขเว ปฏิกจฺเจว นิสฺสยา อาจิกฺขิตพฺพา.  โย อาจิกฺเขยฺย อาปตฺติ ทุกฺกฏสฺส. 
atha kho bhagavā āyasmantaṃ Upasenaṃ Vaṅgantaputtaṃ etad avoca:  kacci bhikkhu khamanīyaṃ, kacci yāpanīyaṃ, kacci ’ttha appakilamathena addhānaṃ āgatā ’ti.  khamanīyaṃ bhagavā, yāpanīyaṃ bhagavā, appakilamathena mayaṃ bhante addhānaṃ āgatā ’ti.  jānantāpi tathāgatā pucchanti, jānantāpi na pucchanti, kālaṃ viditvā pucchanti, kālaṃ viditvā na pucchanti, atthasaṃhitaṃ tathāgatā pucchanti no anatthasaṃhitaṃ, anatthasaṃhite setughāto tathāgatānaṃ.  dvīhi ākārehi buddhā bhagavanto bhikkhū paṭipucchanti, dhammaṃ vā desessāma, sāvakānaṃ vā sikkhāpadaṃ paññāpessāmā ’ti. |4| 
Now it is the custom of the blessed Buddhas to exchange greeting with incoming Bhikkhus.  And the Blessed One said to the venerable Upasena Vangantaputta:  'Do things go well with you, Bhikkhu? Do you get enough to support your life? Have you made your journey with not too great fatigue?'  'Things go pretty well with us, Lord; we get enough, Lord, to support our life, and we have made our journey, Lord, with not too great fatigue.'  The Tathâgatas sometimes ask about what they know; sometimes they do not ask about what they know. They understand the right time when to ask, and they understand the right time when not to ask. The Tathâgatas put questions full of sense, not void of sense; to what is void of sense the bridge is pulled down for the Tathâgatas. 
ครั้งนั้น พระผู้มีพระภาคตรัสถามท่านพระอุปเสนวังคันตบุตรว่า  ดูกรภิกษุทั้งหลาย ร่างกายของพวกเธอยังพอทนได้ ยังพอให้เป็นไปได้หรือ พวกเธอเดินทางมามีความลำบากน้อยหรือ?  ท่านพระอุปเสนวังคันตบุตรกราบทูลว่า ยังพอทนได้ พระพุทธเจ้าข้า ยังพอให้เป็นไปได้ พระพุทธเจ้าข้า และพวกข้าพระพุทธเจ้าเดินทางมาก็มีความลำบากน้อย พระพุทธเจ้าข้า.  พุทธประเพณี // พระตถาคตทั้งหลาย ทรงทราบอยู่ ย่อมตรัสถามก็มี ทรงทราบอยู่ ย่อมไม่ตรัสถามก็มี ทรงทราบกาลแล้วตรัสถาม ทรงทราบกาลแล้วไม่ตรัสถาม พระตถาคตทั้งหลายย่อมตรัสถามสิ่งที่ประกอบด้วยประโยชน์ ไม่ตรัสถามสิ่งที่ไม่ประกอบด้วยประโยชน์ ในสิ่งที่ไม่ประกอบด้วยประโยชน์ พระองค์ทรงกำจัดเสียด้วยข้อปฏิบัติ.  พระผู้มีพระภาคพุทธเจ้าทั้งหลายย่อมทรงสอบถามภิกษุทั้งหลายด้วยอาการ ๒ อย่าง คือจักทรงแสดงธรรมอย่างหนึ่ง จักทรงบัญญัติสิกขาบทแก่พระสาวกทั้งหลายอย่างหนึ่ง. 
อนุชานามิ ภิกฺขเว อุปสมฺปนฺนสมนนฺตรา นิสฺสเย อาจิกฺขิตุนฺติ.  เตน โข ปน สมเยน ภิกฺขู ทุวคฺเคนปิ ติวคฺเคนปิ คเณน อุปสมฺปาเทนฺติ.  ภควโต เอตมตฺถํ อาโรเจสุํ.  น ภิกฺขเว อูนทสวคฺเคน คเณน อุปสมฺปาเทตพฺโพ.  โย อุปสมฺปาเทยฺย อาปตฺติ ทุกฺกฏสฺส. 
atha kho bhagavā āyasmantaṃ Upasenaṃ Vaṅgantaputtaṃ etad avoca: kativasso ’si tvaṃ bhikkhū ’ti.  duvasso ’haṃ bhagavā ’ti.  ayaṃ pana bhikkhu kativasso ’ti.  ekavasso bhagavā ’ti.  kiṃ t’ āyaṃ bhikkhu hotīti.  saddhivihāriko me bhagavā ’ti.  vigarahi buddho bhagavā: ananucchaviyaṃ moghapurisa ananulomikaṃ appaṭirūpaṃ assāmaṇakaṃ akappiyaṃ akaraṇīyaṃ.  kathaṃ hi nāma tvaṃ moghapurisa aññehi ovadiyo anusāsiyo aññaṃ ovadituṃ anusāsituṃ maññissasi.  atilahuṃ kho tvaṃ moghapurisa bāhullāya āvatto yad idaṃ gaṇabandhikaṃ.  n’ etaṃ moghapurisa appasannānaṃ vā pasādāya pasannānaṃ vā bhiyyobhāvāyā ’ti.  vigarahitvā dhammiṃ kathaṃ katvā bhikkhū āmantesi: na bhikkhave ūnadasavassena upasampādetabbo.  yo upasampādeyya, āpatti dukkaṭassa.  {anujānāmi} bhikkhave dasavassena vā atirekadasavassena vā upasampādetun ti. |5| 
For two purposes the blessed Buddhas put questions to the Bhikkhus, when they intend to preach the doctrine or when they intend to institute a rule of conduct to their disciples.  And the Blessed One said to the venerable Upananda Vangantaputta: 'How many years have you completed, O Bhikkhu, since your upasampadâ?'  'Two years, Lord.'  'And how many years has this Bhikkhu completed?'  'One year, Lord.'  'In what relation does this Bhikkhu stand to you?'  'He is my saddhivihârika, Lord.'  Then the blessed Buddha rebuked him: 'This is improper, O foolish one, unbecoming, unsuitable, unworthy of a Samana, unallowable, and to be avoided.  How can you, O foolish one, who ought to receive exhortation and instruction from others, think yourself fit for administering exhortation and instruction to another Bhikkhu?  Too quickly, O foolish one, have you abandoned yourself to the ambition of collecting followers.  This will not do (&c.: as in chap. 30. 3).  Let no one, O Bhikkhus, confer the upasampadâ ordination who has not completed ten years.  He who does, is guilty of a dukkata offence. 
ครั้งนั้น พระผู้มีพระภาคตรัสถามท่านพระอุปเสนวังคันตบุตรว่า เธอมีพรรษาได้เท่าไรภิกษุ?  อุป. ข้าพระพุทธเจ้ามีพรรษาได้สอง พระพุทธเจ้า.  ภ. ภิกษุรูปนี้เล่ามีพรรษาได้เท่าไร?  อุป. มีพรรษาเดียว พระพุทธเจ้าข้า.  ภ. ภิกษุรูปนี้เป็นอะไรกับเธอ?  อุป. เป็นสัทธิวิหาริกของข้าพระพุทธเจ้า พระพุทธเจ้าข้า.  ทรงติเตียน // พระผู้มีพระภาคพุทธเจ้าทรงติเตียนว่า ดูกรโมฆบุรุษ การกระทำของเธอนั้น ไม่เหมาะ ไม่สม ไม่ควร ไม่ใช่กิจของสมณะ ใช้ไม่ได้ ไม่ควรทำ  ดูกรโมฆบุรุษ เธอยังเป็นผู้อันผู้อื่นพึงโอวาทอนุศาสน์อยู่ ไฉนจึงสำคัญตนเพื่อโอวาทอนุศาสน์ผู้อื่นเล่า  เธอเวียนมาเพื่อความเป็นผู้มักมาก ซึ่งมีความพัวพันด้วยหมู่เร็วเกินนัก  การกระทำของเธอนั่น ไม่เป็นไปเพื่อความเลื่อมใสของชุมชนที่ยังไม่เลื่อมใส หรือเพื่อความเลื่อมใสยิ่งของชุมชนที่เลื่อมใสแล้ว ...  ครั้นแล้วทรงทำธรรมีกถา รับสั่งกะภิกษุทั้งหลายว่า ดูกรภิกษุทั้งหลาย ภิกษุมีพรรษาหย่อน ๑๐ ไม่พึงให้อุปสมบท  รูปใดให้อุปสมบท ต้องอาบัติทุกกฏ.  ดูกรภิกษุทั้งหลาย เราอนุญาตให้ภิกษุมีพรรษาได้ ๑๐ หรือมีพรรษาเกิน ๑๐ ให้อุปสมบท. 
อนุชานามิ ภิกฺขเว ทสวคฺเคน วา อติเรกทสวคฺเคน วา คเณน อุปสมฺปาเทตุนฺติ  ๗๕. เตน โข ปน สมเยน ภิกฺขู เอกวสฺสาปิ ทุวสฺสาปิ สทฺธิวิหาริกํ อุปสมฺปาเทนฺติ.  อายสฺมาปิ อุปเสโน วงฺคนฺตปุตฺโต เอกวสฺโส สทฺธิวิหาริกํ อุปสมฺปาเทสิ.  โส วสฺสํวุฏฺโฐ ทุวสฺโส เอกวสฺสํ สทฺธิวิหาริกํ อาทาย เยน ภควา เตนุปสงฺกมิ อุปสงฺกมิตฺวา ภควนฺตํ อภิวาเทตฺวา เอกมนฺตํ นิสีทิ.  อาจิณฺณํ โข ปเนตํ พุทฺธานํ ภควนฺตานํ อาคนฺตุเกหิ ภิกฺขูหิ สทฺธึ ปฏิสมฺโมทิตุํ.  อถ โข ภควา อายสฺมนฺตํ อุปเสนํ วงฺคนฺตปุตฺตํ เอตทโวจ  “กจฺจิ ภิกฺขุ ขมนียํ กจฺจิ ยาปนียํ กจฺจิ ตฺวํ อปฺปกิลมเถน อทฺธานํ อาคโต”ติ?  “ขมนียํ ภควา ยาปนียํ ภควา. อปฺปกิลมเถน มยํ ภนฺเต อทฺธานํ อาคตา”ติ.  ชานนฺตาปิ ตถาคตา ปุจฺฉนฺติ ชานนฺตาปิ น ปุจฺฉนฺติ กาลํ วิทิตฺวา ปุจฺฉนฺติ กาลํ วิทิตฺวา น ปุจฺฉนฺติ อตฺถสํหิตํ ตถาคตา ปุจฺฉนฺติ โน อนตฺถสํหิตํ. อนตฺถสํหิเต เสตุฆาโต ตถาคตานํ.  ทฺวีหิ อากาเรหิ พุทฺธา ภควนฺโต ภิกฺขู ปฏิปุจฺฉนฺติ ธมฺมํ วา เทเสสฺสาม สาวกานํ วา สิกฺขาปทํ ปญฺญเปสฺสามาติ.  อถ โข ภควา อายสฺมนฺตํ อุปเสนํ วงฺคนฺตปุตฺตํ เอตทโวจ “กติวสฺโสสิ ตฺวํ ภิกฺขู”ติ?  “ทุวสฺโสหํ ภควา”ติ.  “อยํ ปน ภิกฺขุ กติวสฺโส”ติ? 
tena kho pana samayena bhikkhū dasavass’ āa dasavass’ amhā ’ti bālā avyattā upasampādenti, dissanti upajjhāyā bālā, saddhivihārikā paṇḍitā, dissanti upajjhāyā avyattā, saddhivihārikā vyattā, dissanti upajjhāyā appassutā, saddhivihārikā bahussutā, dissanti upajjhāyā duppaññā, sa-(60)ddhivihārikā paññavanto, aññataro pi aññatitthiyapubbo upajjhāyena sahadhammikaṃ vuccamāno upajjhāyassa vādaṃ āropetvā taṃ yeva titthāyatanaṃ saṃkami. |6| 
I prescribe, O Bhikkhus, that only he who has completed ten years or more than ten years, may confer the upasampadâ ordination.' 
พระอุปัชฌายะมีการศึกษาน้อยกว่าสัทธิวิหาริก [๙๑] ก็โดยสมัยนั้นแล ภิกษุทั้งหลายคิดว่าเรามีพรรษาได้ ๑๐ แล้ว เรามีพรรษาได้ ๑๐ แล้ว ดังนี้ แต่ยังเป็นผู้เขลา ไม่เฉียบแหลม ย่อมให้อุปสมบท. ปรากฏว่าพระอุปัชฌายะเป็นผู้เขลา สัทธิวิหาริกเป็นผู้ฉลาด ปรากฏว่าพระอุปัชฌายะเป็นผู้ไม่เฉียบแหลม สัทธิวิหาริกเป็นผู้เฉียบแหลม ปรากฏว่าพระอุปัชฌายะเป็นผู้มีสุตะน้อย สัทธิวิหาริกเป็นผู้มีสุตะมาก ปรากฏว่าพระอุปัชฌายะเป็นผู้มีปัญญาทราม สัทธิวิหาริกเป็นผู้มีปัญญา. แม้ภิกษุรูปหนึ่งเคยเป็นอัญญเดียรถีย์ เมื่อพระอุปัชฌายะว่ากล่าวอยู่โดยชอบธรรม ได้ยกวาทะขึ้นโต้เถียงแก่พระอุปัชฌายะ แล้วหลีกไปสู่ลัทธิเดียรถีย์นั้นตามเดิม. 
“เอกวสฺโส ภควา”ติ. 
ye te bhikkhū appicchā, te ujjhāyanti khīyanti vipācenti: kathaṃ hi nāma bhikkhū dasavass’ amhā dasavass’ amhā ’ti bālā avyattā upasampādessanti, dissanti upajjhāyā bālā . . . saddhivihārikā paññavanto ’ti.  atha kho te bhikkhū bhagavato etam atthaṃ ārocesuṃ.  saccaṃ kira bhikkhave bhikkhū dasavass’ amhā dasavass’ amhā ’ti bālā avyattā upasampādenti, dissanti upajjhāyā bālā . . . saddhivihārikā paññavanto ’ti.  saccaṃ bhagavā. |7| 
At that time ignorant, unlearned Bhikkhus (who said), 'We have completed ten years (since our upasampadâ), we have completed ten years,' conferred the upasampadâ ordination; (thus) ignorant upagghâyas were found and clever saddhivihârikas; unlearned upagghâyas were found and learned saddhivihârikas; upagghâyas were found who had small knowledge, and saddhivihârikas who had great knowledge; foolish upagghâyas were found and wise saddhivihârikas. And a certain Bhikkhu who had formerly belonged to a Titthiya school, when his upagghâya remonstrated with him (on certain offences) according to the Dhamma, brought his upagghâya (by reasoning) to silence and went back to that same Titthiya school.  The moderate Bhikkhus were annoyed, murmured, and became angry: 'How can those ignorant, unlearned Bhikkhus confer the upasampadâ ordination (saying); "We have completed ten years, we have completed ten years?" (Thus) ignorant upagghâyas are found and clever saddhivihârikas (&c., down to:), foolish upagghâyas are found and wise saddhivihârikas.'  These Bhikkhus told, &c.  'Is it true, O Bhikkhus, &c.?' 
บรรดาภิกษุที่เป็นผู้มักน้อย ... ต่างก็เพ่งโทษ ติเตียน โพนทะนาว่า ไฉนภิกษุทั้งหลาย จึงได้อ้างว่า เรามีพรรษาได้ ๑๐ แล้ว เรามีพรรษาได้ ๑๐ แล้ว ดังนี้ แต่ยังเป็นผู้เขลา ไม่เฉียบแหลม ให้อุปสมบท ปรากฏว่าพระอุปัชฌายะเป็นผู้เขลา สัทธิวิหาริกเป็นผู้ฉลาด ปรากฏว่าพระอุปัชฌายะเป็นผู้ไม่เฉียบแหลม สัทธิวิหาริกเป็นผู้เฉียบแหลม ปรากฏว่าพระอุปัชฌายะเป็นผู้มีสุตะน้อย สัทธิวิหาริกเป็นผู้มีสุตะมาก ปรากฏว่าพระอุปัชฌายะเป็นผู้มีปัญญาทราม สัทธิวิหาริกเป็นผู้มีปัญญาเล่า  แล้วกราบทูลเรื่องนั้นแด่พระผู้มีพระภาค.  ทรงสอบถาม // พระผู้มีพระภาคทรงสอบถามภิกษุทั้งหลายว่า ดูกรภิกษุทั้งหลาย ข่าวว่าภิกษุทั้งหลาย อ้างว่า เรามีพรรษาได้ ๑๐ แล้ว เรามีพรรษาได้ ๑๐ แล้ว ดังนี้ แต่ยังเป็นผู้เขลา ไม่เฉียบแหลม ให้อุปสมบท ปรากฏว่าอุปัชฌายะเป็นผู้เขลา สัทธิวิหาริกเป็นผู้ฉลาด ปรากฏว่าอุปัชฌายะเป็นผู้ไม่เฉียบแหลม สัทธิวิหาริกเป็นผู้เฉียบแหลม ปรากฏว่าอุปัชฌายะเป็นผู้มีสุตะน้อย สัทธิวิหาริกเป็นผู้มีสุตะมาก ปรากฏว่าอุปัชฌายะเป็นผู้มีปัญญาทราม สัทธิวิหาริกเป็นผู้มีปัญญา จริงหรือ?  ภิกษุทั้งหลายทูลรับว่า จริง พระพุทธเจ้าข้า. 
“กึ ตายํ ภิกฺขุ โหตี”ติ?  “สทฺธิวิหาริโก เม ภควา”ติ.  วิครหิ พุทฺโธ ภควา “อนนุจฺฉวิกํ โมฆปุริส อนนุโลมิกํ อปฺปติรูปํ อสฺสามณกํ อกปฺปิยํ อกรณียํ.  กถญฺหิ นาม ตฺวํ โมฆปุริส อญฺเญหิ โอวทิโย อนุสาสิโย อญฺญํ โอวทิตุํ อนุสาสิตุํ มญฺญิสฺสสิ. 
vigarahi buddho bhagavā. kathaṃ hi nāma te bhikkhave moghapurisā dasavass’ amhā dasavass’ amhā ’ti bālā avyattā upasampādessanti, dissanti upajjhāyā bālā . . . saddhivihārikā paññavanto.  n’ etaṃ bhikkhave appasannānaṃ vā pasādāya --la--, vigarahitvā dhammiṃ kathaṃ katvā bhikkhū āmantesi: na bhikkhave bālena avyattena upasampādetabbo.  yo upasampādeyya, āpatti dukkaṭassa.  anujānāmi bhikkhave vyattena bhikkhunā paṭibalena dasavassena vā atirekadasavassena vā upasampādetun ti. |8| 
'It is true, Lord.'  Then the blessed Buddha rebuked those Bhikkhus: 'How can these foolish persons, O Bhikkhus, confer the upasampadâ ordination (saying), "We have, &c?" (Thus) ignorant upagghâyas are found, &c.  This will not do, O Bhikkhus, for converting the unconverted and for augmenting the number of the converted.' Having rebuked those Bhikkhus and delivered a religious discourse, he thus addressed the Bhikkhus: 'Let no ignorant, unlearned Bhikkhu, O Bhikkhus, confer the upasampadâ ordination.  If he does, he is guilty of a dukkata offence. 
ทรงติเตียน // พระผู้มีพระภาคพุทธเจ้าทรงติเตียนว่า ดูกรภิกษุทั้งหลาย ไฉนโมฆบุรุษเหล่านั้นจึงได้อ้างว่า เรามีพรรษาได้ ๑๐ แล้ว เรามีพรรษาได้ ๑๐ แล้ว ดังนี้ แต่ยังเป็นผู้เขลา ไม่เฉียบแหลมให้อุปสมบท ปรากฏว่าอุปัชฌายะเป็นผู้เขลา สัทธิวิหาริกเป็นผู้ฉลาด ปรากฏว่าอุปัชฌายะเป็นผู้ไม่เฉียบแหลม สัทธิวิหาริกเป็นผู้เฉียบแหลม ปรากฏว่าอุปัชฌายะเป็นผู้มีสุตะน้อย สัทธิวิหาริกเป็นผู้มีสุตะมาก ปรากฏว่าอุปัชฌายะเป็นผู้มีปัญญาทราม สัทธิวิหาริกเป็นผู้มีปัญญาเล่า  ดูกรภิกษุทั้งหลาย การกระทำของพวกโมฆบุรุษนั่น ไม่เป็นไปเพื่อความเลื่อมใสของชุมชนที่ยังไม่เลื่อมใส หรือเพื่อความเลื่อมใสยิ่งของชุมชนที่เลื่อมใสแล้ว ... ครั้นแล้วทรงทำธรรมีกถา รับสั่งกะภิกษุทั้งหลายว่า ดูกรภิกษุทั้งหลาย ภิกษุผู้เขลา ไม่เฉียบแหลม ไม่พึงให้อุปสมบท  รูปใดให้อุปสมบท ต้องอาบัติทุกกฏ  ดูกรภิกษุทั้งหลาย เราอนุญาตให้ภิกษุ ผู้ฉลาดผู้สามารถ มีพรรษาได้ ๑๐ หรือมีพรรษาเกิน ๑๐ ให้อุปสมบท. 
อติลหุํ โข ตฺวํ โมฆปุริส พาหุลฺลาย อาวตฺโต ยทิทํ คณพนฺธิกํ.  เนตํ โมฆปุริส อปฺปสนฺนานํ วา ปสาทาย ปสนฺนานํ วา ภิยฺโยภาวาย”ฯเปฯ  วิครหิตฺวาฯเปฯ ธมฺมึ กถํ กตฺวา ภิกฺขู อามนฺเตสิ “น ภิกฺขเว อูนทสวสฺเสน อุปสมฺปาเทตพฺโพ.  โย อุปสมฺปาเทยฺย อาปตฺติ ทุกฺกฏสฺส. 
||31|| 
I prescribe, O Bhikkhus, that only a learned, competent Bhikkhu who has completed ten years, or more than ten years, may confer the upasampadâ ordination.' 
อนุชานามิ ภิกฺขเว ทสวสฺเสน วา อติเรกทสวสฺเสน วา อุปสมฺปาเทตุ”นฺติ. 
tena kho pana samayena bhikkhū upajjhāyesu pakkantesu pi vibbhamantesu pi kālaṃkatesu pi pakkhasaṃkantesu pi anācariyakā anovadiyamānā ananusāsiyamānā dunnivatthā duppārutā anākappasampannā piṇḍāya caranti, manussānaṃ bhuñjamānānaṃ . . . (I.25.1-4) . . . saccaṃ bhagavā.  vigarahitvā dhammiṃ kathaṃ katvā bhikkhū āmantesi: anujānāmi bhikkhave ācariyaṃ.  ācariyo bhikkhave antevāsikamhi puttacittaṃ upaṭṭhāpessati, antevāsiko ācariyamhi pitucittaṃ upaṭṭhāpessati.  evaṃ te aññamaññaṃ sagāravā sappatissā sabhāgavuttino viharantā imasmiṃ dhammavinaye vuddhiṃ virūḷhiṃ vepullaṃ āpajjissanti.  anujānāmi bhikkhave dasa vassāni nissāya vatthuṃ, dasavassena nissayaṃ dātuṃ. |1| 
At that time some Bhikkhus whose upagghâyas were gone away, or had returned to the world, or had died, or were gone over to a (schismatic) faction, as they had no âkariyas and received no exhortation and instruction, went on their rounds for alms wearing improper under and upper garments (&c., as in chap. 25. 1-6, down to:),  (see also previous record) he thus addressed the Bhikkhus: 'I prescribe, O Bhikkhus, (that young Bhikkhus choose) an âkariya.  'The âkariya, O Bhikkhus, ought to consider the antevâsika (i.e. disciple) as a son;  the antevâsika ought to consider the âkariya as a father. Thus these two, united by mutual reverence, confidence, and communion of life, will progress, advance, and reach a high stage in this doctrine and discipline. 
ทรงอนุญาตอาจารย์ // [๙๒] ก็โดยสมัยนั้นแล เมื่อพระอุปัชฌายะทั้งหลายหลีกไปเสียก็ดี สึกเสียก็ดี ถึงมรณภาพก็ดี ไปเข้ารีดเดียรถีย์เสียก็ดี ภิกษุทั้งหลายไม่มีอาจารย์ ไม่มีใครตักเตือน ไม่มีใคร พร่ำสอน ย่อมนุ่งห่มไม่เรียบร้อย มีมรรยาทไม่สมควรเที่ยวบิณฑบาต. เมื่อประชาชนกำลังบริโภค ย่อมน้อมบาตรสำหรับเที่ยวบิณฑบาตเข้าไปข้างบนของควรบริโภคบ้าง ข้างบนของควรเคี้ยวบ้าง ข้างบนของควรลิ้มบ้าง ข้างบนของควรดื่มบ้าง ขอแกงบ้าง ข้าวสุกบ้าง ด้วยตนเองมาฉัน แม้ในโรงอาหารก็เป็นผู้มีเสียงอื้ออึง มีเสียงดังอยู่. ประชาชนจึงเพ่งโทษ ติเตียน โพนทะนาว่า ไฉนพระสมณะเชื้อสายพระศากยบุตร จึงได้นุ่งห่มไม่เรียบร้อย มีมรรยาทไม่สมควร เที่ยวบิณฑบาตเล่า เมื่อประชาชนกำลังบริโภค ได้น้อมบาตรสำหรับเที่ยวบิณฑบาตเข้าไป ข้างบนของควรบริโภคบ้าง ข้างบนของควรเคี้ยวบ้าง ข้างบนของควรลิ้มบ้าง ข้างบนของควรดื่มบ้าง ขอแกงบ้าง ข้าวสุกบ้าง ด้วยตนเองมาฉันแม้ในโรงอาหาร ก็เป็นผู้มีเสียงอื้ออึง มีเสียงดังอยู่ เหมือนพวกพราหมณ์ในสถานที่เลี้ยงพราหมณ์ฉะนั้น. ภิกษุทั้งหลายได้ยินคนพวกนั้นเพ่งโทษ ติเตียน โพนทะนาอยู่ บรรดาที่เป็นผู้มักน้อย ... ต่างก็เพ่งโทษ ติเตียน โพนทะนาว่า ไฉนภิกษุทั้งหลาย จึงได้นุ่งห่มไม่เรียบร้อย มีมรรยาทไม่สมควร ... แล้วกราบทูลเรื่องนั้นแด่พระผู้มีพระภาค. (ทรงสอบถาม) ครั้งนั้น พระผู้มีพระภาค ... ทรงสอบถามภิกษุทั้งหลายว่า ดูกรภิกษุทั้งหลาย ข่าวว่าภิกษุทั้งหลายนุ่งห่มไม่เรียบร้อย มีมรรยาทไม่สมควร ... จริงหรือ? ภิกษุทั้งหลายทูลรับว่า จริง พระพุทธเจ้าข้า.  ทรงติเตียน // พระผู้มีพระภาคพุทธเจ้าทรงติเตียน ... ครั้นแล้วทรงทำธรรมีกถา รับสั่งกะภิกษุทั้งหลายว่า ดูกรภิกษุทั้งหลาย เราอนุญาตอาจารย์.  อาจารย์จักตั้งจิตสนิทสนมในอันเตวาสิกฉันบุตร  อันเตวาสิกจักตั้งจิตสนิทสนมในอาจารย์ฉันบิดา เมื่อเป็นเช่นนี้ อาจารย์และอันเตวาสิกนั้น ต่างจักมีความเคารพ ยำเกรง ประพฤติกลมเกลียวกันอยู่ จักถึงความเจริญงอกงามไพบูลย์ในธรรมวินัยนี้  ดูกรภิกษุทั้งหลาย เราอนุญาตให้อาศัยภิกษุมีพรรษา ๑๐ อยู่ อนุญาตให้ภิกษุมีพรรษาได้ ๑๐ ให้นิสสัย. 
๗๖. เตน โข ปน สมเยน ภิกฺขู ทสวสฺสมฺหา ทสวสฺสมฺหาติ พาลา อพฺยตฺตา อุปสมฺปาเทนฺติ. ทิสฺสนฺติ อุปชฺฌายา พาลา สทฺธิวิหาริกา ปณฺฑิตา. ทิสฺสนฺติ อุปชฺฌายา อพฺยตฺตา สทฺธิวิหาริกา พฺยตฺตา. ทิสฺสนฺติ อุปชฺฌายา อปฺปสฺสุตา สทฺธิวิหาริกา พหุสฺสุตา. ทิสฺสนฺติ อุปชฺฌายา ทุปฺปญฺญา สทฺธิวิหาริกา ปญฺญวนฺโต. อญฺญตโรปิ อญฺญติตฺถิยปุพฺโพ อุปชฺฌาเยน สหธมฺมิกํ วุจฺจมาโน อุปชฺฌายสฺส วาทํ อาโรเปตฺวา ตํเยว ติตฺถายตนํ สงฺกมิ.  เย เต ภิกฺขู อปฺปิจฺฉาฯเปฯ เต อุชฺฌายนฺติ ขิยฺยนฺติ วิปาเจนฺติ กถญฺหิ นาม ภิกฺขู ทสวสฺสมฺหา ทสวสฺสมฺหาติ พาลา อพฺยตฺตา อุปสมฺปาเทสฺสนฺติ. ทิสฺสนฺติ อุปชฺฌายา พาลา สทฺธิวิหาริกา ปณฺฑิตา ทิสฺสนฺติ อุปชฺฌายา อพฺยตฺตา สทฺธิวิหาริกา พฺยตฺตา ทิสฺสนฺติ อุปชฺฌายา อปฺปสฺสุตา สทฺธิวิหาริกา พหุสฺสุตา ทิสฺสนฺติ อุปชฺฌายา ทุปฺปญฺญา สทฺธิวิหาริกา ปญฺญวนฺโตติ.  อถ โข เต ภิกฺขู ภควโต เอตมตฺถํ อาโรเจสุํ.  “สจฺจํ กิร ภิกฺขเว ภิกฺขู ทสวสฺสมฺหา ทสวสฺสมฺหาติ พาลา อพฺยตฺตา อุปสมฺปาเทนฺติ. ทิสฺสนฺติ อุปชฺฌายา พาลา สทฺธิวิหาริกา ปณฺฑิตา ทิสฺสนฺติ อุปชฺฌายา อพฺยตฺตา สทฺธิวิหาริกา พฺยตฺตา ทิสฺสนฺติ อุปชฺฌายา อปฺปสฺสุตา สทฺธิวิหาริกา พหุสฺสุตา ทิสฺสนฺติ อุปชฺฌายา ทุปฺปญฺญา สทฺธิวิหาริกา ปญฺญวนฺโต”ติ?  “สจฺจํ ภควา”ติ. 
evañ ca pana bhikkhave ācariyo gahetabbo: ekaṃsaṃ uttarāsaṅgaṃ karitvā pāde vanditvā ukkuṭikaṃ nisīditvā añjaliṃ paggahetvā evam assa vacanīyo:  ācariyo me bhante hohi, āyasmato nissāya vacchāmi, ācariyo me bhante hohi, āyasmato nissāya vacchāmi, ācariyo me bhante hohi, āyas-(61)mato nissāya vacchāmīti.  sāhū ’ti vā, lahū ’ti vā, opāyikan ti vā, paṭirūpan ti vā, pāsādikena sampādehīti vā kāyena viññāpeti, vācāya viññāpeti, kāyena vācāya viññāpeti, gahito hoti ācariyo, na kāyena viññāpeti, na vācāya viññāpeti, na kāyena vācāya viññāpeti, na gahito hoti ācariyo. |2| 
'I prescribe, O Bhikkhus, that you live (the first) ten years in dependence (on an âkariya); he who has completed his tenth year may give a nissaya1 himself.  'And let (the antevâsika), O Bhikkhus, choose his âkariya in this way: Let him adjust his upper robe so as to cover one shoulder, salute the feet (of the âkariya), sit down squatting, raise his joined hands, and say:  "Venerable Sir, be my âkariya, I will live in dependence on you, Sir."' (This formula is repeated thrice.) 
วิธีถือนิสสัย // ดูกรภิกษุทั้งหลาย ก็แลอันเตวาสิกพึงถืออาจารย์อย่างนี้ อันเตวาสิกนั้นพึงห่มผ้าอุตราสงค์เฉวียงบ่า ไหว้เท้า นั่งกระหย่ง ประคองอัญชลี แล้วกล่าวอย่างนี้ ๓ หน  ท่านเจ้าข้า ขอท่านจงเป็นอาจารย์ของข้าพเจ้า ข้าพเจ้าจักอาศัยท่านอยู่, ท่านเจ้าข้า ขอท่านจงเป็นอาจารย์ของข้าพเจ้า ข้าพเจ้าจักอาศัยท่านอยู่, ท่านเจ้าข้า ขอท่านจงเป็นอาจารย์ของข้าพเจ้า ข้าพเจ้าจักอาศัยท่านอยู่  อาจารย์รับว่า ดีละ เบาใจละ ชอบแก่อุบายละ สมควรละ หรือรับว่าจงยังความปฏิบัติให้ถึงพร้อมด้วยอาการอันน่าเลื่อมใสเถิด ดังนี้ก็ได้ รับด้วยกาย รับด้วยวาจา รับด้วยทั้งกายและวาจาก็ได้ เป็นอันว่าอันเตวาสิกถืออาจารย์แล้ว, ไม่รับด้วยกาย ไม่รับด้วยวาจา ไม่รับด้วยทั้งกายและวาจา ไม่เป็นอันว่าอันเตวาสิกถืออาจารย์แล้ว. 
วิครหิ พุทฺโธ ภควาฯเปฯ กถญฺหิ นาม เต ภิกฺขเว โมฆปุริสา ทสวสฺสมฺหา ทสวสฺสมฺหาติ พาลา อพฺยตฺตา อุปสมฺปาเทสฺสนฺติ. ทิสฺสนฺติ อุปชฺฌายา พาลา สทฺธิวิหาริกา ปณฺฑิตา ทิสฺสนฺติ อุปชฺฌายา อพฺยตฺตา สทฺธิวิหาริกา พฺยตฺตา ทิสฺสนฺติ อุปชฺฌายา อปฺปสฺสุตา สทฺธิวิหาริกา พหุสฺสุตา ทิสฺสนฺติ อุปชฺฌายา ทุปฺปญฺญา สทฺธิวิหาริกา ปญฺญวนฺโต.  เนตํ ภิกฺขเว อปฺปสนฺนานํ วา ปสาทายฯเปฯ วิครหิตฺวาฯเปฯ ธมฺมึ กถํ กตฺวา ภิกฺขู อามนฺเตสิ “น ภิกฺขเว พาเลน อพฺยตฺเตน อุปสมฺปาเทตพฺโพ.  โย อุปสมฺปาเทยฺย อาปตฺติ ทุกฺกฏสฺส. 
antevāsikena bhikkhave ācariyamhi sammāvattitabbaṃ, tatrāyaṃ sammāvattanā:  kālass’ eva uṭṭhāya upāhanā omuñcitvā ekaṃsaṃ uttarāsaṅgaṃ karitvā dantakaṭṭhaṃ dātabbaṃ, mukhodakaṃ dātabbaṃ, āsanaṃ paññāpetabbaṃ.  sace yāgu hoti, bhājanaṃ dhovitvā yāgu upanāmetabbā.  yāguṃ pītassa udakaṃ datvā bhājanaṃ paṭiggahetvā nīcaṃ katvā sādhukaṃ aparighaṃsantena dhovitvā paṭisāmetabbaṃ . . . (= I.25.8-24; instead of upajjhāyo, upajjhāyaṃ, etc., read ācariyo, ācariyaṃ, etc.; instead of saddhivihārikena read antevāsikena) . . . sace ācariyo gilāno hoti, yāvajīvaṃ upaṭṭhātabbo, vuṭṭhānassa āgametabban ti. |3| 
'(If the other answers): "Well" (&c., as in chap. 25. 7).  'The antevâsika, O Bhikkhus, ought to observe a strict conduct towards his âkariya' (&c., as in chap. 25. 8-24).     
อาจริยวัตร [๙๓] ดูกรภิกษุทั้งหลาย อันเตวาสิกพึงประพฤติชอบในอาจารย์. วิธีประพฤติชอบในอาจารย์นั้น ดังต่อไปนี้  อันเตวาสิกพึงลุกแต่เช้าตรู่ ถอดรองเท้า ห่มผ้าเฉวียงบ่า แล้วถวายไม้ชำระฟัน ถวายน้ำล้างหน้า ปูอาสนะไว้  ถ้ายาคูมี พึงล้างภาชนะแล้วน้อมยาคูเข้าไปถวาย  เมื่ออาจารย์ดื่มยาคูแล้ว พึงถวายน้ำ รับภาชนะมา ถือต่ำๆ อย่าให้กระทบกัน ล้างให้สะอาดแล้วเก็บไว้ เมื่ออาจารย์ลุกแล้ว พึงเก็บผ้าอาสนะ ถ้าที่นั้นรก พึงกวาดเสีย. ถ้าอาจารย์ประสงค์จะเข้าบ้าน พึงถวายผ้านุ่ง พึงรับผ้านุ่งผลัดมา พึงถวายประคตเอว พึงพับผ้าสังฆาฏิให้เป็นชั้นถวาย พึงล้างบาตรแล้วถวายพร้อมทั้งน้ำด้วย ถ้าอาจารย์ปรารถนาให้เป็นปัจฉาสมณะ พึงปกปิดมณฑลสาม นุ่งให้เป็นปริมณฑล แล้วคาดประคตเอว ห่มสังฆาฏิทำเป็นชั้น กลัดดุม ล้างบาตรแล้วถือไป เป็นปัจฉาสมณะของอาจารย์ ไม่พึงเดินให้ห่างนัก ไม่พึงเดินให้ชิดนัก พึงรับวัตถุที่เนื่องในบาตร เมื่ออาจารย์กำลังพูด ไม่พึงพูดสอดขึ้นในระหว่าง อาจารย์กล่าวถ้อยคำใกล้ต่ออาบัติ พึงห้ามเสีย เมื่อกลับ พึงมาก่อนแล้วปูอาสนะที่นั่งฉันไว้ พึงเตรียมน้ำล้างเท้า ตั่งรองเท้า กระเบื้องเช็ดเท้าไว้ พึงลุกขึ้นรับบาตรและจีวร พึงถวายผ้านุ่งผลัด พึงรับผ้านุ่งมา. ถ้าจีวรชุ่มเหงื่อ พึงผึ่งแดดไว้ครู่หนึ่ง แต่ไม่พึงผึ่งทิ้งไว้ที่แดด พึงพับจีวร เมื่อพับจีวร พึงพับจีวรให้เหลื่อมมุมกัน ๔ นิ้ว ด้วยตั้งใจมิให้มีรอยพับตรงกลาง พึงทำประคตเอวไว้ในขนดอันตรวาสก. ถ้าบิณฑบาตมี และอาจารย์ประสงค์จะฉัน พึงถวายน้ำแล้วน้อมบิณฑบาตเข้าไปถวาย พึงถามอาจารย์ด้วยน้ำฉัน เมื่ออาจารย์ฉันแล้ว พึงถวายน้ำ รับบาตรมา ถือต่ำๆ อย่าให้กระทบ ล้างให้สะอาด เช็ดให้แห้ง แล้วผึ่งไว้ที่แดดครู่หนึ่ง แต่ไม่พึงผึ่งทิ้งไว้ที่แดด พึงเก็บบาตรจีวร เมื่อเก็บบาตร พึงเอามือข้างหนึ่งจับบาตร เอามือข้างหนึ่งลูบคลำใต้เตียงหรือใต้ตั่ง แล้วจึงเก็บบาตร แต่ไม่พึงเก็บบาตรไว้บนพื้นที่ไม่มีสิ่งใดรอง เมื่อเก็บจีวร พึงเอามือข้างหนึ่งถือจีวร เอามือข้างหนึ่งลูบราวจีวร หรือสายระเดียงแล้วทำชายไว้ข้างนอก ทำขนดไว้ข้างใน แล้วจึงเก็บจีวร เมื่ออาจารย์ลุกแล้ว พึงเก็บอาสนะ เก็บน้ำล้างเท้า ตั่งรองเท้า กระเบื้องเช็ดเท้า ถ้าที่นั้นรก พึงกวาดที่นั้นเสีย. ถ้าอาจารย์ใคร่จะสรงน้ำ พึงจัดน้ำสรงถวาย ถ้าต้องการน้ำเย็น พึงจัดน้ำเย็นถวาย ถ้าต้องการน้ำร้อน พึงจัดน้ำร้อนถวาย. ถ้าอาจารย์ประสงค์จะเข้าเรือนไฟ พึงบดจุณ แช่ดิน หรือถือตั่งสำหรับเรือนไฟ แล้วเดินตามหลังอาจารย์ไป ถวายตั่งสำหรับเรือนไฟแล้ว รับจีวรมาวางไว้ ณ ที่ควรส่วนข้างหนึ่ง พึงถวายจุณ ถวายดิน ถ้าอุตสาหะอยู่ พึงเข้าเรือนไฟ เมื่อเข้าเรือนไฟ พึงเอาดินทาหน้า ปิดทั้งข้างหน้าข้างหลัง แล้วเข้าเรือนไฟ ไม่พึงนั่งเบียดภิกษุผู้เถระ ไม่พึงห้ามกันอาสนะภิกษุใหม่ พึงทำบริกรรมแก่อาจารย์ในเรือนไฟ เมื่อออกจากเรือนไฟ พึงถือตั่งสำหรับเรือนไฟ แล้วปิดทั้งข้างหน้าทั้งข้างหลังออกจากเรือนไฟ พึงทำบริกรรมแก่อาจารย์แม้ในน้ำ อาบเสร็จแล้ว พึงขึ้นมาก่อน ทำตัวของตนให้แห้งน้ำ นุ่งผ้าแล้ว พึงเช็ดน้ำจากตัวของอาจารย์ พึงถวายผ้านุ่ง พึงถวายผ้าสังฆาฏิ ถือเอาตั่งสำหรับเรือนไฟมาก่อน แล้วปูอาสนะไว้ เตรียมน้ำล้างเท้า ตั่งรองเท้า กระเบื้องเช็ดเท้าไว้ พึงถามอาจารย์ด้วยน้ำฉัน. ถ้าประสงค์จะเรียนบาลี พึงขอให้อาจารย์แสดงบาลีขึ้น ถ้าประสงค์จะสอบถามอรรถกถา พึงสอบถาม. อาจารย์อยู่ในวิหารแห่งใด ถ้าวิหารแห่งนั้นรก ถ้าอุตสาหะอยู่ พึงปัดกวาดเสีย เมื่อปัดกวาดวิหาร พึงขนบาตรจีวรออกก่อนแล้ววางไว้ ณ ที่ควรส่วนข้างหนึ่ง พึงขนผ้าปูนั่งและผ้าปูนอน ฟูก หมอน ออกวางไว้ ณ ที่ควรส่วนข้างหนึ่ง เตียงตั่ง อันเตวาสิกพึงยกต่ำๆ อย่าให้ครูดสี อย่าให้กระทบกระแทกบานและกรอบประตู ขนออกให้เรียบร้อย แล้วตั้งไว้ ณ ที่ควรส่วนข้างหนึ่ง. เขียงรองเตียง กระโถน พนักอิง พึงขนออกตั้งไว้ ณ ที่ควรส่วนข้างหนึ่ง เครื่องปูพื้น พึงสังเกตที่ปูไว้เดิม แล้วขนออกวางไว้ ณ ที่ควรส่วนข้างหนึ่ง. ถ้าในวิหารมีหยากเยื่อ พึงกวาดแต่เพดานลงมาก่อน กรอบหน้าต่างและมุมห้อง พึงเช็ดเสีย ถ้าฝาเขาทำบริกรรมด้วยน้ำมัน หรือพื้นเขาทาสีดำขึ้นรา พึงเอาผ้าเช็ดน้ำบิดแล้วเช็ดเสีย ถ้าพื้นเขามิได้ทำ พึงเอาน้ำประพรมแล้วเช็ดเสีย ระวังอย่าให้วิหารฟุ้งด้วยธุลี พึงกวาดหยากเยื่อทิ้งเสีย ณ ที่ควรส่วนข้างหนึ่ง เครื่องลาดพื้น พึงผึ่งแดด ชำระ เคาะ ปัด แล้วขนกลับปูไว้ตามเดิม เขียงรองเตียง พึงผึ่งแดด ขัด เช็ด แล้วขนกลับตั้งไว้ที่เดิม เตียงตั่งพึงผึ่งแดดขัดสี เคาะเสีย ยกต่ำๆ อย่าให้ครูดสี กระทบกระแทกบานและกรอบประตู ขนกลับไปให้ดีๆ แล้วตั้งไว้ตามเดิม ฟูก หมอน ผ้าปูนั่ง ผ้าปูนอน พึงผึ่งแดดทำให้สะอาด ตบเสีย แล้วนำกลับวางปูไว้ตามเดิม กระโถน พนักอิง พึงผึ่งแดด เช็ด ถูเสีย แล้วขนกลับตั้งไว้ตามเดิมพึงเก็บบาตรจีวร เมื่อเก็บบาตร พึงเอามือข้างหนึ่งจับบาตร เอามือข้างหนึ่งลูบคลำใต้เตียงหรือใต้ตั่ง แล้วจึงเก็บบาตร แต่ไม่พึงเก็บบาตร บนพื้นที่ไม่มีสิ่งใดรองเมื่อเก็บจีวร พึงเอามือข้างหนึ่งถือจีวร เอามือข้างหนึ่งลูบราวจีวรหรือสายระเดียงแล้วทำชายไว้ข้างนอก ทำขนดไว้ข้างใน แล้วเก็บจีวร. ถ้าลมเจือด้วยผงคลี พัดมาแต่ทิศตะวันออก พึงปิดหน้าต่างด้านตะวันออก ถ้าพัดมาแต่ทิศตะวันตก พึงปิดหน้าต่างด้านตะวันตก ถ้าพัดมาแต่ทิศเหนือ พึงปิดหน้าต่างด้านเหนือ ถ้าพัดมาแต่ทิศใต้ พึงปิดหน้าต่างด้านใต้ ถ้าฤดูหนาวพึงเปิดหน้าต่างกลางวัน ปิดกลางคืน ถ้าฤดูร้อน พึงปิดหน้าต่างกลางวัน เปิดกลางคืน ถ้าบริเวณ ซุ้มน้ำ โรงฉัน โรงไฟ วัจจกุฎี รก พึงปัดกวาดเสีย ถ้าน้ำฉัน น้ำใช้ไม่มี พึงจัดตั้งไว้ ถ้าน้ำในหม้อชำระไม่มี พึงตักน้ำมาไว้ในหม้อชำระ ถ้าความกระสันบังเกิดแก่อาจารย์ อันเตวาสิกพึงช่วยระงับ หรือพึงวานภิกษุอื่นให้ช่วยระงับ หรือพึงทำธรรมีกถาแก่อาจารย์นั้น ถ้าความรำคาญบังเกิดแก่อาจารย์ อันเตวาสิกพึงช่วยบรรเทา หรือพึงวานภิกษุอื่นให้ช่วยบรรเทา หรือพึงทำธรรมีกถาแก่อาจารย์นั้น ถ้าความเห็นผิดบังเกิดแก่อาจารย์ อันเตวาสิกพึงให้สละเสีย หรือพึงวานภิกษุอื่นให้ช่วย หรือพึงทำธรรมีกถาแก่อาจารย์นั้น. ถ้าอาจารย์ต้องอาบัติหนัก ควรปริวาส อันเตวาสิกพึงทำความขวนขวายว่า ด้วยอุบายอย่างไรหนอ สงฆ์พึงให้ปริวาสแก่อาจารย์ ถ้าอาจารย์ควรชักเข้าหาอาบัติเดิม อันเตวาสิกพึงทำความขวนขวายว่า ด้วยอุบายอย่างไรหนอ สงฆ์พึงชักอาจารย์เข้าหาอาบัติเดิม ถ้าอาจารย์ควรมานัต อันเตวาสิกพึงทำความขวนขวายว่า ด้วยอุบายอย่างไรหนอ สงฆ์พึงให้มานัตแก่อาจารย์ ถ้าอาจารย์ควรอัพภาน อันเตวาสิกพึงทำความขวนขวายว่า ด้วยอุบายอย่างไรหนอ สงฆ์พึงอัพภานอาจารย์. ถ้าสงฆ์ปรารถนาจะทำกรรมแก่อาจารย์ คือ ตัชชนียกรรม นิยสกรรม ปัพพาชนียกรรม ปฏิสารณียกรรม หรืออุกเขปนียกรรม อันเตวาสิกพึงทำความขวนขวายว่า ด้วยอุบายอย่างไรหนอ สงฆ์ไม่พึงทำกรรมแก่อาจารย์ หรือสงฆ์พึงน้อมไปเพื่อกรรมสถานเบา หรืออาจารย์นั้นถูกสงฆ์ลงตัชชนียกรรม นิยสกรรม ปัพพาชนียกรรม ปฏิสารณียกรรม หรืออุกเขปนียกรรมแล้ว อันเตวาสิกพึงทำความขวนขวายว่า ด้วยอุบายอย่างไรหนอ อาจารย์พึงประพฤติชอบ พึงหายเย่อหยิ่ง พึงประพฤติแก้ตัว สงฆ์พึงระงับกรรมนั้นเสีย. ถ้าจีวรของอาจารย์จะต้องซัก อันเตวาสิกพึงซัก หรือพึงทำความขวนขวายว่า ด้วยอุบายอย่างไรหนอ ใครๆ พึงซักจีวรของอาจารย์ ถ้าจีวรของอาจารย์จะต้องทำ อันเตวาสิกพึงทำหรือพึงทำความขวนขวายว่า ด้วยอุบายอย่างไรหนอ ใครๆ พึงทำจีวรของอาจารย์ ถ้าน้ำย้อมของอาจารย์จะต้องต้ม อันเตวาสิกพึงต้ม หรือพึงทำความขวนขวายว่า ด้วยอุบายอย่างไรหนอ ใครๆ พึงต้มน้ำย้อมของอาจารย์ ถ้าจีวรของอาจารย์จะต้องย้อม อันเตวาสิกพึงย้อม หรือพึงทำความขวนขวายว่า ด้วยอุบายอย่างไรหนอ ใครๆ พึงย้อมจีวรของอาจารย์ เมื่อย้อมจีวร พึงย้อมพลิกกลับไปกลับมาให้ดีๆ เมื่อหยาดน้ำย้อมยังหยดไม่ขาดสาย ไม่พึงหลีกไปเสีย. อันเตวาสิกไม่บอกอาจารย์ก่อน ไม่พึงให้บาตรแก่ภิกษุบางรูป ไม่พึงรับบาตรของภิกษุบางรูป ไม่พึงให้จีวรแก่ภิกษุบางรูป ไม่พึงรับจีวรของภิกษุบางรูป ไม่พึงให้บริขารแก่ภิกษุบางรูป ไม่พึงรับบริขารของภิกษุบางรูป ไม่พึงปลงผมให้ภิกษุบางรูป ไม่พึงให้ภิกษุบางรูปปลงผมให้ ไม่พึงทำบริกรรมแก่ภิกษุบางรูป ไม่พึงให้ภิกษุบางรูปทำบริกรรมให้ ไม่พึงทำความขวนขวายแก่ภิกษุบางรูป ไม่พึงสั่งให้ภิกษุบางรูปทำความขวนขวาย ไม่พึงเป็นปัจฉาสมณะของภิกษุบางรูป ไม่พึงพาภิกษุบางรูปไปเป็นปัจฉาสมณะ ไม่พึงนำบิณฑบาตไปให้ภิกษุบางรูป ไม่พึงให้ภิกษุบางรูปนำบิณฑบาตมาให้ ไม่บอกลาอาจารย์ก่อน ไม่พึงเข้าบ้าน ไม่พึงไปป่าช้า ไม่พึงหลีกไปสู่ทิศ ถ้าอาจารย์อาพาธ พึงพยาบาล จนตลอดชีวิต พึงรอจนกว่าจะหาย. 
อนุชานามิ ภิกฺขเว พฺยตฺเตน ภิกฺขุนา ปฏิพเลน ทสวสฺเสน วา อติเรกทสวสฺเสน วา อุปสมฺปาเทตุ”นฺติ.      ๗๗. เตน โข ปน สมเยน ภิกฺขู อุปชฺฌาเยสุ ปกฺกนฺเตสุปิ วิพฺภนฺเตสุปิ กาลงฺกเตสุปิ ปกฺขสงฺกนฺเตสุปิ อนาจริยกา อโนวทิยมานา อนนุสาสิยมานา ทุนฺนิวตฺถา ทุปฺปารุตา อนากปฺปสมฺปนฺนา ปิณฺฑาย จรนฺติ มนุสฺสานํ ภุญฺชมานานํ อุปริโภชเนปิ อุตฺติฏฺฐปตฺตํ อุปนาเมนฺติ อุปริขาทนีเยปิ อุปริสายนีเยปิ อุปริปานีเยปิ อุตฺติฏฺฐปตฺตํ อุปนาเมนฺติ สามํ สูปมฺปิ โอทนมฺปิ วิญฺญาเปตฺวา ภุญฺชนฺติ ภตฺตคฺเคปิ อุจฺจาสทฺทา มหาสทฺทา วิหรนฺติ. มนุสฺสา อุชฺฌายนฺติ ขิยฺยนฺติ วิปาเจนฺติ “กถญฺหิ นาม สมณา สกฺยปุตฺติยา ทุนฺนิวตฺถา ทุปฺปารุตา อนากปฺปสมฺปนฺนา ปิณฺฑาย จริสฺสนฺติ มนุสฺสานํ ภุญฺชมานานํ อุปริโภชเนปิ อุตฺติฏฺฐปตฺตํ อุปนาเมสฺสนฺติ อุปริขาทนีเยปิ อุปริสายนีเยปิ อุปริปานีเยปิ อุตฺติฏฺฐปตฺตํ อุปนาเมสฺสนฺติ สามํ สูปมฺปิ โอทนมฺปิ วิญฺญาเปตฺวา ภุญฺชิสฺสนฺติ ภตฺตคฺเคปิ อุจฺจาสทฺทา มหาสทฺทา วิหริสฺสนฺติ เสยฺยถาปิ พฺราหฺมณา พฺราหฺมณโภชเน”ติ. อสฺโสสุํ โข ภิกฺขู เตสํ มนุสฺสานํ อุชฺฌายนฺตานํ ขิยฺยนฺตานํ วิปาเจนฺตานํ ฯเปฯ อถ โข เต ภิกฺขู ภควโต เอตมตฺถํ อาโรเจสุํ. สจฺจํ กิร ภิกฺขเวฯเปฯ สจฺจํ ภควาติฯเปฯ 
ācariyavattaṃ niṭṭhitaṃ. ||32|| 
 
อาจริยวัตร จบ 
วิครหิตฺวา ธมฺมึ กถํ กตฺวา ภิกฺขู อามนฺเตสิ “อนุชานามิ ภิกฺขเว อาจริยํ. 
ācariyena bhikkhave antevāsikamhi sammāvattitabbaṃ, tatrāyaṃ sammāvattanā:  ācariyena bhikkhave antevāsiko saṃgahetabbo anuggahetabbo uddesena paripucchāya ovādena anusāsaniyā. sace ācariyassa patto hoti, antevāsikassa patto na hoti, ācariyena antevāsikassa patto dātabbo ussukkaṃ vā kātabbaṃ kin ti nu kho antevāsikassa patto uppajjiyethā ’ti.  sace ācariyassa cīvaraṃ . . . (= I.26.1-11; instead of upajjhāyo, etc., read ācariyo; instead of saddhivihāriko, etc., read antevāsiko) . . . sace antevāsiko gilāno hoti, yāvajīvaṃ upaṭṭhātabbo, vuṭṭhānassa āgametabban ti. |1| 
End of the duties towards an âkariya.  'The âkariya, O Bhikkhus, ought to observe a strict conduct towards his antevâsika' (&c., as in chap. 26).   
อันเตวาสิกวัตร [๙๔] ดูกรภิกษุทั้งหลาย อาจารย์พึงประพฤติชอบในอันเตวาสิก วิธีประพฤติชอบในอันเตวาสิกนั้น ดังต่อไปนี้:-  ดูกรภิกษุทั้งหลาย อาจารย์พึงสงเคราะห์ อนุเคราะห์อันเตวาสิก ด้วยสอนบาลีและอรรถกถา ด้วยให้โอวาทและอนุศาสน์. ถ้าอาจารย์มีบาตร อันเตวาสิกไม่มีบาตร อาจารย์พึงให้บาตรแก่อันเตวาสิก หรือพึงทำความขวนขวายว่า ด้วยอุบายอย่างไรหนอ บาตรพึงบังเกิดแก่อันเตวาสิก  ถ้าอาจารย์มีจีวร อันเตวาสิกไม่มีจีวร อาจารย์พึงให้จีวรแก่อันเตวาสิก หรือพึงทำความขวนขวายว่า ด้วยอุบายอย่างไรหนอ จีวรพึงบังเกิดแก่อันเตวาสิก ถ้าอาจารย์มีบริขาร อันเตวาสิกไม่มีบริขาร อาจารย์พึงให้บริขารแก่อันเตวาสิก หรือพึงทำความขวนขวายว่า ด้วยอุบายอย่างไรหนอ บริขารพึงบังเกิดแก่อันเตวาสิก. ถ้าอันเตวาสิกอาพาธ อาจารย์ลุกแต่เช้าตรู่ แล้วพึงให้ไม้ชำระฟัน ให้น้ำล้างหน้าปูอาสนะไว้ ถ้ายาคูมี พึงล้างภาชนะ แล้วนำยาคูเข้าไปให้ เมื่ออันเตวาสิกดื่มยาคูแล้ว พึงให้น้ำรับภาชนะมา ถือต่ำๆ อย่าให้กระทบกัน ล้างให้สะอาดแล้วเก็บไว้ เมื่ออันเตวาสิกลุกแล้ว พึงเก็บอาสนะ ถ้าที่นั้นรก พึงกวาดที่นั้นเสีย. ถ้าอันเตวาสิกประสงค์จะเข้าบ้าน พึงให้ผ้านุ่ง พึงรับผ้านุ่งผลัดมา พึงให้ประคตเอว พึงพับผ้าสังฆาฏิเป็นชั้นให้ พึงล้างบาตรแล้วให้พร้อมทั้งน้ำด้วย พึงปูผ้าอาสนะที่นั่งฉันไว้ด้วยกำหนดในใจว่า เพียงเวลาเท่านี้ อันเตวาสิกจักกลับมา น้ำล้างเท้า ตั่งรองเท้า กระเบื้องเช็ดเท้า พึงเตรียมตั้งไว้ พึงลุกขึ้นรับบาตรและจีวร พึงให้ผ้านุ่งผลัด พึงรับผ้านุ่งมา. ถ้าจีวรชุ่มเหงื่อ พึงผึ่งแดดไว้ครู่หนึ่ง แต่ไม่พึงผึ่งทิ้งไว้ที่แดด พึงพับจีวร เมื่อพับจีวร พึงพับให้เหลื่อมมุมกัน ๔ นิ้ว ด้วยตั้งใจมิให้มีรอยพับตรงกลาง พึงทำประคตเอวไว้ในขนดอันตรวาสก. ถ้าบิณฑบาตมี และอันเตวาสิกประสงค์จะฉัน พึงให้น้ำแล้วนำบิณฑบาตเข้าไปให้ พึงถามอันเตวาสิกด้วยน้ำฉัน เมื่ออันเตวาสิกฉันแล้ว พึงให้น้ำ รับบาตรมา ถือต่ำๆ อย่าให้กระทบ ล้างให้สะอาด เช็ดให้แห้ง แล้วผึ่งไว้ที่แดดครู่หนึ่ง แต่ไม่พึงผึ่งทิ้งไว้ที่แดด พึงเก็บบาตรจีวร เมื่อเก็บบาตร พึงเอามือข้างหนึ่งจับบาตร เอามือข้างหนึ่งลูบคลำใต้เตียงหรือใต้ตั่ง แล้วเก็บบาตร แต่ไม่พึงเก็บบาตรไว้บนพื้นที่ไม่มีสิ่งใดรอง เมื่อเก็บจีวร เอามือข้างหนึ่งถือจีวร เอามือข้างหนึ่งลูบราวจีวรหรือสายระเดียง แล้วทำชายไว้ข้างนอก ทำขนดไว้ข้างใน แล้วจึงเก็บจีวร เมื่ออันเตวาสิกลุกแล้ว พึงเก็บอาสนะ เก็บน้ำล้างเท้า ตั่งรองเท้า กระเบื้องเช็ดเท้า ถ้าที่นั้นรก พึงกวาดที่นั้นเสีย. ถ้าอันเตวาสิกใคร่จะสรงน้ำ พึงจัดน้ำสรงให้ ถ้าต้องการน้ำเย็น พึงจัดน้ำเย็นให้ ถ้าต้องการน้ำร้อน พึงจัดน้ำร้อนให้. ถ้าอันเตวาสิกประสงค์จะเข้าเรือนไฟ พึงบดจุณ แช่ดิน ถือตั่งสำหรับเรือนไฟไปให้ตั่งสำหรับเรือนไฟ แล้วรับจีวรมาวางไว้ ณ ที่ควรส่วนข้างหนึ่ง พึงให้จุณ ให้ดิน ถ้าอุตสาหะอยู่ พึงเข้าเรือนไฟ เมื่อเข้าเรือนไฟ พึงเอาดินทาหน้า ปิดทั้งข้างหน้าทั้งข้างหลัง แล้วเข้าเรือนไฟ ไม่พึงนั่งเบียดภิกษุผู้เถระ ไม่พึงห้ามกันอาสนะภิกษุใหม่ พึงทำบริกรรมแก่อันเตวาสิกในเรือนไฟ เมื่อออกจากเรือนไฟ พึงถือตั่งสำหรับเรือนไฟ แล้วปิดทั้งข้างหน้าทั้งข้างหลัง ออกจากเรือนไฟ พึงทำบริกรรมแก่อันเตวาสิกแม้ในน้ำ อาบเสร็จแล้วพึงขึ้นมาก่อน ทำตัวของตนให้แห้งน้ำ นุ่งผ้าแล้วพึงเช็ดน้ำจากตัวของอันเตวาสิก พึงให้ผ้านุ่ง พึงให้ผ้าสังฆาฏิ พึงถือตั่งสำหรับเรือนไฟมาก่อน แล้วปูอาสนะไว้ เตรียมน้ำล้างเท้า ตั่งรองเท้า กระเบื้องเช็ดเท้าไว้ พึงถามอันเตวาสิกด้วยน้ำฉัน. อันเตวาสิกอยู่ในวิหารแห่งใด ถ้าวิหารแห่งนั้นรก ถ้าอุตสาหะอยู่ พึงปัดกวาดเสีย เมื่อปัดกวาดวิหาร พึงขนบาตรจีวรออกก่อน แล้ววางไว้ ณ ที่ควรส่วนข้างหนึ่ง พึงขนผ้าปูนั่งและผ้าปูนอน ฟูก หมอน ออกวางไว้ ณ ที่ควรส่วนข้างหนึ่ง เตียงตั่งอาจารย์พึงยกต่ำๆ อย่าให้ครูดสี อย่าให้กระทบกระแทกบานและกรอบประตู ขนออกให้เรียบร้อย แล้วตั้งไว้ ณ ที่ควรส่วนข้างหนึ่ง เขียงรองเตียง กระโถน พนักอิง พึงขนออกวางไว้ ณ ที่ควรส่วนข้างหนึ่ง เครื่องปูพื้นพึงสังเกตที่ปูไว้เดิม แล้วขนออกวางไว้ ณ ที่ควรส่วนข้างหนึ่ง. ถ้าในวิหารมีหยากเยื่อ พึงกวาดแต่เพดานลงมาก่อน กรอบหน้าต่างและมุมห้อง พึงเช็ดเสีย ถ้าฝาเขาทำบริกรรมด้วยน้ำมัน พื้นเขาทาสีดำขึ้นรา พึงเอาผ้าชุบน้ำบิดแล้วเช็ดเสีย ถ้าพื้นเขามิได้ทำ พึงเอาน้ำประพรมแล้วเช็ดเสีย ระวังอย่าให้วิหารฟุ้งด้วยธุลี พึงกวาดหยากเยื่อทิ้งเสีย ณ ที่ควรส่วนข้างหนึ่ง เครื่องลาดพื้น พึงผึ่งแดด ชำระ เคาะ ปัดเสีย ขนกลับปูไว้ตามเดิม เขียงรองเตียง พึงผึ่งแดด ขัด เช็ด เสีย ขนกลับตั้งไว้ที่เดิม เตียงตั่งพึงผึ่งแดด ขัดสี เคาะเสีย ยกต่ำๆ อย่าให้ครูดสี อย่าให้กระทบกระแทกบานและกรอบประตู ขนกลับไปให้ดีๆ แล้วตั้งไว้ตามเดิม ฟูก หมอน ผ้าปูนั่ง ผ้าปูนอน พึงผึ่งแดด ทำให้สะอาด ตบเสีย แล้วนำกลับวางปูไว้ตามเดิม กระโถน พนักอิง พึงผึ่งแดด เช็ด ถูเสีย แล้วขนกลับตั้งไว้ตามเดิม พึงเก็บบาตรจีวร เมื่อเก็บบาตร พึงเอามือข้างหนึ่งจับบาตร เอามือข้างหนึ่งลูบคลำใต้เตียงหรือใต้ตั่ง แล้วจึงเก็บบาตร แต่ไม่พึงวางบาตรบนพื้นที่ไม่มีสิ่งใดรอง เมื่อเก็บจีวร พึงเอามือข้างหนึ่งถือจีวร เอามือข้างหนึ่งลูบราวจีวร หรือสายระเดียงแล้วทำชายไว้ข้างนอก ทำขนดไว้ข้างใน แล้วจึงเก็บจีวร. ถ้าลมเจือด้วยผงคลีพัดมาแต่ทิศตะวันออก พึงปิดหน้าต่างด้านตะวันออก ถ้าพัดมาแต่ทิศตะวันตก พึงปิดหน้าต่างด้านตะวันตก ถ้าพัดมาแต่ทิศเหนือ พึงปิดหน้าต่างด้านเหนือ ถ้าพัดมาแต่ทิศใต้ พึงปิดหน้าต่างด้านใต้ ถ้าฤดูหนาวพึงเปิดหน้าต่างกลางวัน ปิดกลางคืน ถ้าฤดูร้อน พึงปิดหน้าต่างกลางวัน เปิดกลางคืน. ถ้าบริเวณ ซุ้มน้ำ โรงฉัน โรงไฟ วัจจกุฎี รก พึงปัดกวาดเสีย ถ้าน้ำฉัน น้ำใช้ไม่มี พึงจัดตั้งไว้ ถ้าน้ำในหม้อชำระไม่มี พึงตักน้ำไว้ในหม้อชำระ. ถ้าความกระสันบังเกิดแก่อันเตวาสิก อาจารย์พึงช่วยระงับ หรือพึงวานภิกษุอื่นให้ช่วยระงับ หรือพึงทำธรรมีกถาแก่อันเตวาสิกนั้น ถ้าความรำคาญบังเกิดแก่อันเตวาสิก อาจารย์พึงบรรเทา หรือพึงวานภิกษุอื่นให้ช่วยบรรเทา หรือพึงทำธรรมีกถาแก่อันเตวาสิกนั้น ถ้าความเห็นผิดบังเกิดแก่อันเตวาสิก อาจารย์พึงให้สละเสีย หรือพึงวานภิกษุอื่นให้ช่วย หรือพึงทำธรรมีกถาแก่อันเตวาสิกนั้น. ถ้าอันเตวาสิกต้องอาบัติหนัก ควรปริวาส อาจารย์พึงทำความขวนขวายว่า ด้วยอุบายอย่างไรหนอ สงฆ์พึงให้ปริวาสแก่อันเตวาสิก ถ้าอันเตวาสิกควรชักเข้าหาอาบัติเดิม อาจารย์พึงทำความขวนขวายว่า ด้วยอุบายอย่างไรหนอ สงฆ์พึงชักอันเตวาสิกเข้าหาอาบัติเดิม ถ้าอันเตวาสิกควรมานัต อาจารย์พึงทำความขวนขวายว่า ด้วยอุบายอย่างไรหนอ สงฆ์พึงให้มานัตแก่อันเตวาสิก ถ้าอันเตวาสิกควรอัพภาน อาจารย์พึงทำความขวนขวายว่าด้วยอุบายอย่างไรหนอ สงฆ์พึงอัพภานอันเตวาสิก. ถ้าสงฆ์ปรารถนาจะทำกรรมแก่อันเตวาสิก คือ ตัชชนียกรรม นิยสกรรม ปัพพาชนียกรรม ปฏิสารณียกรรม หรืออุกเขปนียกรรม อาจารย์พึงทำความขวนขวายว่า ด้วยอุบายอย่างไรหนอ สงฆ์ไม่พึงทำกรรมแก่อันเตวาสิก หรือสงฆ์พึงน้อมไปเพื่อกรรมสถานเบา หรืออันเตวาสิกนั้นถูกสงฆ์ลงตัชชนียกรรม นิยสกรรม ปัพพาชนียกรรม ปฏิสารณียกรรม หรืออุกเขปนียกรรมแล้ว อาจารย์พึงทำความขวนขวายว่า ด้วยอุบายอย่างไรหนอ อันเตวาสิกพึงประพฤติชอบ พึงหายเย่อหยิ่ง พึงประพฤติแก้ตัว สงฆ์พึงระงับกรรมนั้นเสีย. ถ้าจีวรของอันเตวาสิกจะต้องซัก อาจารย์พึงบอกว่า เธอพึงซักอย่างนี้ หรือพึงทำความขวนขวายว่า ด้วยอุบายอย่างไรหนอ ใครๆ พึงซักจีวรของอันเตวาสิก ถ้าจีวรของอันเตวาสิกจะต้องทำ อาจารย์พึงบอกว่า เธอพึงทำอย่างนี้ หรือพึงทำความขวนขวายว่า ด้วยอุบายอย่างไรหนอ ใครๆ พึงทำจีวรของอันเตวาสิก ถ้าน้ำย้อมของอันเตวาสิกจะต้องต้ม อาจารย์พึงบอกว่า เธอพึงต้มอย่างนี้ หรือพึงทำความขวนขวายว่า ด้วยอุบายอย่างไรหนอ ใครๆ พึงต้มน้ำย้อมของอันเตวาสิก ถ้าจีวรของอันเตวาสิกจะต้องย้อม อาจารย์พึงบอกว่า เธอพึงย้อมอย่างนี้ หรือพึงทำความขวนขวายว่า ด้วยอุบายอย่างไรหนอ ใครๆ พึงย้อมจีวรของอันเตวาสิก เมื่อย้อมจีวร พึงย้อมพลิกกลับไปกลับมาให้ดีๆ เมื่อหยาดน้ำย้อมยังหยดไม่ขาดสาย ไม่พึงหลีกไปเสีย. ถ้าอันเตวาสิกอาพาธ พึงพยาบาลจนตลอดชีวิต พึงรอจนกว่าจะหาย. 
อาจริโย ภิกฺขเว อนฺเตวาสิกมฺหิ ปุตฺตจิตฺตํ อุปฏฺฐาเปสฺสติ อนฺเตวาสิโก อาจริยมฺหิ ปิตุจิตฺตํ อุปฏฺฐาเปสฺสติ.  เอวํ เต อญฺญมญฺญํ สคารวา สปฺปติสฺสา สภาควุตฺติโน วิหรนฺตา อิมสฺมึ ธมฺมวินเย วุทฺธึ วิรุฬฺหึ เวปุลฺลํ อาปชฺชิสฺสนฺติ.  อนุชานามิ ภิกฺขเว ทสวสฺสํ นิสฺสาย วตฺถุํ ทสวสฺเสน นิสฺสยํ ทาตุํ. 
antevāsikavattaṃ. ||33|| 
 
อันเตวาสิกวัตร จบ 
เอวญฺจ ปน ภิกฺขเว อาจริโย คเหตพฺโพ. เอกํสํ อุตฺตราสงฺคํ กริตฺวา ปาเท วนฺทิตฺวา อุกฺกุฏิกํ นิสีทิตฺวา อญฺชลึ ปคฺคเหตฺวา เอวมสฺส วจนีโย 
chaṭṭhaṃ bhāṇavāraṃ. 
End of the duties towards an antevâsika. 
‘อาจริโย เม ภนฺเต โหหิ อายสฺมโต นิสฺสาย วจฺฉามิ อาจริโย เม ภนฺเต โหหิ อายสฺมโต นิสฺสาย วจฺฉามิ อาจริโย เม ภนฺเต โหหิ อายสฺมโต นิสฺสาย วจฺฉามี’ติ. 
tena kho pana samayena antevāsikā ācariyesu na sammāvattanti . . . (= I.27.1-8; instead of ācariyo, etc., read as above) . . . apaṇāmento anatisāro hotīti. |1| 
End of the sixth Bhânavâra. 
ว่าด้วยการประณาม [๙๕] ก็โดยสมัยนั้นแล อันเตวาสิกทั้งหลายไม่ประพฤติชอบในอาจารย์ทั้งหลาย. ภิกษุทั้งหลายกราบทูลเรื่องนั้นแด่พระผู้มีพระภาค. พระผู้มีพระภาคตรัสว่า ดูกรภิกษุทั้งหลาย อันเตวาสิกจะไม่ประพฤติชอบในอาจารย์ไม่ได้ รูปใดไม่ประพฤติชอบ ต้องอาบัติทุกกฏ. พวกอันเตวาสิกยังไม่ประพฤติชอบตามเดิม. ภิกษุทั้งหลายจึงกราบทูลเรื่องนั้นแด่พระผู้มีพระภาค. พระผู้มีพระภาคตรัสว่า ดูกรภิกษุทั้งหลาย เราอนุญาตให้ประณามอันเตวาสิกผู้ไม่ประพฤติชอบ. (วิธีประณาม) ดูกรภิกษุทั้งหลาย ก็อาจารย์พึงประณามอันเตวาสิกอย่างนี้ว่า ฉันประณามเธอ เธออย่าเข้ามา ณ ที่นี้ เธอจงขนบาตรจีวรของเธอออกไปเสีย หรือพึงประณามว่า เธอไม่ต้องอุปฐากฉัน ดังนี้ ก็ได้ อาจารย์ย่อมยังอันเตวาสิกให้รู้ด้วยกายก็ได้ ให้รู้ด้วยวาจาก็ได้ ให้รู้ด้วยทั้งกายและวาจาก็ได้ อันเตวาสิกชื่อว่าเป็นอันถูกประณามแล้ว ถ้ามิให้รู้ด้วยกาย มิให้รู้ด้วยวาจา มิให้รู้ด้วยทั้งกายและวาจา อันเตวาสิกไม่ชื่อว่าถูกประณาม. สมัยต่อมา พวกอันเตวาสิกถูกประณามแล้ว ไม่ขอให้อาจารย์อดโทษ. ภิกษุทั้งหลายจึงกราบทูลเรื่องนั้นแด่พระผู้มีพระภาค. พระผู้มีพระภาคตรัสว่า ดูกรภิกษุทั้งหลาย เราอนุญาตให้อันเตวาสิกขอให้อาจารย์อดโทษ. พวกอันเตวาสิกไม่ยอมขอให้อาจารย์อดโทษอย่างเดิม. ภิกษุทั้งหลายจึงกราบทูลเรื่องนั้นแด่พระผู้มีพระภาค. พระผู้มีพระภาคตรัสว่า ดูกรภิกษุทั้งหลาย อันเตวาสิกถูกประณามแล้ว จะไม่ขอให้อาจารย์อดโทษไม่ได้ รูปใดไม่ขอให้อาจารย์อดโทษ ต้องอาบัติทุกกฏ. สมัยต่อมา อาจารย์ทั้งหลายอันเหล่าอันเตวาสิกขอให้อดโทษอยู่ ก็ไม่ยอมอดโทษ. ภิกษุทั้งหลายกราบทูลเรื่องนั้นแด่พระผู้มีพระภาค. พระผู้มีพระภาคตรัสว่า ดูกรภิกษุทั้งหลาย เราอนุญาตให้อาจารย์อดโทษ. อาจารย์ทั้งหลายยังไม่ยอมอดโทษอย่างเดิม. พวกอันเตวาสิกหลีกไปเสียบ้าง สึกเสียบ้าง ไปเข้ารีดเดียรถีย์เสียบ้าง. ภิกษุทั้งหลายจึงกราบทูลเรื่องนั้นแด่พระผู้มีพระภาค. พระผู้มีพระภาคตรัสว่า ดูกรภิกษุทั้งหลาย อาจารย์อันพวกอันเตวาสิกขอให้อดโทษอยู่ จะไม่ยอมอดโทษไม่ได้ รูปใดไม่ยอมอดโทษ ต้องอาบัติทุกกฏ. สมัยต่อมา อาจารย์ทั้งหลายประณามอันเตวาสิกผู้ประพฤติชอบ ไม่ประณามอันเตวาสิกผู้ประพฤติมิชอบ. ภิกษุทั้งหลาย กราบทูลเรื่องนั้นแด่พระผู้มีพระภาค. พระผู้มีพระภาคตรัสว่า ดูกรภิกษุทั้งหลาย อันเตวาสิกผู้ประพฤติชอบ อาจารย์ไม่พึงประณาม รูปใดประณาม ต้องอาบัติทุกกฏ. แต่อันเตวาสิกผู้ประพฤติมิชอบ อาจารย์จะไม่ประณามไม่ได้ รูปใดไม่ประณามต้องอาบัติทุกกฏ. (องค์แห่งการประณาม) ดูกรภิกษุทั้งหลาย อาจารย์พึงประณามอันเตวาสิกผู้ประกอบด้วยองค์ ๕ คือ ๑. หาความรักใคร่อย่างยิ่งในอาจารย์มิได้ ๒. หาความเลื่อมใสอย่างยิ่งมิได้ ๓. หาความละอายอย่างยิ่งมิได้ ๔. หาความเคารพอย่างยิ่งมิได้ และ ๕. หาความหวังดีต่ออย่างยิ่งมิได้ ดูกรภิกษุทั้งหลาย อาจารย์พึงประณามอันเตวาสิกผู้ประกอบด้วยองค์ ๕ นี้แล. ดูกรภิกษุทั้งหลาย อาจารย์ไม่พึงประณามอันเตวาสิก ผู้ประกอบด้วยองค์ ๕ คือ ๑. มีความรักใคร่อย่างยิ่งในอาจารย์ ๒. มีความเลื่อมใสอย่างยิ่ง ๓. มีความละอายอย่างยิ่ง ๔. มีความเคารพอย่างยิ่ง และ ๕. มีความหวังดีต่ออย่างยิ่ง ดูกรภิกษุทั้งหลาย อาจารย์ไม่พึงประณามอันเตวาสิก ผู้ประกอบด้วยองค์ ๕ นี้แล. ดูกรภิกษุทั้งหลาย อันเตวาสิกผู้ประกอบด้วยองค์ ๕ ควรประณาม คือ ๑. หาความรักใคร่อย่างยิ่งในอาจารย์มิได้ ๒. หาความเลื่อมใสอย่างยิ่งมิได้ ๓. หาความละอายอย่างยิ่งมิได้ ๔. หาความเคารพอย่างยิ่งมิได้ และ ๕. หาความหวังดีต่ออย่างยิ่งมิได้ ดูกรภิกษุทั้งหลาย อันเตวาสิกผู้ประกอบด้วยองค์ ๕ นี้แล ควรประณาม. ดูกรภิกษุทั้งหลาย อันเตวาสิกผู้ประกอบด้วยองค์ ๕ ไม่ควรประณาม คือ ๑. มีความรักใคร่อย่างยิ่งในอาจารย์ ๒. มีความเลื่อมใสอย่างยิ่ง ๓. มีความละอายอย่างยิ่ง ๔. มีความเคารพอย่างยิ่ง และ ๕. มีความหวังดีต่ออย่างยิ่ง ดูกรภิกษุทั้งหลาย อันเตวาสิกผู้ประกอบด้วยองค์ ๕ นี้แล ไม่ควรประณาม. ดูกรภิกษุทั้งหลาย อันเตวาสิกผู้ประกอบด้วยองค์ ๕ อาจารย์เมื่อไม่ประณาม มีโทษ เมื่อประณาม ไม่มีโทษ คือ ๑. หาความรักใคร่อย่างยิ่งในอาจารย์มิได้ ๒. หาความเลื่อมใสอย่างยิ่งมิได้ ๓. หาความละอายอย่างยิ่งมิได้ ๔. หาความเคารพอย่างยิ่งมิได้ และ ๕. หาความหวังดีต่ออย่างยิ่งมิได้ ดูกรภิกษุทั้งหลาย อันเตวาสิกผู้ประกอบด้วยองค์ ๕ นี้แล อาจารย์เมื่อไม่ประณาม มีโทษ เมื่อประณาม ไม่มีโทษ. ดูกรภิกษุทั้งหลาย อันเตวาสิกผู้ประกอบด้วยองค์ ๕ อาจารย์เมื่อประณามมีโทษ เมื่อไม่ประณาม ไม่มีโทษ คือ ๑. มีความรักใคร่อย่างยิ่งในอาจารย์ ๒. มีความเลื่อมใสอย่างยิ่ง ๓. มีความละอายอย่างยิ่ง ๔. มีความเคารพอย่างยิ่ง และ ๕. มีความหวังดีต่ออย่างยิ่ง ดูกรภิกษุทั้งหลาย อันเตวาสิกผู้ประกอบด้วยองค์ ๕ นี้แล อาจารย์เมื่อประณาม มีโทษ เมื่อไม่ประณาม ไม่มีโทษ. 
‘สาหูติ’ วา ‘ลหูติ’ วา ‘โอปายิก’นฺติ วา ‘ปติรูป’นฺติ วา ‘ปาสาทิเกน สมฺปาเทหี’ติ วา กาเยน วิญฺญาเปติ วาจาย วิญฺญาเปติ กาเยน วาจาย วิญฺญาเปติ คหิโต โหติ อาจริโย น กาเยน วิญฺญาเปติ น วาจาย วิญฺญาเปติ น กาเยน วาจาย วิญฺญาเปติ น คหิโต โหติ อาจริโย. 
||34|| 
At that time the antevâsikas did not observe a proper conduct towards their âkariyas (&c., as in chap. 27. 1-8). 
๗๘. “อนฺเตวาสิเกน ภิกฺขเว อาจริยมฺหิ สมฺมา วตฺติตพฺพํ. ตตฺรายํ สมฺมาวตฺตนา 
tena kho pana samayena bhikkhū dasavass’ amhā dasavass’ amhā ’ti bālā avyattā nissayaṃ denti, dissanti ācariyā bālā, antevāsikā paṇḍitā, dissanti ācariyā avyattā, antevāsikā vyattā, dissanti ācariyā appassutā, antevāsikā bahussutā, dissanti ācariyā duppaññā, antevāsikā paññavanto.  ye te bhikkhū appi-(62)cchā, te ujjhāyanti khīyanti vipācenti: kathaṃ hi nāma bhikkhū dasavass’ amhā dasavass’ amhā ’ti bālā avyattā nissayaṃ dassanti, dissanti ācariyā bālā . . . antevāsikā paññavanto ’ti. |1| 
At that time ignorant, unlearned Bhikkhus (who said), 'We have completed ten years (since our upasampadâ), we have completed ten years,' gave a nissaya (i.e. they received young Bhikkhus as their antevâsikas); (thus) ignorant âkariyas were found and clever antevâsikas; unlearned âkariyas were found and learned antevâsikas; âkariyas were found who had small knowIedge, and antevâsikas who had great knowledgc; foolish âkariyas were found and wise antevâsikas. 
การให้นิสสัย [๙๖] ก็โดยสมัยนั้นแล ภิกษุทั้งหลายคิดว่า เรามีพรรษาได้ ๑๐ แล้ว เรามีพรรษาได้ ๑๐ แล้ว ดังนี้ แต่ยังเป็นผู้เขลา ไม่เฉียบแหลม ย่อมให้นิสสัย ปรากฏว่าพวกอาจารย์เป็นผู้เขลา พวกอันเตวาสิกเป็นผู้ฉลาด ปรากฏว่าพวกอาจารย์เป็นผู้ไม่เฉียบแหลม พวกอันเตวาสิกเป็นผู้เฉียบแหลม ปรากฏว่าพวกอาจารย์เป็นผู้ได้ยินได้ฟังน้อย พวกอันเตวาสิกเป็นผู้ได้ยินได้ฟังมาก ปรากฏว่าพวกอาจารย์เป็นผู้มีปัญญาทราม พวกอันเตวาสิกเป็นผู้มีปัญญา.  บรรดาภิกษุที่เป็นผู้มักน้อย ... ต่างก็เพ่งโทษ ติเตียน โพนทะนาว่า ไฉนภิกษุทั้งหลายจึงได้อ้างว่า เรามีพรรษาได้ ๑๐ แล้ว เรามีพรรษาได้ ๑๐ แล้ว ดังนี้ แต่ยังเป็นผู้เขลา ไม่เฉียบแหลม ให้นิสสัย ปรากฏว่าพวกอาจารย์เป็นผู้เขลา พวกอันเตวาสิกเป็นผู้ฉลาด ปรากฏว่าพวกอาจารย์เป็นผู้ไม่เฉียบแหลม พวกอันเตวาสิกเป็นผู้เฉียบแหลม ปรากฏว่าพวกอาจารย์เป็นผู้ได้ยินได้ฟังน้อย พวกอันเตวาสิกเป็นผู้ได้ยินได้ฟังมาก ปรากฏว่าพวกอาจารย์เป็นผู้มีปัญญาทราม พวกอันเตวาสิกเป็นผู้มีปัญญา 
“กาลสฺเสว อุฏฺฐาย อุปาหนํ โอมุญฺจิตฺวา เอกํสํ อุตฺตราสงฺคํ กริตฺวา ทนฺตกฏฺฐํ ทาตพฺพํ มุโขทกํ ทาตพฺพํ อาสนํ ปญฺญเปตพฺพํ.  สเจ ยาคุ โหติ ภาชนํ โธวิตฺวา ยาคุ อุปนาเมตพฺพา 
atha kho te bhikkhū bhagavato etam atthaṃ ārocesuṃ.  saccaṃ kira bhikkhave dasavass’ amhā dasavass’ amhā ’ti bālā avyattā nissayaṃ dentīti.  saccaṃ bhagavā.  vigarahi buddho bhagavā.  vigarahitvā dhammiṃ kathaṃ katvā bhikkhū āmantesi: na bhikkhave bālena avyattena nissayo dātabbo. yo dadeyya, āpatti dukkaṭassa.  anujānāmi bhikkhave vyattena bhikkhunā paṭibalena dasavassena vā atirekadasavassena vā nissayaṃ dātun ti. |2| 
The moderate Bhikkhus were annoyed (&c., as in chap. 31, 7, 8).          'Let no ignorant, unlearned Bhikkhu, O Bhikkhus, give a nissaya. If he does, he is guilty of a dukkata offence. 
แล้วกราบทูลเรื่องนั้น แด่พระผู้มีพระภาค.  ทรงสอบถาม // พระผู้มีพระภาคทรงสอบถามว่า ดูกรภิกษุทั้งหลาย ข่าวว่าภิกษุทั้งหลายอ้างว่า เรามีพรรษาได้ ๑๐ แล้ว เรามีพรรษาได้ ๑๐ แล้ว ดังนี้ แต่ยังเป็นผู้เขลา ไม่เฉียบแหลม ให้นิสสัย ปรากฏว่าพวกอาจารย์เป็นผู้เขลา ... พวกอันเตวาสิก เป็นผู้มีปัญญา จริงหรือ?  ภิกษุทั้งหลายทูลรับว่า จริง พระพุทธเจ้าข้า.  ทรงติเตียน // พระผู้มีพระภาคพุทธเจ้าทรงติเตียน ...  ครั้นแล้วทรงทำธรรมีกถารับสั่งกะภิกษุทั้งหลายว่า ดูกรภิกษุทั้งหลาย ภิกษุผู้เขลา ไม่เฉียบแหลม ไม่พึงให้นิสสัย รูปใดให้ ต้องอาบัติทุกกฏ.  ดูกรภิกษุทั้งหลาย เราอนุญาตให้ภิกษุผู้ฉลาด ผู้สามารถ มีพรรษาได้ ๑๐ หรือมีพรรษาเกิน ๑๐ ให้นิสสัย. 
ยาคุํ ปีตสฺส อุทกํ ทตฺวา ภาชนํ ปฏิคฺคเหตฺวา นีจํ กตฺวา สาธุกํ อปฺปฏิฆํสนฺเตน โธวิตฺวา ปฏิสาเมตพฺพํ. อาจริยมฺหิ วุฏฺฐิเต อาสนํ อุทฺธริตพฺพํ. สเจ โส เทโส อุกฺลาโป โหติ โส เทโส สมฺมชฺชิตพฺโพ. “สเจ อาจริโย คามํ ปวิสิตุกาโม โหติ นิวาสนํ ทาตพฺพํ ปฏินิวาสนํ ปฏิคฺคเหตพฺพํ กายพนฺธนํ ทาตพฺพํ สคุณํ กตฺวา สงฺฆาฏิโย ทาตพฺพา โธวิตฺวา ปตฺโต โสทโก ทาตพฺโพ. สเจ อาจริโย ปจฺฉาสมณํ อากงฺขติ ติมณฺฑลํ ปฏิจฺฉาเทนฺเตน ปริมณฺฑลํ นิวาเสตฺวา กายพนฺธนํ พนฺธิตฺวา สคุณํ กตฺวา สงฺฆาฏิโย ปารุปิตฺวา คณฺฐิกํ ปฏิมุญฺจิตฺวา โธวิตฺวา ปตฺตํ คเหตฺวา อาจริยสฺส ปจฺฉาสมเณน โหตพฺพํ. นาติทูเร คนฺตพฺพํ นาจฺจาสนฺเน คนฺตพฺพํ ปตฺตปริยาปนฺนํ ปฏิคฺคเหตพฺพํ. น อาจริยสฺส ภณมานสฺส อนฺตรนฺตรา กถา โอปาเตตพฺพา. อาจริโย อาปตฺติสามนฺตา ภณมาโน นิวาเรตพฺโพ. “นิวตฺตนฺเตน ปฐมตรํ อาคนฺตฺวา อาสนํ ปญฺญเปตพฺพํ ปาโททกํ ปาทปีฐํ ปาทกถลิกํ อุปนิกฺขิปิตพฺพํ ปจฺจุคฺคนฺตฺวา ปตฺตจีวรํ ปฏิคฺคเหตพฺพํ ปฏินิวาสนํ ทาตพฺพํ นิวาสนํ ปฏิคฺคเหตพฺพํ. สเจ จีวรํ สินฺนํ โหติ มุหุตฺตํ อุณฺเห โอตาเปตพฺพํ น จ อุณฺเห จีวรํ นิทหิตพฺพํ. จีวรํ สงฺฆริตพฺพํ. จีวรํ สงฺฆรนฺเตน จตุรงฺคุลํ กณฺณํ อุสฺสาเรตฺวา จีวรํ สงฺฆริตพฺพํ มา มชฺเฌ ภงฺโค อโหสีติ. โอโภเค กายพนฺธนํ กาตพฺพํ. “สเจ ปิณฺฑปาโต โหติ อาจริโย จ ภุญฺชิตุกาโม โหติ อุทกํ ทตฺวา ปิณฺฑปาโต อุปนาเมตพฺโพ. อาจริโย ปานีเยน ปุจฺฉิตพฺโพ. ภุตฺตาวิสฺส อุทกํ ทตฺวา ปตฺตํ ปฏิคฺคเหตฺวา นีจํ กตฺวา สาธุกํ อปฺปฏิฆํสนฺเตน โธวิตฺวา โวทกํ กตฺวา มุหุตฺตํ อุณฺเห โอตาเปตพฺโพ น จ อุณฺเห ปตฺโต นิทหิตพฺโพ. ปตฺตจีวรํ นิกฺขิปิตพฺพํ. ปตฺตํ นิกฺขิปนฺเตน เอเกน หตฺเถน ปตฺตํ คเหตฺวา เอเกน หตฺเถน เหฏฺฐามญฺจํ วา เหฏฺฐาปีฐํ วา ปรามสิตฺวา ปตฺโต นิกฺขิปิตพฺโพ. น จ อนนฺตรหิตาย ภูมิยา ปตฺโต นิกฺขิปิตพฺโพ. จีวรํ นิกฺขิปนฺเตน เอเกน หตฺเถน จีวรํ คเหตฺวา เอเกน หตฺเถน จีวรวํสํ วา จีวรรชฺชุํ วา ปมชฺชิตฺวา ปารโต อนฺตํ โอรโต โภคํ กตฺวา จีวรํ นิกฺขิปิตพฺพํ. อาจริยมฺหิ วุฏฺฐิเต อาสนํ อุทฺธริตพฺพํ ปาโททกํ ปาทปีฐํ ปาทกถลิกํ ปฏิสาเมตพฺพํ. สเจ โส เทโส อุกฺลาโป โหติ โส เทโส สมฺมชฺชิตพฺโพ. “สเจ อาจริโย นหายิตุกาโม โหติ นหานํ ปฏิยาเทตพฺพํ. สเจ สีเตน อตฺโถ โหติ สีตํ ปฏิยาเทตพฺพํ. สเจ อุณฺเหน อตฺโถ โหติ อุณฺหํ ปฏิยาเทตพฺพํ. “สเจ อาจริโย ชนฺตาฆรํ ปวิสิตุกาโม โหติ จุณฺณํ สนฺเนตพฺพํ มตฺติกา เตเมตพฺพา ชนฺตาฆรปีฐํ อาทาย อาจริยสฺส ปิฏฺฐิโต ปิฏฺฐิโต คนฺตฺวา ชนฺตาฆรปีฐํ ทตฺวา จีวรํ ปฏิคฺคเหตฺวา เอกมนฺตํ นิกฺขิปิตพฺพํ จุณฺณํ ทาตพฺพํ มตฺติกา ทาตพฺพา. สเจ อุสฺสหติ ชนฺตาฆรํ ปวิสิตพฺพํ. ชนฺตาฆรํ ปวิสนฺเตน มตฺติกาย มุขํ มกฺเขตฺวา ปุรโต จ ปจฺฉโต จ ปฏิจฺฉาเทตฺวา ชนฺตาฆรํ ปวิสิตพฺพํ. น เถเร ภิกฺขู อนุปขชฺช นิสีทิตพฺพํ. น นวา ภิกฺขู อาสเนน ปฏิพาหิตพฺพา. ชนฺตาฆเร อาจริยสฺส ปริกมฺมํ กาตพฺพํ. ชนฺตาฆรา นิกฺขมนฺเตน ชนฺตาฆรปีฐํ อาทาย ปุรโต จ ปจฺฉโต จ ปฏิจฺฉาเทตฺวา ชนฺตาฆรา นิกฺขมิตพฺพํ. “อุทเกปิ อาจริยสฺส ปริกมฺมํ กาตพฺพํ. นหาเตน ปฐมตรํ อุตฺตริตฺวา อตฺตโน คตฺตํ โวทกํ กตฺวา นิวาเสตฺวา อาจริยสฺส คตฺตโต อุทกํ ปมชฺชิตพฺพํ นิวาสนํ ทาตพฺพํ สงฺฆาฏิ ทาตพฺพา ชนฺตาฆรปีฐํ อาทาย ปฐมตรํ อาคนฺตฺวา อาสนํ ปญฺญเปตพฺพํ ปาโททกํ ปาทปีฐํ ปาทกถลิกํ อุปนิกฺขิปิตพฺพํ. อาจริโย ปานีเยน ปุจฺฉิตพฺโพ. สเจ อุทฺทิสาเปตุกาโม โหติ อุทฺทิสาเปตพฺโพ. สเจ ปริปุจฺฉิตุกาโม โหติ ปริปุจฺฉิตพฺโพ. “ยสฺมึ วิหาเร อาจริโย วิหรติ สเจ โส วิหาโร อุกฺลาโป โหติ สเจ อุสฺสหติ โสเธตพฺโพ. วิหารํ โสเธนฺเตน ปฐมํ ปตฺตจีวรํ นีหริตฺวา เอกมนฺตํ นิกฺขิปิตพฺพํ นิสีทนปจฺจตฺถรณํ นีหริตฺวา เอกมนฺตํ นิกฺขิปิตพฺพํ ภิสิพิพฺโพหนํ นีหริตฺวา เอกมนฺตํ นิกฺขิปิตพฺพํ มญฺโจ นีจํ กตฺวา สาธุกํ อปฺปฏิฆํสนฺเตน อสงฺฆฏฺเฏนฺเตน กวาฏปิฏฺฐํ นีหริตฺวา เอกมนฺตํ นิกฺขิปิตพฺโพ ปีฐํ นีจํ กตฺวา สาธุกํ อปฺปฏิฆํสนฺเตน อสงฺฆฏฺเฏนฺเตน กวาฏปิฏฺฐํ นีหริตฺวา เอกมนฺตํ นิกฺขิปิตพฺพํ มญฺจปฏิปาทกา นีหริตฺวา เอกมนฺตํ นิกฺขิปิตพฺพา เขฬมลฺลโก นีหริตฺวา เอกมนฺตํ นิกฺขิปิตพฺโพ อปสฺเสนผลกํ นีหริตฺวา เอกมนฺตํ นิกฺขิปิตพฺพํ ภูมตฺถรณํ ยถาปญฺญตฺตํ สลฺลกฺเขตฺวา นีหริตฺวา เอกมนฺตํ นิกฺขิปิตพฺพํ. สเจ วิหาเร สนฺตานกํ โหติ อุลฺโลกา ปฐมํ โอหาเรตพฺพํ อาโลกสนฺธิกณฺณภาคา ปมชฺชิตพฺพา. สเจ เครุกปริกมฺมกตา ภิตฺติ กณฺณกิตา โหติ โจฬกํ เตเมตฺวา ปีเฬตฺวา ปมชฺชิตพฺพา. สเจ กาฬวณฺณกตา ภูมิ กณฺณกิตา โหติ โจฬกํ เตเมตฺวา ปีเฬตฺวา ปมชฺชิตพฺพา. สเจ อกตา โหติ ภูมิ อุทเกน ปริปฺโผสิตฺวา สมฺมชฺชิตพฺพา มา วิหาโร รเชน อุหญฺญีติ. สงฺการํ วิจินิตฺวา เอกมนฺตํ ฉฑฺเฑตพฺพํ. “ภูมตฺถรณํ โอตาเปตฺวา โสเธตฺวา ปปฺโผเฏตฺวา อติหริตฺวา ยถาปญฺญตฺตํ ปญฺญเปตพฺพํ. มญฺจปฏิปาทกา โอตาเปตฺวา ปมชฺชิตฺวา อติหริตฺวา ยถาฐาเน ฐเปตพฺพา. มญฺโจ โอตาเปตฺวา โสเธตฺวา ปปฺโผเฏตฺวา นีจํ กตฺวา สาธุกํ อปฺปฏิฆํสนฺเตน อสงฺฆฏฺเฏนฺเตน กวาฏปิฏฺฐํ อติหริตฺวา ยถาปญฺญตฺตํ ปญฺญเปตพฺโพ. ปีฐํ โอตาเปตฺวา โสเธตฺวา ปปฺโผเฏตฺวา นีจํ กตฺวา สาธุกํ อปฺปฏิฆํสนฺเตน อสงฺฆฏฺเฏนฺเตน กวาฏปิฏฺฐํ อติหริตฺวา ยถาปญฺญตฺตํ ปญฺญเปตพฺพํ. ภิสิพิพฺโพหนํ โอตาเปตฺวา โสเธตฺวา ปปฺโผเฏตฺวา อติหริตฺวา ยถาปญฺญตฺตํ ปญฺญเปตพฺพํ. นิสีทนปจฺจตฺถรณํ โอตาเปตฺวา โสเธตฺวา ปปฺโผเฏตฺวา อติหริตฺวา ยถาปญฺญตฺตํ ปญฺญเปตพฺพํ. เขฬมลฺลโก โอตาเปตฺวา ปมชฺชิตฺวา อติหริตฺวา ยถาฐาเน ฐเปตพฺโพ อปสฺเสนผลกํ โอตาเปตฺวา ปมชฺชิตฺวา อติหริตฺวา ยถาฐาเน ฐเปตพฺพํ. ปตฺตจีวรํ นิกฺขิปิตพฺพํ. ปตฺตํ นิกฺขิปนฺเตน เอเกน หตฺเถน ปตฺตํ คเหตฺวา เอเกน หตฺเถน เหฏฺฐามญฺจํ วา เหฏฺฐาปีฐํ วา ปรามสิตฺวา ปตฺโต นิกฺขิปิตพฺโพ. น จ อนนฺตรหิตาย ภูมิยา ปตฺโต นิกฺขิปิตพฺโพ. จีวรํ นิกฺขิปนฺเตน เอเกน หตฺเถน จีวรํ คเหตฺวา เอเกน หตฺเถน จีวรวํสํ วา จีวรรชฺชุํ วา ปมชฺชิตฺวา ปารโต อนฺตํ โอรโต โภคํ กตฺวา จีวรํ นิกฺขิปิตพฺพํ. “สเจ ปุรตฺถิมา สรชา วาตา วายนฺติ ปุรตฺถิมา วาตปานา ถเกตพฺพา. สเจ ปจฺฉิมา สรชา วาตา วายนฺติ ปจฺฉิมา วาตปานา ถเกตพฺพา. สเจ อุตฺตรา สรชา วาตา วายนฺติ อุตฺตรา วาตปานา ถเกตพฺพา สเจ ทกฺขิณา สรชา วาตา วายนฺติ ทกฺขิณา วาตปานา ถเกตพฺพา. สเจ สีตกาโล โหติ ทิวา วาตปานา วิวริตพฺพา รตฺตึ ถเกตพฺพา. สเจ อุณฺหกาโล โหติ ทิวา วาตปานา ถเกตพฺพา รตฺตึ วิวริตพฺพา. “สเจ ปริเวณํ อุกฺลาปํ โหติ ปริเวณํ สมฺมชฺชิตพฺพํ. สเจ โกฏฺฐโก อุกฺลาโป โหติ โกฏฺฐโก สมฺมชฺชิตพฺโพ. สเจ อุปฏฺฐานสาลา อุกฺลาปา โหติ อุปฏฺฐานสาลา สมฺมชฺชิตพฺพา. สเจ อคฺคิสาลา อุกฺลาปา โหติ อคฺคิสาลา สมฺมชฺชิตพฺพา. สเจ วจฺจกุฏิ อุกฺลาปา โหติ วจฺจกุฏิ สมฺมชฺชิตพฺพา. สเจ ปานียํ น โหติ ปานียํ อุปฏฺฐาเปตพฺพํ. สเจ ปริโภชนียํ น โหติ ปริโภชนียํ อุปฏฺฐาเปตพฺพํ สเจ อาจมนกุมฺภิยํ อุทกํ น โหติ อาจมนกุมฺภิยา อุทกํ อาสิญฺจิตพฺพํ. “สเจ อาจริยสฺส อนภิรติ อุปฺปนฺนา โหติ อนฺเตวาสิเกน วูปกาเสตพฺโพ วูปกาสาเปตพฺโพ ธมฺมกถา วาสฺส กาตพฺพา. สเจ อาจริยสฺส กุกฺกุจฺจํ อุปฺปนฺนํ โหติ อนฺเตวาสิเกน วิโนเทตพฺพํ วิโนทาเปตพฺพํ ธมฺมกถา วาสฺส กาตพฺพา. สเจ อาจริยสฺส ทิฏฺฐิคตํ อุปฺปนฺนํ โหติ อนฺเตวาสิเกน วิเวเจตพฺพํ วิเวจาเปตพฺพํ ธมฺมกถา วาสฺส กาตพฺพา. สเจ อาจริโย ครุธมฺมํ อชฺฌาปนฺโน โหติ ปริวาสารโห อนฺเตวาสิเกน อุสฺสุกฺกํ กาตพฺพํ กินฺติ นุ โข สงฺโฆ อาจริยสฺส ปริวาสํ ทเทยฺยาติ. สเจ อาจริโย มูลาย ปฏิกสฺสนารโห โหติ อนฺเตวาสิเกน อุสฺสุกฺกํ กาตพฺพํ กินฺติ นุ โข สงฺโฆ อาจริยํ มูลาย ปฏิกสฺเสยฺยาติ. สเจ อาจริโย มานตฺตารโห โหติ อนฺเตวาสิเกน อุสฺสุกฺกํ กาตพฺพํ กินฺติ นุ โข สงฺโฆ อาจริยสฺส มานตฺตํ ทเทยฺยาติ. สเจ อาจริโย อพฺภานารโห โหติ อนฺเตวาสิเกน อุสฺสุกฺกํ กาตพฺพํ กินฺติ นุ โข สงฺโฆ อาจริยํ อพฺเภยฺยาติ สเจ สงฺโฆ อาจริยสฺส กมฺมํ กตฺตุกาโม โหติ ตชฺชนียํ วา นิยสฺสํ วา ปพฺพาชนียํ วา ปฏิสารณียํ วา อุกฺเขปนียํ วา อนฺเตวาสิเกน อุสฺสุกฺกํ กาตพฺพํ กินฺติ นุ โข สงฺโฆ อาจริยสฺส กมฺมํ น กเรยฺย ลหุกาย วา ปริณาเมยฺยาติ. กตํ วา ปนสฺส โหติ สงฺเฆน กมฺมํ ตชฺชนียํ วา นิยสฺสํ วา ปพฺพาชนียํ วา ปฏิสารณียํ วา อุกฺเขปนียํ วา อนฺเตวาสิเกน อุสฺสุกฺกํ กาตพฺพํ กินฺติ นุ โข อาจริโย สมฺมา วตฺเตยฺย โลมํ ปาเตยฺย เนตฺถารํ วตฺเตยฺย สงฺโฆ ตํ กมฺมํ ปฏิปฺปสฺสมฺเภยฺยาติ. “สเจ อาจริยสฺส จีวรํ โธวิตพฺพํ โหติ อนฺเตวาสิเกน โธวิตพฺพํ อุสฺสุกฺกํ วา กาตพฺพํ กินฺติ นุ โข อาจริยสฺส จีวรํ โธวิเยถาติ. สเจ อาจริยสฺส จีวรํ กาตพฺพํ โหติ อนฺเตวาสิเกน กาตพฺพํ อุสฺสุกฺกํ วา กาตพฺพํ กินฺติ นุ โข อาจริยสฺส จีวรํ กริเยถาติ. สเจ อาจริยสฺส รชนํ ปจิตพฺพํ โหติ อนฺเตวาสิเกน ปจิตพฺพํ อุสฺสุกฺกํ วา กาตพฺพํ กินฺติ นุ โข อาจริยสฺส รชนํ ปจิเยถาติ. สเจ อาจริยสฺส จีวรํ รชิตพฺพํ โหติ อนฺเตวาสิเกน รชิตพฺพํ อุสฺสุกฺกํ วา กาตพฺพํ กินฺติ นุ โข อาจริยสฺส จีวรํ รชิเยถาติ. จีวรํ รชนฺเตน สาธุกํ สมฺปริวตฺตกํ สมฺปริวตฺตกํ รชิตพฺพํ น จ อจฺฉินฺเน เถเว ปกฺกมิตพฺพํ. “น อาจริยํ อนาปุจฺฉา เอกจฺจสฺส ปตฺโต ทาตพฺโพ น เอกจฺจสฺส ปตฺโต ปฏิคฺคเหตพฺโพ น เอกจฺจสฺส จีวรํ ทาตพฺพํ น เอกจฺจสฺส จีวรํ ปฏิคฺคเหตพฺพํ น เอกจฺจสฺส ปริกฺขาโร ทาตพฺโพ น เอกจฺจสฺส ปริกฺขาโร ปฏิคฺคเหตพฺโพ น เอกจฺจสฺส เกสา เฉเทตพฺพา น เอกจฺเจน เกสา เฉทาเปตพฺพา น เอกจฺจสฺส ปริกมฺมํ กาตพฺพํ น เอกจฺเจน ปริกมฺมํ การาเปตพฺพํ น เอกจฺจสฺส เวยฺยาวจฺโจ กาตพฺโพ น เอกจฺเจน เวยฺยาวจฺโจ การาเปตพฺโพ น เอกจฺจสฺส ปจฺฉาสมเณน โหตพฺพํ น เอกจฺโจ ปจฺฉาสมโณ อาทาตพฺโพ น เอกจฺจสฺส ปิณฺฑปาโต นีหริตพฺโพ น เอกจฺเจน ปิณฺฑปาโต นีหราเปตพฺโพ. น อาจริยํ อนาปุจฺฉา คาโม ปวิสิตพฺโพ น สุสานํ คนฺตพฺพํ น ทิสา ปกฺกมิตพฺพา. สเจ อาจริโย คิลาโน โหติ ยาวชีวํ อุปฏฺฐาตพฺโพ วุฏฺฐานมสฺส อาคเมตพฺพ”นฺติ.  อาจริยวตฺตํ นิฏฺฐิตํ.  ๑๙. อนฺเตวาสิกวตฺตกถา  ๗๙. “อาจริเยน ภิกฺขเว อนฺเตวาสิกมฺหิ สมฺมา วตฺติตพฺพํ. ตตฺรายํ สมฺมาวตฺตนา  “อาจริเยน ภิกฺขเว อนฺเตวาสิโก สงฺคเหตพฺโพ อนุคฺคเหตพฺโพ อุทฺเทเสน ปริปุจฺฉาย โอวาเทน อนุสาสนิยา. สเจ อาจริยสฺส ปตฺโต โหติ อนฺเตวาสิกสฺส ปตฺโต น โหติ อาจริเยน อนฺเตวาสิกสฺส ปตฺโต ทาตพฺโพ อุสฺสุกฺกํ วา กาตพฺพํ กินฺติ นุ โข อนฺเตวาสิกสฺส ปตฺโต อุปฺปชฺชิเยถาติ.  สเจ อาจริยสฺส จีวรํ โหติ อนฺเตวาสิกสฺส จีวรํ น โหติ อาจริเยน อนฺเตวาสิกสฺส จีวรํ ทาตพฺพํ อุสฺสุกฺกํ วา กาตพฺพํ กินฺติ นุ โข อนฺเตวาสิกสฺส จีวรํ อุปฺปชฺชิเยถาติ. สเจ อาจริยสฺส ปริกฺขาโร โหติ อนฺเตวาสิกสฺส ปริกฺขาโร น โหติ อาจริเยน อนฺเตวาสิกสฺส ปริกฺขาโร ทาตพฺโพ อุสฺสุกฺกํ วา กาตพฺพํ กินฺติ นุ โข อนฺเตวาสิกสฺส ปริกฺขาโร อุปฺปชฺชิเยถาติ. “สเจ อนฺเตวาสิโก คิลาโน โหติ กาลสฺเสว อุฏฺฐาย ทนฺตกฏฺฐํ ทาตพฺพํ มุโขทกํ ทาตพฺพํ อาสนํ ปญฺญเปตพฺพํ. สเจ ยาคุ โหติ ภาชนํ โธวิตฺวา ยาคุ อุปนาเมตพฺพา. ยาคุํ ปีตสฺส อุทกํ ทตฺวา ภาชนํ ปฏิคฺคเหตฺวา นีจํ กตฺวา สาธุกํ อปฺปฏิฆํสนฺเตน โธวิตฺวา ปฏิสาเมตพฺพํ. อนฺเตวาสิกมฺหิ วุฏฺฐิเต อาสนํ อุทฺธริตพฺพํ. สเจ โส เทโส อุกฺลาโป โหติ โส เทโส สมฺมชฺชิตพฺโพ. “สเจ อนฺเตวาสิโก คามํ ปวิสิตุกาโม โหติ นิวาสนํ ทาตพฺพํ ปฏินิวาสนํ ปฏิคฺคเหตพฺพํ กายพนฺธนํ ทาตพฺพํ สคุณํ กตฺวา สงฺฆาฏิโย ทาตพฺพา โธวิตฺวา ปตฺโต โสทโก ทาตพฺโพ. “เอตฺตาวตา นิวตฺติสฺสตีติ อาสนํ ปญฺญเปตพฺพํ ปาโททกํ ปาทปีฐํ ปาทกถลิกํ อุปนิกฺขิปิตพฺพํ ปจฺจุคฺคนฺตฺวา ปตฺตจีวรํ ปฏิคฺคเหตพฺพํ ปฏินิวาสนํ ทาตพฺพํ นิวาสนํ ปฏิคฺคเหตพฺพํ. สเจ จีวรํ สินฺนํ โหติ มุหุตฺตํ อุณฺเห โอตาเปตพฺพํ น จ อุณฺเห จีวรํ นิทหิตพฺพํ. จีวรํ สงฺฆริตพฺพํ. จีวรํ สงฺฆรนฺเตน จตุรงฺคุลํ กณฺณํ อุสฺสาเรตฺวา จีวรํ สงฺฆริตพฺพํ มา มชฺเฌ ภงฺโค อโหสีติ. โอโภเค กายพนฺธนํ กาตพฺพํ. “สเจ ปิณฺฑปาโต โหติ อนฺเตวาสิโก จ ภุญฺชิตุกาโม โหติ อุทกํ ทตฺวา ปิณฺฑปาโต อุปนาเมตพฺโพ. อนฺเตวาสิโก ปานีเยน ปุจฺฉิตพฺโพ. ภุตฺตาวิสฺส อุทกํ ทตฺวา ปตฺตํ ปฏิคฺคเหตฺวา นีจํ กตฺวา สาธุกํ อปฺปฏิฆํสนฺเตน โธวิตฺวา โวทกํ กตฺวา มุหุตฺตํ อุณฺเห โอตาเปตพฺโพ น จ อุณฺเห ปตฺโต นิทหิตพฺโพ. ปตฺตจีวรํ นิกฺขิปิตพฺพํ. ปตฺตํ นิกฺขิปนฺเตน เอเกน หตฺเถน ปตฺตํ คเหตฺวา เอเกน หตฺเถน เหฏฺฐามญฺจํ วา เหฏฺฐาปีฐํ วา ปรามสิตฺวา ปตฺโต นิกฺขิปิตพฺโพ. น จ อนนฺตรหิตาย ภูมิยา ปตฺโต นิกฺขิปิตพฺโพ. จีวรํ นิกฺขิปนฺเตน เอเกน หตฺเถน จีวรํ คเหตฺวา เอเกน หตฺเถน จีวรวํสํ วา จีวรรชฺชุํ วา ปมชฺชิตฺวา ปารโต อนฺตํ โอรโต โภคํ กตฺวา จีวรํ นิกฺขิปิตพฺพํ. อนฺเตวาสิกมฺหิ วุฏฺฐิเต อาสนํ อุทฺธริตพฺพํ ปาโททกํ ปาทปีฐํ ปาทกถลิกํ ปฏิสาเมตพฺพํ. สเจ โส เทโส อุกฺลาโป โหติ โส เทโส สมฺมชฺชิตพฺโพ. “สเจ อนฺเตวาสิโก นหายิตุกาโม โหติ นหานํ ปฏิยาเทตพฺพํ. สเจ สีเตน อตฺโถ โหติ สีตํ ปฏิยาเทตพฺพํ. สเจ อุณฺเหน อตฺโถ โหติ อุณฺหํ ปฏิยาเทตพฺพํ. “สเจ อนฺเตวาสิโก ชนฺตาฆรํ ปวิสิตุกาโม โหติ จุณฺณํ สนฺเนตพฺพํ มตฺติกา เตเมตพฺพา ชนฺตาฆรปีฐํ อาทาย คนฺตฺวา ชนฺตาฆรปีฐํ ทตฺวา จีวรํ ปฏิคฺคเหตฺวา เอกมนฺตํ นิกฺขิปิตพฺพํ จุณฺณํ ทาตพฺพํ มตฺติกา ทาตพฺพา. สเจ อุสฺสหติ ชนฺตาฆรํ ปวิสิตพฺพํ. ชนฺตาฆรํ ปวิสนฺเตน มตฺติกาย มุขํ มกฺเขตฺวา ปุรโต จ ปจฺฉโต จ ปฏิจฺฉาเทตฺวา ชนฺตาฆรํ ปวิสิตพฺพํ. น จ เถเร ภิกฺขู อนุปขชฺช นิสีทิตพฺพํ น นวา ภิกฺขู อาสเนน ปฏิพาหิตพฺพา. ชนฺตาฆเร อนฺเตวาสิกสฺส ปริกมฺมํ กาตพฺพํ. ชนฺตาฆรา นิกฺขมนฺเตน ชนฺตาฆรปีฐํ อาทาย ปุรโต จ ปจฺฉโต จ ปฏิจฺฉาเทตฺวา ชนฺตาฆรา นิกฺขมิตพฺพํ. “อุทเกปิ อนฺเตวาสิกสฺส ปริกมฺมํ กาตพฺพํ. นหาเตน ปฐมตรํ อุตฺตริตฺวา อตฺตโน คตฺตํ โวทกํ กตฺวา นิวาเสตฺวา อนฺเตวาสิกสฺส คตฺตโต อุทกํ ปมชฺชิตพฺพํ นิวาสนํ ทาตพฺพํ สงฺฆาฏิ ทาตพฺพา ชนฺตาฆรปีฐํ อาทาย ปฐมตรํ อาคนฺตฺวา อาสนํ ปญฺญเปตพฺพํ ปาโททกํ ปาทปีฐํ ปาทกถลิกํ อุปนิกฺขิปิตพฺพํ. อนฺเตวาสิโก ปานีเยน ปุจฺฉิตพฺโพ. “ยสฺมึ วิหาเร อนฺเตวาสิโก วิหรติ สเจ โส วิหาโร อุกฺลาโป โหติ สเจ อุสฺสหติ โสเธตพฺโพ. วิหารํ โสเธนฺเตน ปฐมํ ปตฺตจีวรํ นีหริตฺวา เอกมนฺตํ นิกฺขิปิตพฺพํ นิสีทนปจฺจตฺถรณํ นีหริตฺวา เอกมนฺตํ นิกฺขิปิตพฺพํ ภิสิพิพฺโพหนํ นีหริตฺวา เอกมนฺตํ นิกฺขิปิตพฺพํ มญฺโจ นีจํ กตฺวา สาธุกํ อปฺปฏิฆํสนฺเตน อสงฺฆฏฺเฏนฺเตน กวาฏปิฏฺฐํ นีหริตฺวา เอกมนฺตํ นิกฺขิปิตพฺโพ ปีฐํ นีจํ กตฺวา สาธุกํ อปฺปฏิฆํสนฺเตน อสงฺฆฏฺเฏนฺเตน กวาฏปิฏฺฐํ นีหริตฺวา เอกมนฺตํ นิกฺขิปิตพฺพํ มญฺจปฏิปาทกา นีหริตฺวา เอกมนฺตํ นิกฺขิปิตพฺพา เขฬมลฺลโก นีหริตฺวา เอกมนฺตํ นิกฺขิปิตพฺโพ อปสฺเสนผลกํ นีหริตฺวา เอกมนฺตํ นิกฺขิปิตพฺพํ ภูมตฺถรณํ ยถาปญฺญตฺตํ สลฺลกฺเขตฺวา นีหริตฺวา เอกมนฺตํ นิกฺขิปิตพฺพํ. สเจ วิหาเร สนฺตานกํ โหติ อุลฺโลกา ปฐมํ โอตาเรตพฺพํ อาโลกสนฺธิกณฺณภาคา ปมชฺชิตพฺพา. สเจ เครุกปริกมฺมกตา ภิตฺติ กณฺณกิตา โหติ โจฬกํ เตเมตฺวา ปีเฬตฺวา ปมชฺชิตพฺพา. สเจ กาฬวณฺณกตา ภูมิ กณฺณกิตา โหติ โจฬกํ เตเมตฺวา ปีเฬตฺวา ปมชฺชิตพฺพา. สเจ อกตา โหติ ภูมิ อุทเกน ปริปฺโผสิตฺวา สมฺมชฺชิตพฺพา มา วิหาโร รเชน อุหญฺญีติ. สงฺการํ วิจินิตฺวา เอกมนฺตํ ฉฑฺเฑตพฺพํ. “ภูมตฺถรณํ โอตาเปตฺวา โสเธตฺวา ปปฺโผเฏตฺวา อติหริตฺวา ยถาปญฺญตฺตํ ปญฺญเปตพฺพํ. มญฺจปฏิปาทกา โอตาเปตฺวา ปมชฺชิตฺวา อติหริตฺวา ยถาฐาเน ฐเปตพฺพา. มญฺโจ โอตาเปตฺวา โสเธตฺวา ปปฺโผเฏตฺวา นีจํ กตฺวา สาธุกํ อปฺปฏิฆํสนฺเตน อสงฺฆฏฺเฏนฺเตน กวาฏปิฏฺฐํ อติหริตฺวา ยถาปญฺญตฺตํ ปญฺญเปตพฺโพ. ปีฐํ โอตาเปตฺวา โสเธตฺวา ปปฺโผเฏตฺวา นีจํ กตฺวา สาธุกํ อปฺปฏิฆํสนฺเตน อสงฺฆฏฺเฏนฺเตน กวาฏปิฏฺฐํ อติหริตฺวา ยถาปญฺญตฺตํ ปญฺญเปตพฺพํ. ภิสิพิพฺโพหนํ โอตาเปตฺวา โสเธตฺวา ปปฺโผเฏตฺวา อติหริตฺวา ยถาปญฺญตฺตํ ปญฺญเปตพฺพํ. นิสีทนปจฺจตฺถรณํ โอตาเปตฺวา โสเธตฺวา ปปฺโผเฏตฺวา อติหริตฺวา ยถาปญฺญตฺตํ ปญฺญเปตพฺพํ. เขฬมลฺลโก โอตาเปตฺวา ปมชฺชิตฺวา อติหริตฺวา ยถาฐาเน ฐเปตพฺโพ. อปสฺเสนผลกํ โอตาเปตฺวา ปมชฺชิตฺวา อติหริตฺวา ยถาฐาเน ฐเปตพฺพํ. ปตฺตจีวรํ นิกฺขิปิตพฺพํ. ปตฺตํ นิกฺขิปนฺเตน เอเกน หตฺเถน ปตฺตํ คเหตฺวา เอเกน หตฺเถน เหฏฺฐามญฺจํ วา เหฏฺฐาปีฐํ วา ปรามสิตฺวา ปตฺโต นิกฺขิปิตพฺโพ. น จ อนนฺตรหิตาย ภูมิยา ปตฺโต นิกฺขิปิตพฺโพ. จีวรํ นิกฺขิปนฺเตน เอเกน หตฺเถน จีวรํ คเหตฺวา เอเกน หตฺเถน จีวรวํสํ วา จีวรรชฺชุํ วา ปมชฺชิตฺวา ปารโต อนฺตํ โอรโต โภคํ กตฺวา จีวรํ นิกฺขิปิตพฺพํ. “สเจ ปุรตฺถิมา สรชา วาตา วายนฺติ ปุรตฺถิมา วาตปานา ถเกตพฺพา. สเจ ปจฺฉิมา สรชา วาตา วายนฺติ ปจฺฉิมา วาตปานา ถเกตพฺพา. สเจ อุตฺตรา สรชา วาตา วายนฺติ อุตฺตรา วาตปานา ถเกตพฺพา. สเจ ทกฺขิณา สรชา วาตา วายนฺติ ทกฺขิณา วาตปานา ถเกตพฺพา. สเจ สีตกาโล โหติ ทิวา วาตปานา วิวริตพฺพา รตฺตึ ถเกตพฺพา. สเจ อุณฺหกาโล โหติ ทิวา วาตปานา ถเกตพฺพา รตฺตึ วิวริตพฺพา. “สเจ ปริเวณํ อุกฺลาปํ โหติ ปริเวณํ สมฺมชฺชิตพฺพํ. สเจ โกฏฺฐโก อุกฺลาโป โหติ โกฏฺฐโก สมฺมชฺชิตพฺโพ. สเจ อุปฏฺฐานสาลา อุกฺลาปา โหติ อุปฏฺฐานสาลา สมฺมชฺชิตพฺพา. สเจ อคฺคิสาลา อุกฺลาปา โหติ อคฺคิสาลา สมฺมชฺชิตพฺพา. สเจ วจฺจกุฏิ อุกฺลาปา โหติ วจฺจกุฏิ สมฺมชฺชิตพฺพา. สเจ ปานียํ น โหติ ปานียํ อุปฏฺฐาเปตพฺพํ. สเจ ปริโภชนียํ น โหติ ปริโภชนียํ อุปฏฺฐาเปตพฺพํ. สเจ อาจมนกุมฺภิยา อุทกํ น โหติ อาจมนกุมฺภิยา อุทกํ อาสิญฺจิตพฺพํ. “สเจ อนฺเตวาสิกสฺส อนภิรติ อุปฺปนฺนา โหติ อาจริเยน วูปกาเสตพฺโพ วูปกาสาเปตพฺโพ ธมฺมกถา วาสฺส กาตพฺพา. สเจ อนฺเตวาสิกสฺส กุกฺกุจฺจํ อุปฺปนฺนํ โหติ อาจริเยน วิโนเทตพฺพํ วิโนทาเปตพฺพํ ธมฺมกถา วาสฺส กาตพฺพา. สเจ อนฺเตวาสิกสฺส ทิฏฺฐิคตํ อุปฺปนฺนํ โหติ อาจริเยน วิเวเจตพฺพํ วิเวจาเปตพฺพํ ธมฺมกถา วาสฺส กาตพฺพา. สเจ อนฺเตวาสิโก ครุธมฺมํ อชฺฌาปนฺโน โหติ ปริวาสารโห อาจริเยน อุสฺสุกฺกํ กาตพฺพํ กินฺติ นุ โข สงฺโฆ อนฺเตวาสิกสฺส ปริวาสํ ทเทยฺยาติ. สเจ อนฺเตวาสิโก มูลาย ปฏิกสฺสนารโห โหติ อาจริเยน อุสฺสุกฺกํ กาตพฺพํ กินฺติ นุ โข สงฺโฆ อนฺเตวาสิกํ มูลาย ปฏิกสฺเสยฺยาติ. สเจ อนฺเตวาสิโก มานตฺตารโห โหติ อาจริเยน อุสฺสุกฺกํ กาตพฺพํ กินฺติ นุ โข สงฺโฆ อนฺเตวาสิกสฺส มานตฺตํ ทเทยฺยาติ. สเจ อนฺเตวาสิโก อพฺภานารโห โหติ อาจริเยน อุสฺสุกฺกํ กาตพฺพํ กินฺติ นุ โข สงฺโฆ อนฺเตวาสิกํ อพฺเภยฺยาติ. สเจ สงฺโฆ อนฺเตวาสิกสฺส กมฺมํ กตฺตุกาโม โหติ ตชฺชนียํ วา นิยสฺสํ วา ปพฺพาชนียํ วา ปฏิสารณียํ วา อุกฺเขปนียํ วา อาจริเยน อุสฺสุกฺกํ กาตพฺพํ กินฺติ นุ โข สงฺโฆ อนฺเตวาสิกสฺส กมฺมํ น กเรยฺย ลหุกาย วา ปริณาเมยฺยาติ. กตํ วา ปนสฺส โหติ สงฺเฆน กมฺมํ ตชฺชนียํ วา นิยสฺสํ วา ปพฺพาชนียํ วา ปฏิสารณียํ วา อุกฺเขปนียํ วา อาจริเยน อุสฺสุกฺกํ กาตพฺพํ กินฺติ นุ โข อนฺเตวาสิโก สมฺมา วตฺเตยฺย โลมํ ปาเตยฺย เนตฺถารํ วตฺเตยฺย สงฺโฆ ตํ กมฺมํ ปฏิปฺปสฺสมฺเภยฺยาติ. “สเจ อนฺเตวาสิกสฺส จีวรํ โธวิตพฺพํ โหติ อาจริเยน อาจิกฺขิตพฺพํ ‘เอวํ โธเวยฺยาสี’ติ อุสฺสุกฺกํ วา กาตพฺพํ กินฺติ นุ โข อนฺเตวาสิกสฺส จีวรํ โธวิเยถาติ. สเจ อนฺเตวาสิกสฺส จีวรํ กาตพฺพํ โหติ อาจริเยน อาจิกฺขิตพฺพํ ‘เอวํ กเรยฺยาสี’ติ อุสฺสุกฺกํ วา กาตพฺพํ กินฺติ นุ โข อนฺเตวาสิกสฺส จีวรํ กริเยถาติ. สเจ อนฺเตวาสิกสฺส รชนํ ปจิตพฺพํ โหติ อาจริเยน อาจิกฺขิตพฺพํ ‘เอวํ ปเจยฺยาสี’ติ อุสฺสุกฺกํ วา กาตพฺพํ กินฺติ นุ โข อนฺเตวาสิกสฺส รชนํ ปจิเยถาติ. สเจ อนฺเตวาสิกสฺส จีวรํ รชิตพฺพํ โหติ อาจริเยน อาจิกฺขิตพฺพํ ‘เอวํ รเชยฺยาสี’ติ อุสฺสุกฺกํ วา กาตพฺพํ กินฺติ นุ โข อนฺเตวาสิกสฺส จีวรํ รชิเยถาติ. จีวรํ รชนฺเตน สาธุกํ สมฺปริวตฺตกํ สมฺปริวตฺตกํ รชิตพฺพํ น จ อจฺฉินฺเน เถเว ปกฺกมิตพฺพํ. สเจ อนฺเตวาสิโก คิลาโน โหติ ยาวชีวํ อุปฏฺฐาตพฺโพ วุฏฺฐานมสฺส อาคเมตพฺพ”นฺติ. 
||35|| 
I prescribe, O Bhikkhus, that only a learned, competent Bhikkhu who has completed ten years, or more than ten years, may give a nissaya. 
อนฺเตวาสิกวตฺตํ นิฏฺฐิตํ. 
tena kho pana samayena bhikkhū ācariyupajjhāyesu pakkantesu pi vibbhamantesu pi kālaṃkatesu pi pakkhasaṃkantesu pi nissayapaṭippassaddhiyo na jānanti.  bhagavato etam atthaṃ ārocesuṃ.  pañc’ imā {bhikkhave} nissayapaṭippassaddhiyo upajjhāyamhā:  upajjhāyo pakkanto vā hoti vibbhamanto vā kālaṃkato vā pakkhasaṃkanto vā, āṇatti yeva pañcamī.  imā kho bhikkhave pañca nissayapaṭippassaddhiyo upajjhāyamhā.  cha yimā bhikkhave nissayapaṭippassaddhiyo ācariyamhā:  ācariyo pakkanto vā hoti vibbhamanto vā kālaṃkato vā pakkhasaṃkanto vā, āṇatti yeva pañcamī, upajjhāyena vā samodhānaṃ gato hoti.  imā kho bhikkhave cha nissayapaṭippassaddhiyo ācariyamhā. |1| 
At that time the Bhikkhus whose âkariyas and upagghâyas were gone away, or had returned to the worId, or had died, or were gone over to a (schismatic) faction, were not acquainted with (the rules about) the cessation of their nissayas.  They told this thing to the Blessed One.  'There are five cases of cessation of a nissaya, O Bhikkhus, between (saddhivihârika and) upagghâya:  When the upagghâya is gone away, or he has returned to the world, or has died, or is gone over to a (schismatic) faction; the fifth case is that of order (given by the upagghâya to the saddhivihârika).  These, O Bhikkhu's, are the five cases of the cessation of a nissaya between (saddhivihârika and) upagghâya.  'There are six cases of cessation of a nissaya, O Bhikkhus, between (antevâsika and) âkariya:  When the âkariya is gone away, &c.; the fifth case is that of order (given by the âkariya to the antevâsika); or (sixthly) when the âkariya and the upagghâya have come together at the same place. 
นิสสัยระงับจากอุปัชฌาย์และอาจารย์ [๙๗] ก็โดยสมัยนั้นแล เมื่ออาจารย์และอุปัชฌาย์หลีกไปเสียก็ดี สึกเสียก็ดี ถึงมรณภาพก็ดี ไปเข้ารีดเดียรถีย์ก็ดี ภิกษุทั้งหลายไม่รู้ว่านิสสัยระงับ.  พวกเธอจึงกราบทูลเรื่องนั้นแด่พระผู้มีพระภาค.  พระผู้มีพระภาคตรัสว่า ดูกรภิกษุทั้งหลาย นิสสัยระงับจากอุปัชฌายะ ๕ อย่าง ดังนี้ คือ  ๑. อุปัชฌายะหลีกไป ๒. สึกเสีย ๓. ถึงมรณภาพ ๔. ไปเข้ารีดเดียรถีย์ และ ๕. สั่งบังคับ  ดูกรภิกษุทั้งหลาย นิสสัยระงับจากอุปัชฌายะ ๕ อย่างนี้แล.  ดูกรภิกษุทั้งหลาย นิสสัยระงับจากอาจารย์ ๖ อย่าง ดังนี้ คือ  ๑. อาจารย์หลีกไป ๒. สึกเสีย ๓. ถึงมรณภาพ ๔. ไปเข้ารีดเดียรถีย์ ๕. สั่งบังคับ และ ๖. ไปร่วมเข้ากับอุปัชฌายะ  ดูกรภิกษุทั้งหลาย นิสสัยระงับจากอาจารย์ ๖ อย่างนี้แล. (การให้นิสสัย จบ.) 
ฉฏฺฐภาณวาโร.  ๒๐. ปณามนา ขมาปนา  ๘๐. เตน โข ปน สมเยน อนฺเตวาสิกา อาจริเยสุ น สมฺมา วตฺตนฺติฯเปฯ ภควโต เอตมตฺถํ อาโรเจสุํฯเปฯ น ภิกฺขเว อนฺเตวาสิเกน อาจริยมฺหิ น สมฺมา วตฺติตพฺพํ. โย น สมฺมา วตฺเตยฺย อาปตฺติ ทุกฺกฏสฺสาติ. เนว สมฺมา วตฺตนฺติ. ภควโต เอตมตฺถํ อาโรเจสุํฯเปฯ อนุชานามิ ภิกฺขเว อสมฺมาวตฺตนฺตํ ปณาเมตุํ. เอวญฺจ ปน ภิกฺขเว ปณาเมตพฺโพ ปณาเมมิ ตนฺติ วา มายิธ ปฏิกฺกมีติ วา นีหร เต ปตฺตจีวรนฺติ วา นาหํ ตยา อุปฏฺฐาตพฺโพติ วา. กาเยน วิญฺญาเปติ วาจาย วิญฺญาเปติ กาเยน วาจาย วิญฺญาเปติ ปณามิโต โหติ อนฺเตวาสิโก น กาเยน วิญฺญาเปติ น วาจาย วิญฺญาเปติ น กาเยน วาจาย วิญฺญาเปติ น ปณามิโต โหติ อนฺเตวาสิโกติ. เตน โข ปน สมเยน อนฺเตวาสิกา ปณามิตา น ขมาเปนฺติ. ภควโต เอตมตฺถํ อาโรเจสุํ. อนุชานามิ ภิกฺขเว ขมาเปตุนฺติ. เนว ขมาเปนฺติ. ภควโต เอตมตฺถํ อาโรเจสุํ. น ภิกฺขเว ปณามิเตน น ขมาเปตพฺโพ. โย น ขมาเปยฺย อาปตฺติ ทุกฺกฏสฺสาติ. เตน โข ปน สมเยน อาจริยา ขมาปิยมานา น ขมนฺติ. ภควโต เอตมตฺถํ อาโรเจสุํ. อนุชานามิ ภิกฺขเว ขมิตุนฺติ. เนว ขมนฺติ. อนฺเตวาสิกา ปกฺกมนฺติปิ วิพฺภมนฺติปิ ติตฺถิเยสุปิ สงฺกมนฺติ. ภควโต เอตมตฺถํ อาโรเจสุํ. น ภิกฺขเว ขมาปิยมาเนน น ขมิตพฺพํ. โย น ขเมยฺย อาปตฺติ ทุกฺกฏสฺสาติ. เตน โข ปน สมเยน อาจริยา สมฺมาวตฺตนฺตํ ปณาเมนฺติ อสมฺมาวตฺตนฺตํ น ปณาเมนฺติ. ภควโต เอตมตฺถํ อาโรเจสุํ. น ภิกฺขเว สมฺมาวตฺตนฺโต ปณาเมตพฺโพ. โย ปณาเมยฺย อาปตฺติ ทุกฺกฏสฺส. น จ ภิกฺขเว อสมฺมาวตฺตนฺโต น ปณาเมตพฺโพ. โย น ปณาเมยฺย อาปตฺติ ทุกฺกฏสฺส. ๘๑. “ปญฺจหิ ภิกฺขเว องฺเคหิ สมนฺนาคโต อนฺเตวาสิโก ปณาเมตพฺโพ. อาจริยมฺหิ นาธิมตฺตํ เปมํ โหติ นาธิมตฺโต ปสาโท โหติ นาธิมตฺตา หิรี โหติ นาธิมตฺโต คารโว โหติ นาธิมตฺตา ภาวนา โหติ อิเมหิ โข ภิกฺขเว ปญฺจหงฺเคหิ สมนฺนาคโต อนฺเตวาสิโก ปณาเมตพฺโพ. “ปญฺจหิ ภิกฺขเว องฺเคหิ สมนฺนาคโต อนฺเตวาสิโก น ปณาเมตพฺโพ. อาจริยมฺหิ อธิมตฺตํ เปมํ โหติ อธิมตฺโต ปสาโท โหติ อธิมตฺตา หิรี โหติ อธิมตฺโต คารโว โหติ อธิมตฺตา ภาวนา โหติ อิเมหิ โข ภิกฺขเว ปญฺจหงฺเคหิ สมนฺนาคโต อนฺเตวาสิโก น ปณาเมตพฺโพ. “ปญฺจหิ ภิกฺขเว องฺเคหิ สมนฺนาคโต อนฺเตวาสิโก อลํ ปณาเมตุํ. อาจริยมฺหิ นาธิมตฺตํ เปมํ โหติ นาธิมตฺโต ปสาโท โหติ นาธิมตฺตา หิรี โหติ นาธิมตฺโต คารโว โหติ นาธิมตฺตา ภาวนา โหติ อิเมหิ โข ภิกฺขเว ปญฺจหงฺเคหิ สมนฺนาคโต อนฺเตวาสิโก อลํ ปณาเมตุํ. “ปญฺจหิ ภิกฺขเว องฺเคหิ สมนฺนาคโต อนฺเตวาสิโก นาลํ ปณาเมตุํ. อาจริยมฺหิ อธิมตฺตํ เปมํ โหติ อธิมตฺโต ปสาโท โหติ อธิมตฺตา หิรี โหติ อธิมตฺโต คารโว โหติ อธิมตฺตา ภาวนา โหติ อิเมหิ โข ภิกฺขเว ปญฺจหงฺเคหิ สมนฺนาคโต อนฺเตวาสิโก นาลํ ปณาเมตุํ. “ปญฺจหิ ภิกฺขเว องฺเคหิ สมนฺนาคตํ อนฺเตวาสิกํ อปฺปณาเมนฺโต อาจริโย สาติสาโร โหติ ปณาเมนฺโต อนติสาโร โหติ. อาจริยมฺหิ นาธิมตฺตํ เปมํ โหติ นาธิมตฺโต ปสาโท โหติ นาธิมตฺตา หิรี โหติ นาธิมตฺโต คารโว โหติ นาธิมตฺตา ภาวนา โหติ อิเมหิ โข ภิกฺขเว ปญฺจหงฺเคหิ สมนฺนาคตํ อนฺเตวาสิกํ อปฺปณาเมนฺโต อาจริโย สาติสาโร โหติ ปณาเมนฺโต อนติสาโร โหติ. “ปญฺจหิ ภิกฺขเว องฺเคหิ สมนฺนาคตํ อนฺเตวาสิกํ ปณาเมนฺโต อาจริโย สาติสาโร โหติ อปฺปณาเมนฺโต อนติสาโร โหติ. อาจริยมฺหิ อธิมตฺตํ เปมํ โหติ อธิมตฺโต ปสาโท โหติ อธิมตฺตา หิรี โหติ อธิมตฺโต คารโว โหติ อธิมตฺตา ภาวนา โหติ อิเมหิ โข ภิกฺขเว ปญฺจหงฺเคหิ สมนฺนาคตํ อนฺเตวาสิกํ ปณาเมนฺโต อาจริโย สาติสาโร โหติ อปฺปณาเมนฺโต อนติสาโร โหตี”ติ. (ปณามนา ขมาปนา นิฏฺฐิตา.)      (๒๑. พาลอพฺยตฺตวตฺถุ) ๘๒. เตน โข ปน สมเยน ภิกฺขู ทสวสฺสมฺหา ทสวสฺสมฺหาติ พาลา อพฺยตฺตา นิสฺสยํ เทนฺติ. ทิสฺสนฺติ อาจริยา พาลา อนฺเตวาสิกา ปณฺฑิตา ทิสฺสนฺติ อาจริยา อพฺยตฺตา อนฺเตวาสิกา พฺยตฺตา. ทิสฺสนฺติ อาจริยา อปฺปสฺสุตา อนฺเตวาสิกา พหุสฺสุตา. ทิสฺสนฺติ อาจริยา ทุปฺปญฺญา อนฺเตวาสิกา ปญฺญวนฺโต.  เย เต ภิกฺขู อปฺปิจฺฉาฯเปฯ เต อุชฺฌายนฺติ ขิยฺยนฺติ วิปาเจนฺติ “กถญฺหิ นาม ภิกฺขู ทสวสฺสมฺหา ทสวสฺสมฺหาติ พาลา อพฺยตฺตา นิสฺสยํ ทสฺสนฺติ. ทิสฺสนฺติ อาจริยา พาลา อนฺเตวาสิกา ปณฺฑิตา ทิสฺสนฺติ อาจริยา อพฺยตฺตา อนฺเตวาสิกา พฺยตฺตา ทิสฺสนฺติ อาจริยา อปฺปสฺสุตา อนฺเตวาสิกา พหุสฺสุตา ทิสฺสนฺติ อาจริยา ทุปฺปญฺญา อนฺเตวาสิกา ปญฺญวนฺโต”ติ.  อถ โข เต ภิกฺขู ภควโต เอตมตฺถํ อาโรเจสุํฯเปฯ 
pañcahi bhikkhave aṅgehi samannāgatena bhikkhunā na upasampādetabbaṃ, na nissayo dātabbo, na sāmaṇero upaṭṭhāpetabbo:  na asekhena sīlakkhandhena samannāgato hoti, na asekhena samādhikkhandhena samannāgato hoti, na asekhena paññākkhandhena samannāgato hoti, na asekhena vimuttikkhandhena samannāgato hoti, na asekhena vimuttiñāṇadassanakkhandhena samannāgato hoti.  imehi kho bhikkhave pañcah’ aṅgehi samannāgatena bhikkhunā na upasampādetabbaṃ, na nissayo dātabbo, na sāmaṇero upaṭṭhāpetabbo. |2| 
These, O Bhikkhus, are the six cases of cessation of a nissaya between (antevâsika and) âkariya.  'In five cases, O Bhikkhus, a Bhikkhu should not confer the upasampadâ ordination, nor give a nissaya, nor ordain a novice:  When he does not possess full perfection in what belongs to moral practices; or does not possess full perfection in what belongs to self-concentration; or does not possess full perfection in what belongs to wisdom; or does not possess full perfection in what belongs to emancipation; or does not possess full perfection in what belongs to knowledge and insight into emancipation. 
องค์ ๕ แห่งภิกษุผู้ให้อุปสมบท ๑๖ หมวด // (กัณหปักษ์ ๑) [๙๘] ดูกรภิกษุทั้งหลาย ภิกษุผู้ประกอบด้วยองค์ ๕ ไม่พึงให้อุปสมบท ไม่พึงให้นิสสัย ไม่พึงให้สามเณรอุปัฏฐาก คือ  ๑. ไม่ประกอบด้วยกองศีล อันเป็นของพระอเสขะ ๒. ไม่ประกอบด้วยกองสมาธิ อันเป็นของพระอเสขะ ๓. ไม่ประกอบด้วยกองปัญญา อันเป็นของพระอเสขะ ๔. ไม่ประกอบด้วยกองวิมุติ อันเป็นของพระอเสขะ และ ๕. ไม่ประกอบด้วยกองวิมุตติญาณทัสสนะ อันเป็นของพระอเสขะ  ดูกรภิกษุทั้งหลาย ภิกษุผู้ประกอบด้วยองค์ ๕ นี้แล ไม่พึงให้อุปสมบท ไม่พึงให้นิสสัย ไม่พึงให้สามเณรอุปัฏฐาก. 
สจฺจํ กิร ภิกฺขเว ภิกฺขู ทสวสฺสมฺหา ทสวสฺสมฺหาติ พาลา อพฺยตฺตา นิสฺสยํ เทนฺติฯเปฯ  สจฺจํ ภควาติ.  วิครหิ พุทฺโธ ภควาฯเปฯ 
pañcahi bhikkhave aṅgehi samannāgatena bhikkhunā upasampādetabbaṃ, nissayo dātabbo, sāmaṇero upaṭṭhāpetabbo:  asekhena sīlakkhandhena samannāgato hoti, . . . asekhena vimuttiñāṇadassanakkhandhena samannāgato hoti.  imehi kho bhikkhave pañcah’ aṅgehi samannāgatena (63) bhikkhunā upasampādetabbaṃ, nissayo dātabbo, sāmaṇero upaṭṭhāpetabbo. |3| 
In these five cases, O Bhikkhus, a Bhikkhu should not confer the upasampadâ ordination, nor give a nissaya, nor ordain a novice.  'In five cases, O Bhikkhus, a Bhikkhu may confer the upasampadâ ordination, give a nissaya, and ordain a novice:  When he possesses full perfection in what belongs to moral practices, &c. 
(ศุกลปักษ์ ๑) ดูกรภิกษุทั้งหลาย ภิกษุผู้ประกอบด้วยองค์ ๕ พึงให้อุปสมบท พึงให้นิสสัย พึงให้สามเณรอุปัฏฐาก คือ  ๑. ประกอบด้วยกองศีล อันเป็นของพระอเสขะ ๒. ประกอบด้วยกองสมาธิ อันเป็นของพระอเสขะ ๓. ประกอบด้วยกองปัญญา อันเป็นของพระอเสขะ ๔. ประกอบด้วยกองวิมุติ อันเป็นของพระอเสขะ และ ๕. ประกอบด้วยกองวิมุตติญาณทัสสนะ อันเป็นของพระอเสขะ  ดูกรภิกษุทั้งหลาย ภิกษุผู้ประกอบด้วยองค์ ๕ นี้แล พึงให้อุปสมบท พึงให้นิสสัย พึงให้สามเณรอุปัฏฐาก. 
วิครหิตฺวาฯเปฯ ธมฺมึ กถํ กตฺวา ภิกฺขู อามนฺเตสิ “น ภิกฺขเว พาเลน อพฺยตฺเตน นิสฺสโย ทาตพฺโพ. โย ทเทยฺย อาปตฺติ ทุกฺกฏสฺส.  อนุชานามิ ภิกฺขเว พฺยตฺเตน ภิกฺขุนา ปฏิพเลน ทสวสฺเสน วา อติเรกทสวสฺเสน วา นิสฺสยํ ทาตุ”นฺติ. (พาลอพฺยตฺตวตฺถุ นิฏฺฐิตํ.)   
aparehi pi bhikkhave pañcah’ aṅgehi samannāgatena bhikkhunā na upasampādetabbaṃ, na nissayo dātabbo, na sāmaṇero upaṭṭhāpetabbo:  attanā na asekhena sīlakkhandhena samannāgato hoti, na paraṃ asekhe sīlakkhandhe samādapetā, . . . attanā na asekhena vimuttiñāṇadassanakkhandhena samannāgato hoti, na paraṃ asekhe vimuttiñāṇadassanakkhandhe samādapetā.  imehi kho bhikkhave pañcah’ aṅgehi samannāgatena bhikkhunā na upasampādetabbaṃ, na nissayo dātabbo, na sāmaṇero upaṭṭhāpetabbo. |4| 
In these five cases, O Bhikkhus, a Bhikkhu may, &c.  'And also in other five cases, O Bhikkhus, a Bhikkhu should not confer, &c.:  When he does not possess for himself full perfection in what belongs to moral practices and is not able to help others to full perfection in what belongs to moral practices; or does not possess for himself full perfection in what belongs to self-concentration, and is not able to help others to full perfection in what belongs to self-concentration, &c. 
(กัณหปักษ์ ๒) ดูกรภิกษุทั้งหลาย ภิกษุผู้ประกอบด้วยองค์ ๕ แม้อื่นอีก ไม่พึงให้อุปสมบท ไม่พึงให้นิสสัย ไม่พึงให้สามเณรอุปัฏฐาก คือ  ๑. ตนเองไม่ประกอบด้วยกองศีล อันเป็นของพระอเสขะ และไม่ชักชวนผู้อื่นในกองศีล อันเป็นของพระอเสขะ ๒. ตนเองไม่ประกอบด้วยกองสมาธิ อันเป็นของพระอเสขะ และไม่ชักชวนผู้อื่นในกองสมาธิ อันเป็นของพระอเสขะ ๓. ตนเองไม่ประกอบด้วยกองปัญญา อันเป็นของพระอเสขะ และไม่ชักชวนผู้อื่นในกองปัญญา อันเป็นของพระอเสขะ ๔. ตนเองไม่ประกอบด้วยกองวิมุติ อันเป็นของพระอเสขะ และไม่ชักชวนผู้อื่นในกองวิมุติ อันเป็นของพระอเสขะ และ ๕. ตนเองไม่ประกอบด้วยกองวิมุตติญาณทัสสนะ อันเป็นของพระอเสขะ และไม่ชักชวนผู้อื่นในกองวิมุตติญาณทัสสนะ อันเป็นของพระอเสขะ  ดูกรภิกษุทั้งหลาย ภิกษุผู้ประกอบด้วยองค์ ๕ นี้แล ไม่พึงให้อุปสมบท ไม่พึงให้นิสสัย ไม่พึงให้สามเณรอุปัฏฐาก. 
  (๒๒. นิสฺสยปฏิปฺปสฺสทฺธิกถา) ๘๓. เตน โข ปน สมเยน ภิกฺขู อาจริยุปชฺฌาเยสุ ปกฺกนฺเตสุปิ วิพฺภนฺเตสุปิ กาลงฺกเตสุปิ ปกฺขสงฺกนฺเตสุปิ นิสฺสยปฏิปฺปสฺสทฺธิโย น ชานนฺติ.  ภควโต เอตมตฺถํ อาโรเจสุํ. 
pañcahi bhikkhave aṅgehi samannāgatena bhikkhunā upasampādetabbaṃ, nissayo dātabbo, sāmaṇero upaṭṭhāpetabbo:  attanā asekhena sīlakkhandhena samannāgato hoti, paraṃ asekhe sīlakkhandhe samādapetā, . . . attanā asekhena vimuttiñāṇadassanakkhandhena samannāgato hoti, paraṃ asekhe vimuttiñāṇadassanakkhandhe samādapetā.  imehi kho bhikkhave pañcah’ aṅgehi samannāgatena bhikkhunā upasampādetabbaṃ, nissayo dātabbo, sāmaṇero upaṭṭhāpetabbo. |5| 
  'In five cases, O Bhikkhus, a Bhikkhu may confer, &c.:  When he possesses for himself full perfection in what belongs to moral practices, and is able to help others to full perfection, &c. 
(ศุกลปักษ์ ๒) ดูกรภิกษุทั้งหลาย ภิกษุผู้ประกอบด้วยองค์ ๕ พึงให้อุปสมบท พึงให้นิสสัย พึงให้สามเณรอุปัฏฐาก คือ  ๑. ตนเองประกอบด้วยกองศีล อันเป็นของพระอเสขะ และชักชวนผู้อื่นในกองศีล อันเป็นของพระอเสขะ ๒. ตนเองประกอบด้วยกองสมาธิ อันเป็นของพระอเสขะ และชักชวนผู้อื่นในกองสมาธิ อันเป็นของพระอเสขะ ๓. ตนเองประกอบด้วยกองปัญญา อันเป็นของพระอเสขะ และชักชวนผู้อื่นในกองปัญญา อันเป็นของพระอเสขะ ๔. ตนเองประกอบด้วยกองวิมุติ อันเป็นของพระอเสขะ และชักชวนผู้อื่นในกองวิมุติ อันเป็นของพระอเสขะ และ ๕. ตนเองประกอบด้วยกองวิมุตติญาณทัสสนะ อันเป็นของพระอเสขะ และชักชวนผู้อื่นในกองวิมุตติญาณทัสสนะ อันเป็นของพระอเสขะ  ดูกรภิกษุทั้งหลาย ภิกษุผู้ประกอบด้วยองค์ ๕ นี้แล พึงให้อุปสมบท พึงให้นิสสัย พึงให้สามเณรอุปัฏฐาก. 
“ปญฺจิมา ภิกฺขเว นิสฺสยปฏิปฺปสฺสทฺธิโย อุปชฺฌายมฺหา  อุปชฺฌาโย ปกฺกนฺโต วา โหติ วิพฺภนฺโต วา กาลงฺกโต วา ปกฺขสงฺกนฺโต วา อาณตฺติเยว ปญฺจมี.  อิมา โข ภิกฺขเว ปญฺจ นิสฺสยปฏิปฺปสฺสทฺธิโย อุปชฺฌายมฺหา. 
aparehi pi bhikkhave pañcah’ aṅgehi samannāgatena bhikkhunā na upasampādetabbaṃ, na nissayo dātabbo, na sāmaṇero upaṭṭhāpetabbo:  assaddho hoti, ahiriko hoti, anottappī hoti, kusīto hoti, muṭṭhassati hoti.  imehi kho bhikkhave pañcah’ aṅgehi samannāgatena bhikkhunā na upasampādetabbaṃ, na nissayo dātabbo, na sāmaṇero upaṭṭhāpetabbo. |6| 
  'And also in other five cases, O Bhikkhus, a Bhikkhu should not confer, &c.:  When he is unbelieving, shameless, fearless of sinning, indolent, forgetful. 
(กัณหปักษ์ ๓) ดูกรภิกษุทั้งหลาย ภิกษุผู้ประกอบด้วยองค์ ๕ แม้อื่นอีก ไม่พึงให้อุปสมบท ไม่พึงให้นิสสัย ไม่พึงให้สามเณรอุปัฏฐาก คือ  ๑. เป็นผู้ไม่มีศรัทธา ๒. เป็นผู้ไม่มีหิริ ๓. เป็นผู้ไม่มีโอตตัปปะ ๔. เป็นผู้เกียจคร้าน และ ๕. เป็นผู้มีสติฟั่นเฟือน  ดูกรภิกษุทั้งหลาย ภิกษุผู้ประกอบด้วยองค์ ๕ นี้แล ไม่พึงให้อุปสมบท ไม่พึงให้นิสสัย ไม่พึงให้สามเณรอุปัฏฐาก. 
“ฉยิมา ภิกฺขเว นิสฺสยปฏิปฺปสฺสทฺธิโย อาจริยมฺหา  อาจริโย ปกฺกนฺโต วา โหติ วิพฺภนฺโต วา กาลงฺกโต วา ปกฺขสงฺกนฺโต วา อาณตฺติเยว ปญฺจมี อุปชฺฌาเยน วา สโมธานคโต โหติ.  อิมา โข ภิกฺขเว ฉ นิสฺสยปฏิปฺปสฺสทฺธิโย อาจริยมฺหา”. (นิสฺสปฏิปฺปสฺสทฺธิกถา นิฏฺฐิตา. ) 
pañcahi bhikkhave aṅgehi samannāgatena bhikkhunā upasampādetabbaṃ, nissayo dātabbo, sāmaṇero upaṭṭhāpetabbo:  saddho hoti, hirimā hoti, ottappī hoti, āraddhaviriyo hoti, upaṭṭhitasati hoti.  imehi kho bhikkhave pañcah’ aṅgehi samannāgatena bhikkhunā upasampādetabbaṃ, nissayo dātabbo, sāmaṇero upaṭṭhāpetabbo. |7| 
In these five cases, &c.  'In five cases, O Bhikkhus, a Bhikkhu may confer, &c.:  When he is believing, modest, fearful of sinning, strenuous, of ready memory. 
(ศุกลปักษ์ ๓) ดูกรภิกษุทั้งหลาย ภิกษุผู้ประกอบด้วยองค์ ๕ พึงให้อุปสมบท พึงให้นิสสัย พึงให้สามเณรอุปัฏฐาก คือ  ๑. เป็นผู้มีศรัทธา ๒. เป็นผู้มีหิริ ๓. เป็นผู้มีโอตตัปปะ ๔. เป็นผู้ปรารภความเพียร และ ๕. เป็นผู้มีสติตั้งมั่น  ดูกรภิกษุทั้งหลาย ภิกษุผู้ประกอบด้วยองค์ ๔ นี้แล พึงให้อุปสมบท พึงให้นิสสัย พึงให้สามเณรอุปัฏฐาก. 
(๒๓. อุปสมฺปาเทตพฺพปญฺจกํ) ๘๔. “ปญฺจหิ ภิกฺขเว องฺเคหิ สมนฺนาคเตน ภิกฺขุนา น อุปสมฺปาเทตพฺพํ น นิสฺสโย ทาตพฺโพ น สามเณโร อุปฏฺฐาเปตพฺโพ.  น อเสกฺเขน สีลกฺขนฺเธน สมนฺนาคโต โหติ น อเสกฺเขน สมาธิกฺขนฺเธน สมนฺนาคโต โหติ น อเสกฺเขน ปญฺญากฺขนฺเธน สมนฺนาคโต โหติ น อเสกฺเขน วิมุตฺติกฺขนฺเธน สมนฺนาคโต โหติ น อเสกฺเขน วิมุตฺติญาณทสฺสนกฺขนฺเธน สมนฺนาคโต โหติ  อิเมหิ โข ภิกฺขเว ปญฺจหงฺเคหิ สมนฺนาคเตน ภิกฺขุนา น อุปสมฺปาเทตพฺพํ น นิสฺสโย ทาตพฺโพ น สามเณโร อุปฏฺฐาเปตพฺโพ. 
aparehi pi bhikkhave pañcah’ aṅgehi samannāgatena bhikkhunā na upasampādetabbaṃ, na nissayo dātabbo, na sāmaṇero upaṭṭhāpetabbo:  adhisīle sīlavipanno hoti, ajjhācāre ācāravipanno hoti, atidiṭṭhiyā diṭṭhivipanno hoti, appassuto hoti, duppañño hoti.  imehi kho bhikkhave pañcah’ aṅgehi samannāgatena bhikkhunā na upasampādetabbaṃ, na nissayo dātabbo, na sāmaṇero upaṭṭhāpetabbo. |8| 
In these five cases, &c.  'And also in other five cases, O Bhikkhus, a Bhikkhu should not confer , &c.:  When as regards moral practices he is guilty of moral transgressions; or when as regards the rules of conduct he is guilty of transgressions in his conduct; or when as regards belief he is guilty of heresy; or when he is unlearned; or when he is foolish. 
(กัณหปักษ์ ๔) ดูกรภิกษุทั้งหลาย ภิกษุผู้ประกอบด้วยองค์ ๕ แม้อื่นอีก ไม่พึงให้อุปสมบท ไม่พึงให้นิสสัย ไม่พึงให้สามเณรอุปัฏฐาก คือ  ๑. เป็นผู้วิบัติด้วยศีล ในอธิศีล ๒. เป็นผู้วิบัติด้วยอาจาระ ในอัธยาจาร ๓. เป็นผู้วิบัติด้วยทิฏฐิ ในทิฏฐิยิ่ง ๔. เป็นผู้ได้ยินได้ฟังน้อย และ ๕. เป็นผู้มีปัญญาทราม  ดูกรภิกษุทั้งหลาย ภิกษุผู้ประกอบด้วยองค์ ๕ นี้แล ไม่พึงให้อุปสมบท ไม่พึงให้นิสสัย ไม่พึงให้สามเณรอุปัฏฐาก. 
“ปญฺจหิ ภิกฺขเว องฺเคหิ สมนฺนาคเตน ภิกฺขุนา อุปสมฺปาเทตพฺพํ นิสฺสโย ทาตพฺโพ สามเณโร อุปฏฺฐาเปตพฺโพ.  อเสกฺเขน สีลกฺขนฺเธน สมนฺนาคโต โหติ อเสกฺเขน สมาธิกฺขนฺเธน สมนฺนาคโต โหติ อเสกฺเขน ปญฺญากฺขนฺเธน สมนฺนาคโต โหติ อเสกฺเขน วิมุตฺติกฺขนฺเธน สมนฺนาคโต โหติ อเสกฺเขน วิมุตฺติญาณทสฺสนกฺขนฺเธน สมนฺนาคโต โหติ  อิเมหิ โข ภิกฺขเว ปญฺจหงฺเคหิ สมนฺนาคเตน ภิกฺขุนา อุปสมฺปาเทตพฺพํ นิสฺสโย ทาตพฺโพ สามเณโร อุปฏฺฐาเปตพฺโพ. 
pañcahi bhikkhave aṅgehi samannāgatena bhikkhunā upasampāde-(64)tabbaṃ, nissayo dātabbo, sāmaṇero upaṭṭhāpetabbo:  na adhisīle sīlavipanno hoti, na ajjhācāre ācāravipanno hoti, na atidiṭṭhiyā diṭṭhivipanno hoti, bahussuto hoti, pāññavā hoti.  imehi kho bhikkhave pañcah’ aṅgehi samannāgatena bhikkhunā upasampādetabbaṃ, nissayo dātabbo, sāmaṇero upaṭṭhāpetabbo. |9| 
In these five cases, &c.  'In five cases, O Bhikkhus, a Bhikkhu may confer, &c.: When as regards moral practices he is not guilty of moral transgressions, &c.;  when he is learned; and when he is wise. 
(ศุกลปักษ์ ๔) ดูกรภิกษุทั้งหลาย ภิกษุผู้ประกอบด้วยองค์ ๕ พึงให้อุปสมบท พึงให้นิสสัย พึงให้สามเณรอุปัฏฐาก คือ  ๑. เป็นผู้ไม่วิบัติด้วยศีล ในอธิศีล ๒. เป็นผู้ไม่วิบัติด้วยอาจาระ ในอัธยาจาร ๓. เป็นผู้ไม่วิบัติด้วยทิฏฐิ ในทิฏฐิยิ่ง ๔. เป็นผู้ได้ยินได้ฟังมาก และ ๕. เป็นผู้มีปัญญา  ดูกรภิกษุทั้งหลาย ภิกษุผู้ประกอบด้วยองค์ ๕ นี้แล พึงให้อุปสมบท พึงให้นิสสัย พึงให้สามเณรอุปัฏฐาก. 
“อปเรหิปิ ภิกฺขเว ปญฺจหงฺเคหิ สมนฺนาคเตน ภิกฺขุนา น อุปสมฺปาเทตพฺพํ น นิสฺสโย ทาตพฺโพ น สามเณโร อุปฏฺฐาเปตพฺโพ.  อตฺตนา น อเสกฺเขน สีลกฺขนฺเธน สมนฺนาคโต โหติ น ปรํ อเสกฺเข สีลกฺขนฺเธ สมาทเปตา อตฺตนา น อเสกฺเขน สมาธิกฺขนฺเธน สมนฺนาคโต โหติ น ปรํ อเสกฺเข สมาธิกฺขนฺเธ สมาทเปตา อตฺตนา น อเสกฺเขน ปญฺญากฺขนฺเธน สมนฺนาคโต โหติ น ปรํ อเสกฺเข ปญฺญากฺขนฺเธ สมาทเปตา อตฺตนา น อเสกฺเขน วิมุตฺติกฺขนฺเธน สมนฺนาคโต โหติ น ปรํ อเสกฺเข วิมุตฺติกฺขนฺเธ สมาทเปตา อตฺตนา น อเสกฺเขน วิมุตฺติญาณทสฺสนกฺขนฺเธน สมนฺนาคโต โหติ น ปรํ อเสกฺเข วิมุตฺติญาณทสฺสนกฺขนฺเธ สมาทเปตา  อิเมหิ โข ภิกฺขเว ปญฺจหงฺเคหิ สมนฺนาคเตน ภิกฺขุนา น อุปสมฺปาเทตพฺพํ น นิสฺสโย ทาตพฺโพ น สามเณโร อุปฏฺฐาเปตพฺโพ. 
aparehi pi bhikkhave pañcah’ aṅgehi samannāgatena bhikkhunā na upasampādetabbaṃ, na nissayo dātabbo, na sāmaṇero upaṭṭhāpetabbo:  na paṭibalo hoti antevāsiṃ vā saddhivihāriṃ vā gilānaṃ upaṭṭhātuṃ vā upaṭṭhāpetuṃ vā, uppannaṃ anabhiratiṃ vūpakāsetuṃ vā vūpakāsāpetuṃ vā, uppannaṃ kukkuccaṃ dhammato vinodetuṃ vā vinodāpetuṃ vā, āpattiṃ na jānāti, āpattiyā vuṭṭhānaṃ na jānāti.  imehi kho bhikkhave pañcah’ aṅgehi samannāgatena bhikkhunā na upasampādetabbaṃ, na nissayo dātabbo, na sāmaṇero upaṭṭhāpetabbo. |10| 
In these five cases, &c.  'And also in other five cases, O Bhikkhus, a Bhikkhu should not confer, &c.:  When he is not able to nurse or to get nursed an antevâsika or a saddhivihârika when he is sick, to appease him or to cause him to be appeased when discontent with religious life has sprung up within him, to dispel or to cause to be dispelled according to the Dhamma doubts of conscience which have arisen in his mind; when he does not know what is an offence; or does not know how to atone for an offence. 
(กัณหปักษ์ ๕) ดูกรภิกษุทั้งหลาย ภิกษุผู้ประกอบด้วยองค์ ๕ แม้อื่นอีก ไม่พึงให้อุปสมบท ไม่พึงให้นิสสัย ไม่พึงให้สามเณรอุปัฏฐาก คือ  ๑. ไม่สามารถจะพยาบาลเอง หรือให้ผู้อื่นพยาบาลอันเตวาสิก หรือสัทธิวิหาริกผู้อาพาธ ๒. ไม่สามารถจะระงับเอง หรือหาผู้อื่นให้ช่วยระงับความกระสัน ๓. ไม่สามารถจะบรรเทาเอง หรือหาผู้อื่นให้ช่วยบรรเทาความเบื่อหน่ายอันเกิดขึ้นแล้วโดยธรรม ๔. ไม่รู้จักอาบัติ และ ๕. ไม่รู้จักวิธีออกจากอาบัติ  ดูกรภิกษุทั้งหลาย ภิกษุผู้ประกอบด้วยองค์ ๕ นี้แล ไม่พึงให้อุปสมบท ไม่พึงให้นิสสัย ไม่พึงให้สามเณรอุปัฏฐาก. 
“ปญฺจหิ ภิกฺขเว องฺเคหิ สมนฺนาคเตน ภิกฺขุนา อุปสมฺปาเทตพฺพํ นิสฺสโย ทาตพฺโพ สามเณโร อุปฏฺฐาเปตพฺโพ.  อตฺตนา อเสกฺเขน สีลกฺขนฺเธน สมนฺนาคโต โหติ ปรํ อเสกฺเข สีลกฺขนฺเธ สมาทเปตา อตฺตนา อเสกฺเขน สมาธิกฺขนฺเธน สมนฺนาคโต โหติ ปรํ อเสกฺเข สมาธิกฺขนฺเธ สมาทเปตา อตฺตนา อเสกฺเขน ปญฺญากฺขนฺเธน สมนฺนาคโต โหติ ปรํ อเสกฺเข ปญฺญากฺขนฺเธ สมาทเปตา อตฺตนา อเสกฺเขน วิมุตฺติกฺขนฺเธน สมนฺนาคโต โหติ ปรํ อเสกฺเข วิมุตฺติกฺขนฺเธ สมาทเปตา อตฺตนา อเสกฺเขน วิมุตฺติญาณทสฺสนกฺขนฺเธน สมนฺนาคโต โหติ ปรํ อเสกฺเข วิมุตฺติญาณทสฺสนกฺขนฺเธ สมาทเปตา  อิเมหิ โข ภิกฺขเว ปญฺจหงฺเคหิ สมนฺนาคเตน ภิกฺขุนา อุปสมฺปาเทตพฺพํ นิสฺสโย ทาตพฺโพ สามเณโร อุปฏฺฐาเปตพฺโพ. 
pañcahi bhikkhave aṅgehi samannāgatena bhikkhunā upasampādetabbaṃ, nissayo dātabbo, sāmaṇero upaṭṭhāpetabbo:  paṭibalo hoti antevāsiṃ vā saddhivihāriṃ vā gilānaṃ upaṭṭhātuṃ vā upaṭṭhāpetuṃ vā, uppannaṃ anabhiratiṃ vūpakāsetuṃ vā vūpakāsāpetuṃ vā, uppannaṃ kukkuccaṃ dhammato vinodetuṃ vā vinodāpetuṃ vā, āpattiṃ jānāti, āpattiyā vuṭṭhānaṃ jānati.  imehi kho bhikkhave pañcah’ aṅgehi samannāgatena bhikkhunā upasampādetabbaṃ, nissayo dātabbo, sāmaṇero upaṭṭhāpetabbo. |11| 
In these five cases, &c.  'In five cases, O Bhikkhus, a Bhikkhu may confer, &c.: When he is able (&c., down to:);  when he knows what is an offence; and knows how to atone for an offence. 
(ศุกลปักษ์ ๕) ดูกรภิกษุทั้งหลาย ภิกษุผู้ประกอบด้วยองค์ ๕ พึงให้อุปสมบท พึงให้นิสสัย พึงให้สามเณรอุปัฏฐาก คือ  ๑. อาจจะพยาบาลเอง หรือให้ผู้อื่นพยาบาลอันเตวาสิก หรือสัทธิวิหาริกผู้อาพาธ ๒. อาจจะระงับเอง หรือหาผู้อื่นให้ช่วยระงับความกระสัน ๓. อาจจะบรรเทาเอง หรือหาผู้อื่นให้ช่วยบรรเทาความเบื่อหน่าย อันเกิดขึ้นแล้วโดยธรรม ๔. รู้จักอาบัติ และ ๕. รู้จักวิธีออกจากอาบัติ  ดูกรภิกษุทั้งหลาย ภิกษุผู้ประกอบด้วยองค์ ๕ นี้แล พึงให้อุปสมบท พึงให้นิสสัย พึงให้สามเณรอุปัฏฐาก. 
“อปเรหิปิ ภิกฺขเว ปญฺจหงฺเคหิ สมนฺนาคเตน ภิกฺขุนา น อุปสมฺปาเทตพฺพํ น นิสฺสโย ทาตพฺโพ น สามเณโร อุปฏฺฐาเปตพฺโพ.  อสฺสทฺโธ โหติ อหิริโก โหติ อโนตฺตปฺปี โหติ กุสีโต โหติ มุฏฺฐสฺสติ โหติ  อิเมหิ โข ภิกฺขเว ปญฺจหงฺเคหิ สมนฺนาคเตน ภิกฺขุนา น อุปสมฺปาเทตพฺพํ น นิสฺสโย ทาตพฺโพ น สามเณโร อุปฏฺฐาเปตพฺโพ. 
aparehi pi bhikkhave pañcah’ aṅgehi samannāgatena bhikkhunā na upasampādetabbaṃ, na nissayo dātabbo, na sāmaṇero upaṭṭhāpetabbo:  na paṭibalo hoti antevāsiṃ vā saddhivihāriṃ vā abhisamācārikāya sikkhāya sikkhāpetuṃ, ādibrahmacariyikāya sikkhāya vinetuṃ, abhidhamme vinetuṃ, abhivinaye vinetuṃ, uppannaṃ diṭṭhigataṃ dhammato vivecetuṃ vivecāpetuṃ.  imehi kho bhikkhave pañcah’ aṅgehi samannāgatena bhikkhunā na upasampādetabbaṃ, na nissayo dātabbo, na sāmaṇero upaṭṭhāpetabbo. |12| 
In these five cases, &c.  'And also in other five cases, O Bhikkhus, a Bhikkhu should not confer, &c.:  When he is not able to train an antevâsika or a saddhivihârika in the precepts of proper conduct, to educate him in the elements of morality, to instruct him in what pertains to the Dhamma, to instruct him in what pertains to the Vinaya, to discuss or to make another discuss according to the Dhamma a false doctrine that might arise. 
(กัณหปักษ์ ๖) ดูกรภิกษุทั้งหลาย ภิกษุผู้ประกอบด้วยองค์ ๕ แม้อื่นอีก ไม่พึงให้อุปสมบท ไม่พึงให้นิสสัย ไม่พึงให้สามเณรอุปัฏฐาก คือ  ๑. ไม่อาจจะฝึกปรืออันเตวาสิกหรือสัทธิวิหาริก ในสิกขาอันเป็นอภิสมาจาร ๒. ไม่อาจจะแนะนำในสิกขา อันเป็นส่วนเบื้องต้นแห่งพรหมจรรย์ ๓. ไม่อาจจะแนะนำในธรรมอันยิ่งขึ้นไป ๔. ไม่อาจจะแนะนำในวินัยอันยิ่งขึ้นไป และ ๕. ไม่อาจจะเปลื้องความเห็นผิดอันเกิดขึ้นแล้วโดยธรรม  ดูกรภิกษุทั้งหลาย ภิกษุผู้ประกอบด้วยองค์ ๕ นี้แล ไม่พึงให้อุปสมบท ไม่พึงให้นิสสัย ไม่พึงให้สามเณรอุปัฏฐาก. 
“ปญฺจหิ ภิกฺขเว องฺเคหิ สมนฺนาคเตน ภิกฺขุนา อุปสมฺปาเทตพฺพํ นิสฺสโย ทาตพฺโพ สามเณโร อุปฏฺฐาเปตพฺโพ.  สทฺโธ โหติ หิริมา โหติ โอตฺตปฺปี โหติ อารทฺธวีริโย โหติ อุปฏฺฐิตสฺสติ โหติ  อิเมหิ โข ภิกฺขเว ปญฺจหงฺเคหิ สมนฺนาคเตน ภิกฺขุนา อุปสมฺปาเทตพฺพํ นิสฺสโย ทาตพฺโพ สามเณโร อุปฏฺฐาเปตพฺโพ. 
pañcahi bhikkhave aṅgehi samannāgatena bhikkhunā upasampādetabbaṃ, nissayo dātabbo, sāmaṇero upaṭṭhāpetabbo:  paṭibalo hoti antevāsiṃ vā saddhivihāriṃ vā abhisamācārikāya sikkhāya sikkhāpetuṃ, ādibrahmacariyikāya sikkhāya vinetuṃ, abhidhamme vinetuṃ, abhivinaye vinetuṃ, uppannaṃ diṭṭhigataṃ dham-(65)mato vivecetuṃ vivecāpetuṃ.  imehi kho {bhikkhave} pañcah’ aṅgehi samannāgatena bhikkhunā upasampādetabbaṃ, nissayo dātabbo, sāmaṇero upaṭṭhāpetabbo. |13| 
In these:fÏve cases, &c.  'In five cases, O Bhikkhus, a Bhikkhu may confer, &c.:  When he is able, &c. 
(ศุกลปักษ์ ๖) ดูกรภิกษุทั้งหลาย ภิกษุผู้ประกอบด้วยองค์ ๕ พึงให้อุปสมบท พึงให้นิสสัย พึงให้สามเณรอุปัฏฐาก คือ  ๑. อาจจะฝึกปรืออันเตวาสิกหรือสัทธิวิหาริก ในสิกขาอันเป็นอภิสมาจาร ๒. อาจจะแนะนำในสิกขา อันเป็นส่วนเบื้องต้นแห่งพรหมจรรย์ ๓. อาจจะแนะนำในธรรมอันยิ่งขึ้นไป ๔. อาจจะแนะนำในวินัยอันยิ่งขึ้นไป และ ๕. อาจจะเปลื้องความเห็นผิดอันเกิดขึ้นแล้วโดยธรรม  ดูกรภิกษุทั้งหลาย ภิกษุผู้ประกอบด้วยองค์ ๕ นี้แล พึงให้อุปสมบท พึงให้นิสสัย พึงให้สามเณรอุปัฏฐาก. 
“อปเรหิปิ ภิกฺขเว ปญฺจหงฺเคหิ สมนฺนาคเตน ภิกฺขุนา น อุปสมฺปาเทตพฺพํ น นิสฺสโย ทาตพฺโพ น สามเณโร อุปฏฺฐาเปตพฺโพ.  อธิสีเล สีลวิปนฺโน โหติ อชฺฌาจาเร อาจารวิปนฺโน โหติ อติทิฏฺฐิยา ทิฏฺฐิวิปนฺโน โหติ อปฺปสฺสุโต โหติ ทุปฺปญฺโญ โหติ  อิเมหิ โข ภิกฺขเว ปญฺจหงฺเคหิ สมนฺนาคเตน ภิกฺขุนา น อุปสมฺปาเทตพฺพํ น นิสฺสโย ทาตพฺโพ น สามเณโร อุปฏฺฐาเปตพฺโพ. 
aparehi pi bhikkhave pañcah’ aṅgehi samannāgatena bhikkhunā na upasampādetabbaṃ, na nissayo dātabbo, na sāmaṇero upaṭṭhāpetabbo:  āpattiṃ na jānāti, anāpattiṃ na jānāti, lahukaṃ āpattiṃ na jānāti, garukaṃ āpattiṃ na jānāti, ubhayāni kho pan’ assa pātimokkhāni vitthārena na svāgatāni honti, na suvibhattāni, na suppavattīni, na suvinicchitāni suttato anuvyañjanaso.  imehi kho bhikkhave pañcah’ aṅgehi samannāgatena bhikkhunā na upasampādetabbaṃ, na nissayo dātabbo, na sāmaṇero upaṭṭhāpetabbo. |14| 
  'And also in other five cases, O Bhikkhus, a Bhikkhu should not confer, &c.:  When he does not know what is an offence; or does not know what is no offence; or does not know what is a light offence; or does not know what is a grave offence; when the two Pâtimokkhas are not perfectly known to him in their entirety, with all their divisions and their whole course, and with the entire discussion according to the single rules and to the single parts of each rule. 
(กัณหปักษ์ ๗) ดูกรภิกษุทั้งหลาย ภิกษุผู้ประกอบด้วยองค์ ๕ แม้อื่นอีก ไม่พึงให้อุปสมบท ไม่พึงให้นิสสัย ไม่พึงให้สามเณรอุปัฏฐาก คือ  ๑. ไม่รู้จักอาบัติ ๒. ไม่รู้จักอนาบัติ ๓. ไม่รู้จักอาบัติเบา ๔. ไม่รู้จักอาบัติหนัก และ ๕. เธอจำปาติโมกข์ทั้งสองไม่ได้ดีโดยพิสดาร จำแนกไม่ได้ด้วยดี ไม่คล่องแคล่วดี วินิจฉัยไม่เรียบร้อย โดยสุตตะ โดยอนุพยัญชนะ  ดูกรภิกษุทั้งหลาย ภิกษุผู้ประกอบด้วยองค์ ๕ นี้แล ไม่พึงให้อุปสมบท ไม่พึงให้นิสสัย ไม่พึงให้สามเณรอุปัฏฐาก. 
“ปญฺจหิ ภิกฺขเว องฺเคหิ สมนฺนาคเตน ภิกฺขุนา อุปสมฺปาเทตพฺพํ นิสฺสโย ทาตพฺโพ สามเณโร อุปฏฺฐาเปตพฺโพ.  น อธิสีเล สีลวิปนฺโน โหติ น อชฺฌาจาเร อาจารวิปนฺโน โหติ น อติทิฏฺฐิยา ทิฏฺฐิวิปนฺโน โหติ พหุสฺสุโต โหติ ปญฺญวา โหติ  อิเมหิ โข ภิกฺขเว ปญฺจหงฺเคหิ สมนฺนาคเตน ภิกฺขุนา อุปสมฺปาเทตพฺพํ นิสฺสโย ทาตพฺโพ สามเณโร อุปฏฺฐาเปตพฺโพ. 
pañcahi bhikkhave aṅgehi samannāgatena bhikkhunā upasampādetabbaṃ, nissayo dātabbo, sāmaṇero upaṭṭhāpetabbo:  āpattiṃ jānāti, anāpattiṃ jānāti, lahukaṃ āpattiṃ jānāti, garukaṃ āpattiṃ jānāti, ubhayāni kho pan’ assa pātimokkhāni vitthārena svāgatāni honti suvibhattāni suppavattīni suvinicchitāni suttato anuvyañjanaso.  imehi kho bhikkhave pañcah’ aṅgehi samannāgatena bhikkhunā upasampādetabbaṃ, nissayo dātabbo, sāmaṇero upaṭṭhāpetabbo. |15| 
In these five cases, &c.  'In five cases, O Bhikkhus, a Bhikkhu may confer, &c.:  When he knows, &c. 
(ศุกลปักษ์ ๗) ดูกรภิกษุทั้งหลาย ภิกษุผู้ประกอบองค์ ๕ พึงให้อุปสมบท พึงให้นิสสัย พึงให้สามเณรอุปัฏฐาก คือ  ๑. รู้จักอาบัติ ๒. รู้จักอนาบัติ ๓. รู้จักอาบัติเบา ๔. รู้จักอาบัติหนัก และ ๕. เธอจำปาติโมกข์ทั้งสองได้ดีโดยพิสดาร จำแนกดี คล่องแคล่วดี วินิจฉัยเรียบร้อยโดยสุตตะ โดยอนุพยัญชนะ  ดูกรภิกษุทั้งหลาย ภิกษุผู้ประกอบด้วยองค์ ๕ นี้แล พึงให้อุปสมบท พึงให้นิสสัย พึงให้สามเณรอุปัฏฐาก. 
“อปเรหิปิ ภิกฺขเว ปญฺจหงฺเคหิ สมนฺนาคเตน ภิกฺขุนา น อุปสมฺปาเทตพฺพํ น นิสฺสโย ทาตพฺโพ น สามเณโร อุปฏฺฐาเปตพฺโพ.  น ปฏิพโล โหติ อนฺเตวาสึ วา สทฺธิวิหารึ วา คิลานํ อุปฏฺฐาตุํ วา อุปฏฺฐาเปตุํ วา อนภิรตํ วูปกาเสตุํ วา วูปกาสาเปตุํ วา อุปฺปนฺนํ กุกฺกุจฺจํ ธมฺมโต วิโนเทตุํ อาปตฺตึ น ชานาติ อาปตฺติยา วุฏฺฐานํ น ชานาติ  อิเมหิ โข ภิกฺขเว ปญฺจหงฺเคหิ สมนฺนาคเตน ภิกฺขุนา น อุปสมฺปาเทตพฺพํ น นิสฺสโย ทาตพฺโพ น สามเณโร อุปฏฺฐาเปตพฺโพ. 
aparehi pi bhikkhave pañcah’ aṅgehi samannāgatena bhikkhunā na upasampādetabbaṃ, na nissayo dātabbo, na sāmaṇero upaṭṭhāpetabbo:  āpattiṃ na jānāti, anāpattiṃ na jānāti, lahukaṃ āpattiṃ na jānāti, garukaṃ āpattiṃ na jānāti, ūnadasavasso hoti.  imehi kho bhikkhave pañcah’ aṅgehi samannāgatena bhikkhunā na upasampādetabbaṃ, na nissayo dātabbo, na sāmaṇero upaṭṭhāpetabbo. |16| 
  'And also in other five cases, O Bhikkhus, a Bhikkhu should not confer, &c.:  When he does not know what is an offence; or does not know what is no offence; or does not know what is a light offence; or does not know what is a grave offence; or when he has not completed the tenth year (after his upasampadâ). 
(กัณหปักษ์ ๘) ดูกรภิกษุทั้งหลาย ภิกษุผู้ประกอบด้วยองค์ ๕ แม้อื่นอีก ไม่พึงให้อุปสมบท ไม่พึงให้นิสสัย ไม่พึงให้สามเณรอุปัฏฐาก คือ  ๑. ไม่รู้จักอาบัติ ๒. ไม่รู้จักอนาบัติ ๓. ไม่รู้จักอาบัติเบา ๔. ไม่รู้จักอาบัติหนัก และ ๕. มีพรรษาหย่อน ๑๐  ดูกรภิกษุทั้งหลาย ภิกษุผู้ประกอบด้วยองค์ ๕ นี้แล ไม่พึงให้อุปสมบท ไม่พึงให้นิสสัย ไม่พึงให้สามเณรอุปัฏฐาก. 
“ปญฺจหิ ภิกฺขเว องฺเคหิ สมนฺนาคเตน ภิกฺขุนา อุปสมฺปาเทตพฺพํ นิสฺสโย ทาตพฺโพ สามเณโร อุปฏฺฐาเปตพฺโพ.  ปฏิพโล โหติ อนฺเตวาสึ วา สทฺธิวิหารึ วา คิลานํ อุปฏฺฐาตุํ วา อุปฏฺฐาเปตุํ วา อนภิรตํ วูปกาเสตุํ วา วูปกาสาเปตุํ วา อุปฺปนฺนํ กุกฺกุจฺจํ ธมฺมโต วิโนเทตุํ อาปตฺตึ ชานาติ อาปตฺติยา วุฏฺฐานํ ชานาติ  อิเมหิ โข ภิกฺขเว ปญฺจหงฺเคหิ สมนฺนาคเตน ภิกฺขุนา อุปสมฺปาเทตพฺพํ นิสฺสโย ทาตพฺโพ สามเณโร อุปฏฺฐาเปตพฺโพ. 
pañcahi bhikkhave aṅgehi samannāgatena bhikkhunā upasampādetabbaṃ, nissayo dātabbo, sāmaṇero upaṭṭhāpetabbo:  āpattiṃ jānāti, anāpattiṃ jānāti, lahukaṃ āpattiṃ jānāti, garukaṃ āpattiṃ jānāti, dasavasso vā hoti atirekadasavasso vā.  imehi kho bhikkhave pañcah’ aṅgehi samannāgatena bhikkhunā upasampādetabbaṃ, nissayo dātabbo, sāmaṇero upaṭṭhāpetabbo ’ti. |17| 
In these five cases, &c.  'In five cases, O Bhikkhus, a Bhikkhu may confer, &c.:  When he knows (&c., down to:); when he has completed ten years or more than ten years (after his upasampadâ). 
(ศุกลปักษ์ ๘) ดูกรภิกษุทั้งหลาย ภิกษุผู้ประกอบด้วยองค์ ๕ พึงให้อุปสมบท พึงให้นิสสัย พึงให้สามเณรอุปัฏฐาก คือ  ๑. รู้จักอาบัติ ๒. รู้จักอนาบัติ ๓. รู้จักอาบัติเบา ๔. รู้จักอาบัติหนัก และ ๕. มีพรรษาได้ ๑๐ หรือมีพรรษาเกิน ๑๐  ดูกรภิกษุทั้งหลาย ภิกษุผู้ประกอบด้วยองค์ ๕ นี้แล พึงให้อุปสมบท พึงให้นิสสัย พึงให้สามเณรอุปัฏฐาก. 
“อปเรหิปิ ภิกฺขเว ปญฺจหงฺเคหิ สมนฺนาคเตน ภิกฺขุนา น อุปสมฺปาเทตพฺพํ น นิสฺสโย ทาตพฺโพ น สามเณโร อุปฏฺฐาเปตพฺโพ.  น ปฏิพโล โหติ อนฺเตวาสึ วา สทฺธิวิหารึ วา อภิสมาจาริกาย สิกฺขาย สิกฺขาเปตุํ อาทิพฺรหฺมจริยกาย สิกฺขาย วิเนตุํ อภิธมฺเม วิเนตุํ อภิวินเย วิเนตุํ อุปฺปนฺนํ ทิฏฺฐิคตํ ธมฺมโต วิเวเจตุํ  อิเมหิ โข ภิกฺขเว ปญฺจหงฺเคหิ สมนฺนาคเตน ภิกฺขุนา น อุปสมฺปาเทตพฺพํ น นิสฺสโย ทาตพฺโพ น สามเณโร อุปฏฺฐาเปตพฺโพ. 
upasampādetabbapañcakaṃ soḷasavāraṃ niṭṭhitaṃ. ||36|| 
In these five cases, &c.' 
องค์ ๕ แห่งภิกษุผู้ให้อุปสมบท ๑๖ หมวด จบ. 
“ปญฺจหิ ภิกฺขเว องฺเคหิ สมนฺนาคเตน ภิกฺขุนา อุปสมฺปาเทตพฺพํ นิสฺสโย ทาตพฺโพ สามเณโร อุปฏฺฐาเปตพฺโพ. 
chahi bhikkhave aṅgehi samannāgatena bhikkhunā na upasampādetabbaṃ, na nissayo dātabbo, na sāmaṇero upa-(66)ṭṭhāpetabbo:  na asekhena sīlakkhandhena samannāgato hoti, na asekhena samādhikkhandhena s. h., na asekhena paññākkhandhena s. h., na asekhena vimuttikkhandhena s. h., na asekhena vimuttiñāṇadassanakkhandhena s. h., ūnadasavasso hoti.  imehi kho bhikkhave chah’ aṅgehi samannāgatena bhikkhunā na upasampādetabbaṃ, na nissayo dātabbo,na sāmaṇero upaṭṭhāpetabbo. |1| 
End of the sixteen times five cases concerning the admissibility of upasampadâ.  'In six cases, O Bhikkhus, a Bhikkhu should not confer, &c.1'   
องค์ ๖ แห่งภิกษุผู้ให้อุปสมบท ๑๖ หมวด // (กัณหปักษ์ ๑) [๙๙] ดูกรภิกษุทั้งหลาย ภิกษุผู้ประกอบด้วยองค์ ๖ ไม่พึงให้อุปสมบท ไม่พึงให้นิสสัย ไม่พึงให้สามเณรอุปัฏฐาก คือ  ๑. ไม่ประกอบด้วยกองศีล อันเป็นของพระอเสขะ ๒. ไม่ประกอบด้วยกองสมาธิ อันเป็นของพระอเสขะ ๓. ไม่ประกอบด้วยกองปัญญา อันเป็นของพระอเสขะ ๔. ไม่ประกอบด้วยกองวิมุติ อันเป็นของพระอเสขะ ๕. ไม่ประกอบด้วยกองวิมุตติญาณทัสสนะ อันเป็นของพระอเสขะ และ ๖. มีพรรษาหย่อน ๑๐  ดูกรภิกษุทั้งหลาย ภิกษุผู้ประกอบด้วยองค์ ๖ นี้แล ไม่พึงให้อุปสมบท ไม่พึงให้นิสสัย ไม่พึงให้สามเณรอุปัฏฐาก. 
ปฏิพโล โหติ อนฺเตวาสึ วา สทฺธิวิหารึ วา อภิสมาจาริกาย สิกฺขาย สิกฺขาเปตุํ อาทิพฺรหฺมจริยกาย สิกฺขาย วิเนตุํ อภิธมฺเม วิเนตุํ อภิวินเย วิเนตุํ อุปฺปนฺนํ ทิฏฺฐิคตํ ธมฺมโต วิเวเจตุํ  อิเมหิ โข ภิกฺขเว ปญฺจหงฺเคหิ สมนฺนาคเตน ภิกฺขุนา อุปสมฺปาเทตพฺพํ นิสฺสโย ทาตพฺโพ สามเณโร อุปฏฺฐาเปตพฺโพ.  “อปเรหิปิ ภิกฺขเว ปญฺจหงฺเคหิ สมนฺนาคเตน ภิกฺขุนา น อุปสมฺปาเทตพฺพํ น นิสฺสโย ทาตพฺโพ น สามเณโร อุปฏฺฐาเปตพฺโพ. 
chahi bhikkhave aṅgehi samannāgatena bhikkhunā upasampādetabbaṃ, nissayo dātabbo, sāmaṇero upaṭṭhāpetabbo:  asekhena sīlakkhandhena samannāgato hoti, . . . {asekhena} vimuttiñāṇadassanakkhandhena s. h., dasavasso vā hoti atirekadasavasso vā.  imehi kho bhikkhave chah’ aṅgehi samannāgatena bhikkhunā upasampādetabbaṃ, nissayo dātabbo, sāmaṇero upaṭṭhāpetabbo. |2| 
     
(ศุกลปักษ์ ๑) ดูกรภิกษุทั้งหลาย ภิกษุผู้ประกอบด้วยองค์ ๖ พึงให้อุปสมบท พึงให้นิสสัย พึงให้สามเณรอุปัฏฐาก คือ  ๑. ประกอบด้วยกองศีล อันเป็นของพระอเสขะ ๒. ประกอบด้วยกองสมาธิ อันเป็นของพระอเสขะ ๓. ประกอบด้วยกองปัญญา อันเป็นของพระอเสขะ ๔. ประกอบด้วยกองวิมุติ อันเป็นของพระอเสขะ ๕. ประกอบด้วยกองวิมุตติญาณทัสสนะ อันเป็นของพระอเสขะ และ ๖. มีพรรษาได้ ๑๐ หรือมีพรรษาเกิน ๑๐  ดูกรภิกษุทั้งหลาย ภิกษุผู้ประกอบด้วยองค์ ๖ นี้แล พึงให้อุปสมบท พึงให้นิสสัย พึงให้สามเณรอุปัฏฐาก. 
อาปตฺตึ น ชานาติ อนาปตฺตึ น ชานาติ ลหุกํ อาปตฺตึ น ชานาติ ครุกํ อาปตฺตึ น ชานาติ อุภยานิ โข ปนสฺส ปาติโมกฺขานิ วิตฺถาเรน น สฺวาคตานิ โหนฺติ น สุวิภตฺตานิ น สุปฺปวตฺตีนิ น สุวินิจฺฉิตานิ สุตฺตโส อนุพฺยญฺชนโส  อิเมหิ โข ภิกฺขเว ปญฺจหงฺเคหิ สมนฺนาคเตน ภิกฺขุนา น อุปสมฺปาเทตพฺพํ น นิสฺสโย ทาตพฺโพ น สามเณโร อุปฏฺฐาเปตพฺโพ.  “ปญฺจหิ ภิกฺขเว องฺเคหิ สมนฺนาคเตน ภิกฺขุนา อุปสมฺปาเทตพฺพํ นิสฺสโย ทาตพฺโพ สามเณโร อุปฏฺฐาเปตพฺโพ. 
aparehi pi bhikkhave chah’ aṅgehi samannāgatena bhikkhunā na upasampādetabbaṃ, na nissayo dātabbo, na sāmaṇero upaṭṭhāpetabbo:  attanā na asekhena sīlakkhandhena samannāgato hoti, na paraṃ asekhe sīlakkhandhe samādapetā, . . . attanā na asekhena vimuttiñāṇadassanakkhandhena s. h., na paraṃ asekhe vimuttiñāṇadassanakkhandhe samādapetā, ūnadasavasso hoti.  imehi kho bhikkhave chah’ aṅgehi samannāgatena bhikkhunā na upasampādetabbaṃ, na nissayo dātabbo, na sāmaṇero upaṭṭhāpetabbo. |3| 
     
(กัณหปักษ์ ๒) ดูกรภิกษุทั้งหลาย ภิกษุผู้ประกอบด้วยองค์ ๖ แม้อื่นอีก ไม่พึงให้อุปสมบท ไม่พึงให้นิสสัย ไม่พึงให้สามเณรอุปัฏฐาก คือ  ๑. ตนเองไม่ประกอบด้วยกองศีล อันเป็นของพระอเสขะ และไม่ชักชวนผู้อื่นในกองศีล อันเป็นของพระอเสขะ ๒. ตนเองไม่ประกอบด้วยกองสมาธิ อันเป็นของพระอเสขะ และไม่ชักชวนผู้อื่นในกองสมาธิ อันเป็นของพระอเสขะ ๓. ตนเองไม่ประกอบด้วยกองปัญญา อันเป็นของพระอเสขะ และไม่ชักชวนผู้อื่นในกองปัญญา อันเป็นของพระอเสขะ ๔. ตนเองไม่ประกอบด้วยกองวิมุติ อันเป็นของพระอเสขะ และไม่ชักชวนผู้อื่นในกองวิมุติ อันเป็นของพระอเสขะ ๕. ตนเองไม่ประกอบด้วยกองวิมุตติญาณทัสสนะ อันเป็นของพระอเสขะ และไม่ชักชวนผู้อื่นในกองวิมุตติญาณทัสสนะ อันเป็นของพระอเสขะ และ ๖. มีพรรษาหย่อน ๑๐  ดูกรภิกษุทั้งหลาย ภิกษุผู้ประกอบด้วยองค์ ๖ นี้แล ไม่พึงให้อุปสมบท ไม่พึงให้นิสสัย ไม่พึงให้สามเณรอุปัฏฐาก. 
อาปตฺตึ ชานาติ อนาปตฺตึ ชานาติ ลหุกํ อาปตฺตึ ชานาติ ครุกํ อาปตฺตึ ชานาติ อุภยานิ โข ปนสฺส ปาติโมกฺขานิ วิตฺถาเรน สฺวาคตานิ โหนฺติ สุวิภตฺตานิ สุปฺปวตฺตีนิ สุวินิจฺฉิตานิ สุตฺตโส อนุพฺยญฺชนโส  อิเมหิ โข ภิกฺขเว ปญฺจหงฺเคหิ สมนฺนาคเตน ภิกฺขุนา อุปสมฺปาเทตพฺพํ นิสฺสโย ทาตพฺโพ สามเณโร อุปฏฺฐาเปตพฺโพ.  “อปเรหิปิ ภิกฺขเว ปญฺจหงฺเคหิ สมนฺนาคเตน ภิกฺขุนา น อุปสมฺปาเทตพฺพํ น นิสฺสโย ทาตพฺโพ น สามเณโร อุปฏฺฐาเปตพฺโพ. 
chahibhikkhave aṅgehi samannāgatena bhikkhunā upasampādetabbaṃ, nissayo dātabbo, sāmaṇero upaṭṭhāpetabbo:  attanā asekhena sīlakkhandhena samannāgato hoti, paraṃ asekhe sīlakkhandhe samādapetā, . . . attanā asekhena vimuttiñāṇadassanakkhandhena samannāgato hoti, paraṃ asekhe vimuttiñāṇadassanakkhandhe samādapetā, dasavasso vā hoti atirekadasavasso vā.  imehi kho bhikkhave chah’ aṅgehi samannāgatena bhikkhunā upasampādetabbaṃ, nissayo dātabbo, sāmaṇero upaṭṭhāpetabbo. |4| 
     
(ศุกลปักษ์ ๒) ดูกรภิกษุทั้งหลาย ภิกษุผู้ประกอบด้วยองค์ ๖ พึงให้อุปสมบท พึงให้นิสสัย พึงให้สามเณรอุปัฏฐาก คือ  ๑. ตนเองประกอบด้วยกองศีล อันเป็นของพระอเสขะ และชักชวนผู้อื่นในกองศีลอันเป็นของพระอเสขะ ๒. ตนเองประกอบด้วยกองสมาธิ อันเป็นของพระอเสขะ และชักชวนผู้อื่นในกองสมาธิ อันเป็นของพระอเสขะ ๓. ตนเองประกอบด้วยกองปัญญา อันเป็นของพระอเสขะ และชักชวนผู้อื่นในกองปัญญา อันเป็นของพระอเสขะ ๔. ตนเองประกอบด้วยกองวิมุติ อันเป็นของพระอเสขะ และชักชวนผู้อื่นในกองวิมุติ อันเป็นของพระอเสขะ ๕. ตนเองประกอบด้วยกองวิมุตติญาณทัสสนะ อันเป็นของพระอเสขะ และชักชวนผู้อื่นในกองวิมุตติญาณทัสสนะ อันเป็นของพระอเสขะ และ ๖. มีพรรษาได้ ๑๐ หรือมีพรรษาเกิน ๑๐  ดูกรภิกษุทั้งหลาย ภิกษุผู้ประกอบด้วยองค์ ๖ นี้แล พึงให้อุปสมบท พึงให้นิสสัยพึงให้สามเณรอุปัฏฐาก. 
อาปตฺตึ น ชานาติ อนาปตฺตึ น ชานาติ ลหุกํ อาปตฺตึ น ชานาติ ครุกํ อาปตฺตึ น ชานาติ อูนทสวสฺโส โหติ  อิเมหิ โข ภิกฺขเว ปญฺจหงฺเคหิ สมนฺนาคเตน ภิกฺขุนา น อุปสมฺปาเทตพฺพํ น นิสฺสโย ทาตพฺโพ น สามเณโร อุปฏฺฐาเปตพฺโพ.  “ปญฺจหิ ภิกฺขเว องฺเคหิ สมนฺนาคเตน ภิกฺขุนา อุปสมฺปาเทตพฺพํ นิสฺสโย ทาตพฺโพ สามเณโร อุปฏฺฐาเปตพฺโพ. 
aparehi pi bhikkhave chah’ aṅgehi samannāgatena bhikkhunā na upasampādetabbaṃ, na nissayo dātabbo, na sāmaṇero upaṭṭhāpetabbo:  assaddho hoti, ahiriko hoti, anottappī hoti, kusīto hoti, muṭṭhassati hoti, ūnadasavasso hoti.  imehi kho bhikkhave chah’ aṅgehi samannāgatena bhikkhunā na upasampādetabbaṃ, na nissayo dātabbo, na sāmaṇero upaṭṭhāpetabbo. |5| 
     
(กัณหปักษ์ ๓) ดูกรภิกษุทั้งหลาย ภิกษุผู้ประกอบด้วยองค์ ๖ แม้อื่นอีก ไม่พึงให้อุปสมบท ไม่พึงให้นิสสัย ไม่พึงให้สามเณรอุปัฏฐาก คือ  ๑. เป็นผู้ไม่มีศรัทธา ๒. เป็นผู้ไม่มีหิริ ๓. เป็นผู้ไม่มีโอตตัปปะ ๔. เป็นผู้เกียจคร้าน ๕. เป็นผู้มีสติฟั่นเฟือน และ ๖. เป็นผู้มีพรรษาหย่อน ๑๐  ดูกรภิกษุทั้งหลาย ภิกษุประกอบด้วยองค์ ๖ นี้แล ไม่พึงให้อุปสมบท ไม่พึงให้นิสสัย ไม่พึงให้สามเณรอุปัฏฐาก. 
อาปตฺตึ ชานาติ อนาปตฺตึ ชานาติ ลหุกํ อาปตฺตึ ชานาติ ครุกํ อาปตฺตึ ชานาติ ทสวสฺโส วา โหติ อติเรกทสวสฺโส วา  อิเมหิ โข ภิกฺขเว ปญฺจหงฺเคหิ สมนฺนาคเตน ภิกฺขุนา อุปสมฺปาเทตพฺพํ นิสฺสโย ทาตพฺโพ สามเณโร อุปฏฺฐาเปตพฺโพ”ติ.  อุปสมฺปาเทตพฺพปญฺจกํ นิฏฺฐิตํ. 
chahi bhikkhave aṅgehi samannāgatena bhikkhunā [page 067]I. 37. 6-10.] MAHĀVAGGA. 67 upasampādetabbaṃ, nissayo dātabbo, sāmaṇero upaṭṭhāpetabbo:  saddho hoti, hirimā hoti, ottappī hoti, āraddhaviriyo hoti, upaṭṭhitasati hoti, dasavasso vā hoti atirekadasavasso vā.  imehi kho bhikkhave chah’ aṅgehi samannāgatena bhikkhunā upasampādetabbaṃ, nissayo dātabbo, sāmaṇero upaṭṭhāpetabbo. |6| 
     
(ศุกลปักษ์ ๓) ดูกรภิกษุทั้งหลาย ภิกษุผู้ประกอบด้วยองค์ ๖ พึงให้อุปสมบท พึงให้นิสสัย พึงให้สามเณรอุปัฏฐาก คือ  ๑. เป็นผู้มีศรัทธา ๒. เป็นผู้มีหิริ ๓. เป็นผู้มีโอตตัปปะ ๔. เป็นผู้ปรารภความเพียร ๕. เป็นผู้มีสติตั้งมั่น และ ๖. เป็นผู้มีพรรษาได้ ๑๐ หรือมีพรรษาเกิน ๑๐  ดูกรภิกษุทั้งหลาย ภิกษุผู้ประกอบด้วยองค์ ๖ นี้แล พึงให้อุปสมบท พึงให้นิสสัย พึงให้สามเณรอุปัฏฐาก. 
(๒๔. อุปสมฺปาเทตพฺพฉกฺกํ) ๘๕. “ฉหิ ภิกฺขเว องฺเคหิ สมนฺนาคเตน ภิกฺขุนา น อุปสมฺปาเทตพฺพํ น นิสฺสโย ทาตพฺโพ น สามเณโร อุปฏฺฐาเปตพฺโพ  น อเสกฺเขน สีลกฺขนฺเธน สมนฺนาคโต โหติ น อเสกฺเขน สมาธิกฺขนฺเธน สมนฺนาคโต โหติ น อเสกฺเขน ปญฺญากฺขนฺเธน สมนฺนาคโต โหติ น อเสกฺเขน วิมุตฺติกฺขนฺเธน สมนฺนาคโต โหติ น อเสกฺเขน วิมุตฺติญาณทสฺสนกฺขนฺเธน สมนฺนาคโต โหติ อูนทสวสฺโส โหติ  อิเมหิ โข ภิกฺขเว ฉหงฺเคหิ สมนฺนาคเตน ภิกฺขุนา น อุปสมฺปาเทตพฺพํ น นิสฺสโย ทาตพฺโพ น สามเณโร อุปฏฺฐาเปตพฺโพ. 
aparehi pi bhikkhave chah’ aṅgehi samannāgatena bhikkhunā na upasampādetabbaṃ, na nissayo dātabbo, na sāmaṇero upaṭṭhāpetabbo:  adhisīle sīlavipanno hoti, ajjhācāre ācāravipanno hoti, atidiṭṭhiyā diṭṭhivipanno hoti, {appassuto} hoti, duppañño hoti, ūnadasavasso hoti.  imehi kho bhikkhave chah’ aṅgehi samannāgatena bhikkhunā na upasampādetabbaṃ, na nissayo dātabbo, na sāmaṇero upaṭṭhāpetabbo. |7| 
     
(กัณหปักษ์ ๔) ดูกรภิกษุทั้งหลาย ภิกษุผู้ประกอบด้วยองค์ ๖ แม้อื่นอีก ไม่พึงให้อุปสมบท ไม่พึงให้นิสสัย ไม่พึงให้สามเณรอุปัฏฐาก คือ  ๑. เป็นผู้วิบัติด้วยศีล ในอธิศีล ๒. เป็นผู้วิบัติด้วยอาจาระ ในอัธยาจาร ๓. เป็นผู้วิบัติด้วยทิฏฐิ ในทิฏฐิยิ่ง ๔. เป็นผู้ได้ยินได้ฟังน้อย ๕. เป็นผู้มีปัญญาทราม และ ๖. เป็นผู้มีพรรษาหย่อน ๑๐  ดูกรภิกษุทั้งหลาย ภิกษุผู้ประกอบด้วยองค์ ๖ นี้แล ไม่พึงให้อุปสมบท ไม่พึงให้นิสสัย ไม่พึงให้สามเณรอุปัฏฐาก. 
“ฉหิ ภิกฺขเว องฺเคหิ สมนฺนาคเตน ภิกฺขุนา อุปสมฺปาเทตพฺพํ นิสฺสโย ทาตพฺโพ สามเณโร อุปฏฺฐาเปตพฺโพ.  อเสกฺเขน สีลกฺขนฺเธน สมนฺนาคโต โหติ อเสกฺเขน สมาธิกฺขนฺเธน สมนฺนาคโต โหติ อเสกฺเขน ปญฺญากฺขนฺเธน สมนฺนาคโต โหติ อเสกฺเขน วิมุตฺติกฺขนฺเธน สมนฺนาคโต โหติ อเสกฺเขน วิมุตฺติญาณทสฺสนกฺขนฺเธน สมนฺนาคโต โหติ ทสวสฺโส วา โหติ อติเรกทสวสฺโส วา  อิเมหิ โข ภิกฺขเว ฉหงฺเคหิ สมนฺนาคเตน ภิกฺขุนา อุปสมฺปาเทตพฺพํ นิสฺสโย ทาตพฺโพ สามเณโร อุปฏฺฐาเปตพฺโพ. 
chahi bhikkhave aṅgehi samannāgatena bhikkhunā upasampādetabbaṃ, nissayo dātabbo, sāmaṇero upaṭṭhāpetabbo:  na adhisīle sīlavipanno hoti, na ajjhācāre ācāravipanno hoti, na atidiṭṭhiyā diṭṭhivipanno hoti, bahussuto hoti, paññavā hoti, dasavasso vā hoti atirekadasavasso vā.  imehi kho bhikkhave chah’ aṅgehi samannāgatena bhikkhunā upasampādetabbaṃ, nissayo dātabbo, sāmaṇero upaṭṭhāpetabbo. |8| 
     
(ศุกลปักษ์ ๔) ดูกรภิกษุทั้งหลาย ภิกษุผู้ประกอบด้วยองค์ ๖ พึงให้อุปสมบท พึงให้นิสสัย พึงให้สามเณรอุปัฏฐาก คือ  ๑. เป็นผู้ไม่มีวิบัติด้วยศีล ในอธิศีล ๒. เป็นผู้ไม่วิบัติด้วยอาจาระ ในอัธยาจาร ๓. เป็นผู้ไม่วิบัติด้วยทิฏฐิ ในทิฏฐิยิ่ง ๔. เป็นผู้ได้ยินได้ฟังมาก ๕. เป็นผู้มีปัญญา และ ๖. เป็นผู้มีพรรษาได้ ๑๐ หรือมีพรรษาเกิน ๑๐  ดูกรภิกษุทั้งหลาย ภิกษุผู้ประกอบด้วยองค์ ๖ นี้แล พึงให้อุปสมบท พึงให้นิสสัย พึงให้สามเณรอุปัฏฐาก. 
“อปเรหิปิ ภิกฺขเว ฉหงฺเคหิ สมนฺนาคเตน ภิกฺขุนา น อุปสมฺปาเทตพฺพํ น นิสฺสโย ทาตพฺโพ น สามเณโร อุปฏฺฐาเปตพฺโพ.  อตฺตนา น อเสกฺเขน สีลกฺขนฺเธน สมนฺนาคโต โหติ น ปรํ อเสกฺเข สีลกฺขนฺเธ สมาทเปตา อตฺตนา น อเสกฺเขน สมาธิกฺขนฺเธน สมนฺนาคโต โหติ น ปรํ อเสกฺเข สมาธิกฺขนฺเธ สมาทเปตา อตฺตนา น อเสกฺเขน ปญฺญากฺขนฺเธน สมนฺนาคโต โหติ น ปรํ อเสกฺเข ปญฺญากฺขนฺเธ สมาทเปตา อตฺตนา น อเสกฺเขน วิมุตฺติกฺขนฺเธน สมนฺนาคโต โหติ น ปรํ อเสกฺเข วิมุตฺติกฺขนฺเธ สมาทเปตา อตฺตนา น อเสกฺเขน วิมุตฺติญาณทสฺสนกฺขนฺเธน สมนฺนาคโต โหติ น ปรํ อเสกฺเข วิมุตฺติญาณทสฺสนกฺขนฺเธ สมาทเปตา อูนทสวสฺโส โหติ  อิเมหิ โข ภิกฺขเว ฉหงฺเคหิ สมนฺนาคเตน ภิกฺขุนา น อุปสมฺปาเทตพฺพํ น นิสฺสโย ทาตพฺโพ น สามเณโร อุปฏฺฐาเปตพฺโพ. 
aparehi pi bhikkhave chah’ aṅgehi sammannāgatena bhikkhunā na upasampādetabbaṃ, na nissayo dātabbo, na sāmaṇero upaṭṭhāpetabbo:  na paṭibalo hoti antevāsiṃ vā saddhivihāriṃ vā gilānaṃ upaṭṭhātuṃ vā upaṭṭhāpetuṃ vā, uppannaṃ anabhiratiṃ vūpakāsetuṃ vā vūpakāsāpetuṃ vā, uppannaṃ kukkuccaṃ dhammato vinodetuṃ vā vinodāpetuṃ vā, āpattiṃ na jānāti, āpattiyā vuṭṭhānaṃ na jānāti, ūnadasavasso hoti.  imehi kho bhikkhave chah’ aṅgehi samannāgatena bhikkhunā na upasampādetabbaṃ, na nissayo dātabbo, na sāmaṇero upaṭṭhāpetabbo. |9| 
     
(กัณหปักษ์ ๕) ดูกรภิกษุทั้งหลาย ภิกษุผู้ประกอบด้วยองค์ ๖ แม้อื่นอีก ไม่พึงให้อุปสมบท ไม่พึงให้นิสสัย ไม่พึงให้สามเณรอุปัฏฐาก คือ  ๑. ไม่สามารถจะพยาบาลเอง หรือให้ผู้อื่นพยาบาลอันเตวาสิก หรือสัทธิวิหาริกผู้อาพาธ ๒. ไม่สามารถจะระงับเอง หรือหาผู้อื่นให้ช่วยระงับความกระสัน ๓. ไม่สามารถจะบรรเทาเอง หรือหาผู้อื่นให้ช่วยบรรเทาความเบื่อหน่ายอันเกิดขึ้นแล้วโดยธรรม ๔. ไม่รู้จักอาบัติ ๕. ไม่รู้จักวิธีออกจากอาบัติ และ ๖. มีพรรษาหย่อน ๑๐  ดูกรภิกษุทั้งหลาย ภิกษุผู้ประกอบด้วย ๖ นี้แล ไม่พึงให้อุปสมบท ไม่พึงให้นิสสัย ไม่พึงให้สามเณรอุปัฏฐาก. 
“ฉหิ ภิกฺขเว องฺเคหิ สมนฺนาคเตน ภิกฺขุนา อุปสมฺปาเทตพฺพํ นิสฺสโย ทาตพฺโพ สามเณโร อุปฏฺฐาเปตพฺโพ.  อตฺตนา อเสกฺเขน สีลกฺขนฺเธน สมนฺนาคโต โหติ ปรํ อเสกฺเข สีลกฺขนฺเธ สมาทเปตา อตฺตนา อเสกฺเขน สมาธิกฺขนฺเธน สมนฺนาคโต โหติ ปรํ อเสกฺเข สมาธิกฺขนฺเธ สมาทเปตา. อตฺตนา อเสกฺเขน ปญฺญากฺขนฺเธน สมนฺนาคโต โหติ ปรํ อเสกฺเข ปญฺญากฺขนฺเธ สมาทเปตา. อตฺตนา อเสกฺเขน วิมุตฺติกฺขนฺเธน สมนฺนาคโต โหติ ปรํ อเสกฺเข วิมุตฺติกฺขนฺเธ สมาทเปตา. อตฺตนา อเสกฺเขน วิมุตฺติญาณทสฺสนกฺขนฺเธน สมนฺนาคโต โหติ ปรํ อเสกฺเข วิมุตฺติญาณทสฺสนกฺขนฺเธ สมาทเปตา ทสวสฺโส วา โหติ อติเรกทสวสฺโส วา  อิเมหิ โข ภิกฺขเว ฉหงฺเคหิ สมนฺนาคเตน ภิกฺขุนา อุปสมฺปาเทตพฺพํ นิสฺสโย ทาตพฺโพ สามเณโร อุปฏฺฐาเปตพฺโพ. 
chahi bhikkhave aṅgehi samannāgatena bhikkhunā upasampādetabbaṃ, nissayo dātabbo, sāmaṇero upaṭṭhāpetabbo:  paṭibalo hoti antevāsiṃ vā saddhivihāriṃ vā gilānaṃ upaṭṭhātuṃ vā upaṭṭāpetuṃ vā, uppannaṃ anabhiratiṃ vūpakāsetuṃ vā vūpakāsāpetuṃ vā, uppannaṃ kukkuccaṃ dhammato vinodetuṃ vā vinodāpetuṃ vā, āpattiṃ jānāti, āpattiyā vuṭṭhānaṃ jānāti, dasavasso vā hoti atirekadasavasso vā.  imehi kho bhikkhave chah’ aṅgehi samannāgatena bhikkhunā upasampādetabbaṃ, nissayo dātabbo, sāmaṇero upaṭṭhāpetabbo. (68) |10| 
     
(ศุกลปักษ์ ๕) ดูกรภิกษุทั้งหลาย ภิกษุผู้ประกอบด้วยองค์ ๖ พึงให้อุปสมบท พึงให้นิสสัย พึงให้สามเณรอุปัฏฐาก คือ  ๑. อาจพยาบาลเอง หรือให้ผู้อื่นพยาบาล อันเตวาสิกหรือสัทธิวิหาริก ผู้อาพาธ ๒. อาจระงับเอง หรือหาผู้อื่นให้ช่วยระงับความกระสัน ๓. อาจบรรเทาเอง หรือหาผู้อื่นให้ช่วยบรรเทาความเบื่อหน่ายอันเกิดขึ้นแล้วโดยธรรม ๔. รู้จักอาบัติ ๕. รู้จักวิธีออกจากอาบัติ และ ๖. มีพรรษาได้ ๑๐ หรือมีพรรษาเกิน ๑๐  ดูกรภิกษุทั้งหลาย ภิกษุผู้ประกอบด้วยองค์ ๖ นี้แล พึงให้อุปสมบท พึงให้นิสสัย พึงให้สามเณรอุปัฏฐาก. 
“อปเรหิปิ ภิกฺขเว ฉหงฺเคหิ สมนฺนาคเตน ภิกฺขุนา น อุปสมฺปาเทตพฺพํ น นิสฺสโย ทาตพฺโพ น สามเณโร อุปฏฺฐาเปตพฺโพ.  อสฺสทฺโธ โหติ อหิริโก โหติ อโนตฺตปฺปี โหติ กุสีโต โหติ มุฏฺฐสฺสติ โหติ อูนทสวสฺโส โหติ  อิเมหิ โข ภิกฺขเว ฉหงฺเคหิ สมนฺนาคเตน ภิกฺขุนา น อุปสมฺปาเทตพฺพํ น นิสฺสโย ทาตพฺโพ น สามเณโร อุปฏฺฐาเปตพฺโพ. 
aparehi pi bhikkhave chah’ aṅgehi samannāgatena bhikkhunā na upasampādetabbaṃ, na nissayo dātabbo, na sāmaṇero upaṭṭhāpetabbo:  na paṭibalo hoti antevāsiṃ vā saddhivihāriṃ vā abhisamācārikāya sikkhāya sikkhāpetuṃ, ādibrahmacariyikāya sikkhāya vinetuṃ, abhidhamme vinetuṃ, abhivinaye vinetuṃ, uppannaṃ diṭṭhigataṃ dhammato vivecetuṃ, ūnadasavasso hoti.  imehi kho bhikkhave chah’ aṅgehi samannāgatena bhikkhunā na upasampādetabbam, na nissayo dātabbo, na sāmaṇero upaṭṭhāpetabbo. |11| 
     
(กัณหปักษ์ ๖) ดูกรภิกษุทั้งหลาย ภิกษุผู้ประกอบด้วยองค์ ๖ แม้อื่นอีก ไม่พึงให้อุปสมบท ไม่พึงให้นิสสัย ไม่พึงให้สามเณรอุปัฏฐาก คือ  ๑. ไม่อาจฝึกปรืออันเตวาสิกหรือสัทธิวิหาริก ในสิกขาอันเป็นอภิสมาจาร ๒. ไม่อาจแนะนำในสิกขา อันเป็นส่วนเบื้องต้นแห่งพรหมจรรย์ ๓. ไม่อาจแนะนำในธรรมอันยิ่งขึ้นไป ๔. ไม่อาจแนะนำในวินัยอันยิ่งขึ้นไป ๕. ไม่อาจเปลื้องความเห็นผิดอันเกิดขึ้นแล้วโดยธรรม และ ๖. มีพรรษาหย่อน ๑๐  ดูกรภิกษุทั้งหลาย ภิกษุผู้ประกอบด้วยองค์ ๖ นี้แล ไม่พึงให้อุปสมบท ไม่พึงให้นิสสัย ไม่พึงให้สามเณรอุปัฏฐาก. 
“ฉหิ ภิกฺขเว องฺเคหิ สมนฺนาคเตน ภิกฺขุนา อุปสมฺปาเทตพฺพํ นิสฺสโย ทาตพฺโพ สามเณโร อุปฏฺฐาเปตพฺโพ.  สทฺโธ โหติ หิริมา โหติ โอตฺตปฺปี โหติ อารทฺธวีริโย โหติ อุปฏฺฐิตสฺสติ โหติ ทสวสฺโส วา โหติ อติเรกทสวสฺโส วา  อิเมหิ โข ภิกฺขเว ฉหงฺเคหิ สมนฺนาคเตน ภิกฺขุนา อุปสมฺปาเทตพฺพํ นิสฺสโย ทาตพฺโพ สามเณโร อุปฏฺฐาเปตพฺโพ. 
chahi bhikkhave aṅgehi samannāgatena bhikkhunā upasampādetabbaṃ, nissayo dātabbo, sāmaṇero upaṭṭhāpetabbo:  paṭibalo hoti antevāsiṃ vā saddhivihāriṃ vā abhisamācārikāya sikkhāya sikkhāpetuṃ, ādibrahmacariyikāya sikkhāya vinetuṃ, abhidhamme vinetuṃ, abhivinaye vinetuṃ, uppannaṃ diṭṭhigataṃ dhammato vivecetuṃ, dasavasso vā hoti atirekadasavasso vā.  imehi kho bhikkhave chah’ aṅgehi samannāgatena bhikkhunā upasampādetabbaṃ, nissayo dātabbo, samaṇero upaṭṭhāpetabbo. |12| 
     
(ศุกลปักษ์ ๖) ดูกรภิกษุทั้งหลาย ภิกษุผู้ประกอบด้วยองค์ ๖ พึงให้อุปสมบท พึงให้นิสสัย พึงให้สามเณรอุปัฏฐาก คือ  ๑. อาจฝึกปรืออันเตวาสิกหรือสัทธิวิหาริก ในสิกขาอันเป็นอภิสมาจาร ๒. อาจแนะนำในสิกขา อันเป็นส่วนเบื้องต้นแห่งพรหมจรรย์ ๓. อาจแนะนำในธรรมอันยิ่งขึ้นไป ๔. อาจแนะนำในวินัยอันยิ่งขึ้นไป ๕. อาจเปลื้องความเห็นผิดอันเกิดขึ้นแล้วโดยธรรม และ ๖. มีพรรษาได้ ๑๐ หรือมีพรรษาเกิน ๑๐  ดูกรภิกษุทั้งหลาย ภิกษุผู้ประกอบด้วยองค์ ๖ นี้แล พึงให้อุปสมบท พึงให้นิสสัย พึงให้สามเณรอุปัฏฐาก. 
“อปเรหิปิ ภิกฺขเว ฉหงฺเคหิ สมนฺนาคเตน ภิกฺขุนา น อุปสมฺปาเทตพฺพํ น นิสฺสโย ทาตพฺโพ น สามเณโร อุปฏฺฐาเปตพฺโพ.  อธิสีเล สีลวิปนฺโน โหติ อชฺฌาจาเร อาจารวิปนฺโน โหติ อติทิฏฺฐิยา ทิฏฺฐิวิปนฺโน โหติ อปฺปสฺสุโต โหติ ทุปฺปญฺโญ โหติ อูนทสวสฺโส โหติ  อิเมหิ โข ภิกฺขเว ฉหงฺเคหิ สมนฺนาคเตน ภิกฺขุนา น อุปสมฺปาเทตพฺพํ น นิสฺสโย ทาตพฺโพ น สามเณโร อุปฏฺฐาเปตพฺโพ. 
aparehi pi bhikkhave chah’ aṅgehi samannāgatena bhikkhunā na upasampādetabbaṃ, na nissayo dātabbo, na sāmaṇero upaṭṭhāpetabbo:  āpattiṃ na jānāti, anāpattiṃ na jānāti, lahukaṃ āpattiṃ na jānāti, garukaṃ āpattiṃ na jānāti, ubhayāni kho pan’ assa pātimokkhāni vitthārena na svāgatāni honti, na suvibhattāni, na suppavattīni, na suvinicchitāni suttato anuvyañjanaso, ūnadasavasso hoti.  imehi kho bhikkhave chah’ aṅgehi samannāgatena bhikkhunā na upasampādetabbaṃ, na nissayo dātabbo, na sāmaṇero upaṭṭhāpetabbo. |13| 
     
(กัณหปักษ์ ๗) ดูกรภิกษุทั้งหลาย ภิกษุผู้ประกอบด้วยองค์ ๖ แม้อื่นอีก ไม่พึงให้อุปสมบท ไม่พึงให้นิสสัย ไม่พึงให้สามเณรอุปัฏฐาก คือ  ๑. ไม่รู้จักอาบัติ ๒. ไม่รู้จักอนาบัติ ๓. ไม่รู้จักอาบัติเบา ๔. ไม่รู้จักอาบัติหนัก ๕. เธอจำปาติโมกข์ทั้งสองไม่ได้ดีโดยพิสดาร จำแนกไม่ได้ด้วยดี ไม่คล่องแคล่วดี วินิจฉัยไม่เรียบร้อย โดยสุตตะ โดยอนุพยัญชนะ และ ๖. มีพรรษาหย่อน ๑๐  ดูกรภิกษุทั้งหลาย ภิกษุผู้ประกอบด้วยองค์ ๖ นี้แล ไม่พึงให้อุปสมบท ไม่พึงให้นิสสัย ไม่พึงให้สามเณรอุปัฏฐาก. 
“ฉหิ ภิกฺขเว องฺเคหิ สมนฺนาคเตน ภิกฺขุนา อุปสมฺปาเทตพฺพํ นิสฺสโย ทาตพฺโพ สามเณโร อุปฏฺฐาเปตพฺโพ.  น อธิสีเล สีลวิปนฺโน โหติ น อชฺฌาจาเร อาจารวิปนฺโน โหติ น อติทิฏฺฐิยา ทิฏฺฐิวิปนฺโน โหติ พหุสฺสุโต โหติ ปญฺญวา โหติ ทสวสฺโส วา โหติ อติเรกทสวสฺโส วา  อิเมหิ โข ภิกฺขเว ฉหงฺเคหิ สมนฺนาคเตน ภิกฺขุนา อุปสมฺปาเทตพฺพํ นิสฺสโย ทาตพฺโพ สามเณโร อุปฏฺฐาเปตพฺโพ. 
chahi bhikkhave aṅgehi samannāgatena bhikkhunā upasampādetabbaṃ, nissayo dātabbo, sāmaṇero upaṭṭhāpetabbo:  āpattiṃ jānāti, anāpattiṃ jānāti, lahukaṃ āpattiṃ jānāti, garukaṃ āpattiṃ jānāti, ubhayāni kho pan’ assa pātimokkhāni vitthārena svāgatāni honti suvibhattāni suppavattīni suvinicchitāni suttato anuvyañjanaso, dasavasso vā hoti atirekadasavasso vā.  imehi kho bhikkhave chah’ aṅgehi samannāgatena bhikkhunā upasampādetabbaṃ, nissayo dātabbo, sāmaṇero upaṭṭhāpetabbo ’ti. |14| 
     
(ศุกลปักษ์ ๗) ดูกรภิกษุทั้งหลาย ภิกษุผู้ประกอบด้วยองค์ ๖ พึงให้อุปสมบท พึงให้นิสสัย พึงให้สามเณรอุปัฏฐาก คือ  ๑. รู้จักอาบัติ ๒. รู้จักอนาบัติ ๓. รู้จักอาบัติเบา ๔. รู้จักอาบัติหนัก ๕. เธอจำปาติโมกข์ทั้งสองได้ดี โดยพิสดาร จำแนกได้ดี คล่องแคล่วดี วินิจฉัยเรียบร้อย โดยสุตตะ โดยอนุพยัญชนะ และ ๖. มีพรรษาได้ ๑๐ หรือพรรษาเกิน ๑๐  ดูกรภิกษุทั้งหลาย ภิกษุผู้ประกอบด้วยองค์ ๖ นี้แล พึงให้อุปสมบท พึงให้นิสสัย พึงให้สามเณรอุปัฏฐาก. 
“อปเรหิปิ ภิกฺขเว ฉหงฺเคหิ สมนฺนาคเตน ภิกฺขุนา น อุปสมฺปาเทตพฺพํ น นิสฺสโย ทาตพฺโพ น สามเณโร อุปฏฺฐาเปตพฺโพ.  น ปฏิพโล โหติ อนฺเตวาสึ วา สทฺธิวิหารึ วา คิลานํ อุปฏฺฐาตุํ วา อุปฏฺฐาเปตุํ วา อนภิรตํ วูปกาเสตุํ วา วูปกาสาเปตุํ วา อุปฺปนฺนํ กุกฺกุจฺจํ ธมฺมโต วิโนเทตุํ อาปตฺตึ น ชานาติ อาปตฺติยา วุฏฺฐานํ น ชานาติ อูนทสวสฺโส โหติ  อิเมหิ โข ภิกฺขเว ฉหงฺเคหิ สมนฺนาคเตน ภิกฺขุนา น อุปสมฺปาเทตพฺพํ น นิสฺสโย ทาตพฺโพ น สามเณโร อุปฏฺฐาเปตพฺโพ. 
upasampādetabbachakkaṃ soḷasavāraṃ niṭṭhitaṃ. ||37|| 
 
องค์ ๖ แห่งภิกษุผู้ให้อุปสมบท ๑๖ หมวด ๑- จบ 
“ฉหิ ภิกฺขเว องฺเคหิ สมนฺนาคเตน ภิกฺขุนา อุปสมฺปาเทตพฺพํ นิสฺสโย ทาตพฺโพ สามเณโร อุปฏฺฐาเปตพฺโพ. 
(69) tena kho pana samayena yo so aññatitthiyapubbo upajjhāyena sahadhammikaṃ vuccamāno upajjhāyassa vādaṃ āropetvā taṃ yeva titthāyatanaṃ saṃkami, so puna paccāgantvā bhikkhū upasampadaṃ yāci.  bhikkhū bhagavato etam atthaṃ ārocesuṃ.  yo so bhikkhave aññatitthiyapubbo upajjhāyena sahadhammikaṃ vuccamāno upajjhāyassa vādaṃ āropetvā taṃ yeva titthāyatanaṃ saṃkanto, so āgato na upasampādetabbo.  yo bhikkhave añño pi aññatitthiyapubbo imasmiṃ dhammavinaye ākaṅkhati pabbajjaṃ, ākaṅkhati upasampadaṃ, tassa cattāro māse parivāso dātabbo. |1| 
End of the sixteen times six cases concerning the admissibility of upasampadâ.  At that time that Bhikkhu who, having formerly belonged to a Titthiya school, had (by reasoning) put to silence his upagghâya, when he remonstrated with him according to the Dhamma, and had returned to that same Titthiya school, came back again and asked the Bhikkhus for the upasampadâ ordination.  The Bhikkhus told, &c.  'That Bhikkhu, O Bhikkhus, who having formerly belonged to a Titthiya school, has put to silence his upagghâya when he remonstrated with him according to the Dhamma, and has returned to that same Titthiya school, must not receive the upasampadâ ordination, if he comes back. 
ติตถิยปริวาส [๑๐๐] ก็โดยสมัยนั้นแล ภิกษุผู้เคยเป็นอัญญเดียรถีย์ อันพระอุปัชฌายะว่ากล่าวอยู่โดยชอบธรรม ได้ยกวาทะของอุปัชฌายะเสีย แล้วเข้าไปสู่ลัทธิเดียรถีย์นั้นดังเดิม. เธอกลับมาขออุปสมบทต่อภิกษุทั้งหลายอีก.  ภิกษุทั้งหลายจึงกราบทูลเรื่องนั้นแด่พระผู้มีพระภาค. พระผู้มีพระภาคตรัสว่า  ดูกรภิกษุทั้งหลาย ภิกษุที่เคยเป็นอัญญเดียรถีย์ อันพระอุปัชฌายะว่ากล่าวอยู่โดยชอบธรรม ได้ยกวาทะของอุปัชฌายะเสีย แล้วเข้าไปสู่ลัทธิเดียรถีย์นั้นดังเดิม มาแล้ว ไม่พึงอุปสมบทให้  แม้ผู้อื่นที่เคยเป็นอัญญเดียรถีย์ หวังบรรพชาอุปสมบทในพระธรรมวินัยนี้ พึงให้ปริวาส ๔ เดือนแก่เธอ. 
ปฏิพโล โหติ อนฺเตวาสึ วา สทฺธิวิหารึ วา คิลานํ อุปฏฺฐาตุํ วา อุปฏฺฐาเปตุํ วา อนภิรตํ วูปกาเสตุํ วา วูปกาสาเปตุํ วา อุปฺปนฺนํ กุกฺกุจฺจํ ธมฺมโต วิโนเทตุํ อาปตฺตึ ชานาติ อาปตฺติยา วุฏฺฐานํ ชานาติ ทสวสฺโส วา โหติ อติเรกทสวสฺโส วา  อิเมหิ โข ภิกฺขเว ฉหงฺเคหิ สมนฺนาคเตน ภิกฺขุนา อุปสมฺปาเทตพฺพํ นิสฺสโย ทาตพฺโพ สามเณโร อุปฏฺฐาเปตพฺโพ.  “อปเรหิปิ ภิกฺขเว ฉหงฺเคหิ สมนฺนาคเตน ภิกฺขุนา น อุปสมฺปาเทตพฺพํ น นิสฺสโย ทาตพฺโพ น สามเณโร อุปฏฺฐาเปตพฺโพ.  น ปฏิพโล โหติ อนฺเตวาสึ วา สทฺธิวิหารึ วา อภิสมาจาริกาย สิกฺขาย สิกฺขาเปตุํ อาทิพฺรหฺมจริยกาย สิกฺขาย วิเนตุํ อภิธมฺเม วิเนตุํ อภิวินเย วิเนตุํ อุปฺปนฺนํ ทิฏฺฐิคตํ ธมฺมโต วิเวเจตุํ อูนทสวสฺโส โหติ 
evañ ca pana bhikkhave dātabbo: paṭhamaṃ kesamassuṃ ohārāpetvā kāsāyāni vatthāni acchādāpetvā ekaṃsaṃ uttarāsaṅgaṃ kārāpetvā bhikkhūnaṃ pāde vandāpetvā ukkuṭikaṃ nisīdāpetvā añjaliṃ paggaṇhāpetvā evaṃ vadehīti vattabbo:  buddhaṃ saraṇaṃ gacchāmi, dhammaṃ saraṇaṃ gacchāmi, saṃghaṃ saraṇaṃ gacchāmi, dutiyam pi . . . tatiyam pi buddhaṃ saraṇaṃ gacchāmi, tatiyam pi dhammaṃ saraṇaṃ gacchāmi, tatiyam pi saṃghaṃ saraṇaṃ gacchāmīti. |2| 
On other persons, O Bhikkhus, who have formerly belonged to Titthiya schools and desire to receive the pabbaggâ and upasampadâ ordinations in this doctrine and discipline, you ought to impose a parivâsa (a probation-time) of four months.  'And you ought, O Bhikkhus, to impose it in this way: Let him (who desires to receive the ordination) first cut off his hair and beard; let him put on yellow robes, adjust his upper robe so as to cover one shoulder, salute the feet of the Bhikkhus (with his head), and sit down squatting; then let him raise his joined hands, and tell him to say: 
ดูกรภิกษุทั้งหลาย ก็แลสงฆ์พึงให้ติตถิยปริวาสอย่างนี้:- (วิธีให้ติตถิยปริวาส) ชั้นต้นพึงให้กุลบุตรที่เคยเป็นอัญญเดียรถีย์ปลงผมและหนวด ให้ครองผ้ากาสายะ ให้ห่มผ้าเฉวียงบ่า ให้กราบเท้าภิกษุทั้งหลาย แล้วนั่งกระหย่ง ให้ประคองอัญชลีสั่งว่า จงว่าอย่างนี้ แล้วให้ว่าสรณคมน์ ดังนี้:-  (ไตรสรณคมน์) พุทฺธํ สรณํ คจฺฉามิ ข้าพเจ้าถึงพระพุทธเจ้า เป็นที่พึ่ง ธมฺมํ สรณํ คจฺฉามิ ข้าพเจ้าถึงพระธรรม เป็นที่พึ่ง สงฺฆํ สรณํ คจฺฉามิ ข้าพเจ้าถึงพระสงฆ์ เป็นที่พึ่ง ทุติยมฺปิ พุทฺธํ สรณํ คจฺฉามิ ข้าพเจ้าถึงพระพุทธเจ้า เป็นที่พึ่ง แม้ครั้งที่สอง ทุติยมฺปิ ธมฺมํ สรณํ คจฺฉามิ ข้าพเจ้าถึงพระธรรม เป็นที่พึ่ง แม้ครั้งที่สอง ทุติยมฺปิ สงฺฆํ สรณํ คจฺฉามิ ข้าพเจ้าถึงพระสงฆ์ เป็นที่พึ่ง แม้ครั้งที่สอง ตติยมฺปิ พุทฺธํ สรณํ คจฺฉามิ ข้าพเจ้าถึงพระพุทธเจ้า เป็นที่พึ่ง แม้ครั้งที่สาม ตติยมฺปิ ธมฺมํ สรณํ คจฺฉามิ ข้าพเจ้าถึงพระธรรม เป็นที่พึ่ง แม้ครั้งที่สาม ตติยมฺปิ สงฺฆํ สรณํ คจฺฉามิ ข้าพเจ้าถึงพระสงฆ์ เป็นที่พึ่ง แม้ครั้งที่สาม 
อิเมหิ โข ภิกฺขเว ฉหงฺเคหิ สมนฺนาคเตน ภิกฺขุนา น อุปสมฺปาเทตพฺพํ น นิสฺสโย ทาตพฺโพ น สามเณโร อุปฏฺฐาเปตพฺโพ.  “ฉหิ ภิกฺขเว องฺเคหิ สมนฺนาคเตน ภิกฺขุนา อุปสมฺปาเทตพฺพํ นิสฺสโย ทาตพฺโพ สามเณโร อุปฏฺฐาเปตพฺโพ. 
tena kho bhikkhave aññatitthiyapubbena saṃghaṃ upasaṃkamitvā ekaṃsaṃ uttarāsaṅgaṃ karitvā bhikkhūnaṃ pāde vanditvā ukkuṭikaṃ nisīditvā añjaliṃ paggahetvā evam assa vacanīyo:  ahaṃ bhante itthannāmo aññatitthiyapubbo imasmiṃ dhammavinaye ākaṅkhāmi upasampadaṃ.  so ’haṃ bhante saṃghaṃ cattāro māse parivāsaṃ yācāmīti.  dutiyam pi yācitabbo. tatiyam pi yācitabbo.  vyattena bhikkhunā paṭibalena saṃgho ñāpetabbo:  suṇātu me bhante saṃgho. ayaṃ itthannāmo aññatitthiyapubbo imasmiṃ dhammavinaye ākaṅkhati upasampadaṃ.  so saṃghaṃ cattāro māse parivāsaṃ yācati.  yadi saṃghassa pattakallaṃ, saṃgho itthannāmassa aññatitthiyapubbassa cattāro māse parivāsaṃ dadeyya.  esā ñatti. |3| 
"I take my refuge in the Buddha, I take my refuge in the Dhamma, I take my refuge in the Samgha. And for the second time, &c. And for the third time take I my refuge in the Buddha, and for the third time take I my refuge in the Dhamma, and for the third time take I my refuge in the Samgha."  'Let that person, O Bhikkhus, who has formerly belonged to a Titthiya school, approach the Samgha, adjust his upper robe so as to cover one shoulder, salute the feet of the Bhikkhus (with his head), sit down squatting, raise his joined hands, and say:  "I, N. N., reverend Sirs,who have formerly belonged to a Titthiya school, desire to receive the upasampadâ ordination in this doctrine and discipline, and ask the Samgha,  reverend Sirs, for a parivâsa of four months."  Let him ask thus a second time. Let him ask thus a third time.  'Then let a learned, competent Bhikkhu proclaim the following ñatti before the Samgha:  "Let the Samgha, reverend Sirs, hear me, This person N, N ., who has formerly belonged to a Titthiya school, desires to receive the upasampadâ ordination in this doctrine and discipline,  He asks the Samgha for a parivâsa of four months.  If the Samgha is ready, let the Samgha impose on N. N., who has formerly belonged to a Titthiya school, a parivâs-a of four months, 
ดูกรภิกษุทั้งหลาย กุลบุตรที่เคยเป็นอัญญเดียรถีย์นั้น พึงเข้าไปหาสงฆ์ ห่มผ้าเฉวียงบ่า กราบเท้าภิกษุทั้งหลาย นั่งกระหย่ง ประคองอัญชลี แล้วกล่าวคำขอติตถิยปริวาสอย่างนี้ ว่าดังนี้:-  (คำขอติตถิยปริวาส) ท่านเจ้าข้า ข้าพเจ้าผู้มีชื่อนี้ เคยเป็นอัญญเดียรถีย์ หวังอุปสมบทในพระธรรมวินัยนี้  ท่านเจ้าข้า ข้าพเจ้านั้น ขอปริวาส ๔ เดือนต่อสงฆ์.  พึงขอแม้ครั้งที่สอง พึงขอแม้ครั้งที่สาม.  ภิกษุผู้ฉลาด ผู้สามารถ พึงประกาศให้สงฆ์ทราบด้วยญัตติทุติยกรรมวาจา ว่าดังนี้:-  (กรรมวาจาให้ติตถิยปริวาส) ท่านเจ้าข้า ขอสงฆ์จงฟังข้าพเจ้า ผู้มีชื่อนี้ผู้นี้ เคยเป็นอัญญเดียรถีย์ หวังอุปสมบทในพระธรรมวินัยนี้  เธอขอปริวาส ๔ เดือนต่อสงฆ์.  ถ้าความพร้อมพรั่งของสงฆ์ถึงที่แล้ว สงฆ์พึงให้ปริวาส ๔ เดือน แก่ผู้มีชื่อนี้ ผู้เคยเป็นอัญญเดียรถีย์.  นี่เป็นญัตติ. 
ปฏิพโล โหติ อนฺเตวาสึ วา สทฺธิวิหารึ วา อภิสมาจาริกาย สิกฺขาย สิกฺขาเปตุํ อาทิพฺรหฺมจริยกาย สิกฺขาย วิเนตุํ อภิธมฺเม วิเนตุํ อภิวินเย วิเนตุํ อุปฺปนฺนํ ทิฏฺฐิคตํ ธมฺมโต วิเวเจตุํ ทสวสฺโส วา โหติ อติเรกทสวสฺโส วา  อิเมหิ โข ภิกฺขเว ฉหงฺเคหิ สมนฺนาคเตน ภิกฺขุนา อุปสมฺปาเทตพฺพํ นิสฺสโย ทาตพฺโพ สามเณโร อุปฏฺฐาเปตพฺโพ.  “อปเรหิปิ ภิกฺขเว ฉหงฺเคหิ สมนฺนาคเตน ภิกฺขุนา น อุปสมฺปาเทตพฺพํ น นิสฺสโย ทาตพฺโพ น สามเณโร อุปฏฺฐาเปตพฺโพ.  อาปตฺตึ น ชานาติ อนาปตฺตึ น ชานาติ ลหุกํ อาปตฺตึ น ชานาติ ครุกํ อาปตฺตึ น ชานาติ อุภยานิ โข ปนสฺส ปาติโมกฺขานิ วิตฺถาเรน น สฺวาคตานิ โหนฺติ น สุวิภตฺตานิ น สุปฺปวตฺตีนิ น สุวินิจฺฉิตานิ สุตฺตโส อนุพฺยญฺชนโส อูนทสวสฺโส โหติ  อิเมหิ โข ภิกฺขเว ฉหงฺเคหิ สมนฺนาคเตน ภิกฺขุนา น อุปสมฺปาเทตพฺพํ น นิสฺสโย ทาตพฺโพ น สามเณโร อุปฏฺฐาเปตพฺโพ.  “ฉหิ ภิกฺขเว องฺเคหิ สมนฺนาคเตน ภิกฺขุนา อุปสมฺปาเทตพฺพํ นิสฺสโย ทาตพฺโพ สามเณโร อุปฏฺฐาเปตพฺโพ.  อาปตฺตึ ชานาติ อนาปตฺตึ ชานาติ ลหุกํ อาปตฺตึ ชานาติ ครุกํ อาปตฺตึ ชานาติ อุภยานิ โข ปนสฺส ปาติโมกฺขานิ วิตฺถาเรน สฺวาคตานิ โหนฺติ สุวิภตฺตานิ สุปฺปวตฺตีนิ สุวินิจฺฉิตานิ สุตฺตโส อนุพฺยญฺชนโส ทสวสฺโส วา โหติ อติเรกทสวสฺโส วา  อิเมหิ โข ภิกฺขเว ฉหงฺเคหิ สมนฺนาคเตน ภิกฺขุนา อุปสมฺปาเทตพฺพํ นิสฺสโย ทาตพฺโพ สามเณโร อุปฏฺฐาเปตพฺโพ”ติ.  อุปสมฺปาเทตพฺพฉกฺกํ นิฏฺฐิตํ. 
suṇātu me bhante saṃgho. ayaṃ itthannāmo aññatitthiyapubbo imasmiṃ dhammavinaye ākaṅkhati upasampadaṃ. so saṃghaṃ cattāro māse parivāsaṃ yācati.  saṃgho itthannāmassa aññatitthiyapubbassa cattāro māse parivāsaṃ deti.  yassāyasmato khamati itthannāmassa aññatitthiyapubbassa cattāro māse parivāsassa dānaṃ, so tuṇh’ assa, yassa na kkhamati, so bhāseyya.  dinno saṃghena itthannāmassa aññatitthiyapubbassa cattāro māse parivāso.  (70) khamati saṃghassa, tasmā tuṇhī, evam etaṃ dhārayāmīti. |4| 
This is the ñatti,  '"Let the Samgha, reverend Sirs, hear me, This person N. N., who has, &c. He asks the Samgha for a parivâsa of four months,  The Samgha imposes on N. N., who has formerly belonged to a Titthiya school, a parivâsa of four months.  Let any one of the venerable brethren who is in favour of imposing a parivâsa of four months on N. N., who has formerly belonged to a Titthiya school, be silent, and any one who is not in favour of it, speak,  A parivâsa of four months has been imposed by the Samgha on N. N., who has formerly belonged to a Titthiya school, 
ท่านเจ้าข้า ขอสงฆ์จงฟังข้าพเจ้า ผู้มีชื่อนี้ เคยเป็นอัญญเดียรถีย์ หวังอุปสมบทในพระธรรมวินัยนี้ เธอขอปริวาส ๔ เดือนต่อสงฆ์.  สงฆ์ให้ปริวาส ๔ เดือนแก่ผู้มีชื่อนี้ ผู้เคยเป็นอัญญเดียรถีย์.  การให้ปริวาส ๔ เดือนแก่ผู้มีชื่อนี้ ผู้เคยเป็นอัญญเดียรถีย์ ชอบแก่ท่านผู้ใด ท่านผู้นั้นพึงเป็นผู้นิ่ง ไม่ชอบแก่ท่านผู้ใด ท่านผู้นั้นพึงพูด  ปริวาส ๔ เดือน สงฆ์ให้แล้ว แก่ผู้มีชื่อนี้ ผู้เคยเป็นอัญญเดียรถีย์  ชอบแก่สงฆ์ เหตุนั้นจึงนิ่ง ข้าพเจ้าทรงความนี้ไว้ด้วยอย่างนี้. 
(๒๕. อญฺญติตฺถิยปุพฺพกถา) ๘๖. เตน โข ปน สมเยน โย โส อญฺญติตฺถิยปุพฺโพ ปชฺฌาเยน สหธมฺมิกํ วุจฺจมาโน อุปชฺฌายสฺส วาทํ อาโรเปตฺวา ตํเยว ติตฺถายตนํ สงฺกมิ. โส ปุน ปจฺจาคนฺตฺวา ภิกฺขู อุปสมฺปทํ ยาจิ.  ภิกฺขู ภควโต เอตมตฺถํ อาโรเจสุํ.  โย โส ภิกฺขเว อญฺญติตฺถิยปุพฺโพ อุปชฺฌาเยน สหธมฺมิกํ วุจฺจมาโน อุปชฺฌายสฺส วาทํ อาโรเปตฺวา ตํเยว ติตฺถายตนํ สงฺกนฺโต โส อาคโต น อุปสมฺปาเทตพฺโพ.  โย โส ภิกฺขเว อญฺโญปิ อญฺญติตฺถิยปุพฺโพ อิมสฺมึ ธมฺมวินเย อากงฺขติ ปพฺพชฺชํ อากงฺขติ อุปสมฺปทํ ตสฺส จตฺตาโร มาเส ปริวาโส ทาตพฺโพ.  เอวญฺจ ปน ภิกฺขเว ทาตพฺโพ ปฐมํ เกสมสฺสุํ โอหาราเปตฺวา กาสายานิ วตฺถานิ อจฺฉาทาเปตฺวา เอกํสํ อุตฺตราสงฺคํ การาเปตฺวา ภิกฺขูนํ ปาเท วนฺทาเปตฺวา อุกฺกุฏิกํ นิสีทาเปตฺวา อญฺชลึ ปคฺคณฺหาเปตฺวา เอวํ วเทหีติ วตฺตพฺโพ 
evaṃ kho bhikkhave aññatitthiyapubbo ārādhako hoti, evaṃ anārādhako.  kathañ ca bhikkhave aññatitthiyapubbo anārādhako hoti.  idha bhikkhave aññatitthiyapubbo atikālena gāmaṃ pavisati, atidivā paṭikkamati.  evam pi bhikkhave aññatitthiyapubbo anārādhako hoti.  puna ca paraṃ bhikkhave aññatitthiyapubbo vesiyāgocaro vā hoti, vidhavāgocaro vā hoti, thullakumārikagocaro vā hoti, paṇḍakagocaro vā hoti, bhikkhunīgocaro vā hoti.  evam pi bhikkhave aññatitthiyapubbo anārādhako hoti. |5| 
The Samgha is in favour of it, therefore it is silent. Thus I understand."  'And this, O Bhikkhus, is the way in which a person that has formerly belonged to a Titthiya school, succeeds or fails in satisfying (the Bhikkhus and obtaining upasampadâ when the probation-time is over),  'What is the way, a Bhikkhus, in which a person that has formerly belonged to a Titthiya school, fails in satisfying (the Bhikkhus)?  'In case, O.Bhikkhus, the person that has formerly belonged to a Titthiya school, enters the village too early, and comes back (to the Vihâra) too late,  thus, O Bhikkhus, a person that has formerly belonged to a Titthiya school, fails in satisfying (the Bhikkhus).  'And further, O Bhikkhus, in case the person that has formerly belonged to a Titthiya school, frequents the society of harlots, or of widows, or of adult girls, or of eunuchs, or of Bhikkhunîs, 
ดูกรภิกษุทั้งหลาย กุลบุตรผู้เคยเป็นอัญญเดียรถีย์ เป็นผู้ปฏิบัติให้สงฆ์ยินดี อย่างนี้ และเป็นผู้ปฏิบัติมิให้สงฆ์ยินดีอย่างนี้.  ข้อปฏิบัติที่มิให้สงฆ์ยินดี // ดูกรภิกษุทั้งหลาย อย่างไรเล่า กุลบุตรผู้เคยเป็นอัญญเดียรถีย์ ชื่อว่าเป็นผู้ปฏิบัติมิให้สงฆ์ยินดี?  ๑. ดูกรภิกษุทั้งหลาย กุลบุตรผู้เคยเป็นอัญญเดียรถีย์ในพระธรรมวินัยนี้ เข้าบ้านเช้าเกินไป กลับสายเกินไป  แม้เช่นนี้ ก็ชื่อว่า เป็นผู้ปฏิบัติมิให้สงฆ์ยินดี.  ๒. ดูกรภิกษุทั้งหลาย อีกประการหนึ่ง กุลบุตรผู้เคยเป็นอัญญเดียรถีย์ เป็นผู้มีหญิงแพศยาเป็นโคจร มีหญิงหม้ายเป็นโคจร มีสาวเทื้อเป็นโคจร มีบัณเฑาะก์เป็นโคจร หรือมีภิกษุณีเป็นโคจร  แม้เช่นนี้ ก็ชื่อว่าเป็นผู้ปฏิบัติมิให้สงฆ์ยินดี. 
“พุทฺธํ สรณํ คจฺฉามิ ธมฺมํ สรณํ คจฺฉามิ สงฺฆํ สรณํ คจฺฉามิ ทุติยมฺปิ พุทฺธํ สรณํ คจฺฉามิ ทุติยมฺปิ ธมฺมํ สรณํ คจฺฉามิ ทุติยมฺปิ สงฺฆํ สรณํ คจฺฉามิ ตติยมฺปิ พุทฺธํ สรณํ คจฺฉามิ ตติยมฺปิ ธมฺมํ สรณํ คจฺฉามิ ตติยมฺปิ สงฺฆํ สรณํ คจฺฉามี”ติ.  เตน ภิกฺขเว อญฺญติตฺถิยปุพฺเพน สงฺฆํ อุปสงฺกมิตฺวา เอกํสํ อุตฺตราสงฺคํ กริตฺวา ภิกฺขูนํ ปาเท วนฺทิตฺวา อุกฺกุฏิกํ นิสีทิตฺวา อญฺชลึ ปคฺคเหตฺวา เอวมสฺส วจนีโย  “อหํ ภนฺเต อญฺญติตฺถิยปุพฺโพ อิมสฺมึ ธมฺมวินเย อากงฺขามิ อุปสมฺปทํ.  โสหํ ภนฺเต สงฺฆํ จตฺตาโร มาเส ปริวาสํ ยาจามี”ติ.  ทุติยมฺปิ ยาจิตพฺโพ. ตติยมฺปิ ยาจิตพฺโพ.  พฺยตฺเตน ภิกฺขุนา ปฏิพเลน สงฺโฆ ญาเปตพฺโพ 
puna ca paraṃ bhikkhave aññatitthiyapubbo yāni tāni sabrahmacārīnaṃ uccāvacāni karaṇīyāni, tattha na dakkho hoti, na analaso, na tatrupāyāya vīmaṃsāya samannāgato, na alaṃ kātuṃ, na alaṃ saṃvidhātuṃ.  evam pi bhikkhave aññatitthiyapubbo anārādhako hoti.  puna ca paraṃ bhikkhave aññatitthiyapubbo na tibbacchando hoti uddese paripucchāya adhisīle adhicitte adhipaññāya.  evam pi bhikkhave aññatitthiyapubbo anārādhako hoti. |6| 
thus also, O Bhikkhus, a person that has formerly belonged to a Titthiya school, fails in satisfying (the Bhikkhus).  'And further, O Bhikkhus, in case the person that has formerly belonged to a Titthiya school, does not show himself skilled in the various things his fellow Bhikkhus have to do, not diligent, not able to consider how those things are to be done, not able to do things himself, not able to give directions to others,  thus also, O Bhikkhus, &c.  'And further, O Bhikkhus, in case the person that has formerly belonged to a Titthiya school, does not show keen zeal, when the doctrine is preached to him or when questions are put, in what belongs to morality, to contemplation, and to wisdom, 
๓. ดูกรภิกษุทั้งหลาย อีกประการหนึ่ง กุลบุตรผู้เคยเป็นอัญญเดียรถีย์ เป็นผู้ไม่ขยัน เกียจคร้านในการงานใหญ่น้อยของเพื่อนสพรหมจารีทั้งหลาย ไม่ประกอบด้วยปัญญาพิจารณาสอดส่อง ในการนั้น ไม่อาจทำ ไม่อาจจัดการ  แม้เช่นนี้ ก็ชื่อว่าเป็นผู้ปฏิบัติมิให้สงฆ์ยินดี  ๔. ดูกรภิกษุทั้งหลาย อีกประการหนึ่ง กุลบุตรผู้เคยเป็นอัญญเดียรถีย์ เป็นผู้ไม่สนใจในการเรียนบาลี ในการเรียนอรรถกถา ในอธิศีล อธิจิต อธิปัญญา  แม้เช่นนี้ ก็ชื่อว่าเป็นผู้ปฏิบัติมิให้สงฆ์ยินดี. 
“สุณาตุ เม ภนฺเต สงฺโฆ. อยํ อิตฺถนฺนาโม อญฺญติตฺถิยปุพฺโพ อิมสฺมึ ธมฺมวินเย อากงฺขติ อุปสมฺปทํ.  โส สงฺฆํ จตฺตาโร มาเส ปริวาสํ ยาจติ.  ยทิ สงฺฆสฺส ปตฺตกลฺลํ สงฺโฆ อิตฺถนฺนามสฺส อญฺญติตฺถิยปุพฺพสฺส จตฺตาโร มาเส ปริวาสํ ทเทยฺย.  เอสา ญตฺติ. 
puna ca paraṃ bhikkhave aññatitthiyapubbo yassa titthāyatanā saṃkanto hoti, tassa satthuno tassa diṭṭhiyā tassa khantiyā tassa ruciyā tassa ādāyassa avaṇṇe bhaññamāne kupito hoti anattamano anabhiraddho, buddhassa vā dhammassa vā saṃghassa vā avaṇṇe bhaññamāne attamano hoti udaggo abhiraddho, yassa vā pana titthāyatanā saṃkanto hoti, tassa satthuno tassa diṭṭhiyā tassa khantiyā tassa ruciyā tassa ādāyassa vaṇṇe bhaññamāne attamano hoti udaggo abhiraddho, buddhassa vā dhammassa vā saṃghassa vā vaṇṇe bhaññamāne kupito hoti anattamano anabhiraddho, idaṃ bhikkhave saṃghātanikaṃ aññatitthiyapubbassa anārādhanīyasmiṃ.  evaṃ kho bhikkhave aññatitthiyapubbo anārādhako hoti, evaṃ anārādhako kho bhikkhave aññatitthiyapubbo āgato na upasampādetabbo. |7| 
thus also, O Bhikkhus, &c.  'And further, O Bhikkhus, in case the person that has formerIy belonged to a Titthiya school, becomes angry, displeased, and dissatisfied, when people speak against the teacher, the belief, the opinions, the persuasion, the creed of the school he formerly belonged to; and is pleased, glad, and satisfied, when people speak against the Buddha, the Dhamma, and the Samgha; or he is pleased, glad, and satisfied, when people speak in praise of the teacher, &c.; and becomes angry, displeased, dissatisfied, when people speak in praise of the Buddha, the Dhamma, and the Samgha; 
๕. ดูกรภิกษุทั้งหลาย อีกประการหนึ่ง กุลบุตรผู้เคยเป็นอัญญเดียรถีย์ ตนหลีกมาจากสำนักเดียรถีย์แห่งครูคนใด เมื่อมีผู้กล่าวติครูคนนั้น ติความเห็น ความชอบใจ ความพอใจ และความยึดถือ ของครูคนนั้น ยังโกรธ ไม่พอใจ ไม่ชอบใจ เมื่อมีผู้กล่าวติพระพุทธเจ้า พระธรรม หรือพระสงฆ์ กลับพอใจ ร่าเริง ชอบใจ ก็หรือตนหลีกมาจากสำนักเดียรถีย์แห่งครูคนใด เมื่อมีผู้กล่าวสรรเสริญครูคนนั้น สรรเสริญความเห็น ความชอบใจ ความพอใจ และความยึดถือ ของครูคนนั้น ย่อมพอใจ ร่าเริง ชอบใจ เมื่อมีผู้กล่าวสรรเสริญพระพุทธเจ้า พระธรรม หรือพระสงฆ์ กลับโกรธ ไม่พอใจ ไม่ชอบใจ.  ดูกรภิกษุทั้งหลาย ข้อนี้เป็นเครื่องสอบสวนในข้อปฏิบัติที่ไม่ชวนให้สงฆ์ยินดีแห่งกุลบุตรผู้เคยเป็นเดียรถีย์. ดูกรภิกษุทั้งหลาย อย่างนี้แล กุลบุตรผู้เคยเป็นอัญญเดียรถีย์ ชื่อว่าเป็นผู้ปฏิบัติมิให้สงฆ์ยินดี. กุลบุตรผู้เคยเป็นอัญญเดียรถีย์ ปฏิบัติมิให้สงฆ์ยินดีเช่นนี้แล มาแล้ว ไม่พึงอุปสมบทให้. 
“สุณาตุ เม ภนฺเต สงฺโฆ. อยํ อิตฺถนฺนาโม อญฺญติตฺถิยปุพฺโพ อิมสฺมึ ธมฺมวินเย อากงฺขติ อุปสมฺปทํ. โส สงฺฆํ จตฺตาโร มาเส ปริวาสํ ยาจติ.  สงฺโฆ อิตฺถนฺนามสฺส อญฺญติตฺถิยปุพฺพสฺส จตฺตาโร มาเส ปริวาสํ เทติ. 
kathañ ca bhikkhave aññatitthiyapubbo ārādhako hoti.  idha bhikkhave aññatitthiyapubbo nātikālena gāmaṃ pavisati, nātidivā paṭikkamati.  evam pi bhikkhave aññatitthiyapubbo ārādhako hoti.  puna ca paraṃ bhikkhave aññatitthiyapubbo na vesiyāgocaro hoti, na vidhavāgocaro hoti, na thullakumārikagocaro hoti, na paṇḍakagocaro hoti, na bhikkhunīgocaro hoti.  evam pi bhikkhave añña-[page 071]I. 38. 8-39. 1.] MAHĀVAGGA. 71 titthiyapubbo ārādhako hoti. |8| 
this, O Bhikkhus, is a decisive moment for the failure of a person that has formerly belonged to a Titthiya school (in obtaining admission to the Samgha). 'Thus, O Bhikkhus, a person that has formerly belonged to a Titthiya school, fails in satisfying (the Bhikkhus). When a person comes, O Bhikkhus, that has formerly belonged to a Titthiya school, and has thus failed in satisfying (the Bhikkhus), the upasampadâ ordination should not be conferred on him.  'And what is the way, O Bhikkhus, in which a person that has formerly belonged to a Titthiya school, succeeds in satisfying (the Bhikkhus)?  'In case, O Bhikkhus, the person that has formerly belonged to a Titthiya school, does not enter the village too early (&c., point by point the contrary of the preceding).     
ข้อปฏิบัติที่ให้สงฆ์ยินดี // ดูกรภิกษุทั้งหลาย อย่างไรเล่า กุลบุตรผู้เคยเป็นอัญญเดียรถีย์ เป็นผู้ปฏิบัติให้สงฆ์ยินดี?  ๑. ดูกรภิกษุทั้งหลาย กุลบุตรผู้เคยเป็นอัญญเดียรถีย์ในพระธรรมวินัยนี้ เข้าบ้านไม่เช้าเกินไป กลับไม่สายเกินไป  แม้เช่นนี้ ก็ชื่อว่าเป็นผู้ปฏิบัติให้สงฆ์ยินดี.  ๒. ดูกรภิกษุทั้งหลาย อีกประการหนึ่ง กุลบุตรผู้เคยเป็นอัญญเดียรถีย์ ไม่เป็นผู้มีหญิงแพศยาเป็นโคจร ไม่มีหญิงหม้ายเป็นโคจร ไม่มีสาวเทื้อเป็นโคจร ไม่มีบัณเฑาะก์เป็นโคจร ไม่มีภิกษุณีเป็นโคจร  แม้เช่นนี้ ก็ชื่อว่าเป็นผู้ปฏิบัติให้สงฆ์ยินดี. 
ยสฺสายสฺมโต ขมติ อิตฺถนฺนามสฺส อญฺญติตฺถิยปุพฺพสฺส จตฺตาโร มาเส ปริวาสสฺส ทานํ โส ตุณฺหสฺส ยสฺส นกฺขมติ โส ภาเสยฺย.  “ทินฺโน สงฺเฆน อิตฺถนฺนามสฺส อญฺญติตฺถิยปุพฺพสฺส จตฺตาโร มาเส ปริวาโส.  ขมติ สงฺฆสฺส ตสฺมา ตุณฺหี เอวเมตํ ธารยามี”ติ.  ๘๗. “เอวํ โข ภิกฺขเว อญฺญติตฺถิยปุพฺโพ อาราธโก โหติ เอวํ อนาราธโก.  กถญฺจ ภิกฺขเว อญฺญติตฺถิยปุพฺโพ อนาราธโก โหติ? 
puna ca paraṃ bhikkhave aññatitthiyapubbo yāni tāni sabrahmacārīnaṃ uccāvacāni karaṇīyāni, tattha dakkho hoti analaso tatrupāyāya vīmaṃsāya samannāgato, alaṃ kātuṃ, alaṃ saṃvidhātuṃ.  evam pi bhikkhave aññatitthiyapubbo ārādhako hoti.  puna ca paraṃ bhikkhave aññatitthiyapubbo tibbacchando hoti uddese paripucchāya adhisīle adhicitte adhipaññāya.  evam pi bhikkhave aññatitthiyapubbo ārādhako hoti. |9| 
       
๓. ดูกรภิกษุทั้งหลาย อีกประการหนึ่ง กุลบุตรผู้เคยเป็นอัญญเดียรถีย์ เป็นผู้ขยันไม่เกียจคร้านในการงานใหญ่น้อยของเพื่อนสพรหมจารีทั้งหลาย ประกอบด้วยปัญญาพิจารณาสอดส่องในการนั้น อาจทำได้ อาจจัดการได้  แม้เช่นนี้ ก็ชื่อว่าเป็นผู้ปฏิบัติให้สงฆ์ยินดี  ๔. ดูกรภิกษุทั้งหลาย อีกประการหนึ่ง กุลบุตรผู้เคยเป็นอัญญเดียรถีย์ เป็นผู้สนใจในการเรียนบาลี ในการเรียนอรรถกถา ในอธิศีล อธิจิต อธิปัญญา  แม้เช่นนี้ ก็ชื่อว่าเป็นผู้ปฏิบัติให้สงฆ์ยินดี. 
อิธ ภิกฺขเว อญฺญติตฺถิยปุพฺโพ อติกาเลน คามํ ปวิสติ อติทิวา ปฏิกฺกมติ.  เอวมฺปิ ภิกฺขเว อญฺญติตฺถิยปุพฺโพ อนาราธโก โหติ.  “ปุน จปรํ ภิกฺขเว อญฺญติตฺถิยปุพฺโพ เวสิยาโคจโร วา โหติ วิธวาโคจโร วา โหติ ถุลฺลกุมาริกาโคจโร วา โหติ ปณฺฑกโคจโร วา โหติ ภิกฺขุนิโคจโร วา โหติ.  เอวมฺปิ ภิกฺขเว อญฺญติตฺถิยปุพฺโพ อนาราธโก โหติ. 
puna ca paraṃ bhikkhave aññatitthiyapubbo yassa titthāyatanā saṃkanto hoti, tassa satthuno tassa diṭṭhiyā tassa khantiyā tassa ruciyā tassa ādāyassa avaṇṇe bhaññamāne attamano hoti udaggo abhiraddho, buddhassa vā dhammassa vā saṃghassa vā avaṇṇe bhaññamāne kupito hoti anattamano anabhiraddho, yassa vā pana titthāyatanā saṃkanto hoti, tassa satthuno tassa diṭṭhiyā tassa khantiyā tassa ruciyā tassa ādāyassa vaṇṇe bhaññamāne kupito hoti anattamano anabhiraddho, buddhassa vā dhammassa vā saṃghassa vā vaṇṇe bhaññamāne attamano hoti udaggo abhiraddho.  idaṃ bhikkhave saṃghātanikaṃ aññatitthiyapubbassa ārādhanīyasmiṃ.  evaṃ kho bhikkhave aññatitthiyapubbo ārādhako hoti.  evaṃ ārādhako kho bhikkhave aññatitthiyapubbo āgato upasampādetabbo. |10| 
       
๕. ดูกรภิกษุทั้งหลาย อีกประการหนึ่ง กุลบุตรผู้เคยเป็นอัญญเดียรถีย์ ตนหลีกมาจากสำนักเดียรถีย์แห่งครูคนใด เมื่อมีผู้กล่าวติครูคนนั้น ติความเห็น ความชอบใจ ความพอใจ และความยึดถือ ของครูคนนั้น ย่อมพอใจ ร่าเริง ชอบใจ เมื่อเขากล่าวติพระพุทธเจ้า พระธรรม หรือพระสงฆ์ กลับโกรธ ไม่พอใจ ไม่ชอบใจ ก็หรือตนหลีกมาจากสำนักเดียรถีย์แห่งครูคนใด เมื่อมีผู้กล่าวสรรเสริญครูคนนั้น สรรเสริญความเห็น ความชอบใจ ความพอใจ และความยึดถือของครูคนนั้น ย่อมโกรธ ไม่พอใจ ไม่ชอบใจ เมื่อเขากล่าวสรรเสริญพระพุทธเจ้า พระธรรมหรือพระสงฆ์ กลับพอใจ ร่าเริง ชอบใจ.  ดูกรภิกษุทั้งหลาย ข้อนี้เป็นเครื่องสอบสวนในข้อปฏิบัติที่ชวนให้สงฆ์ยินดี แห่งกุลบุตรผู้เคยเป็นอัญญเดียรถีย์.  ดูกรภิกษุทั้งหลาย อย่างนี้แล กุลบุตรผู้เคยเป็นอัญญเดียรถีย์ ชื่อว่าเป็นผู้ปฏิบัติให้สงฆ์ยินดี.  กุลบุตรผู้เคยเป็นอัญญเดียรถีย์ปฏิบัติให้สงฆ์ยินดีเช่นนี้แล มาแล้ว พึงอุปสมบทให้. 
“ปุน จปรํ ภิกฺขเว อญฺญติตฺถิยปุพฺโพ ยานิ ตานิ สพฺรหฺมจารีนํ อุจฺจาวจานิ กรณียานิ ตตฺถ น ทกฺโข โหติ น อนลโส น ตตฺรุปายาย วีมํสาย สมนฺนาคโต น อลํ กาตุํ น อลํ สํวิธาตุํ.  เอวมฺปิ ภิกฺขเว อญฺญติตฺถิยปุพฺโพ อนาราธโก โหติ.  “ปุน จปรํ ภิกฺขเว อญฺญติตฺถิยปุพฺโพ น ติพฺพจฺฉนฺโท โหติ อุทฺเทเส ปริปุจฺฉาย อธิสีเล อธิจิตฺเต อธิปญฺญาย.  เอวมฺปิ ภิกฺขเว อญฺญติตฺถิยปุพฺโพ อนาราธโก โหติ. 
sace bhikkhave aññatitthiyapubbo naggo āgacchati, upajjhāyamūlakaṃ cīvaraṃ pariyesitabbaṃ.  sace acchinnakeso āgacchati, saṃgho apaloketabbo bhaṇḍukammāya.  ye te bhikkhave aggikā jaṭilakā, te āgatā upasampādetabbā, na tesaṃ parivāso dātabbo.  taṃ kissa hetu.  kammavādino ete bhikkhave kiriyavādino.  sace bhikkhave jātiyā Sākiyo aññatitthiyapubbo āgacchati, so āgato upasampādetabbo, na tassa parivāso dātabbo.  imāhaṃ bhikkhave ñātīnaṃ āveṇiyaṃ parihāraṃ dammīti. |11| 
'When a person comes, O Bhikkhus, that has formerly belonged to a Titthiya school, and has thus succeeded in satisfying (the Bhikkhus), the upasampadâ ordination ought to be conferred on him.  'If a person, O Bhikkhus, that has formerly beIonged to a Titthiya school, comes (to the Bhikkhus) naked, it is incumbent on his upagghâya to get a robe for him.  If he comes with unshaven hair, the Samgha's permission ought to be asked for having his hair shaved.  'If fire-worshippers and Gatilas come to you, O Bhikkhus, they are to receive the upasampadâ ordination (directly), and no parivâsa is to be imposed on them.  And for what reason?  These, O Bhikkhus, hold the doctrine that actions receive their reward, and that our deeds have their result (according to their moral merit).  'If a Sakya by birth, O Bhikkhus, who has belonged to a Titthiya school, comes to you, he is to receive the upasampadâ ordination (directly), and no parivâsa is to be imposed on him. 
ดูกรภิกษุทั้งหลาย ถ้ากุลบุตรผู้เคยเป็นอัญญเดียรถีย์ เปลือยกายมา ต้องแสวงหาจีวร ซึ่งมีอุปัชฌายะเป็นเจ้าของ  ถ้ายังมิได้ปลงผมมา สงฆ์พึงอปโลกน์ เพื่อปลงผม.  ดูกรภิกษุทั้งหลาย ชฏิลผู้บูชาไฟเหล่านั้นมาแล้ว พึงอุปสมบทให้ ไม่ต้องให้ปริวาสแก่พวกเธอ.  ข้อนั้นเป็นเพราะเหตุไร?  ดูกรภิกษุทั้งหลาย เพราะชฎิลเหล่านั้น เป็นกรรมวาที กิริยวาที.  ถ้าศากยะโดยกำเนิดเคยเป็นอัญญเดียรถีย์มา เธอมาแล้วพึงอุปสมบทให้ ไม่ต้องให้ปริวาสแก่เธอ.  ดูกรภิกษุทั้งหลาย เราให้บริหารข้อนี้เป็นส่วนพิเศษเฉพาะหมู่ญาติ. 
“ปุน จปรํ ภิกฺขเว อญฺญติตฺถิยปุพฺโพ ยสฺส ติตฺถายตนา สงฺกนฺโต โหติ ตสฺส สตฺถุโน ตสฺส ทิฏฺฐิยา ตสฺส ขนฺติยา ตสฺส รุจิยา ตสฺส อาทายสฺส อวณฺเณ ภญฺญมาเน กุปิโต โหติ อนตฺตมโน อนภิรทฺโธ พุทฺธสฺส วา ธมฺมสฺส วา สงฺฆสฺส วา อวณฺเณ ภญฺญมาเน อตฺตมโน โหติ อุทคฺโค อภิรทฺโธ. ยสฺส วา ปน ติตฺถายตนา สงฺกนฺโต โหติ ตสฺส สตฺถุโน ตสฺส ทิฏฺฐิยา ตสฺส ขนฺติยา ตสฺส รุจิยา ตสฺส อาทายสฺส วณฺเณ ภญฺญมาเน อตฺตมโน โหติ อุทคฺโค อภิรทฺโธ พุทฺธสฺส วา ธมฺมสฺส วา สงฺฆสฺส วา วณฺเณ ภญฺญมาเน กุปิโต โหติ อนตฺตมโน อนภิรทฺโธ. อิทํ ภิกฺขเว สงฺฆาตนิกํ อญฺญติตฺถิยปุพฺพสฺส อนาราธนียสฺมึ.  เอวมฺปิ โข ภิกฺขเว อญฺญติตฺถิยปุพฺโพ อนาราธโก โหติ. เอวํ อนาราธโก โข ภิกฺขเว อญฺญติตฺถิยปุพฺโพ อาคโต น อุปสมฺปาเทตพฺโพ.  “กถญฺจ ภิกฺขเว อญฺญติตฺถิยปุพฺโพ อาราธโก โหติ?  อิธ ภิกฺขเว อญฺญติตฺถิยปุพฺโพ นาติกาเลน คามํ ปวิสติ นาติทิวา ปฏิกฺกมติ.  เอวมฺปิ ภิกฺขเว อญฺญติตฺถิยปุพฺโพ อาราธโก โหติ.  “ปุน จปรํ ภิกฺขเว อญฺญติตฺถิยปุพฺโพ น เวสิยาโคจโร โหติ น วิธวาโคจโร โหติ น ถุลฺลกุมาริกาโคจโร โหติ น ปณฺฑกโคจโร โหติ น ภิกฺขุนิโคจโร โหติ.  เอวมฺปิ ภิกฺขเว อญฺญติตฺถิยปุพฺโพ อาราธโก โหติ. 
aññatitthiyapubbakathā. ||38|| 
This exceptional privilege, O Bhikkhus, I grant to my kinsmen.' 
อัญญติถิยปุพพกถา จบ 
“ปุน จปรํ ภิกฺขเว อญฺญติตฺถิยปุพฺโพ ยานิ ตานิ สพฺรหฺมจารีนํ อุจฺจาวจานิ กรณียานิ ตตฺถ ทกฺโข โหติ อนลโส ตตฺรุปายาย วีมํสาย สมนฺนาคโต อลํ กาตุํ อลํ สํวิธาตุํ. 
sattamaṃ bhāṇavāraṃ. 
Here ends the exposition on the ordination of persons that have formerly belonged to Titthiya schools. 
ภาณวารที่ ๗ จบ 
เอวมฺปิ ภิกฺขเว อญฺญติตฺถิยปุพฺโพ อาราธโก โหติ. 
tena kho pana samayena Magadhesu pañca ābādhā ussannā honti kuṭṭhaṃ gaṇḍo kilāso soso apamāro.  manussā pañcahi ābādhehi phuṭṭhā Jīvakaṃ Komārabhaccaṃ upasaṃkamitvā evaṃ vadanti: sādhu no ācariya tikicchāhīti.  ahaṃ kho ’yyo bahukicco bahukaraṇīyo, rājā ca me Māgadho (72) Seniyo Bimbisāro upaṭṭhātabbo itthāgārañ ca buddhapamukho ca bhikkhusaṃgho, nāhaṃ sakkomi tikicchitun ti.  sabbaṃ sāpateyyañ ca te ācariya hotu, mayañ ca te dāsā, sādhu no ācariya tikicchāhīti.  ahaṃ kho ’yyo bahukicco bahukaraṇīyo, rājā ca me Māgadho Seniyo Bimbisāro upaṭṭhātabbo itthāgārañ ca buddhapamukho ca bhikkhusaṃgho, nāhaṃ sakkomi tikicchitun ti. |1| 
End of the seventh Bhânavâra.  At that time these five diseases prevailed among the people of Magadha:--leprosy, boils, dry leprosy, consumption, and fits.  The people who were affected with these five diseases went to Gîvaka Komârabhakka and said: 'pray, doctor, cure us.'  'I have too many duties', Sirs, and am too occupied. I have to treat the Magadha king Seniya Bimbisâra, and the royal seraglio, and the fraternity of Bhikkhus with the Buddha at their head. I cannot cure you.  'All that we possess shall be yours, doctor, and we will be your slaves; pray, doctor, cure us.' 
อันตรายิกธรรม (โรค ๕ ชนิด) // [๑๐๑] ก็โดยสมัยนั้นแล ในมคธชนบทเกิดโรคระบาดขึ้น ๕ ชนิด คือ โรคเรื้อน ๑ โรคฝี ๑ โรคกลาก ๑ โรคมองคร่อ ๑ โรคลมบ้าหมู ๑  ประชาชนอันโรค ๕ ชนิดกระทบเข้าแล้ว ได้เข้าไปหาหมอชีวกโกมารภัจจ์ แล้วกล่าวอย่างนี้ว่า ขอโอกาส ท่านอาจารย์ ขอท่านกรุณาช่วยรักษาพวกข้าพเจ้าด้วย.  ชี. เจ้าทั้งหลาย ฉันน่ะ มีกิจมาก มีงานที่ต้องทำมาก ฉันต้องถวายอภิบาลพระเจ้าพิมพิสารจอมเสนามาคธราช ทั้งพวกฝ่ายใน และพระสงฆ์มีพระพุทธเจ้าเป็นประมุข ฉันไม่สามารถจะช่วยรักษาได้.  ป. ท่านอาจารย์ ทรัพย์สมบัติทั้งหมดยกให้ท่าน และพวกข้าพเจ้ายอมเป็นทาสของท่าน ขอโอกาส ท่านอาจารย์ ขอท่านกรุณาช่วยรักษาพวกข้าพเจ้าด้วย.  ชี. เจ้าทั้งหลาย ฉันน่ะ มีกิจมาก มีงานที่ต้องทำมาก ฉันต้องถวายอภิบาลพระเจ้าพิมพิสารจอมเสนามาคธราช ทั้งพวกฝ่ายใน และพระสงฆ์มีพระพุทธเจ้าเป็นประมุข ฉันไม่สามารถจะช่วยรักษาได้. 
“ปุน จปรํ ภิกฺขเว อญฺญติตฺถิยปุพฺโพ ติพฺพจฺฉนฺโท โหติ อุทฺเทเส ปริปุจฺฉาย อธิสีเล อธิจิตฺเต อธิปญฺญาย.  เอวมฺปิ ภิกฺขเว อญฺญติตฺถิยปุพฺโพ อาราธโก โหติ.  “ปุน จปรํ ภิกฺขเว อญฺญติตฺถิยปุพฺโพ ยสฺส ติตฺถายตนา สงฺกนฺโต โหติ ตสฺส สตฺถุโน ตสฺส ทิฏฺฐิยา ตสฺส ขนฺติยา ตสฺส รุจิยา ตสฺส อาทายสฺส อวณฺเณ ภญฺญมาเน อตฺตมโน โหติ อุทคฺโค อภิรทฺโธ พุทฺธสฺส วา ธมฺมสฺส วา สงฺฆสฺส วา อวณฺเณ ภญฺญมาเน กุปิโต โหติ อนตฺตมโน อนภิรทฺโธ. ยสฺส วา ปน ติตฺถายตนา สงฺกนฺโต โหติ ตสฺส สตฺถุโน ตสฺส ทิฏฺฐิยา ตสฺส ขนฺติยา ตสฺส รุจิยา ตสฺส อาทายสฺส วณฺเณ ภญฺญมาเน กุปิโต โหติ อนตฺตมโน อนภิรทฺโธ พุทฺธสฺส วา ธมฺมสฺส วา สงฺฆสฺส วา วณฺเณ ภญฺญมาเน อตฺตมโน โหติ อุทคฺโค อภิรทฺโธ.  อิทํ ภิกฺขเว สงฺฆาตนิกํ อญฺญติตฺถิยปุพฺพสฺส อาราธนียสฺมึ.  เอวมฺปิ โข ภิกฺขเว อญฺญติตฺถิยปุพฺโพ อาราธโก โหติ. 
atha kho tesaṃ manussānaṃ etad ahosi: ime kho samaṇā Sakyaputtiyā sukhasīlā sukhasamācārā subhojanāni bhuñjitvā nivātesu sayanesu sayanti.  yaṃ nūna mayaṃ samaṇesu Sakyaputtiyesu pabbajeyyāma, tattha bhikkhū c’ eva upaṭṭhahissanti Jīvako ca Komārabhacco tikicchissatīti.  atha kho te manussā bhikkhū upasaṃkamitvā pabbajjaṃ yāciṃsu, te bhikkhū pabbājesuṃ upasampādesuṃ, te bhikkhū c’ eva upaṭṭhahiṃsu Jīvako ca Komārabhacco tikicchi. |2| 
'I have too many duties, Sirs, &c.; I cannot cure you.'  Now those people thought: 'Indeed the precepts which these Sakyaputtiya Samanas keep and the life they live are commodious; they have good meals and lie down on beds protected from the wind.  What if we were to embrace the religious life among the Sakyaputtiya Samanas: then the Bhikkhus will nurse us, and Gîvaka Komârabhakka, will cure us.' 
จึงประชาชนพวกนั้นได้คิดว่า พระสมณะเชื้อสายพระศากยบุตรเหล่านี้แล มีปกติเป็นสุข มีความประพฤติสบาย ฉันอาหารที่ดี นอนในห้องนอนอันมิดชิด  ถ้ากระไร พวกเราพึงบวชในสำนักพระสมณะเชื้อสายพระศากยบุตร ในที่นั้น ภิกษุทั้งหลายจักพยาบาล และหมอชีวกโกมารภัจจ์จักรักษา.  ต่อมา พวกเขาพากันเข้าไปหาภิกษุทั้งหลายแล้วขอบรรพชา. ภิกษุทั้งหลายให้พวกเขาบรรพชาอุปสมบท แล้วต้องพยาบาล และหมอชีวกโกมารภัจจ์ต้องรักษาพวกเขา. 
เอวํ อาราธโก โข ภิกฺขเว อญฺญติตฺถิยปุพฺโพ อาคโต อุปสมฺปาเทตพฺโพ.  “สเจ ภิกฺขเว อญฺญติตฺถิยปุพฺโพ นคฺโค อาคจฺฉติ อุปชฺฌายมูลกํ จีวรํ ปริเยสิตพฺพํ.  สเจ อจฺฉินฺนเกโส อาคจฺฉติ สงฺโฆ อปโลเกตพฺโพ ภณฺฑุกมฺมาย. 
tena kho pana samayena bhikkhū bahū gilāne bhikkhū upaṭṭhahantā yācanabahulā viññattibahulā viharanti gilānabhattaṃ detha, gilānupaṭṭhākabhattaṃ detha, gilānabhesajjaṃ dethā ’ti.  Jīvako pi Komārabhacco bahū gilāne bhikkhū tikicchanto aññataraṃ rājakiccaṃ parihāpesi. |3| 
Thus these persons went to the Bhikkhus and asked them for the pabbaggâ ordination; the Bhikkhus conferred on them the pabbaggâ and upasampadâ ordinations; and the Bhikkhus nursed them, and Gîvaka Komârabhakka cured them.  At that time the Bhikkhus, who had to nurse many sick Bhikkhus, began to solicit (lay people) with many demands and many requests: 'Give us food for the sick; give us food for the tenders of the sick; give us medicine for the sick.' 
สมัยต่อมา ภิกษุทั้งหลายพยาบาลภิกษุอาพาธมากรูป ย่อมเป็นผู้มากด้วยการขอร้อง มากด้วยการขออยู่ว่า ขอจงให้อาหารสำหรับภิกษุอาพาธ ขอจงให้อาหารสำหรับภิกษุผู้พยาบาลภิกษุอาพาธ ขอจงให้เภสัชสำหรับภิกษุผู้อาพาธ.  แม้หมอชีวกโกมารภัจจ์มัวรักษาภิกษุอาพาธมากรูป ได้ปฏิบัติราชการบางอย่างบกพร่อง. 
เย เต ภิกฺขเว อคฺคิกา ชฏิลกา เต อาคตา อุปสมฺปาเทตพฺพา น เตสํ ปริวาโส ทาตพฺโพ.  ตํ กิสฺส เหตุ? 
aññataro puriso pañcahi ābādhehi phuṭṭho Jīvakaṃ Komārabhaccaṃ upasaṃkamitvā etad avoca: sādhu maṃ ācariya tikicchāhīti.  ahaṃ kho ’yyo bahukicco bahukaraṇīyo, rājā ca me Māgadho Seniyo Bimbisāro upaṭṭhātabbo itthāgārañ ca buddhapamukho ca bhikkhusaṃgho, nāhaṃ sakkomi tikicchitun ti.  sabbaṃ sāpateyyañ ca te ācariya hotu, ahañ ca te dāso, sādhu maṃ ācariya tikicchāhīti.  ahaṃ kho ’yyo bahukicco bahukaraṇīyo, rājā ca me Māgadho Seniyo Bimbisāro upaṭṭhātabbo itthāgārañ ca buddhapamukho ca bhikkhusaṃgho, nāhaṃ sakkomi tikicchitun ti. |4| 
And also Gîvaka Komârabhakka, who had to treat many sick Bhikkhus, neglected some of his duties to the king.  Now one day a man who was affected with the five diseases went to Gîvaka Komârabhakka and said:'Pray, doctor, cure me.'  'I have too many duties, Sir, and am too occupied; I have to treat the Magadha king Seniya Bimbisâra, and the royal seraglio, and the fraternity of Bhikkhus with the Buddha at their head; I cannot cure you.'  'All that I possess shall be yours, doctor, and I will be your slave; pray doctor, cure me.' 
บุรุษแม้คนหนึ่ง ถูกโรค ๕ ชนิดกระทบเข้าแล้ว ก็เข้าไปหาหมอชีวกโกมารภัจจ์ แล้วกราบเรียนว่า ขอโอกาส ท่านอาจารย์ ขอท่านกรุณาช่วยรักษากระผมด้วย.  ชี. เจ้า ข้าน่ะ มีกิจมาก มีงานที่ต้องทำมาก ต้องถวายอภิบาลพระเจ้าพิมพิสารจอมเสนามาคธราช ทั้งพวกฝ่ายใน และพระสงฆ์มีพระพุทธเจ้าเป็นประมุข ข้าไม่สามารถจะช่วยรักษาได้.  บุรุษ. ท่านอาจารย์ ทรัพย์สมบัติทั้งหมดยกให้ท่าน และกระผมยอมเป็นทาสของท่าน ขอโอกาส ท่านอาจารย์ ขอท่านกรุณาช่วยรักษากระผมด้วย.  ชี. เจ้า ข้าน่ะ มีกิจมาก มีงานที่ต้องทำมาก ต้องถวายอภิบาลพระเจ้าพิมพิสารจอมเสนามาคธราช ทั้งพวกฝ่ายใน และพระสงฆ์มีพระพุทธเจ้าเป็นประมุข ข้าไม่สามารถจะช่วยรักษาได้. 
กมฺมวาทิโน เอเต ภิกฺขเว กิริยวาทิโน.  สเจ ภิกฺขเว ชาติยา สากิโย อญฺญติตฺถิยปุพฺโพ อาคจฺฉติ โส อาคโต อุปสมฺปาเทตพฺโพ น ตสฺส ปริวาโส ทาตพฺโพ.  อิมาหํ ภิกฺขเว ญาตีนํ อาเวณิกํ ปริหารํ ทมฺมี”ติ.  อญฺญติตฺถิยปุพฺพกถา นิฏฺฐิตา. 
atha kho tassa purisassa etad ahosi: ime kho samaṇā Sakyaputtiyā sukhasīlā sukhasamācārā subhojanāni bhuñjitvā nivātesu sayanesu sayanti.  yaṃ nūnāhaṃ samaṇesu Sakyaputtiyesu pabbajeyyaṃ, tattha bhikkhū c’ eva upaṭṭhahissanti, Jīvako ca Komārabhacco tikicchissati, so ’haṃ arogo vibbhamissāmīti.  atha kho so puriso bhikkhū upasaṃkamitvā pabbajjaṃ yāci, taṃ bhikkhū pabbājesuṃ upasampādesuṃ, taṃ bhikkhū c’ eva upaṭṭhahiṃsu Jīvako ca Komārabhacco tikicchi, so arogo vibbhami.  addasa kho (73) Jīvako Komārabhacco taṃ purisaṃ vibbhamantaṃ, disvāna taṃ purisaṃ etad avoca:  nanu tvaṃ ayyo bhikkhūsu pabbajito ahosīti.  evaṃ ācariyā ’ti.  kissa pana tvaṃ ayyo evarūpaṃ akāsīti.  atha kho so puriso Jīvakassa Komārabhaccassa etam atthaṃ ārocesi. |5| 
'I have too many duties, Sir, &c.; I cannot cure you.  Now that man thought: 'Indeed the precepts which these Sakyaputtiya Samanas keep (&c., down to:): then the Bhikkhus will nurse me, and Gîvaka Komârabhakka will cure me. When I have become free from sickness, then I will return to the world.'  Thus that man went to the Bhikkhus and asked them for the pabbaggâ ordination; the Bhikkhus conferred on him the pabbaggâ and upasampadâ ordinations; and the Bhikkhus nursed him, and Gîvaka Komârabhakka cured him. When he had become free from sickness, he returned to the world.  Now Gîvaka Komârabhakka saw this person that had returned to the world;  and when he saw him he asked that person:  'Had you not embraced the religious life, Sir, among the Bhikkhus?'  'Yes, doctor.'  'And why have you adopted such a course, Sir?' 
จึงบุรุษนั้นได้คิดว่า พระสมณะเชื้อสายพระศากยบุตรเหล่านี้แล มีปกติเป็นสุข มีความประพฤติสบาย ฉันอาหารที่ดี นอนในห้องนอนอันมิดชิด  ถ้ากระไร เราพึงบวชในสำนักพระสมณะเชื้อสายพระศากยบุตร ในที่นั้น ภิกษุทั้งหลายจักพยาบาล และหมอชีวกโกมารภัจจ์จักรักษา เราหายโรคแล้วจักสึก จึงบุรุษนั้นเข้าไปหาภิกษุทั้งหลายแล้วขอบรรพชา.  ภิกษุทั้งหลายให้บุรุษนั้นบรรพชาอุปสมบทแล้วต้องพยาบาล และหมอชีวกโกมารภัจจ์ต้องรักษาภิกษุนั้น. ภิกษุนั้นหายโรคแล้วสึก.  หมอชีวกโกมารภัจจ์ได้เห็นบุรุษนั้นสึกแล้ว จึงได้ไต่ถามบุรุษนั้นว่า  เจ้าบวชในสำนักภิกษุมิใช่หรือ?  บุรุษ. ใช่แล้วขอรับ ท่านอาจารย์.  ชี. เจ้าได้ทำพฤติการณ์เช่นนั้น เพื่อประสงค์อะไร?  จึงบุรุษนั้น ได้เรียนเรื่องนั้นให้หมอชีวกโกมารภัจจ์ทราบ. 
สตฺตมภาณวาโร.  (๒๖. ปญฺจาพาธวตฺถุ) ๘๘. เตน โข ปน สมเยน มคเธสุ ปญฺจ อาพาธา อุสฺสนฺนา โหนฺติ กุฏฺฐํ คณฺโฑ กิลาโส โสโส อปมาโร.  มนุสฺสา ปญฺจหิ อาพาเธหิ ผุฏฺฐา ชีวกํ โกมารภจฺจํ อุปสงฺกมิตฺวา เอวํ วทนฺติ “สาธุ โน อาจริย ติกิจฺฉาหี”ติ.  “อหํ ขฺวยฺโย พหุกิจฺโจ พหุกรณีโย ราชา จ เม มาคโธ เสนิโย พิมฺพิสาโร อุปฏฺฐาตพฺโพ อิตฺถาคารญฺจ พุทฺธปฺปมุโข จ ภิกฺขุสงฺโฆ นาหํ สกฺโกมิ ติกิจฺฉิตุ”นฺติ.  “สพฺพํ สาปเตยฺยญฺจ เต อาจริย โหตุ มยญฺจ เต ทาสา สาธุ โน อาจริย ติกิจฺฉาหี”ติ.  “อหํ ขฺวยฺโย พหุกิจฺโจ พหุกรณีโย ราชา จ เม มาคโธ เสนิโย พิมฺพิสาโร อุปฏฺฐาตพฺโพ อิตฺถาคารญฺจ พุทฺธปฺปมุโข จ ภิกฺขุสงฺโฆ นาหํ สกฺโกมิ ติกิจฺฉิตุ”นฺติ.  อถ โข เตสํ มนุสฺสานํ เอตทโหสิ “อิเม โข สมณา สกฺยปุตฺติยา สุขสีลา สุขสมาจารา สุโภชนานิ ภุญฺชิตฺวา นิวาเตสุ สยเนสุ สยนฺติ.  ยํนูน มยํ สมเณสุ สกฺยปุตฺติเยสุ ปพฺพเชยฺยาม. ตตฺถ ภิกฺขู เจว อุปฏฺฐหิสฺสนฺติ ชีวโก จ โกมารภจฺโจ ติกิจฺฉิสฺสตี”ติ 
Jīvako Komārabhacco ujjhāyati khīyati vipāceti: kathaṃ hi nāma bhaddantā pañcahi ābādhehi phuṭṭhaṃ pabbājessantīti.  atha kho Jīvako Komārabhacco yena bhagavā ten’ upasaṃkami, upasaṃkamitvā bhagavantaṃ abhivādetvā ekamantaṃ nisīdi.  ekamantaṃ nisinno kho Jīvako Komārabhacco bhagavantaṃ etad avoca: sādhu bhante ayyā pañcahi ābādhehi phuṭṭhaṃ na pabbājeyyun ti. |6| 
Then that man told Gîvaka Komârabhakka the whole matter .  Then Gîvaka Komârabhakka was annoyed, murmured, and became angry: 'How can the venerable brethren confer the pabbaggâ ordination on a person affected with the five diseases?'  And Gîvaka Komârabhakka went to the place where the Blessed One was; having approached him and having respectfully saluted the Blessed One, he sat down near him. 
หมอชีวกโกมารภัจจ์ จึงเพ่งโทษ ติเตียน โพนทะนาว่า ไฉนพระคุณเจ้าทั้งหลายจึงได้ให้กุลบุตรผู้ถูกโรค ๕ ชนิดกระทบเข้าแล้วบวชเล่า.  ครั้นแล้วเข้าเฝ้าพระผู้มีพระภาค ถวายบังคมพระผู้มีพระภาคแล้วนั่ง ณ ที่ควรส่วนข้างหนึ่ง  แล้วได้กราบทูลขอประทานพรต่อพระผู้มีพระภาคว่า ข้าพระพุทธเจ้า ขอประทานพระวโรกาส ขอพระผู้เป็นเจ้าทั้งหลายไม่พึงยังกุลบุตรผู้ถูกโรค ๕ ชนิดกระทบเข้าแล้ว ให้บวช. 
อถ โข เต มนุสฺสา ภิกฺขู อุปสงฺกมิตฺวา ปพฺพชฺชํ ยาจึสุ. เต ภิกฺขู ปพฺพาเชสุํ อุปสมฺปาเทสุํ. เต ภิกฺขู เจว อุปฏฺฐหึสุ ชีวโก จ โกมารภจฺโจ ติกิจฺฉิ.  เตน โข ปน สมเยน ภิกฺขู พหู คิลาเน ภิกฺขู อุปฏฺฐหนฺตา ยาจนพหุลา วิญฺญตฺติพหุลา วิหรนฺติ คิลานภตฺตํ เทถ คิลานุปฏฺฐากภตฺตํ เทถ คิลานเภสชฺชํ เทถาติ.  ชีวโกปิ โกมารภจฺโจ พหู คิลาเน ภิกฺขู ติกิจฺฉนฺโต อญฺญตรํ ราชกิจฺจํ ปริหาเปสิ. 
atha kho bhagavā Jīvakaṃ Komārabhaccaṃ dhammiyā kathāya sandassesi samādapesi samuttejesi sampahaṃsesi.  atha kho Jīvako Komārabhacco bhagavatā dhammiyā kathāya sandassito samādapito samuttejito sampahaṃsito uṭṭhāyāsanā bhagavantaṃ abhivādetvā padakkhiṇaṃ katvā pakkāmi. 
Sitting near him, Gîvaka Komârabhakka said to the Blessed One: 'Pray, Lord, let their reverences not confer the pabbaggâ ordination on persons affected with the five diseases.'  Then the Blessed One taught, incited, animated, and gladdened Gîvaka Komârabhakka by religious discourse; 
ลำดับนั้น พระผู้มีพระภาคทรงชี้แจงให้หมอชีวกโกมารภัจจ์ เห็นแจ้ง สมาทาน อาจหาญ ร่าเริง ด้วยธรรมีกถา.  ครั้นหมอชีวกโกมารภัจจ์อันพระผู้มีพระภาคทรงชี้แจงให้เห็นแจ้ง ให้สมาทาน ให้อาจหาญ ร่าเริงด้วยธรรมีกถาแล้วลุกจากที่นั่ง ถวายบังคมพระผู้มีพระภาค ทำประทักษิณแล้วกลับไป. 
๘๙. อญฺญตโรปิ ปุริโส ปญฺจหิ อาพาเธหิ ผุฏฺโฐ ชีวกํ โกมารภจฺจํ อุปสงฺกมิตฺวา เอตทโวจ “สาธุ มํ อาจริย ติกิจฺฉาหี”ติ.  “อหํ ขฺวยฺโย พหุกิจฺโจ พหุกรณีโย ราชา จ เม มาคโธ เสนิโย พิมฺพิสาโร อุปฏฺฐาตพฺโพ อิตฺถาคารญฺจ พุทฺธปฺปมุโข จ ภิกฺขุสงฺโฆ นาหํ สกฺโกมิ ติกิจฺฉิตุ”นฺติ. 
atha kho bhagavā etasmiṃ nidāne etasmiṃ pakaraṇe dhammiṃ kathaṃ katvā bhikkhū āmantesi: na bhikkhave pañcahi ābādhehi phuṭṭho pabbājetabbo.  yo pabbājeyya, āpatti dukkaṭassā ’ti. |7| 
and Gîvaka Komârabhakka, having been taught . . . . and gladdened by the Blessed One by religious discourse, rose from his seat, respectfully saluted the Blessed One, and passing round him with his right side towards him, went away.  In consequence of that and on this occasion the Blessed One, after having delivered a religious discourse, thus addressed the Bhikkhus: 'Let no one, O Bhikkhus, who is affected with the five diseases, receive the pabbaggâ ordination. 
ทรงห้ามบวชคนเป็นโรคติดต่อ // ลำดับนั้น พระผู้มีพระภาคทรงทำธรรมีกถา ในเพราะเหตุเป็นเค้ามูลนั้น ในเพราะเหตุแรกเกิดนั้น แล้วรับสั่งกะภิกษุทั้งหลายว่า ดูกรภิกษุทั้งหลาย กุลบุตรผู้ถูกโรค ๕ ชนิด กระทบเข้าแล้ว ภิกษุไม่พึงให้บวช  รูปใดให้บวช ต้องอาบัติทุกกฏ. 
“สพฺพํ สาปเตยฺยญฺจ เต อาจริย โหตุ อหญฺจ เต ทาโส สาธุ มํ อาจริย ติกิจฺฉาหี”ติ.  “อหํ ขฺวยฺโย พหุกิจฺโจ พหุกรณีโย ราชา จ เม มาคโธ เสนิโย พิมฺพิสาโร อุปฏฺฐาตพฺโพ อิตฺถาคารญฺจ พุทฺธปฺปมุโข จ ภิกฺขุสงฺโฆ นาหํ สกฺโกมิ ติกิจฺฉิตุ”นฺติ. 
||39|| 
He who confers the pabbaggâ ordination ( on such a person), is guilty of a dukkata offence.' 
อถ โข ตสฺส ปุริสสฺส เอตทโหสิ “อิเม โข สมณา สกฺยปุตฺติยา สุขสีลา สุขสมาจารา สุโภชนานิ ภุญฺชิตฺวา นิวาเตสุ สยเนสุ สยนฺติ. 
tena kho pana samayena rañño Māgadhassa Seniyassa Bimbisārassa paccanto kupito hoti.  atha kho rājā Māgadho Seniyo Bimbisāro senānāyake mahāmatte āṇāpesi: gacchatha bhaṇe paccantaṃ uccinathā ’ti.  evaṃ devā ’ti kho senānāyakā mahāmattā rañño Māgadhassa Seniyassa Bimbisārassa paccassosuṃ. |1| 
At that time the border provinces (of the kingdom) of the Magadha king Seniya Bimbisâra were agitated.  Then the Magadha king Seniya Bimbisâra gave order to the officers who were at the head of the army: 'Well now, go and search through the border provinces: 
เรื่องราชภัฏบวช // [๑๐๒] ก็โดยสมัยนั้นแล เมืองปลายเขตแดนของพระเจ้าพิมพิสารจอมเสนามาคธราชเกิดจลาจล.  ครั้งนั้น ท้าวเธอจึงมีพระบรมราชโองการสั่งพวกมหาอำมาตย์ผู้เป็นแม่ทัพนายกองว่า ดูกรพนาย ท่านทั้งหลายจงไปปรับปรุงเมืองปลายเขตแดนให้เรียบร้อย.  พวกมหาอำมาตย์ผู้เป็นแม่ทัพนายกองกราบทูลรับสนองพระบรมราชโองการพระเจ้าพิมพิสารจอมเสนามาคธราชว่า ขอเดชะ พระพุทธเจ้าข้า. 
ยํนูนาหํ สมเณสุ สกฺยปุตฺติเยสุ ปพฺพเชยฺยํ. ตตฺถ ภิกฺขู เจว อุปฏฺฐหิสฺสนฺติ ชีวโก จ โกมารภจฺโจ ติกิจฺฉิสฺสติ. โสมฺหิ อโรโค วิพฺภมิสฺสามี”ติ  อถ โข โส ปุริโส ภิกฺขุ อุปสงฺกมิตฺวา ปพฺพชฺชํ ยาจิ. ตํ ภิกฺขู ปพฺพาเชสุํ อุปสมฺปาเทสุํ. ตํ ภิกฺขู เจว อุปฏฺฐหึสุ ชีวโก จ โกมารภจฺโจ ติกิจฺฉิ. โส อโรโค วิพฺภมิ.  อทฺทสา โข ชีวโก โกมารภจฺโจ ตํ ปุริสํ วิพฺภนฺตํ ทิสฺวาน ตํ ปุริสํ เอตทโวจ 
atha kho abhiññātānaṃ-abhiññātānaṃ yodhānaṃ etad ahosi: mayaṃ kho yuddhābhinandino gacchantā pāpañ ca karoma bahuñ ca apuññaṃ pasavāma.  kena nu kho mayaṃ upāyena pāpā ca virameyyāma kalyāṇañ ca kareyyāmā ’ti.  atha kho tesaṃ yodhānaṃ etad ahosi: ime kho samaṇā Sakyaputtiyā dhammacārino samacārino brahmacārino saccavādino sīlavanto kalyāṇadhammā.  sace kho mayaṃ samaṇesu Sakyaputtiyesu pabbajeyyāma, evaṃ mayaṃ pāpā ca virameyyāma kalyāṇañ ca kareyyāmā ’ti.  atha kho te yodhā bhikkhū upasaṃkamitvā pabbajjaṃ yāciṃsu.  te bhikkhū pabbājesuṃ upasampādesuṃ. |2| 
The officers who were at the head of the army accepted the order of the Magadha king Seniya Bimbisâra (by saying), 'Yes, Your Majesty.'  Now many distinguished warriors thought: 'We who go (to war) and find our delight in fighting, do evil and produce great demerit.  Now what shall we do that we may desist from evil-doing and may do good?'  Then these warriors thought: 'These Sakyaputtiya Samanas lead indeed a virtuous, tranquil, holy life; they speak the truth; they keep the precepts of morality, and are endowed with all virtues.  If we could obtain pabbaggâ with the Sakyaputtiya Samanas, we should desist from evil-doing and do good.'  Thus these warriors went to the Bhikkhus and asked them for the pabbaggâ ordination; 
ครั้งนั้น เหล่าทหารบรรดาที่มีชื่อเสียง ได้มีความปริวิตกว่า พวกเราพอใจในการรบ พากันไปทำบาปกรรม และประสพกรรมมิใช่บุญมาก  ด้วยวิธีอย่างไรหนอพวกเราพึงงดเว้นจากบาปกรรม แลทำแต่ความดี ดังนี้  และได้มีความปริวิตกต่อไปว่า พระสมณะเชื้อสายพระศากยบุตรเหล่านี้แล เป็นผู้ประพฤติธรรม ประพฤติสงบ ประพฤติพรหมจรรย์ กล่าวแต่คำสัตย์ มีศีล มีกัลยาณธรรม  ถ้าแลพวกเราจะพึงบวชในสำนักพระสมณะเชื้อสายพระศากยบุตร ด้วยวิธีอย่างนี้ พวกเราก็จะพึงเว้นจากบาปกรรม และทำแต่ความดี  ดังนี้ จึงพากันเข้าไปหาภิกษุทั้งหลายแล้วขอบรรพชา.  ภิกษุทั้งหลายให้พวกเขาบรรพชาอุปสมบทแล้ว. 
“นนุ ตฺวํ อยฺโย ภิกฺขูสุ ปพฺพชิโต อโหสี”ติ?  “เอวํ อาจริยา”ติ.  “กิสฺส ปน ตฺวํ อยฺโย เอวรูปมกาสี”ติ?  อถ โข โส ปุริโส ชีวกสฺส โกมารภจฺจสฺส เอตมตฺถํ อาโรเจสิ.  ชีวโก โกมารภจฺโจ อุชฺฌายติ ขิยฺยติ วิปาเจติ “กถญฺหิ นาม ภทนฺตา ปญฺจหิ อาพาเธหิ ผุฏฺฐํ ปพฺพาเชสฺสนฺตี”ติ.  อถ โข ชีวโก โกมารภจฺโจ เยน ภควา เตนุปสงฺกมิ อุปสงฺกมิตฺวา ภควนฺตํ อภิวาเทตฺวา เอกมนฺตํ นิสีทิ. 
senānāyakā mahāmattā rājabhaṭe pucchiṃsu: kiṃ (74) nu kho bhaṇe itthannāmo ca itthannāmo ca yodhā na dissantīti.  itthannāmo ca itthannāmo ca sāmi yodhā bhikkhūsu pabbajitā ’ti.  senānāyakā mahāmattā ujjhāyanti khīyanti vipācenti: kathaṃ hi nāma samaṇā Sakyaputtiyā rājabhaṭaṃ pabbājessantīti.  senānāyakā mahāmattā rañño Māgadhassa Seniyassa Bimbisārassa etam atthaṃ ārocesuṃ.  atha kho rājā Māgadho Seniyo Bimbisāro vohārike mahāmatte pucchi: yo bhaṇe rājabhaṭaṃ pabbājeti, kiṃ so pasavatīti.  upajjhāyassa deva sīsaṃ chedetabbaṃ, anussāvakassa jivhā uddharitabbā, gaṇassa upaḍḍhaphāsukā bhañjitabbā ’ti. |3| 
the Bhikkhus conferred on them: the pabbaggâ and upasanipadâ ordinations.  The officers at the head of the army asked the royal soldiers: 'Why, how is it that the warriors N. N. and N. N. are nowhere to be seen?'  'The warriors N. N. and N. N., Lords, have embraced religious life among the Bhikkhus.'  Then the officers at the head of the army were annoyed, murmured, and became angry: 'How can the Sakyaputtiya Samanas ordain persons in the royal service?'  The officers who were at the head of the army told the thing to the Magadha king Seniya Bimbisâra.  And the Magadha king Seniya Bimbisâra asked the officers of justice: 'Tell me, my good Sirs, what punishment does he deserve who ordains a person in the royal service?' 
พวกมหาอำมาตย์ผู้เป็นแม่ทัพนายกองถามพวกราชภัฏว่า แน่ะพนาย ทหารผู้มีชื่อนี้และมีชื่อนี้ หายไปไหน?  พวกราชภัฏเรียนว่า นาย ทหารผู้มีชื่อนี้และมีชื่อนี้ บวชในสำนักภิกษุแล้ว ขอรับนาย.  พวกมหาอำมาตย์ผู้เป็นแม่ทัพนายกอง จึงเพ่งโทษ ติเตียน โพนทะนาว่า ไฉนเหล่าพระสมณะเชื้อสายพระศากยบุตรจึงได้ให้ราชภัฏบวชเล่า  แล้วกราบบังคมทูลความเรื่องนั้นแด่พระเจ้าพิมพิสารจอมเสนามาคธราช.  จึงท้าวเธอได้ตรัสถามมหาอำมาตย์ผู้พิพากษาว่า ดูกรพนาย ภิกษุรูปใดให้ราชภัฏบวช ภิกษุรูปนั้นจะต้องโทษสถานไร?  คณะมหาอำมาตย์ผู้พิพากษากราบทูลว่า ขอเดชะ พระบารมีปกเกล้าปกกระหม่อม พระอุปัชฌายะต้องถูกตัดศีรษะ พระอนุสาวนาจารย์ต้องถูกดึงลิ้นออกมา พระคณะปูรกะต้องถูกหักซี่โครงแถบหนึ่ง พระพุทธเจ้าข้า 
เอกมนฺตํ นิสินฺโน โข ชีวโก โกมารภจฺโจ ภควนฺตํ เอตทโวจ “สาธุ ภนฺเต อยฺยา ปญฺจหิ อาพาเธหิ ผุฏฺฐํ น ปพฺพาเชยฺยุ”นฺติ.  อถ โข ภควา ชีวกํ โกมารภจฺจํ ธมฺมิยา กถาย สนฺทสฺเสสิ สมาทเปสิ สมุตฺเตเชสิ สมฺปหํเสสิ.  อถ โข ชีวโก โกมารภจฺโจ ภควตา ธมฺมิยา กถาย สนฺทสฺสิโต สมาทปิโต สมุตฺเตชิโต สมฺปหํสิโต อุฏฺฐายาสนา ภควนฺตํ อภิวาเทตฺวา ปทกฺขิณํ กตฺวา ปกฺกามิ.  อถ โข ภควา เอตสฺมึ นิทาเน เอตสฺมึ ปกรเณ ธมฺมึ กถํ กตฺวา ภิกฺขู อามนฺเตสิ “น ภิกฺขเว ปญฺจหิ อาพาเธหิ ผุฏฺโฐ ปพฺพาเชตพฺโพ.  โย ปพฺพาเชยฺย อาปตฺติ ทุกฺกฏสฺสา”ติ. (ปญฺจาพาธวตฺถุ นิฏฺฐิตํ.)   
atha kho rājā Māgadho Seniyo Bimbisāro yena bhagavā ten’ upasaṃkami, upasaṃkamitvā bhagavantaṃ abhivādetvā ekamantaṃ nisīdi.  ekamantaṃ nisinno kho rājā Māgadho Seniyo Bimbisāro bhagavantaṃ etad avoca: santi bhante rājāno assaddhā appasannā, te appamattakena pi bhikkhū viheṭheyyuṃ. sādhu bhante ayyā rājabhaṭaṃ na pabbājeyyun ti.  atha kho bhagavā rājānaṃ Māgadhaṃ Seniyaṃ Bimbisāraṃ dhammiyā kathāya sandassesi samādapesi samuttejesi sampahaṃsesi.  atha kho rājā Māgadho Seniyo Bimbisāro bhagavatā dhammiyā kathāya sandassito samādapito samuttejito sampahaṃsito uṭṭhāyāsanā bhagavantaṃ abhivādetvā padakkhiṇaṃ katvā pakkāmi.  atha kho bhagavā etasmiṃ nidāne etasmiṃ pakaraṇe dhammiṃ kathaṃ katvā bhikkhū āmantesi: na bhikkhave rājabhaṭo pabbājetabbo.  yo pabbājeyya, āpatti dukkaṭassā ’ti. |4| 
'The upagghâya, Your Majesty, should be beheaded; to him who recites (the kammavâkâ), the tongue should be torn out; to those who form the chapter, half of their ribs should be broken.'  Then the Magadha king Seniya Bimbisâra went to the place where the Blessed One was; having approached him and having respectfully saluted the Blessed One, he sat down near him.  Sitting near him the Magadha king Seniya Bimbisâra said to the Blessed One: 'Lord, there are unbelieving kings who are disinclined (to the faith); these might harass the Bhikkhus even on trifling occasions. Pray, Lord, let their reverences not confer the pabbaggâ ordination on persons in royal service.'  Then the Blessed One taught (&c., see chap. 39. 7, p. 196 down to:),    thus addressed the Bhikkhus: 'Let no one, O Bhikkhus, who is in the royal service, receive the pabbaggâ ordination. 
จึงท้าวเธอเข้าเฝ้าพระผู้มีพระภาค ครั้นถึงแล้วจึงถวายบังคมพระผู้มีพระภาคแล้วประทับนั่ง ณ ที่ควรส่วนข้างหนึ่ง  แล้วได้กราบทูลขอประทานพรต่อพระผู้มีพระภาคว่า มีอยู่ พระพุทธเจ้าข้า พระเจ้าแผ่นดินทั้งหลาย ที่ไม่มีศรัทธา ไม่ทรงเลื่อมใสจะพึงเบียดเบียนภิกษุทั้งหลาย แม้ด้วยกรณีเพียงเล็กน้อย หม่อมฉันขอประทานพระวโรกาส พระพุทธเจ้าข้า ขอพระผู้เป็นเจ้าทั้งหลายไม่พึงให้ราชภัฏบวช.  ลำดับนั้น พระผู้มีพระภาคทรงชี้แจงให้พระเจ้าพิมพิสารจอมเสนามาคธราชทรงเห็นแจ้ง ทรงสมาทาน ทรงอาจหาญ ทรงร่าเริงด้วยธรรมีกถา.  ครั้นท้าวเธออันพระผู้มีพระภาคทรงชี้แจง ให้ทรงเห็นแจ้ง ทรงสมาทาน ทรงอาจหาญ ทรงร่าเริงด้วยธรรมีกถาแล้ว เสด็จลุกจากพระที่นั่ง ถวายบังคมพระผู้มีพระภาค ทรงทำประทักษิณแล้วเสด็จกลับ.  (ทรงห้ามบวชราชภัฏ) ลำดับนั้น พระผู้มีพระภาคทรงทำธรรมีกถาในเพราะเหตุเป็นเค้ามูลนั้น ในเพราะเหตุแรกเกิดนั้น แล้วรับสั่งกะภิกษุทั้งหลายว่า ดูกรภิกษุทั้งหลาย ราชภัฏ ภิกษุไม่พึงให้บวช  รูปใดให้บวช ต้องอาบัติทุกกฏ. 
  (๒๗. ราชภฏวตฺถุ) ๙๐. เตน โข ปน สมเยน รญฺโญ มาคธสฺส เสนิยสฺส พิมฺพิสารสฺส ปจฺจนฺโต กุปิโต โหติ.  อถ โข ราชา มาคโธ เสนิโย พิมฺพิสาโร เสนานายเก มหามตฺเต อาณาเปสิ “คจฺฉถ ภเณ ปจฺจนฺตํ อุจฺจินถา”ติ.  “เอวํ เทวา”ติ โข เสนานายกา มหามตฺตา รญฺโญ มาคธสฺส เสนิยสฺส พิมฺพิสารสฺส ปจฺจสฺโสสุํ.  อถ โข อภิญฺญาตานํ อภิญฺญาตานํ โยธานํ เอตทโหสิ “มยํ โข ยุทฺธาภินนฺทิโน คจฺฉนฺตา ปาปญฺจ กโรม พหุญฺจ อปุญฺญํ ปสวาม.  เกน นุ โข มยํ อุปาเยน ปาปา จ วิรเมยฺยาม กลฺยาณญฺจ กเรยฺยามา”ติ? 
||40|| 
He who confers the pabbaggâ ordination (on such a person), is guilty of a dukkata offence: 
อถ โข เตสํ โยธานํ เอตทโหสิ “อิเม โข สมณา สกฺยปุตฺติยา ธมฺมจาริโน สมจาริโน พฺรหฺมจาริโน สจฺจวาทิโน สีลวนฺโต กลฺยาณธมฺมา. 
tena kho pana samayena coro aṅgulimālo bhikkhūsu pabbajito hoti.  manussā passitvā ubbijjanti pi uttasanti pi palāyanti pi aññena pi gacchanti aññena pi mukhaṃ karonti dvāram pi thakenti.  manussā ujjhāyanti khīyanti vipācenti:  kathaṃ hi nāma samaṇā Sakyaputtiyā dhajabaddhaṃ coraṃ pabbājessantīti.  assosuṃ kho bhikkhū tesaṃ manussānaṃ ujjhāyantānaṃ khīyantānaṃ vipācentānaṃ.  atha kho te bhikkhū bhagavato etam atthaṃ ārocesuṃ.  bhagavā bhikkhū āmantesi: na bhikkhave dhajabaddho coro pabbājetabbo.  yo pabbājeyya, āpatti dukkaṭassā ’ti. |1| 
At that time the robber Angulimâla had embraced religious life among the Bhikkhus.  When the people saw that, they became alarmed and terrified; they fled away, went elsewhere, turned away their heads, and shut their doors.  The people were annoyed, murmured, and became angry:  'How can the Sakyaputtiya Samanas ordain a robber who openly wears the emblems (of his deeds)?'  Some Bhikkhus heard those people that were annoyed, murmured, and had become angry;  these Bhikkhus told the thing to the Blessed One.  The Blessed One thus addressed the Bhikkhus: 'Let no robber, O Bhikkhus, who wears the emblems (of his deeds), receive the pabbaggâ ordination. 
ห้ามบวชโจรที่ขึ้นชื่อโด่งดัง [๑๐๓] ก็โดยสมัยนั้นแล โจรองคุลิมาลบวชในสำนักภิกษุ.  ชาวบ้านเห็นแล้วพากันหวาดเสียวบ้าง ตกใจบ้าง หนีไปบ้าง ไปโดยทางอื่นบ้าง เมินหน้าไปทางอื่นบ้าง ปิดประตูเสียบ้าง.  ประชาชนจึงเพ่งโทษ ติเตียน โพนทะนาว่า  ไฉนพระสมณะเชื้อสายพระศากยบุตรจึงให้โจรที่ขึ้นชื่อโด่งดังบวชเล่า.  ภิกษุทั้งหลายได้ยินพวกนั้น เพ่งโทษ ติเตียน โพนทะนาอยู่  จึงกราบทูลเรื่องนั้นแด่พระผู้มีพระภาค.  พระผู้มีพระภาครับสั่งกะภิกษุทั้งหลายว่า ดูกรภิกษุทั้งหลาย โจรที่ขึ้นชื่อโด่งดัง ภิกษุไม่พึงให้บวช  รูปใดให้บวช ต้องอาบัติทุกกฏ. 
สเจ โข มยํ สมเณสุ สกฺยปุตฺติเยสุ ปพฺพเชยฺยาม เอวํ มยํ ปาปา จ วิรเมยฺยาม กลฺยาณญฺจ กเรยฺยามา”ติ.  อถ โข เต โยธา ภิกฺขู อุปสงฺกมิตฺวา ปพฺพชฺชํ ยาจึสุ.  เต ภิกฺขู ปพฺพาเชสุํ อุปสมฺปาเทสุํ.  เสนานายกา มหามตฺตา ราชภเฏ ปุจฺฉึสุ “กึ นุ โข ภเณ อิตฺถนฺนาโม จ อิตฺถนฺนาโม จ โยธา น ทิสฺสนฺตี”ติ?  “อิตฺถนฺนาโม จ อิตฺถนฺนาโม จ สามิ โยธา ภิกฺขูสุ ปพฺพชิตา”ติ.  เสนานายกา มหามตฺตา อุชฺฌายนฺติ ขิยฺยนฺติ วิปาเจนฺติ “กถญฺหิ นาม สมณา สกฺยปุตฺติยา ราชภฏํ ปพฺพาเชสฺสนฺตี”ติ.  เสนานายกา มหามตฺตา รญฺโญ มาคธสฺส เสนิยสฺส พิมฺพิสารสฺส เอตมตฺถํ อาโรเจสุํ.  อถ โข ราชา มาคโธ เสนิโย พิมฺพิสาโร โวหาริเก มหามตฺเต ปุจฺฉิ “โย ภเณ ราชภฏํ ปพฺพาเชติ กึ โส ปสวตี”ติ? 
||41|| 
He who confers the pabbaggâ ordination (on such a person), is guilty of a dukkata offence.' 
“อุปชฺฌายสฺส เทว สีสํ เฉตพฺพํ อนุสฺสาวกสฺส ชิวฺหา อุทฺธริตพฺพา คณสฺส อุปฑฺฒผาสุกา ภญฺชิตพฺพา”ติ. 
tena kho pana samayena raññā Māgadhena Seniyena (75) Bimbisārena anuññātaṃ hoti: ye samaṇesu Sakyaputtiyesu pabbajanti, na te labbhā kiñci kātuṃ, svākkhāto dhammo, carantu brahmacariyaṃ sammā dukkhassa antakiriyāyā ’ti.  tena kho pana samayena aññataro puriso corikaṃ katvā kārāya baddho hoti, so kāraṃ bhinditvā palāyitvā bhikkhūsu pabbajito hoti. |1| 
At that time the Magadha king Seniya Bimbisâra had issued the following decree: 'No one is to do any harm to those who are ordained among the Sakyaputtiya Samanas; well taught is their doctrine; let them lead a holy life for the sake of the complete extinction of suffering.' 
อภยูวรภาณวาร (ห้ามบวชโจรหนีเรือนจำ) [๑๐๔] ก็โดยสมัยนั้นแล พระเจ้าพิมพิสารจอมเสนามาคธราช ได้ทรงมีพระบรมราชานุญาตไว้ว่า กุลบุตรเหล่าใดบวชในสำนักพระสมณะเชื้อสายพระศากยบุตร กุลบุตรเหล่านั้น ใครๆ จะทำอะไรไม่ได้ เพราะธรรมอันพระผู้มีพระภาคตรัสไว้ดีแล้ว จงประพฤติพรหมจรรย์เพื่อทำที่สุดทุกข์โดยชอบเถิด.  สมัยต่อมา บุรุษคนหนึ่งทำโจรกรรมแล้ว ถูกเจ้าหน้าที่จองจำไว้ในเรือนจำ. เขาหนีเรือนจำหลบไปบวชในสำนักภิกษุ. 
อถ โข ราชา มาคโธ เสนิโย พิมฺพิสาโร เยน ภควา เตนุปสงฺกมิ อุปสงฺกมิตฺวา ภควนฺตํ อภิวาเทตฺวา เอกมนฺตํ นิสีทิ.  เอกมนฺตํ นิสินฺโน โข ราชา มาคโธ เสนิโย พิมฺพิสาโร ภควนฺตํ เอตทโวจ “สนฺติ ภนฺเต ราชาโน อสฺสทฺธา อปฺปสนฺนา. เต อปฺปมตฺตเกนปิ ภิกฺขู วิเหเฐยฺยุํ. สาธุ ภนฺเต อยฺยา ราชภฏํ น ปพฺพาเชยฺยุ”นฺติ. 
manussā passitvā evaṃ āhaṃsu: ayaṃ so kārabhedako coro, handa naṃ nemā ’ti.  ekacce evaṃ āhaṃsu: māyyo evaṃ avacuttha, anuññātaṃ raññā Māgadhena Seniyena Bimbisārena:  ye samaṇesu Sakyaputtiyesu pabbajanti, na te labbhā kiñci kātuṃ, svākkhāto dhammo, carantu brahmacariyaṃ sammā dukkhassa antakiriyāyā ’ti.  manussā ujjhāyanti khīyanti vipācenti: abhayūvarā ime samaṇā Sakyaputtiyā, na yime labbhā kiñci kātuṃ.  kathaṃ hi nāma kārabhedakaṃ coraṃ pabbājessantīti.  bhagavato etam atthaṃ ārocesuṃ.  na bhikkhave kārabhedako coro pabhājetabbo.  yo pabbājeyya, āpatti dukkaṭassā ’ti. |2| 
Now at that time a certain person who had committed robbery was imprisoned in the jail. He broke out of the jail, ran away, and received the pabbaggâ ordination with the Bhikkhus.  The people who saw him, said: 'Here is the robber who has broken out of jail; come, let us bring him (before the authorities).'  But some people replied: 'Do not say so, Sirs. A decree has been issued by the Magadha king Seniya Bimbisâra:  'No one is to do any harm to those who are ordained, &c.'  People were annoyed, murmured, and became angry, thinking: 'Indeed these Sakyaputtiya Samanas are secure from anything; it is not allowed to do any harm to them.  How can they ordain a robber who has broken out of jail?'  They told this thing to the Blessed One.  'Let no robber, O Bhikkhus, who has broken out of jail, receive the pabbaggâ ordination. 
คนทั้งหลายเห็นแล้วกล่าวอย่างนี้ว่า ภิกษุรูปนี้คือโจรหนีเรือนจำคนนั้น ถ้ากระไร พวกเราจงจับมัน.  คนบางคนพูดทัดทานอย่างนี้ว่า ท่านทั้งหลายอย่าได้พูดเช่นนี้ เพราะพระเจ้าพิมพิสารจอมเสนามาคธราช ได้มีพระบรมราชานุญาตไว้ว่า  กุลบุตรเหล่าใดบวชในสำนักพระสมณะเชื้อสายพระศากยบุตร กุลบุตรเหล่านั้น ใครๆ จะทำอะไรไม่ได้ เพราะธรรมอันพระผู้มีพระภาคตรัสไว้ดีแล้ว จงประพฤติพรหมจรรย์ เพื่อทำที่สุดทุกข์โดยชอบเถิด.  ประชาชนจึงเพ่งโทษ ติเตียน โพนทะนาว่า พระสมณะเชื้อสายพระศากยบุตรเหล่านี้มิใช่ผู้หลบหลีกภัย ใครๆ จะทำอะไรไม่ได้  แต่ไฉนจึงให้โจรผู้หนีเรือนจำบวชเล่า.  ภิกษุทั้งหลายกราบทูลเรื่องนั้นแด่พระผู้มีพระภาค.  พระผู้มีพระภาครับสั่งกะภิกษุทั้งหลายว่า ดูกรภิกษุทั้งหลาย โจรผู้หนีเรือนจำ ภิกษุไม่พึงให้บวช  รูปใดให้บวช ต้องอาบัติทุกกฏ. 
อถ โข ภควา ราชานํ มาคธํ เสนิยํ พิมฺพิสารํ ธมฺมิยา กถาย สนฺทสฺเสสิ สมาทเปสิ สมุตฺเตเชสิ สมฺปหํเสสิ.  อถ โข ราชา มาคโธ เสนิโย พิมฺพิสาโร ภควตา ธมฺมิยา กถาย สนฺทสฺสิโต สมาทปิโต สมุตฺเตชิโต สมฺปหํสิโต อุฏฺฐายาสนา ภควนฺตํ อภิวาเทตฺวา ปทกฺขิณํ กตฺวา ปกฺกามิ.  อถ โข ภควา เอตสฺมึ นิทาเน เอตสฺมึ ปกรเณ ธมฺมึ กถํ กตฺวา ภิกฺขู อามนฺเตสิ “น ภิกฺขเว ราชภโฏ ปพฺพาเชตพฺโพ.  โย ปพฺพาเชยฺย อาปตฺติ ทุกฺกฏสฺสา”ติ. (ราชภฏวตฺถุ นิฏฺฐิตํ.)      (๒๘. องฺคุลิมาลโจรวตฺถุ) ๙๑. เตน โข ปน สมเยน โจโร องฺคุลิมาโล ภิกฺขูสุ ปพฺพชิโต โหติ.  มนุสฺสา ปสฺสิตฺวา อุพฺพิชฺชนฺติปิ อุตฺตสนฺติปิ ปลายนฺติปิ อญฺเญนปิ คจฺฉนฺติ อญฺเญนปิ มุขํ กโรนฺติ ทฺวารมฺปิ ถเกนฺติ. 
||42|| 
He who confers the pabbaggâ ordination (on such a person), is guilty of a dukkata offence.' 
มนุสฺสา อุชฺฌายนฺติ ขิยฺยนฺติ วิปาเจนฺติ 
tena kho pana samayena aññataro puriso corikaṃ katvā palāyitvā bhikkhūsu pabbajito hoti.  so ca rañño antepure likhito hoti yattha passitabbo tattha hantabbo ’ti.  manussā passitvā evaṃ āhaṃsu: ayaṃ so likhitako coro, handa naṃ hanāmā ’ti.  ekacce evaṃ āhaṃsu: māyyo evaṃ avacuttha, anuññātaṃ . . . antakiriyāyā ’ti.  manussā ujjhāyanti khīyanti vipācenti:  abhayūvarā ime samaṇā Sakyaputtiyā, na yime labbhā kiñci kātuṃ.  kathaṃ hi nāma likhitakaṃ coraṃ pabbājessantīti.  bhagavato etam atthaṃ ārocesuṃ.  na bhikkhave likhitako coro pabbājetabbo.  yo pabbājeyya, āpatti dukkaṭassā ’ti. |1| 
At that time a certain person who had committed robbery had run away and had become ordained with the Bhikkhus.  At the royal palace a proclamation was written: 'Wherever he is seen, he is to be killed.'  The people who saw him, said: 'Here is the proclaimed robber; come, let us kill him' (&c., as in chap. 42).            'Let no proclaimed robber, O Bhikkhus, receive the pabbaggâ ordination. 
ห้ามบวชโจรผู้ถูกออกหมายสั่งจับ [๑๐๕] ก็โดยสมัยนั้นแล บุรุษคนหนึ่งทำโจรกรรม แล้วหนีไปบวชในสำนักภิกษุ  และบุรุษนั้นถูกเจ้าหน้าที่ออกหมายประกาศไว้ทั่วราชอาณาจักรว่า พบในที่ใด พึงฆ่าเสียในที่นั้น.  คนทั้งหลายเห็นแล้ว กล่าวอย่างนี้ว่า ภิกษุรูปนี้ คือโจรผู้ถูกออกหมายจับคนนั้น ถ้ากระไร พวกเราจงฆ่ามันเสีย.  คนบางพวกพูดทัดทานอย่างนี้ว่า ท่านทั้งหลายอย่าได้พูดเช่นนี้ เพราะพระเจ้าพิมพิสารจอมเสนามาคธราชได้มีพระบรมราชานุญาตไว้ว่า กุลบุตรเหล่าใดบวชในสำนักพระสมณะเชื้อสายพระศากยบุตร กุลบุตรเหล่านั้น ใครๆ จะทำอะไรไม่ได้ เพราะธรรมอันพระผู้มีพระภาคตรัสไว้ดีแล้ว จงประพฤติพรหมจรรย์เพื่อทำที่สุดทุกข์โดยชอบเถิด.  ประชาชนจึงเพ่งโทษ ติเตียน โพนทะนาว่า  พระสมณะเชื้อสายพระศากยบุตรเหล่านี้มิใช่ผู้หลบหลีกภัย ใครๆ จะทำอะไรไม่ได้  แต่ไฉนจึงให้โจรผู้ถูกออกหมายสั่งจับบวชเล่า.  ภิกษุทั้งหลายจึงกราบทูลเรื่องนั้นแด่พระผู้มีพระภาค.  พระผู้มีพระภาครับสั่งกะภิกษุทั้งหลายว่า ดูกรภิกษุทั้งหลาย โจรผู้ถูกออกหมายสั่งจับ ภิกษุไม่พึงให้บวช  รูปใดให้บวช ต้องอาบัติทุกกฏ 
“กถญฺหิ นาม สมณา สกฺยปุตฺติยา ธชพนฺธํ โจรํ ปพฺพาเชสฺสนฺตี”ติ.  อสฺโสสุํ โข ภิกฺขู เตสํ มนุสฺสานํ อุชฺฌายนฺตานํ ขิยฺยนฺตานํ วิปาเจนฺตานํ.  อถ โข เต ภิกฺขู ภควโต เอตมตฺถํ อาโรเจสุํฯเปฯ  น ภิกฺขเว ธชพนฺโธ โจโร ปพฺพาเชตพฺโพ.  โย ปพฺพาเชยฺย อาปตฺติ ทุกฺกฏสฺสาติ. (องฺคุลิมาลโจรวตฺถุ นิฏฺฐิตํ.)      (๒๙. การเภทกโจรวตฺถุ) ๙๒. เตน โข ปน สมเยน รญฺญา มาคเธน เสนิเยน พิมฺพิสาเรน อนุญฺญาตํ โหติ “เย สมเณสุ สกฺยปุตฺติเยสุ ปพฺพชนฺติ น เต ลพฺภา กิญฺจิ กาตุํ สฺวากฺขาโต ธมฺโม จรนฺตุ พฺรหฺมจริยํ สมฺมา ทุกฺขสฺส อนฺตกิริยายา”ติ.  เตน โข ปน สมเยน อญฺญตโร ปุริโส โจริกํ กตฺวา การาย พทฺโธ โหติ. โส การํ ภินฺทิตฺวา ปลายิตฺวา ภิกฺขูสุ ปพฺพชิโต โหติ.  มนุสฺสา ปสฺสิตฺวา เอวมาหํสุ “อยํ โส การเภทโก โจโร. หนฺท นํ เนมา”ติ. 
||43|| 
He who confers the pabbaggâ ordination (on such a robber), is guilty of a dukkata offence.' 
เอกจฺเจ เอวมาหํสุ “มายฺโย เอวํ อวจุตฺถ. อนุญฺญาตํ รญฺญา มาคเธน เสนิเยน พิมฺพิสาเรน 
tena kho pana samayena aññataro puriso kasāhato katadaṇḍakammo bhikkhūsu pabbajito hoti.  manussā ujjhāyanti khīyanti vipācenti: kathaṃ hi nāma samaṇā Sakyaputtiyā kasāhataṃ katadaṇḍakammaṃ pabbājessantīti.  bhagavato etam atthaṃ ārocesuṃ.  na bhikkhave kasāhato katadaṇḍakammo pabbājetabbo.  yo pabbājeyya, āpatti dukkaṭassā ’ti. |1| 
At that time a certain person who had been punished by scourging had been ordained with the Bhikkhus.  People were annoyed, &c.: 'How can these Sakyaputtiya Samanas ordain a person that has been punished by scourging?'  They told this thing to the Blessed One.  'Let no one, O Bhikkhus, who has been punished by scourging, receive the pabbaggâ ordination. 
ห้ามบวชบุรุษผู้ถูกเฆี่ยนด้วยหวาย [๑๐๖] ก็โดยสมัยนั้นแล บุรุษคนหนึ่งถูกลงอาญาเฆี่ยนด้วยหวาย บวชในสำนักภิกษุ  ประชาชนจึงเพ่งโทษ ติเตียน โพนทะนาว่า ไฉนพระสมณะเชื้อสายพระศากยบุตร จึงให้บุรุษผู้ถูกลงอาญาเฆี่ยนด้วยหวายบวชเล่า.  ภิกษุทั้งหลายกราบทูลเรื่องนั้นแด่พระผู้มีพระภาค.  พระผู้มีพระภาครับสั่งกะภิกษุทั้งหลายว่า ดูกรภิกษุทั้งหลาย บุรุษผู้ถูกลงอาญาเฆี่ยนด้วยหวาย ภิกษุไม่พึงให้บวช  รูปใดให้บวช ต้องอาบัติทุกกฏ. 
“เย สมเณสุ สกฺยปุตฺติเยสุ ปพฺพชนฺติ น เต ลพฺภา กิญฺจิ กาตุํ สฺวากฺขาโต ธมฺโม จรนฺตุ พฺรหฺมจริยํ สมฺมา ทุกฺขสฺส อนฺตกิริยายา”ติ.  มนุสฺสา อุชฺฌายนฺติ ขิยฺยนฺติ วิปาเจนฺติ “อภยูวรา อิเม สมณา สกฺยปุตฺติยา นยิเม ลพฺภา กิญฺจิ กาตุํ.  กถญฺหิ นาม สมณา สกฺยปุตฺติยา การเภทกํ โจรํ ปพฺพาเชสฺสนฺตี”ติ.  ภควโต เอตมตฺถํ อาโรเจสุํ.  น ภิกฺขเว การเภทโก โจโร ปพฺพาเชตพฺโพ. 
||44|| 
He who confers the pabbaggâ ordination (on such a person), is guilty of dukkata offence.' 
โย ปพฺพาเชยฺย อาปตฺติ ทุกฺกฏสฺสาติ. (การเภทกโจรวตฺถุ นิฏฺฐิตํ.) 
(76) tena kho pana samayena aññataro puriso lakkhaṇāhato katadaṇḍakammo bhikkhūsu pabbajito hoti.  manussā ujjhāyanti khīyanti vipācenti:  kathaṃ hi nāma samaṇā Sakyaputtiyā lakkhaṇāhataṃ katadaṇḍakammaṃ pabbājessantīti.  bhagavato etam atthaṃ ārocesuṃ.  na bhikkhave lakkhaṇāhato katadaṇḍakammo pabbājetabbo.  yo pabbājeyya, āpatti dukkaṭassā ’ti. |1| 
At that time a certain person who had been punished by branding (&c., as in chap. 44, down to the end).         
ห้ามบวชบุรุษผู้ถูกสักหมายโทษ [๑๐๗] ก็โดยสมัยนั้นแล บุรุษคนหนึ่งถูกลงอาญาสักหมายโทษ บวชในสำนักภิกษุ  ประชาชนจึงเพ่งโทษ ติเตียน โพนทะนาว่า  ไฉนสมณะเชื้อสายพระศากยบุตร จึงให้บุรุษผู้ถูกลงอาญาสักหมายโทษบวชเล่า.  ภิกษุทั้งหลายกราบทูลเรื่องนั้นแด่พระผู้มีพระภาค.  พระผู้มีพระภาครับสั่งกะภิกษุทั้งหลายว่า ดูกรภิกษุทั้งหลาย บุรุษผู้ถูกลงอาญาสักหมายโทษ ภิกษุไม่พึงให้บวช  รูปใดให้บวช ต้องอาบัติทุกกฏ. 
    (๓๐. ลิขิตกโจรวตฺถุ) ๙๓. เตน โข ปน สมเยน อญฺญตโร ปุริโส โจริกํ กตฺวา ปลายิตฺวา ภิกฺขูสุ ปพฺพชิโต โหติ.  โส จ รญฺโญ อนฺเตปุเร ลิขิโต โหติ ยตฺถ ปสฺสติ ตตฺถ หนฺตพฺโพติ.  มนุสฺสา ปสฺสิตฺวา เอวมาหํสุ “อยํ โส ลิขิตโก โจโร. หนฺท นํ หนามา”ติ.  เอกจฺเจ เอวมาหํสุ “มายฺโย เอวํ อวจุตฺถ. อนุญฺญาตํ รญฺญา มาคเธน เสนิเยน พิมฺพิสาเรน “เย สมเณสุ สกฺยปุตฺติเยสุ ปพฺพชนฺติ น เต ลพฺภา กิญฺจิ กาตุํ สฺวากฺขาโต ธมฺโม จรนฺตุ พฺรหฺมจริยํ สมฺมา ทุกฺขสฺส อนฺตกิริยายา”ติ. 
||45|| 
 
มนุสฺสา อุชฺฌายนฺติ ขิยฺยนฺติ วิปาเจนฺติ 
tena kho pana samayena aññataro puriso iṇāyiko palāyitvā bhikkhūsu pabbajito hoti.  dhaniyā passitvā evaṃ āhaṃsu: ayaṃ so amhākaṃ iṇāyiko, handa naṃ nemā ’ti.  ekacce evaṃ āhaṃsu: māyyo evaṃ avacuttha, anuññātaṃ raññā Māgadhena Seniyena Bimbisārena: ye samaṇesu Sakyaputtiyesu pabbajanti, na te labbhā kiñci kātuṃ, svākkhāto dhammo, carantu brahmacariyaṃ sammā dukkhassa antakiriyāyā ’ti.  manussā ujjhāyanti khīyanti vipācenti: abhayūvarā ime samaṇā Sakyaputtiyā, na yime labbhā kiñci kātuṃ.  kathaṃ hi {nāma} iṇāyikaṃ pabbājessantīti.  bhagavato etam atthaṃ ārocesuṃ. na bhikkhave iṇāyiko pabbājetabbo.  yo pabbājeyya, apatti dukkaṭassā ’ti. |1| 
At that time a certain person who was in debt, ran away and was ordained with the Bhikkhus.  When his creditors saw him, they said: 'There is our debtor; come, let us lead him (to prison).  'But some people replied: 'Do not say so, Sirs. A decree has been issued by the Magadha king Seniya Bimbisâra: 'No one is to do any harm to those who are ordained with the Sakyaputtiya Samanas; well taught is their doctrine; let them lead a holy life for the sake of the complete extinction of suffering.'  People were annoyed, murmured, and became angry: 'Indeed these Sakyaputtiya Samanas are secure from anything; it is not allowed to do anything to them.  How can they ordain a debtor?'  They told this thing to the Blessed One. 
ห้ามบวชคนมีหนี้ [๑๐๘] ก็โดยสมัยนั้นแล ลูกหนี้คนหนึ่งหนีบวชในสำนักภิกษุ.  พวกเจ้าทรัพย์พบแล้ว กล่าวอย่างนี้ว่า ภิกษุรูปนี้คือลูกหนี้ของพวกเราคนนั้น ถ้ากระไร พวกเราจงจับมัน.  เจ้าทรัพย์บางพวกพูดทัดทานอย่างนี้ว่า ท่านทั้งหลายอย่าได้พูดเช่นนี้ เพราะพระเจ้าพิมพิสารจอมเสนามาคธราช ได้มีพระบรมราชานุญาตไว้ว่า กุลบุตรเหล่าใดบวชในสำนักพระสมณะเชื้อสายพระศากยบุตร กุลบุตรเหล่านั้น ใครๆ จะทำอะไรไม่ได้ เพราะธรรมอันพระผู้มีพระภาคตรัสไว้ดีแล้ว จงประพฤติพรหมจรรย์เพื่อทำที่สุดทุกข์โดยชอบเถิด.  ประชาชนจึงเพ่งโทษ ติเตียน โพนทะนาว่า พระสมณะเชื้อสายพระศากยบุตรเหล่านี้มิใช่ผู้หลบหลีกภัย ใครๆ จะทำอะไรไม่ได้  แต่ไฉนจึงให้คนมีหนี้บวชเล่า.  ภิกษุทั้งหลายกราบทูลความเรื่องนั้นแด่พระผู้มีพระภาค.พระผู้มีพระภาครับสั่งกะภิกษุทั้งหลายว่า ดูกรภิกษุทั้งหลาย คนมีหนี้ ภิกษุไม่พึงให้บวช  รูปใดให้บวช ต้องอาบัติทุกกฏ. 
“อภยูวรา อิเม สมณา สกฺยปุตฺติยา นยิเม ลพฺภา กิญฺจิ กาตุํ.  กถญฺหิ นาม สมณา สกฺยปุตฺติยา ลิขิตกํ โจรํ ปพฺพาเชสฺสนฺตี”ติ.  ภควโต เอตมตฺถํ อาโรเจสุํ.  น ภิกฺขเว ลิขิตโก โจโร ปพฺพาเชตพฺโพ.  โย ปพฺพาเชยฺย อาปตฺติ ทุกฺกฏสฺสาติ. (ลิขิตกโจรวตฺถุ นิฏฺฐิตํ.)     
||46|| 
'Let no debtor, O Bhikkhus, receive the pabbaggâ ordination. He who confers the pabbaggâ ordination (on a debtor), is guilty of a dukkata offence.' 
(๓๑. กสาหตวตฺถุ) ๙๔. เตน โข ปน สมเยน อญฺญตโร ปุริโส กสาหโต กตทณฺฑกมฺโม ภิกฺขูสุ ปพฺพชิโต โหติ. 
tena kho pana samayena aññataro dāso palāyitvā bhikkhūsu pabbajito hoti.  ayyikā passitvā evaṃ āhaṃsu: ayaṃ so amhākaṃ dāso, handa naṃ nemā ’ti.  ekacce evaṃ āhaṃsu: māyyo . . . antakiriyāyā ’ti.  manussā ujjhāyanti khīyanti vipācenti: abhayūvarā ime samaṇā Sakyaputtiyā, na yime labbhā kiñci kātuṃ.  kathaṃ hi nāma dāsaṃ pabbājessantīti.  bhagavato etam atthaṃ ārocesuṃ.  na bhikkhave dāso pabbājetabbo.  yo pabbājeyya, āpatti dukkaṭassā ’ti. |1| 
At that time a slave ran away and was ordained with the Bhikkhus.  When his masters saw him, they said: 'There is our slave; come, let us lead him away (back to our house),' (&c., as in chap. 46).          'Let no slave, O Bhikkhus, receive the pabbaggâ ordination. 
ห้ามบวชทาส [๑๐๙] ก็โดยสมัยนั้นแล ทาสคนหนึ่งหนีไปบวชในสำนักภิกษุ.  พวกเจ้านายพบเข้าจึงกล่าวอย่างนี้ว่า ภิกษุรูปนี้คือทาสของพวกเราคนนั้น ถ้ากระไร พวกเราจงจับมัน.  เจ้านายบางพวกพูดทัดทานอย่างนี้ว่า ท่านทั้งหลายอย่าได้พูดเช่นนี้ เพราะพระเจ้าพิมพิสารจอมเสนามาคธราช ได้ทรงมีพระบรมราชานุญาตไว้ว่า กุลบุตรเหล่าใดบวชในสำนักพระสมณะเชื้อสายพระศากยบุตร กุลบุตรเหล่านั้น ใครๆ จะทำอะไรไม่ได้ เพราะธรรมอันพระผู้มีพระภาคตรัสไว้ดีแล้ว จงประพฤติพรหมจรรย์เพื่อทำที่สุดทุกข์โดยชอบเถิด.  ประชาชนจึงเพ่งโทษ ติเตียน โพนทะนาว่า พระสมณะเชื้อสายพระศากยบุตรเหล่านี้ มิใช่ผู้หลบหลีกภัย ใครๆ จะทำอะไรไม่ได้  แต่ไฉนจึงให้ทาสบวชเล่า.  ภิกษุทั้งหลายกราบทูลเรื่องนั้นแด่พระผู้มีพระภาค.  พระผู้มีพระภาครับสั่งกะภิกษุทั้งหลายว่า ดูกรภิกษุทั้งหลาย คนเป็นทาส ภิกษุไม่พึงบวช  รูปใดให้บวช ต้องอาบัติทุกกฏ. 
มนุสฺสา อุชฺฌายนฺติ ขิยฺยนฺติ วิปาเจนฺติ “กถญฺหิ นาม สมณา สกฺยปุตฺติยา กสาหตํ กตทณฺฑกมฺมํ ปพฺพาเชสฺสนฺตี”ติ.  ภควโต เอตมตฺถํ อาโรเจสุํ.  น ภิกฺขเว กสาหโต กตทณฺฑกมฺโม ปพฺพาเชตพฺโพ.  โย ปพฺพาเชยฺย อาปตฺติ ทุกฺกฏสฺสาติ. (กสาหตวตฺถุ นิฏฺฐิตํ.)      (๓๒. ลกฺขณาหตวตฺถุ) ๙๕. เตน โข ปน สมเยน อญฺญตโร ปุริโส ลกฺขณาหโต กตทณฺฑกมฺโม ภิกฺขูสุ ปพฺพชิโต โหติ.  มนุสฺสา อุชฺฌายนฺติ ขิยฺยนฺติ วิปาเจนฺติ 
||47|| 
He who confers the pabbaggâ ordination (on a slave), is guilty of a dukkata offence.' 
“กถญฺหิ นาม สมณา สกฺยปุตฺติยา ลกฺขณาหตํ กตทณฺฑกมฺมํ ปพฺพาเชสฺสนฺตี”ติ. 
tena kho pana samayena aññataro kammārabhaṇḍu mātāpitūhi saddhiṃ bhaṇḍitvā ārāmaṃ gantvā bhikkhūsu pabbajito hoti.  atha kho tassa kammārabhaṇḍussa mātāpitaro taṃ kammārabhaṇḍuṃ vicinantā ārāmam gantvā bhikkhū pucchiṃsu: api bhante evarūpaṃ dārakaṃ passeyyāthā ’ti.  bhikkhū ajānaṃ yeva āhaṃsu: na jānāmā ’ti, apassaṃ yeva āhaṃsu na passāmā ’ti. |1| 
At that time a certain smith who was bald-headed, having had a quarrel with his father and mother, had gone to the Ârâma and received pabbaggâ with the Bhikkhus.  Now the father and mother of that bald-headed smith, searching after that bald-headed smith, came to the Ârâma and asked the Bhikkhus: 'Pray, reverend Sirs, have you seen such and such a boy?' 
ทรงอนุญาตการปลงผม [๑๑๐] ก็โดยสมัยนั้นแล บุตรช่างทองศีรษะโล้นคนหนึ่ง ทะเลาะกับมารดาบิดา แล้วไปอารามบวชในสำนักภิกษุ.  ครั้งนั้น มารดาบิดาของเขาสืบหาเขาอยู่ ได้ไปอารามถามภิกษุทั้งหลายว่า ท่านเจ้าข้า ท่านทั้งหลายเห็นเด็กชายมีรูปร่างเช่นนี้บ้างไหม.  บรรดาภิกษุพวกที่ไม่รู้เลยตอบว่า พวกอาตมาไม่รู้ พวกที่ไม่เห็นเลยตอบว่า พวกอาตมาไม่เห็น 
ภควโต เอตมตฺถํ อาโรเจสุํ.  น ภิกฺขเว ลกฺขณาหโต กตทณฺฑกมฺโม ปพฺพาเชตพฺโพ.  โย ปพฺพาเชยฺย อาปตฺติ ทุกฺกฏสฺสาติ. (ลกฺขณาหตวตฺถุ นิฏฺฐิตํ.) 
atha kho tassa kammārabhaṇḍussa mātāpitaro taṃ kammārabhaṇḍuṃ vi-(77)cinantā bhikkhūsu pabbajitaṃ disvā ujjhāyanti khīyanti vipācenti: alajjino ime samaṇā Sakyaputtiyā dussīlā musāvādino, jānaṃ yeva āhaṃsu: na jānāmā ’ti, passaṃ yeva āhaṃsu: na passāmā ’ti, ayaṃ dārako bhikkhūsu pabbajito ’ti.  assosuṃ kho bhikkhū tassa kammārabhaṇḍussa mātāpitunnaṃ ujjhāyantānaṃ khīyantānaṃ vipācentānaṃ.  atha kho te bhikkhū bhagavato etam atthaṃ ārocesuṃ.  anujānāmi bhikkhave saṃghaṃ apaloketuṃ bhaṇḍukammāyā ’ti. |2| 
The Bhikkhus, who did not know him, said: 'We do not know him;' having not seen him, they said: 'We have not seen him.'  Now the father and mother of that bald-headed smith, searching after that bald-headed smith, found him ordained with the Bhikkhus; they were annoyed, &c.: 'These Sakyaputtiya Samanas are shameless, wicked, and liars. They knew him and said: "We do not know him;" they had seen him and said: "We have not seen him." This boy has been ordained with the Bhikkhus.'  Now some Bhikkhus heard the father and mother of that bald-headed smith, who were annoyed, &c.  Those Bhikkhus told the thing to the Blessed One. 
ครั้นมารดาบิดาของเขาสืบหาอยู่ ได้เห็นเขาบวชแล้วในสำนักภิกษุ จึงเพ่งโทษ ติเตียน โพนทะนาว่า พระสมณะเชื้อสายพระศากยบุตรเหล่านี้ ช่างไม่ละอาย เป็นคนทุศีล พูดเท็จ รู้อยู่แท้ๆ บอกว่าไม่รู้ เห็นอยู่ชัดๆ บอกว่าไม่เห็น เด็กคนนี้บวชแล้วในสำนักภิกษุ.  ภิกษุทั้งหลายได้ยินมารดาบิดาของบุตรช่างทองศีรษะโล้นนั้น เพ่งโทษ ติเตียน โพนทะนาอยู่  จึงกราบทูลเรื่องนั้นแด่พระผู้มีพระภาค.  พระผู้มีพระภาครับสั่งกะภิกษุทั้งหลายว่า ดูกรภิกษุทั้งหลาย เราอนุญาตให้อปโลกน์ต่อสงฆ์ เมื่อการปลงผมพวกเด็กชายสัตตรสวัคคีย์บวช 
    (๓๓. อิณายิกวตฺถุ) ๙๖. เตน โข ปน สมเยน อญฺญตโร ปุริโส อิณายิโก ปลายิตฺวา ภิกฺขูสุ ปพฺพชิโต โหติ.  ธนิยา ปสฺสิตฺวา เอวมาหํสุ “อยํ โส อมฺหากํ อิณายิโก. หนฺท นํ เนมา”ติ. 
||48|| 
'I prescribe, O Bhikkhus, that the Samgha's permission is asked for having (the new coming Bhikkhus) shaved.' 
เอกจฺเจ เอวมาหํสุ “มายฺโย เอวํ อวจุตฺถ. อนุญฺญาตํ รญฺญา มาคเธน เสนิเยน พิมฺพิสาเรน “เย สมเณสุ สกฺยปุตฺติเยสุ ปพฺพชนฺติ น เต ลพฺภา กิญฺจิ กาตุํ สฺวากฺขาโต ธมฺโม จรนฺตุ พฺรหฺมจริยํ สมฺมา ทุกฺขสฺส อนฺตกิริยายา”ติ. 
tena kho pana samayena Rājagahe sattarasavaggiyā dārakā sahāyakā honti, Upāli dārako tesaṃ pāmokkho hoti.  atha kho Upālissa mātāpitunnaṃ etad ahosi: kena nu kho upāyena Upāli amhākaṃ accayena sukhañ ca jīveyya na ca kilameyyā ’ti.  atha kho Upālissa mātāpitunnaṃ etad ahosi: sace kho Upāli lekhaṃ sikkheyya, evaṃ kho Upāli amhākaṃ accayena sukhañ ca jīveyya na ca kilameyyā ’ti.  atha kho Upālissa mātāpitunnaṃ etad ahosi: sace kho Upāli lekhaṃ sikkhissati, aṅguliyo dukkhā bhavissanti.  sace kho Upāli gaṇanaṃ sikkheyya, evaṃ kho Upāli amhākaṃ accayena sukhañ ca jīveyya na ca kilameyyā ’ti. |1| 
At that time there was in Râgagaha a company of seventeen boys, friends of each other; young Upâli was first among them.  Now Upâli's father and mother thought: 'How will Upâli after our death live a life of ease and without pain?'  Then Upâli's father and mother said to themselves: 'If Upâli could learn writing, he would after our death live a life of ease and without pain.'  But then Upâli's father and mother thought again: 'If Upâli learns writing, his fingers will become sore. 
[๑๑๑] ก็สมัยนั้นแล ในพระนครราชคฤห์มีเด็กชายพวกหนึ่ง ๑๗ คน เป็นเพื่อนกัน เด็กชายอุบาลีเป็นหัวหน้าของเด็กพวกนั้น.  ครั้งนั้น มารดาบิดาของเด็กชายอุบาลีได้หารือกันว่า ด้วยวิธีอะไรหนอ เมื่อเราทั้งสองล่วงลับไปแล้ว เจ้าอุบาลีจะอยู่เป็นสุข และจะไม่ต้องลำบาก.  ครั้นแล้วหารือกันต่อไปว่า ถ้าเจ้าอุบาลีจะพึงเรียนหนังสือ ด้วยวิธีอย่างนี้แหละ เมื่อเราทั้งสองล่วงลับไปแล้ว เจ้าอุบาลี จะพึงอยู่เป็นสุข และจะไม่ต้องลำบาก  แล้วหารือกันต่อไปอีกว่า ถ้าเจ้าอุบาลีจักเรียนหนังสือ นิ้วมือก็จักระบม  ถ้าเจ้าอุบาลีเรียนวิชาคำนวณ ด้วยอุบายอย่างนี้แหละเมื่อเราทั้งสองล่วงลับไปแล้ว เจ้าอุบาลีจะพึงอยู่เป็นสุข และไม่ต้องลำบาก. 
มนุสฺสา อุชฺฌายนฺติ ขิยฺยนฺติ วิปาเจนฺติ “อภยูวรา อิเม สมณา สกฺยปุตฺติยา. นยิเม ลพฺภา กิญฺจิ กาตุํ.  กถญฺหิ นาม สมณา สกฺยปุตฺติยา อิณายิกํ ปพฺพาเชสฺสนฺตี”ติ.  ภควโต เอตมตฺถํ อาโรเจสุํ น ภิกฺขเว อิณายิโก ปพฺพาเชตพฺโพ.  โย ปพฺพาเชยฺย อาปตฺติ ทุกฺกฏสฺสาติ. (อิณายิกวตฺถุ นิฏฺฐิตํ.)   
atha kho Upālissa mātāpitunnaṃ etad ahosi: sace kho Upāli gaṇanaṃ sikkhissati, urassa dukkho bhavissati.  sace kho Upāli rūpaṃ sikkheyya, evaṃ kho Upāli amhākaṃ accayena sukhañ ca jīveyya na ca kilameyyā ’ti.  atha kho Upālissa mātāpitunnaṃ etad ahosi: sace kho Upāli rūpaṃ sikkhissati, akkhīni dukkhā bhavissanti.  ime kho samaṇā Sakyaputtiyā sukhasīlā sukhasamācārā subhojanāni bhuñjitvā nivātesu sayanesu sayanti.  sace kho Upāli samaṇesu Sakyaputtiyesu pabbajeyya, evaṃ kho Upāli amhākaṃ accayena sukhañ ca jīveyya na ca kilameyyā ’ti. |2| 
But if Upâli could learn arithmetic, he would after our death live a life of ease and without pain.'  But then Upâli's father and mother thought again: 'If Upâli learns arithmetic, his breast will become diseased.  But if Upâli could learn money-changing, he would after our death live a life of ease and comfort, and without pain.  'But then Upâli's father and mother said to themselves: 'If Upâli learns money-changing, his eyes will suffer.  Now here are the Sakyaputtiya Samanas, who keep commodious precepts and live a commodious life; they have good meals and lie down on beds protected from the wind. 
ครั้นต่อมาจึงหารือกันอีกว่า ถ้าเจ้าอุบาลีจักเรียนวิชาคำนวณเขาจักหนักอก  ถ้าจะพึงเรียนวิชาดูรูปภาพ ด้วยอุบายอย่างนี้แหละ เมื่อเราทั้งสองล่วงลับไปแล้ว เจ้าอุบาลีก็จะพึงอยู่เป็นสุข และจะไม่ต้องลำบาก  ครั้นต่อมา จึงหารือกันอีกว่า ถ้าเจ้าอุบาลีจักเรียนวิชาดูรูปภาพ นัยน์ตาทั้งสองของเขาจักชอกช้ำ  พระสมณะเชื้อสายพระศากยบุตรเหล่านี้แล มีปกติเป็นสุข มีความประพฤติเรียบร้อย ฉันอาหารที่ดี นอนในห้องนอนอันมิดชิด  ถ้าเจ้าอุบาลีจะพึงบวชในสำนักพระสมณะเชื้อสายพระศากยบุตร ด้วยวิธีนี้แหละ เมื่อเราทั้งสองล่วงลับไปแล้ว เจ้าอุบาลีก็จะอยู่เป็นสุข และจะไม่ต้องลำบาก. 
  (๓๔. ทาสวตฺถุ) ๙๗. เตน โข ปน สมเยน อญฺญตโร ทาโส ปลายิตฺวา ภิกฺขูสุ ปพฺพชิโต โหติ.  อยฺยกา ปสฺสิตฺวา เอวมาหํสุ “อยํ โส อมฺหากํ ทาโส. หนฺท นํ เนมา”ติ.  เอกจฺเจ เอวมาหํสุ “มายฺโย เอวํ อวจุตฺถ อนุญฺญาตํ รญฺญา มาคเธน เสนิเยน พิมฺพิสาเรน “เย สมเณสุ สกฺยปุตฺติเยสุ ปพฺพชนฺติ น เต ลพฺภา กิญฺจิ กาตุํ สฺวากฺขาโต ธมฺโม จรนฺตุ พฺรหฺมจริยํ สมฺมา ทุกฺขสฺส อนฺตกิริยายา”ติ.  มนุสฺสา อุชฺฌายนฺติ ขิยฺยนฺติ วิปาเจนฺติ “อภยูวรา อิเม สมณา สกฺยปุตฺติยา นยิเม ลพฺภา กิญฺจิ กาตุํ. 
assosi kho Upāli dārako mātāpitunnaṃ imaṃ kathāsallāpaṃ. atha kho Upāli dārako yena te dārakā ten’ upasaṃkami, upasaṃkamitvā te dārake etad avoca: etha mayaṃ ayyo samaṇesu Sakyaputtiyesu pabbajissāmā ’ti.  sace kho tvaṃ ayyo pabbajissasi, evaṃ mayam pi pabbajissāmā ’ti.  atha kho te dārakā ekamekassa mātāpitaro upasaṃkamitvā etad avocuṃ: anujānātha maṃ agārasmā anagāriyaṃ pabbajjāyā ’ti.  atha kho tesaṃ dāra-(78)kānaṃ mātāpitaro sabbe p’ ime dārakā samānacchandā kalyāṇādhippāyā ’ti anujāniṃsu. te bhikkhū upasaṃkamitvā pabbajjaṃ yāciṃsu.  te bhikkhū pabbājesuṃ upasampādesuṃ. |3| 
If Upâli could be ordained with the Sakyaputtiya Samanas, he would after our death live a life of ease and without pain.'  Now young Upâli heard his father and mother talking thus. Then young Upâli went to the other boys; having approached them, he said to those boys: 'Come, Sirs, let us get ordained with the Sakyaputtiya Samanas.'  (They replied): 'If you will get ordained, Sir, we will be ordained also.'  Then those boys went each to his father and mother and said to them: 'Give me your consent for leaving the world and going forth into the houseless state.'  Then the parents of those boys, who thought, 'It is a good thing what all these boys are wishing so unanimously for, gave their consent. They went to the Bhikkhus and asked them for the pabbaggâ ordination. 
เด็กชายอุบาลีได้ยินถ้อยคำที่มารดาบิดาสนทนาหารือกัน ดังนี้ จึงเข้าไปหาเพื่อนเด็กเหล่านั้น ครั้นแล้วได้พูดชวนว่า มาเถิดพวกเจ้า พวกเราจักพากันไปบวชในสำนักพระสมณะเชื้อสายพระศากยบุตร.  เด็กชายเหล่านั้นพูดว่า ถ้าเจ้าบวช แม้พวกเราก็จักบวชเหมือนกัน.  เด็กชายเหล่านั้นไม่รอช้า ต่างคนต่างก็เข้าไปหามารดาบิดาของตนๆ แล้วขออนุญาตว่า ขอท่านทั้งหลายจงอนุญาตให้ข้าพเจ้า ออกจากเรือนบวชเป็นบรรพชิตเถิด.  มารดาบิดาของเด็กชายเหล่านั้นก็อนุญาตทันที ด้วยคิดเห็นว่า เด็กเหล่านี้ต่างก็มีฉันทะร่วมกัน มีความมุ่งหมายดีด้วยกันทุกคน. เด็กพวกนั้นเข้าไปหาภิกษุทั้งหลายแล้วขอบรรพชา.  ภิกษุทั้งหลายให้พวกเขาบรรพชาอุปสมบท. 
กถญฺหิ นาม สมณา สกฺยปุตฺติยา ทาสํ ปพฺพาเชสฺสนฺตี”ติ.  ภควโต เอตมตฺถํ อาโรเจสุํ.  น ภิกฺขเว ทาโส ปพฺพาเชตพฺโพ.  โย ปพฺพาเชยฺย อาปตฺติ ทุกฺกฏสฺสาติ. (ทาสวตฺถุ นิฏฺฐิตํ.)   
te rattiyā paccūsasamayaṃ paccuṭṭhāya rodanti: yāguṃ detha, bhattaṃ detha, khādaniyaṃ dethā ’ti.  bhikkhū evaṃ āhaṃsu: āgametha āvuso yāva vibhāyati.  sace yāgu bhavissati, pivissatha, sace bhattaṃ bhavissati, bhuñjissatha, sace khādaniyaṃ bhavissati, khādissatha, no ce bhavissati yāgu vā bhattaṃ vā khādaniyaṃ vā, piṇḍāya caritvā bhuñjissathā ’ti.  evam pi kho te bhikkhū bhikkhūhi vuccamānā rodant’ eva: yāguṃ detha, bhattaṃ detha, khādaniyaṃ dethā ’ti, senāsanaṃ ūhananti pi ummihanti pi. |4| 
The Bhikkhus conferred the pabbaggâ and upasampadâ ordinations on them.  In the night, at dawn, they rose and began to cry: 'Give us rice-milk, give us soft food, give us hard food!'  The Bhikkhus said: 'Wait, friends, till day-time.  If there is rice-milk, you shall drink; if there is food, soft or hard, you shall eat; if there is no rice-milk and no food, soft or hard, you must go out for alms, and then you will eat.' 
ครั้นปัจจุสสมัยแห่งราตรี ภิกษุใหม่เหล่านั้นลุกขึ้นร้องไห้ วิงวอนว่า ขอท่านทั้งหลายจงให้ข้าวต้ม จงให้ข้าวสวย จงให้ของเคี้ยว.  ภิกษุทั้งหลายพูดอย่างนี้ว่า อาวุโสทั้งหลาย จงรอให้ราตรีสว่างก่อน  ถ้าข้าวต้มมี จักได้ดื่ม ถ้าข้าวสวยมี จักได้ฉัน ถ้าของเคี้ยวมี จักได้เคี้ยว ถ้าข้าวต้ม ข้าวสวย หรือของเคี้ยวไม่มี ต้องเที่ยวบิณฑบาตฉัน.  ภิกษุใหม่เหล่านั้นอันภิกษุทั้งหลายแม้กล่าวอยู่อย่างนี้แล ก็ยังร้องไห้วิงวอนอยู่อย่างนั้นแลว่า จงให้ข้าวต้ม จงให้ข้าวสวย จงให้ของเคี้ยว ถ่ายอุจจาระรดบ้าง ถ่ายปัสสาวะรดบ้าง ซึ่งเสนาสนะ. 
  (๓๕. กมฺมารภณฺฑุวตฺถุ) ๙๘. เตน โข ปน สมเยน อญฺญตโร กมฺมารภณฺฑุ มาตาปิตูหิ สทฺธึ ภณฺฑิตฺวา อารามํ คนฺตฺวา ภิกฺขูสุ ปพฺพชิโต โหติ.  อถ โข ตสฺส กมฺมารภณฺฑุสฺส มาตาปิตโร ตํ กมฺมารภณฺฑุํ วิจินนฺตา อารามํ คนฺตฺวา ภิกฺขู ปุจฺฉึสุ “อปิ ภนฺเต เอวรูปํ ทารกํ ปสฺเสยฺยาถา”ติ?  ภิกฺขู อชานํเยว อาหํสุ “น ชานามา”ติ อปสฺสํเยว อาหํสุ “น ปสฺสามา”ติ. 
assosi kho bhagavā rattiyā paccūsasamayaṃ paccuṭṭhāya dārakasaddaṃ, sutvāna āyasmantaṃ Ānandaṃ āmantesi:  kiṃ nu kho so Ānanda dārakassa saddo ’ti.  atha kho āyasmā Ānando bhagavato etam atthaṃ ārocesi.  saccaṃ kira bhikkhave bhikkhū jānaṃ ūnavīsativassaṃ puggalaṃ upasampādentīti.  saccaṃ bhagavā.  vigarahi buddho bhagavā: kathaṃ hi nāma te bhikkhave moghapurisā jānaṃ ūnavīsativassaṃ puggalaṃ upasampādessanti. |5| 
But those Bhikkhus, when they were thus spoken to by the other Bhikkhus, threw their bedding about and made it wet, calling out: 'Give us rice-milk, give us soft food, give us hard food!'  Then the Blessed One, having arisen in the night, at dawn, heard the noise which those boys made; hearing it he said to the venerable Ânanda:  'Now, Ânanda, what noise of boys is that?'  Then the venerable Ânanda told the thing to the Blessed One.  'Is it true, O Bhikkhus, that the Bhikkhus knowingly confer the upasampadâ ordination on persons under twenty years of age?'  'It is true, Lord.' 
พระผู้มีพระภาคทรงตื่นบรรทมในปัจจุสสมัยแห่งราตรี ทรงได้ยินเสียงเด็ก ครั้นแล้วตรัสเรียกท่านพระอานนท์มาตรัสถามว่า  ดูกรอานนท์ นั่นเสียงเด็ก หรือ?  จึงท่านพระอานนท์กราบทูลเรื่องนั้นแด่พระผู้มีพระภาค.  พระผู้มีพระภาคทรงสอบถามภิกษุทั้งหลายว่า ดูกรภิกษุทั้งหลาย ข่าวว่าภิกษุทั้งหลายรู้อยู่ ให้บุคคลผู้มีอายุหย่อน ๒๐ ปี อุปสมบท จริงหรือ?  ภิกษุทั้งหลายกราบทูลว่า จริง พระพุทธเจ้าข้า.  พระผู้มีพระภาคพุทธเจ้าทรงติเตียนว่า ดูกรภิกษุทั้งหลาย ไฉนโมฆบุรุษพวกนั้นรู้อยู่ จึงได้ให้บุคคลมีอายุหย่อน ๒๐ ปี อุปสมบทเล่า 
อถ โข ตสฺส กมฺมารภณฺฑุสฺส มาตาปิตโร ตํ กมฺมารภณฺฑุํ วิจินนฺตา ภิกฺขูสุ ปพฺพชิตํ ทิสฺวา อุชฺฌายนฺติ ขิยฺยนฺติ วิปาเจนฺติ “อลชฺชิโน อิเม สมณา สกฺยปุตฺติยา ทุสฺสีลา มุสาวาทิโน. ชานํเยว อาหํสุ ‘น ชานามา’ติ ปสฺสํเยว อาหํสุ ‘น ปสฺสามา’ติ. อยํ ทารโก ภิกฺขูสุ ปพฺพชิโต”ติ.  อสฺโสสุํ โข ภิกฺขู ตสฺส กมฺมารภณฺฑุสฺส มาตาปิตูนํ อุชฺฌายนฺตานํ ขิยฺยนฺตานํ วิปาเจนฺตานํ.  อถ โข เต ภิกฺขู ภควโต เอตมตฺถํ อาโรเจสุํ.  อนุชานามิ ภิกฺขเว สงฺฆํ อปโลเกตุํ ภณฺฑุกมฺมายาติ. (กมฺมารภณฺฑุวตฺถุ นิฏฺฐิตํ.)     
ūnavīsativasso bhikkhave puggalo akkhamo hoti sītassa uṇhassa jighacchāya pipāsāya ḍaṃsamakasavātātapasiriṃsapasamphassānaṃ duruttānaṃ durāgatānaṃ vacanapathānaṃ uppannānaṃ sārīrikānaṃ vedanānaṃ dukkhānaṃ tibbānaṃ kharānaṃ kaṭukānaṃ asātānaṃ amanāpānaṃ pāṇaharānaṃ anadhivāsakajātiko hoti.  vīsativasso kho bhikkhave puggalo khamo hoti sītassa uṇhassa . . . pāṇaharānaṃ adhivāsakajātiko hoti.  n’ etaṃ bhikkhave appasannānaṃ vā pasādāya pasannānaṃ vā bhiyyobhāvāya.  vigarahitvā dhammiṃ kathaṃ katvā bhikkhū āmantesi: na bhikkhave jānaṃ ūnavīsativasso puggalo upasampādetabbo.  yo upasampādeyya, yathādhammo kāretabbo ’ti. |6| 
Then the Blessed One rebuked those Bhikkhus: 'How can those foolish persons, O Bhikkhus, knowingly confer the upasampadâ ordination on persons under twenty years of age?  'A person under twenty years, O Bhikkhus, cannot endure coldness and heat, hunger and thirst, vexation by gadflies and gnats, by storms and sun-heat, and by reptiles; (he cannot endure) abusive, offensive language; he is not able to bear bodily pains which are severe, sharp, grievous, disagreeable, unpleasant, and destructive to life;  whilst a person that has twenty years of age, O Bhikkhus, can endure coldness, &c.  This will not do, O Bhikkhus, for converting the unconverted and for augmenting the number of the converted.'  Having rebuked those Bhikkhus and delivered a religious discourse, he thus addressed the Bhikkhus: 'Let no one, O Bhikkhus, knowingly confer the upasampadâ ordination on a person under twenty years of age. 
ดูกรภิกษุทั้งหลาย บุคคลมีอายุหย่อน ๒๐ ปี เป็นผู้ไม่อดทนต่อเย็น ร้อน หิว ระหาย เป็นผู้มีปกติไม่อดกลั้นต่อสัมผัส แห่งเหลือบ ยุง ลม แดด สัตว์เลื้อยคลาน ต่อคลองแห่งถ้อยคำที่เขากล่าวร้าย อันมาแล้วไม่ดี ต่อทุกขเวทนาทางกายที่เกิดขึ้นแล้วอันกล้าแข็งกล้า เผ็ดร้อน ไม่เป็นที่ยินดี ไม่เป็นที่ชอบใจ อันอาจนำชีวิตเสียได้  ส่วนบุคคลมีอายุ ๒๐ ปี ย่อมเป็นผู้อดทนต่อเย็น ร้อน หิว ระหาย เป็นผู้มีปกติอดกลั้นต่อสัมผัสแห่งเหลือบ ยุง ลม แดด สัตว์เลื้อยคลาน ต่อคลองแห่งถ้อยคำที่เขากล่าวร้าย อันมาแล้วไม่ดี ต่อทุกขเวทนาทางกายที่เกิดขึ้นแล้ว อันกล้าแข็งเผ็ดร้อน ไม่เป็นที่ยินดี ไม่เป็นที่ชอบใจ อันอาจนำชีวิตเสียได้  ดูกรภิกษุทั้งหลาย การกระทำของโมฆบุรุษเหล่านั้นนั่น ไม่เป็นไปเพื่อความเลื่อมใสของชุมชนที่ยังไม่เลื่อมใส หรือเพื่อความเลื่อมใสยิ่งของชุมชนที่เลื่อมใสแล้ว ...  ครั้นแล้วทรงทำธรรมีกถารับสั่งกะภิกษุทั้งหลายว่า ดูกรภิกษุทั้งหลาย ภิกษุรู้อยู่ ไม่พึงให้บุคคลมีอายุหย่อน ๒๐ ปีอุปสมบท  รูปใดให้อุปสมบท ต้องปรับตามธรรม. 
(๓๖. อุปาลิทารกวตฺถุ) ๙๙. เตน โข ปน สมเยน ราชคเห สตฺตรสวคฺคิยา ทารกา สหายกา โหนฺติ. อุปาลิทารโก เตสํ ปาโมกฺโข โหติ.  อถ โข อุปาลิสฺส มาตาปิตูนํ เอตทโหสิ “เกน นุ โข อุปาเยน อุปาลิ อมฺหากํ อจฺจเยน สุขญฺจ ชีเวยฺย น จ กิลเมยฺยา”ติ?  อถ โข อุปาลิสฺส มาตาปิตูนํ เอตทโหสิ “สเจ โข อุปาลิ เลขํ สิกฺเขยฺย เอวํ โข อุปาลิ อมฺหากํ อจฺจเยน สุขญฺจ ชีเวยฺย น จ กิลเมยฺยา”ติ.  อถ โข อุปาลิสฺส มาตาปิตูนํ เอตทโหสิ “สเจ โข อุปาลิ เลขํ สิกฺขิสฺสติ องฺคุลิโย ทุกฺขา ภวิสฺสนฺติ.  สเจ โข อุปาลิ คณนํ สิกฺเขยฺย เอวํ โข อุปาลิ อมฺหากํ อจฺจเยน สุขญฺจ ชีเวยฺย น จ กิลเมยฺยา”ติ. 
||49|| 
He who does, is to be treated according to the law.' 
อถ โข อุปาลิสฺส มาตาปิตูนํ เอตทโหสิ “สเจ โข อุปาลิ คณนํ สิกฺขิสฺสติ อุรสฺส ทุกฺโข ภวิสฺสติ. 
tena kho pana samayena aññataraṃ kulaṃ ahivātakarogena kālaṃkataṃ hoti, tassa pitāputtakā sesā honti, te bhikkhūsu pabbajitvā ekato ’va piṇḍāya caranti.  atha kho so dārako pituno bhikkhāya dinnāya upadhāvitvā etad avoca: mayham pi tāta dehi, mayham pi tāta dehīti.  manussā (79) ujjhāyanti khīyanti vipācenti: abrahmacārino ime samaṇā Sakyaputtiyā, ayaṃ dārako bhikkhuniyā jāto ’ti.  assosuṃ kho bhikkhū tesaṃ manussānaṃ ujjhāyantānaṃ khīyantānaṃ vipācentānaṃ.  atha kho te bhikkhū bhagavato etam atthaṃ ārocesuṃ.  na bhikkhave ūnapannarasavasso dārako pabbājetabbo.  yo pabbājeyya, āpatti dukkaṭassā ’ti. |1| 
At that time a certain family had died of pestilence; only a father and his son were left; they received the pabbaggâ ordination with the Bhikkhus and went together on their rounds for alms.  Now that boy, when food was given to his father, ran up to him and said: 'Give some to me too, father; give some to me too, father.'  People were annoyed, &c.: 'These Sakyaputtiya Samanas live an impure life; this boy is a Bhikkhunî's son.'  Some Bhikkhus heard, &c.  They told this thing to the Blessed One, &c.  'Let no one, O Bhikkhus, confer the pabbaggâ ordination on a boy under fifteen years of age. 
เรื่องตายเพราะอหิวาตกโรค (กำหนดอายุผู้บวชเป็นสามเณร) [๑๑๒] ก็โดยสมัยนั้นแล ตระกูลหนึ่งได้ตายลง เพราะอหิวาตกโรค. ตระกูลนั้น เหลืออยู่แต่พ่อกับลูก. คนทั้งสองนั้นบวชในสำนักภิกษุแล้ว เที่ยวบิณฑบาตด้วยกัน.  ครั้นเมื่อเขาถวายภิกษาแก่ภิกษุผู้เป็นบิดา สามเณรน้อยก็ได้วิ่งเข้าไปพูดว่า พ่อจ๋า ขอจงให้แก่หนูบ้าง พ่อจ๋า ขอจงให้แก่หนูบ้าง.  ประชาชนจึงเพ่งโทษ ติเตียน โพนทะนาว่า พระสมณะเชื้อสายพระศากยบุตรเหล่านี้มิใช่ผู้ประพฤติพรหมจรรย์ สามเณรน้อยรูปนี้ชะรอยเกิดแต่ภิกษุณี.  ภิกษุทั้งหลายได้ยินประชาชนพวกนั้นเพ่งโทษ ติเตียน โพนทะนาอยู่  จึงกราบทูลเรื่องนั้นแด่พระผู้มีพระภาค.  พระผู้มีพระภาครับสั่งกะภิกษุทั้งหลายว่า ดูกรภิกษุทั้งหลาย เด็กชายมีอายุหย่อน ๑๕ ปี ภิกษุไม่พึงให้บวช  รูปใดให้บวช ต้องอาบัติทุกกฏ. 
สเจ โข อุปาลิ รูปํ สิกฺเขยฺย เอวํ โข อุปาลิ อมฺหากํ อจฺจเยน สุขญฺจ ชีเวยฺย น จ กิลเมยฺยา”ติ.  อถ โข อุปาลิสฺส มาตาปิตูนํ เอตทโหสิ “สเจ โข อุปาลิ รูปํ สิกฺขิสฺสติ อกฺขีนิ ทุกฺขา ภวิสฺสนฺติ.  อิเม โข สมณา สกฺยปุตฺติยา สุขสีลา สุขสมาจารา สุโภชนานิ ภุญฺชิตฺวา นิวาเตสุ สยเนสุ สยนฺติ  สเจ โข อุปาลิ สมเณสุ สกฺยปุตฺติเยสุ ปพฺพเชยฺย เอวํ โข อุปาลิ อมฺหากํ อจฺจเยน สุขญฺจ ชีเวยฺย น จ กิลเมยฺยา”ติ.  อสฺโสสิ โข อุปาลิทารโก มาตาปิตูนํ อิมํ กถาสลฺลาปํ. อถ โข อุปาลิทารโก เยน เต ทารกา เตนุปสงฺกมิ อุปสงฺกมิตฺวา เต ทารเก เอตทโวจ “เอถ มยํ อยฺยา สมเณสุ สกฺยปุตฺติเยสุ ปพฺพชิสฺสามา”ติ.  “สเจ โข ตฺวํ อยฺย ปพฺพชิสฺสสิ เอวํ มยมฺปิ ปพฺพชิสฺสามา”ติ.  อถ โข เต ทารกา เอกเมกสฺส มาตาปิตโร อุปสงฺกมิตฺวา เอตทโวจุํ “อนุชานาถ มํ อคารสฺมา อนาคาริยํ ปพฺพชฺชายา”ติ. 
||50|| 
He who does, is guilty of a dukkata offence.' 
อถ โข เตสํ ทารกานํ มาตาปิตโร “สพฺเพปิเม ทารกา สมานจฺฉนฺทา กลฺยาณาธิปฺปายา”ติ อนุชานึสุ. 
tena kho pana samayena āyasmato Ānandassa upaṭṭhākakulaṃ saddhaṃ pasannaṃ ahivātakarogena kālaṃkataṃ hoti, dve ca dārakā sesā honti, te porāṇakena āciṇṇakappena bhikkhū passitvā upadhāvanti, bhikkhū apasādenti.  te bhikkhūhi apasādiyamānā rodanti.  atha kho āyasmato Ānandassa etad ahosi:  bhagavatā paññattaṃ na ūnapannarasavasso dārako pabbājetabbo ’ti, ime ca dārakā ūnapannarasavassā.  kena nu kho upāyena ime dārakā na vinasseyyun ti.  atha kho āyasmā Ānando bhagavato etam atthaṃ ārocesi.  ussahanti pana te Ānanda dārakā kāke uṭṭepetun ti.  ussahanti bhagavā ’ti.  atha kho bhagavā etasmiṃ nidāne etasmiṃ pakaraṇe dhammiṃ kathaṃ katvā bhikkhū āmantesi:  anujānami bhikkhave ūnapannarasavassaṃ dārakaṃ kākuṭṭepakaṃ pabbājetun ti. |1| 
At that time a believing, pious family, who devoted themselves to the (especial) service of the venerable Ânanda, had died of pestilence. Only two boys were left; these, when seeing Bhikkhus, ran up to them according to their old custom, but the Bhikkhus turned them away.  When they were turned away by the Bhikkhus, they cried.  Now the venerable Ânanda thought:  'The Blessed One has forbidden us to confer the pabbaggâ ordination on a boy under fifteen years of age, and these boys are under fifteen years of age.  What can be done in order that these boys may not perish?'  And the venerable Ânanda told this thing to the Blessed One.  'Are these boys able, Ânanda, to scare crows?'  'They are, Lord.'  In consequence of that and on this occasion the Blessed One, after having delivered a religious discourse, 
เด็กชายตระกูลอุปัฏฐากบรรพชา [๑๑๓] ก็โดยสมัยนั้นแล ตระกูลอุปัฏฐากของท่านพระอานนท์มีศรัทธาเลื่อมใส ได้ตายลงเพราะอหิวาตกโรค. เหลืออยู่แต่เด็กชายสองคน. เด็กชายทั้งสองเห็นภิกษุทั้งหลาย จึงวิ่งเข้าไปหาด้วยกิริยาที่คุ้นเคยแต่ก่อนมา. ภิกษุทั้งหลายไล่ไปเสีย.  เด็กชายทั้งสองนั้นเมื่อถูกภิกษุทั้งหลายไล่ก็ร้องไห้  จึงท่านพระอานนท์ได้มีความดำริว่า  พระผู้มีพระภาคทรงบัญญัติ มิให้บวชเด็กชายมีอายุหย่อน ๑๕ ปี ก็เด็กชายทั้งสองคนนี้มีอายุหย่อน ๑๕ ปี  ด้วยวิธีอะไรหนอ เด็กชายสองคนนี้จึงจะไม่เสื่อมเสีย  ดังนี้ จึงกราบทูลเรื่องนั้นแด่พระผู้มีพระภาค.  พระผู้มีพระภาคตรัสถามว่า ดูกรอานนท์ เด็กชายสองคนนั้นอาจไล่กาได้ไหม?  ท่านพระอานนท์กราบทูลว่า อาจ พระพุทธเจ้าข้า.  ลำดับนั้น พระผู้มีพระภาคทรงทำธรรมีกถา ในเพราะเหตุเป็นเค้ามูลนั้น ในเพราะเหตุแรกเกิดนั้น  แล้วรับสั่งกะภิกษุทั้งหลายว่า ดูกรภิกษุทั้งหลาย เราอนุญาตให้บวชเด็กชายมีอายุหย่อน ๑๕ ปี แต่สามารถไล่กาได้. 
เต ภิกฺขู อุปสงฺกมิตฺวา ปพฺพชฺชํ ยาจึสุ.  เต ภิกฺขู ปพฺพาเชสุํ อุปสมฺปาเทสุํ เต รตฺติยา ปจฺจูสสมยํ ปจฺจุฏฺฐาย โรทนฺติ “ยาคุํ เทถ ภตฺตํ เทถ ขาทนียํ เทถา”ติ.  ภิกฺขู เอวมาหํสุ “อาคเมถ อาวุโส ยาว รตฺติ วิภายติ.  สเจ ยาคุ ภวิสฺสติ ปิวิสฺสถ สเจ ภตฺตํ ภวิสฺสติ ภุญฺชิสฺสถ สเจ ขาทนียํ ภวิสฺสติ ขาทิสฺสถ โน เจ ภวิสฺสติ ยาคุ วา ภตฺตํ วา ขาทนียํ วา ปิณฺฑาย จริตฺวา ภุญฺชิสฺสถา”ติ.  เอวมฺปิ โข เต ภิกฺขู ภิกฺขูหิ วุจฺจมานา โรทนฺติเยว “ยาคุํ เทถ ภตฺตํ เทถ ขาทนียํ เทถา”ติ เสนาสนํ อุหทนฺติปิ อุมฺมิหนฺติปิ.  อสฺโสสิ โข ภควา รตฺติยา ปจฺจูสสมยํ ปจฺจุฏฺฐาย ทารกสทฺทํ. สุตฺวาน อายสฺมนฺตํ อานนฺทํ อามนฺเตสิ  “กึ นุ โข โส อานนฺท ทารกสทฺโท”ติ?  อถ โข อายสฺมา อานนฺโท ภควโต เอตมตฺถํ อาโรเจสิฯเปฯ  “สจฺจํ กิร ภิกฺขเว ภิกฺขู ชานํ อูนวีสติวสฺสํ ปุคฺคลํ อุปสมฺปาเทนฺตี”ติ?  “สจฺจํ ภควา”ติ. 
||51|| 
thus addressed the Bhikkhus: 'I allow you, O Bhikkhus, to confer the pabbaggâ ordination on crow-keeper boys even under fifteen years of age.' 
วิครหิ พุทฺโธ ภควาฯเปฯ “กถญฺหิ นาม เต ภิกฺขเว โมฆปุริสา ชานํ อูนวีสติวสฺสํ ปุคฺคลํ อุปสมฺปาเทสฺสนฺติ. 
tena kho pana samayena āyasmato Upanandassa Sakyaputtassa dve sāmaṇerā honti Kaṇḍako ca Mahako ca, te aññamaññaṃ dūsesuṃ.  bhikkhū ujjhāyanti khīyanti vipācenti:  kathaṃ hi nāma sāmaṇerā evarūpaṃ anācāraṃ ācarissantīti.  bhagavato etam atthaṃ ārocesuṃ.  na bhikkhave ekena dve sāmaṇerā upaṭṭhāpetabbā.  yo upaṭṭhāpeyya, āpatti dukkaṭassā ’ti. |1| 
At that time the venerable Upananda, of the Sakya tribe, had two novices, Kandaka and Mahaka; these committed sodomy with each other.  The Bhikkhus were annoyed, &c.:  'How can novices abandon themselves to such bad conduct?'  They told this thing to the Blessed One, &c.  'Let no one, O Bhikkhus, ordain two novices. 
เรื่องสามเณรของท่านพระอุปนันท์ [๑๑๔] ก็โดยสมัยนั้นแล ท่านพระอุปนันทศากยบุตรมีสามเณรอยู่ ๒ รูป คือสามเณรกัณฏกะ ๑ สามเณรมหกะ ๑. เธอทั้งสองประทุษร้ายกันและกัน.  ภิกษุทั้งหลายจึงเพ่งโทษ ติเตียน โพนทะนาว่า  ไฉนสามเณรทั้งสองจึงได้ประพฤติอนาจารเห็นปานนั้นเล่า  แล้วกราบทูลเรื่องนั้นแด่พระผู้มีพระภาค.  พระผู้มีพระภาครับสั่งกะภิกษุทั้งหลายว่า ดูกรภิกษุทั้งหลาย ภิกษุรูปเดียว ไม่พึงให้สามเณร ๒ รูปอุปัฏฐาก  รูปใดให้อุปัฏฐาก ต้องอาบัติทุกกฏ. 
อูนวีสติวสฺโส ภิกฺขเว ปุคฺคโล อกฺขโม โหติ สีตสฺส อุณฺหสฺส ชิฆจฺฉาย ปิปาสาย ฑํสมกสวาตาตปสรีสปสมฺผสฺสานํ ทุรุตฺตานํ ทุราคตานํ วจนปถานํ อุปฺปนฺนานํ สารีริกานํ เวทนานํ ทุกฺขานํ ติพฺพานํ ขรานํ กฏุกานํ อสาตานํ อมนาปานํ ปาณหรานํ อนธิวาสกชาติโก โหติ.  วีสติวสฺโสว โข ภิกฺขเว ปุคฺคโล ขโม โหติ สีตสฺส อุณฺหสฺส ชิฆจฺฉาย ปิปาสาย ฑํสมกสวาตาตปสรีสปสมฺผสฺสานํ ทุรุตฺตานํ ทุราคตานํ วจนปถานํ อุปฺปนฺนานํ สารีริกานํ เวทนานํ ทุกฺขานํ ติพฺพานํ ขรานํ กฏุกานํ อสาตานํ อมนาปานํ ปาณหรานํ อธิวาสกชาติโก โหติ.  เนตํ ภิกฺขเว อปฺปสนฺนานํ วา ปสาทาย ปสนฺนานํ วา ภิยฺโยภาวายฯเปฯ  วิครหิตฺวาฯเปฯ ธมฺมึ กถํ กตฺวา ภิกฺขู อามนฺเตสิ “น ภิกฺขเว ชานํ อูนวีสติวสฺโส ปุคฺคโล อุปสมฺปาเทตพฺโพ.  โย อุปสมฺปาเทยฺย ยถาธมฺโม กาเรตพฺโพ”ติ. (อุปาลิทารกวตฺถุ นิฏฺฐิตํ.)   
||52|| 
He who does, is guilty of a dukkata offence.' 
 
tena kho pana samayena bhagavā tatth’ eva Rājagahe vassaṃ vasi, tattha hemantaṃ, tattha gimhaṃ.  manussā ujjhāyanti khīyanti vipācenti:  āhundarikā samaṇānaṃ Sakyaputtiyānaṃ disā andhakārā, na imesaṃ disā pakkhāyantīti.  assosuṃ kho bhikkhū tesaṃ manussānaṃ ujjhāyantānaṃ khīyantānaṃ vipācentānaṃ.  atha kho te bhikkhū bhagavato etam atthaṃ ārocesuṃ. |1| 
At that time the Blessed One dwelt at Râgagaha during the rainy season, and remained at the same place during winter and summer.  The people were annoyed, &c.:  'The (four) regions are . . . . and covered by darkness to the Sakyaputtiya Samanas; they cannot discern the (four) regions.  'Some Bhikkhus heard, &c. 
เรื่องถือนิสสัย [๑๑๕] ก็โดยสมัยนั้นแล พระผู้มีพระภาคประทับอยู่ในพระนครราชคฤห์นั้นแล ตลอดฤดูฝน ฤดูหนาว ฤดูร้อน.  คนทั้งหลายพากันเพ่งโทษ ติเตียน โพนทะนาว่า  ทิศทั้งหลายคับแคบมืดมนแก่พระสมณะเชื้อสายพระศากยบุตร ทิศทั้งหลายไม่ปรากฏแก่พระสมณะพวกนี้  ภิกษุทั้งหลายได้ยินคนพวกนั้นเพ่งโทษ ติเตียน โพนทะนาอยู่  จึงกราบทูลเรื่องนั้นแด่พระผู้มีพระภาค 
(๓๗. อหิวาตกโรควตฺถุ) ๑๐๐. เตน โข ปน สมเยน อญฺญตรํ กุลํ อหิวาตกโรเคน กาลงฺกตํ โหติ. ตสฺส ปิตาปุตฺตกา เสสา โหนฺติ. เต ภิกฺขูสุ ปพฺพชิตฺวา เอกโตว ปิณฺฑาย จรนฺติ.  อถ โข โส ทารโก ปิตุโน ภิกฺขาย ทินฺนาย อุปธาวิตฺวา เอตทโวจ “มยฺหมฺปิ ตาต เทหิ มยฺหมฺปิ ตาต เทหี”ติ.  มนุสฺสา อุชฺฌายนฺติ ขิยฺยนฺติ วิปาเจนฺติ “อพฺรหฺมจาริโน อิเม สมณา สกฺยปุตฺติยา. อยมฺปิ ทารโก ภิกฺขุนิยา ชาโต”ติ.  อสฺโสสุํ โข ภิกฺขู เตสํ มนุสฺสานํ อุชฺฌายนฺตานํ ขิยฺยนฺตานํ วิปาเจนฺตานํ.  อถ โข เต ภิกฺขู ภควโต เอตมตฺถํ อาโรเจสุํ. 
atha kho bhagavā āyasmantaṃ Ānandaṃ āmantesi: gacchānanda apāpuraṇaṃ ādā-(80)ya anupariveṇiyaṃ bhikkhūnaṃ ārocehi: icchat’ āvuso bhagavā Dakkhiṇāgiriṃ cārikaṃ pakkamituṃ.  yassāyasmato attho, so āgacchatū ’ti.  evaṃ bhante ’ti kho āyasmā Ānando bhagavato paṭissutvā apāpuraṇaṃ ādāya anupariveṇiyaṃ bhikkhūnaṃ ārocesi: icchat’ āvuso bhagavā Dakkhiṇāgiriṃ cārikaṃ pakkamituṃ.  yassāyasmato attho, so āgacchatū ’ti. |2| 
  Then the Blessed One said to the venerable Ânanda: 'Go, Ânanda, take a key and tell the Bhikkhus in every cell: "Friends, the Blessed One wishes to go forth to Dakkhinâgiri.  Let any one of the venerable brethren who thinks fit, come to him."'  The venerable Ânanda accepted this order of the Blessed One (by saying), 'Yes, Lord,' took a key, and said to the Bhikkhus in every cell: 'Friends, the Blessed One,' &c. 
ครั้งนั้น พระผู้มีพระภาคตรัสเรียกท่านพระอานนท์มารับสั่งว่า ดูกรอานนท์ เธอจงไปไขดาล บอกภิกษุทั้งหลายในบริเวณวิหารว่า อาวุโสทั้งหลาย พระผู้มีพระภาคทรงปรารถนาจะเสด็จจาริกทักขิณาคิรีชนบท  ท่านผู้ใดมีความประสงค์ ท่านผู้นั้นจงมา.  ท่านพระอานนท์รับสนองพระพุทธบัญชาแล้ว ไขดาลแจ้งแก่ภิกษุทั้งหลายในบริเวณวิหารว่า อาวุโสทั้งหลาย พระผู้มีพระภาคทรงปรารถนาจะเสด็จจาริกทักขิณาคิรีชนบท  ท่านผู้ใดมีความประสงค์ ท่านผู้นั้นจงมา. 
น ภิกฺขเว อูนปนฺนรสวสฺโส ทารโก ปพฺพาเชตพฺโพ.  โย ปพฺพาเชยฺย อาปตฺติ ทุกฺกฏสฺสาติ.     
bhikkhū evam āhaṃsu: bhagavatā āvuso Ānanda paññattaṃ dasa vassāni nissāya vatthuṃ, dasavassena nissayaṃ dātuṃ.  tattha ca no gantabbaṃ bhavissati, nissayo ca gahetabbo bhavissati, ittaro ca vāso bhavissati, puna ca paccāgantabbaṃ bhavissati, puna ca nissayo gahetabbo bhavissati.  sace amhākaṃ ācariyupajjhāyā gamissanti, mayam pi gamissāma, no ce amhākaṃ ācariyupajjhāyā gamissanti, mayam pi na gamissāma.  lahucittakatā no āvuso Ānanda paññāyissatīti. |3| 
  The Bhikkhus replied: 'Friend Ânanda, the Blessed One has prescribed that Bhikkhus are to live (the first) ten years in dependence (on their âkariyas and upagghâyas), and that he who has completed his tenth year, may give a nissaya himself.  Now if we go there, we shall be obliged to take a nissaya there; then we shall stay there for a short time, then we must go back again and take a new nissaya.  If our âkariyas and upagghâyas go, we will go also; if our âkariyas and upagghâyas do not go, we will not go either. 
ภิกษุทั้งหลายกล่าวอย่างนี้ว่า อาวุโส อานนท์ พระผู้มีพระภาคทรงบัญญัติให้ภิกษุถือนิสสัยอยู่ตลอด ๑๐ พรรษา  และให้ภิกษุมีพรรษาได้ ๑๐ ให้นิสสัย พวกผมจักต้องไปในทักขิณาคิรีนั้น จักต้องถือนิสสัยด้วย จักพักอยู่เพียงเล็กน้อยก็ต้องกลับมาอีก และจักต้องกลับถือนิสสัยอีก  ถ้าพระอาจารย์ พระอุปัชฌาย์ ของพวกผมไป แม้พวกผมก็จักไป หากท่านไม่ไป แม้พวกผมก็จักไม่ไป  อาวุโส อานนท์ ความที่พวกผมมีใจเบาจักปรากฏ. 
เตน โข ปน สมเยน อายสฺมโต อานนฺทสฺส อุปฏฺฐากกุลํ สทฺธํ ปสนฺนํ อหิวาตกโรเคน กาลงฺกตํ โหติ ทฺเว จ ทารกา เสสา โหนฺติ. เต โปราณเกน อาจิณฺณกปฺเปน ภิกฺขู ปสฺสิตฺวา อุปธาวนฺติ. ภิกฺขู อปสาเทนฺติ.  เต ภิกฺขูหิ อปสาทิยมานา โรทนฺติ.  อถ โข อายสฺมโต อานนฺทสฺส เอตทโหสิ  “ภควตา ปญฺญตฺตํ ‘น อูนปนฺนรสวสฺโส ทารโก ปพฺพาเชตพฺโพ’ติ. อิเม จ ทารกา อูนปนฺนรสวสฺสา. 
atha kho bhagavā ogaṇena bhikkhusaṃghena Dakkhiṇāgiriṃ cārikaṃ pakkāmi.  atha kho bhagavā Dakkhiṇāgirismiṃ yathābhirantaṃ viharitvā punad eva Rājagahaṃ paccāgacchi.  atha kho bhagavā āyasmantaṃ Ānandaṃ āmantesi: kiṃ nu kho Ānanda tathāgato ogaṇena bhikkhusaṃghena Dakkhiṇāgiriṃ cārikaṃ pakkanto ’ti.  atha kho āyasmā Ānando bhagavato etam atthaṃ ārocesi.  atha kho bhagavā etasmiṃ nidāne etasmiṃ pakaraṇe dhammiṃ kathaṃ katvā bhikkhū āmantesi: anujānāmi bhikkhave vyattena bhikkhunā paṭibalena pañca vassāni nissāya vatthuṃ, avyattena yāvajīvaṃ. |4| 
Otherwise our light-mindedness, friend Ânanda, will become manifest.'  Thus the Blessed One went forth to Dakkhinâgiri fonowed only by a few Bhikkhus.  And the Blessed One, after having dwelt at Dakkhinâgiri as long as he thought fit, went back to Râgagaha again.  Then the Blessed One said to the venerable Ânanda: 'How is it, Ânanda, that the perfect One has gone forth to Dakkhinâgiri with so few Bhikkhus?'  Then the venerable Ânanda told the thing to the Blessed One. 
ครั้งนั้น พระผู้มีพระภาคเสด็จจาริกทักขิณาคิรีชนบท กับภิกษุสงฆ์มีจำนวนน้อย.  ครั้นพระองค์เสด็จอยู่ ณ ทักขิณาคิรีชนบทตามพระพุทธาภิรมย์ แล้วเสด็จกลับมาสู่พระนครราชคฤห์อีกตามเดิม  และพระองค์ตรัสเรียกท่านพระอานนท์มาสอบถามว่า ดูกรอานนท์ ตถาคตจาริกทักขิณาคิรีชนบท กับภิกษุสงฆ์มีจำนวนน้อย เพราะเหตุไร?  จึงท่านพระอานนท์กราบทูลความเรื่องนั้นให้พระผู้มีพระภาคทรงทราบ  (พระพุทธานุญาตให้ถือนิสสัย) ลำดับนั้น พระผู้มีพระภาคทรงทำธรรมีกถา ในเพราะเหตุเป็นเค้ามูลนั้น ในเพราะเหตุแรกเกิดนั้น แล้วตรัสเรียกภิกษุทั้งหลายมารับสั่งว่า ดูกรภิกษุทั้งหลาย เราอนุญาตให้ภิกษุผู้ฉลาด ผู้สามารถ ถือนิสสัยอยู่ ๕ พรรษา และให้ภิกษุผู้ไม่ฉลาด ถือนิสสัยอยู่ตลอดชีวิต. 
เกน นุ โข อุปาเยน อิเม ทารกา น วินสฺเสยฺยุ”นฺติ?  อถ โข อายสฺมา อานนฺโท ภควโต เอตมตฺถํ อาโรเจสิ.  อุสฺสหนฺติ ปน เต อานนฺท ทารกา กาเก อุฑฺฑาเปตุนฺติ?  อุสฺสหนฺติ ภควาติ.  อถ โข ภควา เอตสฺมึ นิทาเน เอตสฺมึ ปกรเณ ธมฺมึ กถํ กตฺวา ภิกฺขู อามนฺเตสิ 
pañcahi bhikkhave aṅgehi samannāgatena bhikkhunā na anissitena vatthabbaṃ: na asekhena sīlakkhandhena samannāgato hoti . . . (= I.36,2) . . . imehi kho bhikkhave pañcah’ aṅgehi samannāgatena bhikkhunā na anissitena vatthabbaṃ.  pañcahi bhikkhave aṅgehi samannāgatena bhikkhunā anissitena vatthabbaṃ: asekhena . . . (= I.36,3) . . . imehi kho bhikkhave pañcah’ aṅgehi samannāgatena bhikkhunā anissitena vatthabbaṃ. |5| 
In consequence of that and on this occasion the Blessed One, after having delivered a religious discourse, thus addressed the Bhikkhus: 'I prescribe, O Bhikkhus, that a learned, competent Bhikkhu lives five years in dependence (on his âkariya and upagghâya), an unlearned one all his life.  'In five cases, O Bhikkhus, a Bhikkhu should not live without a nissaya (i.e. independent of âkariya and upagghâya): when he does not possess full perfection in what belongs to moral practices (&c., as in chap. 36. 2). In these five cases, O Bhikkhus, a Bhikkhu should not live without a nissaya. 
องค์ ๕ แห่งภิกษุผู้ต้องถือนิสสัย [๑๑๖] ดูกรภิกษุทั้งหลาย ภิกษุผู้ประกอบด้วยองค์ ๕ จะไม่ถือนิสสัยอยู่ไม่ได้ คือ ๑. ไม่ประกอบด้วยกองศีล อันเป็นของพระอเสขะ ๒. ไม่ประกอบด้วยกองสมาธิ อันเป็นของพระอเสขะ ๓. ไม่ประกอบด้วยกองปัญญา อันเป็นของพระอเสขะ ๔. ไม่ประกอบด้วยกองวิมุติ อันเป็นของพระอเสขะ และ ๕. ไม่ประกอบด้วยกองวิมุตติญาณทัสสนะ อันเป็นของพระอเสขะ ดูกรภิกษุทั้งหลาย ภิกษุผู้ประกอบด้วยองค์ ๕ นี้แล จะไม่ถือนิสสัยอยู่ไม่ได้.  องค์ ๕ แห่งภิกษุผู้ไม่ต้องถือนิสสัย // ดูกรภิกษุทั้งหลาย ภิกษุผู้ประกอบด้วยองค์ ๕ ไม่ต้องถือนิสสัยอยู่ คือ ๑. ประกอบด้วยกองศีล อันเป็นของพระอเสขะ ๒. ประกอบด้วยกองสมาธิ อันเป็นของพระอเสขะ ๓. ประกอบด้วยกองปัญญา อันเป็นของพระอเสขะ ๔. ประกอบด้วยกองวิมุตติ อันเป็นของพระอเสขะ และ ๕. ประกอบด้วยกองวิมุตติญาณทัสสนะ อันเป็นของพระอเสขะ ดูกรภิกษุทั้งหลาย ภิกษุผู้ประกอบด้วยองค์ ๕ นี้แล ไม่ต้องถือนิสสัยอยู่. 
“อนุชานามิ ภิกฺขเว อูนปนฺนรสวสฺสํ ทารกํ กากุฑฺเฑปกํ ปพฺพาเชตุ”นฺติ. (อหิวาตกโรควตฺถุ นิฏฺฐิตํ.)   
aparehi pi bhikkhave pañcah’ aṅgehi samannāgatena bhikkhunā na anissitena vatthabbaṃ: assaddho hoti . . . (= I.36,6) . . .  imehi kho bhikkhave pañcah’ aṅgehi samannāgatena bhikkhunā na anissitena vatthabbaṃ.  pañcahi bhikkhave aṅgehi samannāgatena {bhikkhunā} anissitena vatthabbaṃ: saddho (81) hoti . . . (= I.36,7) . . .  imehi kho bhikkhave pañcah’ aṅgehi samannāgatena bhikkhunā anissitena vatthabbaṃ. |6| 
'In five cases, O Bhikkhus, a Bhikkhu may live without a nissaya: when he possesses full perfection in what belongs to moral practices (&c., as in chap. 36. 3). In these five cases, O Bhikkhus, a Bhikkhu may live without a nissaya.  'And also in other five cases, &c.1'     
องค์ ๕ แห่งภิกษุผู้ต้องถือนิสสัย // ดูกรภิกษุทั้งหลาย ภิกษุผู้ประกอบด้วยองค์ ๕ แม้อื่นอีก จะไม่ถือนิสสัยอยู่ไม่ได้ คือ ๑. เป็นผู้ไม่มีศรัทธา ๒. เป็นผู้ไม่มีหิริ ๓. เป็นผู้ไม่มีโอตตัปปะ ๔. เป็นผู้เกียจคร้าน และ ๕. เป็นผู้มีสติฟั่นเฟือน  ดูกรภิกษุทั้งหลาย ภิกษุผู้ประกอบด้วยองค์ ๕ นี้แล จะไม่ถือนิสสัยอยู่ไม่ได้.  องค์ ๕ แห่งภิกษุผู้ไม่ต้องถือนิสสัย // ดูกรภิกษุทั้งหลาย ภิกษุผู้ประกอบด้วยองค์ ๕ ไม่ต้องถือนิสสัยอยู่ คือ ๑. เป็นผู้มีศรัทธา ๒. เป็นผู้มีหิริ ๓. เป็นผู้มีโอตตัปปะ ๔. เป็นผู้ปรารภความเพียร และ ๕. เป็นผู้มีสติตั้งมั่น  ดูกรภิกษุทั้งหลาย ภิกษุผู้ประกอบด้วยองค์ ๕ นี้แล ไม่ต้องถือนิสสัยอยู่. 
  (๓๘. กณฺฏกวตฺถุ) ๑๐๑. เตน โข ปน สมเยน อายสฺมโต อุปนนฺทสฺส สกฺยปุตฺตสฺส ทฺเว สามเณรา โหนฺติ กณฺฏโก จ มหโก จ. เต อญฺญมญฺญํ ทูเสสุํ.  ภิกฺขู อุชฺฌายนฺติ ขิยฺยนฺติ วิปาเจนฺติ  “กถญฺหิ นาม สามเณรา เอวรูปํ อนาจารํ อาจริสฺสนฺตี”ติ. 
aparehi pi . . . na anissitena vatthabbaṃ: adhisīle . . . (= I.36,8) . . . imehi kho . . . na anissitena vatthabbaṃ.  pañcahi . . . anissitena vatthabbaṃ: na adhisīle . . . (= I.36,9) . . . imehi kho . . . anissitena vatthabbaṃ. |7| 
   
องค์ ๕ แห่งภิกษุผู้ต้องถือนิสสัย // ดูกรภิกษุทั้งหลาย ภิกษุผู้ประกอบด้วยองค์ ๕ แม้อื่นอีก จะไม่ถือนิสสัยอยู่ไม่ได้ คือ ๑. เป็นผู้วิบัติด้วยศีล ในอธิศีล ๒. เป็นผู้วิบัติด้วยอาจาระ ในอัธยาจาร ๓. เป็นผู้วิบัติด้วยทิฏฐิ ในทิฏฐิยิ่ง ๔. เป็นผู้ได้ยินได้ฟังน้อย และ ๕. เป็นผู้มีปัญญาทราม ดูกรภิกษุทั้งหลาย ภิกษุผู้ประกอบด้วยองค์ ๕ นี้แล จะไม่ถือนิสสัยอยู่ไม่ได้.  องค์ ๕ แห่งภิกษุผู้ไม่ต้องถือนิสสัย // ดูกรภิกษุทั้งหลาย ภิกษุผู้ประกอบด้วยองค์ ๕ ไม่ต้องถือนิสสัยอยู่ คือ ๑. เป็นผู้ไม่วิบัติด้วยศีล ในอธิศีล ๒. เป็นผู้ไม่วิบัติด้วยอาจาระ ในอัธยาจาร ๓. เป็นผู้ไม่วิบัติด้วยทิฏฐิ ในทิฏฐิยิ่ง ๔. เป็นผู้ได้ยินได้ฟังมาก และ ๕. เป็นผู้มีปัญญา ดูกรภิกษุทั้งหลาย ภิกษุผู้ประกอบด้วยองค์ ๕ นี้แล ไม่ต้องถือนิสสัยอยู่. 
ภควโต เอตมตฺถํ อาโรเจสุํ.  น ภิกฺขเว เอเกน ทฺเว สามเณรา อุปฏฺฐาเปตพฺพา. 
aparehi pi . . . na anissitena vatthabbaṃ: āpattiṃ . . . (= I.36,14) . . . imehi kho . . . na anissitena vatthabbaṃ.  pañcahi . . . anissitena vatthabbaṃ: āpattiṃ . . . (= I.36,15) . . . imehi kho . . . anissitena vatthabbaṃ. |8| 
   
องค์ ๕ แห่งภิกษุผู้ต้องถือนิสสัย // ดูกรภิกษุทั้งหลาย ภิกษุผู้ประกอบด้วยองค์ ๕ แม้อื่นอีก จะไม่ถือนิสสัยอยู่ไม่ได้ คือ ๑. ไม่รู้จักอาบัติ ๒. ไม่รู้จักอนาบัติ ๓. ไม่รู้จักอาบัติเบา ๔. ไม่รู้จักอาบัติหนัก และ ๕. เธอจำปาติโมกข์ทั้งสองไม่ได้ดีโดยพิสดาร จำแนกไม่ได้ด้วยดี ไม่คล่องแคล่วดี วินิจฉัยไม่เรียบร้อย โดยสุตตะ โดยอนุพยัญชนะ ดูกรภิกษุทั้งหลาย ภิกษุผู้ประกอบด้วยองค์ ๕ นี้แล จะไม่ถือนิสสัยอยู่ไม่ได้.  องค์ ๕ แห่งภิกษุผู้ไม่ต้องถือนิสสัย // ดูกรภิกษุทั้งหลาย ภิกษุผู้ประกอบด้วยองค์ ๕ ไม่ต้องถือนิสสัยอยู่ คือ ๑. รู้จักอาบัติ ๒. รู้จักอนาบัติ ๓. รู้จักอาบัติเบา ๔. รู้จักอาบัติหนัก และ ๕. เธอจำปาติโมกข์ทั้งสองได้ดีโดยพิสดาร จำแนกดี คล่องแคล่วดี วินิจฉัยเรียบร้อย โดยสุตตะ โดยอนุพยัญชนะ ดูกรภิกษุทั้งหลาย ภิกษุผู้ประกอบด้วยองค์ ๕ นี้แล ไม่ต้องถือนิสสัยอยู่. 
โย อุปฏฺฐาเปยฺย อาปตฺติ ทุกฺกฏสฺสาติ. (กณฺฏกวตฺถุ นิฏฺฐิตํ.)   
aparehi pi . . . na anissitena vatthabbaṃ: āpattiṃ . . . (= I.36,16) . . . ūnapañcavasso hoti. imehi kho . . . na anissitena vatthabbaṃ. pañcahi . . . anissitena vatthabbaṃ: āpattiṃ . . . (= I.36,17) . . . pañcavasso vā hoti atirekapañcavasso vā.  imehi kho . . . anissitena vatthabbaṃ. |9| 
   
องค์ ๕ แห่งภิกษุผู้ต้องถือนิสสัย // ดูกรภิกษุทั้งหลาย ภิกษุผู้ประกอบด้วยองค์ ๕ แม้อื่นอีก จะไม่ถือนิสสัยอยู่ไม่ได้ คือ ๑. ไม่รู้จักอาบัติ ๒. ไม่รู้จักอนาบัติ ๓. ไม่รู้จักอาบัติเบา ๔. ไม่รู้จักอาบัติหนัก และ ๕. มีพรรษาหย่อน ๕ ดูกรภิกษุทั้งหลาย ภิกษุผู้ประกอบด้วยองค์ ๕ นี้แล จะไม่ถือนิสสัยอยู่ไม่ได้.  องค์ ๕ แห่งภิกษุผู้ไม่ต้องถือนิสสัย // ดูกรภิกษุทั้งหลาย ภิกษุผู้ประกอบด้วยองค์ ๕ ไม่ต้องถือนิสสัยอยู่ คือ ๑. รู้จักอาบัติ ๒. รู้จักอนาบัติ ๓. รู้จักอาบัติเบา ๔. รู้จักอาบัติหนัก และ ๕. มีพรรษาได้ ๕ หรือมีพรรษาเกิน ๕ ดูกรภิกษุทั้งหลาย ภิกษุผู้ประกอบด้วยองค์ ๕ นี้แล ไม่ต้องถือนิสสัยอยู่. 
  (๓๙. อาหุนฺทริกวตฺถุ) ๑๐๒. เตน โข ปน สมเยน ภควา ตตฺเถว ราชคเห วสฺสํ วสิ ตตฺถ เหมนฺตํ ตตฺถ คิมฺหํ. 
chahi . . . na anissitena vatthabbaṃ: na asekhena . . . (= I.37,1) . . . ūnapañcavasso hoti.  imehi kho bhikkhave chah’ aṅgehi samannāgatena bhikkhunā na anissitena vatthabbaṃ.  chahi . . . anissitena vatthabbaṃ: asekhena . . . (= I.37,2) . . . pañcavasso vā hoti atirekapañcavasso vā.  imehi kho . . . anissitena vatthabbaṃ. |10| 
       
องค์ ๖ แห่งภิกษุผู้ต้องถือนิสสัย // [๑๑๗] ดูกรภิกษุทั้งหลาย ภิกษุผู้ประกอบด้วยองค์ ๖ จะไม่ถือนิสสัยอยู่ไม่ได้ คือ ๑. ไม่ประกอบด้วยกองศีล อันเป็นของพระอเสขะ ๒. ไม่ประกอบด้วยกองสมาธิ อันเป็นของพระอเสขะ ๓. ไม่ประกอบด้วยกองปัญญา อันเป็นของพระอเสขะ ๔. ไม่ประกอบด้วยกองวิมุติ อันเป็นของพระอเสขะ ๕. ไม่ประกอบด้วยกองวิมุตติญาณทัสสนะ อันเป็นของพระอเสขะ และ ๖. มีพรรษาหย่อน ๕  ดูกรภิกษุทั้งหลาย ภิกษุผู้ประกอบด้วยองค์ ๖ นี้แล จะไม่ถือนิสสัยอยู่ไม่ได้.  องค์ ๖ แห่งภิกษุผู้ไม่ต้องถือนิสสัย // ดูกรภิกษุทั้งหลาย ภิกษุผู้ประกอบด้วยองค์ ๖ ไม่ต้องถือนิสสัยอยู่ คือ ๑. ประกอบด้วยกองศีล อันเป็นของพระอเสขะ ๒. ประกอบด้วยกองสมาธิ อันเป็นของพระอเสขะ ๓. ประกอบด้วยกองปัญญา อันเป็นของพระอเสขะ ๔. ประกอบด้วยกองวิมุติ อันเป็นของพระอเสขะ ๕. ประกอบด้วยกองวิมุตติญาณทัสสนะ อันเป็นของพระอเสขะ และ ๖. มีพรรษาได้ ๕ หรือมีพรรษาเกิน ๕  ดูกรภิกษุทั้งหลาย ภิกษุผู้ประกอบด้วยองค์ ๖ นี้แล ไม่ต้องถือนิสสัยอยู่. 
มนุสฺสา อุชฺฌายนฺติ ขิยฺยนฺติ วิปาเจนฺติ  “อาหุนฺทริกา สมณานํ สกฺยปุตฺติยานํ ทิสา อนฺธการา น อิเมสํ ทิสา ปกฺขายนฺตี”ติ.  อสฺโสสุํ โข ภิกฺขู เตสํ มนุสฺสานํ อุชฺฌายนฺตานํ ขิยฺยนฺตานํ วิปาเจนฺตานํ.  อถ โข เต ภิกฺขู ภควโต เอตมตฺถํ อาโรเจสุํ. 
aparehi pi bhikkhave chah’ aṅgehi . . . na anissitena vatthabbaṃ: assaddho . . . (= I.37,5) . . . ūnapañcavasso hoti.  imehi kho . . . na anissitena vatthabbaṃ.  chahi . . . anissitena vatthabbaṃ: saddho . . . (= I.37,6) . . . pañcavasso vā hoti atirekapañcavasso vā.  imehi kho . . . anissitena vatthabbaṃ. |11| 
       
องค์ ๖ แห่งภิกษุผู้ต้องถือนิสสัย // ดูกรภิกษุทั้งหลาย ภิกษุผู้ประกอบด้วยองค์ ๖ แม้อื่นอีก จะไม่ถือนิสสัยอยู่ไม่ได้ คือ ๑. เป็นผู้ไม่มีศรัทธา ๒. เป็นผู้ไม่มีหิริ ๓. เป็นผู้ไม่มีโอตตัปปะ ๔. เป็นผู้เกียจคร้าน ๕. เป็นผู้มีสติฟั่นเฟือน และ ๖. มีพรรษาหย่อน ๕  ดูกรภิกษุทั้งหลาย ภิกษุผู้ประกอบด้วยองค์ ๖ นี้แล จะไม่ถือนิสสัยอยู่ไม่ได้.  องค์ ๖ แห่งภิกษุผู้ไม่ต้องถือนิสสัย // ดูกรภิกษุทั้งหลาย ภิกษุผู้ประกอบด้วยองค์ ๖ ไม่ต้องถือนิสสัยอยู่ คือ ๑. เป็นผู้มีศรัทธา ๒. เป็นผู้มีหิริ ๓. เป็นผู้มีโอตตัปปะ ๔. เป็นผู้ปรารภความเพียร ๕. เป็นผู้มีสติตั้งมั่น และ ๖. มีพรรษาได้ ๕ หรือมีพรรษาเกิน ๕  ดูกรภิกษุทั้งหลาย ภิกษุผู้ประกอบด้วยองค์ ๖ นี้แล ไม่ต้องถือนิสสัยอยู่. 
อถ โข ภควา อายสฺมนฺตํ อานนฺทํ อามนฺเตสิ “คจฺฉานนฺท อวาปุรณํ อาทาย อนุปริเวณิยํ ภิกฺขูนํ อาโรเจหิ “อิจฺฉตาวุโส ภควา ทกฺขิณาคิรึ จาริกํ ปกฺกมิตุํ.  ยสฺสายสฺมโต อตฺโถ โส อาคจฺฉตู”ติ.  เอวํ ภนฺเต ติ โข อายสฺมา อานนฺโท ภควโต ปฏิสฺสุณิตฺวา อวาปุรณํ อาทาย อนุปริเวณิยํ ภิกฺขูนํ อาโรเจสิ ‘อิจฺฉตาวุโส ภควา ทกฺขิณาคิรึ จาริกํ ปกฺกมิตุํ.  ยสฺสายสฺมโต อตฺโถ โส อาคจฺฉตู”’ติ. 
aparehi pi . . . na anissitena vatthabbaṃ: adhisīle . . . (= I.37,7) . . . ūnapañcavasso hoti.  imehi kho . . . na anissitena vatthabbaṃ.  chahi . . . anissitena vatthabbaṃ: na adhisīle . . . (= I.37,8) . . . pañcavasso vā hoti atirekapañcavasso vā.  imehi kho . . . anissitena vatthabbaṃ. |12| 
       
องค์ ๖ แห่งภิกษุผู้ต้องถือนิสสัย // ดูกรภิกษุทั้งหลาย ภิกษุผู้ประกอบด้วยองค์ ๖ แม้อื่นอีก จะไม่ถือนิสสัยอยู่ไม่ได้ คือ ๑. เป็นผู้วิบัติด้วยศีล ในอธิศีล ๒. เป็นผู้วิบัติด้วยอาจาระ ในอัธยาจาร ๓. เป็นผู้วิบัติด้วยทิฏฐิ ในทิฏฐิยิ่ง ๔. เป็นผู้ได้ยินได้ฟังน้อย ๕. เป็นผู้มีปัญญาทราม และ ๖. มีพรรษาหย่อน ๕  ดูกรภิกษุทั้งหลาย ภิกษุผู้ประกอบด้วยองค์ ๖ นี้แล จะไม่ถือนิสสัยอยู่ไม่ได้.  องค์ ๖ แห่งภิกษุผู้ไม่ต้องถือนิสสัย // ดูกรภิกษุทั้งหลาย ภิกษุผู้ประกอบด้วยองค์ ๖ ไม่ต้องถือนิสสัยอยู่ คือ ๑. เป็นผู้ไปไม่วิบัติด้วยศีล ในอธิศีล ๒. เป็นผู้ไม่วิบัติด้วยอาจาระ ในอัธยาจาร ๓. เป็นผู้ไม่วิบัติด้วยทิฏฐิ ในทิฏฐิยิ่ง ๔. เป็นผู้ได้ยินได้ฟังมาก ๕. เป็นผู้มีปัญญา และ ๖. มีพรรษาได้ ๕ หรือมีพรรษาเกิน ๕  ดูกรภิกษุทั้งหลาย ภิกษุผู้ประกอบด้วยองค์ ๖ นี้แล ไม่ต้องถือนิสสัยอยู่. 
ภิกฺขู เอวมาหํสุ “ภควตา อาวุโส อานนฺท ปญฺญตฺตํ ทสวสฺสานิ นิสฺสาย วตฺถุํ ทสวสฺเสน นิสฺสยํ ทาตุํ.  ตตฺถ จ โน คนฺตพฺพํ ภวิสฺสติ นิสฺสโย จ คเหตพฺโพ ภวิสฺสติ อิตฺตโร จ วาโส ภวิสฺสติ ปุน จ ปจฺจาคนฺตพฺพํ ภวิสฺสติ ปุน จ นิสฺสโย คเหตพฺโพ ภวิสฺสติ.  สเจ อมฺหากํ อาจริยุปชฺฌายา คมิสฺสนฺติ มยมฺปิ คมิสฺสาม โน เจ อมฺหากํ อาจริยุปชฺฌายา คมิสฺสนฺติ มยมฺปิ น คมิสฺสาม.  ลหุจิตฺตกตา โน อาวุโส อานนฺท ปญฺญายิสฺสตี”ติ. 
aparehi pi . . . na anissitena vatthabbaṃ: āpattiṃ . . . (= I.37,13) . . . ūnapañcavasso hoti.  imehi kho . . . na anissitena vatthabbaṃ.  chahi . . . anissitena vatthabbaṃ: āpattiṃ . . . (= I.37,14) . . . pañcavasso vā hoti atirekapañcavasso vā.  imehi kho . . . anissitena vatthabban ti. |13| 
       
องค์ ๖ แห่งภิกษุผู้ต้องถือนิสสัย // ดูกรภิกษุทั้งหลาย ภิกษุผู้ประกอบด้วยองค์ ๖ แม้อื่นอีก จะไม่ถือนิสสัยอยู่ไม่ได้ คือ ๑. ไม่รู้จักอาบัติ ๒. ไม่รู้จักอนาบัติ ๓. ไม่รู้จักอาบัติเบา ๔. ไม่รู้จักอาบัติหนัก ๕. เธอจำปาติโมกข์ทั้งสองไม่ได้ดีโดยพิสดาร จำแนกไม่ได้ด้วยดี ไม่คล่องแคล่วดี วินิจฉัยไม่เรียบร้อยโดยสุตตะ โดยอนุพยัญชนะ และ ๖. มีพรรษาหย่อน ๕  ดูกรภิกษุทั้งหลาย ภิกษุผู้ประกอบด้วยองค์ ๖ นี้แล จะไม่ถือนิสสัยอยู่ไม่ได้.  องค์ ๖ แห่งภิกษุผู้ไม่ต้องถือนิสสัย // ดูกรภิกษุทั้งหลาย ภิกษุผู้ประกอบด้วยองค์ ๖ ไม่ต้องถือนิสสัยอยู่ คือ ๑. รู้จักอาบัติ ๒. รู้จักอนาบัติ ๓. รู้จักอาบัติเบา ๔. รู้จักอาบัติหนัก ๕. เธอจำปาติโมกข์ทั้งสองได้ดีโดยพิสดาร จำแนกดี คล่องแคล่วดี วินิจฉัยเรียบร้อยโดยสุตตะ โดยอนุพยัญชนะ และ ๖. มีพรรษาได้ ๕ หรือมีพรรษาเกิน ๕  ดูกรภิกษุทั้งหลาย ภิกษุผู้ประกอบด้วยองค์ ๖ นี้แล ไม่ต้องถือนิสสัยอยู่. 
อถ โข ภควา โอคเณน ภิกฺขุสงฺเฆน ทกฺขิณาคิรึ จาริกํ ปกฺกามิ. อาหุนฺทริกวตฺถุ นิฏฺฐิตํ.  (๔๐. นิสฺสยมุจฺจนกกถา) ๑๐๓. อถ โข ภควา ทกฺขิณาคิริสฺมึ ยถาภิรนฺตํ วิหริตฺวา ปุนเทว ราชคหํ ปจฺจาคจฺฉิ.  อถ โข ภควา อายสฺมนฺตํ อานนฺทํ อามนฺเตสิ “กึ นุ โข อานนฺท ตถาคโต โอคเณน ภิกฺขุสงฺเฆน ทกฺขิณาคิรึ จาริกํ ปกฺกนฺโต”ติ?  อถ โข อายสฺมา อานนฺโท ภควโต เอตมตฺถํ อาโรเจสิ. 
||53|| 
 
เรื่องถือนิสสัย จบ 
อถ โข ภควา เอตสฺมึ นิทาเน เอตสฺมึ ปกรเณ ธมฺมึ กถํ กตฺวา ภิกฺขู อามนฺเตสิ “อนุชานามิ ภิกฺขเว พฺยตฺเตน ภิกฺขุนา ปฏิพเลน ปญฺจวสฺสานิ นิสฺสาย วตฺถุํ อพฺยตฺเตน ยาวชีวํ. 
abhayūvarabhāṇavāraṃ niṭṭhitaṃ. 
อภยูวรภาณวาร จบ. 
“ปญฺจหิ ภิกฺขเว องฺเคหิ สมนฺนาคเตน ภิกฺขุนา น อนิสฺสิเตน วตฺถพฺพํ. น อเสกฺเขน สีลกฺขนฺเธน สมนฺนาคโต โหติ น อเสกฺเขน สมาธิกฺขนฺเธน น อเสกฺเขน ปญฺญากฺขนฺเธน น อเสกฺเขน วิมุตฺติกฺขนฺเธน น อเสกฺเขน วิมุตฺติญาณทสฺสนกฺขนฺเธน สมนฺนาคโต โหติ อิเมหิ โข ภิกฺขเว ปญฺจหงฺเคหิ สมนฺนาคเตน ภิกฺขุนา น อนิสฺสิเตน วตฺถพฺพํ. 
(82) atha kho bhagavā Rājagahe yathābhirantaṃ viharitvā yena Kapilavatthu tena cārikaṃ pakkāmi.  anupubbena cārikaṃ caramāno yena Kapilavatthu tad avasari.  tatra sudaṃ bhagavā Sakkesu viharati Kapilavatthusmiṃ Nigrodhārāme.  atha kho bhagavā pubbaṇhasamayaṃ nivāsetvā pattacīvaraṃ ādāya yena Suddhodanassa Sakkassa nivesanaṃ ten’ upasaṃkami, upasaṃkamitvā paññatte āsane nisīdi.  atha kho Rāhulamātā devī Rāhulakumāraṃ etad avoca: eso te Rāhula pitā, gacchassu dāyajjaṃ yācāhīti. |1| 
End of the eighth Bhânavâra, which is called the Abhayûvara Bhânavâra.  Then the Blessed One, after having resided at Râgagaha as long as he thought fit, went forth to Kapilavatthu.  Wandering from place to place he came to Kapilavatthu.  There the Blessed One dwelt in the Sakka country, near Kapilavatthu, in the Nigrodhârâma (Banyan Grove).  And in the forenoon the Blessed One, having put on his under-robes, took his alms-bowl and with his kîvara on went to the residence of the Sakka Suddhodana (his father). Having gone there, he sat down on a seat laid out for him. 
ทายัชชภาณวาร (พระราหุลกุมารทรงผนวชเป็นสามเณร) [๑๑๘] ครั้งนั้น พระผู้มีพระภาคประทับอยู่ในพระนครราชคฤห์ ตามพระพุทธาภิรมย์แล้ว เสด็จจาริกไปทางพระนครกบิลพัสดุ์  เสด็จเที่ยวจาริกโดยลำดับถึงพระนครกบิลพัสดุ์ แล้ว.  ทราบว่า พระองค์ประทับอยู่ ณ นิโครธาราม เขตพระนครกบิลพัสดุ์ สักกชนบทนั้น.  ครั้นเวลาเช้า พระผู้มีพระภาคทรงอันตรวาสกแล้ว ทรงถือบาตรจีวร เสด็จพระพุทธดำเนินไปสู่พระราชนิเวศน์ของพระเจ้าสุทโธทนศากยะ ครั้นแล้วประทับนั่งเหนือพระพุทธอาสน์ที่เขาปูลาดถวาย.  ครั้งนั้นพระเทวีราหุลมารดา ได้มีพระเสาวนีแก่ราหุลกุมารว่า ดูกรราหุล พระสมณะนั้นเป็นบิดาของเจ้า เจ้าจงไปทูลขอทรัพย์มรดกต่อพระองค์ 
“ปญฺจหิ ภิกฺขเว องฺเคหิ สมนฺนาคเตน ภิกฺขุนา อนิสฺสิเตน วตฺถพฺพํ. อเสกฺเขน สีลกฺขนฺเธน สมนฺนาคโต โหติ อเสกฺเขน สมาธิกฺขนฺเธน. อเสกฺเขน ปญฺญากฺขนฺเธน… อเสกฺเขน วิมุตฺติกฺขนฺเธน… อเสกฺเขน วิมุตฺติญาณทสฺสนกฺขนฺเธน สมนฺนาคโต โหติ อิเมหิ โข ภิกฺขเว ปญฺจหงฺเคหิ สมนฺนาคเตน ภิกฺขุนา อนิสฺสิเตน วตฺถพฺพํ.  “อปเรหิปิ ภิกฺขเว ปญฺจหงฺเคหิ สมนฺนาคเตน ภิกฺขุนา น อนิสฺสิเตน วตฺถพฺพํ. อสฺสทฺโธ โหติ อหิริโก โหติ อโนตฺตปฺปี โหติ กุสีโต โหติ มุฏฺฐสฺสติ โหติ  อิเมหิ โข ภิกฺขเว ปญฺจหงฺเคหิ สมนฺนาคเตน ภิกฺขุนา น อนิสฺสิเตน วตฺถพฺพํ.  “ปญฺจหิ ภิกฺขเว องฺเคหิ สมนฺนาคเตน ภิกฺขุนา อนิสฺสิเตน วตฺถพฺพํ. สทฺโธ โหติ หิริมา โหติ โอตฺตปฺปี โหติ อารทฺธวีริโย โหติ อุปฏฺฐิตสฺสติ โหติ  อิเมหิ โข ภิกฺขเว ปญฺจหงฺเคหิ สมนฺนาคเตน ภิกฺขุนา อนิสฺสิเตน วตฺถพฺพํ. 
atha kho Rāhulo kumāro yena bhagavā ten’ upasaṃkami, upasaṃkamitvā bhagavato purato aṭṭhāsi sukhā te samaṇa chāyā ’ti.  atha kho bhagavā uṭṭhāyāsanā pakkāmi.  atha kho Rāhulo kumāro bhagavantaṃ piṭṭhito-piṭṭhito anubandhi dāyajjaṃ me samaṇa dehi, dāyajjaṃ me samaṇa dehīti.  atha kho bhagavā āyasmantaṃ Sāriputtaṃ āmantesi: tena hi tvaṃ Sāriputta Rāhulakumāraṃ pabbājehīti.  kathāhaṃ bhante Rāhulakumāraṃ pabbājemīti. |2| 
Then the princess, who was the mother of Râhula, said to young Râhula: 'This is your father, Râhula; go and ask him for your inheritance.'  Then young Râhula went to the place where the Blessed One was; having approached him, he stationed himself before the Blessed One (and said): 'Your shadow, Samana, is a place of bliss.'  Then the Blessed One rose from his seat and went away,  and young Râhula followed the Blessed One from behind and said: 'Give me my inheritance, Samana; give me my inheritance, Samana.'  Then the Blessed One said to the venerable Sâriputta: 'Well, Sâriputta, confer the pabbaggâ. ordination on young Râhula.' 
จึงราหุลกุมารเข้าไปเฝ้าพระผู้มีพระภาค ครั้นถึงแล้วได้ประทับยืนเบื้องพระพักตร์พระผู้มีพระภาค พลางกราบทูลว่า ข้าแต่พระสมณะพระฉายาของพระองค์เป็นสุข.  ทันใดนั้น พระผู้มีพระภาคเสด็จอุฏฐาการจากพระพุทธอาสน์แล้วกลับไป  จึงราหุลกุมารได้ตามเสด็จพระผู้มีพระภาคไปเบื้องหลังๆ พลางทูลขอว่า ข้าแต่พระสมณะ ขอได้โปรดประทานทรัพย์มรดกแก่หม่อมฉัน ข้าแต่พระสมณะ ขอได้โปรดประทานทรัพย์มรดกแก่หม่อมฉัน.  ลำดับนั้น พระผู้มีพระภาคตรัสเรียกท่านพระสารีบุตรมารับสั่งว่า ดูกรสารีบุตร ถ้าเช่นนั้นเธอจงให้ราหุลกุมารบวช.  ท่านพระสารีบุตรทูลถามว่า ข้าพระพุทธเจ้าจะให้ราหุลกุมารทรงผนวชอย่างไร พระพุทธเจ้าข้า? 
“อปเรหิปิ ภิกฺขเว ปญฺจหงฺเคหิ สมนฺนาคเตน ภิกฺขุนา น อนิสฺสิเตน วตฺถพฺพํ. อธิสีเล สีลวิปนฺโน โหติ อชฺฌาจาเร อาจารวิปนฺโน โหติ อติทิฏฺฐิยา ทิฏฺฐิวิปนฺโน โหติ อปฺปสฺสุโต โหติ ทุปฺปญฺโญ โหติ อิเมหิ โข ภิกฺขเว ปญฺจหงฺเคหิ สมนฺนาคเตน ภิกฺขุนา น อนิสฺสิเตน วตฺถพฺพํ.  “ปญฺจหิ ภิกฺขเว องฺเคหิ สมนฺนาคเตน ภิกฺขุนา อนิสฺสิเตน วตฺถพฺพํ. น อธิสีเล สีลวิปนฺโน โหติ น อชฺฌาจาเร อาจารวิปนฺโน โหติ น อติทิฏฺฐิยา ทิฏฺฐิวิปนฺโน โหติ พหุสฺสุโต โหติ ปญฺญวา โหติ อิเมหิ โข ภิกฺขเว ปญฺจหงฺเคหิ สมนฺนาคเตน ภิกฺขุนา อนิสฺสิเตน วตฺถพฺพํ.  “อปเรหิปิ ภิกฺขเว ปญฺจหงฺเคหิ สมนฺนาคเตน ภิกฺขุนา น อนิสฺสิเตน วตฺถพฺพํ. อาปตฺตึ น ชานาติ อนาปตฺตึ น ชานาติ ลหุกํ อาปตฺตึ น ชานาติ ครุกํ อาปตฺตึ น ชานาติ อุภยานิ โข ปนสฺส ปาติโมกฺขานิ วิตฺถาเรน น สฺวาคตานิ โหนฺติ น สุวิภตฺตานิ น สุปฺปวตฺตีนิ น สุวินิจฺฉิตานิ สุตฺตโส อนุพฺยญฺชนโส อิเมหิ โข ภิกฺขเว ปญฺจหงฺเคหิ สมนฺนาคเตน ภิกฺขุนา น อนิสฺสิเตน วตฺถพฺพํ.  “ปญฺจหิ ภิกฺขเว องฺเคหิ สมนฺนาคเตน ภิกฺขุนา อนิสฺสิเตน วตฺถพฺพํ. อาปตฺตึ ชานาติ อนาปตฺตึ ชานาติ ลหุกํ อาปตฺตึ ชานาติ ครุกํ อาปตฺตึ ชานาติ อุภยานิ โข ปนสฺส ปาติโมกฺขานิ วิตฺถาเรน สฺวาคตานิ โหนฺติ สุวิภตฺตานิ สุปฺปวตฺตีนิ สุวินิจฺฉิตานิ สุตฺตโส อนุพฺยญฺชนโส อิเมหิ โข ภิกฺขเว ปญฺจหงฺเคหิ สมนฺนาคเตน ภิกฺขุนา อนิสฺสิเตน วตฺถพฺพํ.  “อปเรหิปิ ภิกฺขเว ปญฺจหงฺเคหิ สมนฺนาคเตน ภิกฺขุนา น อนิสฺสิเตน วตฺถพฺพํ. อาปตฺตึ น ชานาติ อนาปตฺตึ น ชานาติ ลหุกํ อาปตฺตึ น ชานาติ ครุกํ อาปตฺตึ น ชานาติ อูนปญฺจวสฺโส โหติ อิเมหิ โข ภิกฺขเว ปญฺจหงฺเคหิ สมนฺนาคเตน ภิกฺขุนา น อนิสฺสิเตน วตฺถพฺพํ. “ปญฺจหิ ภิกฺขเว องฺเคหิ สมนฺนาคเตน ภิกฺขุนา อนิสฺสิเตน วตฺถพฺพํ. อาปตฺตึ ชานาติ อนาปตฺตึ ชานาติ ลหุกํ อาปตฺตึ ชานาติ ครุกํ อาปตฺตึ ชานาติ ปญฺจวสฺโส วา โหติ อติเรก ปญฺจวสฺโส วา 
atha kho bhagavā etasmiṃ nidāne etasmiṃ pakaraṇe dhammiṃ kathaṃ katvā bhikkhū āmantesi: anujānāmi bhikkhave tīhi saraṇagamanehi sāmaṇerapabbajjaṃ.  evañ ca pana bhikkhave pabbājetabbo: paṭhamaṃ kesamassuṃ ohārāpetvā kāsāyāni vatthāni acchādāpetvā ekaṃsaṃ uttarāsaṅgaṃ kārāpetvā bhikkhūnaṃ pāde vandāpetvā ukkuṭikaṃ  nisīdāpetvā añjaliṃ paggaṇhāpetvā evaṃ vadehīti vattabbo:  buddhaṃ saraṇaṃ gacchāmi, dhammaṃ saraṇaṃ gacchāmi, saṃghaṃ saraṇaṃ gacchāmi, dutiyam pi . . . tatiyam pi buddhaṃ saraṇaṃ gacchāmi, tatiyam pi dhammaṃ saraṇaṃ gacchāmi, tatiyam pi saṃghaṃ saraṇaṃ gacchāmīti.  anujānāmi bhikkhave imehi tīhi saraṇagamanehi sāmaṇerapabbajjan ti. |3| 
(Sâriputta replied): 'How shall I confer, Lord, the pabbaggâ ordination on young Râhula?'  In consequence of that and on this occasion the Blessed One, after having delivered a religious discourse, thus addressed the Bhikkhus: 'I prescribe, O Bhikkhus, the pabbaggâ ordination of novices by the threefold declaration of taking refuge.  'And you ought, O Bhikkhus, to confer the pabbaggâ ordination (on a novice) in this way: Let him first have his hair and beard cut off; let him put on yellow robes, adjust his upper robe so as to cover one shoulder, salute the feet of the Bhikkhus (with his head),  and sit down squatting; then let him raise his joined hands and tell him to say:  "I take my refuge in the Buddha, I take my refuge in the Dhamma, I take my refuge in the Samgha. And for the second time, &c. And for the third time, &c." 
ลำดับนั้น พระผู้มีพระภาคทรงทำธรรมีกถา ในเพราะเหตุเป็นเค้ามูลนั้น ในเพราะเหตุแรกเกิดนั้น แล้วรับสั่งกะภิกษุทั้งหลายว่า ดูกรภิกษุทั้งหลาย เราอนุญาตการบวชกุลบุตรเป็นสามเณรด้วยไตรสรณคมน์.  (วิธีให้บรรพชา) ดูกรภิกษุทั้งหลาย ก็แลภิกษุพึงให้กุลบุตรบวชอย่างนี้:- ชั้นต้น พึงให้โกนผมและหนวด แล้วให้ครองผ้าย้อมฝาด ให้ห่มผ้าเฉวียงบ่า ให้กราบเท้าภิกษุทั้งหลาย  ให้นั่งกระหย่ง ให้ประคองอัญชลี แล้วสั่งว่า จงว่าอย่างนี้ แล้วสอนให้ว่าสรณคมน์ดังนี้:-  (ไตรสรณคมน์) พุทฺธํ สรณํ คจฺฉามิ ข้าพเจ้าถึงพระพุทธเจ้า เป็นที่พึ่ง ธมฺมํ สรณํ คจฺฉามิ ข้าพเจ้าถึงพระธรรม เป็นที่พึ่ง สงฺฆํ สรณํ คจฺฉามิ ข้าพเจ้าถึงพระสงฆ์ เป็นที่พึ่ง ทุติยมฺปิ พุทฺธํ สรณํ คจฺฉามิ ข้าพเจ้าถึงพระพุทธเจ้า เป็นที่พึ่ง แม้ครั้งที่ ๒ ทุติยมฺปิ ธมฺมํ สรณํ คจฺฉามิ ข้าพเจ้าถึงพระธรรม เป็นที่พึ่ง แม้ครั้งที่ ๒ ทุติยมฺปิ สงฺฆํ สรณํ คจฺฉามิ ข้าพเจ้าถึงพระสงฆ์ เป็นที่พึ่ง แม้ครั้งที่ ๒ ตติยมฺปิ พุทฺธํ สรณํ คจฺฉามิ ข้าพเจ้าถึงพระพุทธเจ้า เป็นที่พึ่ง แม้ครั้งที่ ๓ ตติยมฺปิ ธมฺมํ สรณํ คจฺฉามิ ข้าพเจ้าถึงพระธรรม เป็นที่พึ่ง แม้ครั้งที่ ๓ ตติยมฺปิ สงฺฆํ สรณํ คจฺฉามิ ข้าพเจ้าถึงพระสงฆ์ เป็นที่พึ่ง แม้ครั้งที่ ๓  ดูกรภิกษุทั้งหลาย เราอนุญาตการบวชกุลบุตรเป็นสามเณรด้วยไตรสรณคมน์นี้. 
อิเมหิ โข ภิกฺขเว ปญฺจหงฺเคหิ สมนฺนาคเตน ภิกฺขุนา อนิสฺสิเตน วตฺถพฺพํ. (นิสฺสยมุจฺจนกกถา นิฏฺฐิตา. ปญฺจกทสวาโร นิฏฺฐิโต.)  ๑๐๔. “ฉหิ ภิกฺขเว องฺเคหิ สมนฺนาคเตน ภิกฺขุนา น อนิสฺสิเตน วตฺถพฺพํ. น อเสกฺเขน สีลกฺขนฺเธน สมนฺนาคโต โหติ น อเสกฺเขน สมาธิกฺขนฺเธน น อเสกฺเขน ปญฺญากฺขนฺเธน น อเสกฺเขน วิมุตฺติกฺขนฺเธน น อเสกฺเขน วิมุตฺติญาณทสฺสนกฺขนฺเธน สมนฺนาคโต โหติ อูนปญฺจวสฺโส โหติ  อิเมหิ โข ภิกฺขเว ฉหงฺเคหิ สมนฺนาคเตน ภิกฺขุนา น อนิสฺสิเตน วตฺถพฺพํ.  “ฉหิ ภิกฺขเว องฺเคหิ สมนฺนาคเตน ภิกฺขุนา อนิสฺสิเตน วตฺถพฺพํ. อเสกฺเขน สีลกฺขนฺเธน สมนฺนาคโต โหติ อเสกฺเขน สมาธิกฺขนฺเธน อเสกฺเขน ปญฺญากฺขนฺเธน อเสกฺเขน วิมุตฺติกฺขนฺเธน อเสกฺเขน วิมุตฺติญาณทสฺสนกฺขนฺเธน สมนฺนาคโต โหติ ปญฺจวสฺโส วา โหติ อติเรกปญฺจวสฺโส วา  อิเมหิ โข ภิกฺขเว ฉหงฺเคหิ สมนฺนาคเตน ภิกฺขุนา อนิสฺสิเตน วตฺถพฺพํ. 
atha kho āyasmā Sāriputto Rāhulakumāraṃ pabbājesi.  atha kho Suddhodano Sakko yena bhagavā ten’ upasaṃkami, upasaṃkamitvā bhagavantaṃ abhivādetvā ekamantaṃ nisīdi.  ekamantaṃ nisinno kho Suddhodano Sakko bhagavantaṃ etad avoca: ekāhaṃ bhante bhagavantaṃ varaṃ yācāmīti.  atikkantavarā kho Gotama tathāgatā ’ti.  yañ ca bhante kappati yañ ca anavajjan ti.  vadehi Gotamā ’ti. |4| 
'I prescribe, O Bhikkhus, the pabbaggâ ordination of novices by this threefold declaration of taking refuge.'  Thus the venerable Sâriputta conferred the pabbaggâ ordination on young Râhula.  Then the Sakka Suddhodana went to the place where the Blessed One was; having approached him and having respectfully saluted the Blessed One, he sat down near him.  Sitting near him the Sakka Suddhodana said to the Blessed One: 'Lord, I ask one boon of the Blessed One.'  (The Buddha replied): 'The perfect Ones, Gotama, are above granting boons (before they know what they are).'  (Suddhodana said): 'Lord, it is a proper and unobjectionable demand.' 
คราวนั้น ท่านพระสารีบุตร ให้ราหุลกุมารบรรพชาแล้ว.  (พระเจ้าสุทโธทนศากยะทูลขอพระพร) ต่อมา พระเจ้าสุทโธทนศากยะเข้าไปเฝ้าพระผู้มีพระภาค ครั้นถึงแล้วถวายบังคมพระผู้มีพระภาคแล้วประทับนั่ง ณ ที่ควรส่วนข้างหนึ่ง  ครั้นท้าวเธอประทับนั่ง ณ ที่ควรส่วนข้างหนึ่งแล้ว ได้กราบทูลขอพระพรต่อพระผู้มีพระภาคว่า หม่อมฉันขอประทานพรต่อพระผู้มีพระภาคสักอย่างหนึ่ง พระพุทธเจ้าข้า.  พระผู้มีพระภาคถวายพระพรว่า ดูกรพระองค์ผู้โคตมะ ตถาคตทั้งหลาย มีพรล่วงเลยเสียแล้ว  สุท. หม่อมฉันทูลขอพรที่สมควรและไม่มีโทษ พระพุทธเจ้าข้า.  ภ. พระองค์โปรดตรัสบอกพรนั้นเถิด โคตมะ. 
“อปเรหิปิ ภิกฺขเว ฉหงฺเคหิ สมนฺนาคเตน ภิกฺขุนา น อนิสฺสิเตน วตฺถพฺพํ. อสฺสทฺโธ โหติ อหิริโก โหติ อโนตฺตปฺปี โหติ กุสีโต โหติ มุฏฺฐสฺสติ โหติ อูนปญฺจวสฺโส โหติ  อิเมหิ โข ภิกฺขเว ฉหงฺเคหิ สมนฺนาคเตน ภิกฺขุนา น อนิสฺสิเตน วตฺถพฺพํ.  “ฉหิ ภิกฺขเว องฺเคหิ สมนฺนาคเตน ภิกฺขุนา อนิสฺสิเตน วตฺถพฺพํ. สทฺโธ โหติ หิริมา โหติ โอตฺตปฺปี โหติ อารทฺธวีริโย โหติ อุปฏฺฐิตสฺสติ โหติ ปญฺจวสฺโส วา โหติ อติเรกปญฺจวสฺโส วา  อิเมหิ โข ภิกฺขเว ฉหงฺเคหิ สมนฺนาคเตน ภิกฺขุนา อนิสฺสิเตน วตฺถพฺพํ.  “อปเรหิปิ ภิกฺขเว ฉหงฺเคหิ สมนฺนาคเตน ภิกฺขุนา น อนิสฺสิเตน วตฺถพฺพํ. อธิสีเล สีลวิปนฺโน โหติ อชฺฌาจาเร อาจารวิปนฺโน โหติ อติทิฏฺฐิยา ทิฏฺฐิวิปนฺโน โหติ อปฺปสฺสุโต โหติ ทุปฺปญฺโญ โหติ อูนปญฺจวสฺโส โหติ  อิเมหิ โข ภิกฺขเว ฉหงฺเคหิ สมนฺนาคเตน ภิกฺขุนา น อนิสฺสิเตน วตฺถพฺพํ. 
bhagavati me bhante pabbajite anappakaṃ dukkhaṃ ahosi, tathā Nande, adhimattaṃ Rāhule.  putta-(83)pemaṃ bhante chaviṃ chindati, chaviṃ chetvā cammaṃ chindati, cammaṃ chetvā maṃsaṃ chindati, maṃsaṃ chetvā nhāruṃ chindati, nhāruṃ chetvā aṭṭhiṃ chindati, aṭṭhiṃ chetvā aṭṭhimiñjaṃ āhacca tiṭṭhati.  sādhu bhante ayyā ananuññātaṃ mātāpitūhi puttaṃ na pabbājeyyun ti. |5| 
'Speak, Gotama.'  'Lord, when the Blessed One gave up the world, it was a great pain to me; so it was when Nanda did the same; my pain was excessive when Râhula too did so.  The love for a son, Lord, cuts into the skin; having cut into the skin, it cuts into the hide; having cut into the hide, it cuts into the flesh, . . . . the ligaments, . . . . the bones; having cut into the bones, it reaches the marrow and dwells in the marrow. 
สุท. เมื่อพระผู้มีพระภาคทรงผนวชแล้ว ความทุกข์ล้นพ้นได้บังเกิดแก่หม่อมฉัน เมื่อพ่อนันทะบวชก็เช่นเดียวกัน เมื่อพ่อราหุลบรรพชา ทุกข์ยิ่งมากล้น พระพุทธเจ้าข้า  ความรักบุตรย่อมตัดผิว ครั้นแล้ว ตัดหนัง ตัดเนื้อ ตัดเอ็น ตัดกระดูก แล้วตั้งอยู่จรดเยื่อในกระดูก  หม่อมฉันขอประทานพระวโรกาส พระคุณเจ้าทั้งหลาย ไม่พึงบวชบุตรที่บิดามารดายังมิได้อนุญาต พระพุทธเจ้าข้า. 
“ฉหิ ภิกฺขเว องฺเคหิ สมนฺนาคเตน ภิกฺขุนา อนิสฺสิเตน วตฺถพฺพํ. น อธิสีเล สีลวิปนฺโน โหติ น อชฺฌาจาเร อาจารวิปนฺโน โหติ น อติทิฏฺฐิยา ทิฏฺฐิวิปนฺโน โหติ พหุสฺสุโต โหติ ปญฺญวา โหติ ปญฺจวสฺโส วา โหติ อติเรกปญฺจวสฺโส วา  อิเมหิ โข ภิกฺขเว ฉหงฺเคหิ สมนฺนาคเตน ภิกฺขุนา อนิสฺสิเตน วตฺถพฺพํ.  “อปเรหิปิ ภิกฺขเว ฉหงฺเคหิ สมนฺนาคเตน ภิกฺขุนา น อนิสฺสิเตน วตฺถพฺพํ. อาปตฺตึ น ชานาติ อนาปตฺตึ น ชานาติ ลหุกํ อาปตฺตึ น ชานาติ ครุกํ อาปตฺตึ น ชานาติ อุภยานิ โข ปนสฺส ปาติโมกฺขานิ วิตฺถาเรน น สฺวาคตานิ โหนฺติ น สุวิภตฺตานิ น สุปฺปวตฺตีนิ น สุวินิจฺฉิตานิ สุตฺตโส อนุพฺยญฺชนโส อูนปญฺจวสฺโส โหติ 
atha kho bhagavā Suddhodanaṃ Sakkaṃ dhammiyā kathāya sandassesi samādapesi samuttejesi sampahaṃsesi.  atha kho Suddhodano Sakko bhagavatā dhammiyā kathāya sandassito samādapito samuttejito sampahaṃsito uṭṭhāyāsanā bhagavantaṃ abhivādetvā padakkhiṇaṃ katvā pakkāmi.  atha kho bhagavā etasmiṃ nidāne etasmiṃ pakaraṇe dhammiṃ kathaṃ katvā {bhikkhū} āmantesi: na bhikkhave ananuññāto mātāpitūhi putto pabbājetabbo.  yo pabbājeyya, āpatti dukkaṭassā ’ti. |6| 
Pray, Lord, let their reverences not confer the pabbaggâ ordination on a son without his father's and mother's permission.'  Then the Blessed One taught the Sakka Suddhodana (&c., see chap. 39. 7).    'Let no son, O Bhikkhus, receive the pabbaggâ ordination without his father's and mother's permission. 
ครั้งนั้น พระผู้มีพระภาคทรงชี้แจงให้พระเจ้าสุทโธทนศากยะทรงเห็นแจ้ง ทรงสมาทาน ทรงอาจหาญ ทรงร่าเริง ด้วยธรรมีกถา.  เมื่อพระเจ้าสุทโธทนศากยะ อันพระผู้มีพระภาคทรงชี้แจงให้เห็นแจ้ง สมาทาน อาจหาญ ร่าเริงด้วยธรรมีกถาแล้ว เสด็จลุกจากพระที่ ถวายบังคมพระผู้มีพระภาค ทรงทำประทักษิณแล้วเสด็จกลับ.  ลำดับนั้นพระผู้มีพระภาคทรงทำธรรมีกถา ในเพราะเหตุเป็นเค้ามูลนั้น ในเพราะเหตุแรกเกิดนั้น แล้วรับสั่งกะภิกษุทั้งหลายว่า ดูกรภิกษุทั้งหลาย บุตรที่มารดาบิดาไม่อนุญาต ภิกษุไม่พึงให้บวช  รูปใดให้บวช ต้องอาบัติทุกกฏ. 
อิเมหิ โข ภิกฺขเว ฉหงฺเคหิ สมนฺนาคเตน ภิกฺขุนา น อนิสฺสิเตน วตฺถพฺพํ.  “ฉหิ ภิกฺขเว องฺเคหิ สมนฺนาคเตน ภิกฺขุนา อนิสฺสิเตน วตฺถพฺพํ. อาปตฺตึ ชานาติ อนาปตฺตึ ชานาติ ลหุกํ อาปตฺตึ ชานาติ ครุกํ อาปตฺตึ ชานาติ อุภยานิ โข ปนสฺส ปาติโมกฺขานิ วิตฺถาเรน สฺวาคตานิ โหนฺติ สุวิภตฺตานิ สุปฺปวตฺตีนิ สุวินิจฺฉิตานิ สุตฺตโส อนุพฺยญฺชนโส ปญฺจวสฺโส วา โหติ อติเรกปญฺจวสฺโส วา  อิเมหิ โข ภิกฺขเว ฉหงฺเคหิ สมนฺนาคเตน ภิกฺขุนา อนิสฺสิเตน วตฺถพฺพ”นฺติ.   
||54|| 
He who confers the pabbaggâ ordination (on a son without that permission), is guilty of a dukkata offence.' 
 
atha kho bhagavā Kapilavatthusmiṃ yathābhirantaṃ viharitvā yena Sāvatthi tena cārikaṃ pakkāmi.  anupubbena cārikaṃ caramāno yena Sāvatthi tad avasari.  tatra sudaṃ bhagavā Sāvatthiyaṃ viharati Jetavane Anāthapiṇḍikassa ārāme.  tena kho pana samayena āyasmato Sāriputtassa upaṭṭhākakulaṃ āyasmato Sāriputtassa santike dārakaṃ pāhesi imaṃ dārakaṃ thero pabbājetū ’ti.  atha kho āyasmato Sāriputtassa etad ahosi: bhagavatā sikkhāpadaṃ paññattaṃ na ekena dve sāmaṇerā upaṭṭhāpetabbā ’ti, ayañ ca me Rāhulo sāmaṇero.  kathaṃ nu kho mayā paṭipajjitabban ti.  bhagavato etam atthaṃ ārocesi.  anujānāmi bhikkhave vyattena bhikkhunā paṭibalena ekena dve sāmaṇere upaṭṭhāpetuṃ, yāvatake vā pana ussahati ovadituṃ anusāsituṃ, tāvatake upaṭṭhāpetun ti. |1| 
Then the Blessed One, after having resided at Kapilavatthu as long as he thought fit, went forth to Sâvatthi.  Wandering from place to place he came to Sâvatthi.  There the Blessed One dwelt at Sâvatthi, in the Getavana, the Ârâma of Anâthapindika.  At that time a family who devoted themselves to the (especial) service of the venerable Sâriputta sent a boy to the venerable Sâriputta (with this message): 'Might the Thera confer the pabbaggâ ordination on this boy.'  Now the venerable Sâriputta thought: 'The Blessed One has established the rule that no one may ordain two novices, and I have already one novice, Râhula.  Now what am I to do?'  He told the thing to the Blessed One. 
ครั้งนั้น พระผู้มีพระภาคประทับอยู่ในพระนครกบิลพัสดุ์ ตามพระพุทธาภิรมย์แล้ว เสด็จจาริกไปทางพระนครสาวัตถี  เสด็จเที่ยวจาริกโดยลำดับ ถึงพระนครสาวัตถีแล้ว.  ทราบว่าพระองค์ประทับอยู่ในพระวิหารเชตวัน อารามของอนาถบิณฑิกคหบดี เขตพระนครสาวัตถีนั้น  เรื่องทรงอนุญาตให้ภิกษุผู้ฉลาดมีสามเณรมากรูปได้ [๑๑๙] ก็โดยสมัยนั้นแล ตระกูลอุปฐากของท่านพระสารีบุตร ส่งเด็กชายไปในสำนักท่านพระสารีบุตร ด้วยมอบหมายว่า ขอพระเถระโปรดบรรพชาเด็กคนนี้.  ทีนั้น ท่านพระสารีบุตรได้มีความดำริว่า พระผู้มีพระภาคทรงบัญญัติไม่ให้ภิกษุรูปเดียวรับสามเณร ๒ รูปไว้อุปัฏฐาก ก็เรามีสามเณรราหุลนี้อยู่แล้ว  ทีนี้เราจะปฏิบัติอย่างไร  ดังนี้ จึงกราบทูลเรื่องนั้นแด่พระผู้มีพระภาค.  พระผู้มีพระภาครับสั่งกะภิกษุทั้งหลายว่า ดูกรภิกษุทั้งหลาย เราอนุญาตให้ภิกษุผู้ฉลาด ผู้สามารถรูปเดียว รับสามเณรสองรูปไว้อุปัฏฐากได้ ก็หรือเธออาจจะโอวาท อนุศาสน์สามเณรมีจำนวนเท่าใดก็ให้รับไว้อุปัฏฐาก มีจำนวนเท่านั้น. 
อภยูวรภาณวาโร นิฏฺฐิโต อฏฺฐโม.  (อฏฺฐมภาณวาโร. ๔๑. ราหุลวตฺถุ) ๑๐๕. อถ โข ภควา ราชคเห ยถาภิรนฺตํ วิหริตฺวา เยน กปิลวตฺถุ เตน จาริกํ ปกฺกามิ.  อนุปุพฺเพน จาริกํ จรมาโน เยน กปิลวตฺถุ ตทวสริ.  ตตฺร สุทํ ภควา สกฺเกสุ วิหรติ กปิลวตฺถุสฺมึ นิคฺโรธาราเม.  อถ โข ภควา ปุพฺพณฺหสมยํ นิวาเสตฺวา ปตฺตจีวรมาทาย เยน สุทฺโธทนสฺส สกฺกสฺส นิเวสนํ เตนุปสงฺกมิ อุปสงฺกมิตฺวา ปญฺญตฺเต อาสเน นิสีทิ.  อถ โข ราหุลมาตา เทวี ราหุลํ กุมารํ เอตทโวจ “เอโส เต ราหุล ปิตา. คจฺฉสฺสุ ทายชฺชํ ยาจาหี”ติ.  อถ โข ราหุโล กุมาโร เยน ภควา เตนุปสงฺกมิ อุปสงฺกมิตฺวา ภควโต ปุรโต อฏฺฐาสิ “สุขา เต สมณ ฉายา”ติ.  อถ โข ภควา อุฏฺฐายาสนา ปกฺกามิ. 
||55|| 
'I allow, O Bhikkhus, a learned, competent Bhikkhu to ordain two novices, or to ordain as many novices as he is able to administer exhortation and instruction to.' 
อถ โข ราหุโล กุมาโร ภควนฺตํ ปิฏฺฐิโต ปิฏฺฐิโต อนุพนฺธิ “ทายชฺชํ เม สมณ เทหิ ทายชฺชํ เม สมณ เทหี”ติ. 
atha kho sāmaṇerānaṃ etad ahosi: kati nu kho amhākaṃ sikkhāpadāni, kattha ca amhehi sikkhitabban ti.  bhagavato etam atthaṃ ārocesuṃ.  anujānāmi bhikkhave sāmaṇerānaṃ dasa sikkhāpadāni, tesu ca sāmaṇerehi sikkhituṃ:  pāṇātipātā veramaṇī, adinnādānā veramaṇī, abrahmacariyā veramaṇī, musāvādā veramaṇī, surāmerayamajjapamādaṭṭhānā veramaṇī, vikālabhojanā veramaṇī, naccagītavāditavisūkadassanā veramaṇī, mālāgandhavilepanadhāraṇamaṇḍanavibhūsanaṭṭhānā (84) veramaṇī, uccāsayanamahāsayanā veramaṇī, jātarūparajatapaṭiggahaṇā veramaṇī.  anujānāmi {bhikkhave} sāmaṇerānaṃ imāni dasa sikkhāpadāni, imesu ca sāmaṇerehi sikkhitun ti. |1| 
Now the novices thought: 'How many precepts are there for us, and in what (precepts) are we to exercise ourselves?'  They told this thing to the Blessed One.  'I prescribe, O Bhikkhus, ten precepts for the novices, and the exercise of the novices in these (ten precepts),  viz. abstinence from destroying life; abstinence from stealing; abstinence from impurity; abstinence from lying; abstinence from arrack and strong drink and intoxicating liquors, which cause indifference (to religion); abstinence from eating at forbidden times; abstinence from dancing, singing, music, and seeing spectacles; abstinence from garlands, scents, unguents, ornaments, and finery; abstinence from (the use of) high or broad beds; abstinence from accepting gold or silver. 
สิกขาบทของสามเณร [๑๒๐] ครั้งนั้น สามเณรทั้งหลาย ได้มีความดำริว่า สิกขาบทของพวกเรามีเท่าไรหนอแล และพวกเราจะต้องศึกษาในอะไร.  ภิกษุทั้งหลายกราบทูลเรื่องนั้นแด่พระผู้มีพระภาค.  พระผู้มีพระภาครับสั่งกะภิกษุทั้งหลายว่า ดูกรภิกษุทั้งหลาย เราอนุญาตสิกขาบท ๑๐ แก่สามเณรทั้งหลาย และให้สามเณรทั้งหลายศึกษาในสิกขาบท ๑๐ นั้น คือ  ๑. เว้นจากการทำสัตว์ที่มีชีวิตให้ตกล่วงไป ๒. เว้นจากถือเอาพัสดุอันเจ้าของมิได้ให้ ๓. เว้นจากกรรมอันเป็นข้าศึกแก่พรหมจรรย์ ๔. เว้นจากการกล่าวเท็จ ๕. เว้นจากการดื่มน้ำเมา คือ สุราและเมรัย อันเป็นที่ตั้งแห่งความประมาท ๖. เว้นจากบริโภคอาหารในเวลาวิกาล ๗. เว้นจากฟ้อนรำ ขับร้อง ประโคมดนตรี และดูการเล่นที่เป็นข้าศึก ๘. เว้นจากการทัดทรงตกแต่งด้วยดอกไม้ของหอม และเครื่องลูบไล้อันเป็นฐานแห่งการแต่งตัว ๙. เว้นจากที่นั่งและที่นอนอันสูงและใหญ่ ๑๐. เว้นจากการรับทองและเงิน  ดูกรภิกษุทั้งหลาย เราอนุญาตสิกขาบท ๑๐ นี้ แก่สามเณรทั้งหลาย และให้สามเณรทั้งหลายศึกษาในสิกขาบท ๑๐ นี้. 
อถ โข ภควา อายสฺมนฺตํ สาริปุตฺตํ อามนฺเตสิ “เตน หิ ตฺวํ สาริปุตฺต ราหุลํ กุมารํ ปพฺพาเชหี”ติ.  “กถาหํ ภนฺเต ราหุลํ กุมารํ ปพฺพาเชมี”ติ?  อถ โข ภควา เอตสฺมึ นิทาเน เอตสฺมึ ปกรเณ ธมฺมึ กถํ กตฺวา ภิกฺขู อามนฺเตสิ “อนุชานามิ ภิกฺขเว ตีหิ สรณคมเนหิ สามเณรปพฺพชฺชํ.  เอวญฺจ ปน ภิกฺขเว ปพฺพาเชตพฺโพ ปฐมํ เกสมสฺสุํ โอหาราเปตฺวา กาสายานิ วตฺถานิ อจฺฉาทาเปตฺวา เอกํสํ อุตฺตราสงฺคํ การาเปตฺวา ภิกฺขูนํ ปาเท วนฺทาเปตฺวา อุกฺกุฏิกํ  นิสีทาเปตฺวา อญฺชลึ ปคฺคณฺหาเปตฺวา เอวํ วเทหีติ วตฺตพฺโพ 
||56|| 
I prescribe, O Bhikkhus, these ten precepts for the novices, and the exercise of the novices in these (ten precepts).' 
พุทฺธํ สรณํ คจฺฉามิ ธมฺมํ สรณํ คจฺฉามิ สงฺฆํ สรณํ คจฺฉามิ ทุติยมฺปิ พุทฺธํ สรณํ คจฺฉามิ ทุติยมฺปิ ธมฺมํ สรณํ คจฺฉามิ ทุติยมฺปิ สงฺฆํ สรณํ คจฺฉามิ ตติยมฺปิ พุทฺธํ สรณํ คจฺฉามิ ตติยมฺปิ ธมฺมํ สรณํ คจฺฉามิ ตติยมฺปิ สงฺฆํ สรณํ คจฺฉามีติ. 
tena kho pana samayena sāmaṇerā bhikkhūsu agāravā appatissā asabhāgavuttino viharanti.  bhikkhū ujjhāyanti khīyanti vipācenti: kathaṃ hi nāma sāmaṇerā bhikkhūsu agāravā appatissā asabhāgavuttino viharissantīti.  bhagavato etam atthaṃ ārocesuṃ.  anujānāmi bhikkhave pañcah’ aṅgehi samannāgatassa sāmaṇerassa daṇḍakammaṃ kātuṃ:  bhikkhūnaṃ alābhāya parisakkati, bhikkhūnaṃ anatthāya parisakkati, bhikkhūnaṃ avāsāya parisakkati, bhikkhū akkosati paribhāsati, bhikkhū bhikkhūhi bhedeti.  anujānāmi bhikkhave imehi pañcah’ aṅgehi samannāgatassa sāmaṇerassa daṇḍakammaṃ kātun ti. |1| 
At that time novices did not show reverence and confidence towards the Bhikkhus, and did not live in harmony with them.  The Bhikkhus were annoyed, murmured, and became angry: 'How can the novices not show reverence and confidence towards the Bhikkhus, and not live in harmony with them?'  They told this thing to the Blessed One.  'I prescribe, O Bhikkhus, that you inflict punishment upon a novice in five cases:  When he is intent on the Bhikkhus' receiving no alms; when he is intent on the Bhikkhus' meeting with misfortune; when he is intent on the Bhikkhus' finding no residence; when he abuses and reviles the Bhikkhus; when he causes divisions between Bhikkhus and Bhikkhus. 
เรื่องลงทัณฑกรรมแก่สามเณร [๑๒๑] ก็โดยสมัยนั้นแล พวกสามเณรไม่มีความเคารพ ไม่มีความยำเกรง มีความประพฤติไม่เหมาะสม ในภิกษุทั้งหลายอยู่.  ภิกษุทั้งหลายจึงเพ่งโทษ ติเตียน โพนทะนาว่า ไฉนพวกสามเณรจึงได้ไม่มีความเคารพ ไม่มีความยำเกรง มีความประพฤติไม่เหมาะสมในภิกษุทั้งหลายอยู่เล่า  แล้วกราบทูลเรื่องนั้นแด่พระผู้มีพระภาค.  พระผู้มีพระภาครับสั่งกะภิกษุทั้งหลายว่า ดูกรภิกษุทั้งหลาย เราอนุญาตให้ลงทัณฑกรรมแก่สามเณรผู้ประกอบด้วยองค์ ๕ คือ  ๑. พยายามเพื่อความเสื่อมลาภแห่งภิกษุทั้งหลาย ๒. พยายามเพื่อความพินาศแห่งภิกษุทั้งหลาย ๓. พยายามเพื่อความอยู่ไม่ได้แห่งภิกษุทั้งหลาย ๔. ด่า บริภาษ ภิกษุทั้งหลาย ๕. ยุยงภิกษุต่อภิกษุให้แตกกัน  ดูกรภิกษุทั้งหลาย เราอนุญาตให้ลงทัณฑกรรมแก่สามเณรผู้ประกอบด้วยองค์ ๕ นี้แล. 
อนุชานามิ ภิกฺขเว อิเมหิ ตีหิ สรณคมเนหิ สามเณรปพฺพชฺช”นฺติ.  อถ โข อายสฺมา สาริปุตฺโต ราหุลํ กุมารํ ปพฺพาเชสิ.  อถ โข สุทฺโธทโน สกฺโก เยน ภควา เตนุปสงฺกมิ อุปสงฺกมิตฺวา ภควนฺตํอภิวาเทตฺวา เอกมนฺตํ นิสีทิ.  เอกมนฺตํ นิสินฺโน โข สุทฺโธทโน สกฺโก ภควนฺตํ เอตทโวจ “เอกาหํ ภนฺเต ภควนฺตํ วรํ ยาจามี”ติ.  “อติกฺกนฺตวรา โข โคตม ตถาคตา”ติ.  “ยญฺจ ภนฺเต กปฺปติ ยญฺจ อนวชฺช”นฺติ. 
atha kho bhikkhūnaṃ etad ahosi: kiṃ nu kho daṇḍakammaṃ kātabban ti.  bhagavato etam atthaṃ ārocesuṃ.  anujānāmi bhikkhave āvaraṇaṃ kātun ti.  tena kho pana samayena bhikkhū sāmaṇerānaṃ sabbaṃ saṃghārāmaṃ āvaraṇaṃ karonti.  sāmaṇerā ārāmaṃ pavisituṃ alabhamānā pakkamanti pi vibbhamanti pi titthiyesu pi saṃkamanti.  bhagavato etam atthaṃ ārocesuṃ.  na bhikkhave sabbo saṃghārāmo āvaraṇaṃ kātabbo.  yo kareyya, āpatti dukkaṭassa.  anujānāmi bhikkhave yattha vā vasati, yattha vā paṭikkamati, tattha āvaraṇaṃ kātun ti. |2| 
I prescribe, O Bhikkhus, that in these five cases you inflict punishment upon a novice.'  Now the Bhikkhus thought: 'What punishment are we to inflict?'  They told this thing to the Blessed One.  'I prescribe, O Bhikkhus, that you forbid them (certain places, for instance, their own residences).'  At that time Bhikkhus forbad novices the whole Samghârâma.  The novices, who were not admitted to the Samghârâma, went away, or retumed to the world, or went over to Titthiya schools.  They told this thing to the Blessed One.  'Let them not, O Bhikkhus, forbid (novices) the whole Samghârâma.  He who does so, commits a dukkata offence. 
ครั้งนั้น ภิกษุทั้งหลายได้มีความดำริว่า จะพึงลงทัณฑกรรมอย่างไรหนอแล  แล้วกราบทูลเรื่องนั้นแด่พระผู้มีพระภาค  พระผู้มีพระภาครับสั่งกะภิกษุทั้งหลายว่า ดูกรภิกษุทั้งหลายเราอนุญาตให้ลงทัณฑกรรม คือ ห้ามปราม.  ก็โดยสมัยนั้นแล ภิกษุทั้งหลายลงทัณฑกรรมคือห้ามสังฆารามทุกแห่งแก่พวกสามเณร.  สามเณรเข้าอารามไม่ได้ จึงหลีกไปเสียบ้าง สึกเสียบ้าง ไปเข้ารีดเดียรถีย์บ้าง.  ภิกษุทั้งหลายกราบทูลเรื่องนั้นแด่พระผู้มีพระภาค.  พระผู้มีพระภาครับสั่งกะภิกษุทั้งหลายว่า ดูกรภิกษุทั้งหลาย ภิกษุไม่พึงลงทัณฑกรรม คือห้ามสังฆารามทุกแห่ง  รูปใดลงต้องอาบัติทุกกฏ  ดูกรภิกษุทั้งหลาย เราอนุญาตให้ลงทัณฑกรรม คือ ห้ามเฉพาะสถานที่ที่สามเณรจะอยู่หรือจะเข้าไปได้. 
“วเทหิ โคตมา”ติ.  “ภควติ เม ภนฺเต ปพฺพชิเต อนปฺปกํ ทุกฺขํ อโหสิ ตถา นนฺเท อธิมตฺตํ ราหุเล.  ปุตฺตเปมํ ภนฺเต ฉวึ ฉินฺทติ ฉวึ เฉตฺวา จมฺมํ ฉินฺทติ จมฺมํ เฉตฺวา มํสํ ฉินฺทติ มํสํ เฉตฺวา นฺหารุํ ฉินฺทติ นฺหารุํ เฉตฺวา อฏฺฐึ ฉินฺทติ อฏฺฐึ เฉตฺวา อฏฺฐิมิญฺชํ อาหจฺจ ติฏฺฐติ.  สาธุ ภนฺเต อยฺยา อนนุญฺญาตํ มาตาปิตูหิ ปุตฺตํ น ปพฺพาเชยฺยุ”นฺติ.  อถ โข ภควา สุทฺโธทนํ สกฺกํ ธมฺมิยา กถาย สนฺทสฺเสสิ สมาทเปสิ สมุตฺเตเชสิ สมฺปหํเสสิ.  อถ โข สุทฺโธทโน สกฺโก ภควตา ธมฺมิยา กถาย สนฺทสฺสิโต สมาทปิโต สมุตฺเตชิโต สมฺปหํสิโต อุฏฺฐายาสนา ภควนฺตํ อภิวาเทตฺวา ปทกฺขิณํ กตฺวา ปกฺกามิ.  อถ โข ภควา เอตสฺมึ นิทาเน เอตสฺมึ ปกรเณ ธมฺมึ กถํ กตฺวา ภิกฺขู อามนฺเตสิ “น ภิกฺขเว อนนุญฺญาโต มาตาปิตูหิ ปุตฺโต ปพฺพาเชตพฺโพ.  โย ปพฺพาเชยฺย อาปตฺติ ทุกฺกฏสฺสา”ติ.   
tena kho pana samayena bhikkhū sāmaṇerānaṃ mukhadvārakaṃ āhāraṃ āvaraṇaṃ karonti.  manussā yāgupānam pi saṃghabhattam pi karontā sāmaṇere evaṃ vadanti:  etha bhante yāguṃ pivatha, etha bhante bhattaṃ bhuñjathā ’ti.  sāmaṇerā evaṃ vadanti: nāvuso labbhā, bhikkhūhi āvaraṇaṃ katan ti.  manussā ujjhāyanti khīyanti vipācenti.  kathaṃ hi nāma bhaddantā sāmaṇerānaṃ mukhadvārakaṃ āhāraṃ āvaraṇaṃ karissantīti.  bhagavato etam atthaṃ arocesuṃ.  na bhikkhave mukhadvārako āhāro āvāraṇaṃ kātabbo.  yo kareyya, āpatti dukkaṭassā ’ti. |3| 
I prescribe, O Bhikkhus, that (the Bhikkhus) forbid (a novice) the place where he lives or which he uses to frequent.'  At that time Bhikkhus forbad the novices the use of (certain kinds of) food that is taken with the mouth.  People, when they prepared rice-milk to drink or meals for the Samgha, said to the novices:  'Come, reverend Sirs, drink rice-milk; come, reverend Sirs, take food.'  The novices replied: 'It is impossible, friends; the Bhikkhus have issued a forewarning (against us).'  The people were annoyed, murmured, and became angry, thinking:  'How can their reverences forbid novices the use of all food that is taken with the mouth?'  They told this thing to the Blessed One.  'Let them not, O Bhikkhus, forbid (novices) food that is taken with the mouth. 
ก็โดยสมัยนั้นแล ภิกษุทั้งหลายลงทัณฑกรรมคือห้ามอาหารซึ่งจะกลืนเข้าไปทางช่องปากแก่พวกสามเณร.  คนทั้งหลายทำปานะคือยาคูบ้าง สังฆภัตรบ้าง จึงกล่าวนิมนต์พวกสามเณรอย่างนี้ว่า  นิมนต์ท่านทั้งหลายมาดื่มยาคู นิมนต์ท่านทั้งหลายมาฉันภัตตาหาร.  พวกสามเณรจึงกล่าวอย่างนี้ว่า อาวุโสทั้งหลาย พวกอาตมาทำอย่างนั้นไม่ได้ เพราะภิกษุทั้งหลายลงทัณฑกรรมคือห้ามไว้.  ประชาชนจึงเพ่งโทษ ติเตียน โพนทะนาว่า  ไฉนพระผู้เป็นเจ้าผู้เจริญทั้งหลาย จึงได้ห้ามอาหาร ซึ่งจะกลืนเข้าไปทางช่องปากแก่พวกสามเณรเล่า.  ภิกษุทั้งหลายกราบทูลเรื่องนั้นแด่พระผู้มีพระภาค.  พระผู้มีพระภาค รับสั่งกะภิกษุทั้งหลายว่า ดูกรภิกษุทั้งหลาย ภิกษุไม่พึงลงทัณฑกรรมคือห้ามอาหารที่จะกลืนเข้าไปทางช่องปาก  รูปใดลง ต้องอาบัติทุกกฏ. 
  อถ โข ภควา กปิลวตฺถุสฺมึ ยถาภิรนฺตํ วิหริตฺวา เยน สาวตฺถิ เตน จาริกํ ปกฺกามิ.  อนุปุพฺเพน จาริกํ จรมาโน เยน สาวตฺถิ ตทวสริ.  ตตฺร สุทํ ภควา สาวตฺถิยํ วิหรติ เชตวเน อนาถปิณฺฑิกสฺส อาราเม.  เตน โข ปน สมเยน อายสฺมโต สาริปุตฺตสฺส อุปฏฺฐากกุลํ อายสฺมโต สาริปุตฺตสฺส สนฺติเก ทารกํ ปาเหสิ “อิมํ ทารกํ เถโร ปพฺพาเชตู”ติ.  อถ โข อายสฺมโต สาริปุตฺตสฺส เอตทโหสิ “ภควตา ปญฺญตฺตํ ‘น เอเกน ทฺเว สามเณรา อุปฏฺฐาเปตพฺพา’ติ. อยญฺจ เม ราหุโล สามเณโร.  กถํ นุ โข มยา ปฏิปชฺชิตพฺพ”นฺติ?  ภควโต เอตมตฺถํ อาโรเจสิ.  อนุชานามิ ภิกฺขเว พฺยตฺเตน ภิกฺขุนา ปฏิพเลน เอเกน ทฺเว สามเณเร อุปฏฺฐาเปตุํ ยาวตเก วา ปน อุสฺสหติ โอวทิตุํ อนุสาสิตุํ ตาวตเก อุปฏฺฐาเปตุนฺติ. (ราหุลวตฺถุ นิฏฺฐิตํ.) 
daṇḍakammavatthuṃ niṭṭhitaṃ. ||57|| 
He who does so, commits a dukkata offence.' 
เรื่องลงทัณฑกรรมแก่สามเณร จบ. 
 
tena kho pana samayena chabbaggiyā bhikkhū upa-(85)jjhāye anāpucchā sāmaṇerānaṃ āvaraṇaṃ karonti.  upajjhāyā gavesanti kathaṃ nu kho amhākaṃ sāmaṇerā na dissantīti.  bhikkhū evam āhaṃsu: chabbaggiyehi āvuso bhikkhūhi āvaraṇaṃ katan ti.  upajjhāyā ujjhāyanti khīyanti vipācenti:  kathaṃ hi nāma chabbaggiyā bhikkhū amhe anāpucchā amhākaṃ sāmaṇerānaṃ āvaraṇaṃ karissantīti.  bhagavato etam atthaṃ ārocesuṃ.  na bhikkhave upajjhāye anāpucchā āvaraṇaṃ kātabbaṃ.  yo kareyya, āpatti dukkaṭassā ’ti. |1| 
End of the section about punishment (of novices).  At that time the Khabbaggiya Bhikkhus laid a ban upon novices without the consent of the upagghâyas (of those novices).  The upagghâyas searched after them, thinking: 'How is it that our novices have disappeared?'  The Bhikkhus said: 'The Khabbaggiya Bhikkhus, friends, have laid a ban upon them.'  The upagghâyas were annoyed, &c.:  'How can the Khabbaggiya Bhikkhus lay a ban upon our novices without having obtained our consent?'  They told this thing to the Blessed One.  'Let no one, O Bhikkh us, lay a ban (upon novices) without consent of the upagghâyas. 
เรื่องกักกันสามเณรต้องขออนุญาตก่อน [๑๒๒] ก็โดยสมัยนั้นแล พระฉัพพัคคีย์ไม่อาปุจฉาพระอุปัชฌาย์ก่อน แล้วทำการกักกันสามเณรทั้งหลายไว้.  พระอุปัชฌาย์ทั้งหลายเที่ยวตามหาด้วยนึกสงสัยว่า ทำไมหนอสามเณรของพวกเราจึงหายไป.  ภิกษุทั้งหลายได้แจ้งให้ทราบอย่างนี้ว่า อาวุโสทั้งหลาย พระฉัพพัคคีย์ได้กักกันไว้.  พระอุปัชฌาย์ทั้งหลาย จึงเพ่งโทษ ติเตียน โพนทะนาว่า  ไฉนพระฉัพพัคคีย์จึงไม่อาปุจฉาพวกเราก่อน แล้วทำการกักกันสามเณรของพวกเราเล่า  แล้วกราบทูลเรื่องนั้นแด่พระผู้มีพระภาค.  พระผู้มีพระภาครับสั่งกะภิกษุทั้งหลายว่า ดูกรภิกษุทั้งหลาย ภิกษุผู้ไม่อาปุจฉาอุปัชฌาย์ก่อนแล้ว ไม่พึงทำการกักกันสามเณรไว้  รูปใดทำ ต้องอาบัติทุกกฏ. 
  (๔๒. สิกฺขาปทกถา) ๑๐๖. อถ โข สามเณรานํ เอตทโหสิ “กติ นุ โข อมฺหากํ สิกฺขาปทานิ กตฺถ จ อมฺเหหิ สิกฺขิตพฺพ”นฺติ?  ภควโต เอตมตฺถํ อาโรเจสุํฯเปฯ  อนุชานามิ ภิกฺขเว สามเณรานํ ทส สิกฺขาปทานิ เตสุ จ สามเณเรหิ สิกฺขิตุํ  ปาณาติปาตา เวรมณี อทินฺนาทานา เวรมณี อพฺรหฺมจริยา เวรมณี มุสาวาทา เวรมณี สุราเมรยมชฺชปมาทฏฺฐานา เวรมณี วิกาลโภชนา เวรมณี นจฺจคีตวาทิตวิสูกทสฺสนา เวรมณี มาลาคนฺธวิเลปนธารณมณฺฑนวิภูสนฏฺฐานา เวรมณี อุจฺจาสยนมหาสยนา เวรมณี ชาตรูปรชตปฏิคฺคหณา เวรมณี.  อนุชานามิ ภิกฺขเว สามเณรานํ อิมานิ ทส สิกฺขาปทานิ อิเมสุ จ สามเณเรหิ สิกฺขิตุนฺติ. (สิกฺขาปทกถา นิฏฺฐิตา.)     
||58|| 
He who does, commits a dukkata offence.' 
(๔๓. ทณฺฑกมฺมวตฺถุ) ๑๐๗. เตน โข ปน สมเยน สามเณรา ภิกฺขูสุ อคารวา อปฺปติสฺสา อสภาควุตฺติกา วิหรนฺติ. 
tena kho pana samayena chabbagiyā bhikkhū therānaṃ bhikkhūnaṃ sāmaṇere apalāḷenti.  therā sāmaṃ dantakaṭṭham pi mukhodakam pi gaṇhantā kilamanti.  bhagavato etam atthaṃ ārocesuṃ.  na bhikkhave aññassa parisā apalāḷetabbā.  yo apalāḷeyya, āpatti dukkaṭassā ’ti. |1| 
At that time the Khabbaggiya Bhikkhus drew the novices of senior Bhikkhus over (to themselves).  The Theras, who were obliged to get themselves teeth-cleansers and water to rinse their mouths with, became tired.  They told this thing to the Blessed One.  'Let no one, O Bhikkhus, draw the followers of another Bhikkhu over to himself. 
เรื่องทรงห้ามเกลี้ยกล่อมสามเณร [๑๒๓] ก็โดยสมัยนั้นแล พระฉัพพัคคีย์พากันเกลี้ยกล่อมพวกสามเณรของพระเถระทั้งหลาย.  พระเถระทั้งหลายต้องหยิบไม้ชำระฟันบ้าง ตักน้ำล้างหน้าบ้าง ด้วยตนเอง ย่อมลำบาก  จึงกราบทูลเรื่องนั้นแด่พระผู้มีพระภาค.  พระผู้มีพระภาครับสั่งกะภิกษุทั้งหลายว่า ดูกรภิกษุทั้งหลาย บริษัทของภิกษุอื่น ภิกษุไม่พึงเกลี้ยกล่อม  รูปใดเกลี้ยกล่อม ต้องอาบัติทุกกฏ. 
ภิกฺขู อุชฺฌายนฺติ ขิยฺยนฺติ วิปาเจนฺติ “กถญฺหิ นาม สามเณรา ภิกฺขูสุ อคารวา อปฺปติสฺสา อสภาควุตฺติกา วิหริสฺสนฺตี”ติ.  ภควโต เอตมตฺถํ อาโรเจสุํฯเปฯ  อนุชานามิ ภิกฺขเว ปญฺจหงฺเคหิ สมนฺนาคตสฺส สามเณรสฺส ทณฺฑกมฺมํ กาตุํ.  ภิกฺขูนํ อลาภาย ปริสกฺกติ ภิกฺขูนํ อนตฺถาย ปริสกฺกติ ภิกฺขูนํ อวาสาย ปริสกฺกติ ภิกฺขู อกฺโกสติ ปริภาสติ ภิกฺขู ภิกฺขูหิ เภเทติ  อนุชานามิ ภิกฺขเว อิเมหิ ปญฺจหงฺเคหิ สมนฺนาคตสฺส สามเณรสฺส ทณฺฑกมฺมํ กาตุนฺติ. 
||59|| 
He who does, commits a dukkata offence.' 
อถ โข ภิกฺขูนํ เอตทโหสิ “กึ นุ โข ทณฺฑกมฺมํ กาตพฺพ”นฺติ? 
tena kho pana samayena āyasmato Upanandassa Sakyaputtassa Kaṇḍako nāma sāmaṇero Kaṇḍakaṃ nāma bhikkhuniṃ dūsesi.  bhikkhū ujjhāyanti khīyanti vipācenti: kathaṃ hi nāma sāmaṇero evarūpaṃ anācāraṃ ācarissatīti.  bhagavato etam atthaṃ ārocesuṃ.  anujānāmi bhikkhave dasah’ aṅgehi {samannāgataṃ} sāmaṇeraṃ nāsetuṃ:  pāṇātipātī hoti, adinnādāyī hoti, abrahmacārī hoti, musāvādī hoti, majjapāyī hoti, buddhassa avaṇṇaṃ bhāsati, dhammassa avaṇṇaṃ bhāsati, saṃghassa avaṇṇaṃ bhāsati, micchādiṭṭhiko hoti, bhikkhunīdūsako hoti.  anujānāmi bhikkhave imehi dasah’ aṅgehi samannāgataṃ sāmaṇeraṃ nāsetun ti. |1| 
At that time a novice, Kandaka by name, who was a follower of the venerable Upananda Sakyaputto, had sexual intercourse with a Bhikkhunî, Kandakâ by name.  The Bhikkhus were annoyed, &c.: 'How can a novice abandon himself to such conduct?'  They told this thing to the Blessed One.  'I prescribe, O Bhikkhus, that you expel a novice (from the fraternity) in the following ten cases:  When he destroys life; when he commits theft; when he commits impurity; when he is a liar; when he drinks strong drinks; when he speaks against the Buddha; when he speaks against the Dhamma; when he speaks against the Samgha; when he holds false doctrines; when he has sexual intercourse with Bhikkhunîs. 
องค์แห่งนาสนะ ๑๐ ของสามเณร [๑๒๔] ก็โดยสมัยนั้นแล สามเณรของท่านพระอุปนันทศากยบุตรชื่อ กัณฏกะ ได้ประทุษร้ายภิกษุณีกัณฏกี.  ภิกษุทั้งหลายจึงเพ่งโทษ ติเตียน โพนทะนาว่า ไฉนสามเณรจึงได้ประพฤติอนาจารเห็นปานนี้เล่า  แล้วกราบทูลเรื่องนั้นแด่พระผู้มีพระภาค.  พระผู้มีพระภาครับสั่งกะภิกษุทั้งหลายว่า ดูกรภิกษุทั้งหลาย เราอนุญาตให้นาสนะสามเณรผู้ประกอบด้วยองค์ ๑๐ คือ  ๑. ทำสัตว์ที่มีชีวิตให้ตกล่วงไป ๒. ถือเอาพัสดุอันเจ้าของมิได้ให้ ๓. ประพฤติกรรมอันเป็นข้าศึกแก่พรหมจรรย์ ๔. กล่าววาจาเท็จ ๕. ดื่มน้ำเมา ๖. กล่าวติพระพุทธเจ้า ๗. กล่าวติพระธรรม ๘. กล่าวติพระสงฆ์ ๙. มีความเห็นผิด ๑๐. ประทุษร้ายภิกษุณี  ดูกรภิกษุทั้งหลาย เราอนุญาตให้นาสนะสามเณรผู้ประกอบด้วยองค์ ๑๐ นี้. 
ภควโต เอตมตฺถํ อาโรเจสุํ.  อนุชานามิ ภิกฺขเว อาวรณํ กาตุนฺติ.  เตน โข ปน สมเยน ภิกฺขู สามเณรานํ สพฺพํ สงฺฆารามํ อาวรณํ กโรนฺติ.  สามเณรา อารามํ ปวิสิตุํ อลภมานา ปกฺกมนฺติปิ วิพฺภมนฺติปิ ติตฺถิเยสุปิ สงฺกมนฺติ.  ภควโต เอตมตฺถํ อาโรเจสุํ.  น ภิกฺขเว สพฺโพ สงฺฆาราโม อาวรณํ กาตพฺโพ. 
||60|| 
In these ten cases I prescribe, O Bhikkhus, that you expel the novice (from the fraternity).' 
โย กเรยฺย อาปตฺติ ทุกฺกฏสฺส. 
tena kho pana samayena aññataro paṇḍako bhikkhūsu pabbajito hoti, so dahare-dahare bhikkhū upasaṃkamitvā evaṃ vadeti: etha maṃ āyasmanto dūsethā ’ti.  bhikkhū apasādenti: nassa paṇḍaka, vinassa paṇḍaka, ko tayā attho ’ti.  so bhikkhūhi apasādito mahante-mahante moligalle sāmaṇere upasaṃkamitvā evaṃ vadeti: etha maṃ āvuso dūsethā ’ti.  sāmaṇerā apasādenti: nassa paṇḍaka, vinassa paṇḍaka, ko tayā attho ’ti.  so sāmaṇerehi apasādito hatthibhaṇḍe assabhaṇḍe upasaṃkamitvā evaṃ vadeti: etha maṃ (86) āvuso dūsethā ’ti.  hatthibhaṇḍā assabhaṇḍā dūsesuṃ. |1| 
At that time, &c.2         
เรื่องห้ามบัณเฑาะก์มิให้อุปสมบท [๑๒๕] ก็โดยสมัยนั้นแล บัณเฑาะก์คนหนึ่งบวชในสำนักภิกษุ. เธอเข้าไปหาภิกษุหนุ่มๆ แล้วพูดชวนอย่างนี้ว่า มาเถิดท่านทั้งหลาย จงประทุษร้ายข้าพเจ้า.  ภิกษุทั้งหลายพูดรุกรานว่า เจ้าบัณเฑาะก์จงฉิบหาย เจ้าบัณเฑาะก์จงพินาศ จะประโยชน์อะไรด้วยเจ้า.  เธอถูกพวกภิกษุพูดรุกราน จึงเข้าไปหาพวกสามเณรโค่งผู้มีร่างล่ำสัน แล้วพูดชวนอย่างนี้ว่า มาเถิดท่านทั้งหลาย จงประทุษร้ายข้าพเจ้า.  พวกสามเณรพูดรุกรานว่า เจ้าบัณเฑาะก์จงฉิบหาย เจ้าบัณเฑาะก์จงพินาศ จะประโยชน์อะไรด้วยเจ้า.  เธอถูกพวกสามเณรพูดรุกราน จึงเข้าไปหาพวกคนเลี้ยงช้าง คนเลี้ยงม้า แล้วพูดอย่างนี้ว่า มาเถิด ท่านทั้งหลาย จงประทุษร้ายข้าพเจ้า.  พวกคนเลี้ยงช้าง พวกคนเลี้ยงม้า ประทุษร้าย 
อนุชานามิ ภิกฺขเว ยตฺถ วา วสติ ยตฺถ วา ปฏิกฺกมติ ตตฺถ อาวรณํ กาตุนฺติ.  เตน โข ปน สมเยน ภิกฺขู สามเณรานํ มุขทฺวาริกํ อาหารํ อาวรณํ กโรนฺติ.  มนุสฺสา ยาคุปานมฺปิ สงฺฆภตฺตมฺปิ กโรนฺตา สามเณเร เอวํ วเทนฺติ  “เอถ ภนฺเต ยาคุํ ปิวถ เอถ ภนฺเต ภตฺตํ ภุญฺชถา”ติ.  สามเณรา เอวํ วเทนฺติ “นาวุโส ลพฺภา. ภิกฺขูหิ อาวรณํ กต”นฺติ.  มนุสฺสา อุชฺฌายนฺติ ขิยฺยนฺติ วิปาเจนฺติ 
te ujjhāyanti khīyanti vipācenti: paṇḍakā ime samaṇā Sakyaputtiyā, ye pi imesaṃ na paṇḍakā, te pi paṇḍake dūsenti.  evaṃ ime sabbeva abrahmacārino ’ti.  assosuṃ kho bhikkhū hatthibhaṇḍānaṃ assabhaṇḍānaṃ ujjhāyantānaṃ khīyantānaṃ vipācentānaṃ.  atha kho te bhikkhū bhagavato etam atthaṃ ārocesuṃ.  paṇḍako bhikkhave anupasampanno na upasampādetabbo, upasampanno nāsetabbo ’ti. |2| 
         
แล้วจึงเพ่งโทษ ติเตียน โพนทะนาว่า พระสมณะเชื้อสายพระศากยบุตรเหล่านี้เป็นบัณเฑาะก์ บรรดาพวกสมณะเหล่านี้ แม้พวกใดที่มิใช่บัณเฑาะก์ แม้พวกนั้นก็ประทุษร้ายบัณเฑาะก์  เมื่อเป็นเช่นนี้ พระสมณะเหล่านี้ก็ล้วนแต่ไม่ใช่เป็นผู้ประพฤติพรหมจรรย์.  ภิกษุทั้งหลายได้ยินพวกคนเลี้ยงช้าง พวกคนเลี้ยงม้า พากันเพ่งโทษ ติเตียน โพนทะนาอยู่  จึงกราบทูลเรื่องนั้นแด่พระผู้มีพระภาค.  พระผู้มีพระภาครับสั่งกะภิกษุทั้งหลายว่า ดูกรภิกษุทั้งหลาย อนุปสัมบัน คือ บัณเฑาะก์ ภิกษุไม่พึงให้อุปสมบท ที่อุปสมบทแล้วต้องให้สึกเสีย. 
“กถญฺหิ นาม ภทนฺตา สามเณรานํ มุขทฺวาริกํ อาหารํ อาวรณํ กริสฺสนฺตี”ติ.  ภควโต เอตมตฺถํ อาโรเจสุํ.  น ภิกฺขเว มุขทฺวาริโก อาหาโร อาวรณํ กาตพฺโพ.  โย กเรยฺย อาปตฺติ ทุกฺกฏสฺสาติ.  ทณฺฑกมฺมวตฺถุ นิฏฺฐิตํ. 
||61|| 
'Let a eunuch, O Bhikkhus, who has not received the upasampadâ ordination, not receive it; if he has received it, let him be expelled (from the fraternity).' 
(๔๔. อนาปุจฺฉาวรณวตฺถุ) ๑๐๘. เตน โข ปน สมเยน ฉพฺพคฺคิยา ภิกฺขู อุปชฺฌาเย อนาปุจฺฉา สามเณรานํ อาวรณํ กโรนฺติ. 
tena kho pana samayena aññataro purāṇakulaputto khīṇakolañño sukhumālo hoti.  atha kho tassa purāṇakulaputtassa khīṇakolaññassa etad ahosi:  ahaṃ kho sukhumālo na paṭibalo anadhigataṃ vā bhogaṃ adhigantuṃ adhigataṃ vā bhogaṃ phātikātuṃ.  kena nu kho ahaṃ upāyena sukhañ ca jīveyyaṃ na ca kilameyyan ti.  atha kho tassa purāṇakulaputtassa khīṇakolaññassa etad ahosi: ime kho samaṇā Sakyaputtiyā sukhasīlā sukhasamācārā subhojanāni bhuñjitvā nivātesu sayanesu sayanti.  yaṃ nūnāhaṃ sāmaṃ pattacīvaraṃ paṭiyādetvā kesamassuṃ ohāretvā kāsāyāni vatthāni acchādetvā ārāmaṃ gantvā bhikkhūhi saddhiṃ saṃvaseyyan ti. |1| 
At that time there was a certain person of an old family, whose kinsmen had died away; he was delicately nurtured.  Now this person of an old family, whose kinsmen had died away, thought:  'I am delicately nurtured; I am not able to acquire new riches or to augment the riches which I possess.  What shall I do in order that I may live a life of ease and without pain?'  Then this person of an old family, whose kinsmen had died away, gave himself the following answer: 'There are the Sakyaputtiya Samanas, who keep commodious precepts and live a commodious life; they have good meals and lie down on beds protected from wind. 
เรื่องห้ามคนลักเพศและคนเข้ารีดมิให้อุปสมบท [๑๒๖] ก็โดยสมัยนั้นแล บุตรของตระกูลเก่าแก่คนหนึ่ง เป็นสุขุมาลชาติ มีหมู่ญาติที่รู้จักกันในตระกูลหมดสิ้นไป.  ครั้งนั้น เขาได้มีความดำริว่า  เราเป็นผู้ดี ไม่สามารถจะหาโภคทรัพย์ที่ยังหาไม่ได้ หรือไม่สามารถจะทำโภคทรัพย์ที่หาได้แล้วให้เจริญงอกงาม  ด้วยวิธีอะไรหนอ เราจึงจะอยู่เป็นสุข และไม่ต้องลำบาก  แล้วคิดได้ในทันทีนั้นว่า พวกสมณะเชื้อสายพระศากยบุตรเหล่านี้แล มีปกติเป็นสุข มีความประพฤติเรียบร้อย ฉันอาหารที่ดี นอนในห้องนอนอันมิดชิด  ถ้ากระไร เราพึงจัดแจงบาตรจีวร โกนผมและหนวด ครองผ้าย้อมฝาดเสียเอง แล้วไปอารามอยู่ร่วมกับภิกษุทั้งหลาย. 
อุปชฺฌายา คเวสนฺติ กถํ นุ โข อมฺหากํ สามเณรา น ทิสฺสนฺตีติ.  ภิกฺขู เอวมาหํสุ “ฉพฺพคฺคิเยหิ อาวุโส ภิกฺขูหิ อาวรณํ กต”นฺติ.  อุปชฺฌายา อุชฺฌายนฺติ ขิยฺยนฺติ วิปาเจนฺติ  “กถญฺหิ นาม ฉพฺพคฺคิยา ภิกฺขู อมฺเห อนาปุจฺฉา อมฺหากํ สามเณรานํ อาวรณํ กริสฺสนฺตี”ติ.  ภควโต เอตมตฺถํ อาโรเจสุํ.  น ภิกฺขเว อุปชฺฌาเย อนาปุจฺฉา อาวรณํ กาตพฺพํ. 
atha kho so purāṇakulaputto khīṇakolañño sāmaṃ pattacīvaraṃ paṭiyādetvā kesamassuṃ ohāretvā kāsāyāni vatthāni acchādetvā ārāmaṃ gantvā bhikkhū abhivādeti.  bhikkhū evaṃ āhaṃsu: kativasso ’si tvaṃ āvuso ’ti.  kiṃ etaṃ āvuso kativasso nāmā ’ti.  ko pana te āvuso upajjhāyo ’ti.  kiṃ etaṃ āvuso upajjhāyo nāmā ’ti.  bhikkhū āyasmantaṃ Upāliṃ etad avocum: iṅghāvuso Upāli imaṃ pabbajitaṃ anuyuñjāhīti. |2| 
What if I were to procure myself an alms-bowl and robes on my own account, and were to have my hair and beard cut off, to put on yellow robes, to go to the Ârâma, and to live there with the Bhikkhus.'  Then that person of an old family, whose kinsmen had died away, procured himself an alms-bowl and robes on his own account, had his hair and beard cut off, put on yellow robes, went to the Ârâma, and respectfully saluted the Bhikkhus.  The Bhikkhus said to him: 'How many years, friend, have elapsed since your upasampadâ?'  'What does that mean, friends, "years elapsed since the upasampadâ?"'  'And who is your upagghâya, friend?'  'What does that word upagghâya mean, friends?' 
ต่อมา เขาได้จัดแจงบาตรจีวร โกนผมและหนวด ครองผ้าย้อมฝาดเอง แล้วไปอารามกราบไหว้ภิกษุทั้งหลาย.  ภิกษุทั้งหลายถามว่า คุณมีพรรษาได้เท่าไร?  เขาย้อนถามว่า ที่ชื่อว่ามีพรรษาได้เท่าไร นั่นอะไรกัน ขอรับ?  ภิกษุทั้งหลายถามว่า อาวุโส ใครเป็นพระอุปัชฌาย์ของคุณ?  เขาย้อนถามว่า ที่ชื่อว่าพระอุปัชฌาย์ นั่นอะไรกัน ขอรับ?  ภิกษุทั้งหลายได้แจ้งเรื่องนั้นต่อท่านพระอุบาลีว่า อาวุโสอุบาลี ขอนิมนต์ท่านสอบสวนบรรพชิตรูปนี้. 
โย กเรยฺย อาปตฺติ ทุกฺกฏสฺสาติ. (อนาปุจฺฉาวรณวตฺถุ นิฏฺฐิตํ.)      (๔๕. อปลาฬนวตฺถุ) เตน โข ปน สมเยน ฉพฺพคฺคิยา ภิกฺขู เถรานํ ภิกฺขูนํ สามเณเร อปลาเฬนฺติ.  เถรา สามํ ทนฺตกฏฺฐมฺปิ มุโขทกมฺปิ คณฺหนฺตา กิลมนฺติ  ภควโต เอตมตฺถํ อาโรเจสุํ. 
atha kho so purāṇakulaputto khīṇakolañño āyasmatā Upālinā anuyuñjiyamāno etam atthaṃ ārocesi.  āyasmā Upāli bhikkhūnaṃ etam atthaṃ ārocesi.  bhikkhū bhagavato etam atthaṃ ārocesuṃ.  theyyasaṃvāsako bhikkhave anupasampanno na upasampādetabbo, upasampanno nāsetabbo.  titthiyapakkantako bhikkhave anupasampanno na upasampādetabbo, upasampanno nāsetabbo ’ti. |3| 
The Bhikkhus said to the venerable Upâli: 'Pray, friend Upâli, examine this ascetic.'  Then that person of an old family, whose kinsmen had died away, when being examined by the venerable Upâli, told him the whole matter.  The venerable Upâli told this thing to the Bhikkhus;  the Bhikkhus told this thing to the Blessed One.  'Let a person, O Bhikkhus, who has furtively attached himself to the Samgha, if he has not received the upasampadâ ordination, not receive it; if he has received it, let him be expelled (from the fraternity). 
ครั้นเขาถูกท่านพระอุบาลีสอบสวน จึงแจ้งเรื่องนั้นให้ทราบ.  ท่านพระอุบาลีได้แจ้งให้ภิกษุทั้งหลายทราบแล้ว.  ภิกษุทั้งหลายจึงกราบทูลเรื่องนั้นแด่พระผู้มีพระภาค.  พระผู้มีพระภาครับสั่งกะภิกษุทั้งหลายว่า ดูกรภิกษุทั้งหลาย อนุปสัมบัน คือ คนลักเพศ ภิกษุไม่พึงให้อุปสมบท ที่อุปสมบทแล้วต้องให้สึกเสีย.  ดูกรภิกษุทั้งหลาย อนุปสัมบัน คือ ผู้ไปเข้ารีดเดียรถีย์ ภิกษุไม่พึงให้อุปสมบท ที่อุปสมบทแล้ว ต้องให้สึกเสีย. 
น ภิกฺขเว อญฺญสฺส ปริสา อปลาเฬตพฺพา.  โย อปลาเฬยฺย อาปตฺติ ทุกฺกฏสฺสา ติ. (อปลาฬนวตฺถุ นิฏฺฐิตํ.)      (๔๖. กณฺฏกสามเณรวตฺถุ) เตน โข ปน สมเยน อายสฺมโต อุปนนฺทสฺส สกฺยปุตฺตสฺส กณฺฏโก นาม สามเณโร กณฺฏกึ นาม ภิกฺขุนึ ทูเสสิ. 
||62|| 
'Let a person, O Bhikkhus, who has gone over to the Titthiyas' ( &c., as in chap. 61). 
ภิกฺขู อุชฺฌายนฺติ ขิยฺยนฺติ วิปาเจนฺติ “กถญฺหิ นาม สามเณโร เอวรูปํ อนาจารํ อาจริสฺสตี”ติ. 
tena kho pana samayena aññataro nāgo nāgayoniyā aṭṭi-(87)yati harāyati jigucchati.  atha kho tassa nāgassa etad ahosi:  kena nu kho ahaṃ upāyena nāgayoniyā ca parimucceyyaṃ khippañ ca manussattaṃ paṭilabheyyan ti.  atha kho tassa nāgassa etad ahosi:  ime kho samaṇā Sakyaputtiyā dhammacārino samacārino brahmacārino saccavādino sīlavanto kalyāṇadhammā.  sace kho ahaṃ samaṇesu Sakyaputtiyesu pabbajeyyaṃ, evāhaṃ nāgayoniyā ca parimucceyyaṃ khippañ ca manussattaṃ paṭilabheyyan ti. |1| 
At that time there was a serpent who was aggrieved at, ashamed of, and conceived aversion for his having been born as a serpent.  Now this serpent thought:  'What am I to do in order to become released from being a serpent, and quickly to obtain human nature?'  Then this serpent gave himself the following answer:  'These Sakyaputtiya Samanas lead indeed a virtuous, tranquil, holy life; they speak the truth; they keep the precepts of morality, and are endowed with all virtues. 
เรื่องนาคแปลงกายเป็นมนุษย์มาขอบวช [๑๒๗] ก็โดยสมัยนั้นแล นาคตัวหนึ่งอึดอัด ระอา เกลียดกำเนิดนาค  จึงนาคนั้นได้มีความดำริว่า  ด้วยวิธีอะไรหนอ เราจึงจะพ้นจากกำเนิดนาค และกลับได้อัตภาพเป็นมนุษย์เร็วพลัน.  ครั้นแล้วได้ดำริต่อไปว่า  พระสมณะเชื้อสายพระศากยบุตรเหล่านี้แล เป็นผู้ประพฤติธรรม ประพฤติสงบ ประพฤติพรหมจรรย์ กล่าวแต่คำสัตย์ มีศีล มีกัลยาณธรรม  หากเราจะพึงบวชในสำนักพระสมณะเชื้อสายพระศากยบุตร ด้วยวิธีเช่นนี้ เราก็จะพ้นจากกำเนิดนาคและกลับได้อัตภาพเป็นมนุษย์เร็วพลัน 
ภควโต เอตมตฺถํ อาโรเจสุํ.  อนุชานามิ ภิกฺขเว ทสหงฺเคหิ สมนฺนาคตํ สามเณรํ นาเสตุํ.  ปาณาติปาตี โหติ อทินฺนาทายี โหติ อพฺรหฺมจารี โหติ มุสาวาที โหติ มชฺชปายี โหติ พุทฺธสฺส อวณฺณํ ภาสติ ธมฺมสฺส อวณฺณํ ภาสติ สงฺฆสฺส อวณฺณํ ภาสติ มิจฺฉาทิฏฺฐิโก โหติ ภิกฺขุนิทูสโก โหติ  อนุชานามิ ภิกฺขเว อิเมหิ ทสหงฺเคหิ สมนฺนาคตํ สามเณรํ นาเสตุนฺติ.     
atha kho so nāgo māṇavakavaṇṇena bhikkhū upasaṃkamitvā pabbajjaṃ yāci.  taṃ bhikkhū pabbājesuṃ upasampādesuṃ.  tena kho pana samayena so nāgo aññatarena bhikkhunā saddhiṃ paccantime vihāre paṭivasati.  atha kho so bhikkhu rattiyā paccūsasamayaṃ paccuṭṭhāya ajjhokāse caṅkamati.  atha kho so nāgo tassa bhikkhuno nikkhante vissaṭṭho niddaṃ okkami.  sabbo vihāro ahinā puṇṇo, vātapānehi bhogā nikkhantā honti. |2| 
If I could obtain pabbaggâ with the Sakyaputtiya Samanas, I should be released from bcing a serpent and quickly obtain human nature,'  Then that serpent, in the shape of a youth, went to the Bhikkhus, and asked them for the pabbaggâ ordination;  the Bhikkhus conferred on him the pabbaggâ and upasampadâ ordinations.  At that time that serpent dwelt together with a certain Bhikkhu in the last Vihâra (near the boundary wall of the Getavana).  Now that Bhikkhu, having arisen in the night, at dawn, was walking up and down in the open air.  When that Bhikkhu had left (the Vihâra), that serpent, who thought himself safe (from discovery), fell asleep (in his natural shape). 
ครั้นแล้วนาคนั้นจึงแปลงกายเป็นชายหนุ่ม แล้วเข้าไปหาภิกษุทั้งหลายขอบรรพชา.  ภิกษุทั้งหลายจึงให้เขาบรรพชาอุปสมบท.  สมัยต่อมา พระนาคนั้นอาศัยอยู่ในวิหารสุดเขตกับภิกษุรูปหนึ่ง.  ครั้นปัจจุสสมัยแห่งราตรี ภิกษุรูปนั้น ตื่นนอนแล้ว ออกไปเดินจงกรมอยู่ในที่แจ้ง.  ครั้นภิกษุรูปนั้นออกไปแล้ว. พระนาคนั้นก็วางใจจำวัด.  วิหารทั้งหลังเต็มไปด้วยงู. ขนดยื่นออกไปทางหน้าต่าง. 
(๔๗. ปณฺฑกวตฺถุ) ๑๐๙. เตน โข ปน สมเยน อญฺญตโร ปณฺฑโก ภิกฺขูสุ ปพฺพชิโต โหติ. โส ทหเร ทหเร ภิกฺขู อุปสงฺกมิตฺวา เอวํ วเทติ “เอถ มํ อายสฺมนฺโต ทูเสถา”ติ.  ภิกฺขู อปสาเทนฺติ “นสฺส ปณฺฑก วินสฺส ปณฺฑก โก ตยา อตฺโถ”ติ.  โส ภิกฺขูหิ อปสาทิโต มหนฺเต มหนฺเต โมฬิคลฺเล สามเณเร อุปสงฺกมิตฺวา เอวํ วเทติ “เอถ มํ อาวุโส ทูเสถา”ติ.  สามเณรา อปสาเทนฺติ “นสฺส ปณฺฑก วินสฺส ปณฺฑก โก ตยา อตฺโถ”ติ.  โส สามเณเรหิ อปสาทิโต หตฺถิภณฺเฑ อสฺสภณฺเฑ อุปสงฺกมิตฺวา เอวํ วเทติ “เอถ มํ อาวุโส ทูเสถา”ติ.  หตฺถิภณฺฑา อสฺสภณฺฑา ทูเสสุํ. 
atha kho so bhikkhu vihāraṃ pavisissāmīti kavāṭaṃ paṇāmento addasa sabbaṃ vihāraṃ ahinā puṇṇaṃ, vātapānehi bhoge nikkhante.  disvāna bhīto vissaraṃ akāsi.  bhikkhū upadhāvitvā taṃ bhikkhuṃ etad avocuṃ: kissa tvaṃ āvuso vissaraṃ akāsīti.  ayaṃ āvuso sabbo vihāro ahinā puṇṇo, vātapānehi bhogā nikkhantā ’ti.  atha kho so nāgo tena saddena paṭibujjhitvā sake āsane nisīdi.  bhikkhū evaṃ āhaṃsu: ko ’si tvaṃ āvuso ’ti.  ahaṃ bhante nāgo ’ti.  kissa pana tvaṃ āvuso evarūpaṃ akāsīti.  atha kho so nāgo bhikkhūnaṃ etam atthaṃ ārocesi.  bhikkhū bhagavato etam atthaṃ ārocesuṃ. |3| 
The whole Vihâra was filled with the snake's body; his windings jutted out of the window.  Then that Bhikkhu thought: 'I will go back to the Vihâra,' opened the door, and saw the whole Vihâra filled with the snake's body, the windings jutting out of the window.  Seeing that he was terrified and cried out.  The Bhikkhus ran up, and said to that Bhikkhu: 'Why did you cry out, friend?'  'This whole Vihâra, friends, is filled with a snake's body; the windings jut out of the window.'  Then that serpent awoke from that noise and sat down on his seat.  The Bhikkhus said to him: 'Who are you, friend?'  'I am a serpent, reverend Sirs.'  'And why have you done such a thing, friend?'  Then that Nâga told the whole matter to the Bhikkhus; 
ครั้นภิกษุรูปนั้นผลักบานประตูด้วยตั้งใจจักเข้าวิหาร ได้เห็นวิหารทั้งหลังเต็มไปด้วยงู เห็นขนดยื่นออกไปทางหน้าต่าง  ก็ตกใจ จึงร้องเอะอะขึ้น.  ภิกษุทั้งหลายพากันวิ่งเข้าไปแล้วได้ถามภิกษุรูปนั้นว่า อาวุโส ท่านร้องเอะอะไปทำไม?  ภิกษุรูปนั้นบอกว่า อาวุโสทั้งหลาย วิหารนี้ทั้งหลังเต็มไปด้วยงู ขนดยื่นออกไปทางหน้าต่าง.  ขณะนั้น พระนาคนั้น ได้ตื่นขึ้นเพราะเสียงนั้น แล้วนั่งอยู่บนอาสนะของตน.  ภิกษุทั้งหลายถามว่า อาวุโส ท่านเป็นใคร?  น. ผมเป็นนาค ขอรับ.  ภิ. อาวุโส ท่านได้ทำเช่นนี้เพื่อประสงค์อะไร?  พระนาคนั้นจึงแจ้งเนื้อความนั้นแก่ภิกษุทั้งหลาย.  ภิกษุทั้งหลายกราบทูลเรื่องนั้นแด่พระผู้มีพระภาค. 
เต อุชฺฌายนฺติ ขิยฺยนฺติ วิปาเจนฺติ “ปณฺฑกา อิเม สมณา สกฺยปุตฺติยา. เยปิ อิเมสํ น ปณฺฑกา เตปิ อิเม ปณฺฑเก ทูเสนฺติ.  เอวํ อิเม สพฺเพว อพฺรหฺมจาริโน”ติ.  อสฺโสสุํ โข ภิกฺขู เตสํ หตฺถิภณฺฑานํ อสฺสภณฺฑานํ อุชฺฌายนฺตานํ ขิยฺยนฺตานํ วิปาเจนฺตานํ.  อถ โข เต ภิกฺขู ภควโต เอตมตฺถํ อาโรเจสุํ.  ปณฺฑโก ภิกฺขเว อนุปสมฺปนฺโน น อุปสมฺปาเทตพฺโพ อุปสมฺปนฺโน นาเสตพฺโพติ.      (๔๘. เถยฺยสํวาสกวตฺถุ) ๑๑๐. เตน โข ปน สมเยน อญฺญตโร ปุราณกุลปุตฺโต ขีณโกลญฺโญ สุขุมาโล โหติ.  อถ โข ตสฺส ปุราณกุลปุตฺตสฺส ขีณโกลญฺญสฺส เอตทโหสิ  “อหํ โข สุขุมาโล น ปฏิพโล อนธิคตํ วา โภคํ อธิคนฺตุํ อธิคตํ วา โภคํ ผาตึ กาตุํ. 
atha kho bhagavā etasmiṃ nidāne etasmiṃ pakaraṇe bhikkhusaṃghaṃ sannipātāpetvā taṃ nāgaṃ etad avoca: tumhe khv’ attha nāgā avirūḷhidhammā imasmiṃ dhammavinaye.  gaccha tvaṃ nāga tatth’ eva cātuddase pannarase aṭṭhamiyā ca pakkhassa uposathaṃ upavasa, evaṃ tvaṃ nāgayoniyā ca parimuccissasi khippañ ca manussattaṃ paṭilabhissasīti.  atha kho so nāgo avirūḷhidhammo kirāhaṃ imasmiṃ dhammavinaye ’ti dukkhī dummano assūni pavattayamāno vissaraṃ karitvā pakkāmi. |4| 
the Bhikkhus told it to the Blessed One.  In consequence of that and on this occasion the Blessed One, having ordered the fraternity of Bhikkhus to assemble, said to that serpent: 'You serpents are not capable of (spiritual) growth in this doctrine and discipline.  However, serpent, go and observe fast on the fourteenth, fifteenth, and eighth day of each half month; thus will you be released from being a serpent and quickly obtain human nature.' 
ลำดับนั้น พระผู้มีพระภาครับสั่งให้ประชุมภิกษุสงฆ์ ในเพราะเหตุเป็นเค้ามูลนั้น ในเพราะเหตุแรกเกิดนั้น แล้วได้ทรงประทานพระพุทธโธวาทนี้แก่นาคนั้นว่า พวกเจ้าเป็นนาค มีความไม่งอกงามในธรรมวินัยนี้เป็นธรรมดา  ไปเถิดเจ้านาค จงไปรักษาอุโบสถในวันที่ ๑๔ ที่ ๑๕ และที่ ๘ แห่งปักษ์นั้นแหละ ด้วยวิธีนี้เจ้าจักพ้นจากกำเนิดนาค และจักกลับได้อัตภาพเป็นมนุษย์เร็วพลัน.  ครั้นนาคนั้นได้ทราบว่า ตนมีความไม่งอกงามในพระธรรมวินัยนี้เป็นธรรมดาก็เสียใจหลั่งน้ำตา ส่งเสียงดังแล้วหลีกไป. 
เกน นุ โข อหํ อุปาเยน สุขญฺจ ชีเวยฺยํ น จ กิลเมยฺย”นฺติ?  อถ โข ตสฺส ปุราณกุลปุตฺตสฺส ขีณโกลญฺญสฺส เอตทโหสิ “อิเม โข สมณา สกฺยปุตฺติยา สุขสีลา สุขสมาจารา สุโภชนานิ ภุญฺชิตฺวา นิวาเตสุ สยเนสุ สยนฺติ.  ยํนูนาหํ สามํ ปตฺตจีวรํ ปฏิยาเทตฺวา เกสมสฺสุํ โอหาเรตฺวา กาสายานิ วตฺถานิ อจฺฉาเทตฺวา อารามํ คนฺตฺวา ภิกฺขูหิ สทฺธึ สํวเสยฺย”นฺติ. 
atha kho bhagavā bhikkhū āmantesi: dve ’me bhikkhave paccayā nāgassa sabhāvapātukammāya, yadā ca sajātiyā methunaṃ dhammaṃ paṭisevati, yadā ca vissaṭṭho niddaṃ okkamati.  ime kho bhikkhave dve paccayā nāgassa (88) sabhāvapātukammāya.tiracchānagato bhikkhave anupasampanno na upasampādetabbo, upasampanno nāsetabbo ’ti. |5| 
Then that serpent, who thought, 'I am not capable of (spiritual) growth in this doctrine and discipline,' became sad and sorrowful, shed tears, made an outcry, and went away.  Then the Blessed One said to the Bhikkhus: 'There are two occasions, O Bhikkhus, on which a serpent (who has assumed human shape) manifests his true nature: when he has sexual intercourse with a female of his species, and if he thinks himself safe (from discovery) and falls asleep. These, O Bhikkhus, are the two occasions on which a serpent manifests his true nature. 
ลำดับนั้น พระผู้มีพระภาครับสั่งกะภิกษุทั้งหลายว่า ดูกรภิกษุทั้งหลาย เหตุแห่งความปรากฏตามสภาพของนาค มีสองประการนี้ คือ เวลาเสพเมถุนธรรมกับนางนาค ผู้มีชาติเสมอกัน ๑ เวลาวางใจนอนหลับ ๑ ดูกรภิกษุทั้งหลาย เหตุแห่งความปรากฏตามสภาพของนาค ๒ ประการนี้แล  ดูกรภิกษุทั้งหลาย อนุปสัมบัน คือ สัตว์ดิรัจฉาน ภิกษุไม่พึงให้อุปสมบท ที่อุปสมบทแล้ว ต้องให้สึกเสีย. 
อถ โข โส ปุราณกุลปุตฺโต ขีณโกลญฺโญ สามํ ปตฺตจีวรํ ปฏิยาเทตฺวา เกสมสฺสุํ โอหาเรตฺวา กาสายานิ วตฺถานิ อจฺฉาเทตฺวา อารามํ คนฺตฺวา ภิกฺขู อภิวาเทติ.  ภิกฺขู เอวมาหํสุ “กติวสฺโสสิ ตฺวํ อาวุโส”ติ? 
||63|| 
'Let an animal, O Bhikkhus, that has not received the upasampadâ ordination, not receive it; if it has received it, let it be expelled (from the fraternity).' 
กึ เอตํ อาวุโส กติวสฺโส นามาติ? 
tena kho pana samayena aññataro māṇavako mātaraṃ jīvitā voropesi.  so tena pāpakena kammena aṭṭiyati harāyati jigucchati.  atha kho tassa māṇavakassa etad ahosi:  kena nu kho ahaṃ upāyena imassa pāpassa kammassa nikkhantiṃ kareyyan ti.  atha kho tassa māṇavakassa etad ahosi: ime kho samaṇā Sakyaputtiyā dhammacārino samacārino brahmacārino saccavādino sīlavanto kalyāṇadhammā.  sace kho ahaṃ samaṇesu Sakyaputtiyesu pabbajeyyaṃ, evāhaṃ imassa pāpassa kammassa nikkhantiṃ kareyyan ti. |1| 
At that time a certain young man deprived his mother of life.  He was grieved, ashamed, and loathed this sinful deed.  Now this young man thought:  'What am I to do to get rid of my sinful deed?'  Then this young man gave himself this answer: 'These Sakyaputtiya Samanas lead indeed a virtuous, tranquil, holy life, &c. 
เรื่องห้ามคนฆ่ามารดามิให้อุปสมบท [๑๒๘] ก็โดยสมัยนั้นแล มาณพผู้หนึ่งปลงชีวิตมารดาเสีย.  เขาอึดอัด ระอา รังเกียจบาปกรรมอันนั้น  และได้มีความดำริว่า  ด้วยวิธีอะไรหนอ เราจึงจะทำการออกจากบาปกรรมอันนี้ได้  จึงหวนระลึกนึกขึ้นได้ว่า พระสมณะเชื้อสายพระศากยบุตรเหล่านี้ เป็นผู้ประพฤติธรรม ประพฤติสงบ ประพฤติพรหมจรรย์ กล่าวแต่คำสัตย์ มีศีล มีกัลยาณธรรม  ถ้าเราจะพึงบวชในสำนักพระสมณะเชื้อสายพระศากยบุตร ด้วยวิธีเช่นนี้ เราก็จะทำการออกจากบาปกรรมอันนี้ได้. 
โก ปน เต อาวุโส อุปชฺฌาโยติ?  กึ เอตํ อาวุโส อุปชฺฌาโย นามาติ?  ภิกฺขู อายสฺมนฺตํ อุปาลึ เอตทโวจุํ “อิงฺฆาวุโส อุปาลิ อิมํ ปพฺพชิตํ อนุยุญฺชาหี”ติ.  อถ โข โส ปุราณกุลปุตฺโต ขีณโกลญฺโญ อายสฺมตา อุปาลินา อนุยุญฺชิยมาโน เอตมตฺถํ อาโรเจสิ.  อายสฺมา อุปาลิ ภิกฺขูนํ เอตมตฺถํ อาโรเจสิ.  ภิกฺขู ภควโต เอตมตฺถํ อาโรเจสุํ. 
atha kho so māṇavako bhikkhū upasaṃkamitvā pabbajjaṃ yāci.  bhikkhū āyasmantaṃ Upāliṃ etad avocuṃ: pubbe pi kho āvuso Upāli nāgo māṇavakavaṇṇena bhikkhūsu pabbajito, iṅghāvuso Upāli imaṃ māṇavakaṃ anuyuñjāhīti.  atha kho so māṇavako āyasmatā Upālinā anuyuñjiyamāno etam atthaṃ ārocesi.  āyasmā Upāli bhikkhūnaṃ etam atthaṃ ārocesi.  bhikkhū bhagavato etam atthaṃ ārocesuṃ.  mātughātako bhikkhave anupasampanno na upasampādetabbo, upasampanno nāsetabbo ’ti. |2| 
If I could obtain pabbaggâ with the Sakyaputtiya Samanas, I might get rid of my sinful deed.'  Then that young man went to the Bhikkhus and asked them for the pabbaggâ ordination.  The Bhikkhus said to the venerable Upâli: 'Formerly , friend Upâli, a serpent in the shape of a youth received the pabbaggâ ordination with the Bhikkhus; pray, friend Upâli, examine this young man.'  Then that young man, when examined by the venerable Upâli, told him the whole matter.  The venerable Upâli told it to the Bhikkhus;  the Bhikkhus told it to the Blessed One. 
ต่อมา เขาเข้าไปหาภิกษุทั้งหลายขอบรรพชา.  ภิกษุทั้งหลายได้แจ้งความนี้ต่อท่านพระอุบาลีว่า อาวุโส อุบาลี เมื่อครั้งก่อนแล นาคแปลงกายเป็นชายหนุ่มเข้ามาบวชในสำนักภิกษุ อาวุโสอุบาลี นิมนต์ท่านไต่สวนมาณพคนนี้.  ครั้นมาณพนั้น ถูกท่านพระอุบาลีไต่สวนอยู่ จึงแจ้งเรื่องนั้น.  ท่านพระอุบาลีได้แจ้งให้พวกภิกษุทราบแล้ว.  ภิกษุทั้งหลายจึงกราบทูลเรื่องนั้นแด่พระผู้มีพระภาค.  พระผู้มีพระภาครับสั่งกะภิกษุทั้งหลายว่า ดูกรภิกษุทั้งหลาย อนุปสัมบัน คือ คนฆ่ามารดา ภิกษุไม่พึงให้อุปสมบท ที่อุปสมบทแล้วต้องให้สึกเสีย. 
เถยฺยสํวาสโก ภิกฺขเว อนุปสมฺปนฺโน น อุปสมฺปาเทตพฺโพ อุปสมฺปนฺโน นาเสตพฺโพติ.  ติตฺถิยปกฺกนฺตโก ภิกฺขเว อนุปสมฺปนฺโน น อุปสมฺปาเทตพฺโพ อุปสมฺปนฺโน นาเสตพฺโพติ.      (๔๙. ติรจฺฉานคตวตฺถุ) ๑๑๑. เตน โข ปน สมเยน อญฺญตโร นาโค นาคโยนิยา อฏฺฏียติ หรายติ ชิคุจฺฉติ.  อถ โข ตสฺส นาคสฺส เอตทโหสิ 
||64|| 
'Let a person, O Bhikkhus, that is guilty of matricide, if he has not received the upasampadâ ordination, not receive it; if he has received it, let him be expelled (from the fraternity).' 
“เกน นุ โข อหํ อุปาเยน นาคโยนิยา จ ปริมุจฺเจยฺยํ ขิปฺปญฺจ มนุสฺสตฺตํ ปฏิลเภยฺย”นฺติ. 
tena kho pana samayena aññataro māṇavako pitaraṃ jīvitā voropesi.  so tena pāpakena kammena . . . (= I.64,1,2) . . . bhikkhū bhagavato etam atthaṃ ārocesuṃ. pitughātako bhikkhave anupasampanno na upasampādetabbo, upasampanno nāsetabbo ’ti. |1| 
At that time a certain young man deprived his father of life (&c., as in chap.64). 
เรื่องห้ามคนฆ่าบิดามิให้อุปสมบท [๑๒๙] ก็โดยสมัยนั้นแล มาณพผู้หนึ่งปลงชีวิตบิดาเสีย.  เขาอึดอัด ระอา รังเกียจ บาปกรรมอันนั้น และได้มีความดำริว่า ด้วยวิธีอะไรหนอ เราจึงจะทำการออกจากบาปกรรม อันนี้ได้ จึงหวนระลึกนึกขึ้นได้ว่า พระสมณะเชื้อสายพระศากยบุตรเหล่านี้ เป็นผู้ประพฤติธรรม ประพฤติสงบ ประพฤติพรหมจรรย์ กล่าวแต่คำสัตย์ มีศีล มีกัลยาณธรรม ถ้าเราจะพึงบวช ในสำนักพระสมณะเชื้อสายพระศากยบุตร ด้วยวิธีเช่นนี้ เราก็จะทำการออกจากบาปกรรมอันนี้ ได้. ต่อมา เขาเข้าไปหาภิกษุทั้งหลายแล้วขอบรรพชา. ภิกษุทั้งหลายได้แจ้งความนี้ต่อท่านพระอุบาลี ว่า อาวุโสอุบาลี เมื่อครั้งก่อนแล นาคแปลงกายเป็นชายหนุ่มเข้ามาบวชในสำนักภิกษุ อาวุโส อุบาลี นิมนต์ท่านไต่สวนมาณพคนนี้. ครั้นมาณพนั้น ถูกท่านพระอุบาลีไต่สวนอยู่ จึงแจ้ง เรื่องนั้น. ท่านพระอุบาลีได้แจ้งให้พวกภิกษุทราบแล้ว. ภิกษุทั้งหลายจึงกราบทูลเรื่องนั้นแด่ พระผู้มีพระภาค. พระผู้มีพระภาครับสั่งกะภิกษุทั้งหลายว่า ดูกรภิกษุทั้งหลาย อนุปสัมบัน คือ คนฆ่าบิดา ภิกษุไม่พึงให้อุปสมบท ที่อุปสมบทแล้วต้องให้สึกเสีย. 
อถ โข ตสฺส นาคสฺส เอตทโหสิ  “อิเม โข สมณา สกฺยปุตฺติยา ธมฺมจาริโน สมจาริโน พฺรหฺมจาริโน สจฺจวาทิโน สีลวนฺโต กลฺยาณธมฺมา. 
||65|| 
'Let a person, O Bhikkhus, that is guilty of parricide, &c.' 
สเจ โข อหํ สมเณสุ สกฺยปุตฺติเยสุ ปพฺพเชยฺยํ เอวาหํ นาคโยนิยา จ ปริมุจฺเจยฺยํ ขิปฺปญฺจ มนุสฺสตฺตํ ปฏิลเภยฺย”นฺติ. 
tena kho pana samayena sambahulā bhikkhū Sāketā Sāvatthiṃ addhānamaggapaṭipannā honti.  antarā magge corā nikkhamitvā ekacce bhikkhū acchindiṃsu, ekacce bhikkhū haniṃsu.  Sāvatthiyā rājabhaṭā nikkhamitvā ekacce core aggahesuṃ, ekacce corā palāyiṃsu.  ye te palāyiṃsu, te bhikkhūsu pabbajiṃsu, ye te gahitā, te vadhāya onīyanti. |1| 
At that time a number of Bhikkhus were travelling on the road from Sâketa to Sâvatthi.  On the road robbers broke forth, robbed some of the Bhikkhus, and killed some of them.  Then royal soldiers came from Sâvatthi and caught some of the robbers; others of them escaped. 
เรื่องห้ามคนฆ่าพระอรหันต์มิให้อุปสมบท [๑๓๐] ก็โดยสมัยนั้นแล ภิกษุมากรูปด้วยกัน เดินทางไกล จากเมืองสาเกตไปพระนครสาวัตถี.  ในระหว่างทาง พวกโจรพากันยกพวกออกมา แย่งชิงภิกษุบางพวก ฆ่าภิกษุบางพวก.  เจ้าหน้าที่ยกออกไปจากพระนครสาวัตถี แล้วจับโจรได้เป็นบางพวก.  บางพวกหลบหนีไปได้. พวกที่หลบหนีไป ได้บวชในสำนักภิกษุ. พวกที่ถูกจับได้ เจ้าหน้าที่กำลังนำไปฆ่า. 
อถ โข โส นาโค มาณวกวณฺเณน ภิกฺขู อุปสงฺกมิตฺวา ปพฺพชฺชํ ยาจิ.  ตํ ภิกฺขู ปพฺพาเชสุํ อุปสมฺปาเทสุํ.  เตน โข ปน สมเยน โส นาโค อญฺญตเรน ภิกฺขุนา สทฺธึ ปจฺจนฺติเม วิหาเร ปฏิวสติ.  อถ โข โส ภิกฺขุ รตฺติยา ปจฺจูสสมยํ ปจฺจุฏฺฐาย อชฺโฌกาเส จงฺกมติ. 
addasaṃsu kho te pabbajitā te core vadhāya onīyamāne, disvāna evaṃ āhaṃsu: sādhu kho mayaṃ palāyimhā, sacāca mayaṃ gayheyyāma, mayam pi evam eva haññeyyā-(89)mā ’ti.  bhikkhū evaṃ āhaṃsu: kim pana tumhe āvuso akatthā ’ti.  atha kho te pabbajitā bhikkhūnaṃ etam atthaṃ ārocesuṃ.  bhikkhū bhagavato etam atthaṃ ārocesuṃ.  arahanto ete bhikkhave bhikkhū.  arahantaghātako bhikkhave anupasampanno na upasampādetabbo, upasampanno nāsetabbo ’ti. |2| 
Those who had escaped, received pabbaggâ with the Bhikkhus; those who had been caught, were led to death.  Then those who had been ordained, saw those robbers who were being led to death; seeing them they said: 'It is well that we have escaped; had we been caught, we should also be killed thus.'  The Bhikkhus said to them: 'Why, what have you done, friends?'  Then those (robbers) who had been ordained, told the whole matter to the Bhikkhus.  The Bhikkhus told this thing to the Blessed One.  'Those Bhikkhus, O Bhikkhus, were Arahats. 
พวกโจรที่บวชแล้วเหล่านั้นได้เห็นโจรพวกนั้นกำลังถูกนำไปฆ่า ครั้นแล้วจึงพูดอย่างนี้ว่า เคราะห์ดีพวกเราพากันหนีรอดมาได้ ถ้าวันนั้นถูกจับ จะต้องถูกเขาฆ่าเช่นนี้เหมือนกัน.  ภิกษุทั้งหลายพากันถามว่า อาวุโสทั้งหลาย ก็พวกท่านได้ทำอะไรไว้?  จึงบรรพชิตเหล่านั้นได้แจ้งเรื่องนั้นแก่ภิกษุทั้งหลาย.  ภิกษุทั้งหลายได้กราบทูลเรื่องนั้นแด่พระผู้มีพระภาค.  พระผู้มีพระภาครับสั่งกะภิกษุทั้งหลายว่า ดูกรภิกษุทั้งหลาย ภิกษุพวกนั้นเป็นอรหันต์  ดูกรภิกษุทั้งหลาย อนุปสัมบัน คือคนฆ่าพระอรหันต์ ภิกษุไม่พึงให้อุปสมบท ที่อุปสมบทแล้วต้องให้สึกเสีย. 
อถ โข โส นาโค ตสฺส ภิกฺขุโน นิกฺขนฺเต วิสฺสฏฺโฐ นิทฺทํ โอกฺกมิ.  สพฺโพ วิหาโร อหินา ปุณฺโณ วาตปาเนหิ โภคา นิกฺขนฺตา โหนฺติ.  อถ โข โส ภิกฺขุ วิหารํ ปวิสิสฺสามีติ กวาฏํ ปณาเมนฺโต อทฺทส สพฺพํ วิหารํ อหินา ปุณฺณํ วาตปาเนหิ โภเค นิกฺขนฺเต  ทิสฺวาน ภีโต วิสฺสรมกาสิ.  ภิกฺขู อุปธาวิตฺวา ตํ ภิกฺขุํ เอตทโวจุํ “กิสฺส ตฺวํ อาวุโส วิสฺสรมกาสี”ติ?  “อยํ อาวุโส สพฺโพ วิหาโร อหินา ปุณฺโณ วาตปาเนหิ โภคา นิกฺขนฺตา”ติ. 
||66|| 
Let a person, O Bhikkhus, that has murdered an Arahat, if this person has not received the upasampadâ ordination, not receive it; if he has received it, let him be expelled (from the fraternity).' 
อถ โข โส นาโค เตน สทฺเทน ปฏิพุชฺฌิตฺวา สเก อาสเน นิสีทิ. 
tena kho pana samayena sambahulā bhikkhuniyo Sāketā Sāvatthiṃ addhānamaggapaṭipannā honti.  antarā magge corā nikkhamitvā ekaccā bhikkhuniyo acchindiṃsu, ekaccā bhikkhuniyo dūsesuṃ.  Sāvatthiyā rājabhaṭā . . . (I,66,1.2) . . . bhikkhū bhagavato etam atthaṃ ārocesuṃ.  bhikkhunīdūsako {bhikkhave} anupasampanno na upasampādetabbo, upasampanno nāsetabbo.  saṃghabhedako bhikkhave anupasampanno na upasampādetabbo, upasampanno nāsetabbo.  lohituppādako bhikkhave anupasampanno na upasampādetabbo, upasampanno nāsetabbo ’ti. |1| 
At that time a number of Bhikkhunîs were travelling on the road from Sâketa to Sâvatthi.  On the road robbers broke forth, robbed some of the Bhikkhunîs, and violated some of them.  Then royal soldiers (&c., as in chap. 66). The Bhikkhus told this thing to the Blessed One.  'Let a person, O Bhikkhus, that has violated a Bhikkhunî (or, that has had sexual intercourse with a Bhikkhunî), (&c., as in chap. 66).  'Let a person, O Bhikkhus, that has caused a schism among the Samgha, &c. 
เรื่องห้ามอุปสมบทคนประทุษร้ายภิกษุณีเป็นต้น [๑๓๑] ก็โดยสมัยนั้นแล ภิกษุณีหลายรูป เดินทางไกลจากเมืองสาเกตไปพระนครสาวัตถี.  ในระหว่างทาง พวกโจรพากันยกออกมา แย่งชิงภิกษุณีบางพวก ทำร้ายภิกษุณีบางพวก.  เจ้าหน้าที่ยกออกไปจากพระนครสาวัตถี แล้วจับโจรได้เป็นบางพวก. บางพวกหลบหนีไปได้. พวกที่หลบหนีไป ได้บวชในสำนักภิกษุ. พวกที่ถูกจับได้เจ้าหน้าที่กำลังนำไปฆ่า. พวกโจรที่บวชแล้วเหล่านั้น ได้เห็นโจรพวกนั้นกำลังถูกนำไปฆ่า ครั้นแล้วจึงพูดอย่างนี้ว่า เคราะห์ดี พวกเราพากันหนีรอดมาได้ ถ้าวันนั้นถูกจับ จะต้องถูกเขาฆ่าเช่นนี้เหมือนกัน. ภิกษุทั้งหลายพากันถามว่า อาวุโสทั้งหลาย ก็พวกท่านได้ทำอะไรไว้. จึงบรรพชิตเหล่านั้นได้แจ้งเรื่องนั้นแก่ภิกษุทั้งหลาย. ภิกษุทั้งหลายกราบทูลเรื่องนั้นแด่พระผู้มีพระภาค.  พระผู้มีพระภาครับสั่งกะภิกษุทั้งหลายว่า ดูกรภิกษุทั้งหลาย อนุปสัมบัน คือคนประทุษร้ายภิกษุณี ภิกษุไม่พึงให้อุปสมบท ที่อุปสมบทแล้วต้องให้สึกเสีย.  ดูกรภิกษุทั้งหลาย อนุปสัมบัน คือคนผู้ทำสังฆเภท ภิกษุไม่พึงให้อุปสมบท ที่อุปสมบทแล้วต้องให้สึกเสีย.  ดูกรภิกษุทั้งหลาย อนุปสัมบัน คือคนทำร้ายพระพุทธเจ้าจนถึงห้อพระโลหิต ภิกษุไม่พึงให้อุปสมบท ที่อุปสมบทแล้ว ต้องให้สึกเสีย. 
ภิกฺขู เอวมาหํสุ “โกสิ ตฺวํ อาวุโส”ติ?  “อหํ ภนฺเต นาโค”ติ.  “กิสฺส ปน ตฺวํ อาวุโส เอวรูปํ อกาสี”ติ?  อถ โข โส นาโค ภิกฺขูนํ เอตมตฺถํ อาโรเจสิ.  ภิกฺขู ภควโต เอตมตฺถํ อาโรเจสุํ.  อถ โข ภควา เอตสฺมึ นิทาเน เอตสฺมึ ปกรเณ ภิกฺขุสงฺฆํ สนฺนิปาตาเปตฺวา ตํ นาคํ เอตทโวจ “ตุมฺเห โขตฺถ นาคา อวิรุฬฺหิธมฺมา อิมสฺมึ ธมฺมวินเย. 
||67|| 
'Let a person, O Bhikkhus, that has shed (a Buddha's) blood,' &c. 
คจฺฉ ตฺวํ นาค ตตฺเถว จาตุทฺทเส ปนฺนรเส อฏฺฐมิยา จ ปกฺขสฺส อุโปสถํ อุปวส เอวํ ตฺวํ นาคโยนิยา จ ปริมุจฺจิสฺสสิ ขิปฺปญฺจ มนุสฺสตฺตํ ปฏิลภิสฺสสี”ติ. 
tena kho pana samayena aññataro ubhatovyañjanako bhikkhūsu pabbajito hoti, so karoti pi kārāpeti pi.  bhagavato etam atthaṃ ārocesuṃ.  ubhatovyañjanako bhikkhave anupasampanno na upasampādetabbo, upasampanno nāsetabbo ’ti.|1| 
At that time a certain hermaphrodite had received pabbaggâ with the Bhikkhus; so karoti pi kârâpeti pi.  They told this thing to the Blessed One. 
เรื่องห้ามอุปสมบทอุภโตพยัญชนก [๑๓๒] ก็โดยสมัยนั้นแล อุภโตพยัญชนกคนหนึ่งได้บวชในสำนักภิกษุ. เธอเสพเมถุนธรรมในสตรีทั้งหลาย ด้วยปุริสนิมิตของตนบ้าง ให้บุรุษอื่นเสพเมถุนธรรมในอิตถีนิมิตของตนบ้าง.  ภิกษุทั้งหลายจึงกราบทูลเรื่องนั้นแด่พระผู้มีพระภาค.  พระผู้มีพระภาครับสั่งกะภิกษุทั้งหลายว่า ดูกรภิกษุทั้งหลาย อนุปสัมบัน คือ อุภโตพยัญชนก ภิกษุไม่พึงให้อุปสมบท ที่อุปสมบทแล้วต้องให้สึกเสีย. 
อถ โข โส นาโค อวิรุฬฺหิธมฺโม กิราหํ อิมสฺมึ ธมฺมวินเยติ ทุกฺขี ทุมฺมโน อสฺสูนิ ปวตฺตยมาโน วิสฺสรํ กตฺวา ปกฺกามิ.  อถ โข ภควา ภิกฺขู อามนฺเตสิ “ทฺเวเม ภิกฺขเว ปจฺจยา นาคสฺส สภาวปาตุกมฺมาย. ยทา จ สชาติยา เมถุนํ ธมฺมํ ปฏิเสวติ ยทา จ วิสฺสฏฺโฐ นิทฺทํ โอกฺกมติ  อิเม โข ภิกฺขเว ทฺเว ปจฺจยา นาคสฺส สภาวปาตุกมฺมาย ติรจฺฉานคโต ภิกฺขเว อนุปสมฺปนฺโน น อุปสมฺปาเทตพฺโพ อุปสมฺปนฺโน นาเสตพฺโพ”ติ. 
||68|| 
'Let a hermaphrodite, O Bhikkhus,' &c. 
 
tena kho pana samayena bhikkhū anupajjhāyakaṃ upasampādenti.  bhagavato etam atthaṃ ārocesuṃ.  na bhikkhave anupajjhāyako upasampādetabbo.  yo upasampādeyya, āpatti dukkaṭassā ’ti.|1| 
At that time the Bhikkhus conferred, the upasampadâ ordination on a person that had no upagghâya.  They told this thing to the Blessed One.  'Let no one, O Bhikkhus, who has no upagghâya, receive the upasampadâ ordination. 
บุคคลไม่ควรให้อุปสมบท ๒๐ จำพวก [๑๓๓] ก็โดยสมัยนั้นแล ภิกษุทั้งหลายอุปสมบทกุลบุตรผู้ไม่มีอุปัชฌาย์.  ภิกษุทั้งหลายจึงกราบทูลเรื่องนั้นแด่พระผู้มีพระภาค.  พระผู้มีพระภาครับสั่งกะภิกษุทั้งหลายว่า ดูกรภิกษุทั้งหลาย กุลบุตรผู้ไม่มีอุปัชฌาย์ ภิกษุไม่พึงอุปสมบทให้  รูปใดอุปสมบทให้ ต้องอาบัติทุกกฏ. 
    (๕๐. มาตุฆาตกวตฺถุ) ๑๑๒. เตน โข ปน สมเยน อญฺญตโร มาณวโก มาตรํ ชีวิตา โวโรเปสิ.  โส เตน ปาปเกน กมฺเมน อฏฺฏียติ หรายติ ชิคุจฺฉติ 
tena kho pana samayena bhikkhū saṃghena upajjhāyena upasampādenti.  bhagavato etam atthaṃ ārocesuṃ.  na bhikkhave saṃghena upajjhāyena upasampādetabbo.  yo upasampādeyya, āpatti dukkaṭassā ’ti.|2| 
He who confers the upasampadâ ordination (on such a person), commits a dukkata offence.'  At that time the Bhikkhus conferred the upasampadâ ordination with the Samgha as upagghâya.  They told this thing to the Blessed One.  'Let no one receive the upasampadâ ordination with the Samgha as upagghâya. 
สมัยต่อมา ภิกษุทั้งหลายอุปสมบทกุลบุตรมีสงฆ์เป็นอุปัชฌาย์.  ภิกษุทั้งหลายจึงกราบทูลเรื่องนั้น แด่พระผู้มีพระภาค.  พระผู้มีพระภาครับสั่งกะภิกษุทั้งหลายว่า ดูกรภิกษุทั้งหลาย กุลบุตรมีสงฆ์เป็นอุปัชฌาย์ ภิกษุไม่พึงอุปสมบทให้  รูปใดอุปสมบทให้ ต้องอาบัติทุกกฏ. 
อถ โข ตสฺส มาณวกสฺส เอตทโหสิ  “เกน นุ โข อหํ อุปาเยน อิมสฺส ปาปกสฺส กมฺมสฺส นิกฺขนฺตึ กเรยฺย”นฺติ?  อถ โข ตสฺส มาณวกสฺส เอตทโหสิ “อิเม โข สมณา สกฺยปุตฺติยา ธมฺมจาริโน สมจาริโน พฺรหฺมจาริโน สจฺจวาทิโน สีลวนฺโต กลฺยาณธมฺมา.  สเจ โข อหํ สมเณสุ สกฺยปุตฺติเยสุ ปพฺพเชยฺยํ เอวาหํ อิมสฺส ปาปกสฺส กมฺมสฺส นิกฺขนฺตึ กเรยฺย”นฺติ. 
tena kho pana samayena bhikkhū gaṇena upajjhāyena upasampādenti.  bhagavato etam atthaṃ ārocesuṃ.  na bhikkhave gaṇena upajjhāyena upasampādetabbo.  yo upasampādeyya, āpatti dukkaṭassā ’ti. |3| 
He who confers the upasampadâ ordination (in such a way), commits a dukkata offence.'  At that time the Bhikkhus conferred the upasampadâ ordination with a number of Bhikkhus as upagghâya (&c., as before).     
สมัยต่อมา ภิกษุทั้งหลายอุปสมบทกุลบุตรมีคณะเป็นอุปัชฌาย์.  ภิกษุทั้งหลายจึงกราบทูลเรื่องนั้นแด่พระผู้มีพระภาค.  พระผู้มีพระภาครับสั่งกะภิกษุทั้งหลายว่า ดูกรภิกษุทั้งหลาย กุลบุตรมีคณะเป็นอุปัชฌาย์ ภิกษุไม่พึงอุปสมบทให้  รูปใดอุปสมบทให้ ต้องอาบัติทุกกฏ. 
อถ โข โส มาณวโก ภิกฺขู อุปสงฺกมิตฺวา ปพฺพชฺชํ ยาจิ.  ภิกฺขู อายสฺมนฺตํ อุปาลึ เอตทโวจุํ “ปุพฺเพปิ โข อาวุโส อุปาลิ นาโค มาณวกวณฺเณน ภิกฺขูสุ ปพฺพชิโต. อิงฺฆาวุโส อุปาลิ อิมํ มาณวกํ อนุยุญฺชาหี”ติ.  อถ โข โส มาณวโก อายสฺมตา อุปาลินา อนุยุญฺชียมาโน เอตมตฺถํ อาโรเจสิ.  อายสฺมา อุปาลิ ภิกฺขูนํ เอตมตฺถํ อาโรเจสิ. 
tena kho pana samayena bhikkhū paṇḍakupajjhāyena upasampādenti --gha--, theyyasaṃvāsakupajjhāyena upasampādenti, titthiyapakkantakupajjhāyena up., tiracchānagatupajjhā-(90)yena up., {mātughātakupajjhāyena} up., pitughātakupajjhāyena up., arahantaghātakupajjhāyena up., bhikkhunīdūsakupajjhāyena up., saṃghabhedakupajjhāyena up., lohituppādakupajjhāyena up.  ubhatovyañjanakupajjhāyena upasampādenti.  bhagavato etam atthaṃ ārocesum.  na bhikkhave paṇḍakupajjhāyena upasampādetabbo, na theyyasaṃvāsakupajjhāyena upasampādetabbo . . . na ubhatovyañjanakupajjhāyena upasampādetabbo.  yo upasampādeyya, āpatti dukkaṭassā ’ti. |4| 
  At that time the Bhikkhus conferred the upasampadâ ordination with a eunuch as upagghâya, &c.; with a person that had furtively attached himself (to the Samgha) as upagghâya; with a person that was gone over to the Titthiyas as upagghâya; with an animal as upagghâya; with a person that was guilty of matricide as upagghâya; with a person that was guilty of parricide as upagghâya; with a person that had murdered an Arahat as upagghâya; with a person that had violated a Bhikkhunî as upagghâya; with a person that had caused a schism among the Samgha as upagghâya; with a person that had shed (a Buddha's) blood as upagghâya;  with a hermaphrodite as upagghâya.  They told this thing to the Blessed One.  'Let no one,' &c. (as in the first clause). 
สมัยต่อมา ภิกษุทั้งหลายอุปสมบทกุลบุตรมีบัณเฑาะก์เป็นอุปัชฌาย์. ... อุปสมบทกุลบุตรมีบุคคลลักเพศเป็นอุปัชฌาย์. ... อุปสมบทกุลบุตรมีภิกษุไปเข้ารีดเดียรถีย์เป็นอุปัชฌาย์. ... อุปสมบทกุลบุตรมีสัตว์ดิรัจฉานเป็นอุปัชฌาย์. ... อุปสมบทกุลบุตรมีคนฆ่ามารดาเป็นอุปัชฌาย์. ... อุปสมบทกุลบุตรมีคนฆ่าบิดาเป็นอุปัชฌาย์. ... อุปสมบทกุลบุตรมีคนฆ่าพระอรหันต์เป็นอุปัชฌาย์. ... อุปสมบทกุลบุตรมีคนประทุษร้ายภิกษุณีเป็นอุปัชฌาย์. ... อุปสมบทกุลบุตรมีคนทำสังฆเภทเป็นอุปัชฌาย์ ... อุปสมบทกุลบุตรมีคนทำร้ายพระศาสดาจนห้อพระโลหิตเป็นอุปัชฌาย์  ... อุปสมบทกุลบุตรมีอุภโตพยัญชนกเป็นอุปัชฌาย์.  ภิกษุทั้งหลายจึงกราบทูลเรื่องนั้นแด่พระผู้มีพระภาค.  พระผู้มีพระภาครับสั่งกะภิกษุทั้งหลายว่า ดูกรภิกษุทั้งหลาย กุลบุตรมีบัณเฑาะก์เป็นอุปัชฌาย์ ภิกษุไม่พึงอุปสมบทให้ ... กุลบุตรมีบุคคลลักเพศเป็นอุปัชฌาย์ ภิกษุไม่พึงอุปสมบทให้ ... กุลบุตรมีภิกษุไปเข้ารีดเดียรถีย์เป็นอุปัชฌาย์ ภิกษุไม่พึงอุปสมบทให้ ... กุลบุตรมีสัตว์ดิรัจฉานเป็นอุปัชฌาย์ ภิกษุไม่พึงอุปสมบทให้ ... กุลบุตรมีคนฆ่ามารดาเป็นอุปัชฌาย์ ภิกษุไม่พึงอุปสมบทให้ ... กุลบุตรมีคนฆ่าบิดาเป็นอุปัชฌาย์ ภิกษุไม่พึงอุปสมบทให้ ... กุลบุตรมีคนฆ่าพระอรหันต์เป็นอุปัชฌาย์ ภิกษุไม่พึงอุปสมบทให้ ... กุลบุตรมีคนประทุษร้ายภิกษุณีเป็นอุปัชฌาย์ ภิกษุไม่พึงอุปสมบทให้ ... กุลบุตรมีคนทำสังฆเภทเป็นอุปัชฌาย์ ภิกษุไม่พึงอุปสมบทให้ ... กุลบุตรมีคนทำร้ายพระศาสดาจนห้อพระโลหิตเป็นอุปัชฌาย์ ภิกษุไม่พึงอุปสมบทให้ ... กุลบุตรมีอุภโตพยัญชนกเป็นอุปัชฌาย์ ภิกษุไม่พึงอุปสมบทให้  รูปใดอุปสมบทให้ต้องอาบัติทุกกฏ. 
ภิกฺขู ภควโต เอตมตฺถํ อาโรเจสุํฯเปฯ  มาตุฆาตโก ภิกฺขเว อนุปสมฺปนฺโน น อุปสมฺปาเทตพฺโพ อุปสมฺปนฺโน นาเสตพฺโพติ.      (๕๑. ปิตุฆาตกวตฺถุ) ๑๑๓. เตน โข ปน สมเยน อญฺญตโร มาณวโก ปิตรํ ชีวิตา โวโรเปสิ. 
||69|| 
 
โส เตน ปาปเกน กมฺเมน อฏฺฏียติ หรายติ ชิคุจฺฉติ. อถ โข ตสฺส มาณวกสฺส เอตทโหสิ “เกน นุ โข อหํ อุปาเยน อิมสฺส ปาปกสฺส กมฺมสฺส นิกฺขนฺตึ กเรยฺย”นฺติ. อถ โข ตสฺส มาณวกสฺส เอตทโหสิ “อิเม โข สมณา สกฺยปุตฺติยา ธมฺมจาริโน สมจาริโน พฺรหฺมจาริโน สจฺจวาทิโน สีลวนฺโต กลฺยาณธมฺมา สเจ โข อหํ สมเณสุ สกฺยปุตฺติเยสุ ปพฺพเชยฺยํ เอวาหํ อิมสฺส ปาปกสฺส กมฺมสฺส นิกฺขนฺตึ กเรยฺย”นฺติ. อถ โข โส มาณวโก ภิกฺขู อุปสงฺกมิตฺวา ปพฺพชฺชํ ยาจิ. ภิกฺขู อายสฺมนฺตํ อุปาลึ เอตทโวจุํ “ปุพฺเพปิ โข อาวุโส อุปาลิ นาโค มาณวกวณฺเณน ภิกฺขูสุ ปพฺพชิโต อิงฺฆาวุโส อุปาลิ อิมํ มาณวกํ อนุยุญฺชาหี”ติ. อถ โข โส มาณวโก อายสฺมตา อุปาลินา อนุยุญฺชียมาโน เอตมตฺถํ อาโรเจสิ. อายสฺมา อุปาลิ ภิกฺขูนํ เอตมตฺถํ อาโรเจสิ. ภิกฺขู ภควโต เอตมตฺถํ อาโรเจสุํ. ปิตุฆาตโก ภิกฺขเว อนุปสมฺปนฺโน น อุปสมฺปาเทตพฺโพ อุปสมฺปนฺโน นาเสตพฺโพติ. 
tena kho pana samayena bhikkhū apattakaṃ upasampādenti.  hatthesu piṇḍāya caranti.  manussā ujjhāyanti khīyanti vipācenti: seyyathāpi titthiyā ’ti.  bhagavato etam atthaṃ ārocesuṃ.  na bhikkhave apattako upasampādetabbo.  yo upasampādeyya, āpatti dukkaṭassā ’ti.|1| 
At that time the Bhikkhus conferred the upasampadâ ordination on persons that had no alms-bowl.  They received alms with their hands.  People were annoyed, murmured, and became angry, saying, 'Like the Titthiyas.'  They told this thing to the Blessed One.  'Let no one, O Bhikkhus, receive the upasampadâ ordination without having an alms-bowl. 
[๑๓๔] ก็โดยสมัยนั้นแล ภิกษุทั้งหลายอุปสมบทกุลบุตรผู้ไม่มีบาตร.  พวกเธอเที่ยวรับบิณฑบาตด้วยมือ.  คนทั้งหลายจึงเพ่งโทษ ติเตียน โพนทะนาว่า เที่ยวรับบิณฑบาตเหมือนพวกเดียรถีย์.  ภิกษุทั้งหลายกราบทูลเรื่องนั้นแด่พระผู้มีพระภาค.  พระผู้มีพระภาครับสั่งกะภิกษุทั้งหลายว่า ดูกรภิกษุทั้งหลาย กุลบุตรไม่มีบาตร ภิกษุไม่พึงอุปสมบทให้  รูปใดอุปสมบทให้ ต้องอาบัติทุกกฏ. 
    (๕๒. อรหนฺตฆาตกวตฺถุ) ๑๑๔. เตน โข ปน สมเยน สมฺพหุลา ภิกฺขู สาเกตา สาวตฺถึ อทฺธานมคฺคปฺปฏิปนฺนา โหนฺติ.  อนฺตรามคฺเค โจรา นิกฺขมิตฺวา เอกจฺเจ ภิกฺขู อจฺฉินฺทึสุ เอกจฺเจ ภิกฺขู หนึสุ.  สาวตฺถิยา ราชภฏา นิกฺขมิตฺวา เอกจฺเจ โจเร อคฺคเหสุํ เอกจฺเจ โจรา ปลายิ๎สุ.  เย เต ปลายิ๎สุ เต ภิกฺขูสุ ปพฺพชึสุ เย เต คหิตา เต วธาย โอนิยฺยนฺติ 
tena kho pana samayena bhikkhū acīvarakaṃ upasampādenti.  naggā piṇḍāya caranti.  manussā ujjhāyanti khīyanti vipācenti: seyyathāpi titthiyā ’ti.  bhagavato etam atthaṃ ārocesuṃ.  na bhikkhave acīvarako upasampādetabbo.  yo upasampādeyya, āpatti dukkaṭassā ’ti.|2| 
He who confers the upasampadâ ordination (on a person that has not), commits a dukkata offence.'  At that time the Bhikkhus conferred the upasampadâ ordination on persons that had no robes.  They went out for alms naked.  People were annoyed (&c., as in § 1).     
สมัยต่อมา ภิกษุทั้งหลายอุปสมบทกุลบุตรผู้ไม่มีจีวร.  พวกเธอเปลือยกายเที่ยวรับบิณฑบาต.  คนทั้งหลายจึงเพ่งโทษ ติเตียน โพนทะนาว่า เที่ยวรับบิณฑบาตเหมือนพวกเดียรถีย์.  ภิกษุทั้งหลายกราบทูลเรื่องนั้นแด่พระผู้มีพระภาค.  พระผู้มีพระภาครับสั่งกะภิกษุทั้งหลายว่า ดูกรภิกษุทั้งหลาย กุลบุตรไม่มีจีวร ภิกษุไม่พึงอุปสมบทให้  รูปใดอุปสมบทให้ต้องอาบัติทุกกฏ. 
อทฺทสํสุ โข เต ปลายิตฺวา ปพฺพชิตา เต โจเร วธาย โอนิยฺยมาเน ทิสฺวาน เอวมาหํสุ “สาธุ โข มยํ ปลายิมฺหา สจา จ มยํ คยฺเหยฺยาม มยมฺปิ เอวเมว หญฺเญยฺยามา”ติ ภิกฺขู เอวมาหํสุ “กึ ปน ตุมฺเห อาวุโส อกตฺถา”ติ?  อถ โข เต ปพฺพชิตา ภิกฺขูนํ เอตมตฺถํ อาโรเจสุํ.  ภิกฺขู ภควโต เอตมตฺถํ อาโรเจสุํ.  อรหนฺโต เอเต ภิกฺขเว ภิกฺขู.  อรหนฺตฆาตโก ภิกฺขเว อนุปสมฺปนฺโน น อุปสมฺปาเทตพฺโพ อุปสมฺปนฺโน นาเสตพฺโพติ.   
tena kho pana samayena bhikkhū apattacīvarakaṃ upasampādenti.  naggā hatthesu piṇḍāya caranti.  manussā ujjhāyanti khīyanti vipācenti: seyyathāpi titthiyā ’ti.  bhagavato etam atthaṃ ārocesuṃ.  na bhikkhave apattacīvarako upasampādetabbo.  yo upasampādeyya, āpatti dukkaṭassā ’ti.|3| 
  At that time the Bhikkhus conferred the upasampadâ ordination on persons that had neither alms-bowl nor robes.  They went out for alms naked and (received alms) with their hands.  People were annoyed (&c., as in § 1).     
สมัยต่อมา ภิกษุทั้งหลายอุปสมบทกุลบุตรผู้ไม่มีทั้งบาตรทั้งจีวร  พวกเธอเปลือยกายเที่ยวรับบิณฑบาตด้วยมือ  คนทั้งหลายจึงเพ่งโทษ ติเตียน โพนทะนาว่า เที่ยวรับบิณฑบาตเหมือนพวกเดียรถีย์.  ภิกษุทั้งหลายกราบทูลเรื่องนั้นแด่พระผู้มีพระภาค.  พระผู้มีพระภาครับสั่งกะภิกษุทั้งหลายว่า ดูกรภิกษุทั้งหลาย กุลบุตรไม่มีทั้งบาตรทั้งจีวร ภิกษุไม่พึงอุปสมบทให้  รูปใดอุปสมบทให้ ต้องอาบัติทุกกฏ. 
    (๕๓. ภิกฺขุนีทูสกวตฺถุ) ๑๑๕. เตน โข ปน สมเยน สมฺพหุลา ภิกฺขุนิโย สาเกตา สาวตฺถึ อทฺธานมคฺคปฺปฏิปนฺนา โหนฺติ.  อนฺตรามคฺเค โจรา นิกฺขมิตฺวา เอกจฺจา ภิกฺขุนิโย อจฺฉินฺทึสุ เอกจฺจา ภิกฺขุนิโย ทูเสสุํ.  สาวตฺถิยา ราชภฏา นิกฺขมิตฺวา เอกจฺเจ โจเร อคฺคเหสุํ เอกจฺเจ โจรา ปลายิ๎สุ. เย เต ปลายิ๎สุ เต ภิกฺขูสุ ปพฺพชึสุ. เย เต คหิตา เต วธาย โอนิยฺยนฺติ. อทฺทสํสุ โข เต ปลายิตฺวา ปพฺพชิตา เต โจเร วธาย โอนิยฺยมาเน ทิสฺวาน เอวมาหํสุ “สาธุ โข มยํ ปลายิมฺหา สจา จ มยํ คยฺเหยฺยาม มยมฺปิ เอวเมว หญฺเญยฺยามา”ติ. ภิกฺขู เอวมาหํสุ “กึ ปน ตุมฺเห อาวุโส อกตฺถา”ติ. อถ โข เต ปพฺพชิตา ภิกฺขูนํ เอตมตฺถํ อาโรเจสุํ. ภิกฺขู ภควโต เอตมตฺถํ อาโรเจสุํ.  ภิกฺขุนิทูสโก ภิกฺขเว อนุปสมฺปนฺโน น อุปสมฺปาเทตพฺโพ อุปสมฺปนฺโน นาเสตพฺโพติ. 
tena kho pana samayena bhikkhū yācitakena pattena upasampādenti.  upasampanne pattaṃ paṭiharanti, hatthesu piṇḍāya caranti.  manussā ujjhāyanti khīyanti vipācenti: seyyathāpi titthiyā ’ti.  bhagavato etam atthaṃ ārocesum.  na bhikkhave yācitakena pattena upasampādetabbo.  yo upasampādeyya, āpatti dukkaṭassā ’ti.|4| 
  At that time the Bhikkhus conferred the upasampadâ ordination on persons that had borrowed alms-bowls.  After the ordination (the owners) took their alms-bowls back; (the Bhikkhus) received alms with their hands.  People were annoyed (&c. . . . . down to): 'Like the Titthiyas.'  They told this thing to the Blessed One.  'Let no one, O Bhikkhus, receive the upasampadâ ordination who has borrowed the alms-bowl. 
สมัยต่อมา ภิกษุทั้งหลายอุปสมบทกุลบุตรมีบาตรที่ยืมเขามา.  เมื่ออุปสมบทแล้วเจ้าของก็นำบาตรคืนไป. พวกเธอเที่ยวรับบิณฑบาตด้วยมือ.  คนทั้งหลายจึงเพ่งโทษ ติเตียน โพนทะนาว่า เที่ยวรับบิณฑบาตเหมือนพวกเดียรถีย์.  ภิกษุทั้งหลายกราบทูลเรื่องนั้นแด่พระผู้มีพระภาค.  พระผู้มีพระภาครับสั่งกะภิกษุทั้งหลายว่า ดูกรภิกษุทั้งหลายกุลบุตรมีบาตรที่ยืมเขามา ภิกษุไม่พึงอุปสมบทให้  รูปใดอุปสมบทให้ ต้องอาบัติทุกกฏ. 
สงฺฆเภทโก ภิกฺขเว อนุปสมฺปนฺโน น อุปสมฺปาเทตพฺโพ อุปสมฺปนฺโน นาเสตพฺโพติ.  โลหิตุปฺปาทโก ภิกฺขเว อนุปสมฺปนฺโน น อุปสมฺปาเทตพฺโพ อุปสมฺปนฺโน นาเสตพฺโพติ.      (๕๔. อุภโตพฺยญฺชนกวตฺถุ) ๑๑๖. เตน โข ปน สมเยน อญฺญตโร อุภโตพฺยญฺชนโก ภิกฺขูสุ ปพฺพชิโต โหติ. โส กโรติปิ การาเปติปิ.  ภควโต เอตมตฺถํ อาโรเจสุํ. 
tena kho pana samayena bhikkhū yācitakena cīvarena upasampādenti.  upasampanne cīvaraṃ paṭiharanti, naggā piṇḍāya caranti,  manussā ujjhāyanti khīyanti vipācenti: seyyathāpi titthiyā ’ti.  bhagavato etam atthaṃ ārocesuṃ.  na bhikkhave yācitakena cīvarena upasampādetabbo.  yo upasampādeyya, āpatti dukkaṭassā ’ti.|5| 
He who confers,' &c. (as in the first clause).  At that time the Bhikkhus conferred the upasampadâ ordination on persons that had borrowed robes.  After the ordination (the owners) took their robes back; (the Bhikkhus) went out for alms naked.  People were annoyed (&c., as in § 1 to the end).     
สมัยต่อมา ภิกษุทั้งหลายอุปสมบทกุลบุตรมีจีวรที่ยืมเขามา.  เมื่ออุปสมบทแล้ว เจ้าของก็นำจีวรคืนไป. พวกเธอเปลือยกายเที่ยวรับบิณฑบาต.  คนทั้งหลายจึงเพ่งโทษ ติเตียน โพนทะนาว่า เที่ยวรับบิณฑบาตเหมือนพวกเดียรถีย์.  ภิกษุทั้งหลายกราบทูลเรื่องนั้นแด่พระผู้มีพระภาค.  พระผู้มีพระภาครับสั่งกะภิกษุทั้งหลายว่า ดูกรภิกษุทั้งหลาย กุลบุตรมีจีวรที่ยืมเขามา ภิกษุไม่พึงอุปสมบทให้  รูปใดอุปสมบทให้ ต้องอาบัติทุกกฏ. 
อุภโตพฺยญฺชนโก ภิกฺขเว อนุปสมฺปนฺโน น อุปสมฺปาเทตพฺโพ อุปสมฺปนฺโน นาเสตพฺโพติ.      (๕๕. อนุปชฺฌายกาทิวตฺถูนิ) ๑๑๗. เตน โข ปน สมเยน ภิกฺขู อนุปชฺฌายกํ อุปสมฺปาเทนฺติ.  ภควโต เอตมตฺถํ อาโรเจสุํ.  น ภิกฺขเว อนุปชฺฌายโก อุปสมฺปาเทตพฺโพ. 
tena kho pana samayena bhikkhū yācitakena pattacīvarena upasampādenti.  upasampanne pa-(91)ttacīvaraṃ paṭiharanti, naggā hatthesu piṇḍāya caranti.  manussā ujjhāyanti khīyanti vipācenti: seyyathāpi titthiyā ’ti.  bhagavato etam atthaṃ ārocesuṃ.  na bhikkhave yācitakena pattacīvarena upasampādetabbo.  yo upasampādeyya, āpatti dukkaṭassā ’ti. |6| 
  At that time the Bhikkhus conferred the upasampadâ ordination on persons that had borrowed alms-bowls and robes, &c.         
สมัยต่อมา ภิกษุทั้งหลายอุปสมบทกุลบุตรมีบาตรและจีวรที่ยืมเขามา.  เมื่ออุปสมบทแล้ว เจ้าของก็นำบาตรและจีวรคืนไป. พวกเธอเปลือยกายเที่ยวรับบิณฑบาตด้วยมือ.  คนทั้งหลายจึงเพ่งโทษ ติเตียน โพนทะนาว่า เที่ยวรับบิณฑบาตเหมือนพวกเดียรถีย์.  ภิกษุทั้งหลายกราบทูลเรื่องนั้นแด่พระผู้มีพระภาค.  พระผู้มีพระภาครับสั่งกะภิกษุทั้งหลายว่า ดูกรภิกษุทั้งหลายกุลบุตรมีบาตรและจีวรที่ยืมเขามา ภิกษุไม่พึงอุปสมบทให้  รูปใดอุปสมบทให้ ต้องอาบัติทุกกฏ. 
โย อุปสมฺปาเทยฺย อาปตฺติ ทุกฺกฏสฺสาติ.  เตน โข ปน สมเยน ภิกฺขู สงฺเฆน อุปชฺฌาเยน อุปสมฺปาเทนฺติ.  ภควโต เอตมตฺถํ อาโรเจสุํ.  น ภิกฺขเว สงฺเฆน อุปชฺฌาเยน อุปสมฺปาเทตพฺโพ.  โย อุปสมฺปาเทยฺย อาปตฺติ ทุกฺกฏสฺสาติ.  เตน โข ปน สมเยน ภิกฺขู คเณน อุปชฺฌาเยน อุปสมฺปาเทนฺติ. 
||70|| 
 
ภควโต เอตมตฺถํ อาโรเจสุํ. 
naupasampādetabbakavīsativāraṃ niṭṭhitaṃ. 
บุคคลไม่ควรให้อุปสมบท ๒๐ จำพวก จบ. 
น ภิกฺขเว คเณน อุปชฺฌาเยน อุปสมฺปาเทตพฺโพ. 
tena kho pana samayena bhikkhū hatthacchinnaṃ pabbājenti --gha--, pādacchinnaṃ pabbājenti, hatthapādacchinnaṃ p., kaṇṇacchinnaṃ p., nāsacchinnaṃ p., kaṇṇanāsacchinnaṃ p., aṅgulicchinnaṃ p., aḷacchinnaṃ p., kaṇḍaracchinnaṃ p., phaṇahatthakaṃ p., khujjaṃ p., vāmanaṃ p., galagaṇḍiṃ p., lakkhaṇāhataṃ p., kasāhataṃ p., likhitakaṃ p., sīpadiṃ p., pāparogiṃ p., parisadūsakaṃ p., kāṇaṃ p., kuṇiṃ p., khañjaṃ p., pakkhahataṃ p., chinniriyāpathaṃ p., jarādubbalaṃ p., andhaṃ p., mūgaṃ p., badhiraṃ p., andhamūgaṃ p., andhabadhiraṃ p., mūgabadhiraṃ p., andhamūgabadhiraṃ pabbājenti.  bhagavato etam atthaṃ ārocesuṃ. |1| 
Here end the twenty cases in which upasampadâ is forbidden.  At that time the Bhikkhus conferred the pabbaggâ ordination on a person whose hands were cut off, on a person whose feet were cut off, whose hands and feet were cut off, whose ears were cut off, whose nose was cut off, whose ears and nose were cut off, whose fingers were cut off, whose thumbs were cut off, whose tendons (of the feet) were cut, who had hands like a snake's hood, who was a hump-back, or a dwarf, or a person that had a goitre, that had been branded, that had been scourged, on a proclaimed robber, on a person that had elephantiasis, that was afflicted with bad illness, that gave offence (by any deformity) to those who saw him, on a one-eyed person, on a person with a crooked limb, on a lame person, on a person that was paralysed on one side, on a cripple, on a person weak from age, on a blind man, on a dumb man, on a deaf man, on a blind and dumb man, on a blind and deaf man, on a deaf and dumb man, on a blind, deaf and dumb man. 
บุคคลไม่ควรให้บรรพชา ๓๒ จำพวก [๑๓๕] ก็โดยสมัยนั้นแล ภิกษุทั้งหลายบรรพชาคนมือด้วน ... บรรพชาคนเท้าด้วน ... บรรพชาคนทั้งมือและเท้าด้วน ... บรรพชาคนหูขาด ... บรรพชาคนจมูกแหว่ง ... บรรพชาคนทั้งหูขาด และจมูกแหว่ง ... บรรพชาคนนิ้วมือนิ้วเท้าขาด ... บรรพชาคนมีง่ามมือง่ามเท้าขาด ... บรรพชาคนเอ็น ขาด ... บรรพชาคนมือเป็นแผ่น ... บรรพชาคนค่อม ... บรรพชาคนเตี้ย ... บรรพชาคนคอพอก ... บรรพชาคนถูกสักหมายโทษ ... บรรพชาคนมีรอยเฆี่ยนด้วยหวาย ... บรรพชาคนถูกออกหมายสั่งจับ ... บรรพชาคนเท้าปุก ... บรรพชาคนมีโรคเรื้อรัง ... บรรพชาคนมีรูปร่างไม่สมประกอบ ... บรรพชา คนตาบอดข้างเดียว ... บรรพชาคนง่อย ... บรรพชาคนกระจอก ... บรรพชาคนเป็นโรคอัมพาต ... บรรพชาคนมีอิริยาบถขาด ... บรรพชาคนชราทุพพลภาพ ... บรรพชาคนตาบอดสองข้าง ... บรรพชา คนใบ้ ... บรรพชาคนหูหนวก ... บรรพชาคนทั้งบอดและใบ้ ... บรรพชาคนทั้งบอดและหนวก ... บรรพชาคนทั้งใบ้และหนวก ... บรรพชาคนทั้งบอดใบ้และหนวก.  ภิกษุทั้งหลายจึงกราบทูลเรื่องนั้นแด่พระผู้มีพระภาค. 
โย อุปสมฺปาเทยฺย อาปตฺติ ทุกฺกฏสฺสาติ.  เตน โข ปน สมเยน ภิกฺขู ปณฺฑกุปชฺฌาเยน อุปสมฺปาเทนฺติฯเปฯ เถยฺยสํวาสกุปชฺฌาเยน อุปสมฺปาเทนฺติฯเปฯ ติตฺถิยปกฺกนฺตกุปชฺฌาเยน อุปสมฺปาเทนฺติ ฯเปฯ ติรจฺฉานคตุปชฺฌาเยน อุปสมฺปาเทนฺติฯเปฯ มาตุฆาตกุปชฺฌาเยน อุปสมฺปาเทนฺติฯเปฯ ปิตุฆาตกุปชฺฌาเยน อุปสมฺปาเทนฺติฯเปฯ อรหนฺตฆาตกุปชฺฌาเยน อุปสมฺปาเทนฺติฯเปฯ ภิกฺขุนิทูสกุปชฺฌาเยน อุปสมฺปาเทนฺติฯเปฯ สงฺฆเภทกุปชฺฌาเยน อุปสมฺปาเทนฺติฯเปฯ โลหิตุปฺปาทกุปชฺฌาเยน อุปสมฺปาเทนฺติฯเปฯ 
na bhikkhave hatthacchinno pabbājetabbo, na pādacchinno pabbājetabbo . . . na andhamūgabadhiro pabbājetabbo.  yo pabbājeyya, āpatti dukkaṭassā ’ti. |2| 
They told this thing to the Blessed One.  'Let no person, O Bhikkhus, whose hands are cut off, receive the pabbaggâ ordination. Let no person whose feet are cut off, receive the pabbaggâ ordination, &c. (each of the above cases being here repeated). 
พระผู้มีพระภาครับสั่งกะภิกษุทั้งหลายว่า ดูกรภิกษุทั้งหลาย ภิกษุไม่พึงบรรพชาคนมือด้วน ... ไม่พึงบรรพชาคนเท้าด้วน ... ไม่พึงบรรพชาคนทั้งมือและเท้าด้วน ... ไม่พึงบรรพชาคนหูขาด ... ไม่พึงบรรพชาคนจมูกแหว่ง ... ไม่พึงบรรพชาคนทั้งหูขาดทั้งจมูกแหว่ง ... ไม่พึงบรรพชาคนนิ้วมือนิ้วเท้าขาด ... ไม่พึงบรรพชาคน ง่ามมือง่ามเท้าขาด ... ไม่พึงบรรพชาคนเอ็นขาด ... ไม่พึงบรรพชาคนมือเป็นแผ่น ... ไม่พึงบรรพชา คนค่อม ... ไม่พึงบรรพชาคนเตี้ย ... ไม่พึงบรรพชาคนคอพอก ... ไม่พึงบรรพชาคนถูกสักหมายโทษ ... ไม่พึงบรรพชาคนมีรอยเฆี่ยนด้วยหวาย ... ไม่พึงบรรพชาคนถูกออกหมายสั่งจับ ... ไม่พึงบรรพชา คนเท้าปุก ... ไม่พึงบรรพชาคนมีโรคเรื้อรัง ... ไม่พึงบรรพชาคนมีรูปร่างไม่สมประกอบ ... ไม่พึง บรรพชาคนตาบอดข้างเดียว ... ไม่พึงบรรพชาคนง่อย ... ไม่พึงบรรพชาคนกระจอก ... ไม่พึงบรรพชา คนเป็นโรคอัมพาต ... ไม่พึงบรรพชาคนมีอิริยาบถขาด ... ไม่พึงบรรพชาคนชราทุพพลภาพ ... ไม่พึง บรรพชาคนตาบอดสองข้าง ... ไม่พึงบรรพชาคนใบ้ ... ไม่พึงบรรพชาคนหูหนวก ... ไม่พึงบรรพชา คนทั้งบอดและใบ้ ... ไม่พึงบรรพชาคนทั้งบอดและหนวก ... ไม่พึงบรรพชาคนทั้งใบ้และหนวก ... ไม่พึงบรรพชาคนทั้งบอดใบ้และหนวก  รูปใดบรรพชาให้ ต้องอาบัติทุกกฏ. 
อุภโตพฺยญฺชนกุปชฺฌาเยน อุปสมฺปาเทนฺติ  ภควโต เอตมตฺถํ อาโรเจสุํ. 
napabbājetabbadvattiṃsavāraṃ niṭṭhitaṃ. ||71|| 
He who confers the pabbaggâ ordination (on such persons), is guilty of a dukkata offence.' 
บุคคลไม่ควรให้บรรพชา ๓๒ จำพวก จบ. 
น ภิกฺขเว ปณฺฑกุปชฺฌาเยน อุปสมฺปาเทตพฺโพฯเปฯ น ภิกฺขเว เถยฺยสํวาสกุปชฺฌาเยน อุปสมฺปาเทตพฺโพฯเปฯ น ภิกฺขเว ติตฺถิยปกฺกนฺตกุปชฺฌาเยน อุปสมฺปาเทตพฺโพฯเปฯ น ภิกฺขเว ติรจฺฉานคตุปชฺฌาเยน อุปสมฺปาเทตพฺโพฯเปฯ น ภิกฺขเว มาตุฆาตกุปชฺฌาเยน อุปสมฺปาเทตพฺโพ ฯเปฯ น ภิกฺขเว ปิตุฆาตกุปชฺฌาเยน อุปสมฺปาเทตพฺโพฯเปฯ น ภิกฺขเว อรหนฺตฆาตกุปชฺฌาเยน อุปสมฺปาเทตพฺโพฯเปฯ น ภิกฺขเว ภิกฺขุนิทูสกุปชฺฌาเยน อุปสมฺปาเทตพฺโพ เปฯ น ภิกฺขเว สงฺฆเภทกุปชฺฌาเยน อุปสมฺปาเทตพฺโพฯเปฯ น ภิกฺขเว โลหิตุปฺปาทกุปชฺฌาเยน อุปสมฺปาเทตพฺโพฯเปฯ น ภิกฺขเว อุภโตพฺยญฺชนกุปชฺฌาเยน อุปสมฺปาเทตพฺโพ. 
dāyajjabhāṇavāraṃ niṭṭhitaṃ navamaṃ. 
Here end the thirty-two cases in which pabbaggâ. is forbidden. 
ทายัชชภาณวารที่ ๙ จบ. 
โย อุปสมฺปาเทยฺย อาปตฺติ ทุกฺกฏสฺสาติ. 
tena kho pana samayena chabbaggiyā bhikkhū alajjīnaṃ nissayaṃ denti.  bhagavato etam atthaṃ ārocesuṃ.  na bhikkhave alajjīnaṃ nissayo dātabbo.  yo dadeyya, āpatti dukkaṭassā ’ti.  tena kho pana samayena bhikkhū alajjīnaṃ nissāya vasanti, te pi na cirass’ eva alajjino honti pāpabhikkhū.  bhagavato etam atthaṃ ārocesuṃ.  na bhikkhave alajjīnaṃ nissāya vatthabbaṃ.  yo vaseyya, āpatti dukkaṭassā ’ti. |1| 
End of the ninth Bhânavâra.  At that time the Khabbaggiya Bhikkhus gave a nissaya to shameless Bhikkhus.  They told this thing to the Blessed One.  'Let no one, O Bhikkhus, give a nissaya to shameless Bhikkhus.  He who does, is guilty of a dukkata offence.'  At that time some Bhikkhus lived in dependence on shameless Bhikkhus (i.e. they received a nissaya from them, they chose them for their upagghâyas or âkariyas); ere long they became also shameless, bad Bhikkhus.  They told this thing to the Blessed One.  'Let no one, O Bhikkhus, live in dependence on shameless Bhikkhus. 
ทรงห้ามให้นิสสัยแก่อลัชชี [๑๓๖] ก็โดยสมัยนั้นแล พระฉัพพัคคีย์ให้นิสสัยแก่ภิกษุพวกอลัชชี.  ภิกษุทั้งหลายจึงกราบทูลเรื่องนั้นแด่พระผู้มีพระภาค.  พระผู้มีพระภาคตรัสห้ามภิกษุทั้งหลายว่า ดูกรภิกษุทั้งหลายภิกษุไม่พึงให้นิสสัยแก่ภิกษุพวกอลัชชี  รูปใดให้ต้องอาบัติทุกกฏ.  สมัยต่อมา ภิกษุทั้งหลายอยู่อาศัยภิกษุพวกอลัชชี. ไม่ช้าไม่นานเท่าไรนัก แม้พวกเธอก็กลายเป็นพวกอลัชชี เป็นภิกษุเลวทราม.  ภิกษุทั้งหลายจึงกราบทูลเรื่องนั้นแด่พระผู้มีพระภาค.  พระผู้มีพระภาคตรัสห้ามภิกษุทั้งหลายว่า ดูกรภิกษุทั้งหลาย ภิกษุไม่พึงอยู่อาศัยภิกษุพวกอลัชชี  รูปใดอยู่ ต้องอาบัติทุกกฏ. 
    (๕๖. อปตฺตกาทิวตฺถุ) ๑๑๘. เตน โข ปน สมเยน ภิกฺขู อปตฺตกํ อุปสมฺปาเทนฺติ.  หตฺเถสุ ปิณฺฑาย จรนฺติ.  มนุสฺสา อุชฺฌายนฺติ ขิยฺยนฺติ วิปาเจนฺติ เสยฺยถาปิ ติตฺถิยาติ.  ภควโต เอตมตฺถํ อาโรเจสุํ.  น ภิกฺขเว อปตฺตโก อุปสมฺปาเทตพฺโพ.  โย อุปสมฺปาเทยฺย อาปตฺติ ทุกฺกฏสฺสาติ. 
atha kho bhikkhūnaṃ etad ahosi: bhagavatā paññattaṃ na alajjīnaṃ nissayo dātabbo, na alajjīnaṃ nissāya vatthabban ti.  kathaṃ nu kho mayaṃ jāneyyāma lajjiṃ vā alajjiṃ vā ’ti.  bhagavato etam atthaṃ ārocesuṃ.  anujānāmi bhikkhave catūhapañcāhaṃ āgametuṃ yāva bhikkhusabhāgataṃ jānāmīti. |2| 
He who does, is guilty of a dukkata offence.'  Now the Bhikkhus thought: 'The Blessed One has prescribed that we shall not give a nissaya to shameless Bhikkhus, nor live in dependence on shameless Bhikkhus.  Now how are we to discern modest and shameless persons?'  They told this thing to the Blessed One. 
ครั้งนั้น ภิกษุทั้งหลายได้มีความดำริว่า พระผู้มีพระภาคทรงบัญญัติไว้ว่า ไม่พึงให้นิสสัยแก่ภิกษุพวกอลัชชี และไม่พึงอยู่อาศัยภิกษุพวกอลัชชี  ทำอย่างไรหนอพวกเราจึงจะรู้ว่าเป็นภิกษุลัชชี หรืออลัชชี  แล้วกราบทูลเรื่องนั้นแด่พระผู้มีพระภาค.  พระผู้มีพระภาคตรัสอนุญาตแก่ภิกษุทั้งหลายว่า ดูกรภิกษุทั้งหลาย เราอนุญาตให้รอ ๔-๕ วัน พอจะสืบสวนรู้ว่าภิกษุผู้ให้นิสสัยเป็นสภาคกัน. 
เตน โข ปน สมเยน ภิกฺขู อจีวรกํ อุปสมฺปาเทนฺติ  นคฺคา ปิณฺฑาย จรนฺติ.  มนุสฺสา อุชฺฌายนฺติ ขิยฺยนฺติ วิปาเจนฺติ เสยฺยถาปิ ติตฺถิยาติ.  ภควโต เอตมตฺถํ อาโรเจสุํ. 
||72|| 
'I prescribe, O Bhikkhus, that you wait first four or five days until you have seen how a Bhikkhu behaves to the other Bhikkhus.' 
น ภิกฺขเว อจีวรโก อุปสมฺปาเทตพฺโพ. 
(92) tena kho pana samayena aññataro bhikkhu Kosalesu janapadesu addhānamaggapaṭipanno hoti.  atha kho tassa bhikkhuno etad ahosi: bhagavatā paññattaṃ na anissitena vatthabban ti, ahañ c’ amhi nissayakaraṇīyo addhānamaggapaṭipanno.  kathaṃ nu kho mayā paṭipajjitabban ti.  bhagavato etam atthaṃ ārocesuṃ.  anujānāmi bhikkhave addhānamaggapaṭipannena bhikkhunā nissayaṃ alabhamānena anissitena vatthun ti. |1| 
At that time a certain Bhikkhu was travelling on the road in the Kosala country.  Now this Bhikkhu thought: 'The Blessed One has prescribed that we shall not live without a nissaya (of an âkariya and an upagghâya); now I want a nissaya, but I am travelling.  What am I to do?'  They told this thing to the Blessed One. 
ภิกษุผู้ไม่ต้องถือนิสสัย [๑๓๗] ก็โดยสมัยนั้นแล ภิกษุรูปหนึ่งเดินทางไกลไปโกศลชนบท.  คราวนั้นเธอได้มีความดำริว่า พระผู้มีพระภาคทรงบัญญัติไว้ว่า ภิกษุจะไม่ถือนิสสัยอยู่ไม่ได้ ดังนี้ ก็เรามีหน้าที่ต้องถือนิสสัยแต่จำต้องเดินทางไกล  จะพึงปฏิบัติอย่างไรหนอแล.  ภิกษุทั้งหลายจึงกราบทูลเรื่องนั้นแด่พระผู้มีพระภาค.  พระผู้มีพระภาคตรัสอนุญาตแก่ภิกษุทั้งหลายว่า ดูกรภิกษุทั้งหลาย เราอนุญาตให้ภิกษุผู้เดินทางไกล เมื่อไม่ได้ผู้ให้นิสสัย ไม่ต้องถือนิสสัยอยู่. 
โย อุปสมฺปาเทยฺย อาปตฺติ ทุกฺกฏสฺสาติ.  เตน โข ปน สมเยน ภิกฺขู อปตฺตจีวรกํ อุปสมฺปาเทนฺติ.  นคฺคา หตฺเถสุ ปิณฺฑาย จรนฺติ.  มนุสฺสา อุชฺฌายนฺติ ขิยฺยนฺติ วิปาเจนฺติ เสยฺยถาปิ ติตฺถิยาติ.  ภควโต เอตมตฺถํ อาโรเจสุํ. 
tena kho pana samayena dve bhikkhū Kosalesu janapadesu addhānamaggapaṭipannā honti, te aññataraṃ āvāsaṃ upagacchiṃsu, tattha eko bhikkhu gilāno hoti.  atha kho tassa gilānassa bhikkhuno etad ahosi: bhagavatā paññattaṃ na anissitena vatthabban ti, ahañ c’ amhi nissayakaraṇīyo gilāno.  kathaṃ nu kho mayā paṭipajjitabban ti.  bhagavato etam atthaṃ ārocesuṃ.  anujānāmi bhikkhave gilānena bhikkhunā nissayaṃ alabhamānena anissitena vatthun ti. |2| 
'I allow, O Bhikkhus, a travelling Bhikkhu who can get no nissaya, to live without a nissaya.'  At that time two Bhikkhus were travelling on the road in the Kosala country. They came to a certain residence; there one of the two Bhikkhus was taken ill.  Now that sick Bhikkhu thought: 'The Blessed One has prescribed that we shall not live without a nissaya; now I want a nissaya, but I am sick.  What am I to do?'  They told this thing to the Blessed One. 
[๑๓๘] ก็โดยสมัยนั้นแล ภิกษุ ๒ รูปเดินทางไกลไปโกศลชนบท. เธอทั้งสองพักอยู่ ณ อาวาสแห่งหนึ่ง.  ในภิกษุ ๒ รูปนั้น รูปหนึ่งอาพาธ จึงรูปที่อาพาธนั้นได้มีความดำริว่า พระผู้มีพระภาคทรงบัญญัติไว้ว่า ภิกษุจะไม่ถือนิสสัยอยู่ไม่ได้ ก็เรามีหน้าที่ต้องถือนิสัย แต่กำลังอาพาธ  จะพึงปฏิบัติอย่างใดหนอแล.  ภิกษุทั้งหลายจึงกราบทูลเรื่องนั้นแด่พระผู้มีพระภาค.  พระผู้มีพระภาคตรัสอนุญาตแก่ภิกษุทั้งหลายว่า ดูกรภิกษุทั้งหลาย เราอนุญาตให้ภิกษุอาพาธ เมื่อไม่ได้ผู้ให้นิสสัย ไม่ต้องถือนิสสัยอยู่. 
น ภิกฺขเว อปตฺตจีวรโก อุปสมฺปาเทตพฺโพ.  โย อุปสมฺปาเทยฺย อาปตฺติ ทุกฺกฏสฺสาติ.  เตน โข ปน สมเยน ภิกฺขู ยาจิตเกน ปตฺเตน อุปสมฺปาเทนฺติ.  อุปสมฺปนฺเน ปตฺตํ ปฏิหรนฺติ. หตฺเถสุ ปิณฺฑาย จรนฺติ.  มนุสฺสา อุชฺฌายนฺติ ขิยฺยนฺติ วิปาเจนฺติ เสยฺยถาปิ ติตฺถิยาติ. 
atha kho tassa gilānupaṭṭhākassa bhikkhuno etad ahosi: bhagavatā paññattaṃ na anissitena vatthabban ti, ahañ c’ amhi nissayakaraṇīyo, ayañ ca bhikkhu gilāno.  kathaṃ nu kho mayā paṭipajjitabban ti.  bhagavato etam atthaṃ ārocesuṃ.  anujānāmi bhikkhave gilānupaṭṭhākena bhikkhunā nissayaṃ alabhamānena yāciyamānena anissitena vatthun ti. |3| 
'I allow, O Bhikkhus, a sick Bhikkhu who can get no nissaya, to live without a nissaya.'  Now the other Bhikkhu, who nursed that sick Bhikkhu, thought: 'The Blessed One has prescribed, &c.; now I want a nissaya, but this Bhikkhu is sick.  What am I to do?'  They told this thing to the Blessed One. 
ครั้งนั้น ภิกษุผู้พยาบาลไข้นั้นได้มีความดำริว่า พระผู้มีพระภาคทรงบัญญัติไว้ว่า ภิกษุจะไม่ถือนิสสัยอยู่ไม่ได้ ก็เรามีหน้าที่ต้องถือนิสสัย แต่ภิกษุรูปนี้ยังอาพาธ  เราจะพึงปฏิบัติอย่างไรหนอแล.  ภิกษุทั้งหลายจึงกราบทูลเรื่องนั้นแด่พระผู้มีพระภาค.  พระผู้มีพระภาคตรัสอนุญาตแก่ภิกษุทั้งหลายว่า ดูกรภิกษุทั้งหลาย เราอนุญาตให้ภิกษุผู้พยาบาลไข้ เมื่อไม่ได้ผู้ให้นิสสัยถูกภิกษุอาพาธขอร้อง ไม่ต้องถือนิสสัยอยู่. 
ภควโต เอตมตฺถํ อาโรเจสุํ.  น ภิกฺขเว ยาจิตเกน ปตฺเตน อุปสมฺปาเทตพฺโพ.  โย อุปสมฺปาเทยฺย อาปตฺติ ทุกฺกฏสฺสาติ.  เตน โข ปน สมเยน ภิกฺขู ยาจิตเกน จีวเรน อุปสมฺปาเทนฺติ. 
tena kho pana samayena aññataro bhikkhu araññe viharati, tassa ca tasmiṃ senāsane phāsu hoti.  atha kho tassa bhikkhuno etad ahosi:  bhagavatā paññattaṃ na anissitena vatthabban ti, ahañ c’ amhi nissayakaraṇīyo, araññe viharāmi, mayhañ ca imasmiṃ senāsane phāsu hoti.  kathaṃ nu kho mayā paṭipajjitabban ti.  bhagavato etam atthaṃ ārocesuṃ.  anujānāmi bhikkhave āraññakena bhikkhunā phāsuvihāraṃ sallakkhentena nissayaṃ alabhamānena anissitena vatthuṃ yadā paṭirūpo nissayadāyako āgacchissati, tassa nissāya vasissāmīti. |4| 
'I allow, O Bhikkhus, a Bhikkhu who is nursing a sick Bhikkhu, if he can get no nissaya and the sick asks him (to remain with him), to live without a nissaya.'  At that time a certain Bhikkhu lived in the forest; he had a dwelling-place where he lived pleasantly.  Now this Bhikkhu thought:  'The Blessed One has prescribed, &c.; now I want a nissaya, but I live in the forest and have a dwelling-place where I live pleasantly.  What am I to do?'  They told this thing to the Blessed One. 
ก็โดยสมัยนั้นแล ภิกษุรูปหนึ่งอยู่วัดป่า และเธอก็มีความผาสุกในเสนาสนะนั้น.  คราวนั้นเธอได้มีความดำริว่า  พระผู้มีพระภาคทรงบัญญัติไว้ว่า ภิกษุจะไม่ถือนิสสัยอยู่ไม่ได้ ก็เรามีหน้าที่ต้องถือนิสสัย แต่ยังอยู่วัดป่า และเราก็มีความผาสุกในเสนาสนะนี้  จะพึงปฏิบัติอย่างไรหนอแล.  ภิกษุทั้งหลายจึงกราบทูลเรื่องนั้นแด่พระผู้มีพระภาค.  พระผู้มีพระภาคตรัสอนุญาตแก่ภิกษุทั้งหลายว่า ดูกรภิกษุทั้งหลาย เราอนุญาตให้ภิกษุผู้ถืออยู่ป่าเป็นวัตร กำหนดการอยู่เป็นผาสุก เมื่อไม่ได้ผู้ให้นิสสัย ไม่ต้องถือนิสสัย ด้วยผูกใจว่า เมื่อใดมีภิกษุผู้ให้นิสสัยที่สมควรมาอยู่ จักอาศัยภิกษุนั้นอยู่. 
อุปสมฺปนฺเน จีวรํ ปฏิหรนฺติ. นคฺคา ปิณฺฑาย จรนฺติ.  มนุสฺสา อุชฺฌายนฺติ ขิยฺยนฺติ วิปาเจนฺติ เสยฺยถาปิ ติตฺถิยาติ.  ภควโต เอตมตฺถํ อาโรเจสุํ.  น ภิกฺขเว ยาจิตเกน จีวเรน อุปสมฺปาเทตพฺโพ.  โย อุปสมฺปาเทยฺย อาปตฺติ ทุกฺกฏสฺสาติ.  เตน โข ปน สมเยน ภิกฺขู ยาจิตเกน ปตฺตจีวเรน อุปสมฺปาเทนฺติ. 
||73|| 
'I allow, O Bhikkhus, a Bhikkhu living in the forest who finds a place where he may live pleasantly, and who can get (there) no nissaya, to live without a nissaya (saying to himself): "If a proper person to give me nissaya comes hither, I will take nissaya of that person." 
อุปสมฺปนฺเน ปตฺตจีวรํ ปฏิหรนฺติ. นคฺคา หตฺเถสุ ปิณฺฑาย จรนฺติ. 
tena kho pana samayena āyasmato Mahākassapassa upasampadāpekkho hoti.  atha kho āyasmā Mahākassapo āyasmato Ānandassa santike dūtaṃ pāhesi: āgacchatu Ānando imaṃ anussāvessatīti.  āyasmā Ānando evaṃ āha:  nāhaṃ ussahāmi therassa nāmaṃ gahetuṃ, garu me thero (93) ’ti.  bhagavato etam atthaṃ ārocesuṃ.  anujānāmi bhikkhave gottena pi anussāvetun ti. |1| 
At that time there was a person that desired to receive the upasampadâ ordination from the venerable Mahâkassapa.  Then the venerable Mahâkassapa sent a messenger to the venerable Ânanda: 'Come, Ânanda, and recite the upasampadâ proclamation for this person.'  The venerable Ânanda said:  'I cannot pronounce the Thera's (i.e. Mahâkassapa's) name; the Thera is too venerable compared with me.'  They told this thing to the Blessed One. 
อุปสมบทกรรม // สวดอุปสัมปทาเปกขะระบุโคตร [๑๓๙] ก็โดยสมัยนั้นแล ท่านพระมหากัสสปมีอุปสัมปทาเปกขะ  และท่านส่งทูตไปในสำนักท่านพระอานนท์ว่า ท่านอานนท์จงมาสวดอุปสัมปทาเปกขะนี้.  ท่านพระอานนท์ตอบไปอย่างนี้ว่า  เกล้ากระผม ไม่สามารถจะระบุนามของพระเถระได้ เพราะพระเถระเป็นที่เคารพของเกล้ากระผม.  ภิกษุทั้งหลายจึงกราบทูลเรื่องนั้นแด่พระผู้มีพระภาค.  พระผู้มีพระภาคตรัสอนุญาตแก่ภิกษุทั้งหลายว่า ดูกรภิกษุทั้งหลาย เราอนุญาตให้สวดระบุโคตรได้. 
มนุสฺสา อุชฺฌายนฺติ ขิยฺยนฺติ วิปาเจนฺติ เสยฺยถาปิ ติตฺถิยาติ.  ภควโต เอตมตฺถํ อาโรเจสุํ.  น ภิกฺขเว ยาจิตเกน ปตฺตจีวเรน อุปสมฺปาเทตพฺโพ.  โย อุปสมฺปาเทยฺย อาปตฺติ ทุกฺกฏสฺสาติ.     
tena kho pana samayena āyasmato Mahākassapassa dve upasampadāpekkhā honti, te vivadanti: ahaṃ paṭhamaṃ upasampajjissāmi, ahaṃ paṭhamaṃ upasampajjissāmīti.  bhagavato etam atthaṃ ārocesuṃ.  anujānāmi bhikkhave dve ekānussāvane kātun ti. |2| 
'I allow you, O Bhikkhus, to use also the family name (of the upagghâya, instead of his proper name) in the proclamation.'  At that time there were two persons that desired to receive the upasampadâ ordination from the venerable Mahâkassapa. They quarrelled with each other. (One said): 'I will receive the upasampadâ ordination first. ' (The other said): 'Nay, I will receive it first.' .  They told this thing to the Blessed One. 
อุปสมบทคู่ [๑๔๐] ก็โดยสมัยนั้นแล ท่านพระมหากัสสปมีอุปสัมปทาเปกขะอยู่ ๒ คน. เธอทั้งสองแก่งแย่งกันว่า เราจักอุปสมบทก่อน เราจักอุปสมบทก่อน.  ภิกษุทั้งหลายจึงกราบทูลเรื่องนั้นแด่พระผู้มีพระภาค.  พระผู้มีพระภาคตรัสอนุญาตแก่ภิกษุทั้งหลายว่า ดูกรภิกษุทั้งหลาย เราอนุญาตให้ทำอุปสัมปทาเปกขะ ๒ รูปในอนุสาวนาเดียวกัน. 
นอุปสมฺปาเทตพฺเพกวีสติวาโร นิฏฺฐิโต.  ๕๗. นปพฺพาเชตพฺพทฺวตฺตึสวาโร  ๑๑๙. เตน โข ปน สมเยน ภิกฺขู หตฺถจฺฉินฺนํ ปพฺพาเชนฺติฯเปฯ ปาทจฺฉินฺนํ ปพฺพาเชนฺติฯเปฯ หตฺถปาทจฺฉินฺนํ ปพฺพาเชนฺติฯเปฯ กณฺณจฺฉินฺนํ ปพฺพาเชนฺติฯเปฯ นาสจฺฉินฺนํ ปพฺพาเชนฺติฯเปฯ กณฺณนาสจฺฉินฺนํ ปพฺพาเชนฺติฯเปฯ องฺคุลิจฺฉินฺนํ ปพฺพาเชนฺติฯเปฯ อฬจฺฉินฺนํ ปพฺพาเชนฺติฯเปฯ กณฺฑรจฺฉินฺนํ ปพฺพาเชนฺติฯเปฯ ผณหตฺถกํ ปพฺพาเชนฺติฯเปฯ ขุชฺชํ ปพฺพาเชนฺติฯเปฯ วามนํ ปพฺพาเชนฺติฯเปฯ คลคณฺฑิ๎ ปพฺพาเชนฺติฯเปฯ ลกฺขณาหตํ ปพฺพาเชนฺติฯเปฯ กสาหตํ ปพฺพาเชนฺติฯเปฯ ลิขิตกํ ปพฺพาเชนฺติฯเปฯ สีปทึ ปพฺพาเชนฺติฯเปฯ ปาปโรคิ๎ ปพฺพาเชนฺติฯเปฯ ปริสทูสกํ ปพฺพาเชนฺติฯเปฯ กาณํ ปพฺพาเชนฺติฯเปฯ กุณึ ปพฺพาเชนฺติฯเปฯ ขญฺชํ ปพฺพาเชนฺติฯเปฯ ปกฺขหตํ ปพฺพาเชนฺติฯเปฯ ฉินฺนิริยาปถํ ปพฺพาเชนฺติฯเปฯ ชราทุพฺพลํ ปพฺพาเชนฺติฯเปฯ อนฺธํ ปพฺพาเชนฺติฯเปฯ มูคํ ปพฺพาเชนฺติฯเปฯ พธิรํ ปพฺพาเชนฺติฯเปฯ อนฺธมูคํ ปพฺพาเชนฺติฯเปฯ อนฺธพธิรํ ปพฺพาเชนฺติฯเปฯ มูคพธิรํ ปพฺพาเชนฺติฯเปฯ อนฺธมูคพธิรํ ปพฺพาเชนฺติ. 
tena kho pana samayena sambahulānaṃ therānaṃ upasampadāpekkhā honti, te vivadanti: ahaṃ paṭhamaṃ upasampajjissāmi, ahaṃ paṭhamaṃ upasampajjissāmīti.  therā evaṃ āhaṃsu: handa mayaṃ āvuso sabbeva ekānussāvane karomā ’ti.  bhagavato etam atthaṃ ārocesuṃ.  anujānāmi bhikkhave dve tayo ekānussāvane kātuṃ, tañ ca kho ekena upajjhāyena, na tv eva nānupajjhāyenā ’ti. |3| 
'I allow you, O Bhikkhus, to ordain two persons by one proclamation.'  At that time there were persons who desired to receive the upasampadâ ordination from different Theras. They quarrelled with each other. (One said); I will receive the upasampadâ ordination first.' (The other said): 'Nay, I will receive it first.'  The Theras said: 'Well, friends, let us ordain them altogether by one proclamation.'  They told this thing to the Blessed One. 
(อุปสมบทคราวละ ๓ คน) สมัยต่อมา พระเถระหลายรูปต่างมีอุปสัมปทาเปกขะหลายคนด้วยกัน. พวกเธอต่างแก่งแย่งกันว่า เราจักอุปสมบทก่อน เราจักอุปสมบทก่อน.  พระเถระทั้งหลายจึงตัดสินว่า เอาเถอะ พวกเราจะทำอุปสัมปทาเปกขะทุกคนในอนุสาวนาเดียวกัน.  ภิกษุทั้งหลายจึงกราบทูลเรื่องนั้นแด่พระผู้มีพระภาค.  พระผู้มีพระภาคตรัสอนุญาตแก่ภิกษุทั้งหลายว่า ดูกรภิกษุทั้งหลาย เราอนุญาตให้ทำอุปสัมปทาเปกขะ ในอนุสาวนาเดียวกันคราวละ ๒ รูป ๓ รูป แต่การสวดนั้นแล ต้องมีอุปัชฌาย์รูปเดียวกัน จะมีอุปัชฌาย์ต่างกันไม่ได้เป็นอันขาด. 
ภควโต เอตมตฺถํ อาโรเจสุํฯเปฯ  น ภิกฺขเว หตฺถจฺฉินฺโน ปพฺพาเชตพฺโพฯเปฯ น ภิกฺขเว ปาทจฺฉินฺโน ปพฺพาเชตพฺโพฯเปฯ น ภิกฺขเว หตฺถปาทจฺฉินฺโน ปพฺพาเชตพฺโพฯเปฯ น ภิกฺขเว กณฺณจฺฉินฺโน ปพฺพาเชตพฺโพฯเปฯ น ภิกฺขเว นาสจฺฉินฺโน ปพฺพาเชตพฺโพฯเปฯ น ภิกฺขเว กณฺณนาสจฺฉินฺโน ปพฺพาเชตพฺโพฯเปฯ น ภิกฺขเว องฺคุลิจฺฉินฺโน ปพฺพาเชตพฺโพฯเปฯ น ภิกฺขเว อฬจฺฉินฺโน ปพฺพาเชตพฺโพฯเปฯ น ภิกฺขเว กณฺฑรจฺฉินฺโน ปพฺพาเชตพฺโพฯเปฯ น ภิกฺขเว ผณหตฺถโก ปพฺพาเชตพฺโพฯเปฯ น ภิกฺขเว ขุชฺโช ปพฺพาเชตพฺโพฯเปฯ น ภิกฺขเว วามโน ปพฺพาเชตพฺโพฯเปฯ น ภิกฺขเว คลคณฺฑี ปพฺพาเชตพฺโพฯเปฯ น ภิกฺขเว ลกฺขณาหโต ปพฺพาเชตพฺโพฯเปฯ น ภิกฺขเว กสาหโต ปพฺพาเชตพฺโพฯเปฯ น ภิกฺขเว ลิขิตโก ปพฺพาเชตพฺโพฯเปฯ น ภิกฺขเว สีปที ปพฺพาเชตพฺโพฯเปฯ น ภิกฺขเว ปาปโรคี ปพฺพาเชตพฺโพฯเปฯ น ภิกฺขเว ปริสทูสโก ปพฺพาเชตพฺโพฯเปฯ น ภิกฺขเว กาโณ ปพฺพาเชตพฺโพฯเปฯ น ภิกฺขเว กุณี ปพฺพาเชตพฺโพฯเปฯ น ภิกฺขเว ขญฺโช ปพฺพาเชตพฺโพฯเปฯ น ภิกฺขเว ปกฺขหโต ปพฺพาเชตพฺโพฯเปฯ น ภิกฺขเว ฉินฺนิริยาปโถ ปพฺพาเชตพฺโพฯเปฯ น ภิกฺขเว ชราทุพฺพโล ปพฺพาเชตพฺโพฯเปฯ น ภิกฺขเว อนฺโธ ปพฺพาเชตพฺโพฯเปฯ น ภิกฺขเว มูโค ปพฺพาเชตพฺโพฯเปฯ น ภิกฺขเว พธิโร ปพฺพาเชตพฺโพฯเปฯ น ภิกฺขเว อนฺธมูโค ปพฺพาเชตพฺโพฯเปฯ น ภิกฺขเว อนฺธพธิโร ปพฺพาเชตพฺโพฯเปฯ น ภิกฺขเว มูคพธิโร ปพฺพาเชตพฺโพฯเปฯ น ภิกฺขเว อนฺธมูคพธิโร ปพฺพาเชตพฺโพ.  โย ปพฺพาเชยฺย อาปตฺติ ทุกฺกฏสฺสาติ.  นปพฺพาเชตพฺพทฺวตฺตึสวาโร นิฏฺฐิโต. 
||74|| 
'I allow you, O Bhikkhus, to ordain two or three persons by one proclamation, provided they have the same upagghâya, but not if they have different upagghâyas.' 
ทายชฺชภาณวาโร นิฏฺฐิโต นวโม. 
tena kho pana samayena āyasmā Kumārakassapo gabbhavīso upasampanno hoti.  atha kho āyasmato Kumārakassapassa etad ahosi: bhagavatā paññattaṃ na ūnavīsativasso puggalo upasampādetabbo ’ti,  ahañ c’ amhi gabbhavīso. upasampanno nu kho ’mhi na nu kho upasampanno ’ti.  bhagavato etam atthaṃ ārocesuṃ.  yaṃ bhikkhave mātu kucchismiṃ paṭhamaṃ cittaṃ uppannaṃ, paṭhamam viññāṇaṃ pātubhūtaṃ, tadupādāya sā ’v’ assa jāti.  anujānāmi bhikkhave gabbhavīsaṃ upasampādetun ti. |1| 
At that time the venerable Kumârakassapa had received the upasampadâ ordination when he had completed the twentieth year from his conception (but not from his birth).  Now the venerable Kumârakassapa thought: 'The Blessed One has forbidden us to confer the upasampadâ ordination on persons under twenty years of age,  and I have completed my twentieth year (only) from my conception. Have I, therefore, received the upasampadâ ordination, or have I not received it?'  They told this thing to the Blessed One.  'When, O Bhikkhus, in the womb the first thought rises up (in the nascent being), the first consciousness manifests itself, according to this the (true) birth should be reckoned. 
นับอายุ ๒๐ ปีทั้งอยู่ในครรภ์ (พระกุมารกัสสปเป็นตัวอย่าง) [๑๔๑] ก็โดยสมัยนั้นแล ท่านพระกุมารกัสสปมีอายุครบ ๒๐ ปีทั้งอยู่ในครรภ์ จึงได้อุปสมบท.  ต่อมาท่านได้มีความดำริว่า พระผู้มีพระภาคทรงบัญญัติไว้ว่า บุคคลมีอายุหย่อน ๒๐ ปี ภิกษุไม่พึงอุปสมบทให้  ก็เรามีอายุครบ ๒๐ ทั้งอยู่ในครรภ์ จึงได้อุปสมบท จะเป็นอันอุปสมบทหรือไม่หนอ.  ภิกษุทั้งหลายจึงกราบทูลเรื่องนั้นแด่พระผู้มีพระภาค.  พระผู้มีพระภาคตรัสอนุญาตแก่ภิกษุทั้งหลายว่า ดูกรภิกษุทั้งหลาย จิตดวงแรกใดเกิดแล้วในอุทรมารดา วิญญาณดวงแรกปรากฏแล้ว อาศัยจิตดวงแรก วิญญาณดวงแรกนั้นนั่นแหละเป็นความเกิดของสัตว์นั้น  ดูกรภิกษุทั้งหลาย เราอนุญาตให้อุปสมบทกุลบุตรมีอายุครบ ๒๐ ปี ทั้งอยู่ในครรภ์. 
(๕๘. อลชฺชีนิสฺสยวตฺถูนิ) ๑๒๐. เตน โข ปน สมเยน ฉพฺพคฺคิยา ภิกฺขู อลชฺชีนํ นิสฺสยํ เทนฺติ.  ภควโต เอตมตฺถํ อาโรเจสุํ.  น ภิกฺขเว อลชฺชีนํ นิสฺสโย ทาตพฺโพ.  โย ทเทยฺย อาปตฺติ ทุกฺกฏสฺสาติ.  เตน โข ปน สมเยน ภิกฺขู อลชฺชีนํ นิสฺสาย วสนฺติ. เตปิ นจิรสฺเสว อลชฺชิโน โหนฺติ ปาปกาภิกฺขู.  ภควโต เอตมตฺถํ อาโรเจสุํ. 
||75|| 
I allow you, O Bhikkhus, to confer the upasampadâ ordination on persons that have completed the twentieth year from their conception (only).' 
น ภิกฺขเว อลชฺชีนํ นิสฺสาย วตฺถพฺพํ. 
tena kho pana samayena upasampannā dissanti kuṭṭhikāpi gaṇḍikāpi kilāsikāpi sosikāpi apamārikāpi.  bhagavato etam atthaṃ ārocesuṃ.  anujānāmi bhikkhave upasampādentena tassa antarāyike dhamme pucchituṃ.  evañ ca pana bhikkhave pucchitabbo: santi te evarūpā ābādhā kuṭṭhaṃ gaṇḍo kilāso soso apamāro, manusso ’si, puriso ’si, bhujisso ’si, anaṇo ’si, na ’si rājabhaṭo, anuññāto ’si mātāpitūhi, paripuṇṇavīsativasso ’si, paripuṇṇan te pattacīvaraṃ, kiṃnāmo ’si, konāmo te upajjhāyo ’ti. |1| 
At that time ordained Bhikkhus were seen who were afflicted with leprosy, boils, dry leprosy, consumption, and fits.  They told this thing to the Blessed One.  'I prescribe, O Bhikkhus, that he who confers the upasampadâ ordination, ask (the person to be ordained) about the Disqualifications (for receiving the ordination). 
สวดถามอันตรายิกธรรม ๑๓ ข้อ [๑๔๒] ก็โดยสมัยนั้นแล พวกกุลบุตรที่อุปสมบทแล้วปรากฏเป็นโรคเรื้อนก็มี เป็นฝีก็มี เป็นโรคกลากก็มี เป็นโรคมองคร่อก็มี เป็นโรคลมบ้าหมูก็มี.  ภิกษุทั้งหลายจึงกราบทูลเรื่องนั้นแด่พระผู้มีพระภาค.  พระผู้มีพระภาครับสั่งกะภิกษุทั้งหลายว่า ดูกรภิกษุทั้งหลาย เราอนุญาตให้ภิกษุผู้ให้อุปสมบท ถามอันตรายิกธรรม ๑๓ ข้อ.  ดูกรภิกษุทั้งหลาย ก็แล พึงถามอุปสัมปทาเปกขะอย่างนี้:- (อันตรายิกธรรม) อาพาธเห็นปานนี้ของเจ้ามีหรือ? คือ โรคเรื้อน ฝี โรคกลาก โรคมองคร่อ ลมบ้าหมู? เจ้าเป็นมนุษย์หรือ เป็นชายหรือ เป็นไทหรือ ไม่มีหนี้สินหรือ มิใช่ราชภัฏหรือ มารดา บิดาอนุญาตแล้วหรือ มีปีครบ ๒๐ แล้วหรือ บาตรจีวรของเจ้ามีครบแล้วหรือ เจ้าชื่ออะไร อุปัชฌาย์ของเจ้าชื่ออะไร? 
โย วเสยฺย อาปตฺติ ทุกฺกฏสฺสาติ.  อถ โข ภิกฺขูนํ เอตทโหสิ “ภควตา ปญฺญตฺตํ ‘น อลชฺชีนํ นิสฺสโย ทาตพฺโพ น อลชฺชีนํ นิสฺสาย วตฺถพฺพ’นฺติ.  กถํ นุ โข มยํ ชาเนยฺยาม ลชฺชึ วา อลชฺชึ วา”ติ?  ภควโต เอตมตฺถํ อาโรเจสุํ. 
tena kho pana samayena bhikkhū ananusiṭṭhe upasampadāpekkhe antarāyike dhamme pucchanti.  upasampadāpekkhā vitthāyanti, maṅkū honti, na sakkonti vissajjetuṃ.  bhagavato etam atthaṃ ārocesuṃ.  anujānāmi bhikkhave paṭhamaṃ anusāsitvā pacchā antarāyi-(94)ke dhamme pucchitun ti. |2| 
And let him ask, O Bhikkhus, in this way: 'Are you afflicted with the following diseases, leprosy, boils, dry leprosy, consumption, and fits? 'Are you a man? 'Are you a male? 'Are you a freeman? 'Have you no debts? 'Are you not in the royal service? 'Have your father and mother given their consent? 'Are you full twenty years old? 'Are your alms-bowl and your robes in due state? 'What is your name? 'What is your upagghâya's name?'  At that time the Bhikkhus asked the persons who desired to receive the upasampadâ ordination about the Disqualifications, without having them instructed beforehand (how to answer).  The persons that desired to be ordained, became disconcerted, perplexed, and could not answer.  They told this thing to the Blessed One. 
(สอนซ้อมก่อนถามอันตรายิกธรรม) ก็โดยสมัยนั้นแล ภิกษุทั้งหลายถามอันตรายิกธรรมกะพวกอุปสัมปทาเปกขะ ที่ยังมิได้สอนซ้อม.  พวกอุปสัมปทาเปกขะย่อมสะทกสะท้าน เก้อเขิน ไม่อาจจะตอบได้.  ภิกษุทั้งหลายจึงกราบทูลเรื่องนั้นแด่พระผู้มีพระภาค.  พระผู้มีพระภาคตรัสอนุญาตแก่ภิกษุทั้งหลายว่า ดูกรภิกษุทั้งหลาย เราอนุญาตให้สอนซ้อมก่อน แล้วจึงถามอันตรายิกธรรมทีหลัง. 
อนุชานามิ ภิกฺขเว จตูหปญฺจาหํ อาคเมตุํ ยาว ภิกฺขุสภาคตํ ชานามีติ.      (๕๙. คมิกาทินิสฺสยวตฺถูนิ) ๑๒๑. เตน โข ปน สมเยน อญฺญตโร ภิกฺขุ โกสเลสุ ชนปเท อทฺธานมคฺคปฺปฏิปนฺโน โหติ. 
tatth’ eva saṃghamajjhe anusāsanti, upasampadāpekkhā tath’ eva vitthāyanti, maṅkū honti, na sakkonti vissajjetuṃ.  bhagavato etam atthaṃ ārocesuṃ.  anujānāmi bhikkhave ekamantaṃ anusāsitvā saṃghamajjhe antarāyike dhamme pucchituṃ.  evañ ca pana bhikkhave anusāsitabbo: paṭhamaṃ upajjhaṃ gāhāpetabbo, upajjhaṃ gāhāpetvā pattacīvaraṃ ācikkhitabbaṃ, ayan te patto, ayaṃ saṃghāṭi, ayaṃ uttarāsaṅgo, ayaṃ antaravāsako, gaccha amumhi okāse tiṭṭhāhīti. |3| 
'I prescribe, O Bhikkhus, that you first instruct (the persons desirous of being ordained), and then ask them about the Disqualifications.'  Then they instructed (the candidates) in the midst of the assembly; the persons desirous of being ordained became disconcerted, perplexed, and could not answer nevertheless.  They told this thing to the Blessed One.  'I prescribe, O Bhikkhus, that you instruct them aside, and ask them about the Disqualifications before the assembly. 
ภิกษุทั้งหลายสอนซ้อมในท่ามกลางสงฆ์นั้นนั่นแหละ. พวกอุปสัมปทาเปกขะย่อมสะทกสะท้าน เก้อเขิน ไม่อาจตอบได้เหมือนอย่างเดิม.  ภิกษุทั้งหลายจึงกราบทูลเรื่องนั้นแด่พระผู้มีพระภาค.  พระผู้มีพระภาคตรัสอนุญาตแก่ภิกษุทั้งหลายว่า ดูกรภิกษุทั้งหลาย เราอนุญาตให้สอนซ้อม ณ ที่ควรส่วนข้างหนึ่ง แล้วจึงถามอันตรายิกธรรมในท่ามกลางสงฆ์.  ดูกรภิกษุทั้งหลาย ก็แลพึงสอนซ้อมอุปสัมปทาเปกขะอย่างนี้:- (คำบอกบาตรจีวร) พึงให้อุปสัมปทาเปกขะถืออุปัชฌาย์ก่อน ครั้นแล้วพึงบอกบาตรจีวรว่า นี้บาตรของเจ้า นี้ผ้าทาบของเจ้า นี้ผ้าห่มของเจ้า นี้ผ้านุ่งของเจ้า เจ้าจงไปยืน ณ โอกาสโน้น. 
อถ โข ตสฺส ภิกฺขุโน เอตทโหสิ “ภควตา ปญฺญตฺตํ ‘น อนิสฺสิเตน วตฺถพฺพ’นฺติ. อหญฺจมฺหิ นิสฺสยกรณีโย อทฺธานมคฺคปฺปฏิปนฺโน  กถํ นุ โข มยา ปฏิปชฺชิตพฺพ”นฺติ?  ภควโต เอตมตฺถํ อาโรเจสุํ.  อนุชานามิ ภิกฺขเว อทฺธานมคฺคปฺปฏิปนฺเนน ภิกฺขุนา นิสฺสยํ อลภมาเนน อนิสฺสิเตน วตฺถุนฺติ. 
bālā avyattā anusāsanti, anusiṭṭhā upasampadāpekkhā vitthāyanti, maṅkū honti, na sakkonti vissajjetuṃ.  bhagavato etam atthaṃ ārocesuṃ.  na bhikkhave bālena avyattena anusāsitabbo.  yo anusāseyya, āpatti dukkaṭassa.  anujānāmi bhikkhave vyattena bhikkhunā paṭibalena anusāsitun ti. |4| 
And you ought, O Bhikkhus, to instruct them in this way: You ought first to cause them to choose an upagghâya; when they have chosen an upagghâya, their alms-bowl and robes must be shown to them, "This is your alms-bowl, this is your samghâti, this is your upper robe, this is your under garment; come and place yourself here."'  Ignorant, unlearned Bhikkhus instructed them; the persons desirous of being ordained, though they had been instructed, became disconcerted, perplexed, and could not answer.  They told this thing to the Blessed One.  'Let no ignorant, unlearned Bhikkhus, O Bhikkhus, instruct them.  If they do, they commit a dukkata offence. 
ภิกษุทั้งหลายที่เขลา ไม่ฉลาด ย่อมสอนซ้อม เหล่าอุปสัมปทาเปกขะที่ถูกสอนซ้อมไม่ดี ย่อมสะทกสะท้าน เก้อเขิน ไม่อาจตอบได้.  ภิกษุทั้งหลายจึงกราบทูลเรื่องนั้นแด่พระผู้มีพระภาค.  พระผู้มีพระภาคตรัสห้ามภิกษุทั้งหลายว่า ดูกรภิกษุทั้งหลาย ภิกษุผู้เขลา ไม่ฉลาด ไม่พึงสอนซ้อม  รูปใดสอนซ้อม ต้องอาบัติทุกกฏ.  ดูกรภิกษุทั้งหลาย เราอนุญาตให้ภิกษุผู้ฉลาด ผู้สามารถ สอนซ้อม. 
เตน โข ปน สมเยน ทฺเว ภิกฺขู โกสเลสุ ชนปเท อทฺธานมคฺคปฺปฏิปนฺนา โหนฺติ. เต อญฺญตรํ อาวาสํ อุปคจฺฉึสุ. ตตฺถ เอโก ภิกฺขุ คิลาโน โหติ.  อถ โข ตสฺส คิลานสฺส ภิกฺขุโน เอตทโหสิ “ภควตา ปญฺญตฺตํ ‘น อนิสฺสิเตน วตฺถพฺพ’นฺติ. อหญฺจมฺหิ นิสฺสยกรณีโย คิลาโน  กถํ นุ โข มยา ปฏิปชฺชิตพฺพ”นฺติ?  ภควโต เอตมตฺถํ อาโรเจสุํ.  อนุชานามิ ภิกฺขเว คิลาเนน ภิกฺขุนา นิสฺสยํ อลภมาเนน อนิสฺสิเตน วตฺถุนฺติ. 
asammatā anusāsanti.  bhagavato etam atthaṃ ārocesuṃ.  na bhikkhave asammatena anusāsitabbo.  yo anusāseyya, āpatti dukkaṭassā ’ti.  anujānāmi bhikkhave sammatena anusāsituṃ.  evañ ca pana bhikkhave sammannitabbo: attanā vā attānaṃ sammannitabbaṃ parena vā paro sammannitabbo.  kathañ ca attanā vā attānaṃ sammannitabbaṃ.  vyattena bhikkhunā paṭibalena saṃgho ñāpetabbo: suṇātu me bhante saṃgho.  itthannāmo itthannāmassa āyasmato upasampadāpekkho.  yadi saṃghassa pattakallaṃ, ahaṃ itthannāmaṃ anusāseyyan ti.  evaṃ attanā vā attānaṃ sammannitabbaṃ. |5| 
I prescribe, O Bhikkhus, that a learned, competent Bhikkhu instruct them.'  At that time persons instructed them who were not appointed thereto.  They told this thing to the Blessed One.  'Let no one, O Bhikkhus, instruct them without being appointed thereto.  He who so instructs, commits a dukkata offence.  I prescribe, O Bhikkhus, that an appointed Bhikkhu is to instruct them.  And (this Bhikkhu), O Bhikkhus, is to be appointed in this way: One may either appoint himself, or one may appoint another person.  And how is (a Bhikkhu) to appoint himself?  Let a learned, competent Bhikkhu proclaim the following ñatti before the Samgha: "Let the Samgha, reverend Sirs, hear me.  N. N. desires to receive the upasampadâ ordination from the venerable N. N.  If the Samgha is ready, I will instruct N. N." 
บรรดาภิกษุผู้ที่ยังไม่ได้รับสมมติ ย่อมสอนซ้อม.  ภิกษุทั้งหลายจึงกราบทูลเรื่องนั้นแด่พระผู้มีพระภาค.  พระผู้มีพระภาค ตรัสห้ามภิกษุทั้งหลายว่า ดูกรภิกษุทั้งหลาย ภิกษุที่ยังไม่ได้รับสมมติ ไม่พึงสอนซ้อม  รูปใดสอนซ้อม ต้องอาบัติทุกกฏ.  ดูกรภิกษุทั้งหลาย เราอนุญาตให้ภิกษุที่ได้รับสมมติแล้วสอนซ้อม.  ดูกรภิกษุทั้งหลาย ก็แลพึงสมมติ ดังต่อไปนี้:- (วิธีสมมติภิกษุเป็นผู้สอนซ้อม) ตนเองพึงสมมติตนก็ได้ หรือภิกษุรูปอื่น พึงสมมติภิกษุอื่นก็ได้.  อย่างไรเล่า ตนเองพึงสมมติตนเอง?  คือ ภิกษุผู้ฉลาด ผู้สามารถ พึงประกาศให้สงฆ์ทราบด้วยญัตติกรรมวาจา ว่าดังนี้:- ท่านเจ้าข้า ขอสงฆ์จงฟังข้าพเจ้า  ผู้มีชื่อนี้เป็นอุปสัมปทาเปกขะของท่านผู้มีชื่อนี้.  ถ้าความพร้อมพรั่งของสงฆ์ถึงที่แล้ว ข้าพเจ้าพึงสอนซ้อมผู้มีชื่อนี้.  อย่างนี้ ชื่อว่าตนเองสมมติตนเอง. 
อถ โข ตสฺส คิลานุปฏฺฐากสฺส ภิกฺขุโน เอตทโหสิ “ภควตา ปญฺญตฺตํ ‘น อนิสฺสิเตน วตฺถพฺพ’นฺติ. อหญฺจมฺหิ นิสฺสยกรณีโย อยญฺจ ภิกฺขุ คิลาโน  กถํ นุ โข มยา ปฏิปชฺชิตพฺพ”นฺติ?  ภควโต เอตมตฺถํ อาโรเจสุํ.  อนุชานามิ ภิกฺขเว คิลานุปฏฺฐาเกน ภิกฺขุนา นิสฺสยํ อลภมาเนน ยาจิยมาเนน อนิสฺสิเตน วตฺถุนฺติ.  เตน โข ปน สมเยน อญฺญตโร ภิกฺขุ อรญฺเญ วิหรติ. ตสฺส จ ตสฺมึ เสนาสเน ผาสุ โหติ.  อถ โข ตสฺส ภิกฺขุโน เอตทโหสิ  “ภควตา ปญฺญตฺตํ ‘น อนิสฺสิเตน วตฺถพฺพ’นฺติ. อหญฺจมฺหิ นิสฺสยกรณีโย อรญฺเญ วิหรามิ มยฺหญฺจ อิมสฺมึ เสนาสเน ผาสุ โหติ  กถํ นุ โข มยา ปฏิปชฺชิตพฺพ”นฺติ?  ภควโต เอตมตฺถํ อาโรเจสุํ.  อนุชานามิ ภิกฺขเว อารญฺญิเกน ภิกฺขุนา ผาสุวิหารํ สลฺลกฺเขนฺเตน นิสฺสยํ อลภมาเนน อนิสฺสิเตน วตฺถุํ ยทา ปติรูโป นิสฺสยทายโก อาคจฺฉิสฺสติ ตทา ตสฺส นิสฺสาย วสิสฺสามีติ.   
kathañ ca parena paro sammannitabbo.  vyattena bhikkhunā paṭibalena saṃgho ñāpetabbo: suṇātu me bhante saṃgho.  itthannāmo itthannāmassa āyasmato upasampadāpekkho.  yadi saṃghassa pattakallaṃ, itthannāmo itthannāmaṃ anusāseyyā ’ti.  evaṃ parena paro sammannitabbo. |6| 
Thus one may appoint himself.  'And how is (a Bhikkhu) to appoint another person?  Let a learned, competent Bhikkhu proclaim the following ñatti before the Samgha: "Let the Samgha, &c.  N. N. desires to receive the upasampadâ ordination from the venerable N. N.  If the Samgha is ready let N. N. instruct N. N." 
อย่างไรเล่า ภิกษุรูปอื่น พึงสมมติภิกษุรูปอื่น?  คือ ภิกษุผู้ฉลาด ผู้สามารถ พึงประกาศให้สงฆ์ทราบด้วยญัตติกรรมวาจา ว่าดังนี้:- ท่านเจ้าข้า ขอสงฆ์จงฟังข้าพเจ้า  ผู้มีชื่อนี้เป็นอุปสัมปทาเปกขะของท่านผู้มีชื่อนี้  ถ้าความพร้อมพรั่งของสงฆ์ถึงที่แล้ว ท่านผู้มีชื่อนี้พึงสอนซ้อมผู้มีชื่อนี้.  อย่างนี้ ชื่อว่าภิกษุรูปอื่นสมมติภิกษุรูปอื่น. 
  (๖๐. โคตฺเตน อนุสฺสาวนานุชานนา) ๑๒๒. เตน โข ปน สมเยน อายสฺมโต มหากสฺสปสฺส อุปสมฺปทาเปกฺโข โหติ.  อถ โข อายสฺมา มหากสฺสโป อายสฺมโต อานนฺทสฺส สนฺติเก ทูตํ ปาเหสิ อาคจฺฉตุ อานนฺโท อิมํ อนุสฺสาเวสฺสตูติ .  อายสฺมา อานนฺโท เอวมาห  “นาหํ อุสฺสหามิ เถรสฺส นามํ คเหตุํ ครุ เม เถโร”ติ 
tena sammatena bhikkhunā upasampadāpekkho upasaṃkamitvā evam assa vacanīyo: suṇasi itthannāma.  ayaṃ te saccakālo bhūtakālo.  yaṃ jātaṃ taṃ saṃghamajjhe pucchante santaṃ atthīti vattabbaṃ, asantaṃ n’ atthīti vattabbaṃ.  mā kho vitthāsi, mā kho maṅku ahosi.  evan taṃ pucchissan ti: santi te evarūpā ābādhā ... konāmo te upajjhāyo ’ti. |7| 
Thus one may appoint another person.  'Then let that appointed Bhikkhu go to the person who desires to be ordained, and thus address him: "Do you hear, N. N.?  This is the time for you to speak the truth, and to say that which is.  When I ask you before the assembly about that which is, you ought, if it is so, to answer: 'It is;' if it is not so, you ought to answer: 'It is not.'  Be not disconcerted, be not perplexed. 
ภิกษุผู้ได้รับสมมติแล้วนั้น พึงเข้าไปหาอุปสัมปทาเปกขะ แล้วกล่าวอย่างนี้ ว่าดังนี้:- (คำสอนซ้อมอันตรายิกธรรม) แน่ะผู้มีชื่อนี้ เจ้าฟังนะ  นี้เป็นกาลสัตย์ กาลจริงของเจ้า  เมื่อท่านถามในท่ามกลางสงฆ์ ถึงสิ่งอันเกิดแล้ว มีอยู่ พึงบอกว่า ไม่มี พึงบอกว่าไม่มี  เจ้าอย่าสะทกสะท้านแล้วแล เจ้าอย่าได้เป็นผู้เก้อแล้วแล  ภิกษุทั้งหลายจักถามเจ้าอย่างนี้ อาพาธเห็นปานนี้ของเจ้ามีหรือ? คือ โรคเรื้อน ฝี โรคกลาก โรคมองคร่อ ลมบ้าหมู? เจ้าเป็นมนุษย์หรือ เป็นชายหรือ เป็นไทหรือ ไม่มีหนี้สินหรือ มิใช่ราชภัฏหรือ มารดาบิดาอนุญาตแล้วหรือ มีปีครบ ๒๐ แล้วหรือ บาตร จีวรของเจ้ามีครบแล้วหรือ เจ้าชื่ออะไร อุปัชฌาย์ของเจ้าชื่ออะไร? 
ภควโต เอตมตฺถํ อาโรเจสุํ.  อนุชานามิ ภิกฺขเว โคตฺเตนปิ อนุสฺสาเวตุนฺติ.  (๖๑. ทฺเวอุปสมฺปทาเปกฺขาทิวตฺถุ) ๑๒๓. เตน โข ปน สมเยน อายสฺมโต มหากสฺสปสฺส ทฺเว อุปสมฺปทาเปกฺขา โหนฺติ. เต วิวทนฺติ อหํ ปฐมํ อุปสมฺปชฺชิสฺสามิ อหํ ปฐมํ อุปสมฺปชฺชิสฺสามีติ.  ภควโต เอตมตฺถํ อาโรเจสุํ.  อนุชานามิ ภิกฺขเว ทฺเว เอกานุสฺสาวเน กาตุนฺติ. 
ekato āgacchanti.  na ekato āgantabbaṃ.  anusāsakena paṭhamataraṃ āgantvā saṃgho ñāpetabbo: suṇātu me bhante saṃgho.  itthannāmo itthannāmassa āyasmato upasampadā-(95)pekkho.  anusiṭṭho so mayā.  yadi saṃghassa pattakallaṃ, itthannāmo āgaccheyyā ’ti.  āgacchāhīti vattabbo.  ekaṃsaṃ uttarāsaṅgaṃ kārāpetvā bhikkhūnaṃ pāde vandāpetvā ukkuṭikaṃ nisīdāpetvā añjaliṃ paggaṇhāpetvā upasampadaṃ yācāpetabbo:  saṃghaṃ bhante upasampadaṃ yācāmi, ullumpatu maṃ bhante saṃgho anukampaṃ upādāya, dutiyam pi bhante ..., tatiyam pi bhante saṃghaṃ upasampadaṃ yācāmi, ullumpatu maṃ bhante saṃgho anukampaṃ upādāyā ’ti. |8| 
I shall ask you thus: 'Are you afflicted with the following diseases, &c?'"'  (After the instruction, the instructor and the candidate) appeared together before the assembly.  'Let them not appear together.  Let the instructor come first and proclaim the following ñatti before the Samgha: "Let the Samgha, reverend Sirs, hear me.  N. N. desires to receive the upasampadâ ordination from the venerable N. N.;  he has been instructed by me.  If the Samgha is ready, let N. N. come."  Then let him be told: "Come on."  Let him be told to adjust his upper robe (&c., see chap. 29. 2 ), to raise his joined hands, and to ask (the Samgha) for the upasampadâ ordination (by saying), 
ภิกษุผู้สอนซ้อมกับอุปสัมปทาเปกขะเดินมาด้วยกัน  แต่ทั้งสองไม่พึงเดินมาพร้อมกัน  คือ ภิกษุผู้สอนซ้อมต้องมาก่อน แล้วประกาศให้สงฆ์ทราบด้วยญัตติกรรมวาจา ว่าดังนี้:- (คำเรียกอุปสัมปทาเปกขะเข้ามา) ท่านเจ้าข้า ขอสงฆ์จงฟังข้าพเจ้า  ผู้มีชื่อนี้เป็นอุปสัมปทาเปกขะของท่านผู้มีชื่อนี้.  ข้าพเจ้าสอนซ้อมเขาแล้ว.  ถ้าความพร้อมพรั่งของสงฆ์ถึงที่แล้ว. ขอผู้มีชื่อนี้พึงมา.  พึงเรียกอุปสัมปทาเปกขะว่า เจ้าจงมา.  พึงให้อุปสัมปทาเปกขะนั้นห่มผ้าเฉวียงบ่า ให้กราบเท้าภิกษุทั้งหลาย ให้นั่งกระหย่ง ให้ประคองอัญชลีแล้ว พึงให้ขออุปสมบทดังนี้:-  (คำขออุปสมบท) ข้าพเจ้าขออุปสมบทต่อสงฆ์ เจ้าข้า ขอสงฆ์โปรดยกข้าพเจ้าขึ้นเถิด เจ้าข้า. ข้าพเจ้าขออุปสมบทต่อสงฆ์ เป็นครั้งที่สอง เจ้าข้า ขอสงฆ์โปรดยกข้าพเจ้าขึ้นเถิดเจ้าข้า. ข้าพเจ้าขออุปสมบทต่อสงฆ์ เป็นครั้งที่สาม เจ้าข้า ขอสงฆ์โปรดยกข้าพเจ้าขึ้นเถิดเจ้าข้า. 
เตน โข ปน สมเยน สมฺพหุลานํ เถรานํ อุปสมฺปทาเปกฺขา โหนฺติ. เต วิวทนฺติ อหํ ปฐมํ อุปสมฺปชฺชิสฺสามิ อหํ ปฐมํ อุปสมฺปชฺชิสฺสามีติ.  เถรา เอวมาหํสุ “หนฺท มยํ อาวุโส สพฺเพว เอกานุสฺสาวเน กโรมา”ติ.  ภควโต เอตมตฺถํ อาโรเจสุํ.  อนุชานามิ ภิกฺขเว ทฺเว ตโย เอกานุสฺสาวเน กาตุํ ตญฺจ โข เอเกน อุปชฺฌาเยน น ตฺเวว นานุปชฺฌาเยนาติ.      (๖๒. คพฺภวีสูปสมฺปทานุชานนา) ๑๒๔. เตน โข ปน สมเยน อายสฺมา กุมารกสฺสโป คพฺภวีโส อุปสมฺปนฺโน อโหสิ.  อถ โข อายสฺมโต กุมารกสฺสปสฺส เอตทโหสิ “ภควตา ปญฺญตฺตํ ‘น อูนวีสติวสฺโส ปุคฺคโล อุปสมฺปาเทตพฺโพ’ติ.  อหญฺจมฺหิ คพฺภวีโส อุปสมฺปนฺโน. อุปสมฺปนฺโน นุ โขมฺหิ นนุ โข อุปสมฺปนฺโน”ติ? 
vyattena bhikkhunā paṭibalena saṃgho ñāpetabbo:  suṇātu me bhante saṃgho.  ayaṃ itthannāmo itthannāmassa āyasmato upasampadāpekkho.  yadi saṃghassa pattakallaṃ, ahaṃ itthannāmaṃ antarāyike dhamme puccheyyan ti.  suṇasi itthannāma.  ayaṃ te saccakālo bhūtakālo.  yaṃ jātaṃ taṃ pucchāmi.  santaṃ atthīti vattabbaṃ, asantaṃ n’ atthīti vattabbaṃ.  santi te evarūpā ābādhā ... konāmo te upajjhāyo ’ti. |9| 
"I ask the Samgha, reverend Sirs, for the upasampadâ ordination; might the Samgha, reverend Sirs, draw me out (of the sinful world) out of compassion towards me. And for the second time, reverend Sirs, I ask, &c. And for the third time, reverend Sirs, I ask, &c."  'Then let a learned, competent Bhikkhu proclaim the following ñatti before the Samgha:  "Let the Samgha, reverend Sirs, hear me.  This person N. N. desires to receive the upasampadâ ordination from the venerable N. N.  If the Samgha is ready, let me ask N. N. about the Disqualifications.  '"Do you hear, N. N.?  This is the time for you (&c., see § 7, down to:)    you ought to answer: 'It is not.'" 
(คำสมมติตนเพื่อถามอันตรายิกธรรม) ภิกษุผู้ฉลาด ผู้สามารถ พึงประกาศให้สงฆ์ทราบด้วยญัตติกรรมวาจา ว่าดังนี้:-  ท่านเจ้าข้า ขอสงฆ์จงฟังข้าพเจ้า  ผู้มีชื่อนี้ผู้นี้ เป็นอุปสัมปทาเปกขะของท่านผู้มีชื่อนี้.  ถ้าความพร้อมพรั่งของสงฆ์ถึงที่แล้ว. ข้าพเจ้าจะพึงถามอันตรายิกธรรมต่อผู้มีชื่อนี้ ดังนี้:-  (คำถามอันตรายิกธรรม) แน่ะ ผู้มีชื่อนี้ เจ้าฟังนะ  นี้เป็นกาลสัตย์ กาลจริงของเจ้า  เราจะถามสิ่งที่เกิดแล้ว  มีอยู่ พึงบอกว่ามี ไม่มี พึงบอกว่าไม่มี  อาพาธเห็นปานนี้ของเจ้ามีหรือ? คือ โรคเรื้อน ฝี โรคกลาก โรคมองคร่อ ลมบ้าหมู? เจ้าเป็นมนุษย์หรือ เป็นชายหรือ เป็นไทหรือ ไม่มีหนี้สินหรือ มิใช่ราชภัฏหรือ มารดาบิดาอนุญาตแล้วหรือ มีปีครบ ๒๐ แล้วหรือ บาตรจีวรของเจ้ามี ครบแล้วหรือ เจ้าชื่ออะไร อุปัชฌาย์ของเจ้าชื่ออะไร? 
ภควโต เอตมตฺถํ อาโรเจสุํ.  ยํ ภิกฺขเว มาตุกุจฺฉิสฺมึ ปฐมํ จิตฺตํ อุปฺปนฺนํ ปฐมํ วิญฺญาณํ ปาตุภูตํ ตทุปาทาย สาวสฺส ชาติ.  อนุชานามิ ภิกฺขเว คพฺภวีสํ อุปสมฺปาเทตุนฺติ.      (๖๓. อุปสมฺปทาวิธิ) ๑๒๕. เตน โข ปน สมเยน อุปสมฺปนฺนา ทิสฺสนฺติ กุฏฺฐิกาปิ คณฺฑิกาปิ กิลาสิกาปิ โสสิกาปิ อปมาริกาปิ.  ภควโต เอตมตฺถํ อาโรเจสุํ.  อนุชานามิ ภิกฺขเว อุปสมฺปาเทนฺเตน เตรส อนฺตรายิเก ธมฺเม ปุจฺฉิตุํ.  เอวญฺจ ปน ภิกฺขเว ปุจฺฉิตพฺโพ “สนฺติ เต เอวรูปา อาพาธา กุฏฺฐํ คณฺโฑ กิลาโส โสโส อปมาโร? มนุสฺโสสิ ปุริโสสิ? ภุชิสฺโสสิ? อณโณสิ? นสิ ราชภโฏ? อนุญฺญาโตสิ มาตาปิตูหิ? ปริปุณฺณวีสติวสฺโสสิ? ปริปุณฺณํ เต ปตฺตจีวรํ? กึนาโมสิ? โกนาโม เต อุปชฺฌาโย”ติ? 
vyattena bhikkhunā paṭibalena saṃgho ñāpetabbo: suṇātu me bhante saṃgho.  ayaṃ itthannāmo itthannāmassa āyasmato upasampadāpekkho, parisuddho antarāyikehi dhammehi, paripuṇṇ’ assa pattacīvaraṃ.  itthannāmo saṃghaṃ upasampadaṃ yācati itthannāmena upajjhāyena.  yadi saṃghassa pattakallaṃ, saṃgho itthannāmaṃ upasampādeyya itthannāmena upajjhāyena.  esā ñatti. |10| 
'"Are you afflicted with the following diseases, &c.?"  'Then let a learned, competent Bhikkhu proclaim the following ñatti before the Samgha: "Let the Samgha, reverend Sirs, hear me.  This person N. N. desires to receive the upasampadâ ordination from the venerable N. N.; he is free from the Disqualifications; his alms-bowl and robes are in due state.  N. N. asks the Samgha for the upasampadâ ordination with N. N. as upagghâya.  If the Samgha is ready, &c.1"' 
(กรรมวาจาอุปสมบท) ภิกษุผู้ฉลาด ผู้สามารถ พึงประกาศให้สงฆ์ทราบด้วยญัตติจตุตถกรรมวาจา ว่าดังนี้:- ท่านเจ้าข้า ขอสงฆ์จงฟังข้าพเจ้า  ผู้มีชื่อนี้ผู้นี้ เป็นอุปสัมปทาเปกขะของท่านผู้มีชื่อนี้ บริสุทธิ์แล้วจากอันตรายิกธรรมทั้งหลาย. บาตรจีวรของเขาครบแล้ว.  ผู้มีชื่อนี้ขออุปสมบทต่อสงฆ์ มีท่านผู้มีชื่อนี้เป็นอุปัชฌายะ.  ถ้าความพร้อมพรั่งของสงฆ์ถึงที่แล้ว. สงฆ์พึงอุปสมบทผู้มีชื่อนี้ มีท่านผู้มีชื่อนี้เป็นอุปัชฌายะ.  นี้เป็นญัตติ. 
เตน โข ปน สมเยน ภิกฺขู อนนุสิฏฺเฐ อุปสมฺปทาเปกฺเข อนฺตรายิเก ธมฺเม ปุจฺฉนฺติ.  อุปสมฺปทาเปกฺขา วิตฺถายนฺติ มงฺกู โหนฺติ น สกฺโกนฺติ วิสฺสชฺเชตุํ.  ภควโต เอตมตฺถํ อาโรเจสุํ.  อนุชานามิ ภิกฺขเว ปฐมํ อนุสาสิตฺวา ปจฺฉา อนฺตรายิเก ธมฺเม ปุจฺฉิตุนฺติ.  ตตฺเถว สงฺฆมชฺเฌ อนุสาสนฺติ. อุปสมฺปทาเปกฺขา ตเถว วิตฺถายนฺติ มงฺกู โหนฺติ น สกฺโกนฺติ วิสฺสชฺเชตุํ. 
suṇātu me bhante saṃgho.  ayaṃ itthannāmo itthannāmassa āyasmato upasampadāpekkho, parisuddho antarāyikehi dhammehi, paripuṇṇ’ assa pattacīvaraṃ.  itthannāmo saṃghaṃ upasampadaṃ yācati itthannāmena upajjhāyena.  saṃgho itthannāmaṃ upasampādeti itthannāmena upajjhāyena.  yassāyasmato khamati itthannāmassa upasampadā itthannāmena upajjhāyena, so tuṇh’ assa, yassa na kkhamati, so bhāseyya. |11| 
         
ท่านเจ้าข้า ขอสงฆ์จงฟังข้าพเจ้า  ผู้มีชื่อนี้ผู้นี้ เป็นอุปสัมปทาเปกขะของท่านผู้มีชื่อนี้ บริสุทธิ์แล้วจากอันตรายิกธรรมทั้งหลาย. บาตรจีวรของเขาครบแล้ว.  ผู้มีชื่อนี้ขออุปสมบทต่อสงฆ์ มีท่านผู้มีชื่อนี้เป็นอุปัชฌายะ.  สงฆ์อุปสมบทผู้มีชื่อนี้ มีท่านผู้มีชื่อนี้เป็นอุปัชฌายะ.  การอุปสมบทผู้มีชื่อนี้ มีท่านผู้มีชื่อนี้เป็นอุปัชฌายะ ชอบแก่ท่านผู้ใด ท่านผู้นั้นพึงเป็นผู้นิ่ง ไม่ชอบแก่ท่านผู้ใด ท่านผู้นั้นพึงพูด. 
ภควโต เอตมตฺถํ อาโรเจสุํ.  อนุชานามิ ภิกฺขเว เอกมนฺตํ อนุสาสิตฺวา สงฺฆมชฺเฌ อนฺตรายิเก ธมฺเม ปุจฺฉิตุํ.  เอวญฺจ ปน ภิกฺขเว อนุสาสิตพฺโพ ๑๒๖. ปฐมํ อุปชฺฌํ คาหาเปตพฺโพ. อุปชฺฌํ คาหาเปตฺวา ปตฺตจีวรํ อาจิกฺขิตพฺพํ อยํ เต ปตฺโต อยํ สงฺฆาฏิ อยํ อุตฺตราสงฺโค อยํ อนฺตรวาสโก. คจฺฉ อมุมฺหิ โอกาเส ติฏฺฐาหีติ.  พาลา อพฺยตฺตา อนุสาสนฺติ. ทุรนุสิฏฺฐา อุปสมฺปทาเปกฺขา วิตฺถายนฺติ มงฺกู โหนฺติ น สกฺโกนฺติ วิสฺสชฺเชตุํ.  ภควโต เอตมตฺถํ อาโรเจสุํ. 
dutiyam pi etam atthaṃ vadāmi: suṇātu me ... tatiyam pi etam atthaṃ vadāmi: suṇātu me ... yassa na kkhamati, so bhāseyya.  upasampanno saṃghena itthannāmo itthannāmena upajjhāyena.  khamati saṃghassa, tasmā tuṇhī, evam etaṃ dhārayāmīti. |12| 
     
ข้าพเจ้ากล่าวความนี้เป็นครั้งที่สอง. ท่านเจ้าข้า ขอสงฆ์จงฟังข้าพเจ้า ผู้มีชื่อนี้ผู้นี้ เป็นอุปสัมปทาเปกขะของท่านผู้มีชื่อนี้ บริสุทธิ์แล้วจากอันตรายิกธรรมทั้งหลาย. บาตรจีวร ของเขาครบแล้ว. ผู้มีชื่อนี้ขออุปสมบทต่อสงฆ์ มีท่านผู้มีชื่อนี้เป็นอุปัชฌายะ. สงฆ์อุปสมบท ผู้มีชื่อนี้ มีท่านผู้มีชื่อนี้เป็นอุปัชฌายะ. การอุปสมบทผู้มีชื่อนี้ มีท่านผู้มีชื่อนี้เป็นอุปัชฌายะ ชอบแก่ท่านผู้ใด ท่านผู้นั้นพึงเป็นผู้นิ่ง ไม่ชอบแก่ท่านผู้ใด ท่านผู้นั้นพึงพูด. ข้าพเจ้ากล่าวความนี้เป็นครั้งที่สาม. ท่านเจ้าข้า ขอสงฆ์จงฟังข้าพเจ้า ผู้มีชื่อนี้ผู้นี้ เป็นอุปสัมปทาเปกขะของท่านผู้มีชื่อนี้ บริสุทธิ์แล้วจากอันตรายิกธรรมทั้งหลาย. บาตรจีวร ของเขาครบแล้ว. ผู้มีชื่อนี้ขออุปสมบทต่อสงฆ์ มีท่านผู้มีชื่อนี้เป็นอุปัชฌายะ. สงฆ์อุปสมบท ผู้มีชื่อนี้ มีท่านผู้มีชื่อนี้เป็นอุปัชฌายะ. การอุปสมบทผู้มีชื่อนี้ มีท่านผู้มีชื่อนี้เป็นอุปัชฌายะ ชอบแก่ท่านผู้ใด ท่านผู้นั้นพึงเป็นผู้นิ่ง ไม่ชอบแก่ท่านผู้ใด ท่านผู้นั้นพึงพูด.  ผู้มีชื่อนี้สงฆ์อุปสมบทแล้ว มีท่านผู้มีชื่อนี้เป็นอุปัชฌายะ  ชอบแก่สงฆ์ เหตุนั้นจึงนิ่ง ข้าพเจ้าทรงความนี้ไว้ด้วยอย่างนี้. 
น ภิกฺขเว พาเลน อพฺยตฺเตน อนุสาสิตพฺโพ.  โย อนุสาเสยฺย อาปตฺติ ทุกฺกฏสฺส.  อนุชานามิ ภิกฺขเว พฺยตฺเตน ภิกฺขุนา ปฏิพเลน อนุสาสิตุนฺติ. 
||76|| 
 
อสมฺมตา อนุสาสนฺติ. 
upasampadākammaṃ niṭṭhitaṃ. 
อุปสมบทกรรม จบ. 
ภควโต เอตมตฺถํ อาโรเจสุํ. 
tāvad eva chāyā metabbā, utupamāṇaṃ ācikkhitabbaṃ, divasabhāgo ācikkhitabbo, saṃgīti ācikkhi-(96)tabbā, cattāro nissayā ācikkhitabbā:  piṇḍiyālopabhojanaṃ nissāya pabbajjā, tattha te yāvajīvaṃ ussāho karaṇīyo,  atirekalābho saṃghabhattaṃ uddesabhattaṃ nimantanaṃ salākabhattaṃ pakkhikaṃ uposathikaṃ pāṭipadikaṃ.  paṃsukūlacīvaraṃ nissāya pabbajjā, tattha te yāvajīvaṃ ussāho karaṇīyo.  atirekalābho khomaṃ kappāsikaṃ koseyyaṃ kambalaṃ sāṇaṃ bhaṅgaṃ.  rukkhamūlasenāsanaṃ nissāya pabbajjā, tattha te yāvajīvaṃ ussāho karaṇīyo.  atirekalābho vihāro aḍḍhayogo pāsādo hammiyaṃ guhā.  pūtimuttabhesajjaṃ nissāya pabbajjā, tattha te yāvajīvaṃ ussāho karaṇīyo.  atirekalābho sappi navanītaṃ telaṃ madhu phāṇitan ti. |1| 
End of the regulations for the upasampadâ ordination.  'Then let them measure the shadow, tell (the newly-ordained Bhikkhu) what season and what date it is, tell him what part of the day it is, tell him the whole formula, and tell him the four Resources:  "The religious life has the morsels of food given in alms for its resource (&c., as in chap. 30. 4)."'             
พระพุทธานุญาตให้บอกนิสสัย ๔ [๑๔๓] ทันใดนั้นแหละ พึงวัดเงา พึงบอกประมาณแห่งฤดู พึงบอกส่วนแห่งวัน พึงบอกสังคีติ พึงบอกนิสสัย ๔ ว่าดังนี้:-  ๑. บรรพชาอาศัยโภชนะ คือคำข้าวอันหาได้ด้วยกำลังปลีแข้ง เธอพึงทำอุตสาหะในข้อนั้นจนตลอดชีวิต.  อติเรกลาภ คือภัตถวายสงฆ์ ภัตเฉพาะสงฆ์ การนิมนต์ ภัตถวายตามสลาก ภัตถวายในปักษ์ ภัตถวายในวันอุโบสถ ภัตถวายในวันปาฏิบท.  ๒. บรรพชาอาศัยบังสุกุลจีวร เธอพึงทำอุตสาหะในข้อนั้นจนตลอดชีวิต.  อติเรกลาภ คือ ผ้าเปลือกไม้ ผ้าฝ้าย ผ้าไหม ผ้าขนสัตว์ ผ้าป่าน ผ้าแกมกัน.  ๓. บรรพชาอาศัยโคนต้นไม้เป็นเสนาสนะ เธอพึงอุตสาหะในข้อนั้นจนตลอดชีวิต.  อติเรกลาภ คือวิหาร เรือนมุงแถบเดียว เรือนชั้น เรือนโล้น ถ้ำ.  ๔. บรรพชาอาศัยมูตรเน่าเป็นยา เธอพึงทำอุตสาหะในข้อนั้นจนตลอดชีวิต.  อติเรกลาภ คือเนยใส เนยข้น น้ำมัน น้ำผึ้ง น้ำอ้อย. 
น ภิกฺขเว อสมฺมเตน อนุสาสิตพฺโพ.  โย อนุสาเสยฺย อาปตฺติ ทุกฺกฏสฺส.  อนุชานามิ ภิกฺขเว สมฺมเตน อนุสาสิตุํ.  เอวญฺจ ปน ภิกฺขเว สมฺมนฺนิตพฺโพ อตฺตนา วา อตฺตานํ สมฺมนฺนิตพฺพํ ปเรน วา ปโร สมฺมนฺนิตพฺโพ.  กถญฺจ อตฺตนาว อตฺตานํ สมฺมนฺนิตพฺพํ?  พฺยตฺเตน ภิกฺขุนา ปฏิพเลน สงฺโฆ ญาเปตพฺโพ “สุณาตุ เม ภนฺเต สงฺโฆ.  อิตฺถนฺนาโม อิตฺถนฺนามสฺส อายสฺมโต อุปสมฺปทาเปกฺโข.  ยทิ สงฺฆสฺส ปตฺตกลฺลํ อหํ อิตฺถนฺนามํ อนุสาเสยฺย”นฺติ.  เอวํ อตฺตนาว อตฺตานํ สมฺมนฺนิตพฺพํ. 
||77|| 
 
กถญฺจ ปน ปเรน ปโร สมฺมนฺนิตพฺโพ? 
cattāro nissayā niṭṭhitā. 
นิสสัย ๔ จบ. 
พฺยตฺเตน ภิกฺขุนา ปฏิพเลน สงฺโฆ ญาเปตพฺโพ “สุณาตุ เม ภนฺเต สงฺโฆ. 
tena kho pana samayena bhikkhū aññataraṃ bhikkhuṃ upasampādetvā ekakaṃ ohāya pakkamiṃsu.  so pacchā ekako āgacchanto antarā magge purāṇadutiyikāya samāgacchi.  sā evaṃ āha: kiṃ dāni pabbajito ’sīti.  āma pabbajito ’mhīti.  dullabho kho pabbajitānaṃ methuno dhammo, ehi methunaṃ dhammaṃ paṭisevā ’ti.  so tassā methunaṃ dhammaṃ paṭisevitvā cirena āgamāsi.  bhikkhū evaṃ āhaṃsu: kissa tvaṃ āvuso evaṃ ciraṃ akāsīti. |1| 
End of the four Resources.  At that time the Bhikkhus, after having conferred the upasampadâ ordination on a certain Bhikkhu, left him alone and went away.  Afterwards, as he went alone (to the Ârâma), he met on the way his former wife.  She said to him: 'Have you now embraced the religious life?'  (He replied): 'Yes, I have embraced the religious life.'  'It is difficult to persons who have embraced religious life, to obtain sexual intercourse; come, let us have intercourse.'  He practised intercourse with her, and, in consequence, came late (to the Arâma). 
อกรณียกิจ ๔ [๑๔๔] ก็โดยสมัยนั้นแล ภิกษุทั้งหลายอุปสมบทภิกษุรูปหนึ่งแล้ว ทิ้งไว้แต่ลำพังแล้วหลีกไป.  เธอเดินมาทีหลังแต่รูปเดียว ได้พบภรรยาเก่าเข้า ณ ระหว่างทาง.  นางได้ถามว่า เวลานี้ท่านบวชแล้วหรือ?  ภิกษุนั้นตอบว่า จ้ะ ฉันบวชแล้ว.  นางจึงพูดชวนว่า เมถุนธรรมพวกบรรพชิตหาได้ยาก นิมนต์ท่านมาเสพเมถุนธรรม.  ภิกษุนั้นได้เสพเมถุนธรรมในนางแล้ว ได้ไปถึงทีหลังช้าไป.  ภิกษุทั้งหลายถามว่า อาวุโส ท่านมัวทำอะไรชักช้าเช่นนี้.? 
อิตฺถนฺนาโม อิตฺถนฺนามสฺส อายสฺมโต อุปสมฺปทาเปกฺโข.  ยทิ สงฺฆสฺส ปตฺตกลฺลํ อิตฺถนฺนาโม อิตฺถนฺนามํ อนุสาเสยฺยา”ติ  เอวํ ปเรน ปโร สมฺมนฺนิตพฺโพ.  เตน สมฺมเตน ภิกฺขุนา อุปสมฺปทาเปกฺโข อุปสงฺกมิตฺวา เอวมสฺส วจนีโย “สุณสิ อิตฺถนฺนาม  อยํ เต สจฺจกาโล ภูตกาโล.  ยํ ชาตํ ตํ สงฺฆมชฺเฌ ปุจฺฉนฺเต สนฺตํ อตฺถีติ วตฺตพฺพํ อสนฺตํ นตฺถี”ติ วตฺตพฺพํ.  มา โข วิตฺถายิ มา โข มงฺกุ อโหสิ. 
atha kho so bhikkhu bhikkhūnaṃ etam atthaṃ ārocesi.  bhikkhū bhagavato etam atthaṃ ārocesuṃ.  anujānāmi bhikkhave upasampādetvā dutiyaṃ dātuṃ cattāri ca akaraṇīyāni ācikkhituṃ:  upasampannena bhikkhunā methuno dhammo na paṭisevitabbo antamaso tiracchānagatāya pi.  yo bhikkhu methunaṃ dhammaṃ paṭisevati, assamaṇo hoti asakyaputtiyo.  seyyathāpi nāma puriso sīsacchinno abhabbo tena sarīrabandhanena jīvituṃ, evam eva bhikkhu methunaṃ dhammaṃ paṭisevitvā assamaṇo hoti asakyaputtiyo, taṃ te yāvajīvaṃ akaraṇīyaṃ. |2| 
The Bhikkhus said: 'How is it, friend, that you are so late?'  Then that Bhikkhu told the whole matter to the Bhikkhus.  The Bhikkhus told it to the Blessed One.  'I prescribe, O Bhikkhus, that you give a companion to a newly-ordained Bhikkhu, and that you tell him the four Interdictions:  '"A Bhikkhu who has received the upasampadâ ordination ought to abstain from all sexual intercourse even with an animal.  A Bhikkhu who practises sexual intercourse is no Samana and no follower of the Sakyaputta. 
เธอได้แจ้งเรื่องนั้นแก่ภิกษุทั้งหลาย.  ภิกษุทั้งหลายจึงกราบทูลเรื่องนั้นแด่พระผู้มีพระภาค.  (พระพุทธานุญาตให้บอกอกรณียกิจ ๔) ลำดับนั้น พระผู้มีพระภาคทรงทำธรรมีกถา ในเพราะเหตุเป็นเค้ามูลนั้น ในเพราะเหตุแรกเกิดนั้น แล้วรับสั่งกะภิกษุทั้งหลายว่า ดูกรภิกษุทั้งหลาย เราอนุญาตให้ภิกษุผู้ให้อุปสมบทแล้วให้ภิกษุอยู่เป็นเพื่อน และให้บอกอกรณียกิจ ๔ ดังต่อไปนี้:-  ๑. อันภิกษุผู้อุปสมบทแล้ว ไม่พึงเสพเมถุนธรรม โดยที่สุดแม้ในสัตว์ดิรัจฉานตัวเมีย.  ภิกษุใดเสพเมถุนธรรม ไม่เป็นสมณะ ไม่เป็นเชื้อสายพระศากยบุตร.  เปรียบเหมือนบุรุษถูกตัดศีรษะแล้ว ไม่อาจจะมีสรีระคุมกันนั้นเป็นอยู่ ภิกษุก็เหมือนกัน เสพเมถุนธรรมแล้ว ไม่เป็นสมณะ ไม่เป็นเชื้อสายพระศากยบุตร. การนั้น เธอไม่พึงทำตลอดชีวิต. 
เอวํ ตํ ปุจฺฉิสฺสนฺติ “สนฺติ เต เอวรูปา อาพาธา กุฏฺฐํ คณฺโฑ กิลาโส โสโส อปมาโร? มนุสฺโสสิ? ปุริโสสิ? ภุชิสฺโสสิ? อณโณสิ? นสิ ราชภโฏ? อนุญฺญาโตสิ มาตาปิตูหิ? ปริปุณฺณวีสติวสฺโสสิ? ปริปุณฺณํ เต ปตฺตจีวรํ? กึนาโมสิ? โกนาโม เต อุปชฺฌาโย”ติ?  เอกโต อาคจฺฉนฺติ.  น ภิกฺขเว เอกโต อาคนฺตพฺพํ.  อนุสาสเกน ปฐมตรํ อาคนฺตฺวา สงฺโฆ ญาเปตพฺโพ “สุณาตุ เม ภนฺเต สงฺโฆ.  อิตฺถนฺนาโม อิตฺถนฺนามสฺส อายสฺมโต อุปสมฺปทาเปกฺโข  อนุสิฏฺโฐ โส มยา. 
upasampannena bhikkhunā adinnaṃ theyyasaṃkhātaṃ na ādātabbaṃ antamaso tiṇasalākaṃ upādāya.  yo bhikkhu pādaṃ vā pādārahaṃ vā atirekapādaṃ vā adinnaṃ theyyasaṃkhātaṃ ādiyati, assamaṇo hoti asakyaputtiyo.  seyyathāpi nāma paṇḍupalāso bandhanā pamutto abhabbo haritattāya, evam eva bhikkhu pādaṃ vā pādārahaṃ vā atirekapādaṃ vā adinnaṃ theyyasaṃkhātaṃ ādiyitvā assamaṇo hoti asakyaputtiyo, taṃ te (97) yāvajīvaṃ akaraṇīyaṃ. |3| 
As a man whose head is cut off, cannot live any longer with his trunk alone, thus a Bhikkhu who practises sexual intercourse is no Samana and no follower of the Sakyaputta. Abstain from doing so as long as your life lasts.  '"A Bhikkhu who has received the upasampadâ ordination, ought to abstain from taking what is not given to him, and from theft, even of a blade of grass.  A Bhikkhu who takes what is not given to him, or steals it, if it is a pâda (i.e. a quarter of a kârshâpana), or of the value of a pâda or worth more than a pâda, is no Samana and no follower of the Sakyaputta. 
๒. อันภิกษุผู้อุปสมบทแล้ว ไม่พึงถือเอาของอันเขาไม่ได้ให้ เป็นส่วนขโมย โดยที่สุดหมายเอาถึงเส้นหญ้า.  ภิกษุใดถือเอาของอันเขาไม่ได้ให้ เป็นส่วนขโมย ได้ราคาบาทหนึ่งก็ดี ควรแก่ราคาบาทหนึ่งก็ดี เกินบาทหนึ่งก็ดี ไม่เป็นสมณะ ไม่เป็นเชื้อสายพระศากยบุตร.  เปรียบเหมือนใบไม้เหลืองหล่นจากขั้วแล้วไม่อาจจะเป็นของเขียวสด. ภิกษุก็เหมือนกัน ถือเอาของอันเขาไม่ได้ให้ เป็นส่วนขโมย ได้ราคาบาทหนึ่งก็ดี ควรแก่ราคาบาทหนึ่งก็ดี เกินบาทหนึ่งก็ดี ไม่เป็นสมณะ ไม่เป็นเชื้อสายพระศากยบุตร. การนั้น เธอไม่พึงทำตลอดชีวิต. 
ยทิ สงฺฆสฺส ปตฺตกลฺลํ อิตฺถนฺนาโม อาคจฺเฉยฺยา”ติ.  อาคจฺฉาหีติ วตฺตพฺโพ.  เอกํสํ อุตฺตราสงฺคํ การาเปตฺวา ภิกฺขูนํ ปาเท วนฺทาเปตฺวา อุกฺกุฏิกํ นิสีทาเปตฺวา อญฺชลึ ปคฺคณฺหาเปตฺวา อุปสมฺปทํ ยาจาเปตพฺโพ 
upasampannena bhikkhunā sañcicca pāṇo jīvitā no voropetabbo antamaso kunthakipillikaṃ upādāya.  yo bhikkhu sañcicca manussaviggahaṃ jīvitā voropeti antamaso gabbhapātanaṃ upādāya, assamaṇo hoti asakyaputtiyo.  seyyathāpi nāma puthusilā dvedhā bhinnā appaṭisandhikā hoti, evam eva bhikkhu sañcicca manussaviggahaṃ jīvitā voropetvā assamaṇo hoti asakyaputtiyo, taṃ te yāvajīvaṃ akaraṇīyaṃ. |4| 
As a sear leaf loosed from its stalk cannot become green again, thus a Bhikkhu who takes, &c. Abstain from doing so as long as your life lasts.  '"A Bhikkhu who has received the upasampadâ ordination, ought not intentionally to destroy the life of any being down to a worm or an ant.  A Bhikkhu who intentionally kills a human being, down to procuring abortion, is no Samana and no follower of the Sakyaputta. 
๓. อันภิกษุผู้อุปสมบทแล้ว ไม่พึงแกล้งพรากสัตว์จากชีวิต โดยที่สุดหมายเอาถึงมดดำมดแดง.  ภิกษุใดแกล้งพรากกายมนุษย์จากชีวิต โดยที่สุดหมายเอาถึงยังครรภ์ให้ตก ไม่เป็นสมณะ ไม่เป็นเชื้อสายพระศากยบุตร.  เปรียบเหมือนศิลาหนาแตกสองเสี่ยงแล้ว เป็นของกลับต่อกันไม่ได้. ภิกษุก็เหมือนกัน แกล้งพรากกายมนุษย์จากชีวิตแล้ว ไม่เป็นสมณะ ไม่เป็นเชื้อสายพระศากยบุตร. การนั้น เธอไม่พึงทำตลอดชีวิต. 
“สงฺฆํ ภนฺเต อุปสมฺปทํ ยาจามิ. อุลฺลุมฺปตุ มํ ภนฺเต สงฺโฆ อนุกมฺปํ อุปาทาย. ทุติยมฺปิ ภนฺเต สงฺฆํ อุปสมฺปทํ ยาจามิ. อุลฺลุมฺปตุ มํ ภนฺเต สงฺโฆ อนุกมฺปํ อุปาทาย. ตติยมฺปิ ภนฺเต สงฺฆํ อุปสมฺปทํ ยาจามิ. อุลฺลุมฺปตุ มํ ภนฺเต สงฺโฆ อนุกมฺปํ อุปาทายา”ติ.  พฺยตฺเตน ภิกฺขุนา ปฏิพเลน สงฺโฆ ญาเปตพฺโพ  “สุณาตุ เม ภนฺเต สงฺโฆ. 
upasampannena bhikkhunā uttarimanussadhammo na ullapitabbo antamaso suññāgāre abhiramāmīti.  yo bhikkhu pāpiccho icchāpakato asantaṃ abhūtaṃ uttarimanussadhammaṃ ullapati jhānaṃ vā vimokkhaṃ vā samādhiṃ vā samāpattiṃ vā maggaṃ vā phalaṃ vā, assamaṇo hoti asakyaputtiyo.  seyyathāpi nāma tālo matthakacchinno abhabbo punavirūḷhiyā, evam eva bhikkhu pāpiccho icchāpakato asantaṃ abhūtaṃ uttarimanussadhammaṃ ullapitvā assamaṇo hoti asakyaputtiyo, taṃ te yāvajīvaṃ akaraṇīyan ti. |5| 
As a great stone which is broken in two, cannot be reunited, thus a Bhikkhu who intentionally, &c. Abstain from doing so as long as your life lasts.  '"A Bhikkhu who has received the upasampadâ ordination, ought not to attribute to himself any superhuman condition, and not to say even: 'I find delight in sojourning in an empty place.'  A Bhikkhu who with bad intention and out of covetousness attributes to himself a superhuman condition, which he has not, and which he is not possessed of, a state of ghâna (mystic meditation), or one of the vimokkhas, or one of the samâdhis (states of self-concentration), or one of the samâpattis (the attainment of the four ghânas and four of the eight vimokkhas), or one of the Paths (of sanctification), or one of the Fruits thereof, is no Samana and no follower of the Sakyaputta. 
๔. อันภิกษุผู้อุปสมบทแล้ว ไม่พึงพูดอวดอุตตริมนุสสธรรม โดยที่สุดว่า เรายินดียิ่งในเรือนว่างเปล่า.  ภิกษุใดมีความปรารถนาลามก อันความปรารถนาลามกครอบงำแล้ว พูดอวดอุตตริมนุสสธรรม อันไม่มีอยู่ อันไม่จริง คือฌานก็ดี วิโมกข์ก็ดี สมาธิก็ดี สมาบัติก็ดี มรรคก็ดี ผลก็ดี ไม่เป็นสมณะ ไม่เป็นเชื้อสายพระศากยบุตร.  เปรียบเหมือนต้นตาลมียอดด้วนแล้ว ไม่อาจจะงอกอีก ภิกษุก็เหมือนกัน มีความปรารถนาลามก อันความปรารถนาลามกครอบงำแล้ว พูดอวดอุตตริมนุสสธรรม อันไม่มีอยู่ อันไม่เป็นจริง ไม่เป็นสมณะ ไม่เป็นเชื้อสายพระศากยบุตร. การนั้น เธอไม่พึงทำตลอดชีวิต. 
อยํ อิตฺถนฺนาโม อิตฺถนฺนามสฺส อายสฺมโต อุปสมฺปทาเปกฺโข.  ยทิ สงฺฆสฺส ปตฺตกลฺลํ อหํ อิตฺถนฺนามํ อนฺตรายิเก ธมฺเม ปุจฺเฉยฺย”นฺติ?  สุณสิ อิตฺถนฺนาม 
cattāri akaraṇīyāni niṭṭhitāni. ||78|| 
As a palm tree of which the top sprout has been cut off, cannot grow again, thus a Bhikkhu who with bad intention, &c. Abstain from doing so as long as your life lasts."' 
อกรณียกิจ ๔ จบ. 
อยํ เต สจฺจกาโล ภูตกาโล. 
tena kho pana samayena aññataro bhikkhu āpattiyā adassane ukkhittako vibbhami, so puna paccāgantvā bhikkhū upasampadaṃ yāci.  bhagavato etam atthaṃ ārocesuṃ.  idha pana bhikkhave bhikkhu āpattiyā adassane ukkhittako vibbhamati, so puna paccāgantvā bhikkhū upasampadaṃ yācati.  so evam assa vacanīyo: passissasi taṃ āpattin ti.  sac’ āhaṃ passissāmīti pabbājetabbo, sac’ āhaṃ na passissāmīti na pabbājetabbo. |1| 
End of the four Interdicts.  At that time a certain Bhikkhu against whom expulsion had been pronounced for his refusal to see an offence (committed by himself), returned to the world. Afterwards he came back to the Bhikkhus and asked them for the upasampadâ ordination.  They told this thing to the Blessed One.  'In case, O Bhikkhus, that a Bhikkhu against whom expulsion has been pronounced for his refusal to see an offence (committed by himself), returns to the world,  and afterwards comes back to the Bhikkhus and asks them for the upasampadâ ordination, let them say to him: "Will you see that offence?" 
เรื่องภิกษุผู้ถูกสงฆ์ยกเสียเป็นต้น [๑๔๕] ก็โดยสมัยนั้นแล ภิกษุรูปหนึ่งถูกสงฆ์ยกเสีย ฐานไม่เห็นอาบัติ ได้สึกแล้ว. เขากลับมาขออุปสมบทต่อภิกษุทั้งหลายอีก.  ภิกษุทั้งหลายกราบทูลเรื่องนั้นแด่พระผู้มีพระภาค.  พระผู้มีพระภาค ทรงแสดงวิธีปฏิบัติ ดังนี้:- (วิธีปฏิบัติในภิกษุผู้ถูกยกเสีย) ดูกรภิกษุทั้งหลาย ก็ภิกษุในธรรมวินัยนี้ ถูกสงฆ์ยกเสียฐานไม่เห็นอาบัติ สึกไป.  เธอกลับมาขออุปสมบทต่อภิกษุทั้งหลายอีก. พึงสอบถามเขาเช่นนี้ว่า เจ้าจักเห็นอาบัตินั้นหรือ?  ถ้าเขาตอบว่า กระผมจักเห็นขอรับ พึงให้บรรพชา ถ้าเขาตอบว่า กระผมจักไม่เห็นขอรับ ไม่พึงให้บรรพชา. 
ยํ ชาตํ ตํ ปุจฺฉามิ.  สนฺตํ อตฺถีติ วตฺตพฺพํ อสนฺตํ นตฺถีติ วตฺตพฺพํ.  สนฺติ เต เอวรูปา อาพาธา กุฏฺฐํ คณฺโฑ กิเลโส โสโส อปมาโร มนุสฺโสสิ ปุริโสสิ ภุชิสฺโสสิ อณโณสิ นสิ ราชภโฏ อนุญฺญาโตสิ มาตาปิตูหิ ปริปุณฺณวีสติวสฺโสสิ ปริปุณฺณํ เต ปตฺตจีวรํ กึนาโมสิ โกนาโม เต อุปชฺฌาโยติ?  พฺยตฺเตน ภิกฺขุนา ปฏิพเลน สงฺโฆ ญาเปตพฺโพ ๑๒๗. “สุณาตุ เม ภนฺเต สงฺโฆ.  อยํ อิตฺถนฺนาโม อิตฺถนฺนามสฺส อายสฺมโต อุปสมฺปทาเปกฺโข ปริสุทฺโธ อนฺตรายิเกหิ ธมฺเมหิ ปริปุณฺณสฺส ปตฺตจีวรํ. 
pabbājetvā vattabbo passissasi taṃ āpattin ti.  sac’ āhaṃ passissāmīti upasampādetabbo,  sac’ āhaṃ na passissāmīti na upasampādetabbo.  upasampādetvā vattabbo passissasi taṃ āpattin ti.  sac’ āhaṃ passissāmīti osāretabbo, sac’ āhaṃ na passissāmīti na osāretabbo.  osāretvā vattabbo passasi taṃ āpattin ti.  sace passati, icc etaṃ kusalaṃ, no ce passati, labbhamānāya sāmaggiyā puna ukkhipitabbo, alabbhamānāya sāmaggiyā anāpatti sambhoge saṃvāse. |2| 
If he replies: "I will see it," let him be admitted to the pabbaggâ ordination; if he replies: "I will not see it," let him not be admitted to the pabbaggâ ordination.  'When he has received the pabbaggâ ordination let them say to him: "Will you see that offence?"  If he says: "I will see it," let him be admitted to the upasampadâ ordination;  if he says: "I will not see it," let him not be admitted to the upasampadâ ordination.  'When he has received the upasampadâ ordination (&c., as before).  If he says: "I will see it," let him be restored; if he says: "I will not see it," let him not be restored.  'When he has been restored, let them say to him: "Do you see that offence?" 
ครั้นให้บรรพชาแล้ว พึงถามว่า เจ้าจักเห็นอาบัตินั้นหรือ?  ถ้าเขาตอบว่า กระผมจักเห็นขอรับ พึงให้อุปสมบท,  ถ้าเขาตอบว่า กระผมจักไม่เห็นขอรับ ไม่พึงให้อุปสมบท.  ครั้นให้อุปสมบทแล้ว พึงถามว่า ท่านจักเห็นอาบัตินั้นหรือ?  ถ้าเธอตอบว่า กระผมจักเห็นขอรับ พึงเรียกเข้าหมู่ ถ้าเธอตอบว่า กระผมจักไม่เห็นขอรับ ไม่พึงเรียกเข้าหมู่.  ครั้นเรียกเข้าหมู่แล้ว พึงถามว่า ท่านเห็นอาบัตินั้นหรือ?  ถ้าเห็น การเห็นได้อย่างนี้ นั่นเป็นการดี หากไม่เห็น เมื่อได้สามัคคี พึงยกเสียอีก เมื่อไม่ได้สามัคคี ไม่เป็นอาบัติในเพราะสมโภคและอยู่ร่วมกัน. 
อิตฺถนฺนาโม สงฺฆํ อุปสมฺปทํ ยาจติ อิตฺถนฺนาเมน อุปชฺฌาเยน.  ยทิ สงฺฆสฺส ปตฺตกลฺลํ สงฺโฆ อิตฺถนฺนามํ อุปสมฺปาเทยฺย อิตฺถนฺนาเมน อุปชฺฌาเยน.  เอสา ญตฺติ.  “สุณาตุ เม ภนฺเต สงฺโฆ.  อยํ อิตฺถนฺนาโม อิตฺถนฺนามสฺส อายสฺมโต อุปสมฺปทาเปกฺโข ปริสุทฺโธ อนฺตรายิเกหิ ธมฺเมหิ ปริปุณฺณสฺส ปตฺตจีวรํ.  อิตฺถนฺนาโม สงฺฆํ อุปสมฺปทํ ยาจติ อิตฺถนฺนาเมน อุปชฺฌาเยน.  สงฺโฆ อิตฺถนฺนามํ อุปสมฺปาเทติ อิตฺถนฺนาเมน 
idha pana bhikkhave bhikkhu āpattiyā appaṭikamme ukkhittako vibbhamati, so puna paccāgantvā bhikkhū upasampadaṃ yācati.  so evam assa vacanīyo: paṭikarissasi taṃ āpattin ti.  sac’ āhaṃ paṭikarissāmīti pabbāje (98) tabbo, sac’ āhaṃ na paṭikarissāmīti na pabbājetabbo.  pabbājetvā vattabbo paṭikarissasi taṃ āpattin ti.  sac’ āha paṭikarissāmīti upasampādetabbo, sac’ āhaṃ na paṭikarissāmīti na upasampādetabbo.  upasampādetvā vattabbo paṭikarissasi taṃ āpattin ti.  sac’ āhaṃ paṭikarissāmīti osāretabbo, sac’ āhaṃ na paṭikarissāmīti na osāretabbo.  osāretvā vattabbo paṭikarohi taṃ āpattin ti.  sace paṭikaroti, icc eta kusalaṃ, no ce paṭikaroti, labbhamānāya sāmaggiyā pun ukkhipitabbo, alabbhamānāya sāmaggiyā anāpatti sambhog saṃvāse. |3| 
If he sees it, well and good; if he does not see it, let them expel him again, if it is possible to bring about unanimity (of the fraternity for the sentence of expulsion); if that is impossible, it is no offence to live and to dwell together (with such a Bhikkhu).  'In case, O Bhikkhus, that a Bhikkhu against whom expulsion has been pronounced for his refusal to atone for an offence (committed by himself), &c.1  When he has been restored, let them say to him: "Atone now for that offence." If he atones for it, well and good, &c.             
ดูกรภิกษุทั้งหลาย อนึ่ง ภิกษุในธรรมวินัยนี้ ถูกสงฆ์ยกเสียฐานไม่ยอมทำคืนอาบัติสึกไป. เธอกลับมาขออุปสมบทต่อภิกษุทั้งหลายอีก.  พึงสอบถามเขาเช่นนี้ว่า เจ้าจักทำคืนอาบัตินั้นหรือ?  ถ้าเขาตอบว่า กระผมจักทำคืนขอรับ พึงให้บรรพชา, ถ้าเขาตอบว่า กระผมจักไม่ทำคืน ไม่พึงให้บรรพชา.  ครั้นให้บรรพชาแล้ว พึงถามว่า เจ้าจักทำคืนอาบัตินั้นหรือ?  ถ้าเขาตอบว่า กระผมจักทำคืนขอรับ พึงให้อุปสมบท, ถ้าเขาตอบว่า กระผมจักไม่ทำคืนขอรับ ไม่พึงให้อุปสมบท.  ครั้นให้อุปสมบทแล้ว พึงถามว่าท่านจักทำคืนอาบัตินั้นหรือ?  ถ้าเธอตอบว่า กระผมจักทำคืนขอรับ พึงเรียกเข้าหมู่, ถ้าเธอตอบว่า กระผมจักไม่ทำคืนขอรับ ไม่พึงเรียกเข้าหมู่.  ครั้นเรียกเข้าหมู่แล้ว พึงกล่าวว่า จงยอมทำคืนอาบัตินั้นเสีย.  ถ้าเธอยอมทำคืน การทำคืนได้อย่างนี้ นั่นเป็นการดี หากไม่ยอมทำคืน เมื่อได้สามัคคี พึงยกเสียอีก เมื่อไม่ได้สามัคคีไม่เป็นอาบัติในเพราะสมโภคและอยู่ร่วมกัน. 
อุปชฺฌาเยน ยสฺสายสฺมโต ขมติ อิตฺถนฺนามสฺส อุปสมฺปทา อิตฺถนฺนาเมน อุปชฺฌาเยน โส ตุณฺหสฺส ยสฺส นกฺขมติ โส ภาเสยฺย.  “ทุติยมฺปิ เอตมตฺถํ วทามิ สุณาตุ เม ภนฺเต สงฺโฆ. อยํ อิตฺถนฺนาโม อิตฺถนฺนามสฺส อายสฺมโต อุปสมฺปทาเปกฺโข ปริสุทฺโธ อนฺตรายิเกหิ ธมฺเมหิ ปริปุณฺณสฺส ปตฺตจีวรํ. อิตฺถนฺนาโม สงฺฆํ อุปสมฺปทํ ยาจติ อิตฺถนฺนาเมน อุปชฺฌาเยน. สงฺโฆ อิตฺถนฺนามํ อุปสมฺปาเทติ อิตฺถนฺนาเมน อุปชฺฌาเยน. ยสฺสายสฺมโต ขมติ อิตฺถนฺนามสฺส อุปสมฺปทา อิตฺถนฺนาเมน อุปชฺฌาเยน โส ตุณฺหสฺส ยสฺส นกฺขมติ โส ภาเสยฺย. “ตติยมฺปิ เอตมตฺถํ วทามิ สุณาตุ เม ภนฺเต สงฺโฆ. อยํ อิตฺถนฺนาโม อิตฺถนฺนามสฺส อายสฺมโต อุปสมฺปทาเปกฺโข ปริสุทฺโธ อนฺตรายิเกหิ ธมฺเมหิ ปริปุณฺณสฺส ปตฺตจีวรํ. อิตฺถนฺนาโม สงฺฆํ อุปสมฺปทํ ยาจติ อิตฺถนฺนาเมน อุปชฺฌาเยน. สงฺโฆ อิตฺถนฺนามํ อุปสมฺปาเทติ อิตฺถนฺนาเมน อุปชฺฌาเยน. ยสฺสายสฺมโต ขมติ อิตฺถนฺนามสฺส อุปสมฺปทา อิตฺถนฺนาเมน อุปชฺฌาเยน โส ตุณฺหสฺส ยสฺส นกฺขมติ โส ภาเสยฺย.  “อุปสมฺปนฺโน สงฺเฆน อิตฺถนฺนาโม อิตฺถนฺนาเมน อุปชฺฌาเยน.  ขมติ สงฺฆสฺส ตสฺมา ตุณฺหี เอวเมตํ ธารยามี”ติ.      อุปสมฺปทากมฺมํ นิฏฺฐิตํ.  (๖๔. จตฺตาโร นิสฺสยา) ๑๒๘. ตาวเทว ฉายา เมตพฺพา อุตุปฺปมาณํ อาจิกฺขิตพฺพํ ทิวสภาโค อาจิกฺขิตพฺโพ สงฺคีติ อาจิกฺขิตพฺพา จตฺตาโร นิสฺสยา อาจิกฺขิตพฺพา  “ปิณฺฑิยาโลปโภชนํ นิสฺสาย ปพฺพชฺชา. ตตฺถ เต ยาวชีวํ อุสฺสาโห กรณีโย. 
idha pana bhikkhave bhikkhu pāpikāy diṭṭhiyā appaṭinissagge ukkhittako vibbhamati, so puna paccāgantvā bhikkhū upasampadaṃ yācati.  so evam assa vācanīyo: paṭinissajjissasi taṃ pāpikaṃ diṭṭhin ti.  sac’ āha paṭinissajjissāmīti pabbājetabbo, sac’ āhaṃ na paṭinissajjissāmīti na pabbājetabbo.  pabbājetvā vattabbo paṭinissajjissasi taṃ pāpikaṃ diṭṭhin ti.  sac’ āhaṃ paṭinissajjissāmīt upasampādetabbo, sac’ āhaṃ na paṭinissajjissāmīti n upasampādetabbo.  upasampādetvā vattabbo paṭinissajjissasi taṃ pāpikaṃ diṭṭhin ti.  sac’ āhaṃ paṭinissajjissāmīt osāretabbo, sac’ āhaṃ na paṭinissajjissāmīti na osāretabbo.  osāretvā vattabbo paṭinissajjāhi taṃ pāpikaṃ diṭṭhi ti.  sace paṭinissajjati, icc etaṃ kusalaṃ, no ce paṭinissajjati, labbhamānāya sāmaggiyā puna ukkhipitabbo, alabbhamānāya sāmaggiyā anāpatti sambhoge saṃvāse ’ti. |4| 
  'In case, O Bhikkhus, that a Bhikkhu against whom expulsion has been pronounced for his refusal to renounce a false doctrine, &c.2 When he has been restored, let them say to him: "Renounce now that false doctrine." If he renounces it, well and good, &c.'               
ดูกรภิกษุทั้งหลาย อนึ่ง ก็ภิกษุในธรรมวินัยนี้ ถูกสงฆ์ยกเสียฐานไม่ยอมสละทิฏฐิบาปสึกไป. เธอกลับมาขออุปสมบทต่อภิกษุทั้งหลายอีก.  พึงสอบถามเขาเช่นนี้ว่า เจ้าจักยอมสละคืนทิฏฐิบาปนั้นหรือ?  ถ้าเขาตอบว่า กระผมจักยอมสละคืนขอรับ พึงให้บรรพชา, ถ้าเขาตอบว่า กระผมจักไม่ยอมสละคืนขอรับ ไม่พึงให้บรรพชา.  ครั้นให้บรรพชาแล้ว พึงถามว่าเจ้าจักยอมสละคืนทิฏฐิบาปนั้นหรือ?  ถ้าเขาตอบว่า กระผมจักยอมสละคืนขอรับ พึงให้อุปสมบท, ถ้าเขาตอบว่า กระผมจักไม่ยอมสละคืนขอรับ ไม่พึงให้อุปสมบท.  ครั้นให้อุปสมบทแล้วพึงถามว่า ท่านยอมสละคืนทิฏฐิบาปนั้นหรือ?  ถ้าเธอตอบว่า กระผมจักยอมสละคืนขอรับ พึงเรียกเข้าหมู่, ถ้าเธอตอบว่า กระผมจักไม่ยอมสละคืนขอรับ ไม่พึงเรียกเข้าหมู่.  ครั้นเรียกเข้าหมู่แล้ว พึงกล่าวว่า จงยอมสละคืนทิฏฐิบาปนั้น.  ถ้าเธอยอมสละคืน การยอมสละคืนได้อย่างนี้ นั่นเป็นการดี ถ้าไม่ยอมสละคืน เมื่อได้สามัคคี พึงยกเสียอีก เมื่อไม่ได้สามัคคีไม่เป็นอาบัติในเพราะสมโภคและอยู่ร่วมกัน. 
อติเรกลาโภ สงฺฆภตฺตํ อุทฺเทสภตฺตํ นิมนฺตนํ สลากภตฺตํ ปกฺขิกํ อุโปสถิกํ ปาฏิปทิกํ.  “ปํสุกูลจีวรํ นิสฺสาย ปพฺพชฺชา. ตตฺถ เต ยาวชีวํ อุสฺสาโห กรณีโย.  อติเรกลาโภ โขมํ กปฺปาสิกํ โกเสยฺยํ กมฺพลํ สาณํ ภงฺคํ.  “รุกฺขมูลเสนาสนํ นิสฺสาย ปพฺพชฺชา. ตตฺถ เต ยาวชีวํ อุสฺสาโห กรณีโย.  อติเรกลาโภ วิหาโร อฑฺฒโยโค ปาสาโท หมฺมิยํ คุหา.  “ปูติมุตฺตเภสชฺชํ นิสฺสาย ปพฺพชฺชา. ตตฺถ เต ยาวชีวํ อุสฺสาโห กรณีโย.  อติเรกลาโภ สปฺปิ นวนีตํ เตลํ มธุ ผาณิต”นฺติ.     
||79|| 
 
วิธีปฏิบัติในภิกษุผู้ถูกสงฆ์ยกเสีย จบ. 
จตฺตาโร นิสฺสยา นิฏฺฐิตา. 
Mahākhandhako paṭhamo. 
มหาขันธกะที่ ๑ จบ. 
(๖๕. จตฺตาริ อกรณียานิ) ๑๒๙. เตน โข ปน สมเยน ภิกฺขู อญฺญตรํ ภิกฺขุํ อุปสมฺปาเทตฺวา เอกกํ โอหาย ปกฺกมึสุ. 
vinayamhi mahatthesu pesalānaṃ sukhāvah niggahe ca pāpicchānaṃ lajjīnaṃ paggahesu ca |  sāsanādhāraṇe c’ eva sabbaññujinagocar anaññavisaye kheme supaññatte asaṃsaye |  khandhake vinaye c’ eva parivāre ca mātik yathatthakārī kusalo paṭipajjati yoniso. |  yo gavaṃ na vijānāti na so rakkhati gogaṇaṃ evaṃ sīlaṃ ajānanto kiṃ so rakkheyya saṃvaraṃ. |  pamuṭṭhamhi ca suttante abhidhamme ca tāvad (99) vinaye avinaṭṭhamhi puna tiṭṭhati sāsanaṃ. |  tasmā saṃgahaṇahetu uddānaṃ anupubbas pavakkhāmi yathāñāṇaṃ, suṇātha mama bhāsato. |  vatthu nidānaṃ āpatti nayā peyyālam eva c dukkaraṃ taṃ asesetum, nayato taṃ vijānāthā ’ti. |  bodhi ca, Rājāyatanaṃ, Ajapālo, Sahampat Brahmā, Āḷāro, Uddako, bhikkhū ca, Upako isi, | Koṇḍañño, Vappo, Bhaddiyo, Mahānāmo ca, Assaji Yaso, cattāro, paññāsaṃ, sabbe, pesesi so, disā, | vatthuṃ, Mārehi, tiṃsā ca, Uruvelaṃ, tayo jaṭī agyāgāraṃ, Mahārājā, Sakko, Brahmā ca, kevalā, | paṃsukūlaṃ, pokkharaṇī, silā ca, kakudho, silā jambu, ambo ca, āmalako, pāricchattapuppham āhari, | phāliyantu, ujjalantu, vijjhāyantu ca Kassapa nimujjanti, mukhī, megho, Gayā, laṭṭhi ca, Māgadho, | Upatisso, Kolito ca, abhiññātā ca, pabbajjaṃ dunnivatthā, paṇāmanā, kiso lūkho ca brāhmaṇo, | anācāraṃ ācarati, udaraṃ, māṇavo, gaṇo vassaṃ, bālehi, pakkanto, dasa vassāni, nissayo, | na vattanti, paṇāmetuṃ, bālā, passaddhi, pañca, cha yo so añño ca, naggo ca, acchinnaṃ, jaṭi, Sākiyo, | Magadhesu pañca ābādhā, eko, coro ca aṅguli Māgadho ca anuññāsi, kārā, likhi, kasāhato, | lakkhaṇā, iṇā, dāso ca, Bhaṇḍuko, Upāli, ahi saddhakulaṃ, Kaṇḍako ca, āhundarikam eva ca, | vatthumhi, dārako, sikkhā, viharanti ca, kiṃ nu kho sabbaṃ, mukhaṃ, upajjhāye, apalāḷana-Kaṇḍako, | paṇḍako, theyya-pakkanto, ahi ca, mātari, pitā arahanta-bhikkhunī, bhedā, ruhirena ca, vyañjanaṃ, | anupajjhāya- saṃghena, gaṇa-paṇḍakā-’pattako acīvaraṃ, tadubhayaṃ, yācitena pi ye tayo, | hatthā, pādā, hatthapādā, kaṇṇā, nāsā, tadubhayaṃ aṅguli, aḷa-kaṇḍaraṃ, phaṇaṃ, khujjañ ca, vāmanaṃ, | galagaṇḍi, lakkhaṇā c’ eva, kasā, likhita-sīpadi pāpa-parisadūsañ ca, kāṇaṃ, kuṇiṃ tath’ eva ca, | (100) khañja-pakkhahatañ c’ eva, sacchinnairiyāpathaṃ jarāndha-mūga-badhiraṃ, andhamūgañ ca yaṃ tahiṃ, | andhabadhiraṃ yaṃ vuttaṃ, mūgabadhiram eva ca andhamūgabadhirañ ca, alajjīnañ ca {nissayaṃ,} | vatthabbañ ca, kataddhānaṃ, yācamānena, pekkhanā āgacchantaṃ, vivadenti, ekupajjhāyena, Kassapo, | dissanti upasampannā ābādhehi ca pīḷitā ananusiṭṭhā vitthāyanti, tatth’ eva anusāsanā, | saṃghe pi ca, atho bālo, asammato ca, ekato ullumpatupasampadā, nissayo, ekako, tayo ’ti. | imamhi khandhake vatthu ekasataṃ bāsattati. | 
End of the first Khandhaka, which is called the Great Khandhaka.  Uddāna n/a  Uddāna n/a  Uddāna n/a  Uddāna n/a  Uddāna n/a  Uddāna n/a  Uddāna n/a 
อุททานคาถา [๑๔๖] พระวินัยมีประโยชน์มาก คือนำมาซึ่งความสุขแก่พวกภิกษุผู้มีศีลเป็นที่รัก ข่มพวกที่มีความปรารถนาลามก  ยกย่องพวกที่มีความละอายและทรงไว้ซึ่งพระศาสนา เป็นอารมณ์ของพระสัพพัญญชินเจ้า ไม่เป็นวิสัยของพวกอื่น เป็นแดนเกษม อันพระผู้มีพระภาคทรงบัญญัติไว้ดีแล้ว ไม่มีข้อที่น่าสงสัย  ภิกษุผู้ฉลาดในขันธกะ วินัย บริวาร และมาติกา ปฏิบัติด้วยปัญญาอันหลักแหลม ชื่อว่าผู้ทำประโยชน์อันควร.  ชนใดไม่รู้จักโค ชนนั้นย่อมรักษาฝูงโคไม่ได้ฉันใด ภิกษุก็ฉันนั้น เมื่อไม่รู้จักศีล ไฉนเธอจะพึงรักษาสังวรไว้ได้.  เมื่อพระสุตตันตะ และพระอภิธรรมเลอะเลือนไปก่อน แต่พระวินัยยังไม่เสื่อมสูญ พระศาสนาชื่อว่า ยังตั้งอยู่ต่อไป.  เพราะเหตุแห่งการสังคายนานั้น ข้าพเจ้าจักประมวลกล่าวโดยลำดับตามความรู้ ขอท่านทั้งหลายจงฟังข้าพเจ้ากล่าวเพื่อ  จะมิให้ข้อที่ทำได้ยาก คือวัตถุ นิทาน อาบัติ นัยและเปยยาล เหลือลง ขอท่านทั้งหลาย จงทราบข้อนั้นโดยนัยเถิด  เรื่องประทับอยู่ ณ ควงไม้โพธิ์ เรื่องประทับอยู่ ณ ควงไม้ อชปาลนิโครธ เรื่องประทับอยู่ ณ ควงไม้ราชายตนพฤกษ์ เรื่องท้าวสหัมบดีพรหม เรื่องฤาษีอาฬาระ เรื่องฤาษีอุททกะ เรื่องอุปกาชีวก เรื่องภิกษุปัญจวัคคีย์ คือ โกณฑัญญะ วัปปะ ภัททิยะ มหานามะ อัสสชิ เรื่องยสกุลบุตร เรื่องสหาย ๔ คน เรื่องสหาย ๕๐ คน เรื่องส่งพระอรหันต์ทั้งหมดไป ในทิศต่างๆ เรื่องมาร ๒ เรื่อง เรื่องภัททวัคคีย์กุมาร ๓๐ เรื่องชฎิล ๓ พี่น้อง มีอุรุเวลกัสสปเป็นต้นเรื่อง โรงบูชาไฟ เรื่องท้าวมหาราช เรื่องท้าวสักกะ เรื่องท้าว มหาพรหม เรื่องประชาชนชาวอังคะ มคธะทั้งหมด เรื่อง ทรงชักผ้าบังสุกุล เรื่องสระโบกขรณี เรื่องศิลา เรื่อง ต้นกุ่ม เรื่องผึ่งผ้าบังสุกุลที่แผ่นศิลา เรื่องไม้หว้า เรื่อง ไม้มะม่วง เรื่องไม้มะขามป้อม เรื่องทรงเก็บดอกไม้ ปาริฉัตตกะ เรื่องชฎิลพวกอุรุเวลกัสสปผ่าฟืน เรื่องติดไฟ เรื่องดับไฟ เรื่องดำน้ำ เรื่องกองไฟ เรื่องฝนตก เรื่อง แม่น้ำคยา เรื่องสวนตาลหนุ่ม เรื่องพระเจ้าแผ่นดินมคธ เรื่องอุปติสสะและโกลิตะ เรื่องกุลบุตรที่มีชื่อเสียงบวช เรื่องภิกษุนุ่งห่มไม่เรียบร้อย เรื่องประณาม เรื่องพราหมณ์ ซูบผอมหม่นหมอง เรื่องประพฤติอนาจาร เรื่องบวชเห็น แก่ท้อง เรื่องมาณพ เรื่องให้อุปสมบทด้วยคณะ เรื่อง อุปัชฌายะมีพรรษาเดียวให้กุลบุตรบวช เรื่องอุปัชฌายะ เขลา เรื่องอุปัชฌายะหลีกไป เรื่องถือนิสสัยกะอาจารย์ มีพรรษา ๑๐ เรื่องอันเตวาสิกไม่ประพฤติชอบ เรื่องทรง อนุญาตให้ประณาม เรื่องอาจารย์เขลาให้นิสสัย เรื่องนิสสัย ระงับ เรื่องภิกษุประกอบด้วยองค์ ๕ เรื่องภิกษุประกอบ ด้วยองค์ ๖ เรื่องภิกษุเคยเป็นอัญญเดียรถีย์ เรื่องชีเปลือย เรื่องไม่โกนผม เรื่องชฎิลบูชาไฟ เรื่องอัญญเดียรถีย์ที่เป็น ศากยะบวช เรื่องอาพาธ ๕ อย่าง ในมคธรัฐ เรื่องราชภัฏบวช เรื่ององคุลิมาลโจร เรื่องพระเจ้าแผ่นดินมคธมีพระ บรมราชานุญาตไว้ เรื่องห้ามบวชนักโทษหนีเรือนจำ เรื่อง ห้ามบวชนักโทษที่ออกหมายสั่งจับ เรื่องห้ามบวชคนถูก เฆี่ยนมีรอยหวายติดตัว เรื่องห้ามบวชคนถูกอาญาสักหมาย โทษ เรื่องห้ามบวชคนมีหนี้สิน เรื่องห้ามบวชทาส เรื่องบุตร ชายช่างทอง เรื่องเด็กชายอุบาลี เรื่องอหิวาตกโรค เรื่อง ตระกูลมีศรัทธา เรื่องสามเณรกัณฏกะ เรื่องทิศคับแคบ เรื่อง ถือนิสสัย เรื่องเด็กบรรพชา เรื่องสิกขาบทของสามเณร เรื่อง สามเณรไม่เคารพภิกษุ เรื่องคำนึงว่าจะลงทัณฑกรรมอย่างไร หนอ เรื่องลงทัณฑกรรม คือห้ามสังฆารามทุกแห่ง เรื่อง ห้ามปาก เรื่องไม่บอกพระอุปัชฌายะ เรื่องเกลี้ยกล่อม สามเณรไว้ใช้ เรื่องสามเณรกัณฏกะ เรื่องห้ามอุปสมบท บัณเฑาะก์ คนลักเพศ เรื่องห้ามอุปสมบทคนเข้ารีดเดียรถีย์ เรื่องห้ามอุปสมบทนาค คนฆ่ามารดา คนฆ่าบิดา คนฆ่า พระอรหันต์ คนทำร้ายภิกษุณี ภิกษุผู้ทำสังฆเภท คนทำร้าย พระพุทธเจ้าจนถึงห้อพระโลหิต อุภโตพยัญชนก เรื่อง ห้ามอุปสมบทคนไม่มีอุปัชฌายะ คนมีสงฆ์เป็นอุปัชฌายะ คนมีคณะเป็นอุปัชฌายะ คนมีบัณเฑาะก์เป็นอุปัชฌายะ เรื่องห้ามอุปสมบทคนไม่มีบาตร คนไม่มีจีวร คนไม่มีบาตร จีวรทั้งสองอย่าง เรื่องห้ามอุปสมบทคนยืมบาตรยืมจีวร ยืมทั้งบาตรจีวร รวม ๓ เรื่อง เรื่องห้ามบรรพชาคนมือด้วน ห้ามบรรพชาคนเท้าด้วน ห้ามบรรพชาคนมือเท้าด้วน ห้าม บรรพชาคนหูขาด ห้ามบรรพชาคนจมูกขาด ห้ามบรรพชา คนทั้งหูและจมูกขาด ห้ามบรรพชาคนนิ้วมือนิ้วเท้าขาด ห้ามบรรพชาคนง่ามมือง่ามเท้าขาด ห้ามบรรพชาคนเอ็นขาด ห้ามบรรพชาคนมือเป็นแผ่น ห้ามบรรพชาคนค่อม ห้าม บรรพชาคนเตี้ย ห้ามบรรพชาคนคอพอก ห้ามบรรพชาคนถูก ลงอาญาสักหมายโทษ ห้ามบรรพชาคนถูกเฆี่ยนมีรอยหวาย ติดตัว ห้ามบรรพชาคนมีหมายประกาศจับ ห้ามบรรพชาคน เท้าปุก ห้ามบรรพชาคนมีโรคเรื้อรัง ห้ามบรรพชาคนมีรูปร่าง ไม่สมประกอบ ห้ามบรรพชาคนตาบอดข้างเดียว ห้าม บรรพชาคนง่อย ห้ามบรรพชาคนกระจอก ห้ามบรรพชาคน เป็นโรคอัมพาต ห้ามบรรพชาคนมีอิริยาบถขาด ห้ามบรรพชา คนแก่ ห้ามบรรพชาคนตาบอด ๒ ข้าง ห้ามบรรพชาคนใบ้ ห้ามบรรพชาคนหูหนวก ห้ามบรรพชาคนทั้งบอดและใบ้ ห้ามบรรพชาคนทั้งบอดและหนวก ห้ามบรรพชาคนทั้งใบ้ และหนวก ห้ามบรรพชาคนทั้งบอดใบ้และหนวก เรื่อง ให้นิสสัยแก่อลัชชี เรื่องถือนิสสัยต่ออลัชชี เรื่องเดินทาง ไกล เรื่องขอร้อง เรื่องพิจารณา เรื่องจงมาสวด เรื่องแย่งกัน อุปสมบทก่อน เรื่องอุปสมบทมีอุปัชฌายะองค์เดียว เรื่อง พระกุมารกัสสป เรื่องอุปสัมบันปรากฏถูกโรคเบียดเบียน เรื่องอุปสัมปทาเปกขะยังมิได้สอนซ้อมสะทกสะท้าน เรื่อง สอนซ้อมในท่ามกลางสงฆ์นั้นแหละ เรื่องห้ามภิกษุเขลา สอนซ้อม เรื่องห้ามภิกษุยังไม่ได้รับสมมติสอนซ้อม เรื่องผู้สอนซ้อมกับอุปสัมปทาเปกขะมาพร้อมกัน เรื่อง ขอจงยกขึ้น เรื่องญัตติจตุตถกรรมอุปสัมปทา เรื่องบอก นิสสัย เรื่องละอุปสัมบันไว้แต่ลำพัง เรื่องภิกษุถูกสงฆ์ยก เสีย ๓ เรื่อง. 
โส ปจฺฉา เอกโกว อาคจฺฉนฺโต อนฺตรามคฺเค ปุราณทุติยิกาย สมาคญฺฉิ.  สา เอวมาห “กึทานิ ปพฺพชิโตสี”ติ?  “อาม ปพฺพชิโตมฺหี”ติ.  “ทุลฺลโภ โข ปพฺพชิตานํ เมถุโน ธมฺโม เอหิ เมถุนํ ธมฺมํ ปฏิเสวา”ติ.  โส ตสฺสา เมถุนํ ธมฺมํ ปฏิเสวิตฺวา จิเรน อคมาสิ.  ภิกฺขู เอวมาหํสุ “กิสฺส ตฺวํ อาวุโส เอวํ จิรํ อกาสี”ติ?  อถ โข โส ภิกฺขุ ภิกฺขูนํ เอตมตฺถํ อาโรเจสิ.  ภิกฺขู ภควโต เอตมตฺถํ อาโรเจสุํ 
Mahākhandhake uddānaṃ niṭṭhitaṃ paṭhamaṃ. 
Uddāna n/a 
รวมเรื่องในขันธกะนี้ ๑๗๒ เรื่อง. หัวข้อเรื่องในมหาขันธกะ จบ. 
อนุชานามิ ภิกฺขเว อุปสมฺปาเทตฺวา ทุติยํ ทาตุํ จตฺตาริ จ อกรณียานิ อาจิกฺขิตุํ 
Tena samayena buddho bhagavā Rājagahe viharati Gijjhakūṭe pabbate.  tena kho pana samayena aññatitthiyā paribbājakā cātuddase pannarase aṭṭhamiyā ca pakkhassa sannipatitvā dhammaṃ bhāsanti.  te manussā upasaṃkamanti dhammasavanāya.  te labhanti aññatitthiyesu paribbājakesu pemaṃ, labhanti pasādaṃ, labhanti aññatitthiyā paribbājakā pakkhaṃ. |1| 
Uddāna n/a 
“อุปสมฺปนฺเนน ภิกฺขุนา เมถุโน ธมฺโม น ปฏิเสวิตพฺโพ อนฺตมโส ติรจฺฉานคตายปิ.  โย ภิกฺขุ เมถุนํ ธมฺมํ ปฏิเสวติ อสฺสมโณ โหติ อสกฺยปุตฺติโย.  เสยฺยถาปิ นาม ปุริโส สีสจฺฉินฺโน อภพฺโพ เตน สรีรพนฺธเนน ชีวิตุํ เอวเมว ภิกฺขุ เมถุนํ ธมฺมํ ปฏิเสวิตฺวา อสฺสมโณ โหติ อสกฺยปุตฺติโย. ตํ เต ยาวชีวํ อกรณียํ.  “อุปสมฺปนฺเนน ภิกฺขุนา อทินฺนํ เถยฺยสงฺขาตํ น อาทาตพฺพํ อนฺตมโส ติณสลากํ อุปาทาย. 
atha kho rañño Māgadhassa Seniyassa Bimbisārassa rahogatassa paṭisallīnassa evaṃ cetaso parivitakko udapādi:  etarahi kho aññatitthiyā paribbājakā cātuddase pannarase aṭṭhamiyā ca pakkhassa sannipatitvā dhammaṃ bhāsanti.  te manussā upasaṃkamanti dhammasavanāya.  te labhanti aññatitthiyesu paribbājakesu pemaṃ, labhanti pasādaṃ, labhanti aññatitthiyā paribbājakā pakkhaṃ.  yaṃ nūna ayyāpi cātuddase pannarase aṭṭhamiyā ca pakkhassa sannipateyyun ti. |2| 
โย ภิกฺขุ ปาทํ วา ปาทารหํ วา อติเรกปาทํ วา อทินฺนํ เถยฺยสงฺขาตํ อาทิยติ อสฺสมโณ โหติ อสกฺยปุตฺติโย.  เสยฺยถาปิ นาม ปณฺฑุปลาโส พนฺธนา ปมุตฺโต อภพฺโพ หริตตฺถาย เอวเมว ภิกฺขุ ปาทํ วา ปาทารหํ วา อติเรกปาทํ วา อทินฺนํ เถยฺยสงฺขาตํ อาทิยิตฺวา อสฺสมโณ โหติ อสกฺยปุตฺติโย. ตํ เต ยาวชีวํ อกรณียํ.  “อุปสมฺปนฺเนน ภิกฺขุนา สญฺจิจฺจ ปาโณ ชีวิตา น โวโรเปตพฺโพ อนฺตมโส กุนฺถกิปิลฺลิกํ อุปาทาย.  โย ภิกฺขุ สญฺจิจฺจ มนุสฺสวิคฺคหํ ชีวิตา โวโรเปติ อนฺตมโส คพฺภปาตนํ อุปาทาย อสฺสมโณ โหติ อสกฺยปุตฺติโย.  เสยฺยถาปิ นาม ปุถุสิลา ทฺเวธา ภินฺนา อปฺปฏิสนฺธิกา โหติ เอวเมว ภิกฺขุ สญฺจิจฺจ มนุสฺสวิคฺคหํ ชีวิตา โวโรเปตฺวา อสฺสมโณ โหติ อสกฺยปุตฺติโย ตํ เต ยาวชีวํ อกรณียํ. 
atha kho rājā Māgadho Seniyo Bimbisāro yena bhagavā ten’ upasaṃkami, upasaṃkamitvā bhagavantaṃ abhivādetvā ekamantaṃ nisīdi.  ekamantaṃ nisinno kho rājā Māgadho Seniyo Bimbisāro bhagavantaṃ etad avoca:  idha mayhaṃ bhante rahogatassa paṭisallīnassa evaṃ cetaso parivitakko udapādi:  etarahi kho aññatitthiyā paribbājakā . . . aṭṭhamiyā ca pakkhassa sannipateyyun ti.  sādhu bhante ayyāpi cātuddase pannarase aṭṭhamiyā ca pakkhassa sannipateyyun ti. |3| 
 
 
“อุปสมฺปนฺเนน ภิกฺขุนา อุตฺตริมนุสฺสธมฺโม น อุลฺลปิตพฺโพ อนฺตมโส ‘สุญฺญาคาเร อภิรมามี’ติ.  โย ภิกฺขุ ปาปิจฺโฉ อิจฺฉาปกโต อสนฺตํ อภูตํ อุตฺตริมนุสฺสธมฺมํ อุลฺลปติ ฌานํ วา วิโมกฺขํ วา สมาธึ วา สมาปตฺตึ วา มคฺคํ วา ผลํ วา อสฺสมโณ โหติ อสกฺยปุตฺติโย.  เสยฺยถาปิ นาม ตาโล มตฺถกจฺฉินฺโน อภพฺโพ ปุน วิรุฬฺหิยา เอวเมว ภิกฺขุ ปาปิจฺโฉ อิจฺฉาปกโต อสนฺตํ อภูตํ อุตฺตริมนุสฺสธมฺมํ อุลฺลปิตฺวา อสฺสมโณ โหติ อสกฺยปุตฺติโย. ตํ เต ยาวชีวํ อกรณีย”นฺติ.  จตฺตาริ อกรณียานิ นิฏฺฐิตานิ.  (๖๖. อาปตฺติยา อทสฺสเน อุกฺขิตฺตกวตฺถูนิ) ๑๓๐. เตน โข ปน สมเยน อญฺญตโร ภิกฺขุ อาปตฺติยา อทสฺสเน อุกฺขิตฺตโก วิพฺภมิ. โส ปุน ปจฺจาคนฺตฺวา ภิกฺขู อุปสมฺปทํ ยาจิ. 
atha kho bhagavā rājānaṃ Māgadhaṃ Seniyaṃ Bimbisāraṃ dhammiyā kathāya sandassesi samādapesi samuttejesi sampahaṃsesi.  atha kho rājā Māgadho Seniyo Bimbisāro bhagavatā dhammiyā kathāya sandassito samādapito samuttejito sampahaṃsito uṭṭhāyāsanā bhagavantaṃ (102) abhivādetvā padakkhiṇaṃ katvā pakkāmi.  atha kho bhagavā etasmiṃ nidāne etasmiṃ pakaraṇe dhammiṃ kathaṃ katvā bhikkhū āmantesi: anujānāmi bhikkhave cātuddase pannarase aṭṭhamiyā ca pakkhassa sannipatitun ti. |4| 
ภควโต เอตมตฺถํ อาโรเจสุํ.  อิธ ปน ภิกฺขเว ภิกฺขุ อาปตฺติยา อทสฺสเน อุกฺขิตฺตโก วิพฺภมติ. โส ปุน ปจฺจาคนฺตฺวา ภิกฺขู อุปสมฺปทํ ยาจติ.  โส เอวมสฺส วจนีโย “ปสฺสิสฺสสิ ตํ อาปตฺติ”นฺติ? 
||1|| 
สจาหํ ปสฺสิสฺสามีติ ปพฺพาเชตพฺโพ. สจาหํ น ปสฺสิสฺสามีติ น ปพฺพาเชตพฺโพ. 
tena kho pana samayena bhikkhū bhagavatā anuññātaṃ cātuddase pannarase aṭṭhamiyā ca pakkhassa sannipatitun ti te cātuddase pannarase aṭṭhamiyā ca pakkhassa sannipatitvā tuṇhī nisīdanti.  te manussā upasaṃkamanti dhammasavanāya.  te ujjhāyanti khīyanti vipācenti: kathaṃ hi nāma samaṇā Sakyaputtiyā cātuddase pannarase aṭṭhamiyā ca pakkhassa sannipatitvā tuṇhī nisīdissanti seyyathāpi mūgasūkarā.  nanu nāma sannipatitehi dhammo bhāsitabbo ’ti.  assosuṃ kho bhikkhū tesaṃ manussānaṃ ujjhāyantānaṃ khīyantānaṃ vipācentānaṃ.  atha kho te bhikkhū bhagavato etam atthaṃ ārocesuṃ.  atha kho bhagavā etasmiṃ nidāne etasmiṃ pakaraṇe dhammiṃ kathaṃ katvā bhikkhū āmantesi: anujānāmi bhikkhave cātuddase pannarase aṭṭhamiyā ca pakkhassa sannipatitvā dhammaṃ bhāsitun ti. |1| 
ปพฺพาเชตฺวา วตฺตพฺโพ “ปสฺสิสฺสสิ ตํ อาปตฺติ”นฺติ?  สจาหํ ปสฺสิสฺสามีติ อุปสมฺปาเทตพฺโพ.  สจาหํ น ปสฺสิสฺสามีติ น อุปสมฺปาเทตพฺโพ.  อุปสมฺปาเทตฺวา วตฺตพฺโพ “ปสฺสิสฺสสิ ตํ อาปตฺติ”นฺติ?  สจาหํ ปสฺสิสฺสามีติ โอสาเรตพฺโพ. สจาหํ น ปสฺสิสฺสามีติ น โอสาเรตพฺโพ.  โอสาเรตฺวา วตฺตพฺโพ “ปสฺสสิ ตํ อาปตฺติ”นฺติ?  สเจ ปสฺสติ อิจฺเจตํ กุสลํ. โน เจ ปสฺสติ ลพฺภมานาย สามคฺคิยา ปุน อุกฺขิปิตพฺโพ. อลพฺภมานาย สามคฺคิยา อนาปตฺติ สมฺโภเค สํวาเส. 
||2|| 
อิธ ปน ภิกฺขเว ภิกฺขุ อาปตฺติยา อปฺปฏิกมฺเม อุกฺขิตฺตโก วิพฺภมติ. โส ปุน ปจฺจาคนฺตฺวา ภิกฺขู อุปสมฺปทํ ยาจติ. 
atha kho bhagavato rahogatassa paṭisallīnassa evaṃ cetaso parivitakko udapādi: yaṃ nūnāhaṃ yāni mayā bhikkhūnaṃ paññattāni sikkhāpadāni tāni nesaṃ pātimokkhuddesaṃ anujāneyyaṃ, so nesaṃ bhavissati uposathakamman ti. |1| 
โส เอวมสฺส วจนีโย “ปฏิกริสฺสสิ ตํ อาปตฺติ”นฺติ? 
atha kho bhagavā sāyaṇhasamayaṃ paṭisallānā vuṭṭhito etasmiṃ nidāne etasmiṃ pakaraṇe dhammiṃ kathaṃ katvā bhikkhū āmantesi:  idha mayhaṃ bhikkhave rahogatassa paṭisallīnassa evaṃ cetaso parivitakko udapādi:  yaṃ nūnāhaṃ yāni mayā bhikkhūnaṃ paññattāni sikkhāpadāni tāni nesaṃ pātimokkhuddesaṃ anujāneyyaṃ, so nesaṃ bhavissati uposathakamman ti.  anujānāmi bhikkhave pātimokkhaṃ uddisituṃ. |2| 
สจาหํ ปฏิกริสฺสามีติ ปพฺพาเชตพฺโพ สจาหํ น ปฏิกริสฺสามีติ น ปพฺพาเชตพฺโพ.  ปพฺพาเชตฺวา วตฺตพฺโพ “ปฏิกริสฺสสิ ตํ อาปตฺติ”นฺติ?  สจาหํ ปฏิกริสฺสามีติ อุปสมฺปาเทตพฺโพ. สจาหํ น ปฏิกริสฺสามีติ น อุปสมฺปาเทตพฺโพ.  อุปสมฺปาเทตฺวา วตฺตพฺโพ “ปฏิกริสฺสสิ ตํ อาปตฺติ”นฺติ? 
evañ ca pana bhikkhave uddisitabbaṃ: vyattena bhikkhunā paṭibalena saṃgho ñāpetabbo: suṇātu me bhante saṃgho.  ajj’ uposatho pannaraso.  yadi saṃghassa pattakallaṃ, saṃgho uposathaṃ kareyya pātimokkhaṃ uddiseyya.  kiṃ saṃghassa pubbakiccaṃ.  pārisuddhiṃ āyasmanto (103) ārocetha.  pātimokkhaṃ uddisissāmi, taṃ sabbeva santā sādhukaṃ suṇoma manasikaroma.  yassa siyā āpatti, so āvikareyya, asantiyā āpattiyā tuṇhī bhavitabbaṃ, tuṇhibhāvena kho panāyasmante parisuddhā ’ti vedissāmi.  yathā kho pana paccekapuṭṭhassa veyyākaraṇaṃ hoti, evaṃ eva evarūpāya parisāya yāvatatiyaṃ anussāvitaṃ hoti.  yo pana bhikkhu yāvatatiyaṃ anussāviyamāne saramāno santiṃ āpattiṃ nāvikareyya, sampajānamusāvād’ assa hoti.  sampajānamusāvādo kho panāyasmanto antarāyiko dhammo vutto bhagavatā.  tasmā saramānena bhikkhunā āpannena visuddhāpekkhena santī āpatti āvikātabbā, āvikatā hi ’ssa phāsu hotīti. |3| 
สจาหํ ปฏิกริสฺสามีติ โอสาเรตพฺโพ. สจาหํ น ปฏิกริสฺสามีติ น โอสาเรตพฺโพ.  โอสาเรตฺวา วตฺตพฺโพ “ปฏิกโรหิ ตํ อาปตฺติ”นฺติ.  สเจ ปฏิกโรติ อิจฺเจตํ กุสลํ. โน เจ ปฏิกโรติ ลพฺภมานาย สามคฺคิยา ปุน อุกฺขิปิตพฺโพ. อลพฺภมานาย สามคฺคิยา อนาปตฺติ สมฺโภเค สํวาเส.  อิธ ปน ภิกฺขเว ภิกฺขุ ปาปิกาย ทิฏฺฐิยา อปฺปฏินิสฺสคฺเค อุกฺขิตฺตโก วิพฺภมติ. โส ปุน ปจฺจาคนฺตฺวา ภิกฺขู อุปสมฺปทํ ยาจติ.  โส เอวมสฺส วจนีโย “ปฏินิสฺสชฺชิสฺสสิ ตํ ปาปิกํ ทิฏฺฐิ”นฺติ?  สจาหํ ปฏินิสฺสชฺชิสฺสามีติ ปพฺพาเชตพฺโพ. สจาหํ น ปฏินิสฺสชฺชิสฺสามีติ น ปพฺพาเชตพฺโพ.  ปพฺพาเชตฺวา วตฺตพฺโพ “ปฏินิสฺสชฺชิสฺสสิ ตํ ปาปิกํ ทิฏฺฐิ”นฺติ?  สจาหํ ปฏินิสฺสชฺชิสฺสามีติ อุปสมฺปาเทตพฺโพ. สจาหํ น ปฏินิสฺสชฺชิสฺสามีติ น อุปสมฺปาเทตพฺโพ.  อุปสมฺปาเทตฺวา วตฺตพฺโพ “ปฏินิสฺสชฺชิสฺสสิ ตํ ปาปิกํ ทิฏฺฐิ”นฺติ?  สจาหํ ปฏินิสฺสชฺชิสฺสามีติ โอสาเรตพฺโพ. สจาหํ น ปฏินิสฺสชฺชิสฺสามีติ น โอสาเรตพฺโพ.  โอสาเรตฺวา วตฺตพฺโพ “ปฏินิสฺสชฺเชหิ ตํ ปาปิกํ ทิฏฺฐิ”นฺติ. 
pātimokkhan ti ādiṃ etaṃ, mukhaṃ etaṃ, pamukhaṃ etaṃ kusalānaṃ dhammānaṃ, tena vuccati pātimokkhan ti.  āyasmanto ’ti piyavacanaṃ etaṃ, garuvacanaṃ etaṃ, sagāravasappatissādhivacanaṃ etaṃ āyasmanto ’ti.  uddisissāmīti ācikkhissāmi desessāmi paññāpessāmi paṭṭhapessāmi vivarissāmi vibhajissāmi uttānikarissāmi pakāsessāmi.  tan ti pātimokkhaṃ vuccati.  sabbeva santā ’ti yāvatikā tassā parisāya therā ca navā ca majjhimā ca, ete vuccanti sabbeva santā ’ti.  sādhukaṃ suṇomā ’ti aṭṭhikatvā manasikatvā sabbaṃ cetasā samannāharāma.  manasikaromā ’ti ekaggacittā avikkhittacittā avisāhaṭacittā nisāmema. |4| 
สเจ ปฏินิสฺสชฺชติ อิจฺเจตํ กุสลํ. โน เจ ปฏินิสฺสชฺชติ ลพฺภมานาย สามคฺคิยา ปุน อุกฺขิปิตพฺโพ. อลพฺภมานาย สามคฺคิยา อนาปตฺติ สมฺโภเค สํวาเสติ.      มหาขนฺธโก ปฐโม.  (๖๗. ตสฺสุทฺทานํ) ๑๓๑. วินยมฺหิ มหตฺเถสุ เปสลานํ สุขาวเห. นิคฺคหานญฺจ ปาปิจฺเฉ ลชฺชีนํ ปคฺคเหสุ จฯ  สาสนาธารเณ เจว สพฺพญฺญุชินโคจเร. อนญฺญวิสเย เขเม สุปญฺญตฺเต อสํสเยฯ  ขนฺธเก วินเย เจว ปริวาเร จ มาติเก. ยถาตฺถการี กุสโล ปฏิปชฺชติ โยนิโสฯ 
yassa siyā āpattīti therassa vā navassa vā majjhimassa vā pañcannaṃ vā āpattikkhandhānaṃ aññatarā āpatti sattannaṃ vā āpattikkhandhānaṃ aññatarā āpatti.  so āvikareyyā ’ti so deseyya, so vivareyya, so uttānikareyya, so pakāseyya saṃghamajjhe vā gaṇamajjhe vā ekapuggale vā.  asantī nāma āpatti anajjhāpannā vā hoti āpajjitvā vā vuṭṭhitā.  tuṇhī bhavitabban ti adhivāsetabbaṃ, na vyāhātabbaṃ, parisuddhā ’ti vedissāmīti jānissāmi dhāressāmi. |5| 
โย ควํ น วิชานาติ น โส รกฺขติ โคคณํ. เอวํ สีลํ อชานนฺโต กึ โส รกฺเขยฺย สํวรํฯ  ปมุฏฺฐมฺหิ จ สุตฺตนฺเต อภิธมฺเม จ ตาวเท. วินเย อวินฏฺฐมฺหิ ปุน ติฏฺฐติ สาสนํฯ  ตสฺมา สงฺคาหณาเหตุํ อุทฺทานํ อนุปุพฺพโส. ปวกฺขามิ ยถาญายํ สุณาถ มม ภาสโตฯ  วตฺถุ นิทานํ อาปตฺติ นยา เปยฺยาลเมว จ. ทุกฺกรํ ตํ อเสเสตุํ นยโต ตํ วิชานถาติฯ 
yathā kho pana paccekapuṭṭhassa veyyākaraṇaṃ hotīti yathā ekena eko puṭṭho vyākareyya, evaṃ eva tassā parisāya jānitabbaṃ maṃ pucchatīti.  evarūpā nāma parisā bhikkhuparisā vuccati.  yāvatatiyaṃ anussāvitaṃ hotīti sakim pi anussāvitaṃ hoti dutiyam pi anussāvitaṃ hoti tatiyam pi anussāvitaṃ hoti.  saramāno ’ti jānamāno sañjānamāno.  santī nāma āpatti ajjhāpannā vā hoti āpajjitvā vā avuṭṭhitā.  nāvikareyyā ’ti na deseyya na vivareyya na uttānikareyya na pakāseyya (104) saṃghamajjhe vā gaṇamajjhe vā ekapuggale vā. |6| 
โพธิ ราชายตนญฺจ อชปาโล สหมฺปติ. พฺรหฺมา อาฬาโร อุทโก ภิกฺขุ จ อุปโก อิสิฯ โกณฺฑญฺโญ วปฺโป ภทฺทิโย มหานาโม จ อสฺสชิ. ยโส จตฺตาโร ปญฺญาส สพฺเพ เปเสสิ โส ทิสาฯ วตฺถุ มาเรหิ ตึสา จ อุรุเวลํ ตโย ชฏี. อคฺยาคารํ มหาราชา สกฺโก พฺรหฺมา จ เกวลาฯ ปํสุกูลํ โปกฺขรณี สิลา จ กกุโธ สิลา. ชมฺพุ อมฺโพ จ อามโล ปาริปุปฺผญฺจ อาหริฯ ผาลิยนฺตุ อุชฺชลนฺตุ วิชฺฌายนฺตุ จ กสฺสป. นิมุชฺชนฺติ มุขี เมโฆ คยา ลฏฺฐิ จ มาคโธฯ อุปติสฺโส โกลิโต จ อภิญฺญาตา จ ปพฺพชุํ. ทุนฺนิวตฺถา ปณามนา กิโส ลูโข จ พฺราหฺมโณฯ อนาจารํ อาจรติ อุทรํ มาณโว คโณ. วสฺสํ พาเลหิ ปกฺกนฺโต ทส วสฺสานิ นิสฺสโยฯ น วตฺตนฺติ ปณาเมตุํ พาลา ปสฺสทฺธิ ปญฺจ ฉ. โย โส อญฺโญ จ นคฺโค จ อจฺฉินฺนชฏิลสากิโยฯ มคเธสุ ปญฺจาพาธา เอโก ราชา จ องฺคุลิ. มาคโธ จ อนุญฺญาสิ การา ลิขิ กสาหโตฯ ลกฺขณา อิณา ทาโส จ ภณฺฑุโก อุปาลิ อหิ. สทฺธํ กุลํ กณฺฏโก จ อาหุนฺทริกเมว จฯ วตฺถุมฺหิ ทารโก สิกฺขา วิหรนฺติ จ กึ นุ โข. สพฺพํ มุขํ อุปชฺฌาเย อปลาฬน กณฺฏโกฯ ปณฺฑโก เถยฺยปกฺกนฺโต อหิ จ มาตรี ปิตา. อรหนฺตภิกฺขุนีเภทา รุหิเรน จ พฺยญฺชนํฯ อนุปชฺฌายสงฺเฆน คณปณฺฑกปตฺตโก. อจีวรํ ตทุภยํ ยาจิเตนปิ เย ตโยฯ หตฺถา ปาทา หตฺถปาทา กณฺณา นาสา ตทูภยํ. องฺคุลิอฬกณฺฑรํ ผณํ ขุชฺชญฺจ วามนํฯ คลคณฺฑี ลกฺขณา เจว กสา ลิขิตสีปที. ปาปปริสทูสี จ กาณํ กุณิ ตเถว จฯ ขญฺชํ ปกฺขหตญฺเจว สจฺฉินฺนอิริยาปถํ. ชรานฺธมูคพธิรํ อนฺธมูคญฺจ ยํ ตหึฯ อนฺธพธิรํ ยํ วุตฺตํ มูคพธิรเมว จ. อนฺธมูคพธิรญฺจ อลชฺชีนญฺจ นิสฺสยํฯ วตฺถพฺพญฺจ ตถาทฺธานํ ยาจมาเนน ลกฺขณา . อาคจฺฉตุ วิวทนฺติ เอกุปชฺฌาเยน กสฺสโปฯ ทิสฺสนฺติ อุปสมฺปนฺนา อาพาเธหิ จ ปีฬิตา. อนนุสิฏฺฐา วิตฺเถนฺติ ตตฺเถว อนุสาสนาฯ สงฺเฆปิ จ อโถ พาลา อสมฺมตา จ เอกโต. อุลฺลุมฺปตุปสมฺปทา นิสฺสโย เอกโก ตโยติฯ อิมมฺหิ ขนฺธเก วตฺถูนิ เอกสตญฺจ ทฺวาสตฺตติ.  มหาขนฺธโก นิฏฺฐิโต.  (๒. อุโปสถกฺขนฺธโก ๖๘. สนฺนิปาตานุชานนา) ๑๓๒. เตน สมเยน พุทฺโธ ภควา ราชคเห วิหรติ คิชฺฌกูเฏ ปพฺพเต.  เตน โข ปน สมเยน อญฺญติตฺถิยา ปริพฺพาชกา จาตุทฺทเส ปนฺนรเส อฏฺฐมิยา จ ปกฺขสฺส สนฺนิปติตฺวา ธมฺมํ ภาสนฺติ.  เต มนุสฺสา อุปสงฺกมนฺติ ธมฺมสฺสวนาย.  เต ลภนฺติ อญฺญติตฺถิเยสุ ปริพฺพาชเกสุ เปมํ ลภนฺติ ปสาทํ ลภนฺติ อญฺญติตฺถิยา ปริพฺพาชกา ปกฺขํ. 
sampajānamusāvād’ assa hotīti, sampajānamusāvādo kiṃ hoti.  dukkaṭaṃ hoti, antarāyiko dhammo vutto bhagavatā ’ti.  kissa antarāyiko.  paṭhamassa jhānassa adhigamāya antarāyiko, dutiyassa jhānassa adhigamāya antarāyiko, tatiyassa jhānassa adhigamāya antarāyiko, catutthassa jhānassa adhigamāya antarāyiko, jhānānaṃ vimokkhānaṃ samādhīnaṃ samāpattīnaṃ nekkhammānaṃ nissaraṇānaṃ pavivekānaṃ kusalānaṃ dhammānaṃ adhigamāya antarāyiko.  tasmā ’ti taṃkāraṇā.  saramānenā ’ti jānamānena sañjānamānena.  visuddhāpekkhenā ’ti vuṭṭhātukāmena visujjhitukāmena. |7| 
อถ โข รญฺโญ มาคธสฺส เสนิยสฺส พิมฺพิสารสฺส รโหคตสฺส ปฏิสลฺลีนสฺส เอวํ เจตโส ปริวิตกฺโก อุทปาทิ  “เอตรหิ โข อญฺญติตฺถิยา ปริพฺพาชกา จาตุทฺทเส ปนฺนรเส อฏฺฐมิยา จ ปกฺขสฺส สนฺนิปติตฺวา ธมฺมํ ภาสนฺติ.  เต มนุสฺสา อุปสงฺกมนฺติ ธมฺมสฺสวนาย.  เต ลภนฺติ อญฺญติตฺถิเยสุ ปริพฺพาชเกสุ เปมํ ลภนฺติ ปสาทํ ลภนฺติ อญฺญติตฺถิยา ปริพฺพาชกา ปกฺขํ.  ยํนูน อยฺยาปิ จาตุทฺทเส ปนฺนรเส อฏฺฐมิยา จ ปกฺขสฺส สนฺนิปเตยฺยุ”นฺติ.    อถ โข ราชา มาคโธ เสนิโย พิมฺพิสาโร เยน ภควา เตนุปสงฺกมิ อุปสงฺกมิตฺวา ภควนฺตํ อภิวาเทตฺวา เอกมนฺตํ นิสีทิ. 
santī nāma āpatti ajjhāpannā vā hoti āpajjitvā vā avuṭṭhitā.  āvikātabbā ’ti āvikātabbā saṃghamajjhe vā gaṇamajjhe vā ekapuggale vā.  āvikatā hi ’ssa phāsu hotīti,  kissa phāsu hoti.  paṭhamassa jhānassa adhigamāya phāsu hoti, dutiyassa jhānassa adhigamāya phāsu hoti, tatiyassa jhānassa adhigamāya phāsu hoti, catutthassa jhānassa adhigamāya phāsu hoti, jhānānaṃ vimokkhānaṃ samādhīnaṃ samāpattīnaṃ nekkhammānaṃ nissaraṇānaṃ pavivekānaṃ kusalānaṃ dhammānaṃ adhigamāya phāsu hotīti. |8| 
เอกมนฺตํ นิสินฺโน โข ราชา มาคโธ เสนิโย พิมฺพิสาโร ภควนฺตํ เอตทโวจ  “อิธ มยฺหํ ภนฺเต รโหคตสฺส ปฏิสลฺลีนสฺส เอวํ เจตโส ปริวิตกฺโก อุทปาทิ  ‘เอตรหิ โข อญฺญติตฺถิยา ปริพฺพาชกา จาตุทฺทเส ปนฺนรเส อฏฺฐมิยา จ ปกฺขสฺส สนฺนิปติตฺวา ธมฺมํ ภาสนฺติ. เต มนุสฺสา อุปสงฺกมนฺติ ธมฺมสฺสวนาย. เต ลภนฺติ อญฺญติตฺถิเยสุ ปริพฺพาชเกสุ เปมํ ลภนฺติ ปสาทํ ลภนฺติ อญฺญติตฺถิยา ปริพฺพาชกา ปกฺขํ. ยํนูน อยฺยาปิ จาตุทฺทเส ปนฺนรเส อฏฺฐมิยา จ ปกฺขสฺส สนฺนิปเตยฺยุ’นฺติ.  สาธุ ภนฺเต อยฺยาปิ จาตุทฺทเส ปนฺนรเส อฏฺฐมิยา จ ปกฺขสฺส สนฺนิปเตยฺยุ”นฺติ.  อถ โข ภควา ราชานํ มาคธํ เสนิยํ พิมฺพิสารํ ธมฺมิยา กถาย สนฺทสฺเสสิ สมาทเปสิ สมุตฺเตเชสิ สมฺปหํเสสิ. 
||3|| 
อถ โข ราชา มาคโธ เสนิโย พิมฺพิสาโร ภควตา ธมฺมิยา กถาย สนฺทสฺสิโต สมาทปิโต สมุตฺเตชิโต สมฺปหํสิโต อุฏฺฐายาสนา ภควนฺตํ อภิวาเทตฺวา ปทกฺขิณํ กตฺวา ปกฺกามิ. 
tena kho pana samayena bhikkhū bhagavatā pātimokkhuddeso anuññāto ’ti devasikaṃ pātimokkhaṃ uddisanti.  bhagavato etaṃ atthaṃ ārocesuṃ.  na bhikkhave devasikaṃ pātimokkhaṃ uddisitabbaṃ.  yo uddiseyya, āpatti dukkaṭassa.  anujānāmi bhikkhave uposathe pātimokkhaṃ uddisitun ti. |1| 
อถ โข ภควา เอตสฺมึ นิทาเน เอตสฺมึ ปกรเณ ธมฺมึ กถํ กตฺวา ภิกฺขู อามนฺเตสิ “อนุชานามิ ภิกฺขเว จาตุทฺทเส ปนฺนรเส อฏฺฐมิยา จ ปกฺขสฺส สนฺนิปติตุ”นฺติ.      เตน โข ปน สมเยน ภิกฺขู ภควตา อนุญฺญาตา จาตุทฺทเส ปนฺนรเส อฏฺฐมิยา จ ปกฺขสฺส สนฺนิปติตุนฺติ จาตุทฺทเส ปนฺนรเส อฏฺฐมิยา จ ปกฺขสฺส สนฺนิปติตฺวา ตุณฺหี นิสีทนฺติ.  เต มนุสฺสา อุปสงฺกมนฺติ ธมฺมสฺสวนาย. 
tena kho pana samayena bhikkhū bhagavatā uposathe pātimokkhuddeso anuññāto ’ti pakkhassa tikkhattuṃ pātimokkhaṃ uddisanti cātuddase pannarase aṭṭhamiyā ca pakkhassa.  bhagavato etaṃ atthaṃ ārocesuṃ.  na bhikkhave pakkhassa tikkhattuṃ pātimokkhaṃ uddisitabbaṃ.  yo uddiseyya, āpatti dukkaṭassa.  anujānāmi bhikkhave sakiṃ pakkhassa cātuddase vā pannarase vā pātimokkhaṃ uddisitun ti. |2| 
เต อุชฺฌายนฺติ ขิยฺยนฺติ วิปาเจนฺติ “กถญฺหิ นาม สมณา สกฺยปุตฺติยา จาตุทฺทเส ปนฺนรเส อฏฺฐมิยา จ ปกฺขสฺส สนฺนิปติตฺวา ตุณฺหี นิสีทิสฺสนฺติ เสยฺยถาปิ มูคสูกรา.  นนุ นาม สนฺนิปติเตหิ ธมฺโม ภาสิตพฺโพ”ติ.  อสฺโสสุํ โข ภิกฺขู เตสํ มนุสฺสานํ อุชฺฌายนฺตานํ ขิยฺยนฺตานํ วิปาเจนฺตานํ.  อถ โข เต ภิกฺขู ภควโต เอตมตฺถํ อาโรเจสุํฯเปฯ  อถ โข ภควา เอตสฺมึ นิทาเน เอตสฺมึ ปกรเณ ธมฺมึ กถํ กตฺวา ภิกฺขู อามนฺเตสิ “อนุชานามิ ภิกฺขเว จาตุทฺทเส ปนฺนรเส อฏฺฐมิยา จ ปกฺขสฺส สนฺนิปติตฺวา ธมฺมํ ภาสิตุ”นฺติ. 
||4|| 
 
tena kho pana samayena chabbaggiyā bhikkhū yathāparisāya pātimokkhaṃ uddisanti sakāya-sakāya parisāya.  bhagavato etam atthaṃ ārocesuṃ.  na bhikkhave yathāpa (105) risāya pātimokkhaṃ uddisitabbaṃ sakāya-sakāya parisāya.  yo uddiseyya, āpatti dukkaṭassa.  anujānāmi bhikkhave samaggānaṃ uposathakamman ti. |1| 
  (๖๙. ปาติโมกฺขุทฺเทสานุชานนา) ๑๓๓. อถ โข ภควโต รโหคตสฺส ปฏิสลฺลีนสฺส เอวํ เจตโส ปริวิตกฺโก อุทปาทิ “ยํนูนาหํ ยานิ มยา ภิกฺขูนํ ปญฺญตฺตานิ สิกฺขาปทานิ ตานิ เนสํ ปาติโมกฺขุทฺเทสํ อนุชาเนยฺยํ. โส เนสํ ภวิสฺสติ อุโปสถกมฺม”นฺติ.  อถ โข ภควา สายนฺหสมยํ ปฏิสลฺลานา วุฏฺฐิโต เอตสฺมึ นิทาเน เอตสฺมึ ปกรเณ ธมฺมึ กถํ กตฺวา ภิกฺขู อามนฺเตสิ  อิธ มยฺหํ ภิกฺขเว รโหคตสฺส ปฏิสลฺลีนสฺส เอวํ เจตโส ปริวิตกฺโก อุทปาทิ  ‘ยํนูนาหํ ยานิ มยา ภิกฺขูนํ ปญฺญตฺตานิ สิกฺขาปทานิ ตานิ เนสํ ปาติโมกฺขุทฺเทสํ อนุชาเนยฺยํ. โส เนสํ ภวิสฺสติ อุโปสถกมฺม’นฺติ. 
atha kho bhikkhūnaṃ etad ahosi: bhagavatā paññattaṃ samaggānaṃ uposathakamman ti.  kittāvatā nu kho sāmaggī hoti, yāvatā ekāvāso udāhu sabbā paṭhavīti.  bhagavato etam atthaṃ ārocesuṃ.  anujānāmi bhikkhave ettāvatā sāmaggī yāvatā ekāvāso ’ti. |2| 
อนุชานามิ ภิกฺขเว ปาติโมกฺขํ อุทฺทิสิตุํ.  เอวญฺจ ปน ภิกฺขเว อุทฺทิสิตพฺพํ. พฺยตฺเตน ภิกฺขุนา ปฏิพเลน สงฺโฆ ญาเปตพฺโพ ๑๓๔. “สุณาตุ เม ภนฺเต สงฺโฆ.  ยทิ สงฺฆสฺส ปตฺตกลฺลํ สงฺโฆ อุโปสถํ กเรยฺย ปาติโมกฺขํ อุทฺทิเสยฺย.  กึ สงฺฆสฺส ปุพฺพกิจฺจํ? 
tena kho pana samayena āyasmā Mahākappino Rājagahe viharati Maddakucchismiṃ migadāye.  atha kho āyasmato Mahākappinassa rahogatassa paṭisallīnassa evaṃ cetaso parivitakko udapādi: gaccheyyaṃ vāhaṃ uposathaṃ na vā gaccheyyaṃ, gaccheyyaṃ vā saṃghakammaṃ na vā gaccheyyaṃ, atha khv āhaṃ visuddho paramāya visuddhiyā ’ti. |3| 
ปาริสุทฺธึ อายสฺมนฺโต อาโรเจถ  ปาติโมกฺขํ อุทฺทิสิสฺสามิ. ตํ สพฺเพว สนฺตา สาธุกํ สุโณม มนสิ กโรม. 
atha kho bhagavā āyasmato Mahākappinassa cetasā cetoparivitakkaṃ aññāya seyyathāpi nāma balavā puriso sammiñjitaṃ vā bāhaṃ pasāreyya pasāritaṃ vā bāhaṃ sammiñjeyya, evam eva Gijjhakūṭe pabbate antarahito Maddakucchismiṃ migadāye āyasmato Mahākappinassa pamukhe pāturahosi.  nisīdi bhagavā paññatte āsane, āyasmāpi kho Mahākappino bhagavantaṃ abhivādetvā ekamantaṃ nisīdi. |4| 
ยสฺส สิยา อาปตฺติ โส อาวิกเรยฺย. อสนฺติยา อาปตฺติยา ตุณฺหี ภวิตพฺพํ. ตุณฺหีภาเวน โข ปนายสฺมนฺเต ปริสุทฺธาติ เวทิสฺสามิ.  ยถา โข ปน ปจฺเจกปุฏฺฐสฺส เวยฺยากรณํ โหติ เอวเมวํ เอวรูปาย ปริสาย ยาวตติยํ อนุสฺสาวิตํ โหติ. 
ekamantaṃ nisinnaṃ kho āyasmantaṃ Mahākappinaṃ bhagavā etad avoca: nanu te Kappina rahogatassa paṭisallīnassa evaṃ cetaso parivitakko udapādi: gaccheyyaṃ vāhaṃ uposathaṃ na vā gaccheyyaṃ, gaccheyyaṃ vā saṃghakammaṃ na vā gaccheyyaṃ, atha khv āhaṃ visuddho paramāya visuddhiyā ’ti.  evaṃ bhante.  tumhe ce brāhmaṇā uposathaṃ na sakkarissatha, na garukarissatha, na mānessatha, na pūjessatha, atha ko carahi uposathaṃ sakkarissati garukarissati mānessati pūjessati.  gaccha tvaṃ brāhmaṇa uposathaṃ, mā no agamāsi, gacch’ eva saṃghakammaṃ, mā no agamāsīti.  evaṃ bhante ’ti kho āyasmā Mahākappino bhagavato paccassosi. |5| 
โย ปน ภิกฺขุ ยาวตติยํ อนุสฺสาวิยมาเน สรมาโน สนฺตึ อาปตฺตึ นาวิกเรยฺย สมฺปชานมุสาวาทสฺส โหติ.  สมฺปชานมุสาวาโท โข ปนายสฺมนฺโต อนฺตรายิโก ธมฺโม วุตฺโต ภควตา.  ตสฺมา สรมาเนน ภิกฺขุนา อาปนฺเนน วิสุทฺธาเปกฺเขน สนฺตี อาปตฺติ อาวิกาตพฺพา อาวิกตา หิสฺส ผาสุ โหตี”ติ.  ๑๓๕. ปาติโมกฺขนฺติ อาทิเมตํ มุขเมตํ ปมุขเมตํ กุสลานํ ธมฺมานํ. เตน วุจฺจติ ปาติโมกฺขนฺติ.  อายสฺมนฺโตติ ปิยวจนเมตํ ครุวจนเมตํ สคารวสปฺปติสฺสาธิวจนเมตํ อายสฺมนฺโตติ. 
atha kho bhagavā āyasmantaṃ Mahakappinaṃ dhammiyā kathāya sandassetvā samādapetvā samuttejetvā sampahaṃsetvā seyyathāpi nāma balavā puriso sammiñjitaṃ vā bāhaṃ pasāreyya pasāritaṃ vā bāhaṃ sammiñjeyya, evam eva Maddakucchismiṃ migadāye āyasmato Mahākappinassa pamukhe antarahito Gijjhakūṭe pabbate pāturahosi. |6| 
อุทฺทิสิสฺสามีติ อาจิกฺขิสฺสามิ เทเสสฺสามิ ปญฺญเปสฺสามิ ปฏฺฐเปสฺสามิ วิวริสฺสามิ วิภชิสฺสามิ อุตฺตานึ กริสฺสามิ ปกาเสสฺสามิ. 
||5|| 
ตนฺติ ปาติโมกฺขํ วุจฺจติ. 
(106) atha kho bhikkhūnaṃ etad ahosi: bhagavatā paññattaṃ ettāvatā sāmaggī yāvatā ekāvāso ’ti.  kittāvatā nu kho ekāvāso hotīti.  bhagavato etam atthaṃ ārocesuṃ.  anujānāmi bhikkhave sīmaṃ sammannituṃ.  evañ ca pana bhikkhave sammannitabbā: paṭhamaṃ nimittā kittetabbā, pabbatanimittaṃ, pāsāṇanimittaṃ, vananimittaṃ, rukkhanimittaṃ, magganimittaṃ, vammikanimittaṃ, nadīnimittaṃ, udakanimittaṃ.  nimitte kittetvā vyattena bhikkhunā paṭibalena saṃgho ñāpetabbo: suṇātu me bhante saṃgho.  yāvatā samantā nimittā kittitā, yadi saṃghassa pattakallaṃ, saṃgho etehi nimittehi sīmaṃ sammanneyya samānasaṃvāsaṃ ekuposathaṃ.  esā ñatti. |1| 
สพฺเพว สนฺตาติ ยาวติกา ตสฺสา ปริสาย เถรา จ นวา จ มชฺฌิมา จ เอเต วุจฺจนฺติ สพฺเพว สนฺตาติ.  สาธุกํ สุโณมาติ อฏฺฐึ กตฺวา มนสิ กตฺวา สพฺพเจตสา สมนฺนาหราม.  มนสิ กโรมาติ เอกคฺคจิตฺตา อวิกฺขิตฺตจิตฺตา อวิสาหฏจิตฺตา นิสาเมม.  ยสฺส สิยา อาปตฺตีติ เถรสฺส วา นวสฺส วา มชฺฌิมสฺส วา ปญฺจนฺนํ วา อาปตฺติกฺขนฺธานํ อญฺญตรา อาปตฺติ สตฺตนฺนํ วา อาปตฺติกฺขนฺธานํ อญฺญตรา อาปตฺติ.  โส อาวิกเรยฺยาติ โส เทเสยฺย โส วิวเรยฺย โส อุตฺตานึ กเรยฺย โส ปกาเสยฺย สงฺฆมชฺเฌ วา คณมชฺเฌ วา เอกปุคฺคเล วา.  อสนฺตี นาม อาปตฺติ อนชฺฌาปนฺนา วา โหติ อาปชฺชิตฺวา วา วุฏฺฐิตา.  ตุณฺหี ภวิตพฺพนฺติ อธิวาเสตพฺพํ น พฺยาหริตพฺพํ. ปริสุทฺธาติ เวทิสฺสามีติ ชานิสฺสามิ ธาเรสฺสามิ.  ยถา โข ปน ปจฺเจกปุฏฺฐสฺส เวยฺยากรณํ โหตีติ ยถา เอเกน เอโก ปุฏฺโฐ พฺยากเรยฺย เอวเมว ตสฺสา ปริสาย ชานิตพฺพํ มํ ปุจฺฉตีติ. 
suṇātu me bhante saṃgho.  yāvatā samantā nimittā kittitā, saṃgho etehi nimittehi sīmaṃ sammannati samānasaṃvāsaṃ ekuposathaṃ.  yassāyasmato khamati etehi nimittehi sīmāya sammuti samānasaṃvāsāya ekuposathāya, so tuṇh’ assa, yassa na kkhamati, so bhāseyya.  sammatā sīmā saṃghena etehi nimittehi samānasaṃvāsā ekuposathā.  khamati saṃghassa, tasmā tuṇhī, evaṃ etaṃ dhārayāmīti. |2| 
เอวรูปา นาม ปริสา ภิกฺขุปริสา วุจฺจติ.  ยาวตติยํ อนุสฺสาวิตํ โหตีติ สกิมฺปิ อนุสฺสาวิตํ โหติ ทุติยมฺปิ อนุสฺสาวิตํ โหติ ตติยมฺปิ อนุสฺสาวิตํ โหติ.  สรมาโนติ ชานมาโน สญฺชานมาโน.  สนฺตี นาม อาปตฺติ อชฺฌาปนฺนา วา โหติ อาปชฺชิตฺวา วา อวุฏฺฐิตา.  นาวิกเรยฺยาติ น เทเสยฺย น วิวเรยฺย น อุตฺตานึ กเรยฺย น ปกาเสยฺย สงฺฆมชฺเฌ วา คณมชฺเฌ วา เอกปุคฺคเล วา. 
||6|| 
สมฺปชานมุสาวาทสฺส โหตีติ. สมฺปชานมุสาวาเท กึ โหติ? 
tena kho pana samayena chabbaggiyā bhikkhū bhagavatā sīmāsammuti anuññātā ’ti atimahatiyo sīmāyo sammannanti catuyojanikāpi pañcayojanikāpi chayojanikāpi.  bhikkhū uposathaṃ āgacchantā uddissamāne pi pātimokkhe āgacchanti uddiṭṭhamatte pi āgacchanti antarāpi parivasanti.  bhagavato etam atthaṃ ārocesuṃ.  na bhikkhave atimahatī sīmā sammannitabbā catuyojanikā vā pañcayojanikā vā chayojanikā vā.  yo sammanneyya, āpatti dukkaṭassa.  anujānāmi bhikkhave tiyojanaparamaṃ sīmaṃ sammannitun ti. |1| 
ทุกฺกฏํ โหติ. อนฺตรายิโก ธมฺโม วุตฺโต ภควตาติ.  กิสฺส อนฺตรายิโก?  ปฐมสฺส ฌานสฺส อธิคมาย อนฺตรายิโก ทุติยสฺส ฌานสฺส อธิคมาย อนฺตรายิโก ตติยสฺส ฌานสฺส อธิคมาย อนฺตรายิโก จตุตฺถสฺส ฌานสฺส อธิคมาย อนฺตรายิโก ฌานานํ วิโมกฺขานํ สมาธีนํ สมาปตฺตีนํ เนกฺขมฺมานํ นิสฺสรณานํ ปวิเวกานํ กุสลานํ ธมฺมานํ อธิคมาย อนฺตรายิโก.  ตสฺมาติ ตงฺการณา.  สรมาเนนาติ ชานมาเนน สญฺชานมาเนน.  วิสุทฺธาเปกฺเขนาติ วุฏฺฐาตุกาเมน วิสุชฺฌิตุกาเมน. 
tena kho pana samayena chabbaggiyā {bhikkhū} nadīpāraṃ sīmaṃ sammannanti.  uposathaṃ āgacchantā bhikkhū pi vuyhanti pattāpi vuyhanti cīvarāni pi vuyhanti.  bhagavato etam atthaṃ ārocesuṃ.  na bhikkhave nadīpārā sīmā sammannitabbā.  yo sammanneyya, āpatti dukkaṭassa.  anujānāmi bhikkhave yatth’ assa dhuvanāvā vā dhuvasetu vā, evarūpaṃ nadīpāraṃ sīmaṃ sammannitun ti. |2| 
สนฺตี นาม อาปตฺติ อชฺฌาปนฺนา วา โหติ อาปชฺชิตฺวา วา อวุฏฺฐิตา.  อาวิกาตพฺพาติ อาวิกาตพฺพา สงฺฆมชฺเฌ วา คณมชฺเฌ วา เอกปุคฺคเล วา.  อาวิกตา หิสฺส ผาสุ โหตีติ.  กิสฺส ผาสุ โหติ?  ปฐมสฺส ฌานสฺส อธิคมาย ผาสุ โหติ ทุติยสฺส ฌานสฺส อธิคมาย ผาสุ โหติ ตติยสฺส ฌานสฺส อธิคมาย ผาสุ โหติ จตุตฺถสฺส ฌานสฺส อธิคมาย ผาสุ โหติ ฌานานํ วิโมกฺขานํ สมาธีนํ สมาปตฺตีนํ เนกฺขมฺมานํ นิสฺสรณานํ ปวิเวกานํ กุสลานํ ธมฺมานํ อธิคมาย ผาสุ โหตีติ.   
||7|| 
 
tena kho pana samayena bhikkhū anupariveṇiyaṃ pāti (107) mokkhaṃ uddisanti asaṃketena.  āgantukā bhikkhū na jānanti kattha vā ajj’ uposatho kariyissatīti.  bhagavato etam atthaṃ ārocesuṃ.  na bhikkhave anupariveṇiyaṃ pātimokkhaṃ uddisitabbaṃ asaṃketena.  yo uddiseyya, āpatti dukkaṭassa.  anujānāmi bhikkhave uposathāgāraṃ sammannitvā uposathaṃ kātuṃ yaṃ saṃgho ākaṅkhati vihāraṃ vā aḍḍhayogaṃ vā pāsādaṃ vā hammiyaṃ vā guhaṃ vā.  evañ ca pana bhikkhave sammannitabbaṃ: |1| 
๑๓๖. เตน โข ปน สมเยน ภิกฺขู ภควตา ปาติโมกฺขุทฺเทโส อนุญฺญาโตติ เทวสิกํ ปาติโมกฺขํ อุทฺทิสนฺติ.  ภควโต เอตมตฺถํ อาโรเจสุํ.  น ภิกฺขเว เทวสิกํ ปาติโมกฺขํ อุทฺทิสิตพฺพํ.  โย อุทฺทิเสยฺย อาปตฺติ ทุกฺกฏสฺส.  อนุชานามิ ภิกฺขเว อุโปสเถ ปาติโมกฺขํ อุทฺทิสิตุนฺติ.  เตน โข ปน สมเยน ภิกฺขู ภควตา อุโปสเถ ปาติโมกฺขุทฺเทโส อนุญฺญาโตติ ปกฺขสฺส ติกฺขตฺตุํ ปาติโมกฺขํ อุทฺทิสนฺติ จาตุทฺทเส ปนฺนรเส อฏฺฐมิยา จ ปกฺขสฺส.  ภควโต เอตมตฺถํ อาโรเจสุํ. 
vyattena bhikkhunā paṭibalena saṃgho ñāpetabbo: suṇātu me bhante saṃgho.  yadi saṃghassa pattakallaṃ, saṃgho itthannāmaṃ vihāraṃ uposathāgāraṃ sammanneyya.  esā ñatti.  suṇātu me bhante saṃgho.  saṃgho itthannāmaṃ vihāraṃ uposathāgāraṃ sammannati.  yassāyasmato khamati itthannāmassa vihārassa uposathāgārassa sammuti, so tuṇh’ assa, yassa na kkhamati, so bhāseyya.  sammato saṃghena itthannāmo vihāro uposathāgāraṃ.  khamati saṃghassa, tasmā tuṇhī, evaṃ etaṃ dhārayāmīti. |2| 
น ภิกฺขเว ปกฺขสฺส ติกฺขตฺตุํ ปาติโมกฺขํ อุทฺทิสิตพฺพํ.  โย อุทฺทิเสยฺย อาปตฺติ ทุกฺกฏสฺส.  อนุชานามิ ภิกฺขเว สกึ ปกฺขสฺส จาตุทฺทเส วา ปนฺนรเส วา ปาติโมกฺขํ อุทฺทิสิตุนฺติ.      เตน โข ปน สมเยน ฉพฺพคฺคิยา ภิกฺขู ยถาปริสาย ปาติโมกฺขํ อุทฺทิสนฺติ สกาย สกาย ปริสาย.  ภควโต เอตมตฺถํ อาโรเจสุํ.  น ภิกฺขเว ยถาปริสาย ปาติโมกฺขํ อุทฺทิสิตพฺพํ สกาย สกาย ปริสาย. 
tena kho pana samayena aññatarasmiṃ āvāse dve uposathāgārāni sammatāni honti.  bhikkhū ubhayattha sannipatanti idha uposatho kariyissati idha uposatho kariyissatīti.  bhagavato etam atthaṃ arocesuṃ.  na bhikkhave ekasmiṃ āvāse dve uposathāgārāni sammannitabbāni.  yo sammanneyya, āpatti dukkaṭassa.  anujānāmi bhikkhave ekaṃ samūhanitvā ekattha uposathaṃ kātuṃ. |3| 
โย อุทฺทิเสยฺย อาปตฺติ ทุกฺกฏสฺส.  อนุชานามิ ภิกฺขเว สมคฺคานํ อุโปสถกมฺมนฺติ.  อถ โข ภิกฺขูนํ เอตทโหสิ “ภควตา ปญฺญตฺตํ ‘สมคฺคานํ อุโปสถกมฺม’นฺติ.  กิตฺตาวตา นุ โข สามคฺคี โหติ ยาวตา เอกาวาโส อุทาหุ สพฺพา ปถวี”ติ?  ภควโต เอตมตฺถํ อาโรเจสุํ.  อนุชานามิ ภิกฺขเว เอตฺตาวตา สามคฺคี ยาวตา เอกาวาโสติ. 
evañ ca pana bhikkhave samūhantabbaṃ: vyattena bhikkhunā paṭibalena saṃgho ñāpetabbo: suṇātu me bhante saṃgho.  yadi saṃghassa pattakallaṃ, saṃgho itthannāmaṃ uposathāgāraṃ samūhaneyya.  esā ñatti.  {suṇātu} me bhante saṃgho.  saṃgho itthannāmaṃ uposathāgāraṃ samūhanati.  yassāyasmato khamati itthannāmassa uposathāgārassa samugghāto, so tuṇh’ assa, yassa na kkhamati, so bhāseyya.  samūhataṃ saṃghena itthannāmaṃ uposathāgāraṃ.  khamati saṃghassa, tasmā tuṇhī, evaṃ etaṃ dhārayāmīti. |4| 
(๗๐. มหากปฺปินวตฺถุ) ๑๓๗. เตน โข ปน สมเยน อายสฺมา มหากปฺปิโน ราชคเห วิหรติ มทฺทกุจฺฉิมฺหิ มิคทาเย.  อถ โข อายสฺมโต มหากปฺปินสฺส รโหคตสฺส ปฏิสลฺลีนสฺส เอวํ เจตโส ปริวิตกฺโก อุทปาทิ “คจฺเฉยฺยํ วาหํ อุโปสถํ น วา คจฺเฉยฺยํ คจฺเฉยฺยํ วาหํ สงฺฆกมฺมํ น วา คจฺเฉยฺยํ อถ ขฺวาหํ วิสุทฺโธ ปรมาย วิสุทฺธิยา”ติ?  อถ โข ภควา อายสฺมโต มหากปฺปินสฺส เจตสา เจโตปริวิตกฺกมญฺญาย เสยฺยถาปิ นาม พลวา ปุริโส สมิญฺชิตํ วา พาหํ ปสาเรยฺย ปสาริตํ วา พาหํ สมิญฺเชยฺย เอวเมว คิชฺฌกูเฏ ปพฺพเต อนฺตรหิโต มทฺทกุจฺฉิมฺหิ มิคทาเย อายสฺมโต มหากปฺปินสฺส สมฺมุเข ปาตุรโหสิ.  นิสีทิ ภควา ปญฺญตฺเต อาสเน. อายสฺมาปิ โข มหากปฺปิโน ภควนฺตํ อภิวาเทตฺวา เอกมนฺตํ นิสีทิ.  เอกมนฺตํ นิสินฺนํ โข อายสฺมนฺตํ มหากปฺปินํ ภควา เอตทโวจ “นนุ เต กปฺปิน รโหคตสฺส ปฏิสลฺลีนสฺส เอวํ เจตโส ปริวิตกฺโก อุทปาทิ คจฺเฉยฺยํ วาหํ อุโปสถํ น วา คจฺเฉยฺยํ คจฺเฉยฺยํ วาหํ สงฺฆกมฺมํ น วา คจฺเฉยฺยํ อถ ขฺวาหํ วิสุทฺโธ ปรมาย วิสุทฺธิยา”ติ?  “เอวํ ภนฺเต”.  “ตุมฺเห เจ พฺราหฺมณา อุโปสถํ น สกฺกริสฺสถ น ครุกริสฺสถ น มาเนสฺสถ น ปูเชสฺสถ อถ โก จรหิ อุโปสถํ สกฺกริสฺสติ ครุกริสฺสติ มาเนสฺสติ ปูเชสฺสติ?  คจฺฉ ตฺวํ พฺราหฺมณ อุโปสถํ มา โน อคมาสิ. คจฺฉ ตฺวํ สงฺฆกมฺมํ มา โน อคมาสี”ติ. 
||8|| 
“เอวํ ภนฺเต”ติ โข อายสฺมา มหากปฺปิโน ภควโต ปจฺจสฺโสสิ. 
tena kho pana samayena aññatarasmiṃ āvāse atikhuddakaṃ uposathāgāraṃ sammataṃ hoti.  tadah’ uposathe mahā bhikkhusaṃgho sannipatito hoti.  bhikkhū asammatāya bhūmiyā nisinnā pātimokkhaṃ assosuṃ.  atha kho tesaṃ bhikkhūnaṃ etad ahosi: bhagavatā paññattaṃ uposathāgāraṃ (108) sammannitvā uposatho kātabbo ’ti, mayañ ca asammatāya bhūmiyā nisinnā pātimokkhaṃ assosumhā.  kato nu kho amhākaṃ uposatho akato nu kho ’ti.  bhagavato etam atthaṃ ārocesuṃ.  sammatāya vā bhikkhave bhūmiyā nisinnā asammatāya vā, yato pātimokkhaṃ suṇāti, kato ’v’ ass’ uposatho. |1| 
อถ โข ภควา อายสฺมนฺตํ มหากปฺปินํ ธมฺมิยา กถาย สนฺทสฺเสตฺวา สมาทเปตฺวา สมุตฺเตเชตฺวา สมฺปหํเสตฺวา เสยฺยถาปิ นาม พลวา ปุริโส สมิญฺชิตํ วา พาหํ ปสาเรยฺย ปสาริตํ วา พาหํ สมิญฺเชยฺย เอวเมว มทฺทกุจฺฉิมฺหิ มิคทาเย อายสฺมโต มหากปฺปินสฺส สมฺมุเข อนฺตรหิโต คิชฺฌกูเฏ ปพฺพเต ปาตุรโหสิ.      (๗๑. สีมานุชานนา) ๑๓๘. อถ โข ภิกฺขูนํ เอตทโหสิ “ภควตา ปญฺญตฺตํ ‘เอตฺตาวตา สามคฺคี ยาวตา เอกาวาโส’ติ  กิตฺตาวตา นุ โข เอกาวาโส โหตี”ติ?  ภควโต เอตมตฺถํ อาโรเจสุํ.  อนุชานามิ ภิกฺขเว สีมํ สมฺมนฺนิตุํ. 
tena hi bhikkhave saṃgho yāvamahantaṃ uposathapamukhaṃ ākaṅkhati, tāvamahantaṃ uposathapamukhaṃ sammannatu.  evañ ca pana bhikkhave sammannitabbaṃ: paṭhamaṃ nimittā kittetabbā.  nimitte kittetvā vyattena bhikkhunā paṭibalena saṃgho ñāpetabbo: suṇātu me bhante saṃgho.  yāvatā samantā nimittā kittitā, yadi saṃghassa pattakallaṃ, saṃgho etehi nimittehi uposathapamukhaṃ sammanneyya.  esā ñatti.  suṇātu me bhante saṃgho.  yāvatā samantā nimittā kittitā, saṃgho etehi nimittehi uposathapamukhaṃ sammannati.  yassāyasmato khamati etehi nimittehi uposathapamukhassa sammuti, so tuṇh’ assa, yassa na kkhamati, so bhāseyya.  sammataṃ saṃghena etehi nimittehi uposathapamukhaṃ.  khamati saṃghassa, tasmā tuṇhī, evaṃ etaṃ dhārayāmīti. |2| 
เอวญฺจ ปน ภิกฺขเว สมฺมนฺนิตพฺพา ปฐมํ นิมิตฺตา กิตฺเตตพฺพา ปพฺพตนิมิตฺตํ ปาสาณนิมิตฺตํ วนนิมิตฺตํ รุกฺขนิมิตฺตํ มคฺคนิมิตฺตํ วมฺมิกนิมิตฺตํ นทีนิมิตฺตํ อุทกนิมิตฺตํ.  นิมิตฺเต กิตฺเตตฺวา พฺยตฺเตน ภิกฺขุนา ปฏิพเลน สงฺโฆ ญาเปตพฺโพ  ๑๓๙. “สุณาตุ เม ภนฺเต สงฺโฆ ยาวตา สมนฺตา นิมิตฺตา กิตฺติตา. ยทิ สงฺฆสฺส ปตฺตกลฺลํ สงฺโฆ เอเตหิ นิมิตฺเตหิ สีมํ สมฺมนฺเนยฺย สมานสํวาสํ เอกุโปสถํ .  เอสา ญตฺติ.  “สุณาตุ เม ภนฺเต สงฺโฆ.  ยาวตา สมนฺตา นิมิตฺตา กิตฺติตา. สงฺโฆ เอเตหิ นิมิตฺเตหิ สีมํ สมฺมนฺนติ สมานสํวาสํ เอกุโปสถํ.  ยสฺสายสฺมโต ขมติ เอเตหิ นิมิตฺเตหิ สีมาย สมฺมุติ สมานสํวาสาย เอกุโปสถาย โส ตุณฺหสฺส ยสฺส นกฺขมติ โส ภาเสยฺย.  สมฺมตา สีมา สงฺเฆน เอเตหิ นิมิตฺเตหิ สมานสํวาสา เอกุโปสถา.  ขมติ สงฺฆสฺส ตสฺมา ตุณฺหี เอวเมตํ ธารยามี”ติ.   
||9|| 
 
tena kho pana samayena aññatarasmiṃ āvāse tadah’ uposathe navakā bhikkhū paṭhamataraṃ sannipatitvā na tāva therā āgacchantīti pakkamiṃsu.  uposatho vikāle ahosi.  bhagavato etam atthaṃ ārocesuṃ.  anujānāmi bhikkhave tadah’ uposathe therehi bhikkhūhi paṭhamataraṃ sannipatitun ti. |1| 
๑๔๐. เตน โข ปน สมเยน ฉพฺพคฺคิยา ภิกฺขู ภควตา สีมาสมฺมุติ อนุญฺญาตาติ อติมหติโย สีมาโย สมฺมนฺนนฺติ จตุโยชนิกาปิ ปญฺจโยชนิกาปิ ฉโยชนิกาปิ.  ภิกฺขู อุโปสถํ อาคจฺฉนฺตา อุทฺทิสฺสมาเนปิ ปาติโมกฺเข อาคจฺฉนฺติ อุทฺทิฏฺฐมตฺเตปิ อาคจฺฉนฺติ อนฺตราปิ ปริวสนฺติ.  ภควโต เอตมตฺถํ อาโรเจสุํ.  น ภิกฺขเว อติมหตี สีมา สมฺมนฺนิตพฺพา จตุโยชนิกา วา ปญฺจโยชนิกา วา ฉโยชนิกา วา. 
||10|| 
โย สมฺมนฺเนยฺย อาปตฺติ ทุกฺกฏสฺส. 
tena kho pana samayena Rājagahe sambahulā āvāsā sa mānasīmā honti.  tattha bhikkhū vivadanti amhākaṃ āvāse uposatho kariyatu amhākaṃ āvāse uposatho kariyatū ’ti.  bhagavato etam atthaṃ ārocesuṃ.  idha pana bhikkhave sambahulā āvāsā samānasīmā honti, tattha bhikkhū vivadanti amhākaṃ āvāse uposatho kariyatu amhākaṃ āvāse uposatho kariyatū ’ti.  tehi bhikkhave bhikkhūhi sabbeh’ eva eka jjhaṃ sannipatitvā uposatho kātabbo, yattha vā pana thero bhikkhu viharati tattha sannipatitvā uposatho kātabbo.  na tv eva vaggena saṃghena uposatho kātabbo.  yo kareyya, āpatti dukkaṭassā ’ti. |1| 
อนุชานามิ ภิกฺขเว ติโยชนปรมํ สีมํ สมฺมนฺนิตุนฺติ.  เตน โข ปน สมเยน ฉพฺพคฺคิยา ภิกฺขู นทีปารสีมํ สมฺมนฺนนฺติ.  อุโปสถํ อาคจฺฉนฺตา ภิกฺขูปิ วุยฺหนฺติ ปตฺตาปิ วุยฺหนฺติ จีวรานิปิ วุยฺหนฺติ.  ภควโต เอตมตฺถํ อาโรเจสุํ.  น ภิกฺขเว นทีปารสีมา สมฺมนฺนิตพฺพา.  โย สมฺมนฺเนยฺย อาปตฺติ ทุกฺกฏสฺส.  อนุชานามิ ภิกฺขเว ยตฺถสฺส ธุวนาวา วา ธุวเสตุ วา เอวรูปํ นทีปารสีมํ สมฺมนฺนิตุนฺติ. 
||11|| 
 
(109) tena kho pana samayena āyasmā Mahākassapo Andhakavindā Rājagahaṃ uposathaṃ āgacchanto antarā magge nadiṃ taranto manaṃ vuḷho ahosi, cīvarāni ’ssa allāni.  bhikkhū āyasmantaṃ Mahākassapaṃ etad avocuṃ: kissa te āvuso cīvarāni allānīti.  idhāhaṃ āvuso Andhakavindā Rājagahaṃ uposathaṃ āgacchanto antarā magge nadiṃ taranto man’ amhi vuḷho, tena me cīvarāni allānīti.  bhagavato etam atthaṃ ārocesuṃ.  yā sā bhikkhave saṃghena sīmā sammatā samānasaṃvāsā ekuposathā, saṃgho taṃ sīmaṃ ticīvarena avippavāsaṃ sammannatu. |1| 
  (๗๒. อุโปสถาคารกถา) ๑๔๑. เตน โข ปน สมเยน ภิกฺขู อนุปริเวณิยํ ปาติโมกฺขํ อุทฺทิสนฺติ อสงฺเกเตน.  อาคนฺตุกา ภิกฺขู น ชานนฺติ “กตฺถ วา อชฺชุโปสโถ กรียิสฺสตี”ติ.  ภควโต เอตมตฺถํ อาโรเจสุํ.  น ภิกฺขเว อนุปริเวณิยํ ปาติโมกฺขํ อุทฺทิสิตพฺพํ อสงฺเกเตน. 
evañ ca pana bhikkhave sammannitabbā: vyattena bhikkhunā paṭibalena saṃgho ñāpetabbo: suṇātu me bhante saṃgho.  yā sā saṃghena sīmā sammatā samānasaṃvāsā ekuposathā, yadi saṃghassa pattakallaṃ, saṃgho taṃ sīmaṃ ticīvarena avippavāsaṃ sammanneyya.  esā ñatti.  suṇātu me bhante saṃgho.  yā sā saṃghena sīmā sammatā samānasaṃvāsā ekuposathā, saṃgho taṃ sīmaṃ ticīvarena avippavāsaṃ sammannati.  yassāyasmato khamati etissā sīmāya ticīvarena avippavāsāya sammuti, so tuṇh’ assa, yassa na kkhamati, so bhāseyya.  sammatā sā sīmā saṃghena ticīvarena avippavāsā.  khamati saṃghassa, tasmā tuṇhī, evaṃ etaṃ dhārayāmīti. |2| 
โย อุทฺทิเสยฺย อาปตฺติ ทุกฺกฏสฺส.  อนุชานามิ ภิกฺขเว อุโปสถาคารํ สมฺมนฺนิตฺวา อุโปสถํ กาตุํ ยํ สงฺโฆ อากงฺขติ วิหารํ วา อฑฺฒโยคํ วา ปาสาทํ วา หมฺมิยํ วา คุหํ วา.  เอวญฺจ ปน ภิกฺขเว สมฺมนฺนิตพฺพํ.  พฺยตฺเตน ภิกฺขุนา ปฏิพเลน สงฺโฆ ญาเปตพฺโพ  “สุณาตุ เม ภนฺเต สงฺโฆ. ยทิ สงฺฆสฺส ปตฺตกลฺลํ สงฺโฆ อิตฺถนฺนามํ วิหารํ อุโปสถาคารํ สมฺมนฺเนยฺย.  เอสา ญตฺติ.  “สุณาตุ เม ภนฺเต สงฺโฆ.  สงฺโฆ อิตฺถนฺนามํ วิหารํ อุโปสถาคารํ สมฺมนฺนติ. 
tena kho pana samayena bhikkhū bhagavatā ticīvarena avippavāsasammuti anuññātā ’ti antaraghare cīvarāni nikkhipanti.  tāni cīvarāni nassanti pi ḍayhanti pi undurehi pi khajjanti, bhikkhū duccolā honti lūkhacīvarā.  {bhikkhū} evaṃ āhaṃsu: kissa tumhe āvuso duccolā lūkhacīvarā ’ti.  idha mayaṃ āvuso bhagavatā ticīvarena avippavāsasammuti anuññātā ’ti antaraghare cīvarāni nikkhipimhā, tāni cīvarāni naṭṭhāni pi daḍḍhāni pi undurehi pi khāyitāni.  tena mayaṃ duccolā lūkhacīvarā ’ti.  bhagavato etam atthaṃ ārocesuṃ.  yā sā bhikkhave saṃghena sīmā sammatā samānasaṃvāsā ekuposathā, saṃgho taṃ sīmaṃ ticīvarena avippavāsaṃ sammannatu ṭhapetvā gāmañ ca gāmūpacārañ ca. |3| 
ยสฺสายสฺมโต ขมติ อิตฺถนฺนามสฺส วิหารสฺส อุโปสถาคารสฺส สมฺมุติ โส ตุณฺหสฺส ยสฺส นกฺขมติ โส ภาเสยฺย.  สมฺมโต สงฺเฆน อิตฺถนฺนาโม วิหาโร อุโปสถาคารํ.  ขมติ สงฺฆสฺส ตสฺมา ตุณฺหี เอวเมตํ ธารยามี”ติ.  เตน โข ปน สมเยน อญฺญตรสฺมึ อาวาเส ทฺเว อุโปสถาคารานิ สมฺมตานิ โหนฺติ.  ภิกฺขู อุภยตฺถ สนฺนิปตนฺติ “อิธ อุโปสโถ กรียิสฺสติ อิธ อุโปสโถ กรียิสฺสตี”ติ.  ภควโต เอตมตฺถํ อาโรเจสุํ  น ภิกฺขเว เอกสฺมึ อาวาเส ทฺเว อุโปสถาคารานิ สมฺมนฺนิตพฺพานิ. 
evañ ca pana bhikkhave sammannitabbā: vyattena bhikkhunā paṭibalena saṃgho ñāpetabbo: suṇātu me bhante saṃgho.  yā sā saṃghena sīmā sammatā samānasaṃvāsā ekuposathā, yadi saṃghassa pattakallaṃ, saṃgho taṃ sīmaṃ ticīvarena avippavāsaṃ sammanneyya ṭhapetvā (110) gāmañ ca gāmūpacārañ ca.  esā ñatti.  suṇātu me bhante saṃgho.  yā sā saṃghena sīmā sammatā samānasaṃvāsā ekuposathā, saṃgho taṃ sīmaṃ ticīvarena avippavāsaṃ sammannati ṭhapetvā gāmañ ca gāmūpacārañ ca.  yassāyasmato khamati etissā sīmāya ticīvarena avippavāsāya sammuti ṭhapetvā gāmañ ca gāmūpacārañ ca, so tuṇh’ assa, yassa na kkhamati, so bhāseyya.  sammatā sā sīmā saṃghena ticīvarena avippavāsā ṭhapetvā gāmañ ca gāmūpacārañ ca.  khamati saṃghassa, tasmā tuṇhī, evaṃ etaṃ dhārayāmīti. |4| 
โย สมฺมนฺเนยฺย อาปตฺติ ทุกฺกฏสฺส.  อนุชานามิ ภิกฺขเว เอกํ สมูหนิตฺวา เอกตฺถ อุโปสถํ กาตุํ.  เอวญฺจ ปน ภิกฺขเว สมูหนฺตพฺพํ. พฺยตฺเตน ภิกฺขุนา ปฏิพเลน สงฺโฆ ญาเปตพฺโพ “สุณาตุ เม ภนฺเต สงฺโฆ.  ยทิ สงฺฆสฺส ปตฺตกลฺลํ สงฺโฆ อิตฺถนฺนามํ อุโปสถาคารํ สมูหเนยฺย .  เอสา ญตฺติ.  “สุณาตุ เม ภนฺเต สงฺโฆ.  สงฺโฆ อิตฺถนฺนามํ อุโปสถาคารํ สมูหนติ.  ยสฺสายสฺมโต ขมติ อิตฺถนฺนามสฺส อุโปสถาคารสฺส สมุคฺฆาโต โส ตุณฺหสฺส ยสฺส นกฺขมติ โส ภาเสยฺย. 
sīmaṃ bhikkhave sammannantena paṭhamaṃ samānasaṃvāsasīmā sammannitabbā, pacchā ticīvarena avippavāso sammannitabbo.  sīmaṃ bhikkhave samūhanantena paṭhamaṃ ticīvarena avippavāso samūhantabbo, pacchā samānasaṃvāsasīmā samūhantabbā.  evañ ca pana bhikkhave ticīvarena avippavāso samūhantabbo: vyattena bhikkhunā paṭibalena saṃgho ñāpetabbo: suṇātu me bhante saṃgho.  yo so saṃghena ticīvarena avippavāso sammato, yadi saṃghassa pattakallaṃ, saṃgho taṃ ticīvarena avippavāsaṃ samūhaneyya.  esā ñatti.  suṇātu me bhante saṃgho.  yo so saṃghena ticīvarena avippavāso sammato, saṃgho taṃ ticīvarena avippavāsaṃ samūhanati.  yassāyasmato khamati etassa ticīvarena avippavāsassa samugghāto, so tuṇh’ assa, yassa na kkhamati, so bhāseyya.  samūhato so saṃghena ticīvarena avippavāso.  khamati saṃghassa, tasmā tuṇhī, evaṃ etaṃ dhārayāmīti. |5| 
สมูหตํ สงฺเฆน อิตฺถนฺนามํ อุโปสถาคารํ.  ขมติ สงฺฆสฺส ตสฺมา ตุณฺหี เอวเมตํ ธารยามี”ติ.      (๗๓. อุโปสถปฺปมุขานุชานนา) ๑๔๒. เตน โข ปน สมเยน อญฺญตรสฺมึ อาวาเส อติขุทฺทกํ อุโปสถาคารํ สมฺมตํ โหติ  ตทหุโปสเถ มหาภิกฺขุสงฺโฆ สนฺนิปติโต โหติ.  ภิกฺขู อสมฺมตาย ภูมิยา นิสินฺนา ปาติโมกฺขํ อสฺโสสุํ.  อถ โข เตสํ ภิกฺขูนํ เอตทโหสิ “ภควตา ปญฺญตฺตํ ‘อุโปสถาคารํ สมฺมนฺนิตฺวา อุโปสโถ กาตพฺโพ’ติ มยญฺจมฺหา อสมฺมตาย ภูมิยา นิสินฺโน ปาติโมกฺขํ อสฺสุมฺหา  กโต นุ โข อมฺหากํ อุโปสโถ อกโต นุ โข”ติ.  ภควโต เอตมตฺถํ อาโรเจสุํ. 
evañ ca pana bhikkhave sīmā samūhantabbā: vyattena bhikkhunā paṭibalena saṃgho ñāpetabbo: suṇātu me bhante saṃgho.  yā sā saṃghena sīmā sammatā samānasaṃvāsā ekuposathā, yadi saṃghassa pattakallaṃ, saṃgho taṃ sīmaṃ samūhaneyya.  esā ñatti.  suṇātu me bhante saṃgho.  yā sā saṃghena sīmā sammatā samānasaṃvāsā ekuposathā, saṃgho taṃ sīmaṃ samūhanati.  yassāyasmato khamati etissā sīmāya samānasaṃvāsāya ekuposathāya samugghāto, so tuṇh’ assa, yassa na kkhamati, so bhāseyya.  samūhatā sā sīmā saṃghena samānasaṃvāsā ekuposathā.  khamati saṃghassa, tasmā tuṇhī, evaṃ etaṃ dhārayāmīti. |6| 
สมฺมตาย วา ภิกฺขเว ภูมิยา นิสินฺนา อสมฺมตาย วา ยโต ปาติโมกฺขํ สุณาติ กโตวสฺส อุโปสโถ.  เตน หิ ภิกฺขเว สงฺโฆ ยาว มหนฺตํ อุโปสถปฺปมุขํ อากงฺขติ ตาว มหนฺตํ อุโปสถปฺปมุขํ สมฺมนฺนตุ.  เอวญฺจ ปน ภิกฺขเว สมฺมนฺนิตพฺพํ. ปฐมํ นิมิตฺตา กิตฺเตตพฺพา.  นิมิตฺเต กิตฺเตตฺวา พฺยตฺเตน ภิกฺขุนา ปฏิพเลน สงฺโฆ ญาเปตพฺโพ “สุณาตุ เม ภนฺเต สงฺโฆ.  ยาวตา สมนฺตา นิมิตฺตา กิตฺติตา. ยทิ สงฺฆสฺส ปตฺตกลฺลํ สงฺโฆ เอเตหิ นิมิตฺเตหิ อุโปสถปฺปมุขํ สมฺมนฺเนยฺย.  เอสา ญตฺติ.  “สุณาตุ เม ภนฺเต สงฺโฆ.  ยาวตา สมนฺตา นิมิตฺตา กิตฺติตา. สงฺโฆ เอเตหิ นิมิตฺเตหิ อุโปสถปฺปมุขํ สมฺมนฺนติ. 
asammatāya bhikkhave sīmāya aṭṭhapitāya yaṃ gāmaṃ vā nigamaṃ vā upanissāya viharati, yā tassa vā gāmassa gāmasīmā nigamassa vā nigamasīmā, ayaṃ tattha (111) samānasaṃvāsā ekuposathā.  agāmake ce bhikkhave araññe, samantā sattabbhantarā ayaṃ tattha samānasaṃvāsā ekuposathā.  sabbā bhikkhave nadī asīmā, sabbo samuddo asīmo, sabbo jātassaro asīmo.  nadiyā vā bhikkhave samudde vā jātassare vā yaṃ majjhimassa purisassa samantā udakukkhepā, ayaṃ tattha samānasaṃvāsā ekuposathā ’ti. |7| 
ยสฺสายสฺมโต ขมติ เอเตหิ นิมิตฺเตหิ อุโปสถปฺปมุขสฺส สมฺมุติ โส ตุณฺหสฺส ยสฺส นกฺขมติ โส ภาเสยฺย.  สมฺมตํ สงฺเฆน เอเตหิ นิมิตฺเตหิ อุโปสถปฺปมุขํ.  ขมติ สงฺฆสฺส ตสฺมา ตุณฺหี เอวเมตํ ธารยามี”ติ.   
||12|| 
 
tena kho pana samayena chabbaggiyā bhikkhū sīmāya sīmaṃ sambhindanti.  bhagavato etam atthaṃ ārocesuṃ.  yesaṃ bhikkhave sīmā paṭhamaṃ sammatā, tesaṃ taṃ kammaṃ dhammikaṃ akuppaṃ ṭhānārahaṃ.  yesaṃ bhikkhave sīmā pacchā sammatā, tesaṃ taṃ kammaṃ adhammikaṃ kuppaṃ aṭṭhānārahaṃ.  na bhikkhave sīmāya sīmā sambhinditabbā.  yo sambhindeyya, āpatti dukkaṭassā ’ti. |1| 
เตน โข ปน สมเยน อญฺญตรสฺมึ อาวาเส ตทหุโปสเถ นวกา ภิกฺขู ปฐมตรํ สนฺนิปติตฺวา “น ตาว เถรา อาคจฺฉนฺตี”ติ ปกฺกมึสุ.  อุโปสโถ วิกาเล อโหสิ.  ภควโต เอตมตฺถํ อาโรเจสุํ.  อนุชานามิ ภิกฺขเว ตทหุโปสเถ เถเรหิ ภิกฺขูหิ ปฐมตรํ สนฺนิปติตุนฺติ.     
tena kho pana samayena chabbaggiyā bhikkhū sīmāya sīmaṃ ajjhottharanti.  bhagavato etam atthaṃ arocesuṃ.  yesaṃ bhikkhave sīmā paṭhamaṃ sammatā, tesaṃ taṃ kammaṃ dhammikaṃ akuppaṃ ṭhānārahaṃ.  yesaṃ bhikkhave sīmā pacchā sammatā, tesaṃ taṃ kammaṃ adhammikaṃ kuppaṃ aṭṭhānārahaṃ.  na bhikkhave sīmāya sīmā ajjhottharitabbā.  yo ajjhotthareyya, āpatti dukkaṭassa.  anujānāmi bhikkhave sīmaṃ sammannantena sīmantarikaṃ ṭhapetvā sīmaṃ sammannitun ti. |2| 
เตน โข ปน สมเยน ราชคเห สมฺพหุลา อาวาสา สมานสีมา โหนฺติ.  ตตฺถ ภิกฺขู วิวทนฺติ “อมฺหากํ อาวาเส อุโปสโถ กรียตุ อมฺหากํ อาวาเส อุโปสโถ กรียตู”ติ.  ภควโต เอตมตฺถํ อาโรเจสุํ.  อิธ ปน ภิกฺขเว สมฺพหุลา อาวาสา สมานสีมา โหนฺติ. ตตฺถ ภิกฺขู วิวทนฺติ “อมฺหากํ อาวาเส อุโปสโถ กรียตุ อมฺหากํ อาวาเส อุโปสโถ กรียตู”ติ.  เตหิ ภิกฺขเว ภิกฺขูหิ สพฺเพเหว เอกชฺฌํ สนฺนิปติตฺวา อุโปสโถ กาตพฺโพ. ยตฺถ วา ปน เถโร ภิกฺขุ วิหรติ ตตฺถ สนฺนิปติตฺวา อุโปสโถ กาตพฺโพ  น ตฺเวว วคฺเคน สงฺเฆน อุโปสโถ กาตพฺโพ.  โย กเรยฺย อาปตฺติ ทุกฺกฏสฺสาติ. 
||13|| 
 
atha kho bhikkhūnaṃ etad ahosi: kati nu kho uposathā ’ti.  bhagavato etam atthaṃ arocesuṃ.  dve ’me bhikkhave uposathā cātuddasiko ca pannarasiko ca, ime kho bhikkhave dve uposathā ’ti. |1| 
  (๗๔. อวิปฺปวาสสีมานุชานนา) ๑๔๓. เตน โข ปน สมเยน อายสฺมา มหากสฺสโป อนฺธกวินฺทา ราชคหํ อุโปสถํ อาคจฺฉนฺโต อนฺตรามคฺเค นทึ ตรนฺโต มนํ วูฬฺโห อโหสิ จีวรานิสฺส อลฺลานิ.  ภิกฺขู อายสฺมนฺตํ มหากสฺสปํ เอตทโวจุํ “กิสฺส เต อาวุโส จีวรานิ อลฺลานี”ติ? 
atha kho bhikkhūnaṃ etad ahosi: kati nu kho uposathakammānīti.  bhagavato etam atthaṃ ārocesuṃ.  cattār’ imāni bhikkhave uposathakammāni, adhammena vaggaṃ uposathakammaṃ, adhammena samaggaṃ uposathakammaṃ, dhammena vaggaṃ uposathakammaṃ, dhammena samaggaṃ uposathakamman ti.  tatra bhikkhave yam idaṃ adhammena vaggaṃ uposathakammaṃ, na bhikkhave evarūpaṃ uposathakammaṃ kātabbaṃ na ca mayā evarūpaṃ uposathakammaṃ anuññātaṃ. |2| 
“อิธาหํ อาวุโส อนฺธกวินฺทา ราชคหํ อุโปสถํ อาคจฺฉนฺโต อนฺตรามคฺเค นทึ ตรนฺโต มนมฺหิ วูฬฺโห. เตน เม จีวรานิ อลฺลานี”ติ.  ภควโต เอตมตฺถํ อาโรเจสุํ.  ยา สา ภิกฺขเว สงฺเฆน สีมา สมฺมตา สมานสํวาสา เอกุโปสถา สงฺโฆ ตํ สีมํ ติจีวเรน อวิปฺปวาสํ สมฺมนฺนตุ.  เอวญฺจ ปน ภิกฺขเว สมฺมนฺนิตพฺพา. พฺยตฺเตน ภิกฺขุนา ปฏิพเลน สงฺโฆ ญาเปตพฺโพ “สุณาตุ เม ภนฺเต สงฺโฆ. 
tatra bhikkhave yam idaṃ adhammena samaggaṃ uposathakammaṃ, na bhikkhave (112) evarūpaṃ ...anuññātaṃ.tatra bhikkhave yam idaṃ dhammena vaggaṃ uposathakammaṃ, na bhikkhave evarūpaṃ ... anuññātaṃ.  tatra bhikkhave yam idaṃ dhammena samaggaṃ uposathakammaṃ, evarūpaṃ bhikkhave uposathakammaṃ kātabbaṃ evarūpañ ca mayā uposathakammaṃ anuññātaṃ.  tasmāt iha bhikkhave evarūpaṃ uposathakammaṃ karissāma yad idaṃ dhammena samaggan ti, evañ hi vo bhikkhave sikkhitabban ti. |3| 
ยา สา สงฺเฆน สีมา สมฺมตา สมานสํวาสา เอกุโปสถา ยทิ สงฺฆสฺส ปตฺตกลฺลํ สงฺโฆ ตํ สีมํ ติจีวเรน อวิปฺปวาสํ สมฺมนฺเนยฺย.  เอสา ญตฺติ.  “สุณาตุ เม ภนฺเต สงฺโฆ. 
||14|| 
ยา สา สงฺเฆน สีมา สมฺมตา สมานสํวาสา เอกุโปสถา สงฺโฆ ตํ สีมํ ติจีวเรน อวิปฺปวาสํ สมฺมนฺนติ. 
atha kho bhikkhūnaṃ etad ahosi: kati nu kho pātimokkhuddesā ’ti.  bhagavato etam atthaṃ ārocesuṃ.  pañc’ ime bhikkhave pātimokkhuddesā: nidānaṃ uddisitvā avasesaṃ sutena sāvetabbaṃ, ayaṃ paṭhamo pātimokkhuddeso.  nidānaṃ uddisitvā cattāri pārājikāni uddisitvā avasesaṃ sutena sāvetabbaṃ, ayaṃ dutiyo {pātimokkhuddeso.} nidānaṃ uddisitvā cattāri pārājikāni uddisitvā terasa saṃghādisese uddisitvā avasesaṃ sutena sāvetabbaṃ, ayaṃ tatiyo pātimokkhuddeso.  nidānaṃ uddisitvā cattāri pārājikāni uddisitvā terasa saṃghādisese uddisitvā dve aniyate uddisitvā avasesaṃ sutena sāvetabbaṃ, ayaṃ catuttho pātimokkhuddeso.  vitthāren’ eva pañcamo.  ime kho bhikkhave pañca pātimokkhuddesā ’ti. |1| 
ยสฺสายสฺมโต ขมติ เอติสฺสา สีมาย ติจีวเรน อวิปฺปวาสาย สมฺมุติ โส ตุณฺหสฺส ยสฺส นกฺขมติ โส ภาเสยฺย.  สมฺมตา สา สีมา สงฺเฆน ติจีวเรน อวิปฺปวาสา .  ขมติ สงฺฆสฺส ตสฺมา ตุณฺหี เอวเมตํ ธารยามี”ติ.  เตน โข ปน สมเยน ภิกฺขู ภควตา ติจีวเรน อวิปฺปวาสสมฺมุติ อนุญฺญาตาติ อนฺตรฆเร จีวรานิ นิกฺขิปนฺติ.  ตานิ จีวรานิ นสฺสนฺติปิ ฑยฺหนฺติปิ อุนฺทูเรหิปิ ขชฺชนฺติ. ภิกฺขู ทุจฺโจฬา โหนฺติ ลูขจีวรา.  ภิกฺขู เอวมาหํสุ “กิสฺส ตุมฺเห อาวุโส ทุจฺโจฬา ลูขจีวรา”ติ?  “อิธ มยํ อาวุโส ภควตา ติจีวเรน อวิปฺปวาสสมฺมุติ อนุญฺญาตาติ อนฺตรฆเร จีวรานิ นิกฺขิปิมฺหา ตานิ จีวรานิ นฏฺฐานิปิ ทฑฺฒานิปิ อุนฺทูเรหิปิ ขายิตานิ 
tena kho pana samayena bhikkhū bhagavatā saṃkhittena pātimokkhuddeso anuññāto ’ti sabbakālaṃ saṃkhittena pātimokkhaṃ uddisanti.  bhagavato etam atthaṃ ārocesuṃ.  na bhikkhave saṃkhittena pātimokkhaṃ uddisitabbaṃ.  yo uddiseyya, āpatti dukkaṭassā ’ti. |2| 
เตน มยํ ทุจฺโจฬา ลูขจีวรา”ติ.  ภควโต เอตมตฺถํ อาโรเจสุํ.  ยา สา ภิกฺขเว สงฺเฆน สีมา สมฺมตา สมานสํวาสา เอกุโปสถา สงฺโฆ ตํ สีมํ ติจีวเรน อวิปฺปวาสํ สมฺมนฺนตุ ฐเปตฺวา คามญฺจ คามูปจารญฺจ.  เอวญฺจ ปน ภิกฺขเว สมฺมนฺนิตพฺพา. พฺยตฺเตน ภิกฺขุนา ปฏิพเลน สงฺโฆ ญาเปตพฺโพ ๑๔๔. “สุณาตุ เม ภนฺเต สงฺโฆ. 
tena kho pana samayena Kosalesu janapadesu aññatarasmiṃ āvāse tadah’ uposathe savarabhayaṃ ahosi.  bhikkhū nāsakkhiṃsu vitthārena pātimokkhaṃ uddisituṃ.  bhagavato etam atthaṃ ārocesuṃ.  anujānāmi bhikkhave sati antarāye saṃkhittena pātimokkhaṃ uddisitun ti. |3| 
ยา สา สงฺเฆน สีมา สมฺมตา สมานสํวาสา เอกุโปสถา ยทิ สงฺฆสฺส ปตฺตกลฺลํ สงฺโฆ ตํ สีมํ ติจีวเรน อวิปฺปวาสํ สมฺมนฺเนยฺย ฐเปตฺวา คามญฺจ คามูปจารญฺจ.  เอสา ญตฺติ.  “สุณาตุ เม ภนฺเต สงฺโฆ.  ยา สา สงฺเฆน สีมา สมฺมตา สมานสํวาสา เอกุโปสถา สงฺโฆ ตํ สีมํ ติจีวเรน อวิปฺปวาสํ สมฺมนฺนติ ฐเปตฺวา คามญฺจ คามูปจารญฺจ. 
tena kho pana samayena chabbaggiyā bhikkhū asati pi antarāye saṃkhittena pātimokkhaṃ uddisanti.  bhagavato etam atthaṃ ārocesuṃ.  na bhikkhave asati antarāye saṃkhittena pātimokkhaṃ uddisitabbaṃ.  yo uddiseyya, āpatti dukkaṭassa.  anujānāmi bhikkhave sati antarāye saṃkhittena pātimokkhaṃ uddisituṃ.  tatr’ ime antarāyā: rājantarāyo corantarāyo agyantarāyo udakantarāyo manussantarāyo (113) amanussantarāyo vāḷantarāyo siriṃsapantarāyo jīvitantarāyo brahmacariyantarāyo.  anujānāmi bhikkhave evarūpesu antarāyesu saṃkhittena pātimokkhaṃ uddisituṃ, asati antarāye vitthārenā ’ti. |4| 
ยสฺสายสฺมโต ขมติ เอติสฺสา สีมาย ติจีวเรน อวิปฺปวาสาย สมฺมุติ ฐเปตฺวา คามญฺจ คามูปจารญฺจ โส ตุณฺหสฺส ยสฺส นกฺขมติ โส ภาเสยฺย.  สมฺมตา สา สีมา สงฺเฆน ติจีวเรน อวิปฺปวาสา ฐเปตฺวา คามญฺจ คามูปจารญฺจ.  ขมติ สงฺฆสฺส ตสฺมา ตุณฺหี เอวเมตํ ธารยามี”ติ.  (๗๕. สีมาสมูหนน) “สีมํ ภิกฺขเว สมฺมนฺนนฺเตน ปฐมํ สมานสํวาสสีมา สมฺมนฺนิตพฺพา ปจฺฉา ติจีวเรน อวิปฺปวาโส สมฺมนฺนิตพฺโพ.  สีมํ ภิกฺขเว สมูหนนฺเตน ปฐมํ ติจีวเรน อวิปฺปวาโส สมูหนฺตพฺโพ ปจฺฉา สมานสํวาสสีมา สมูหนฺตพฺพา.  เอวญฺจ ปน ภิกฺขเว ติจีวเรน อวิปฺปวาโส สมูหนฺตพฺโพ. พฺยตฺเตน ภิกฺขุนา ปฏิพเลน สงฺโฆ ญาเปตพฺโพ ๑๔๕. “สุณาตุ เม ภนฺเต สงฺโฆ.  โย โส สงฺเฆน ติจีวเรน อวิปฺปวาโส สมฺมโต ยทิ สงฺฆสฺส ปตฺตกลฺลํ สงฺโฆ ตํ ติจีวเรน อวิปฺปวาสํ สมูหเนยฺย. 
tena kho pana samayena chabbaggiyā bhikkhū saṃghamajjhe anajjhiṭṭhā dhammaṃ bhāsanti.  bhagavato etam atthaṃ ārocesuṃ.  na bhikkhave saṃghamajjhe anajjhiṭṭhena dhammo bhāsitabbo.  yo bhāseyya, āpatti dukkaṭassa.  anujānāmi bhikkhave therena bhikkhunā sāmaṃ vā dhammaṃ bhāsituṃ paraṃ vā ajjhesitun ti. |5| 
เอสา ญตฺติ.  “สุณาตุ เม ภนฺเต สงฺโฆ.  โย โส สงฺเฆน ติจีวเรน อวิปฺปวาโส สมฺมโต สงฺโฆ ตํ ติจีวเรน อวิปฺปวาสํ สมูหนติ.  ยสฺสายสฺมโต ขมติ เอตสฺส ติจีวเรน อวิปฺปวาสสฺส สมุคฺฆาโต โส ตุณฺหสฺส ยสฺส นกฺขมติ โส ภาเสยฺย.  สมูหโต โส สงฺเฆน ติจีวเรน อวิปฺปวาโส. 
tena kho pana samayena chabbaggiyā bhikkhū saṃghamajjhe asammatā vinayaṃ pucchanti.  bhagavato etam atthaṃ ārocesuṃ.  na bhikkhave saṃghamajjhe asammatena vinayo pucchitabbo.  yo puccheyya, āpatti dukkaṭassa.  anujānāmi bhikkhave saṃghamajjhe sammatena vinayaṃ pucchituṃ.  evañ ca pana bhikkhave sammannitabbo: attanā vā attānaṃ sammannitabbaṃ parena vā paro sammannitabbo. |6| 
ขมติ สงฺฆสฺส ตสฺมา ตุณฺหี เอวเมตํ ธารยามี”ติ.  เอวญฺจ ปน ภิกฺขเว สีมา . พฺยตฺเตน ภิกฺขุนา ปฏิพเลน สงฺโฆ ญาเปตพฺโพ ๑๔๖. “สุณาตุ เม ภนฺเต สงฺโฆ.  ยา สา สงฺเฆน สีมา สมฺมตา สมานสํวาสา เอกุโปสถา ยทิ สงฺฆสฺส ปตฺตกลฺลํ สงฺโฆ ตํ สีมํ สมูหเนยฺย สมานสํวาสํ เอกุโปสถํ.  เอสา ญตฺติ.  “สุณาตุ เม ภนฺเต สงฺโฆ.  ยา สา สงฺเฆน สีมา สมฺมตา สมานสํวาสา เอกุโปสถา สงฺโฆ ตํ สีมํ สมูหนติ สมานสํวาสํ เอกุโปสถํ. 
kathañ ca attanā vā attānaṃ sammannitabbaṃ.  vyattena bhikkhunā paṭibalena saṃgho ñāpetabbo: suṇātu me bhante saṃgho.  yadi saṃghassa pattakallaṃ, ahaṃ itthannāmaṃ vinayaṃ puccheyyan ti.  evaṃ attanā vā attānaṃ sammannitabbaṃ.  kathañ ca parena paro sammannitabbo.  vyattena bhikkhunā paṭibalena saṃgho ñāpetabbo: suṇātu me bhante saṃgho.  yadi saṃghassa pattakallaṃ, itthannāmo itthannāmaṃ vinayaṃ puccheyyā ’ti.  evaṃ parena paro sammannitabbo ’ti. |7| 
ยสฺสายสฺมโต ขมติ เอติสฺสา สีมาย สมานสํวาสาย เอกุโปสถาย สมุคฺฆาโต โส ตุณฺหสฺส ยสฺส นกฺขมติ โส ภาเสยฺย.  สมูหตา สา สีมา สงฺเฆน สมานสํวาสา เอกุโปสถา.  ขมติ สงฺฆสฺส ตสฺมา ตุณฺหี เอวเมตํ ธารยามี”ติ.  (๗๖. คามสีมาทิ) ๑๔๗. อสมฺมตาย ภิกฺขเว สีมาย อฏฺฐปิตาย ยํ คามํ วา นิคมํ วา อุปนิสฺสาย วิหรติ ยา ตสฺส วา คามสฺส คามสีมา นิคมสฺส วา นิคมสีมา อยํ ตตฺถ สมานสํวาสา เอกุโปสถา.  อคามเก เจ ภิกฺขเว อรญฺเญ สมนฺตา สตฺตพฺภนฺตรา อยํ ตตฺถ สมานสํวาสา เอกุโปสถา.  สพฺพา ภิกฺขเว นที อสีมา สพฺโพ สมุทฺโท อสีโม สพฺโพ ชาตสฺสโร อสีโม.  นทิยา วา ภิกฺขเว สมุทฺเท วา ชาตสฺสเร วา ยํ มชฺฌิมสฺส ปุริสสฺส สมนฺตา อุทกุกฺเขปา อยํ ตตฺถ สมานสํวาสา เอกุโปสถาติ.   
tena kho pana samayena pesalā bhikkhū saṃghamajjhe sammatā vinayaṃ pucchanti.  chabbaggiyā bhikkhū labhanti āghātaṃ, labhanti appaccayaṃ, vadhena tajjenti.  bhagavato etam atthaṃ ārocesuṃ.  anujānāmi bhikkhave saṃghamajjhe sammatena pi parisaṃ oloketvā puggalaṃ tulayitvā vinayaṃ pucchitun ti. |8| 
  ๑๔๘. เตน โข ปน สมเยน ฉพฺพคฺคิยา ภิกฺขู สีมาย สีมํ สมฺภินฺทนฺติ.  ภควโต เอตมตฺถํ อาโรเจสุํ.  เยสํ ภิกฺขเว สีมา ปฐมํ สมฺมตา เตสํ ตํ กมฺมํ ธมฺมิกํ อกุปฺปํ ฐานารหํ. 
tena kho pana samayena chabbaggiyā bhikkhū saṃghamajjhe asammatā vinayaṃ vissajjenti.  bhagavato etam atthaṃ ārocesuṃ.  na bhikkhave saṃghamajjhe asammatena vinayo vissajjetabbo.  yo vissajjeyya, āpatti dukkaṭassa.  anujānāmi bhikkhave saṃghamajjhe sammatena vinayaṃ vissajjetuṃ.  evañ ca pana bhikkhave sammannitabbo: attanā vā attānaṃ sammannitabbaṃ parena vā paro sammannitabbo. |9| 
เยสํ ภิกฺขเว สีมา ปจฺฉา สมฺมตา เตสํ ตํ กมฺมํ อธมฺมิกํ กุปฺปํ อฏฺฐานารหํ.  น ภิกฺขเว สีมาย สีมา สมฺภินฺทิตพฺพา.  โย สมฺภินฺเทยฺย อาปตฺติ ทุกฺกฏสฺสาติ.  เตน โข ปน สมเยน ฉพฺพคฺคิยา ภิกฺขู สีมาย สีมํ อชฺโฌตฺถรนฺติ.  ภควโต เอตมตฺถํ อาโรเจสุํ.  เยสํ ภิกฺขเว สีมา ปฐมํ สมฺมตา เตสํ ตํ กมฺมํ ธมฺมิกํ อกุปฺปํ ฐานารหํ. 
kathañ (114) ca attanā vā attānaṃ sammannitabbaṃ.  vyattena bhikkhunā paṭibalena saṃgho ñāpetabbo: suṇātu me bhante saṃgho.  yadi saṃghassa pattakallaṃ, ahaṃ itthannāmena vinayaṃ puṭṭho vissajjeyyan ti.  evaṃ attanā vā attānaṃ sammannitabbaṃ.  kathañ ca parena paro sammannitabbo.  vyattena bhikkhunā paṭibalena saṃgho ñāpetabbo: suṇātu me bhante saṃgho.  yadi saṃghassa pattakallaṃ, itthannāmo itthannāmena vinayaṃ puṭṭho vissajjeyyā ’ti.  evaṃ parena paro sammannitabbo ’ti. |10| 
เยสํ ภิกฺขเว สีมา ปจฺฉา สมฺมตา เตสํ ตํ กมฺมํ อธมฺมิกํ กุปฺปํ อฏฺฐานารหํ.  น ภิกฺขเว สีมาย สีมา อชฺโฌตฺถริตพฺพา.  โย อชฺโฌตฺถเรยฺย อาปตฺติ ทุกฺกฏสฺสาติ.  อนุชานามิ ภิกฺขเว สีมํ สมฺมนฺนนฺเตน สีมนฺตริกํ ฐเปตฺวา สีมํ สมฺมนฺนิตุนฺติ.      (๗๗. อุโปสถเภทาทิ) ๑๔๙. อถ โข ภิกฺขูนํ เอตทโหสิ “กติ นุ โข อุโปสถา”ติ?  ภควโต เอตมตฺถํ อาโรเจสุํ. 
tena kho pana samayena pesalā bhikkhū saṃghamajjhe sammatā vinayaṃ vissajjenti.  chabbaggiyā bhikkhū labhanti āghātaṃ, labhanti appaccayaṃ, vadhena tajjenti.  bhagavato etam atthaṃ ārocesuṃ.  anujānāmi bhikkhave saṃghamajjhe sammatena pi parisaṃ oloketvā puggalaṃ tulayitvā vinayaṃ vissajjetun ti. |11| 
ทฺเวเม ภิกฺขเว อุโปสถา จาตุทฺทสิโก จ ปนฺนรสิโก จ. อิเม โข ภิกฺขเว ทฺเว อุโปสถาติ.  อถ โข ภิกฺขูนํ เอตทโหสิ “กติ นุ โข อุโปสถกมฺมานี”ติ?  ภควโต เอตมตฺถํ อาโรเจสุํ.  จตฺตาริมานิ ภิกฺขเว อุโปสถกมฺมานิ อธมฺเมน วคฺคํ อุโปสถกมฺมํ อธมฺเมน สมคฺคํ อุโปสถกมฺมํ ธมฺเมน วคฺคํ อุโปสถกมฺมํ ธมฺเมน สมคฺคํ อุโปสถกมฺมนฺติ. 
||15|| 
ตตฺร ภิกฺขเว ยทิทํ อธมฺเมน วคฺคํ อุโปสถกมฺมํ น ภิกฺขเว เอวรูปํ อุโปสถกมฺมํ กาตพฺพํ. น จ มยา เอวรูปํ อุโปสถกมฺมํ อนุญฺญาตํ. 
tena kho pana samayena chabbaggiyā bhikkhū anokāsakataṃ bhikkhuṃ āpattiyā codenti.  bhagavato etam atthaṃ ārocesuṃ.  na bhikkhave anokāsakato bhikkhu āpattiyā codetabbo.  yo codeyya, āpatti dukkaṭassa.  anujānāmi bhikkhave okāsaṃ kārāpetvā āpattiyā codetuṃ karotu āyasmā okāsaṃ ahaṃ taṃ vattukāmo ’ti. |1| 
ตตฺร ภิกฺขเว ยทิทํ อธมฺเมน สมคฺคํ อุโปสถกมฺมํ น ภิกฺขเว เอวรูปํ อุโปสถกมฺมํ กาตพฺพํ. น จ มยา เอวรูปํ อุโปสถกมฺมํ อนุญฺญาตํ. ตตฺร ภิกฺขเว ยทิทํ ธมฺเมน วคฺคํ อุโปสถกมฺมํ น ภิกฺขเว เอวรูปํ อุโปสถกมฺมํ กาตพฺพํ. น จ มยา เอวรูปํ อุโปสถกมฺมํ อนุญฺญาตํ.  ตตฺร ภิกฺขเว ยทิทํ ธมฺเมน สมคฺคํ อุโปสถกมฺมํ เอวรูปํ ภิกฺขเว อุโปสถกมฺมํ กาตพฺพํ เอวรูปญฺจ มยา อุโปสถกมฺมํ อนุญฺญาตํ.  ตสฺมาติห ภิกฺขเว เอวรูปํ อุโปสถกมฺมํ กริสฺสาม ยทิทํ ธมฺเมน สมคฺคนฺติ เอวญฺหิ โว ภิกฺขเว สิกฺขิตพฺพนฺติ.     
tena kho pana samayena pesalā bhikkhū chabbaggiye bhikkhū okāsaṃ kārāpetvā āpattiyā codenti.  chabbaggiyā bhikkhū labhanti āghātaṃ, labhanti appaccayaṃ, vadhena tajjenti.  bhagavato etam atthaṃ ārocesuṃ.  anujānāmi bhikkhave kate pi okāse puggalaṃ tulayitvā āpattiyā codetun ti. |2| 
(๗๘. สํขิตฺเตน ปาติโมกฺขุทฺเทสาทิ) ๑๕๐. อถ โข ภิกฺขูนํ เอตทโหสิ “กติ นุ โข ปาติโมกฺขุทฺเทสา”ติ?  ภควโต เอตมตฺถํ อาโรเจสุํ.  ปญฺจิเม ภิกฺขเว ปาติโมกฺขุทฺเทสา นิทานํ อุทฺทิสิตฺวา อวเสสํ สุเตน สาเวตพฺพํ. อยํ ปฐโม ปาติโมกฺขุทฺเทโส.  นิทานํ อุทฺทิสิตฺวา จตฺตาริ ปาราชิกานิ อุทฺทิสิตฺวา อวเสสํ สุเตน สาเวตพฺพํ. อยํ ทุติโย ปาติโมกฺขุทฺเทโส. นิทานํ อุทฺทิสิตฺวา จตฺตาริ ปาราชิกานิ อุทฺทิสิตฺวา เตรส สงฺฆาทิเสเส อุทฺทิสิตฺวา อวเสสํ สุเตน สาเวตพฺพํ. อยํ ตติโย ปาติโมกฺขุทฺเทโส. 
tena kho pana samayena chabbaggiyā bhikkhū pur’ amhākaṃ pesalā bhikkhū okāsaṃ kārāpentīti paṭigacc’ eva suddhānaṃ bhikkhūnaṃ anāpattikānaṃ avatthusmiṃ akāraṇe okāsaṃ kārāpenti.  bhagavato etam atthaṃ ārocesuṃ.  na bhikkhave suddhānaṃ bhikkhūnaṃ anāpattikānaṃ avatthusmiṃ akāraṇe okāso kārāpetabbo.  yo kārāpeyya, āpatti dukkaṭassa.  anujānāmi bhikkhave puggalaṃ tulayitvā okāsaṃ kārāpetun ti. |3| 
นิทานํ อุทฺทิสิตฺวา จตฺตาริ ปาราชิกานิ อุทฺทิสิตฺวา เตรส สงฺฆาทิเสเส อุทฺทิสิตฺวา ทฺเว อนิยเต อุทฺทิสิตฺวา อวเสสํ สุเตน สาเวตพฺพํ. อยํ จตุตฺโถ ปาติโมกฺขุทฺเทโส.  วิตฺถาเรเนว ปญฺจโม.  อิเม โข ภิกฺขเว ปญฺจ ปาติโมกฺขุทฺเทสาติ.  เตน โข ปน สมเยน ภิกฺขู ภควตา สํขิตฺเตน ปาติโมกฺขุทฺเทโส อนุญฺญาโตติ สพฺพกาลํ สํขิตฺเตน ปาติโมกฺขํ อุทฺทิสนฺติ.  ภควโต เอตมตฺถํ อาโรเจสุํ. 
tena kho pana samayena chabbaggiyā bhikkhū saṃghamajjhe adhammakammaṃ karonti.  bhagavato etam atthaṃ ārocesuṃ.  na bhikkhave saṃghamajjhe adhammakammaṃ kātabbaṃ.  yo kareyya, āpatti dukkaṭassā ’ti.  karonti yeva adhammakammaṃ.  bhagavato etam atthaṃ (115) ārocesuṃ.  anujānāmi bhikkhave adhammakamme kayiramāne paṭikkositun ti. |4| 
น ภิกฺขเว สํขิตฺเตน ปาติโมกฺขํ อุทฺทิสิตพฺพํ.  โย อุทฺทิเสยฺย อาปตฺติ ทุกฺกฏสฺสาติ.  เตน โข ปน สมเยน โกสเลสุ ชนปเท อญฺญตรสฺมึ อาวาเส ตทหุโปสเถ สวรภยํ อโหสิ.  ภิกฺขู นาสกฺขิ๎สุ วิตฺถาเรน ปาติโมกฺขํ อุทฺทิสิตุํ.  ภควโต เอตมตฺถํ อาโรเจสุํ.  อนุชานามิ ภิกฺขเว สติ อนฺตราเย สํขิตฺเตน ปาติโมกฺขํ อุทฺทิสิตุนฺติ.  เตน โข ปน สมเยน ฉพฺพคฺคิยา ภิกฺขู อสติปิ อนฺตราเย สํขิตฺเตน ปาติโมกฺขํ อุทฺทิสนฺติ. 
tena kho pana samayena pesalā bhikkhū chabbaggiyehi {bhikkhūhi} adhammakamme kayiramāne paṭikkosanti.  chabbaggiyā bhikkhū labhanti āghātaṃ, labhanti appaccayaṃ, vadhena tajjenti.  bhagavato etam atthaṃ ārocesuṃ.  anujānāmi bhikkhave diṭṭhim pi āvikātun ti.  tesaṃ yeva santike diṭṭhiṃ āvikaronti.  chabbaggiyā bhikkhū labhanti āghātaṃ, labhanti appaccayaṃ, vadhena tajjenti.  bhagavato etam atthaṃ ārocesuṃ.  anujānāmi bhikkhave catuhi pañcahi paṭikkosituṃ, dvīhi tīhi diṭṭhiṃ āvikātuṃ, ekena adhiṭṭhātuṃ na me taṃ khamatīti. |5| 
ภควโต เอตมตฺถํ อาโรเจสุํ.  น ภิกฺขเว อสติ อนฺตราเย สํขิตฺเตน ปาติโมกฺขํ อุทฺทิสิตพฺพํ.  โย อุทฺทิเสยฺย อาปตฺติ ทุกฺกฏสฺส.  อนุชานามิ ภิกฺขเว สติ อนฺตราเย สํขิตฺเตน ปาติโมกฺขํ อุทฺทิสิตุํ.  ตตฺริเม อนฺตรายา ราชนฺตราโย โจรนฺตราโย อคฺยนฺตราโย อุทกนฺตราโย มนุสฺสนฺตราโย อมนุสฺสนฺตราโย วาฬนฺตราโย สรีสปนฺตราโย ชีวิตนฺตราโย พฺรหฺมจริยนฺตราโยติ.  อนุชานามิ ภิกฺขเว เอวรูเปสุ อนฺตราเยสุ สํขิตฺเตน ปาติโมกฺขํ อุทฺทิสิตุํ อสติ อนฺตราเย วิตฺถาเรนาติ.  เตน โข ปน สมเยน ฉพฺพคฺคิยา ภิกฺขู สงฺฆมชฺเฌ อนชฺฌิฏฺฐา ธมฺมํ ภาสนฺติ.  ภควโต เอตมตฺถํ อาโรเจสุํ. 
tena kho pana samayena chabbaggiyā bhikkhū saṃghamajjhe pātimokkhaṃ uddisamānā sañcicca na sāventi.  bhagavato etam atthaṃ ārocesuṃ.  na bhikkhave pātimokkhuddesakena sañcicca na sāvetabbaṃ.  yo na sāveyya, apatti dukkatassā ’ti. |6| 
น ภิกฺขเว สงฺฆมชฺเฌ อนชฺฌิฏฺเฐน ธมฺโม ภาสิตพฺโพ.  โย ภาเสยฺย อาปตฺติ ทุกฺกฏสฺส.  อนุชานามิ ภิกฺขเว เถเรน ภิกฺขุนา สามํ วา ธมฺมํ ภาสิตุํ ปรํ วา อชฺเฌสิตุนฺติ.  (๗๙. วินยปุจฺฉนกถา) ๑๕๑. เตน โข ปน สมเยน ฉพฺพคฺคิยา ภิกฺขู สงฺฆมชฺเฌ อสมฺมตา วินยํ ปุจฺฉนฺติ. 
tena kho pana samayena āyasmā Udāyi saṃghassa pātimokkhuddesako hoti kākassarako.  atha kho āyasmato Udāyissa etad ahosi: bhagavatā paññattaṃ pātimokkhuddesakena sāvetabban ti, ahañ c’ amhi kākassarako.  kathaṃ nu kho mayā paṭipajjitabban ti.  bhagavato etam atthaṃ ārocesuṃ.  anujānāmi bhikkhave pātimokkhuddesakena vāyamituṃ kathaṃ sāveyyan ti, vāyamantassa anāpattīti. |7| 
ภควโต เอตมตฺถํ อาโรเจสุํ.  น ภิกฺขเว สงฺฆมชฺเฌ อสมฺมเตน วินโย ปุจฺฉิตพฺโพ.  โย ปุจฺเฉยฺย อาปตฺติ ทุกฺกฏสฺส.  อนุชานามิ ภิกฺขเว สงฺฆมชฺเฌ สมฺมเตน วินยํ ปุจฺฉิตุํ.  เอวญฺจ ปน ภิกฺขเว สมฺมนฺนิตพฺโพ อตฺตนา วา อตฺตานํ สมฺมนฺนิตพฺพํ ปเรน วา ปโร สมฺมนฺนิตพฺโพ. 
tena kho pana samayena Devadatto sagahaṭṭhāya parisāya pātimokkhaṃ uddisati.  bhagavato etam atthaṃ ārocesuṃ.  na bhikkhave sagahaṭṭhāya parisāya pātimokkhaṃ uddisitabbaṃ.  yo uddiseyya, āpatti dukkaṭassā ’ti. |8| 
กถญฺจ อตฺตนาว อตฺตานํ สมฺมนฺนิตพฺพํ?  พฺยตฺเตน ภิกฺขุนา ปฏิพเลน สงฺโฆ ญาเปตพฺโพ “สุณาตุ เม ภนฺเต สงฺโฆ.  ยทิ สงฺฆสฺส ปตฺตกลฺลํ อหํ อิตฺถนฺนามํ วินยํ ปุจฺเฉยฺย”นฺติ.  เอวํ อตฺตนาว อตฺตานํ สมฺมนฺนิตพฺพํ. 
tena kho pana samayena chabbaggiyā bhikkhū saṃghamajjhe anajjhiṭṭhā pātimokkham uddisanti.  bhagavato etam atthaṃ ārocesuṃ.  na bhikkhave saṃghamajjhe anajjhiṭṭhena pātimokkhaṃ uddisitabbaṃ.  yo uddiseyya, āpatti dukkaṭassa.  anujānāmi bhikkhave therādhikaṃ pātimokkhan ti. |9| 
กถญฺจ ปเรน ปโร สมฺมนฺนิตพฺโพ?  พฺยตฺเตน ภิกฺขุนา ปฏิพเลน สงฺโฆ ญาเปตพฺโพ “สุณาตุ เม ภนฺเต สงฺโฆ.  ยทิ สงฺฆสฺส ปตฺตกลฺลํ อิตฺถนฺนาโม อิตฺถนฺนามํ วินยํ ปุจฺเฉยฺยา”ติ.  เอวํ ปเรน ปโร สมฺมนฺนิตพฺโพติ.  เตน โข ปน สมเยน เปสลา ภิกฺขู สงฺฆมชฺเฌ สมฺมตา วินยํ ปุจฺฉนฺติ. 
||16|| 
ฉพฺพคฺคิยา ภิกฺขู ลภนฺติ อาฆาตํ ลภนฺติ อปฺปจฺจยํ วเธน ตชฺเชนฺติ. 
aññatitthiyabhāṇavāraṃ niṭṭhitaṃ.  atha kho bhagavā Rājagahe yathābhirantaṃ viharitvā yena Codanāvatthu tena cārikaṃ pakkāmi.  anupubbena cārikaṃ caramāno yena Codanāvatthu tad avasari.  tena kho pana samayena aññatarasmiṃ āvāse sambahulā bhikkhū (116) viharanti, tattha thero bhikkhu bālo hoti avyatto, so na jānāti uposathaṃ vā uposathakammaṃ vā pātimokkhaṃ vā pātimokkhuddesaṃ vā. |1| 
ภควโต เอตมตฺถํ อาโรเจสุํ.  อนุชานามิ ภิกฺขเว สงฺฆมชฺเฌ สมฺมเตนปิ ปริสํ โอโลเกตฺวา ปุคฺคลํ ตุลยิตฺวา วินยํ ปุจฺฉิตุนฺติ.  ๘๐. วินยวิสฺสชฺชนกถา  ๑๕๒. เตน โข ปน สมเยน ฉพฺพคฺคิยา ภิกฺขู สงฺฆมชฺเฌ อสมฺมตา วินยํ วิสฺสชฺเชนฺติ . 
atha kho tesaṃ bhikkhūnaṃ etad ahosi: bhagavatā paññattaṃ therādhikaṃ pātimokkhan ti, ayañ ca amhākaṃ thero bālo avyatto, na jānāti uposathaṃ vā ... pātimokkhuddesaṃ vā.  kathaṃ nu kho amhehi paṭipajjitabban ti.  bhagavato etam atthaṃ ārocesuṃ.  anujānāmi bhikkhave yo tattha bhikkhu vyatto paṭibalo tassādheyyaṃ pātimokkhan ti. |2| 
ภควโต เอตมตฺถํ อาโรเจสุํ.  น ภิกฺขเว สงฺฆมชฺเฌ อสมฺมเตน วินโย วิสฺสชฺเชตพฺโพ.  โย วิสฺสชฺเชยฺย อาปตฺติ ทุกฺกฏสฺส.  อนุชานามิ ภิกฺขเว สงฺฆมชฺเฌ สมฺมเตน วินยํ วิสฺสชฺเชตุํ. 
tena kho pana samayena aññatarasmiṃ āvāse tadah’ uposathe sambahulā bhikkhū viharanti bālā avyattā, te na jānanti uposathaṃ vā uposathakammaṃ vā pātimokkhaṃ vā pātimokkhuddesaṃ vā.  te theraṃ ajjhesiṃsu uddisatu bhante thero pātimokkhan ti.  so evaṃ āha: na me āvuso vattatīti.  dutiyatheraṃ ajjhesiṃsu uddisatu bhante thero pātimokkhan ti.  so pi evaṃ āha: na me āvuso vattatīti.  tatiyatheraṃ ajjhesiṃsu uddisatu bhante thero pātimokkhan ti.  so pi evaṃ āha: na me āvuso vattatīti.  eten’ eva upāyena yāva saṃghanavakaṃ ajjhesiṃsu uddisatu āyasmā pātimokkhan ti.  so pi evaṃ āha: na me bhante vattatīti.  bhagavato etam atthaṃ ārocesuṃ. |3| 
เอวญฺจ ปน ภิกฺขเว สมฺมนฺนิตพฺพํ. อตฺตนา วา อตฺตานํ สมฺมนฺนิตพฺพํ ปเรน วา ปโร สมฺมนฺนิตพฺโพ.  กถญฺจ อตฺตนาว อตฺตานํ สมฺมนฺนิตพฺพํ?  พฺยตฺเตน ภิกฺขุนา ปฏิพเลน สงฺโฆ ญาเปตพฺโพ “สุณาตุ เม ภนฺเต สงฺโฆ.  ยทิ สงฺฆสฺส ปตฺตกลฺลํ อหํ อิตฺถนฺนาเมน วินยํ ปุฏฺโฐ วิสฺสชฺเชยฺย”นฺติ.  เอวํ อตฺตนาว อตฺตานํ สมฺมนฺนิตพฺพํ.  กถญฺจ ปเรน ปโร สมฺมนฺนิตพฺโพ?  พฺยตฺเตน ภิกฺขุนา ปฏิพเลน สงฺโฆ ญาเปตพฺโพ “สุณาตุ เม ภนฺเต สงฺโฆ.  ยทิ สงฺฆสฺส ปตฺตกลฺลํ อิตฺถนฺนาโม อิตฺถนฺนาเมน วินยํ ปุฏฺโฐ วิสฺสชฺเชยฺยา”ติ.  เอวํ ปเรน ปโร สมฺมนฺนิตพฺโพติ.  เตน โข ปน สมเยน เปสลา ภิกฺขู สงฺฆมชฺเฌ สมฺมตา วินยํ วิสฺสชฺเชนฺติ. 
idha pana bhikkhave aññatarasmiṃ āvāse tadah’ uposathe sambahulā bhikkhū viharanti bālā avyattā, te na jānanti uposathaṃ vā ...pātimokkhuddesaṃ vā.  te theraṃ ajjhesanti uddisatu bhante thero pātimokkhan ti.  so evaṃ vadeti: na me āvuso vattatīti.  dutiyatheraṃ ajjhesanti uddisatu bhante thero pātimokkhan ti.  so pi evaṃ vadeti: na me āvuso vattatīti. |4| 
ฉพฺพคฺคิยา ภิกฺขู ลภนฺติ อาฆาตํ ลภนฺติ อปฺปจฺจยํ วเธน ตชฺเชนฺติ.  ภควโต เอตมตฺถํ อาโรเจสุํ.  อนุชานามิ ภิกฺขเว สงฺฆมชฺเฌ สมฺมเตนปิ ปริสํ โอโลเกตฺวา ปุคฺคลํ ตุลยิตฺวา วินยํ วิสฺสชฺเชตุนฺติ.     
tatiyatheraṃ ajjhesanti uddisatu bhante thero pātimokkhan ti.  so pi evaṃ vadeti: na me āvuso vattatīti.  eten’ eva upāyena yāva saṃghanavakaṃ ajjhesanti uddisatu āyasmā pātimokkhan ti.  so pi evaṃ vadeti: na me bhante vattatīti.  tehi bhikkhave bhikkhūhi eko bhikkhu sāmantā āvāsā sajjukaṃ pāhetabbo gācchāvuso saṃkhittena vā vitthārena vā pātimokkhaṃ pariyāpuṇitvā āgacchā ’ti. |5| 
(๘๑. โจทนากถา) ๑๕๓. เตน โข ปน สมเยน ฉพฺพคฺคิยา ภิกฺขู อโนกาสกตํ ภิกฺขุํ อาปตฺติยา โจเทนฺติ.  ภควโต เอตมตฺถํ อาโรเจสุํ.  น ภิกฺขเว อโนกาสกโต ภิกฺขุ อาปตฺติยา โจเทตพฺโพ.  โย โจเทยฺย อาปตฺติ ทุกฺกฏสฺส.  อนุชานามิ ภิกฺขเว โอกาสํ การาเปตฺวา อาปตฺติยา โจเทตุํ กโรตุ อายสฺมา โอกาสํ อหํ ตํ วตฺตุกาโมติ. 
atha kho bhikkhūnaṃ etad ahosi: kena nu kho pāhetabbo ’ti.  bhagavato etam atthaṃ ārocesuṃ.  anujānāmi bhikkhave therena bhikkhunā navaṃ bhikkhuṃ āṇāpetun ti.  therena āṇattā navā bhikkhū na gacchanti.  bhagavato etam atthaṃ ārocesuṃ.  na bhikkhave (117) therena āṇattena agilānena na gantabbaṃ.  yo na gaccheyya, āpatti dukkaṭassā ’ti. |6| 
เตน โข ปน สมเยน เปสลา ภิกฺขู ฉพฺพคฺคิเย ภิกฺขู โอกาสํ การาเปตฺวา อาปตฺติยา โจเทนฺติ.  ฉพฺพคฺคิยา ภิกฺขู ลภนฺติ อาฆาตํ ลภนฺติ อปฺปจฺจยํ วเธน ตชฺเชนฺติ.  ภควโต เอตมตฺถํ อาโรเจสุํ.  อนุชานามิ ภิกฺขเว กเตปิ โอกาเส ปุคฺคลํ ตุลยิตฺวา อาปตฺติยา โจเทตุนฺติ.  เตน โข ปน สมเยน ฉพฺพคฺคิยา ภิกฺขู ปุรมฺหากํ เปสลา ภิกฺขู โอกาสํ การาเปนฺตีติ ปฏิกจฺเจว สุทฺธานํ ภิกฺขูนํ อนาปตฺติกานํ อวตฺถุสฺมึ อการเณ โอกาสํ การาเปนฺติ.  ภควโต เอตมตฺถํ อาโรเจสุํ.  น ภิกฺขเว สุทฺธานํ ภิกฺขูนํ อนาปตฺติกานํ อวตฺถุสฺมึ อการเณ โอกาโส การาเปตพฺโพ. 
||17|| 
โย การาเปยฺย อาปตฺติ ทุกฺกฏสฺส. 
atha kho bhagavā Codanāvatthusmiṃ yathābhirantaṃ viharitvā punad eva Rājagahaṃ paccāgacchi.  tena kho pana samayena manussā bhikkhū piṇḍāya carante pucchanti: katimī bhante pakkhassā ’ti.  bhikkhū evaṃ āhaṃsu: na kho mayaṃ āvuso jānāmā ’ti.  manussā ujjhāyanti khīyanti vipācenti: pakkhagaṇanamattam p’ ime samaṇā Sakyaputtiyā na jānanti, kiṃ pan’ ime aññaṃ kiñci kalyāṇaṃ jānissantīti.  bhagavato etam atthaṃ ārocesuṃ.  anujānāmi bhikkhave pakkhagaṇanaṃ uggahetun ti. |1| 
อนุชานามิ ภิกฺขเว ปุคฺคลํ ตุลยิตฺวา โอกาสํ กาตุ นฺติ.  (๘๒. อธมฺมกมฺมปฏิกฺโกสนาทิ) ๑๕๔. เตน โข ปน สมเยน ฉพฺพคฺคิยา ภิกฺขู สงฺฆมชฺเฌ อธมฺมกมฺมํ กโรนฺติ.  ภควโต เอตมตฺถํ อาโรเจสุํ.  น ภิกฺขเว อธมฺมกมฺมํ กาตพฺพํ.  โย กเรยฺย อาปตฺติ ทุกฺกฏสฺสาติ.  กโรนฺติเยว อธมฺมกมฺมํ. 
atha kho bhikkhūnaṃ etad ahosi: kena nu kho pakkhagaṇanā uggahetabbā ’ti.  bhagavato etam atthaṃ ārocesuṃ.  anujānāmi bhikkhave sabbeh’ eva pakkhagaṇanaṃ uggahetun ti. |2| 
ภควโต เอตมตฺถํ อาโรเจสุํ  อนุชานามิ ภิกฺขเว อธมฺมกมฺเม กยิรมาเน ปฏิกฺโกสิตุนฺติ.  เตน โข ปน สมเยน เปสลา ภิกฺขู ฉพฺพคฺคิเยหิ ภิกฺขูหิ อธมฺมกมฺเม กยิรมาเน ปฏิกฺโกสนฺติ. 
tena kho pana samayena manussā bhikkhū piṇḍāya carante pucchanti: kīvatikā bhante bhikkhū ’ti.  bhikkhū evaṃ āhaṃsu: na kho mayaṃ āvuso jānāmā ’ti.  manussā ujjhāyanti khīyanti vipācenti: aññamaññam p’ ime samaṇā Sakyaputtiyā na jānanti, kiṃ pan’ ime aññaṃ kiñci kalyāṇaṃ jānissantīti.  bhagavato etam atthaṃ ārocesuṃ.  anujānāmi bhikkhave bhikkhū gaṇetun ti. |3| 
ฉพฺพคฺคิยา ภิกฺขู ลภนฺติ อาฆาตํ ลภนฺติ อปฺปจฺจยํ วเธน ตชฺเชนฺติ.  ภควโต เอตมตฺถํ อาโรเจสุํ.  อนุชานามิ ภิกฺขเว ทิฏฺฐิมฺปิ อาวิกาตุนฺติ.  เตสํเยว สนฺติเก ทิฏฺฐึ อาวิกโรนฺติ.  ฉพฺพคฺคิยา ภิกฺขู ลภนฺติ อาฆาตํ ลภนฺติ อปฺปจฺจยํ วเธน ตชฺเชนฺติ. 
atha kho bhikkhūnaṃ etad ahosi: kadā nu kho bhikkhū gaṇetabbā ’ti.  bhagavato etam atthaṃ ārocesuṃ.  anujānāmi bhikkhave tadah’ uposathe gaṇamaggena vā gaṇetuṃ salākaṃ vā gahetun ti. |4| 
ภควโต เอตมตฺถํ อาโรเจสุํ.  อนุชานามิ ภิกฺขเว จตูหิ ปญฺจหิ ปฏิกฺโกสิตุํ ทฺวีหิ ตีหิ ทิฏฺฐึ อาวิกาตุํ เอเกน อธิฏฺฐาตุํ ‘น เมตํ ขมตี’ติ.  เตน โข ปน สมเยน ฉพฺพคฺคิยา ภิกฺขู สงฺฆมชฺเฌ ปาติโมกฺขํ อุทฺทิสมานา สญฺจิจฺจ น สาเวนฺติ. 
||18|| 
ภควโต เอตมตฺถํ อาโรเจสุํ. 
tena kho pana samayena bhikkhū ajānantā ajj’ uposatho ’ti dūraṃ gāmaṃ piṇḍāya caranti.  te uddissamāne pi pātimokkhe āgacchanti uddiṭṭhamatte pi āgacchanti.  bhagavato etam atthaṃ ārocesuṃ.  anujānāmi bhikkhave ārocetuṃ ajj’ uposatho ’ti.  atha kho bhikkhūnaṃ etad ahosi: kena nu kho ārocetabbo ’ti.  bhagavato etam atthaṃ ārocesuṃ.  anujānāmi bhikkhave therena bhikkhunā kālavato ārocetun ti.  tena kho pana samayena aññataro thero kālavato na ssarati.  bhagavato etam atthaṃ ārocesuṃ.  anujānāmi bhikkhave bhattakāle pi ārocetun ti.  bhattakāle pi na ssari.  bhagavato etam atthaṃ arocesuṃ.  anujānāmi {bhikkhave} yaṃ kālaṃ sarati, taṃ kālaṃ ārocetun ti. |1| 
น ภิกฺขเว ปาติโมกฺขุทฺเทสเกน สญฺจิจฺจ น สาเวตพฺพํ.  โย น สาเวยฺย อาปตฺติ ทุกฺกฏสฺสาติ.  เตน โข ปน สมเยน อายสฺมา อุทายี สงฺฆสฺส ปาติโมกฺขุทฺเทสโก โหติ กากสฺสรโก.  อถ โข อายสฺมโต อุทายิสฺส เอตทโหสิ “ภควตา ปญฺญตฺตํ ‘ปาติโมกฺขุทฺเทสเกน สาเวตพฺพ’นฺติ อหญฺจมฺหิ กากสฺสรโก  กถํ นุ โข มยา ปฏิปชฺชิตพฺพ”นฺติ?  ภควโต เอตมตฺถํ อาโรเจสุํ.  อนุชานามิ ภิกฺขเว ปาติโมกฺขุทฺเทสเกน วายมิตุํ ‘กถํ สาเวยฺย’นฺติ. วายมนฺตสฺส อนาปตฺตีติ.  เตน โข ปน สมเยน เทวทตฺโต สคหฏฺฐาย ปริสาย ปาติโมกฺขํ อุทฺทิสติ.  ภควโต เอตมตฺถํ อาโรเจสุํ.  น ภิกฺขเว สคหฏฺฐาย ปริสาย ปาติโมกฺขํ อุทฺทิสิตพฺพํ.  โย อุทฺทิเสยฺย อาปตฺติ ทุกฺกฏสฺสาติ.  เตน โข ปน สมเยน ฉพฺพคฺคิยา ภิกฺขู สงฺฆมชฺเฌ อนชฺฌิฏฺฐา ปาติโมกฺขํ อุทฺทิสนฺติ.  ภควโต เอตมตฺถํ อาโรเจสุํ. 
||19|| 
น ภิกฺขเว สงฺฆมชฺเฌ อนชฺฌิฏฺเฐน ปาติโมกฺขํ อุทฺทิสิตพฺพํ. 
(118) tena kho pana samayena aññatarasmiṃ āvāse uposathāgāraṃ uklāpaṃ hoti.  āgantukā bhikkhū ujjhāyanti khīyanti vipācenti: kathaṃ hi nāma bhikkhū uposathāgāraṃ na sammajjissantīti.  bhagavato etam atthaṃ ārocesuṃ.  anujānāmi bhikkhave uposathāgāraṃ sammajjitun ti. |1| 
โย อุทฺทิเสยฺย อาปตฺติ ทุกฺกฏสฺส.  อนุชานามิ ภิกฺขเว เถราธิกํ ปาติโมกฺขนฺติ.     
atha kho bhikkhūnaṃ etad ahosi: kena nu kho uposathāgāraṃ sammajjitabban ti.  bhagavato etam atthaṃ ārocesuṃ.  anujānāmi bhikkhave therena bhikkhunā navaṃ bhikkhuṃ āṇāpetun ti.  therena āṇattā navā bhikkhū na sammajjanti.  bhagavato etam atthaṃ ārocesuṃ.  na bhikkhave therena āṇattena agilānena na sammajjitabbaṃ.  yo na sammajjeyya, āpatti dukkaṭassā ’ti. |2| 
อญฺญติตฺถิยภาณวาโร นิฏฺฐิโต (ปฐโม) .  (๘๓. ปาติโมกฺขุทฺเทสกอชฺเฌสนาทิ) ๑๕๕. อถ โข ภควา ราชคเห ยถาภิรนฺตํ วิหริตฺวา เยน โจทนาวตฺถุ เตน จาริกํ ปกฺกามิ.  อนุปุพฺเพน จาริกํ จรมาโน เยน โจทนาวตฺถุ ตทวสริ.  เตน โข ปน สมเยน อญฺญตรสฺมึ อาวาเส สมฺพหุลา ภิกฺขู วิหรนฺติ ตตฺถ เถโร ภิกฺขุ พาโล โหติ อพฺยตฺโต. โส น ชานาติ อุโปสถํ วา อุโปสถกมฺมํ วา ปาติโมกฺขํ วา ปาติโมกฺขุทฺเทสํ วา.  อถ โข เตสํ ภิกฺขูนํ เอตทโหสิ “ภควตา ปญฺญตฺตํ ‘เถราธิกํ ปาติโมกฺข’นฺติ อยญฺจ อมฺหากํ เถโร พาโล อพฺยตฺโต น ชานาติ อุโปสถํ วา อุโปสถกมฺมํ วา ปาติโมกฺขํ วา ปาติโมกฺขุทฺเทสํ วา.  กถํ นุ โข อมฺเหหิ ปฏิปชฺชิตพฺพ”นฺติ?  ภควโต เอตมตฺถํ อาโรเจสุํ. 
tena kho pana samayena uposathāgāre āsanaṃ apaññattaṃ hoti.  bhikkhū chamāyaṃ nisīdanti.  gattāni pi cīvarāni pi paṃsukitāni honti.  bhagavato etam atthaṃ ārocesuṃ.  anujānāmi bhikkhave uposathāgāre āsanaṃ paññāpetun ti.  atha kho bhikkhūnaṃ etad ahosi: kena nu kho uposathāgāre āsanaṃ paññāpetabban ti.  bhagavato etam atthaṃ ārocesuṃ.  anujānāmi bhikkhave therena bhikkhunā navaṃ bhikkhuṃ āṇāpetun ti.  therena āṇattā navā bhikkhū na paññāpenti.  bhagavato etam atthaṃ ārocesuṃ.  na bhikkhave therena āṇattena agilānena na paññāpetabbaṃ.  yo na paññāpeyya, āpatti dukkaṭassā ’ti. |3| 
อนุชานามิ ภิกฺขเว โย ตตฺถ ภิกฺขุ พฺยตฺโต ปฏิพโล ตสฺสาเธยฺยํ ปาติโมกฺขนฺติ.  เตน โข ปน สมเยน อญฺญตรสฺมึ อาวาเส ตทหุโปสเถ สมฺพหุลา ภิกฺขู วิหรนฺติ พาลา อพฺยตฺตา. เต น ชานนฺติ อุโปสถํ วา อุโปสถกมฺมํ วา ปาติโมกฺขํ วา ปาติโมกฺขุทฺเทสํ วา.  เต เถรํ อชฺเฌสึสุ “อุทฺทิสตุ ภนฺเต เถโร ปาติโมกฺข”นฺติ.  โส เอวมาห “น เม อาวุโส วตฺตตี”ติ.  ทุติยํ เถรํ อชฺเฌสึสุ “อุทฺทิสตุ ภนฺเต เถโร ปาติโมกฺข”นฺติ.  โสปิ เอวมาห “น เม อาวุโส วตฺตตี”ติ.  ตติยํ เถรํ อชฺเฌสึสุ “อุทฺทิสตุ ภนฺเต เถโร ปาติโมกฺข”นฺติ.  โสปิ เอวมาห “น เม อาวุโส วตฺตตี”ติ.  เอเตเนว อุปาเยน ยาว สงฺฆนวกํ อชฺเฌสึสุ “อุทฺทิสตุ อายสฺมา ปาติโมกฺข”นฺติ.  โสปิ เอวมาห “น เม ภนฺเต วตฺตตี”ติ.  ภควโต เอตมตฺถํ อาโรเจสุํ.  อิธ ปน ภิกฺขเว อญฺญตรสฺมึ อาวาเส ตทหุโปสเถ สมฺพหุลา ภิกฺขู วิหรนฺติ พาลา อพฺยตฺตา. เต น ชานนฺติ อุโปสถํ วา อุโปสถกมฺมํ วา ปาติโมกฺขํ วา ปาติโมกฺขุทฺเทสํ วา. 
tena kho pana samayena uposathāgāre padīpo na hoti.  bhikkhū andhakāre kāyam pi cīvaram pi akkamanti.  bhagavato etam atthaṃ ārocesuṃ.  anujānāmi bhikkhave uposathāgāre padīpaṃ kātun ti.  atha kho bhikkhūnaṃ etad ahosi: kena nu kho uposathāgāre padīpo kātabbo ’ti.  bhagavato etam atthaṃ ārocesuṃ.  anujānāmi bhikkhave therena bhikkhunā navaṃ bhikkhuṃ āṇāpetun ti.  therena āṇattā navā bhikkhū na padīpenti.  bhagavato etam atthaṃ ārocesuṃ.  na bhikkhave therena āṇattena agilānena na padīpetabbo.  yo na padīpeyya, āpatti dukkaṭassā ’ti. |4| 
เต เถรํ อชฺเฌสนฺติ “อุทฺทิสตุ ภนฺเต เถโร ปาติโมกฺข”นฺติ.  โส เอวํ วเทติ “น เม อาวุโส วตฺตตี”ติ.  ทุติยํ เถรํ อชฺเฌสนฺติ “อุทฺทิสตุ ภนฺเต เถโร ปาติโมกฺข”นฺติ.  โสปิ เอวํ วเทติ “น เม อาวุโส วตฺตตี”ติ.  ตติยํ เถรํ อชฺเฌสนฺติ “อุทฺทิสตุ ภนฺเต เถโร ปาติโมกฺข”นฺติ.  โสปิ เอวํ วเทติ “น เม อาวุโส วตฺตตี”ติ.  เอเตเนว อุปาเยน ยาว สงฺฆนวกํ อชฺเฌสนฺติ “อุทฺทิสตุ อายสฺมา ปาติโมกฺข”นฺติ.  โสปิ เอวํ วเทติ “น เม ภนฺเต วตฺตตี”ติ. เตหิ ภิกฺขเว ภิกฺขูหิ เอโก ภิกฺขุ สามนฺตา อาวาสา สชฺชุกํ ปาเหตพฺโพ คจฺฉาวุโส สํขิตฺเตน วา วิตฺถาเรน วา ปาติโมกฺขํ ปริยาปุณิตฺวาน อาคจฺฉาหีติ.  อถ โข ภิกฺขูนํ เอตทโหสิ “เกน นุ โข ปาเหตพฺโพ”ติ?  ภควโต เอตมตฺถํ อาโรเจสุํ.  อนุชานามิ ภิกฺขเว เถเรน ภิกฺขุนา นวํ ภิกฺขุํ อาณาเปตุนฺติ. 
tena kho pana samayena aññatarasmiṃ āvāse āvāsikā bhikkhū n’ eva pāniyaṃ upaṭṭhāpenti na paribhojaniyaṃ upaṭṭhāpenti.  āgantukā bhikkhū ujjhāyanti khīyanti vipācenti: kathaṃ hi nāma āvāsikā bhikkhū n’ eva pāniyaṃ upaṭṭhāpessanti na paribhojaniyaṃ upaṭṭhāpessantīti.  bhagavato etam atthaṃ ārocesuṃ.  anujānāmi bhikkha (119) ve pāniyaṃ paribhojaniyaṃ upaṭṭhāpetun ti. |5| 
เถเรน อาณตฺตา นวา ภิกฺขู น คจฺฉนฺติ.  ภควโต เอตมตฺถํ อาโรเจสุํ.  น ภิกฺขเว เถเรน อาณตฺเตน อคิลาเนน น คนฺตพฺพํ.  โย น คจฺเฉยฺย อาปตฺติ ทุกฺกฏสฺสาติ. 
atha kho bhikkhūnaṃ etad ahosi: kena nu kho pāniyaṃ paribhojaniyaṃ upaṭṭhāpetabban ti.  bhagavato etam atthaṃ ārocesuṃ.  anujānāmi bhikkhave therena bhikkhunā navaṃ bhikkhuṃ āṇāpetun ti.  therena āṇattā navā bhikkhū na upaṭṭhāpenti.  bhagavato etam atthaṃ ārocesuṃ.  na bhikkhave therena āṇattena agilānena na upaṭṭhāpetabbaṃ.  yo na upaṭṭhāpeyya, āpatti dukkaṭassā ’ti. |6| 
      (๘๔. ปกฺขคณนาทิอุคฺคหณานุชานนา) ๑๕๖. อถ โข ภควา โจทนาวตฺถุสฺมึ ยถาภิรนฺตํ วิหริตฺวา ปุนเทว ราชคหํ ปจฺจาคญฺฉิ.  เตน โข ปน สมเยน มนุสฺสา ภิกฺขู ปิณฺฑาย จรนฺเต ปุจฺฉนฺติ “กติมี ภนฺเต ปกฺขสฺสา”ติ?  ภิกฺขู เอวมาหํสุ “น โข มยํ อาวุโส ชานามา”ติ.  มนุสฺสา อุชฺฌายนฺติ ขิยฺยนฺติ วิปาเจนฺติ “ปกฺขคณนมตฺตมมฺปิเม สมณา สกฺยปุตฺติยา น ชานนฺติ กึ ปนิเม อญฺญํ กิญฺจิ กลฺยาณํ ชานิสฺสนฺตี”ติ? 
||20|| 
ภควโต เอตมตฺถํ อาโรเจสุํ. 
tena kho pana samayena sambahulā bhikkhū bālā avyattā disaṃgamikā ācariyupajjhāye na āpucchiṃsu.  bhagavato etam atthaṃ ārocesuṃ.  idha pana bhikkhave sambahulā bhikkhū bālā avyattā disaṃgamikā ācariyupajjhāye na āpucchanti.  tehi bhikkhave ācariyupajjhāyehi pucchitabbā: kahaṃ gamissatha, kena saddhiṃ gamissathā ’ti.  te ce bhikkhave bālā avyattā aññe bāle avyatte apadiseyyuṃ, na bhikkhave ācariyupajjhāyehi anujānitabbā.  anujāneyyuṃ ce, āpatti dukkaṭassa.  te ce bhikkhave bālā avyattā ananuññātā ācariyupajjhāyehi gaccheyyuṃ, āpatti dukkaṭassa. |1| 
อนุชานามิ ภิกฺขเว ปกฺขคณนํ อุคฺคเหตุนฺติ.  อถ โข ภิกฺขูนํ เอตทโหสิ “เกน นุ โข ปกฺขคณนา อุคฺคเหตพฺพา”ติ?  ภควโต เอตมตฺถํ อาโรเจสุํ.  อนุชานามิ ภิกฺขเว สพฺเพเหว ปกฺขคณนํ อุคฺคเหตุนฺติ.  ๑๕๗. เตน โข ปน สมเยน มนุสฺสา ภิกฺขู ปิณฺฑาย จรนฺเต ปุจฺฉนฺติ “กีวติกา ภนฺเต ภิกฺขู”ติ?  ภิกฺขู เอวมาหํสุ “น โข มยํ อาวุโส ชานามา”ติ.  มนุสฺสา อุชฺฌายนฺติ ขิยฺยนฺติ วิปาเจนฺติ “อญฺญมญฺญมฺปิเม สมณา สกฺยปุตฺติยา น ชานนฺติ กึ ปนิเม อญฺญํ กิญฺจิ กลฺยาณํ ชานิสฺสนฺตี”ติ? 
idha pana bhikkhave aññatarasmiṃ āvāse sambahulā bhikkhū viharanti bālā avyattā.  te na jānanti uposathaṃ vā uposathakammaṃ vā pātimokkhaṃ vā pātimokkhuddesaṃ vā.  tattha añño bhikkhu āgacchati bahussuto āgatāgamo dhammadharo vinayadharo mātikādharo paṇḍito vyatto medhāvī lajjī kukkuccako sikkhākāmo.  tehi bhikkhave bhikkhūhi so bhikkhu saṃgahetabbo anuggahetabbo upalāpetabbo upaṭṭhāpetabbo cuṇṇena mattikāya dantakaṭṭhena mukhodakena.  no ce saṃgaṇheyyuṃ anugaṇheyyuṃ upalāpeyyuṃ upaṭṭhāpeyyuṃ cuṇṇena mattikāya dantakaṭṭhena mukhodakena, āpatti dukkaṭassa. |2| 
ภควโต เอตมตฺถํ อาโรเจสุํ.  อนุชานามิ ภิกฺขเว ภิกฺขู คเณตุนฺติ.  อถ โข ภิกฺขูนํ เอตทโหสิ “กทา นุ โข ภิกฺขู คเณตพฺพา”ติ?  ภควโต เอตมตฺถํ อาโรเจสุํ.  อนุชานามิ ภิกฺขเว ตทหุโปสเถ นามคฺเคน คเณตุํ สลากํ วา คาเหตุนฺติ. 
idha pana bhikkhave aññatarasmiṃ āvāse tadah’ uposathe sambahulā bhikkhū viharanti bālā avyattā.  te na jānanti uposathaṃ vā ...pātimokkhuddesaṃ vā.  tehi bhikkhave bhikkhūhi eko bhikkhu sāmantā āvāsā sajjukaṃ pāhetabbo gacchāvuso saṃkhittena vā vitthārena vā pātimokkhaṃ pariyāpuṇitvā āgacchā ’ti.  evaṃ ce taṃ labhetha, icc etaṃ kusalaṃ.  no ce labhetha, tehi bhikkhave bhikkhūhi sabbeh’ eva yattha jānanti uposathaṃ vā ...pātimokkhuddesaṃ vā, so āvāso (120) gantabbo.  no ce gaccheyyuṃ, āpatti dukkaṭassa. |3| 
    ๑๕๘. เตน โข ปน สมเยน ภิกฺขู อชานนฺตา อชฺชุโปสโถติ ทูรํ คามํ ปิณฺฑาย จรนฺติ.  เต อุทฺทิสฺสมาเนปิ ปาติโมกฺเข อาคจฺฉนฺติ อุทฺทิฏฺฐมตฺเตปิ อาคจฺฉนฺติ.  ภควโต เอตมตฺถํ อาโรเจสุํ.  อนุชานามิ ภิกฺขเว อาโรเจตุํ ‘อชฺชุโปสโถ’ติ. 
idha pana bhikkhave aññatarasmiṃ āvāse sambahulā bhikkhū vassaṃ vasanti bālā avyattā.  te na jānanti uposathaṃ vā ...pātimokkhuddesaṃ vā.  tehi bhikkhave bhikkhūhi eko bhikkhu sāmantā āvāsā sajjukaṃ pāhetabbo gacchāvuso saṃkhittena vā vitthārena vā pātimokkhaṃ pariyāpuṇitvā āgacchā ’ti.  evaṃ ce taṃ labhetha, icc etaṃ kusalaṃ.  no ce labhetha, eko bhikkhu sattāhakālikaṃ pāhetabbo gacchāvuso saṃkhittena vā vitthārena vā pātimokkhaṃ pariyāpuṇitvā āgacchā ’ti.  evaṃ ce taṃ labhetha, icc etaṃ kusalaṃ.  no ce labhetha, na bhikkhave tehi bhikkhūhi tasmiṃ āvāse vassaṃ vasitabbaṃ.  vaseyyuṃ ce, āpatti dukkaṭassā ’ti. |4| 
อถ โข ภิกฺขูนํ เอตทโหสิ “เกน นุ โข อาโรเจตพฺโพ”ติ?  ภควโต เอตมตฺถํ อาโรเจสุํ.  อนุชานามิ ภิกฺขเว เถเรน ภิกฺขุนา กาลวโต อาโรเจตุนฺติ.  เตน โข ปน สมเยน อญฺญตโร เถโร กาลวโต นสฺสรติ.  ภควโต เอตมตฺถํ อาโรเจสุํ.  อนุชานามิ ภิกฺขเว ภตฺตกาเลปิ อาโรเจตุนฺติ.  ภตฺตกาเลปิ นสฺสรติ.  ภควโต เอตมตฺถํ อาโรเจสุํ. 
||21|| 
อนุชานามิ ภิกฺขเว ยํ กาลํ สรติ ตํ กาลํ อาโรเจตุนฺติ. 
atha kho bhagavā bhikkhū āmantesi: sannipatatha bhikkhave, saṃgho uposathaṃ karissatīti.  evaṃ vutte aññataro bhikkhu bhagavantaṃ etad avoca: atthi bhante bhikkhu gilāno, so anāgato ’ti.  anujānāmi bhikkhave gilānena bhikkhunā pārisuddhiṃ dātuṃ.  evañ ca pana bhikkhave dātabbā: tena gilānena bhikkhunā ekaṃ bhikkhuṃ upasaṃkamitvā ekaṃsaṃ uttarāsaṅgaṃ karitvā ukkuṭikaṃ nisīditvā añjaliṃ paggahetvā evam assa vacanīyo: pārisuddhiṃ dammi, pārisuddhiṃ me hara, pārisuddhiṃ me ārocehīti kāyena viññāpeti, vācāya viññāpeti, kāyena vācāya viññāpeti, dinnā hoti pārisuddhi, na kāyena viññāpeti, na vācāyā viññāpeti, na kāyena vācāya viññāpeti, na dinnā hoti pārisuddhi. |1| 
    (๘๕. ปุพฺพกรณานุชานนา) ๑๕๙. เตน โข ปน สมเยน อญฺญตรสฺมึ อาวาเส อุโปสถาคารํ อุกฺลาปํ โหติ.  อาคนฺตุกา ภิกฺขู อุชฺฌายนฺติ ขิยฺยนฺติ วิปาเจนฺติ “กถญฺหิ นาม อาวาสิกา ภิกฺขู อุโปสถาคารํ น สมฺมชฺชิสฺสนฺตี”ติ. 
evaṃ ce taṃ labhetha, icc etaṃ kusalaṃ.  no ce labhetha, so bhikkhave gilāno bhikkhu mañcena vā pīṭhena vā saṃghamajjhe ānetvā uposatho kātabbo.  sace bhikkhave gilānupaṭṭhākānaṃ bhikkhūnaṃ evaṃ hoti: sace kho mayaṃ gilānaṃ ṭhānā cāvessāma, ābādho vā abhivaḍḍhissati kālaṃkiriyā vā bhavissatīti, na bhikkhave gilāno ṭhānā cāvetabbo, saṃghena tattha gantvā uposatho kātabbo, na tv eva vaggena saṃghena uposatho kātabbo.  kareyya ce, āpatti dukkaṭassa. |2| 
ภควโต เอตมตฺถํ อาโรเจสุํ.  อนุชานามิ ภิกฺขเว อุโปสถาคารํ สมฺมชฺชิตุนฺติ.  อถ โข ภิกฺขูนํ เอตทโหสิ “เกน นุ โข อุโปสถาคารํ สมฺมชฺชิตพฺพ”นฺติ?  ภควโต เอตมตฺถํ อาโรเจสุํ. 
pārisuddhihārako ce bhikkhave dinnāya pārisuddhiyā tatth’ eva pakkamati, aññassa dātabbā pārisuddhi.  pārisuddhihārako ce bhikkhave dinnāya pārisuddhiyā tatth’ eva vibbhamati, kālaṃ karoti, sāmaṇero (121) paṭijānāti, sikkhaṃ paccakkhātako paṭijānāti, antimavatthuṃ ajjhāpannako paṭijānāti, ummattako p., khittacitto p., vedanaṭṭo p., āpattiyā adassane ukkhittako p., āpattiyā appaṭikamme ukkhittako p., pāpikāya diṭṭhiyā appaṭinissagge ukkhittako p., paṇḍako p., theyyasaṃvāsako p., titthiyapakkantako p., tiracchānagato p., mātughātako p., pitughātako p., arahantaghātako p., bhikkhunīdūsako p., saṃghabhedako p., lohituppādako p., ubhatovyañjanako paṭijānāti, aññassa dātabbā pārisuddhi. |3| 
อนุชานามิ ภิกฺขเว เถเรน ภิกฺขุนา นวํ ภิกฺขุํ อาณาเปตุนฺติ.  เถเรน อาณตฺตา นวา ภิกฺขู น สมฺมชฺชนฺติ. 
pārisuddhihārako ce bhikkhave dinnāya pārisuddhiyā antarā magge pakkamati, anāhaṭā hoti pārisuddhi.  pārisuddhihārako ce bhikkhave dinnāya pārisuddhiyā antarā magge vibbhamati, kālaṃ karoti --pa-- ubhatovyañjanako paṭijānāti, anāhaṭā hoti pārisuddhi.  pārisuddhihārako ce bhikkhave dinnāya pārisuddhiyā saṃghappatto pakkamati, āhaṭā hoti pārisuddhi.  pārisuddhihārako ce bhikkhave dinnāya pārisuddhiyā saṃghappatto vibbhamati, kālaṃ karoti --la-- ubhatovyañjanako paṭijānāti, āhaṭā hoti pārisuddhi.  pārisuddhihārako ce bhikkhave dinnāya pārisuddhiyā saṃghappatto sutto na āroceti, pamatto na āroceti, samāpanno na āroceti, āhaṭā hoti pārisuddhi, pārisuddhihārakassa anāpatti.  pārisuddhihārako ce bhikkhave dinnāya pārisuddhiyā saṃghappatto sañcicca na āroceti, āhaṭā hoti pārisuddhi, pārisuddhihārakassa āpatti dukkaṭassā ’ti. |4| 
ภควโต เอตมตฺถํ อาโรเจสุํ.  น ภิกฺขเว เถเรน อาณตฺเตน อคิลาเนน น สมฺมชฺชิตพฺพํ.  โย น สมฺมชฺเชยฺย อาปตฺติ ทุกฺกฏสฺสาติ.  ๑๖๐. เตน โข ปน สมเยน อุโปสถาคาเร อาสนํ อปญฺญตฺตํ โหติ.  ภิกฺขู ฉมายํ นิสีทนฺติ  คตฺตานิปิ จีวรานิปิ ปํสุกิตานิ โหนฺติ. 
||22|| 
ภควโต เอตมตฺถํ อาโรเจสุํ. 
atha kho bhagavā bhikkhū āmantesi: sannipatatha bhikkhave, saṃgho kammaṃ karissatīti.  evaṃ vutte aññataro bhikkhu bhagavantaṃ etad avoca: atthi bhante bhikkhu gilāno, so anāgato ’ti.  anujānāmi bhikkhave gilānena bhikkhunā chandaṃ dātuṃ.  evañ ca pana bhikkhave dātabbo: tena gilānena bhikkhunā ekaṃ bhikkhuṃ upasaṃkamitvā ekaṃsaṃ uttarāsaṅgaṃ karitvā ukkuṭikaṃ nisīditvā añjaliṃ paggahetvā evam assa vacanīyo: chandaṃ dammi, chandaṃ me hara, chandaṃ me ārocehīti kāyena viññāpeti, vācāya viññāpeti, kāyena vācāya viññāpeti, dinno hoti chando, na kāyena viññāpeti, na vācāya viññāpeti, na kāyena vācāya viññāpeti, na dinno hoti chando. |1| 
อนุชานามิ ภิกฺขเว อุโปสถาคาเร อาสนํ ปญฺญเปตุนฺติ.  อถ โข ภิกฺขูนํ เอตทโหสิ “เกน นุ โข อุโปสถาคาเร อาสนํ ปญฺญเปตพฺพ”นฺติ?  ภควโต เอตมตฺถํ อาโรเจสุํ.  อนุชานามิ ภิกฺขเว เถเรน ภิกฺขุนา นวํ ภิกฺขุํ อาณาเปตุนฺติ. 
evaṃ ce taṃ labhetha, icc etaṃ kusalaṃ.  no ce labhetha, so bhi-(122)kkhave gilāno bhikkhu mañcena vā pīṭhena vā saṃghamajjhe ānetvā kammaṃ kātabbaṃ.  sace bhikkhave gilānupaṭṭhākānaṃ bhikkhūnaṃ evaṃ hoti: sace kho mayaṃ gilānaṃ ṭhānā cāvessāma, ābādho vā abhivaḍḍhissati kālaṃkiriyā vā bhavissatīti, na bhikkhave gilāno ṭhānā cāvetabbo, saṃghena tattha gantvā kammaṃ kātabbaṃ, na tv eva vaggena saṃghena kammaṃ kātabbaṃ.  kareyya ce, āpatti dukkaṭassa. |2| 
เถเรน อาณตฺตา นวา ภิกฺขู น ปญฺญเปนฺติ.  ภควโต เอตมตฺถํ อาโรเจสุํ.  น ภิกฺขเว เถเรน อาณตฺเตน อคิลาเนน น ปญฺญเปตพฺพํ.  โย น ปญฺญเปยฺย อาปตฺติ ทุกฺกฏสฺสาติ. 
chandahārako ce bhikkhave dinne chande tatth’ eva pakkamati, aññassa dātabbo chando.  chandahārako ce bhikkhave dinne chande tatth’ eva vibbhamati, kālaṃ karoti ...ubhatovyañjanako paṭijānāti, aññassa dātabbo chando.  chandahārako ce bhikkhave dinne chande antarā magge pakkamati, anāhaṭo hoti chando.  chandahārako ce ...(comp.II.22.4) ...chandahārakassa āpatti dukkaṭassa.  anujānāmi bhikkhave tadah’ uposathe pārisuddhiṃ dentena chandam pi dātuṃ santi saṃghassa karaṇīyan ti. |3| 
๑๖๑. เตน โข ปน สมเยน อุโปสถาคาเร ปทีโป น โหติ.  ภิกฺขู อนฺธกาเร กายมฺปิ จีวรมฺปิ อกฺกมนฺติ.  ภควโต เอตมตฺถํ อาโรเจสุํ.  อนุชานามิ ภิกฺขเว อุโปสถาคาเร ปทีปํ กาตุนฺติ.  อถ โข ภิกฺขูนํ เอตทโหสิ “เกน นุ โข อุโปสถาคาเร ปทีโป กาตพฺโพ”ติ? 
||23|| 
ภควโต เอตมตฺถํ อาโรเจสุํ. 
tena kho pana samayena aññataraṃ bhikkhuṃ tadah’ uposathe ñātakā gaṇhiṃsu.  bhagavato etam atthaṃ ārocesuṃ.  idha pana bhikkhave bhikkhuṃ tadah’ uposathe ñātakā gaṇhanti.  te ñātakā bhikkhūhi evam assu vacanīyā: iṅgha tumhe āyasmanto imaṃ bhikkhuṃ muhuttaṃ muñcatha yāvāyaṃ bhikkhu uposathaṃ karotīti. |1| 
อนุชานามิ ภิกฺขเว เถเรน ภิกฺขุนา นวํ ภิกฺขุํ อาณาเปตุนฺติ.  เถเรน อาณตฺตา นวา ภิกฺขู น ปทีเปนฺติ.  ภควโต เอตมตฺถํ อาโรเจสุํ.  น ภิกฺขเว เถเรน อาณตฺเตน อคิลาเนน น ปทีเปตพฺโพ. 
evaṃ ce taṃ labhetha, icc etaṃ kusalaṃ, no ce labhetha, te ñātakā bhikkhūhi evam assu vacanīyā: iṅgha tumhe āyasmanto muhuttaṃ ekamantaṃ hotha yāvāyaṃ bhikkhu pārisuddhiṃ detīti.  evaṃ ce taṃ labhetha, icc etaṃ kusalaṃ.  no ce labhetha, te ñātakā bhikkhūhi evam assu vacanīyā: iṅgha tumhe āyasmanto imaṃ bhikkhuṃ muhuttaṃ nissīmaṃ netha yāva saṃgho uposathaṃ karotīti.  evaṃ ce taṃ labhetha, icc etaṃ kusalaṃ, no ce labhetha, na tv eva vaggena saṃghena uposatho kātabbo.  kareyya ce, āpatti dukkaṭassa. |2| 
โย น ปทีเปยฺย อาปตฺติ ทุกฺกฏสฺสาติ.  ๑๖๒. เตน โข ปน สมเยน อญฺญตรสฺมึ อาวาเส อาวาสิกา ภิกฺขู เนว ปานียํ อุปฏฺฐาเปนฺติ น ปริโภชนียํ อุปฏฺฐาเปนฺติ.  อาคนฺตุกา ภิกฺขู อุชฺฌายนฺติ ขิยฺยนฺติ วิปาเจนฺติ “กถญฺหิ นาม อาวาสิกา ภิกฺขู เนว ปานียํ อุปฏฺฐาเปสฺสนฺติ น ปริโภชนียํ อุปฏฺฐาเปสฺสนฺตี”ติ.  ภควโต เอตมตฺถํ อาโรเจสุํ.  อนุชานามิ ภิกฺขเว ปานียํ ปริโภชนียํ อุปฏฺฐาเปตุนฺติ. 
idha pana bhikkhave bhikkhuṃ tadah’ uposathe rājāno gaṇhanti --la-- corā gaṇhanti, dhuttā gaṇhanti, bhikkhū paccatthikā gaṇhanti.  te bhikkhū paccatthikā bhikkhūhi evam assu {vacanīyā:} iṅgha ...(comp.1.2.) ...na tv eva vaggena saṃghena uposatho kātabbo.  kareyya ce, āpatti dukkaṭassā ’ti. |3| 
อถ โข ภิกฺขูนํ เอตทโหสิ “เกน นุ โข ปานียํ ปริโภชนียํ อุปฏฺฐาเปตพฺพ”นฺติ  ภควโต เอตมตฺถํ อาโรเจสุํ.  อนุชานามิ ภิกฺขเว เถเรน ภิกฺขุนา นวํ ภิกฺขุํ อาณาเปตุนฺติ. 
||24|| 
เถเรน อาณตฺตา นวา ภิกฺขู น อุปฏฺฐาเปนฺติ. 
(123) atha kho bhagavā bhikkhū āmantesi: sannipatatha bhikkhave, atthi saṃghassa karaṇīyan ti.  evaṃ vutte aññataro bhikkhu bhagavantaṃ etad avoca: atthi bhante Gaggo nāma bhikkhu ummattako, so anāgato ’ti.  dve ’me bhikkhave ummattakā: atthi bhikkhu ummattako sarati pi uposathaṃ na pi sarati, sarati pi saṃghakammaṃ na pi sarati, atthi n’ eva sarati, āgacchati pi uposathaṃ na pi āgacchati, āgacchati pi saṃghakammaṃ na pi āgacchati, atthi n’ eva āgacchati. |1| 
ภควโต เอตมตฺถํ อาโรเจสุํ.  น ภิกฺขเว เถเรน อาณตฺเตน อคิลาเนน น อุปฏฺฐาเปตพฺพํ.  โย น อุปฏฺฐาเปยฺย อาปตฺติ ทุกฺกฏสฺสาติ. 
tatra bhikkhave yv’ āyaṃ ummattako sarati pi uposathaṃ na pi sarati, sarati pi saṃghakammaṃ na pi sarati, āgacchati pi uposathaṃ na pi āgacchati, āgacchati pi saṃghakammaṃ na pi āgacchati, anujānāmi bhikkhave evarūpassa ummattakassa ummattakasammutiṃ dātuṃ. |2| 
 
evañ ca pana bhikkhave dātabbā: vyattena bhikkhunā paṭibalena saṃgho ñāpetabbo: suṇātu me bhante saṃgho.  Gaggo bhikkhu ummattako sarati pi uposathaṃ na pi sarati, sarati pi saṃghakammaṃ na pi sarati, āgacchati pi uposathaṃ na pi āgacchati, āgacchati pi saṃghakammaṃ na pi āgacchati.  yadi saṃghassa pattakallaṃ, saṃgho Gaggassa bhikkhuno ummattakassa ummattakasammutiṃ dadeyya sareyya vā Gaggo bhikkhu uposathaṃ na vā sareyya, sareyya vā saṃghakammaṃ na vā sareyya, āgaccheyya vā uposathaṃ na vā āgaccheyya, āgaccheyya vā saṃghakammaṃ na vā āgaccheyya, saṃgho saha vā Gaggena vinā vā Gaggena uposatham kareyya saṃghakammaṃ kareyya.  esā ñatti. |3| 
  (๘๖. ทิสํคมิกาทิวตฺถุ) ๑๖๓. เตน โข ปน สมเยน สมฺพหุลา ภิกฺขู พาลา อพฺยตฺตา ทิสํคมิกา อาจริยุปชฺฌาเย น อาปุจฺฉึสุ .  ภควโต เอตมตฺถํ อาโรเจสุํ.  อิธ ปน ภิกฺขเว สมฺพหุลา ภิกฺขู พาลา อพฺยตฺตา ทิสํคมิกา อาจริยุปชฺฌาเย น อาปุจฺฉนฺติ . 
suṇātu me bhante saṃgho.  Gaggo bhikkhu ummattako sarati pi uposathaṃ ...na pi āgacchati.  saṃgho Gaggassa bhikkhuno ummattakassa ummattakasammutiṃ deti sareyya vā Gaggo ...na vā āgaccheyya, saṃgho saha vā Gaggena vinā vā Gaggena uposathaṃ karissati saṃghakammaṃ karissati.  yassāyasmato khamati Gaggassa bhikkhuno ummattakassa ummattakasammutiyā dānaṃ sareyya vā ...saṃghakammaṃ karissati, so tuṇh’ assa, yassa na kkhamati, so bhāseyya.  dinnā saṃghena Gaggassa bhikkhuno ummattakassa ummattakasammuti sareyya vā ...saṃghakammaṃ karissati.  khamati saṃghassa, tasmā tuṇhī, evaṃ etaṃ dhārayāmīti. |4| 
เต ภิกฺขเว อาจริยุปชฺฌาเยหิ ปุจฺฉิตพฺพา “กหํ คมิสฺสถ เกน สทฺธึ คมิสฺสถา”ติ?  เต เจ ภิกฺขเว พาลา อพฺยตฺตา อญฺเญ พาเล อพฺยตฺเต อปทิเสยฺยุํ น ภิกฺขเว อาจริยุปชฺฌาเยหิ อนุชานิตพฺพา.  อนุชาเนยฺยุํ เจ อาปตฺติ ทุกฺกฏสฺส.  เต จ ภิกฺขเว พาลา อพฺยตฺตา อนนุญฺญาตา อาจริยุปชฺฌาเยหิ คจฺเฉยฺยุํ เจ อาปตฺติ ทุกฺกฏสฺส.  อิธ ปน ภิกฺขเว อญฺญตรสฺมึ อาวาเส สมฺพหุลา ภิกฺขู วิหรนฺติ พาลา อพฺยตฺตา.  เต น ชานนฺติ อุโปสถํ วา อุโปสถกมฺมํ วา ปาติโมกฺขํ วา ปาติโมกฺขุทฺเทสํ วา. 
||25|| 
ตตฺถ อญฺโญ ภิกฺขุ อาคจฺฉติ พหุสฺสุโต อาคตาคโม ธมฺมธโร วินยธโร มาติกาธโร ปณฺฑิโต พฺยตฺโต เมธาวี ลชฺชี กุกฺกุจฺจโก สิกฺขากาโม. 
(124) tena kho pana samayena aññatarasmiṃ āvāse tadah’ uposathe cattāro bhikkhū viharanti.  atha kho tesaṃ bhikkhūnaṃ etad ahosi: bhagavatā paññattaṃ uposatho kātabbo ’ti, mayañ c’ amhā cattāro janā.  kathaṃ nu kho amhehi uposatho kātabbo ’ti.  bhagavato etam atthaṃ arocesuṃ.  anujānāmi bhikkhave catunnaṃ pātimokkhaṃ uddisitun ti. |1| 
เตหิ ภิกฺขเว ภิกฺขูหิ โส ภิกฺขุ สงฺคเหตพฺโพ อนุคฺคเหตพฺโพ อุปลาเปตพฺโพ อุปฏฺฐาเปตพฺโพ จุณฺเณน มตฺติกาย ทนฺตกฏฺเฐน มุโขทเกน.  โน เจ สงฺคณฺเหยฺยุํ อนุคฺคณฺเหยฺยุํ อุปลาเปยฺยุํ อุปฏฺฐาเปยฺยุํ จุณฺเณน มตฺติกาย ทนฺตกฏฺเฐน มุโขทเกน อาปตฺติ ทุกฺกฏสฺส.  อิธ ปน ภิกฺขเว อญฺญตรสฺมึ อาวาเส ตทหุโปสเถ สมฺพหุลา ภิกฺขู วิหรนฺติ พาลา อพฺยตฺตา.  เต น ชานนฺติ อุโปสถํ วา อุโปสถกมฺมํ วา ปาติโมกฺขํ วา ปาติโมกฺขุทฺเทสํ วา.  เตหิ ภิกฺขเว ภิกฺขูหิ เอโก ภิกฺขุ สามนฺตา อาวาสา สชฺชุกํ ปาเหตพฺโพ “คจฺฉาวุโส สํขิตฺเตน วา วิตฺถาเรน วา ปาติโมกฺขํ ปริยาปุณิตฺวา อาคจฺฉา”ติ. 
tena kho pana samayena aññatarasmiṃ āvāse tadah’ uposathe tayo bhikkhū viharanti.  atha kho tesaṃ bhikkhūnaṃ etad ahosi: bhagavatā anuññātaṃ catunnaṃ pātimokkhaṃ uddisituṃ, mayañ c’ amhā tayo janā.  kathaṃ nu kho amhehi uposatho kātabbo ’ti.  bhagavato etam atthaṃ ārocesuṃ.  anujānāmi bhikkhave tiṇṇaṃ pārisuddhiuposathaṃ kātuṃ. |2| 
เอวญฺเจตํ ลเภถ อิจฺเจตํ กุสลํ.  โน เจ ลเภถ เตหิ ภิกฺขเว ภิกฺขูหิ สพฺเพเหว ยตฺถ ชานนฺติ อุโปสถํ วา อุโปสถกมฺมํ วา ปาติโมกฺขํ วา ปาติโมกฺขุทฺเทสํ วา โส อาวาโส คนฺตพฺโพ  โน เจ คจฺเฉยฺยุํ อาปตฺติ ทุกฺกฏสฺส.  อิธ ปน ภิกฺขเว อญฺญตรสฺมึ อาวาเส สมฺพหุลา ภิกฺขู วสฺสํ วสนฺติ พาลา อพฺยตฺตา.  เต น ชานนฺติ อุโปสถํ วา อุโปสถกมฺมํ วา ปาติโมกฺขํ วา ปาติโมกฺขุทฺเทสํ วา. 
evañ ca pana bhikkhave kātabbo: vyattena bhikkhunā paṭibalena te bhikkhū ñāpetabbā: suṇantu me āyasmanto.  ajj’ uposatho pannaraso.  yad’ āyasmantānaṃ pattakallaṃ, mayaṃ aññamaññaṃ pārisuddhiuposathaṃ kareyyāmā ’ti.  therena bhikkhunā ekaṃsaṃ uttarāsaṅgaṃ karitvā ukkuṭikaṃ nisīditvā añjaliṃ paggahetvā te bhikkhū evam assu vacanīyā: parisuddho ahaṃ āvuso, parisuddho ’ti maṃ dhāretha, parisuddho ahaṃ āvuso, parisuddho ’ti maṃ dhāretha, parisuddho ahaṃ āvuso, parisuddho ’ti maṃ dhārethā ’ti. |3| 
เตหิ ภิกฺขเว ภิกฺขูหิ เอโก ภิกฺขุ สามนฺตา อาวาสา สชฺชุกํ ปาเหตพฺโพ “คจฺฉาวุโส สํขิตฺเตน วา วิตฺถาเรน วา ปาติโมกฺขํ ปริยาปุณิตฺวา อาคจฺฉา”ติ.  เอวญฺเจตํ ลเภถ อิจฺเจตํ กุสลํ.  โน เจ ลเภถ เอโก ภิกฺขุ สตฺตาหกาลิกํ ปาเหตพฺโพ “คจฺฉาวุโส สํขิตฺเตน วา วิตฺถาเรน วา ปาติโมกฺขํ ปริยาปุณิตฺวา อาคจฺฉา”ติ.  เอวญฺเจตํ ลเภถ อิจฺเจตํ กุสลํ. 
navakena bhikkhunā ekaṃsaṃ uttarāsaṅgaṃ karitvā ukkuṭikaṃ nisīditvā añjaliṃ paggahetvā te bhikkhū evam assu vacanīyā: parisuddho ahaṃ bhante, parisuddho ’ti maṃ dhāretha, parisuddho ahaṃ bhante, parisuddho ’ti maṃ dhāretha, parisuddho ahaṃ bhante, parisuddho ’ti maṃ dhārethā ’ti. |4| 
โน เจ ลเภถ น ภิกฺขเว เตหิ ภิกฺขูหิ ตสฺมึ อาวาเส วสฺสํ วสิตพฺพํ. 
tena kho pana samayena aññatarasmiṃ āvāse tadah’ uposathe dve bhikkhū viharanti.  atha kho tesaṃ bhikkhūnaṃ etad ahosi: bhagavatā anuññātaṃ catunnaṃ pātimokkhaṃ uddisituṃ, tiṇṇannaṃ pārisuddhiuposathaṃ kātuṃ, mayañ c’ amhā dve janā.  kathaṃ nu kho amhehi uposatho kātabbo ’ti.  bhagavato etam atthaṃ ārocesuṃ.  anujānāmi bhikkhave dvinnaṃ pārisuddhiuposathaṃ kātuṃ. |5| 
วเสยฺยุํ เจ อาปตฺติ ทุกฺกฏสฺสาติ.      (๘๗. ปาริสุทฺธิทานกถา) ๑๖๔. อถ โข ภควา ภิกฺขู อามนฺเตสิ “สนฺนิปตถ ภิกฺขเว สงฺโฆ อุโปสถํ กริสฺสตี”ติ.  เอวํ วุตฺเต อญฺญตโร ภิกฺขุ ภควนฺตํ เอตทโวจ “อตฺถิ ภนฺเต ภิกฺขุ คิลาโน โส อนาคโต”ติ. 
evañ ca pana bhikkhave kātabbo: therena bhikkhunā ekaṃsaṃ uttarāsaṅgaṃ karitvā ukkuṭikaṃ nisīditvā añjaliṃ paggahetvā navo bhikkhu evam assa vacanīyo: parisuddho ahaṃ āvuso, parisuddho ’ti maṃ dhārehi, parisuddho ahaṃ āvuso, parisuddho (125) ’ti maṃ dhārehi, parisuddho ahaṃ āvuso, parisuddho ’ti maṃ dhārehīti. |6| 
อนุชานามิ ภิกฺขเว คิลาเนน ภิกฺขุนา ปาริสุทฺธึ ทาตุํ. 
navakena bhikkhunā ekaṃsaṃ uttarāsaṅgaṃ karitvā ukkuṭikaṃ nisīditvā añjaliṃ paggahetvā thero bhikkhu evam assa vacanīyo: parisuddho ahaṃ bhante, parisuddho ’ti maṃ dhāretha, parisuddho ahaṃ bhante, parisuddho ’ti maṃ dhāretha, parisuddho ahaṃ bhante, parisuddho ’ti maṃ dhārethā ’ti. |7| 
เอวญฺจ ปน ภิกฺขเว ทาตพฺพา เตน คิลาเนน ภิกฺขุนา เอกํ ภิกฺขุํ อุปสงฺกมิตฺวา เอกํสํ อุตฺตราสงฺคํ กริตฺวา อุกฺกุฏิกํ นิสีทิตฺวา อญฺชลึ ปคฺคเหตฺวา เอวมสฺส วจนีโย “ปาริสุทฺธึ ทมฺมิ ปาริสุทฺธึ เม หร ปาริสุทฺธึ เม อาโรเจหี”ติ. กาเยน วิญฺญาเปติ วาจาย วิญฺญาเปติ กาเยน วาจาย วิญฺญาเปติ ทินฺนา โหติ ปาริสุทฺธิ. น กาเยน วิญฺญาเปติ น วาจาย วิญฺญาเปติ น กาเยน วาจาย วิญฺญาเปติ น ทินฺนา โหติ ปาริสุทฺธิ. 
tena kho pana samayena aññatarasmiṃ āvāse tadah’ uposathe eko bhikkhu viharati.  atha kho tassa bhikkhuno etad ahosi: bhagavatā anuññātaṃ catunnaṃ pātimokkhaṃ uddisituṃ, tiṇṇannaṃ pārisuddhiuposathaṃ kātuṃ, dvinnaṃ pārisuddhiuposathaṃ kātuṃ, ahañ c’ amhi ekako.  kathaṃ nu kho mayā uposatho kātabbo ’ti.  bhagavato etam atthaṃ ārocesuṃ. |8| 
เอวญฺเจตํ ลเภถ อิจฺเจตํ กุสลํ.  โน เจ ลเภถ โส ภิกฺขเว คิลาโน ภิกฺขุ มญฺเจน วา ปีเฐน วา สงฺฆมชฺเฌ อาเนตฺวา อุโปสโถ กาตพฺโพ.  สเจ ภิกฺขเว คิลานุปฏฺฐากานํ ภิกฺขูนํ เอวํ โหติ “สเจ โข มยํ คิลานํ ฐานา จาเวสฺสาม อาพาโธ วา อภิวฑฺฒิสฺสติ กาลํกิริยา วา ภวิสฺสตี”ติ น ภิกฺขเว คิลาโน ภิกฺขุ ฐานา จาเวตพฺโพ. สงฺเฆน ตตฺถ คนฺตฺวา อุโปสโถ กาตพฺโพ. น ตฺเวว วคฺเคน สงฺเฆน อุโปสโถ กาตพฺโพ.  กเรยฺย เจ อาปตฺติ ทุกฺกฏสฺส. 
idha pana bhikkhave aññatarasmiṃ āvāse tadah’ uposathe eko bhikkhu viharati.  tena bhikkhave bhikkhunā yattha bhikkhū paṭikkamanti upaṭṭhānasālāya vā maṇḍape vā rukkhamūle vā, so deso sammajjitvā pāniyaṃ paribhojaniyaṃ upaṭṭhāpetvā āsanaṃ paññāpetvā padīpaṃ katvā nisīditabbaṃ.  sace aññe bhikkhū āgacchanti, tehi saddhiṃ uposatho kātabbo, no ce āgacchanti, ajja me uposatho ’ti adhiṭṭhātabbaṃ.  no ce adhiṭṭhaheyya, āpatti dukkaṭassa. |9| 
ปาริสุทฺธิหารโก เจ ภิกฺขเว ทินฺนาย ปาริสุทฺธิยา ตตฺเถว ปกฺกมติ อญฺญสฺส ทาตพฺพา ปาริสุทฺธิ.  ปาริสุทฺธิหารโก เจ ภิกฺขเว ทินฺนาย ปาริสุทฺธิยา ตตฺเถว วิพฺภมติฯเปฯ กาลํ กโรติ สามเณโร ปฏิชานาติ สิกฺขํ ปจฺจกฺขาตโก ปฏิชานาติ อนฺติมวตฺถุํ อชฺฌาปนฺนโก ปฏิชานาติ อุมฺมตฺตโก ปฏิชานาติ ขิตฺตจิตฺโต ปฏิชานาติ เวทนาฏฺโฏ ปฏิชานาติ อาปตฺติยา อทสฺสเน อุกฺขิตฺตโก ปฏิชานาติ อาปตฺติยา อปฺปฏิกมฺเม อุกฺขิตฺตโก ปฏิชานาติ ปาปิกาย ทิฏฺฐิยา อปฺปฏินิสฺสคฺเค อุกฺขิตฺตโก ปฏิชานาติ ปณฺฑโก ปฏิชานาติ เถยฺยสํวาสโก ปฏิชานาติ ติตฺถิยปกฺกนฺตโก ปฏิชานาติ ติรจฺฉานคโต ปฏิชานาติ มาตุฆาตโก ปฏิชานาติ ปิตุฆาตโก ปฏิชานาติ อรหนฺตฆาตโก ปฏิชานาติ ภิกฺขุนิทูสโก ปฏิชานาติ สงฺฆเภทโก ปฏิชานาติ โลหิตุปฺปาทโก ปฏิชานาติ อุภโตพฺยญฺชนโก ปฏิชานาติ อญฺญสฺส ทาตพฺพา ปาริสุทฺธิ.  ปาริสุทฺธิหารโก เจ ภิกฺขเว ทินฺนาย ปาริสุทฺธิยา อนฺตรามคฺเค ปกฺกมติ อนาหฏา โหติ ปาริสุทฺธิ.  ปาริสุทฺธิหารโก เจ ภิกฺขเว ทินฺนาย ปาริสุทฺธิยา อนฺตรามคฺเค วิพฺภมติฯเปฯ อุภโตพฺยญฺชนโก ปฏิชานาติ อนาหฏา โหติ ปาริสุทฺธิ. 
tatra bhikkhave yattha cattāro bhikkhū viharanti, na ekassa pārisuddhiṃ āharitvā tīhi pātimokkhaṃ uddisitabbaṃ.  uddiseyyuṃ ce, āpatti dukkaṭassa.  tatra bhikkhave yattha tayo bhikkhū viharanti, na ekassa pārisuddhiṃ āharitvā dvīhi pārisuddhiuposatho kātabbo.  kareyyuṃ ce, āpatti dukkaṭassa.  tatra bhikkhave yattha dve bhikkhū viharanti, na ekassa pārisuddhiṃ āharitvā ekena adhiṭṭhātabbaṃ.  adhiṭṭhaheyya ce, āpatti dukkaṭassā ’ti. |10| 
ปาริสุทฺธิหารโก เจ ภิกฺขเว ทินฺนาย ปาริสุทฺธิยา สงฺฆปฺปตฺโต ปกฺกมติ อาหฏา โหติ ปาริสุทฺธิ.  ปาริสุทฺธิหารโก เจ ภิกฺขเว ทินฺนาย ปาริสุทฺธิยา สงฺฆปฺปตฺโต วิพฺภมติฯเปฯ อุภโตพฺยญฺชนโก ปฏิชานาติ อาหฏา โหติ ปาริสุทฺธิ.  ปาริสุทฺธิหารโก เจ ภิกฺขเว ทินฺนาย ปาริสุทฺธิยา สงฺฆปฺปตฺโต สุตฺโต น อาโรเจติ ปมตฺโต น อาโรเจติ สมาปนฺโน น อาโรเจติ อาหฏา โหติ ปาริสุทฺธิ. ปาริสุทฺธิหารกสฺส อนาปตฺติ.  ปาริสุทฺธิหารโก เจ ภิกฺขเว ทินฺนาย ปาริสุทฺธิยา สงฺฆปฺปตฺโต สญฺจิจฺจ น อาโรเจติ อาหฏา โหติ ปาริสุทฺธิ. ปาริสุทฺธิหารกสฺส อาปตฺติ ทุกฺกฏสฺสาติ.     
||26|| 
(๘๘. ฉนฺททานกถา) ๑๖๕. อถ โข ภควา ภิกฺขู อามนฺเตสิ “สนฺนิปตถ ภิกฺขเว สงฺโฆ กมฺมํ กริสฺสตี”ติ 
tena kho pana samayena aññataro bhikkhu tadah’ uposathe āpattiṃ āpanno hoti.  atha kho tassa bhikkhuno etad ahosi: bhagavatā paññattaṃ na sāpattikena uposatho kātabbo ’ti, ahañ c’ amhi āpattiṃ āpanno.  kathaṃ nu kho mayā paṭipajjitabban ti.  bhagavato etam atthaṃ ārocesuṃ.  idha pana bhikkhave bhikkhu tadah’ uposathe āpattiṃ āpanno hoti.  tena bhikkhave bhikkhunā ekaṃ bhikkhuṃ upasaṃkamitvā ekaṃsaṃ uttarāsaṅgaṃ karitvā ukkuṭikaṃ (126) nisīditvā añjaliṃ paggahetvā evam assa vacanīyo: ahaṃ āvuso itthannāmaṃ āpattiṃ āpanno, taṃ paṭidesemīti.  tena vattabbo: passasīti.  āma passāmīti.  āyatiṃ saṃvareyyāsīti. |1| 
เอวํ วุตฺเต อญฺญตโร ภิกฺขุ ภควนฺตํ เอตทโวจ “อตฺถิ ภนฺเต ภิกฺขุ คิลาโน โส อนาคโต”ติ.  อนุชานามิ ภิกฺขเว คิลาเนน ภิกฺขุนา ฉนฺทํ ทาตุํ.  เอวญฺจ ปน ภิกฺขเว ทาตพฺโพ. เตน คิลาเนน ภิกฺขุนา เอกํ ภิกฺขุํ อุปสงฺกมิตฺวา เอกํสํ อุตฺตราสงฺคํ กริตฺวา อุกฺกุฏิกํ นิสีทิตฺวา อญฺชลึ ปคฺคเหตฺวา เอวมสฺส วจนีโย “ฉนฺทํ ทมฺมิ ฉนฺทํ เม หร ฉนฺทํ เม อาโรเจหี”ติ. กาเยน วิญฺญาเปติ วาจาย วิญฺญาเปติ กาเยน วาจาย วิญฺญาเปติ ทินฺโน โหติ ฉนฺโท. น กาเยน วิญฺญาเปติ น วาจาย วิญฺญาเปติ น กาเยน วาจาย วิญฺญาเปติ น ทินฺโน โหติ ฉนฺโท.  เอวญฺเจตํ ลเภถ อิจฺเจตํ กุสลํ.  โน เจ ลเภถ โส ภิกฺขเว คิลาโน ภิกฺขุ มญฺเจน วา ปีเฐน วา สงฺฆมชฺเฌ อาเนตฺวา กมฺมํ กาตพฺพํ.  สเจ ภิกฺขเว คิลานุปฏฺฐากานํ ภิกฺขูนํ เอวํ โหติ “สเจ โข มยํ คิลานํ ฐานา จาเวสฺสาม อาพาโธ วา อภิวฑฺฒิสฺสติ กาลํกิริยา วา ภวิสฺสตี”ติ น ภิกฺขเว คิลาโน ภิกฺขุ ฐานา จาเวตพฺโพ. สงฺเฆน ตตฺถ คนฺตฺวา กมฺมํ กาตพฺพํ. น ตฺเวว วคฺเคน สงฺเฆน กมฺมํ กาตพฺพํ.  กเรยฺย เจ อาปตฺติ ทุกฺกฏสฺส.  ฉนฺทหารโก เจ ภิกฺขเว ทินฺเน ฉนฺเท ตตฺเถว ปกฺกมติ อญฺญสฺส ทาตพฺโพ ฉนฺโท.  ฉนฺทหารโก เจ ภิกฺขเว ทินฺเน ฉนฺเท ตตฺเถว วิพฺภมติฯเปฯ กาลํกโรติ สามเณโร ปฏิชานาติ สิกฺขํ ปจฺจกฺขาตโก ปฏิชานาติ อนฺติมวตฺถุํ อชฺฌาปนฺนโก ปฏิชานาติ อุมฺมตฺตโก ปฏิชานาติ ขิตฺตจิตฺโต ปฏิชานาติ เวทนาฏฺโฏ ปฏิชานาติ อาปตฺติยา อทสฺสเน อุกฺขิตฺตโก ปฏิชานาติ อาปตฺติยา อปฺปฏิกมฺเม อุกฺขิตฺตโก ปฏิชานาติ ปาปิกาย ทิฏฺฐิยา อปฺปฏินิสฺสคฺเค อุกฺขิตฺตโก ปฏิชานาติ ปณฺฑโก ปฏิชานาติ เถยฺยสํวาสโก ปฏิชานาติ ติตฺถิยปกฺกนฺตโก ปฏิชานาติ ติรจฺฉานคโต ปฏิชานาติ มาตุฆาตโก ปฏิชานาติ ปิตุฆาตโก ปฏิชานาติ อรหนฺตฆาตโก ปฏิชานาติ ภิกฺขุนิทูสโก ปฏิชานาติ สงฺฆเภทโก ปฏิชานาติ โลหิตุปฺปาทโก ปฏิชานาติ อุภโตพฺยญฺชนโก ปฏิชานาติ อญฺญสฺส ทาตพฺโพ ฉนฺโท. 
idha pana bhikkhave bhikkhu tadah’ uposathe āpattiyā vematiko hoti.  tena bhikkhave bhikkhunā ekaṃ bhikkhuṃ upasaṃkamitvā ekaṃsaṃ ... evam assa vacanīyo: ahaṃ āvuso itthannāmāya āpattiyā vematiko, yadā nibbematiko bhavissāmi, tadā taṃ āpattiṃ paṭikarissāmīti vatvā uposatho kātabbo pātimokkhaṃ sotabbaṃ, na tv eva tappaccayā uposathassa antarāyo kātabbo ’ti. |2| 
ฉนฺทหารโก เจ ภิกฺขเว ทินฺเน ฉนฺเท อนฺตรามคฺเค ปกฺกมติ อนาหโฏ โหติ ฉนฺโท.  ฉนฺทหารโก เจ ภิกฺขเว ทินฺเน ฉนฺเท อนฺตรามคฺเค วิพฺภมติฯเปฯ อุภโตพฺยญฺชนโก ปฏิชานาติ อนาหโฏ โหติ ฉนฺโท. ฉนฺทหารโก เจ ภิกฺขเว ทินฺเน ฉนฺเท สงฺฆปฺปตฺโต ปกฺกมติ อาหโฏ โหติ ฉนฺโท. ฉนฺทหารโก เจ ภิกฺขเว ทินฺเน ฉนฺเท สงฺฆปฺปตฺโต วิพฺภมติฯเปฯ อุภโตพฺยญฺชนโก ปฏิชานาติ อาหโฏ โหติ ฉนฺโท. ฉนฺทหารโก เจ ภิกฺขเว ทินฺเน ฉนฺเท สงฺฆปฺปตฺโต สุตฺโต น อาโรเจติ ปมตฺโต น อาโรเจติ สมาปนฺโน น อาโรเจติ อาหโฏ โหติ ฉนฺโท. ฉนฺทหารกสฺส อนาปตฺติ. ฉนฺทหารโก เจ ภิกฺขเว ทินฺเน ฉนฺเท สงฺฆปฺปตฺโต สญฺจิจฺจ น อาโรเจติ อาหโฏ โหติ ฉนฺโท. ฉนฺทหารกสฺส อาปตฺติ ทุกฺกฏสฺส. 
tena kho pana samayena chabbaggiyā bhikkhū sabhāgaṃ āpattiṃ desenti.  bhagavato etam atthaṃ ārocesuṃ.  na bhikkhave sabhāgā āpatti desetabbā.  yo deseyya, āpatti dukkaṭassā ’ti.  tena kho pana samayena chabbaggiyā bhikkhū sabhāgaṃ āpattiṃ paṭigaṇhanti.  bhagavato etam atthaṃ ārocesuṃ.  na bhikkhave sabhāgā āpatti paṭiggahetabbā.  yo paṭigaṇheyya, āpatti dukkaṭassā ’ti. |3| 
อนุชานามิ ภิกฺขเว ตทหุโปสเถ ปาริสุทฺธึ เทนฺเตน ฉนฺทมฺปิ ทาตุํ สนฺติ สงฺฆสฺส กรณียนฺติ.      (๘๙. ญาตกาทิคฺคหณกถา) ๑๖๖. เตน โข ปน สมเยน อญฺญตรํ ภิกฺขุํ ตทหุโปสเถ ญาตกา คณฺหึสุํ.  ภควโต เอตมตฺถํ อาโรเจสุํ.  อิธ ปน ภิกฺขเว ภิกฺขุํ ตทหุโปสเถ ญาตกา คณฺหนฺติ.  เต ญาตกา ภิกฺขูหิ เอวมสฺสุ วจนียา “อิงฺฆ ตุมฺเห อายสฺมนฺโต อิมํ ภิกฺขุํ มุหุตฺตํ มุญฺจถ ยาวายํ ภิกฺขุ อุโปสถํ กโรตี”ติ.  เอวญฺเจตํ ลเภถ อิจฺเจตํ กุสลํ. โน เจ ลเภถ เต ญาตกา ภิกฺขูหิ เอวมสฺสุ วจนียา “อิงฺฆ ตุมฺเห อายสฺมนฺโต มุหุตฺตํ เอกมนฺตํ โหถ ยาวายํ ภิกฺขุ ปาริสุทฺธึ เทตี”ติ. 
tena kho pana samayena aññataro bhikkhu pātimokkhe uddissamāne āpattiṃ sarati.  atha kho tassa bhikkhuno etad ahosi: bhagavatā paññattaṃ na sāpattikena uposatho kātabbo ’ti, ahañ c’ amhi āpattiṃ āpanno.  kathaṃ nu kho mayā paṭipajjitabban ti.  bhagavato etam atthaṃ ārocesuṃ.  idha pana bhikkhave bhikkhu pātimokkhe uddissamāne āpattiṃ sarati.  tena bhikkhave bhikkhunā sāmantā bhikkhu evam assa vacanīyo: ahaṃ āvuso itthannāmaṃ āpattiṃ āpanno, ito vuṭṭhahitvā taṃ āpattiṃ paṭikarissāmīti vatvā uposatho kātabbo pātimokkhaṃ sotabbaṃ, na tv eva tappaccayā uposathassa antarāyo kātabbo. |4| 
เอวญฺเจตํ ลเภถ อิจฺเจตํ กุสลํ.  โน เจ ลเภถ เต ญาตกา ภิกฺขูหิ เอวมสฺสุ วจนียา “อิงฺฆ ตุมฺเห อายสฺมนฺโต อิมํ ภิกฺขุํ มุหุตฺตํ นิสฺสีมํ เนถ ยาว สงฺโฆ อุโปสถํ กโรตี”ติ.  เอวญฺเจตํ ลเภถ อิจฺเจตํ กุสลํ. โน เจ ลเภถ น ตฺเวว วคฺเคน สงฺเฆน อุโปสโถ กาตพฺโพ.  กเรยฺย เจ อาปตฺติ ทุกฺกฏสฺส.  อิธ ปน ภิกฺขเว ภิกฺขุํ ตทหุโปสเถ ราชาโน คณฺหนฺติฯเปฯ โจรา คณฺหนฺติ ธุตฺตา คณฺหนฺติ ภิกฺขุปจฺจตฺถิกา คณฺหนฺติ  เต ภิกฺขุปจฺจตฺถิกา ภิกฺขูหิ เอวมสฺสุ วจนียา “อิงฺฆ ตุมฺเห อายสฺมนฺโต อิมํ ภิกฺขุํ มุหุตฺตํ มุญฺจถ ยาวายํ ภิกฺขุ อุโปสถํ กโรตี”ติ. เอวญฺเจตํ ลเภถ อิจฺเจตํ กุสลํ. โน เจ ลเภถ เต ภิกฺขุปจฺจตฺถิกา ภิกฺขูหิ เอวมสฺสุ วจนียา “อิงฺฆ ตุมฺเห อายสฺมนฺโต มุหุตฺตํ เอกมนฺตํ โหถ ยาวายํ ภิกฺขุ ปาริสุทฺธึ เทตี”ติ. เอวญฺเจตํ ลเภถ อิจฺเจตํ กุสลํ. โน เจ ลเภถ เต ภิกฺขุปจฺจตฺถิกา ภิกฺขูหิ เอวมสฺสุ วจนียา “อิงฺฆ ตุมฺเห อายสฺมนฺโต อิมํ ภิกฺขุํ มุหุตฺตํ นิสฺสีมํ เนถ ยาว สงฺโฆ อุโปสถํ กโรตี”ติ. เอวญฺเจตํ ลเภถ อิจฺเจตํ กุสลํ. โน เจ ลเภถ น ตฺเวว วคฺเคน สงฺเฆน อุโปสโถ กาตพฺโพ. 
idha pana bhikkhave bhikkhu pātimokkhe uddissamāne āpattiyā vematiko hoti.  tena bhikkhave bhikkhunā sāmantā bhikkhu evam assa vacanīyo: ahaṃ āvuso itthannāmāya āpattiyā vematiko, yadā nibbematiko bhavissāmi, tadā taṃ āpattiṃ paṭikarissāmīti vatvā uposatho kātabbo pātimokkhaṃ sotabbaṃ, na tv eva tappaccayā uposathassa antarāyo kātabbo ’ti. |5| 
กเรยฺย เจ อาปตฺติ ทุกฺกฏสฺสาติ.   
tena kho pana samayena aññatarasmiṃ āvāse tadah’ uposathe sabbo saṃgho sabhāgaṃ āpattiṃ āpanno hoti.  atha kho tesaṃ bhikkhūnaṃ etad ahosi: bhagavatā paññattaṃ na sabhāgā āpatti desetabbā, na sabhāgā āpatti paṭigga (127) hetabbā ’ti, ayañ ca sabbo saṃgho sabhāgaṃ āpattiṃ āpanno.  kathaṃ nu kho amhehi paṭipajjitabban ti.  bhagavato etam atthaṃ ārocesuṃ.  idha pana bhikkhave aññatarasmiṃ āvāse tadah’ uposathe sabbo saṃgho sabhāgaṃ āpattiṃ āpanno hoti.  tehi bhikkhave bhikkhūhi eko bhikkhu sāmantā āvāsā sajjukaṃ pāhetabbo gacchāvuso taṃ āpattiṃ paṭikaritvā āgaccha, mayaṃ te santike āpattiṃ paṭikarissāmā ’ti. |6| 
  (๙๐. อุมฺมตฺตกสมฺมุติ) ๑๖๗. อถ โข ภควา ภิกฺขู อามนฺเตสิ “สนฺนิปตถ ภิกฺขเว อตฺถิ สงฺฆสฺส กรณีย”นฺติ.  เอวํ วุตฺเต อญฺญตโร ภิกฺขุ ภควนฺตํ เอตทโวจ “อตฺถิ ภนฺเต คคฺโค นาม ภิกฺขุ อุมฺมตฺตโก โส อนาคโต”ติ.  “ทฺเวเม ภิกฺขเว อุมฺมตฺตกา อตฺถิ ภิกฺขเว ภิกฺขุ อุมฺมตฺตโก สรติปิ อุโปสถํ นปิ สรติ สรติปิ สงฺฆกมฺมํ นปิ สรติ อตฺถิ เนว สรติ อาคจฺฉติปิ อุโปสถํ นปิ อาคจฺฉติ อาคจฺฉติปิ สงฺฆกมฺมํ นปิ อาคจฺฉติ อตฺถิ เนว อาคจฺฉติ.  ตตฺร ภิกฺขเว ยฺวายํ อุมฺมตฺตโก สรติปิ อุโปสถํ นปิ สรติ สรติปิ สงฺฆกมฺมํ นปิ สรติ อาคจฺฉติปิ อุโปสถํ นปิ อาคจฺฉติ อาคจฺฉติปิ สงฺฆกมฺมํ นปิ อาคจฺฉติ อนุชานามิ ภิกฺขเว เอวรูปสฺส อุมฺมตฺตกสฺส อุมฺมตฺตกสมฺมุตฺตึ ทาตุํ.  เอวญฺจ ปน ภิกฺขเว ทาตพฺพา. พฺยตฺเตน ภิกฺขุนา ปฏิพเลน สงฺโฆ ญาเปตพฺโพ “สุณาตุ เม ภนฺเต สงฺโฆ. 
evañ ce taṃ labhetha, icc etaṃ kusalaṃ, no ce labhetha, vyattena bhikkhunā paṭibalena saṃgho ñāpetabbo: suṇātu me bhante saṃgho.  ayaṃ sabbo saṃgho sabhāgaṃ āpattiṃ āpanno.  yadā aññaṃ bhikkhuṃ suddhaṃ anāpattikaṃ passissati, tadā tassa santike taṃ āpattiṃ paṭikarissatīti vatvā uposatho kātabbo pātimokkhaṃ uddisitabbaṃ, na tv eva tappaccayā uposathassa antarāyo kātabbo. |7| 
คคฺโค ภิกฺขุ อุมฺมตฺตโก สรติปิ อุโปสถํ นปิ สรติ สรติปิ สงฺฆกมฺมํ นปิ สรติ อาคจฺฉติปิ อุโปสถํ นปิ อาคจฺฉติ อาคจฺฉติปิ สงฺฆกมฺมํ นปิ อาคจฺฉติ.  ยทิ สงฺฆสฺส ปตฺตกลฺลํ สงฺโฆ คคฺคสฺส ภิกฺขุโน อุมฺมตฺตกสฺส อุมฺมตฺตกสมฺมุตึ ทเทยฺย. สเรยฺย วา คคฺโค ภิกฺขุ อุโปสถํ น วา สเรยฺย สเรยฺย วา สงฺฆกมฺมํ น วา สเรยฺย อาคจฺเฉยฺย วา อุโปสถํ น วา อาคจฺเฉยฺย อาคจฺเฉยฺย วา สงฺฆกมฺมํ น วา อาคจฺเฉยฺย สงฺโฆ สห วา คคฺเคน วินา วา คคฺเคน อุโปสถํ กเรยฺย สงฺฆกมฺมํ กเรยฺย.  เอสา ญตฺติ. 
idha pana bhikkhave aññatarasmiṃ āvāse tadah’ uposathe sabbo saṃgho sabhāgāya āpattiyā vematiko hoti.  vyattena bhikkhunā paṭibalena saṃgho ñāpetabbo: suṇātu me bhante saṃgho.  ayaṃ sabbo saṃgho sabhāgāya āpattiyā vematiko.  yadā nibbematiko bhavissati, tadā taṃ āpattiṃ paṭikarissatīti vatvā uposatho kātabbo pātimokkhaṃ uddisitabbaṃ, na tv eva tappaccayā uposathassa antarāyo kātabbo. |8| 
“สุณาตุ เม ภนฺเต สงฺโฆ.  คคฺโค ภิกฺขุ อุมฺมตฺตโก สรติปิ อุโปสถํ นปิ สรติ สรติปิ สงฺฆกมฺมํ นปิ สรติ อาคจฺฉติปิ อุโปสถํ นปิ อาคจฺฉติ อาคจฺฉติปิ สงฺฆกมฺมํ นปิ อาคจฺฉติ.  สงฺโฆ คคฺคสฺส ภิกฺขุโน อุมฺมตฺตกสฺส อุมฺมตฺตกสมฺมุตึ เทติ. สเรยฺย วา คคฺโค ภิกฺขุ อุโปสถํ น วา สเรยฺย สเรยฺย วา สงฺฆกมฺมํ น วา สเรยฺยํ อาคจฺเฉยฺย วา อุโปสถํ น วา อาคจฺเฉยฺย อาคจฺเฉยฺย วา สงฺฆกมฺมํ น วา อาคจฺเฉยฺย สงฺโฆ สห วา คคฺเคน วินา วา คคฺเคน อุโปสถํ กริสฺสติ สงฺฆกมฺมํ กริสฺสติ.  ยสฺสายสฺมโต ขมติ คคฺคสฺส ภิกฺขุโน อุมฺมตฺตกสฺส อุมฺมตฺตกสมฺมุติยา ทานํ สเรยฺย วา คคฺโค ภิกฺขุ อุโปสถํ น วา สเรยฺย สเรยฺย วา สงฺฆกมฺมํ น วา สเรยฺย อาคจฺเฉยฺย วา อุโปสถํ น วา อาคจฺเฉยฺย อาคจฺเฉยฺย วา สงฺฆกมฺมํ น วา อาคจฺเฉยฺย สงฺโฆ สห วา คคฺเคน วินา วา คคฺเคน อุโปสถํ กริสฺสติ สงฺฆกมฺมํ กริสฺสติ โส ตุณฺหสฺส ยสฺส นกฺขมติ โส ภาเสยฺย. 
idha pana bhikkhave aññatarasmiṃ āvāse vassupagato saṃgho sabhāgaṃ āpattiṃ āpanno hoti.  tehi bhikkhave bhikkhūhi eko bhikkhu ...(= 6.7) ...no ce labhetha, eko bhikkhu sattāhakālikaṃ pāhetabbo gacchāvuso taṃ āpattiṃ paṭikaritvā āgaccha, mayaṃ te santike taṃ āpattiṃ paṭikarissāmā ’ti. |9| 
“ทินฺนา สงฺเฆน คคฺคสฺส ภิกฺขุโน อุมฺมตฺตกสฺส อุมฺมตฺตกสมฺมุติ. สเรยฺย วา คคฺโค ภิกฺขุ อุโปสถํ น วา สเรยฺย สเรยฺย วา สงฺฆกมฺมํ น วา สเรยฺย อาคจฺเฉยฺย วา อุโปสถํ น วา อาคจฺเฉยฺย อาคจฺเฉยฺย วา สงฺฆกมฺมํ น วา อาคจฺเฉยฺย สงฺโฆ สห วา คคฺเคน วินา วา คคฺเคน อุโปสถํ กริสฺสติ สงฺฆกมฺมํ กริสฺสติ.  ขมติ สงฺฆสฺส ตสฺมา ตุณฺหี เอวเมตํ ธารยามี”ติ. 
tena kho pana samayena aññatarasmiṃ āvāse sabbo saṃgho sabhāgaṃ āpattiṃ āpanno hoti, so na jānāti tassā āpattiyā nāmaṃ gottaṃ.  tatth’ añño bhikkhu āgacchati bahussuto āgatāgamo dhammadharo vinayadharo mātikādharo paṇḍito vyatto medhāvī lajjī kukkuccako sikkhākāmo, tam enaṃ aññataro bhikkhu yena so bhikkhu ten’ upasaṃkami, upasaṃkamitvā taṃ bhikkhuṃ etad avoca: yo nu kho āvuso evañ c’ evañ ca karoti, kiṃ nāma so āpattiṃ āpajjatīti. |10| 
   
so evaṃ āha: yo kho āvuso evañ c’ evañ ca karoti, imaṃ nāma so āpattiṃ āpajjati.  imaṃ nāma tvaṃ āvuso āpattiṃ āpanno paṭikarohi taṃ āpattin ti.  so evaṃ āha: na kho ahaṃ āvuso eko ’va imaṃ āpattiṃ āpanno, ayaṃ (128) sabbo saṃgho imaṃ āpattiṃ āpanno ’ti.  so evaṃ āha: kin te āvuso karissati paro āpanno vā anāpanno vā.  iṅgha tvaṃ āvuso sakāya āpattiyā vuṭṭhahā ’ti. |11| 
(๙๑. สงฺฆุโปสถาทิปฺปเภทํ) ๑๖๘. เตน โข ปน สมเยน อญฺญตรสฺมึ อาวาเส ตทหุโปสเถ จตฺตาโร ภิกฺขู วิหรนฺติ.  อถ โข เตสํ ภิกฺขูนํ เอตทโหสิ “ภควตา ปญฺญตฺตํ ‘อุโปสโถ กาตพฺโพ’ติ มยญฺจมฺหา จตฺตาโร ชนา  กถํ นุ โข อมฺเหหิ อุโปสโถ กาตพฺโพ”ติ?  ภควโต เอตมตฺถํ อาโรเจสุํ.  อนุชานามิ ภิกฺขเว จตุนฺนํ ปาติโมกฺขํ อุทฺทิสิตุนฺติ. 
atha kho so bhikkhu tassa bhikkhuno vacanena taṃ āpattiṃ paṭikaritvā yena te bhikkhū ten’ upasaṃkami, upasaṃkamitvā te bhikkhū etad avoca: yo kira āvuso evañ c’ evañ ca karoti, imaṃ nāma so āpattiṃ āpajjati.  imaṃ nāma tumhe āvuso āpattiṃ āpannā paṭikarotha taṃ āpattin ti.  atha kho te bhikkhū na icchiṃsu tassa bhikkhuno vacanena taṃ āpattiṃ paṭikātuṃ.  bhagavato etam atthaṃ ārocesuṃ. |12| 
เตน โข ปน สมเยน อญฺญตรสฺมึ อาวาเส ตทหุโปสเถ ตโย ภิกฺขู วิหรนฺติ.  อถ โข เตสํ ภิกฺขูนํ เอตทโหสิ “ภควตา อนุญฺญาตํ จตุนฺนํ ปาติโมกฺขํ อุทฺทิสิตุํ มยญฺจมฺหา ตโย ชนา  กถํ นุ โข อมฺเหหิ อุโปสโถ กาตพฺโพ”ติ?  ภควโต เอตมตฺถํ อาโรเจสุํ. 
idha pana bhikkhave aññatarasmiṃ āvāse sabbo saṃgho sabhāgaṃ āpattiṃ āpanno hoti, so na jānāti tassā āpattiyā nāmaṃ gottaṃ.  tatth’ añño bhikkhu āgacchati bahussuto ...sikkhākāmo, tam enaṃ aññataro bhikkhu yena so bhikkhu ten’ upasaṃkami, upasaṃkamitvā taṃ bhikkhuṃ evaṃ vadeti: yo nu kho āvuso evañ c’ evañ ca karoti kiṃ nāma so āpattiṃ āpajjatīti. |13| 
อนุชานามิ ภิกฺขเว ติณฺณํ ปาริสุทฺธิอุโปสถํ กาตุํ.  เอวญฺจ ปน ภิกฺขเว กาตพฺโพ. พฺยตฺเตน ภิกฺขุนา ปฏิพเลน เต ภิกฺขู ญาเปตพฺพา “สุณนฺตุ เม อายสฺมนฺตา. 
so evaṃ vadeti: yo kho āvuso evañ c’ evañ ca karoti, imaṃ nāma so āpattiṃ āpajjati.  imaṃ nāma tvaṃ āvuso āpattiṃ āpanno paṭikarohi taṃ āpattin ti.  so evaṃ vadeti: na kho ahaṃ āvuso eko ’va imaṃ āpattiṃ āpanno, ayaṃ sabbo saṃgho imaṃ āpattiṃ āpanno ’ti.  so evaṃ vadeti: kin te āvuso karissati paro āpanno vā anāpanno vā.  iṅgha tvaṃ āvuso sakāya āpattiyā vuṭṭhahā ’ti. |14| 
อชฺชุโปสโถ ปนฺนรโส.  ยทายสฺมนฺตานํ ปตฺตกลฺลํ มยํ อญฺญมญฺญํ ปาริสุทฺธิอุโปสถํ กเรยฺยามา”ติ.  เถเรน ภิกฺขุนา เอกํสํ อุตฺตราสงฺคํ กริตฺวา อุกฺกุฏิกํ นิสีทิตฺวา อญฺชลึ ปคฺคเหตฺวา เต ภิกฺขู เอวมสฺสุ วจนียา “ปริสุทฺโธ อหํ อาวุโส ปริสุทฺโธติ มํ ธาเรถ. ปริสุทฺโธ อหํ อาวุโส ปริสุทฺโธติ มํ ธาเรถ. ปริสุทฺโธ อหํ อาวุโส ปริสุทฺโธติ มํ ธาเรถา”ติ.  นวเกน ภิกฺขุนา เอกํสํ อุตฺตราสงฺคํ กริตฺวา อุกฺกุฏิกํ นิสีทิตฺวา อญฺชลึ ปคฺคเหตฺวา เต ภิกฺขู เอวมสฺสุ วจนียา “ปริสุทฺโธ อหํ ภนฺเต ปริสุทฺโธติ มํ ธาเรถ. ปริสุทฺโธ อหํ ภนฺเต ปริสุทฺโธติ มํ ธาเรถ. ปริสุทฺโธ อหํ ภนฺเต ปริสุทฺโธติ มํ ธาเรถา”ติ.  เตน โข ปน สมเยน อญฺญตรสฺมึ อาวาเส ตทหุโปสเถ ทฺเว ภิกฺขู วิหรนฺติ. 
so ce bhikkhave bhikkhu tassa bhikkhuno vacanena taṃ āpattiṃ paṭikaritvā yena te bhikkhū ten’ upasaṃkami, upasaṃkamitvā te bhikkhū evaṃ vadeti: yo kira āvuso evañ c’ evañ ca karoti, imaṃ nāma so āpattiṃ āpajjati, imaṃ nāma tumhe āvuso āpattiṃ āpannā paṭikarotha taṃ āpattin ti, te ce bhikkhave bhikkhū tassa bhikkhuno vacanena taṃ āpattiṃ paṭikareyyuṃ, icc etaṃ kusalaṃ, no ce paṭikareyyuṃ, na te bhikkhave bhikkhū tena bhikkhunā akāmā vacanīyā ’ti. |15| 
อถ โข เตสํ ภิกฺขูนํ เอตทโหสิ “ภควตา อนุญฺญาตํ จตุนฺนํ ปาติโมกฺขํ อุทฺทิสิตุํ ติณฺณนฺนํ ปาริสุทฺธิอุโปสถํ กาตุํ. มยญฺจมฺหา ทฺเว ชนา. 
||27|| 
กถํ นุ โข อมฺเหหิ อุโปสโถ กาตพฺโพ”ติ? 
Codanāvatthubhāṇavāraṃ niṭṭhitaṃ.  tena kho pana samayena aññatarasmiṃ āvāse tadah’ uposathe sambahulā āvāsikā bhikkhū sannipatiṃsu cattāro vā atirekā vā, te na jāniṃsu atth’ aññe āvāsikā bhikkhū anāgatā (129) ’ti.  te dhammasaññino vinayasaññino vaggā samaggasaññino uposathaṃ akaṃsu pātimokkhaṃ uddisiṃsu.  tehi uddissamāne pātimokkhe ath’ aññe āvāsikā bhikkhū āgacchiṃsu bahutarā.  bhagavato etam atthaṃ ārocesuṃ. |1| 
ภควโต เอตมตฺถํ อาโรเจสุํ.  อนุชานามิ ภิกฺขเว ทฺวินฺนํ ปาริสุทฺธิอุโปสถํ กาตุํ  เอวญฺจ ปน ภิกฺขเว กาตพฺโพ. เถเรน ภิกฺขุนา เอกํสํ อุตฺตราสงฺคํ กริตฺวา อุกฺกุฏิกํ นิสีทิตฺวา อญฺชลึ ปคฺคเหตฺวา นโว ภิกฺขุ เอวมสฺส วจนีโย “ปริสุทฺโธ อหํ อาวุโส ปริสุทฺโธติ มํ ธาเรหิ. ปริสุทฺโธ อหํ อาวุโส ปริสุทฺโธติ มํ ธาเรหิ. ปริสุทฺโธ อหํ อาวุโส ปริสุทฺโธติ มํ ธาเรหี”ติ.  นวเกน ภิกฺขุนา เอกํสํ อุตฺตราสงฺคํ กริตฺวา อุกฺกุฏิกํ นิสีทิตฺวา อญฺชลึ ปคฺคเหตฺวา เถโร ภิกฺขุ เอวมสฺส วจนีโย “ปริสุทฺโธ อหํ ภนฺเต ปริสุทฺโธติ มํ ธาเรถ. ปริสุทฺโธ อหํ ภนฺเต ปริสุทฺโธติ มํ ธาเรถ. ปริสุทฺโธ อหํ ภนฺเต ปริสุทฺโธติ มํ ธาเรถา”ติ.  เตน โข ปน สมเยน อญฺญตรสฺมึ อาวาเส ตทหุโปสเถ เอโก ภิกฺขุ วิหรติ. 
idha pana bhikkhave aññatarasmiṃ āvāse tadah’ uposathe sambahulā āvāsikā bhikkhū sannipatanti cattāro vā atirekā vā, te na jānanti atth’ aññe āvāsikā bhikkhū anāgatā ’ti.  te dhammasaññino vinayasaññino vaggā samaggasaññino uposathaṃ karonti pātimokkhaṃ uddisanti.  tehi uddissamāne pātimokkhe ath’ aññe āvāsikā bhikkhū āgacchanti bahutarā.  tehi bhikkhave bhikkhūhi puna pātimokkhaṃ uddisitabbaṃ, uddesakānaṃ anāpatti. |2| 
อถ โข ตสฺส ภิกฺขุโน เอตทโหสิ “ภควตา อนุญฺญาตํ จตุนฺนํ ปาติโมกฺขํ อุทฺทิสิตุํ ติณฺณนฺนํ ปาริสุทฺธิอุโปสถํ กาตุํ ทฺวินฺนํ ปาริสุทฺธิอุโปสถํ กาตุํ. อหญฺจมฺหิ เอกโก.  กถํ นุ โข มยา อุโปสโถ กาตพฺโพ”ติ?  ภควโต เอตมตฺถํ อาโรเจสุํ.  อิธ ปน ภิกฺขเว อญฺญตรสฺมึ อาวาเส ตทหุโปสเถ เอโก ภิกฺขุ วิหรติ. 
idha pana bhikkhave aññatarasmiṃ āvāse tadah’ uposathe ...(= 2) ...tehi uddissamāne {pātimokkhe} ath’ aññe āvāsikā bhikkhū āgacchanti samasamā.  uddiṭṭhaṃ suddiṭṭhaṃ, avasesaṃ sotabbaṃ, uddesakānaṃ anāpatti.  idha pana bhikkhave aññatarasmiṃ āvāse tadah’ uposathe ...(= 2) ...tehi uddissamāne pātimokkhe ath’ aññe āvāsikā bhikkhū āgacchanti thokatarā.  uddiṭṭhaṃ suddiṭṭhaṃ, avasesaṃ sotabbaṃ, uddesakānaṃ anāpatti. |3| 
เตน ภิกฺขเว ภิกฺขุนา ยตฺถ ภิกฺขู ปฏิกฺกมนฺติ อุปฏฺฐานสาลาย วา มณฺฑเป วา รุกฺขมูเล วา โส เทโส สมฺมชฺชิตฺวา ปานียํ ปริโภชนียํ อุปฏฺฐาเปตฺวา อาสนํ ปญฺญเปตฺวา ปทีปํ กตฺวา นิสีทิตพฺพํ.  สเจ อญฺเญ ภิกฺขู อาคจฺฉนฺติ เตหิ สทฺธึ อุโปสโถ กาตพฺโพ. โน เจ อาคจฺฉนฺติ อชฺช เม อุโปสโถติ อธิฏฺฐาตพฺโพ.  โน เจ อธิฏฺฐเหยฺย อาปตฺติ ทุกฺกฏสฺส.  ตตฺร ภิกฺขเว ยตฺถ จตฺตาโร ภิกฺขู วิหรนฺติ น เอกสฺส ปาริสุทฺธึ อาหริตฺวา ตีหิ ปาติโมกฺขํ อุทฺทิสิตพฺพํ. 
idha pana bhikkhave aññatarasmiṃ āvāse tadah’ uposathe ...tehi uddiṭṭhamatte pātimokkhe ath’ aññe āvāsikā bhikkhū āgacchanti bahutarā.  tehi bhikkhave bhikkhūhi puna pātimokkhaṃ uddisitabbaṃ, uddesakānaṃ anāpatti.  idha pana bhikkhave aññatarasmiṃ āvāse tadah’ uposathe ...tehi uddiṭṭhamatte pātimokkhe ath’ aññe āvāsikā bhikkhū āgacchanti samasamā.  uddiṭṭhaṃ suddiṭṭhaṃ, tesaṃ santike pārisuddhi ārocetabbā, uddesakānaṃ anāpatti.  idha pana bhikkhave aññatarasmiṃ āvāse tadah’ uposathe ...tehi uddiṭṭhamatte pātimokkhe ath’ aññe āvāsikā bhikkhū {āgacchanti} thokatarā.  uddiṭṭhaṃ suddiṭṭhaṃ, tesaṃ santike pārisuddhi ārocetabbā, uddesakānaṃ anāpatti. |4| 
อุทฺทิเสยฺยุํ เจ อาปตฺติ ทุกฺกฏสฺส.  ตตฺร ภิกฺขเว ยตฺถ ตโย ภิกฺขู วิหรนฺติ น เอกสฺส ปาริสุทฺธึ อาหริตฺวา ทฺวีหิ ปาริสุทฺธิอุโปสโถ กาตพฺโพ.  กเรยฺยุํ เจ อาปตฺติ ทุกฺกฏสฺส.  ตตฺร ภิกฺขเว ยตฺถ ทฺเว ภิกฺขู วิหรนฺติ น เอกสฺส ปาริสุทฺธึ อาหริตฺวา เอเกน อธิฏฺฐาตพฺโพ.  อธิฏฺฐเหยฺย เจ อาปตฺติ ทุกฺกฏสฺสาติ.   
idha pana bhikkhave aññatarasmiṃ āvāse tadah’ uposathe ...tehi uddiṭṭhamatte pātimokkhe avuṭṭhitāya parisāya ath’ aññe āvāsikā bhikkhū āgacchanti bahutarā.  tehi bhikkhave bhikkhūhi puna pātimokkhaṃ uddisitabbaṃ, uddesakānaṃ anāpatti.  idha pana bhikkhave aññatarasmiṃ āvāse tadah’ uposathe ...tehi uddiṭṭhamatte pātimokkhe avuṭṭhi (130) tāya parisāya ath’ aññe āvāsikā bhikkhū {āgacchanti} samasamā.  uddiṭṭhaṃ suddiṭṭhaṃ, tesaṃ santike pārisuddhi ārocetabbā, uddesakānaṃ anāpatti.  idha pana bhikkhave aññatarasmiṃ āvāse tadah’ uposathe ...tehi uddiṭṭhamatte pātimokkhe avuṭṭhitāya parisāya ath’ aññe āvāsikā bhikkhū āgacchanti thokatarā.  uddiṭṭhaṃ suddiṭṭhaṃ, tesaṃ santike pārisuddhi ārocetabbā, uddesakānaṃ anāpatti. |5| 
  (๙๒. อาปตฺติปฏิกมฺมวิธิ) ๑๖๙. เตน โข ปน สมเยน อญฺญตโร ภิกฺขุ ตทหุโปสเถ อาปตฺตึ อาปนฺโน โหติ.  อถ โข ตสฺส ภิกฺขุโน เอตทโหสิ “ภควตา ปญฺญตฺตํ ‘น สาปตฺติเกน อุโปสโถ กาตพฺโพ’ติ. อหญฺจมฺหิ อาปตฺตึ อาปนฺโน.  กถํ นุ โข มยา ปฏิปชฺชิตพฺพ”นฺติ?  ภควโต เอตมตฺถํ อาโรเจสุํ.  อิธ ปน ภิกฺขเว ภิกฺขุ ตทหุโปสเถ อาปตฺตึ อาปนฺโน โหติ. 
idha pana bhikkhave aññatarasmiṃ āvāse tadah’ uposathe ...tehi uddiṭṭhamatte pātimokkhe ekaccāya vuṭṭhitāya parisāya ath’ aññe āvāsikā bhikkhū āgacchanti bahutarā.  tehi bhikkhave ...(= 5) ..., ...ekaccāya vuṭṭhitāya parisāya ...samasamā ..., ...ekaccāya vuṭṭhitāya parisāya ...thokatarā ... |6| 
เตน ภิกฺขเว ภิกฺขุนา เอกํ ภิกฺขุํ อุปสงฺกมิตฺวา เอกํสํ อุตฺตราสงฺคํ กริตฺวา อุกฺกุฏิกํ นิสีทิตฺวา อญฺชลึ ปคฺคเหตฺวา เอวมสฺส วจนีโย “อหํ อาวุโส อิตฺถนฺนามํ อาปตฺตึ อาปนฺโน ตํ ปฏิเทเสมี”ติ.  เตน วตฺตพฺโพ “ปสฺสสี”ติ. 
idha pana bhikkhave aññatarasmiṃ āvāse tadah’ uposathe ...tehi uddiṭṭhamatte pātimokkhe sabbāya vuṭṭhitāya parisāya ath’ aññe āvāsikā bhikkhū āgacchanti bahutarā ...samasamā ...thokatarā ...(= 6) ... |7| 
“อาม ปสฺสามี”ติ. 
anāpattipannarasakaṃ niṭṭhitaṃ. ||28|| 
“อายตึ สํวเรยฺยาสี”ติ. 
idha pana bhikkhave aññatarasmiṃ āvāse tadah’ uposathe sambahulā āvāsikā bhikkhū sannipatanti cattāro vā atirekā vā, te jānanti atth’ aññe āvāsikā bhikkhū anāgatā ’ti.  te dhammasaññino vinayasaññino vaggā vaggasaññino uposathaṃ karonti pātimokkhaṃ uddisanti.  tehi uddissamāne pātimokkhe ath’ aññe āvāsikā bhikkhū āgacchanti bahutarā.  tehi bhikkhave {bhikkhūhi} puna pātimokkhaṃ uddisitabbaṃ, uddesakānaṃ āpatti dukkaṭassa. |1| 
อิธ ปน ภิกฺขเว ภิกฺขุ ตทหุโปสเถ อาปตฺติยา เวมติโก โหติ.  เตน ภิกฺขเว ภิกฺขุนา เอกํ ภิกฺขุํ อุปสงฺกมิตฺวา เอกํสํ อุตฺตราสงฺคํ กริตฺวา อุกฺกุฏิกํ นิสีทิตฺวา อญฺชลึ ปคฺคเหตฺวา เอวมสฺส วจนีโย “อหํ อาวุโส อิตฺถนฺนามาย อาปตฺติยา เวมติโก ยทา นิพฺเพมติโก ภวิสฺสามิ ตทา ตํ อาปตฺตึ ปฏิกริสฺสามี”ติ วตฺวา อุโปสโถ กาตพฺโพ ปาติโมกฺขํ โสตพฺพํ น ตฺเวว ตปฺปจฺจยา อุโปสถสฺส อนฺตราโย กาตพฺโพติ.  เตน โข ปน สมเยน ฉพฺพคฺคิยา ภิกฺขู สภาคํ อาปตฺตึ เทเสนฺติ.  ภควโต เอตมตฺถํ อาโรเจสุํ. 
idha pana bhikkhave aññatarasmiṃ āvāse tadah’ uposathe ...(= 1) ...tehi uddissamāne pātimokkhe ath’ aññe āvāsikā bhikkhū āgacchanti samasamā.uddiṭṭhaṃ suddiṭṭhaṃ, avasesaṃ sotabbaṃ, uddesakānaṃ āpatti dukkaṭassa.idha pana bhikkhave aññatarasmiṃ āvāse tadah’ uposathe ...(= 1) ...tehi uddissamāne pātimokkhe ath’ aññe āvāsikā bhikkhū āgacchanti thokatarā.uddiṭṭhaṃ suddiṭṭhaṃ, avasesaṃ sotabbaṃ, uddesakānaṃ āpatti dukkaṭassa. |2| 
น ภิกฺขเว สภาคา อาปตฺติ เทเสตพฺพา. 
idha pana bhikkhave aññatarasmiṃ āvāse tadah’ uposathe ...tehi uddiṭṭhamatte pātimokkhe --gha-- avuṭṭhitāya parisāya --la-- ekaccāya vuṭṭhitāya parisāya --la-- sabbāya (131) vuṭṭhitāya parisāya ath’ aññe āvāsikā bhikkhū āgacchanti bahutarā --la-- samasamā --la-- thokatarā.  uddiṭṭhaṃ suddiṭṭhaṃ, tesaṃ santike pārisuddhi ārocetabbā, uddesakānaṃ āpatti dukkaṭassa. |3| 
โย เทเสยฺย อาปตฺติ ทุกฺกฏสฺสาติ.  เตน โข ปน สมเยน ฉพฺพคฺคิยา ภิกฺขู สภาคํ อาปตฺตึ ปฏิคฺคณฺหนฺติ. 
vaggāvaggasaññinopannarasakaṃ niṭṭhitaṃ. ||29|| 
ภควโต เอตมตฺถํ อาโรเจสุํ. 
idha pana bhikkhave aññatarasmiṃ āvāse tadah’ uposathe sambahulā āvāsikā bhikkhū sannipatanti cattāro vā atirekā vā, te jānanti atth’ aññe āvāsikā bhikkhū anāgatā ’ti.  te kappati nu kho amhākaṃ uposatho kātuṃ na nu kho kappatīti vematikā uposathaṃ karonti pātimokkhaṃ uddisanti.  tehi uddissamāne pātimokkhe ath’ aññe āvāsikā bhikkhū āgacchanti bahutarā.  tehi bhikkhave bhikkhūhi puna pātimokkhaṃ uddisitabbaṃ, uddesakānaṃ āpatti dukkaṭassa. |1| 
น ภิกฺขเว สภาคา อาปตฺติ ปฏิคฺคเหตพฺพา.  โย ปฏิคฺคณฺเหยฺย อาปตฺติ ทุกฺกฏสฺสาติ.  (๙๓. อาปตฺติอาวิกรณวิธิ) ๑๗๐. เตน โข ปน สมเยน อญฺญตโร ภิกฺขุ ปาติโมกฺเข อุทฺทิสฺสมาเน อาปตฺตึ สรติ.  อถ โข ตสฺส ภิกฺขุโน เอตทโหสิ “ภควตา ปญฺญตฺตํ ‘น สาปตฺติเกน อุโปสโถ กาตพฺโพ’ติ. อหญฺจมฺหิ อาปตฺตึ อาปนฺโน. 
idha pana ...(comp.II.29.2.3) ...uddesakānaṃ āpatti dukkaṭassa. |2| 
กถํ นุ โข มยา ปฏิปชฺชิตพฺพ”นฺติ? 
vematikāpannarasakaṃ niṭṭhitaṃ. ||30|| 
ภควโต เอตมตฺถํ อาโรเจสุํ. 
idha pana bhikkhave aññatarasmiṃ āvāse tadah’ uposathe sambahulā āvāsikā bhikkhū sannipatanti cattāro vā atirekā vā, te jānanti atth’ aññe āvāsikā bhikkhū anāgatā ’ti.  te kappat’ eva amhākaṃ uposatho kātuṃ, n’ amhākaṃ na kappatīti kukkuccapakatā uposathaṃ karonti pātimokkhaṃ uddisanti.  tehi uddissamāne pātimokkhe ath’ aññe āvāsikā bhikkhū āgacchanti bahutarā.  tehi bhikkhave bhikkhūhi puna pātimokkhaṃ uddisitabbaṃ, uddesakānaṃ āpatti dukkaṭassa. |1| 
อิธ ปน ภิกฺขเว ภิกฺขุ ปาติโมกฺเข อุทฺทิสฺสมาเน อาปตฺตึ สรติ.  เตน ภิกฺขเว ภิกฺขุนา สามนฺโต ภิกฺขุ เอวมสฺส วจนีโย “อหํ อาวุโส อิตฺถนฺนามํ อาปตฺตึ อาปนฺโน. อิโต วุฏฺฐหิตฺวา ตํ อาปตฺตึ ปฏิกริสฺสามี”ติ วตฺวา อุโปสโถ กาตพฺโพ ปาติโมกฺขํ โสตพฺพํ น ตฺเวว ตปฺปจฺจยา อุโปสถสฺส อนฺตราโย กาตพฺโพ.  อิธ ปน ภิกฺขเว ภิกฺขุ ปาติโมกฺเข อุทฺทิสฺสมาเน อาปตฺติยา เวมติโก โหติ.  เตน ภิกฺขเว ภิกฺขุนา สามนฺโต ภิกฺขุ เอวมสฺส วจนีโย “อหํ อาวุโส อิตฺถนฺนามาย อาปตฺติยา เวมติโก. ยทา นิพฺเพมติโก ภวิสฺสามิ ตทา ตํ อาปตฺตึ ปฏิกริสฺสามี”ติ วตฺวา อุโปสโถ กาตพฺโพ ปาติโมกฺขํ โสตพฺพํ น ตฺเวว ตปฺปจฺจยา อุโปสถสฺส อนฺตราโย กาตพฺโพติ. 
idha pana ...(comp.II.29.2.3) ...uddesakānaṃ āpatti dukkaṭassa. |2| 
(๙๔. สภาคาปตฺติปฏิกมฺมวิธิ) ๑๗๑. เตน โข ปน สมเยน อญฺญตรสฺมึ อาวาเส ตทหุโปสเถ สพฺโพ สงฺโฆ สภาคํ อาปตฺตึ อาปนฺโน โหติ. 
kukkuccapakatāpannarasakaṃ niṭṭhitaṃ. ||31|| 
อถ โข เตสํ ภิกฺขูนํ เอตทโหสิ “ภควตา ปญฺญตฺตํ ‘น สภาคา อาปตฺติ เทเสตพฺพา น สภาคา อาปตฺติ ปฏิคฺคเหตพฺพา’ติ อยญฺจ สพฺโพ สงฺโฆ สภาคํ อาปตฺตึ อาปนฺโน. 
idha pana bhikkhave aññatarasmiṃ āvāse tadah’ uposathe sambahulā āvāsikā bhikkhū sannipatanti cattāro vā atirekā vā, te jānanti atth’ aññe āvāsikā bhikkhū anāgatā ’ti.  te nassante te vinassante te ko tehi attho ’ti bhedapurekkhārā uposathaṃ karonti pātimokkhaṃ uddisanti.  tehi uddissamāne pātimokkhe ath’ aññe āvāsikā bhikkhū āgacchanti bahutarā.  tehi bhikkhave bhikkhūhi puna pātimokkhaṃ uddisitabbaṃ, uddesakānaṃ āpatti thullacca (132) yassa. |1| 
กถํ นุ โข อมฺเหหิ ปฏิปชฺชิตพฺพ”นฺติ?  ภควโต เอตมตฺถํ อาโรเจสุํ.  อิธ ปน ภิกฺขเว อญฺญตรสฺมึ อาวาเส ตทหุโปสเถ สพฺโพ สงฺโฆ สภาคํ อาปตฺตึ อาปนฺโน โหติ.  เตหิ ภิกฺขเว ภิกฺขูหิ เอโก ภิกฺขุ สามนฺตา อาวาสา สชฺชุกํ ปาเหตพฺโพ คจฺฉาวุโส ตํ อาปตฺตึ ปฏิกริตฺวา อาคจฺฉ มยํ เต สนฺติเก อาปตฺตึ ปฏิกริสฺสามาติ. 
idha pana ...(comp.II.29.2,3; instead of āpatti dukkaṭassa read āpatti thullaccayassa) ...āpatti thullaccayassa. |2| 
เอวญฺเจตํ ลเภถ อิจฺเจตํ กุสลํ. โน เจ ลเภถ พฺยตฺเตน ภิกฺขุนา ปฏิพเลน สงฺโฆ ญาเปตพฺโพ “สุณาตุ เม ภนฺเต สงฺโฆ. 
bhedapurekkhārāpannarasakaṃ niṭṭhitaṃ. ||32|| 
อยํ สพฺโพ สงฺโฆ สภาคํ อาปตฺตึ อาปนฺโน. 
pañcasattatikaṃ niṭṭhitaṃ. 
ยทา อญฺญํ ภิกฺขุํ สุทฺธํ อนาปตฺติกํ ปสฺสิสฺสติ ตทา ตสฺส สนฺติเก ตํ อาปตฺตึ ปฏิกริสฺสตี”ติ วตฺวา อุโปสโถ กาตพฺโพ ปาติโมกฺขํ อุทฺทิสิตพฺพํ น ตฺเวว ตปฺปจฺจยา อุโปสถสฺส อนฺตราโย กาตพฺโพ. 
idha pana bhikkhave aññatarasmiṃ āvāse tadah’ uposathe sambahulā āvāsikā bhikkhū sannipatanti cattāro vā atirekā vā, te jānanti aññe āvāsikā bhikkhū antosīmaṃ okkamantīti.  te jānanti aññe āvāsikā bhikkhū antosīmaṃ okkantā ’ti.  te passanti aññe āvāsike bhikkhū antosīmaṃ okkamante.  te passanti aññe āvāsike bhikkhū antosīmaṃ okkante.  te suṇanti aññe āvāsikā bhikkhū antosīmaṃ okkamantīti.  te suṇanti aññe āvāsikā bhikkhū antosīmaṃ okkantā ’ti.  āvāsikena āvāsikā ekasatapañcasattati tikanayato, āvāsikena āgantukā, āgantukena āvāsikā, āgantukena āgantukā, peyyālamukhena satta tikasatāni honti. |1| 
อิธ ปน ภิกฺขเว อญฺญตรสฺมึ อาวาเส ตทหุโปสเถ สพฺโพ สงฺโฆ สภาคาย อาปตฺติยา เวมติโก โหติ.  พฺยตฺเตน ภิกฺขุนา ปฏิพเลน สงฺโฆ ญาเปตพฺโพ “สุณาตุ เม ภนฺเต สงฺโฆ.  อยํ สพฺโพ สงฺโฆ สภาคาย อาปตฺติยา เวมติโก.  ยทา นิพฺเพมติโก ภวิสฺสติ ตทา ตํ อาปตฺตึ ปฏิกริสฺสตี”ติ วตฺวา อุโปสโถ กาตพฺโพ ปาติโมกฺขํ อุทฺทิสิตพฺพํ น ตฺเวว ตปฺปจฺจยา อุโปสถสฺส อนฺตราโย กาตพฺโพ.  อิธ ปน ภิกฺขเว อญฺญตรสฺมึ อาวาเส วสฺสูปคโต สงฺโฆ สภาคํ อาปตฺตึ อาปนฺโน โหติ.  เตหิ ภิกฺขเว ภิกฺขูหิ เอโก ภิกฺขุ สามนฺตา อาวาสา สชฺชุกํ ปาเหตพฺโพ คจฺฉาวุโส ตํ อาปตฺตึ ปฏิกริตฺวา อาคจฺฉ มยํ เต สนฺติเก ตํ อาปตฺตึ ปฏิกริสฺสามาติ. เอวญฺเจตํ ลเภถ อิจฺเจตํ กุสลํ. โน เจ ลเภถ เอโก ภิกฺขุ สตฺตาหกาลิกํ ปาเหตพฺโพ คจฺฉาวุโส ตํ อาปตฺตึ ปฏิกริตฺวา อาคจฺฉ มยํ เต สนฺติเก ตํ อาปตฺตึ ปฏิกริสฺสามาติ.  เตน โข ปน สมเยน อญฺญตรสฺมึ อาวาเส สพฺโพ สงฺโฆ สภาคํ อาปตฺตึ อาปนฺโน โหติ. โส น ชานาติ ตสฺสา อาปตฺติยา นามโคตฺตํ. 
||33|| 
ตตฺถ อญฺโญ ภิกฺขุ อาคจฺฉติ พหุสฺสุโต อาคตาคโม ธมฺมธโร วินยธโร มาติกาธโร ปณฺฑิโต พฺยตฺโต เมธาวี ลชฺชี กุกฺกุจฺจโก สิกฺขากาโม. ตเมนํ อญฺญตโร ภิกฺขุ เยน โส ภิกฺขุ เตนุปสงฺกมิ อุปสงฺกมิตฺวา ตํ ภิกฺขุํ เอตทโวจ “โย นุ โข อาวุโส เอวญฺเจวญฺจ กโรติ กึ นาม โส อาปตฺตึ อาปชฺชตี”ติ? 
idha pana bhikkhave āvāsikānaṃ bhikkhūnaṃ cātuddaso hoti, āgantukānaṃ pannaraso.  sace āvāsikā bahutarā honti, āgantukehi āvāsikānaṃ anuvattitabbaṃ.  sace samasamā honti, āgantukehi āvāsikānaṃ anuvattitabbaṃ.  sace āgantukā bahutarā honti, āvāsikehi āgantukānaṃ anuvattitabbaṃ. |1| 
โส เอวมาห “โย โข อาวุโส เอวญฺเจวญฺจ กโรติ อิมํ นาม โส อาปตฺตึ อาปชฺชติ.  อิมํ นาม ตฺวํ อาวุโส อาปตฺตึ อาปนฺโน ปฏิกโรหิ ตํ อาปตฺติ”นฺติ.  โส เอวมาห “น โข อหํ อาวุโส เอโกว อิมํ อาปตฺตึ อาปนฺโน อยํ สพฺโพ สงฺโฆ อิมํ อาปตฺตึ อาปนฺโน”ติ.  โส เอวมาห “กึ เต อาวุโส กริสฺสติ ปโร อาปนฺโน วา อนาปนฺโน วา. 
idha pana bhikkhave āvāsikānaṃ bhikkhūnaṃ pannaraso hoti, āgantukānaṃ cātuddaso.  sace āvāsikā bahutarā honti, āgantukehi āvāsikānaṃ anuvattitabbaṃ.  sace samasamā honti, āgantukehi āvāsikānaṃ anuvattitabbaṃ.  sace āgantukā bahutarā honti, āvāsikehi āgantukānaṃ anuvattitabbaṃ. |2| 
อิงฺฆ ตฺวํ อาวุโส สกาย อาปตฺติยา วุฏฺฐาหี”ติ.  อถ โข โส ภิกฺขุ ตสฺส ภิกฺขุโน วจเนน ตํ อาปตฺตึ ปฏิกริตฺวา เยน เต ภิกฺขู เตนุปสงฺกมิ อุปสงฺกมิตฺวา เต ภิกฺขู เอตทโวจ “โย กิร อาวุโส เอวญฺเจวญฺจ กโรติ อิมํ นาม โส อาปตฺตึ อาปชฺชติ.  อิมํ นาม ตุมฺเห อาวุโส อาปตฺตึ อาปนฺนา ปฏิกโรถ ตํ อาปตฺติ”นฺติ.  อถ โข เต ภิกฺขู น อิจฺฉึสุ ตสฺส ภิกฺขุโน วจเนน ตํ อาปตฺตึ ปฏิกาตุํ. 
idha pana bhikkhave āvāsikānaṃ bhikkhūnaṃ pāṭipado hoti, āgantukānaṃ pannaraso.  sace āvāsikā bahutarā honti, āvāsikehi āgantukānaṃ nākāmā dātabbā sāmaggī, āgantukehi nissīmaṃ gantvā uposatho kātabbo.  sace samasamā honti, āvāsikehi āgantukānaṃ nākāmā dātabbā sāmaggī, āgantukehi nissīmaṃ gantvā uposatho kātabbo.  sace āgantukā bahutarā honti, āvāsikehi āgantukānaṃ sāmaggī vā dātabbā nissīmaṃ vā gantabbaṃ. |3| 
ภควโต เอตมตฺถํ อาโรเจสุํ.  อิธ ปน ภิกฺขเว อญฺญตรสฺมึ อาวาเส สพฺโพ สงฺโฆ สภาคํ อาปตฺตึ อาปนฺโน โหติ. โส น ชานาติ ตสฺสา อาปตฺติยา นามโคตฺตํ.  ตตฺถ อญฺโญ ภิกฺขุ อาคจฺฉติ พหุสฺสุโต อาคตาคโม ธมฺมธโร วินยธโร มาติกาธโร ปณฺฑิโต พฺยตฺโต เมธาวี ลชฺชี กุกฺกุจฺจโก สิกฺขากาโม. ตเมนํ อญฺญตโร ภิกฺขุ เยน โส ภิกฺขุ เตนุปสงฺกมิ อุปสงฺกมิตฺวา ตํ ภิกฺขุํ เอวํ วเทติ “โย นุ โข อาวุโส เอวญฺเจวญฺจ กโรติ กึ นาม โส อาปตฺตึ อาปชฺชตี”ติ?  โส เอวํ วเทติ “โย โข อาวุโส เอวญฺเจวญฺจ กโรติ อิมํ นาม โส อาปตฺตึ อาปชฺชติ. 
idha pana bhikkhave āvāsikānaṃ bhikkhūnaṃ pannaraso hoti, (133) āgantukānaṃ pāṭipado.  sace āvāsikā bahutarā honti, āgantukehi āvāsikānaṃ sāmaggī vā dātabbā nissīmaṃ vā gantabbaṃ.  sace samasamā honti, āgantukehi āvāsikānaṃ sāmaggī vā dātabbā nissīmaṃ vā gantabbaṃ.  sace āgantukā bahutarā honti, āgantukehi āvāsikānaṃ nākāmā dātabbā sāmaggī, āvāsikehi nissīmaṃ gantvā uposatho kātabbo. |4| 
อิมํ นาม ตฺวํ อาวุโส อาปตฺตึ อาปนฺโน ปฏิกโรหิ ตํ อาปตฺติ”นฺติ.  โส เอวํ วเทติ “น โข อหํ อาวุโส เอโกว อิมํ อาปตฺตึ อาปนฺโน. อยํ สพฺโพ สงฺโฆ อิมํ อาปตฺตึ อาปนฺโน”ติ.  โส เอวํ วเทติ “กึ เต อาวุโส กริสฺสติ ปโร อาปนฺโน วา อนาปนฺโน วา.  อิงฺฆ ตฺวํ อาวุโส สกาย อาปตฺติยา วุฏฺฐาหี”ติ. 
idha pana bhikkhave āgantukā bhikkhū passanti āvāsikānaṃ bhikkhūnaṃ āvāsikākāraṃ āvāsikaliṅgaṃ āvāsikanimittaṃ āvāsikuddesaṃ supaññattaṃ mañcapīṭhaṃ bhisibimbohanaṃ pāniyaṃ paribhojaniyaṃ sūpatiṭṭhitaṃ pariveṇaṃ susammaṭṭhaṃ, passitvā vematikā honti atthi nu kho āvāsikā bhikkhū n’ atthi nu kho ’ti. |5| 
โส เจ ภิกฺขเว ภิกฺขุ ตสฺส ภิกฺขุโน วจเนน ตํ อาปตฺตึ ปฏิกริตฺวา เยน เต ภิกฺขู เตนุปสงฺกมิ อุปสงฺกมิตฺวา เต ภิกฺขู เอวํ วเทติ “โย กิร อาวุโส เอวญฺเจวญฺจ กโรติ อิมํ นาม โส อาปตฺตึ อาปชฺชติ อิมํ นาม ตุมฺเห อาวุโส อาปตฺตึ อาปนฺนา ปฏิกโรถ ตํ อาปตฺติ”นฺติ. เต เจ ภิกฺขเว ภิกฺขู ตสฺส ภิกฺขุโน วจเนน ตํ อาปตฺตึ ปฏิกเรยฺยุํ อิจฺเจตํ กุสลํ. โน เจ ปฏิกเรยฺยุํ น เต ภิกฺขเว ภิกฺขู เตน ภิกฺขุนา อกามา วจนียาติ. 
te vematikā na vicinanti, avicinitvā uposathaṃ karonti, āpatti dukkaṭassa.  te vematikā vicinanti, vicinitvā na passanti, apassitvā uposathaṃ karonti, anāpatti.  te vematikā vicinanti, vicinitvā passanti, passitvā ekato uposathaṃ karonti, anāpatti.  te vematikā vicinanti, vicinitvā passanti, passitvā pāṭekkaṃ uposathaṃ karonti, āpatti dukkaṭassa.  te vematikā vicinanti, vicinitvā passanti, passitvā nassante te vinassante te ko tehi attho ’ti bhedapurekkhārā uposathaṃ karonti, āpatti thullaccayassa. |6| 
    โจทนาวตฺถุภาณวาโร นิฏฺฐิโต ทุติโย.  (๙๕. อนาปตฺติปนฺนรสกํ) ๑๗๒. เตน โข ปน สมเยน อญฺญตรสฺมึ อาวาเส ตทหุโปสเถ สมฺพหุลา อาวาสิกา ภิกฺขู สนฺนิปตึสุ จตฺตาโร วา อติเรกา วา. เต น ชานึสุ “อตฺถญฺเญ อาวาสิกา ภิกฺขู อนาคตา”ติ  เต ธมฺมสญฺญิโน วินยสญฺญิโน วคฺคา สมคฺคสญฺญิโน อุโปสถํ อกํสุ ปาติโมกฺขํ อุทฺทิสึสุ. 
idha pana bhikkhave āgantukā bhikkhū suṇanti āvāsikānaṃ bhikkhūnaṃ āvāsikākāraṃ āvāsikaliṅgaṃ āvāsikanimittaṃ āvāsikuddesaṃ caṅkamantānaṃ padasaddaṃ sajjhāyasaddaṃ ukkāsitasaddaṃ khipitasaddaṃ, sutvā vematikā honti atthi nu kho āvāsikā bhikkhū n’ atthi nu kho ’ti.  te ...(= 6) ...āpatti thullaccayassa. |7| 
เตหิ อุทฺทิสฺสมาเน ปาติโมกฺเข อถญฺเญ อาวาสิกา ภิกฺขู อาคจฺฉึสุ พหุตรา.  ภควโต เอตมตฺถํ อาโรเจสุํ. 
idha pana bhikkhave āvāsikā bhikkhū passanti āgantukānaṃ bhikkhūnaṃ āgantukākāraṃ āgantukaliṅgaṃ āgantukanimittaṃ āgantukuddesaṃ aññātakaṃ pattaṃ aññātakaṃ cīvaraṃ aññātakaṃ nisīdanaṃ pādānaṃ dhotaṃ udakanissekaṃ, passitvā vematikā honti atthi nu kho āgantukā bhikkhū n’ atthi nu kho ’ti.  te ...(= 6) ...āppati thullaccayassa. |8| 
อิธ ปน ภิกฺขเว อญฺญตรสฺมึ อาวาเส ตทหุโปสเถ สมฺพหุลา อาวาสิกา ภิกฺขู สนฺนิปตนฺติ จตฺตาโร วา อติเรกา วา. เต น ชานนฺติ “อตฺถญฺเญ อาวาสิกา ภิกฺขู อนาคตา”ติ.  เต ธมฺมสญฺญิโน วินยสญฺญิโน วคฺคา สมคฺคสญฺญิโน อุโปสถํ กโรนฺติ ปาติโมกฺขํ อุทฺทิสนฺติ. 
idha pana bhikkhave āvāsikā bhikkhū suṇanti āgantukānaṃ bhikkhūnaṃ āgantukākāraṃ āgantukaliṅgaṃ āgantukanimittaṃ āgantukuddesaṃ āgacchantānaṃ padasaddaṃ upāhanapappoṭhanasaddaṃ ukkāsitasaddaṃ khipitasaddaṃ, sutvā vematikā honti atthi nu kho āgantukā bhikkhū n’ atthi nu kho ’ti.  te ...(= 6) ...āpatti (134) thullaccayassa. |9| 
เตหิ อุทฺทิสฺสมาเน ปาติโมกฺเข อถญฺเญ อาวาสิกา ภิกฺขู อาคจฺฉนฺติ พหุตรา.  เตหิ ภิกฺขเว ภิกฺขูหิ ปุน ปาติโมกฺขํ อุทฺทิสิตพฺพํ. อุทฺเทสกานํ อนาปตฺติ. 
idha pana bhikkhave āgantukā bhikkhū passanti āvāsike bhikkhū nānāsaṃvāsake.  te samānasaṃvāsakadiṭṭhiṃ paṭilabhanti, samānasaṃvāsakadiṭṭhiṃ paṭilabhitvā na pucchanti, apucchitvā ekato uposathaṃ karonti, anāpatti.  te pucchanti, pucchitvā nābhivitaranti, anabhivitaritvā ekato uposathaṃ karonti, āpatti dukkaṭassa.  te pucchanti, pucchitvā nābhivitaranti, anabhivitaritvā pāṭekkaṃ uposathaṃ karonti, anāpatti. |10| 
อิธ ปน ภิกฺขเว อญฺญตรสฺมึ อาวาเส ตทหุโปสเถ สมฺพหุลา อาวาสิกา ภิกฺขู สนฺนิปตนฺติ จตฺตาโร วา อติเรกา วา. เต น ชานนฺติ “อตฺถญฺเญ อาวาสิกา ภิกฺขู อนาคตา”ติ. เต ธมฺมสญฺญิโน วินยสญฺญิโน วคฺคา สมคฺคสญฺญิโน อุโปสถํ กโรนฺติ ปาติโมกฺขํ อุทฺทิสนฺติ. เตหิ อุทฺทิสฺสมาเน ปาติโมกฺเข อถญฺเญ อาวาสิกา ภิกฺขู อาคจฺฉนฺติ สมสมา.  อุทฺทิฏฺฐํ สุอุทฺทิฏฺฐํ อวเสสํ โสตพฺพํ. อุทฺเทสกานํ อนาปตฺติ.  อิธ ปน ภิกฺขเว อญฺญตรสฺมึ อาวาเส ตทหุโปสเถ สมฺพหุลา อาวาสิกา ภิกฺขู สนฺนิปตนฺติ จตฺตาโร วา อติเรกา วา. เต น ชานนฺติ อตฺถญฺเญ อาวาสิกา ภิกฺขู อนาคตาติ เต ธมฺมสญฺญิโน วินยสญฺญิโน วคฺคา สมคฺคสญฺญิโน อุโปสถํ กโรนฺติ ปาติโมกฺขํ อุทฺทิสนฺติ. เตหิ อุทฺทิสฺสมาเน ปาติโมกฺเข อถญฺเญ อาวาสิกา ภิกฺขู อาคจฺฉนฺติ โถกตรา.  อุทฺทิฏฺฐํ สุอุทฺทิฏฺฐํ อวเสสํ โสตพฺพํ. อุทฺเทสกานํ อนาปตฺติ. 
idha pana bhikkhave āgantukā bhikkhū passanti āvāsike bhikkhū samānasaṃvāsake.  te nānāsaṃvāsakadiṭṭhiṃ paṭilabhanti, nānāsaṃvāsakadiṭṭhiṃ paṭilabhitvā na pucchanti, apucchitvā ekato uposathaṃ karonti, āpatti dukkaṭassa.  te pucchanti, pucchitvā abhivitaranti, abhivitaritvā pāṭekkaṃ uposathaṃ karonti, āpatti dukkaṭassa.  te pucchanti, pucchitvā abhivitaranti, abhivitaritvā ekato uposathaṃ karonti, anāpatti. |11| 
อิธ ปน ภิกฺขเว อญฺญตรสฺมึ อาวาเส ตทหุโปสเถ สมฺพหุลา อาวาสิกา ภิกฺขู สนฺนิปตนฺติ จตฺตาโร วา อติเรกา วา. เต น ชานนฺติ อตฺถญฺเญ อาวาสิกา ภิกฺขู อนาคตาติ เต ธมฺมสญฺญิโน วินยสญฺญิโน วคฺคา สมคฺคสญฺญิโน อุโปสถํ กโรนฺติ ปาติโมกฺขํ อุทฺทิสนฺติ. เตหิ อุทฺทิฏฺฐมตฺเต ปาติโมกฺเข อถญฺเญ อาวาสิกา ภิกฺขู อาคจฺฉนฺติ พหุตรา.  เตหิ ภิกฺขเว ภิกฺขูหิ ปุน ปาติโมกฺขํ อุทฺทิสิตพฺพํ. อุทฺเทสกานํ อนาปตฺติ.  อิธ ปน ภิกฺขเว อญฺญตรสฺมึ อาวาเส ตทหุโปสเถ สมฺพหุลา อาวาสิกา ภิกฺขู สนฺนิปตนฺติ จตฺตาโร วา อติเรกา วา. เต น ชานนฺติ อตฺถญฺเญ อาวาสิกา ภิกฺขู อนาคตาติ เต ธมฺมสญฺญิโน วินยสญฺญิโน วคฺคา สมคฺคสญฺญิโน อุโปสถํ กโรนฺติ ปาติโมกฺขํ อุทฺทิสนฺติ. เตหิ อุทฺทิฏฺฐมตฺเต ปาติโมกฺเข อถญฺเญ อาวาสิกา ภิกฺขู อาคจฺฉนฺติ สมสมา.  อุทฺทิฏฺฐํ สุอุทฺทิฏฺฐํ เตสํ สนฺติเก ปาริสุทฺธิ อาโรเจตพฺพา. อุทฺเทสกานํ อนาปตฺติ. 
idha pana bhikkhave āvāsikā bhikkhū passanti āgantuke bhikkhū nānāsaṃvāsake.  te {samānasaṃvāsakadiṭṭhiṃ} paṭilabhanti ...(= 10) ...anāpatti. |12| 
อิธ ปน ภิกฺขเว อญฺญตรสฺมึ อาวาเส ตทหุโปสเถ สมฺพหุลา อาวาสิกา ภิกฺขู สนฺนิปตนฺติ จตฺตาโร วา อติเรกา วา. เต น ชานนฺติ อตฺถญฺเญ อาวาสิกา ภิกฺขู อนาคตาติ เต ธมฺมสญฺญิโน วินยสญฺญิโน วคฺคา สมคฺคสญฺญิโน อุโปสถํ กโรนฺติ ปาติโมกฺขํ อุทฺทิสนฺติ. เตหิ อุทฺทิฏฺฐมตฺเต ปาติโมกฺเข อถญฺเญ อาวาสิกา ภิกฺขู อาคจฺฉนฺติ โถกตรา.  อุทฺทิฏฺฐํ สุอุทฺทิฏฺฐํ เตสํ สนฺติเก ปาริสุทฺธิ อาโรเจตพฺพา. อุทฺเทสกานํ อนาปตฺติ. 
idha pana bhikkhave āvāsikā bhikkhū passanti āgantuke bhikkhū samānasaṃvāsake.  te nānāsaṃvāsakadiṭṭhiṃ paṭilabhanti ...(= 11) ...anāpatti. |13| 
อิธ ปน ภิกฺขเว อญฺญตรสฺมึ อาวาเส ตทหุโปสเถ สมฺพหุลา อาวาสิกา ภิกฺขู สนฺนิปตนฺติ จตฺตาโร วา อติเรกา วา. เต น ชานนฺติ อตฺถญฺเญ อาวาสิกา ภิกฺขู อนาคตาติ เต ธมฺมสญฺญิโน วินยสญฺญิโน วคฺคา สมคฺคสญฺญิโน อุโปสถํ กโรนฺติ ปาติโมกฺขํ อุทฺทิสนฺติ. เตหิ อุทฺทิฏฺฐมตฺเต ปาติโมกฺเข อวุฏฺฐิตาย ปริสาย อถญฺเญ อาวาสิกา ภิกฺขู อาคจฺฉนฺติ พหุตรา.  เตหิ ภิกฺขเว ภิกฺขูหิ ปุน ปาติโมกฺขํ อุทฺทิสิตพฺพํ. อุทฺเทสกานํ อนาปตฺติ. 
||34|| 
อิธ ปน ภิกฺขเว อญฺญตรสฺมึ อาวาเส ตทหุโปสเถ สมฺพหุลา อาวาสิกา ภิกฺขู สนฺนิปตนฺติ จตฺตาโร วา อติเรกา วา เต น ชานนฺติ อตฺถญฺเญ อาวาสิกา ภิกฺขู อนาคตาติ เต ธมฺมสญฺญิโน วินยสญฺญิโน วคฺคา สมคฺคสญฺญิโน อุโปสถํ กโรนฺติ ปาติโมกฺขํ อุทฺทิสนฺติ. เตหิ อุทฺทิฏฺฐมตฺเต ปาติโมกฺเข อวุฏฺฐิตาย ปริสาย อถญฺเญ อาวาสิกา ภิกฺขู อาคจฺฉนฺติ สมสมา. 
no bhikkhave tadah’ uposathe sabhikkhukā āvāsā abhikkhuko āvāso gantabbo aññatra saṃghena aññatra antarāyā.  na bhikkhave tadah’ uposathe sabhikkhukā āvāsā abhikkhuko anāvāso gantabbo aññatra saṃghena aññatra antarāyā.  na bhikkhave tadah’ uposathe sabhikkhukā āvāsā abhikkhuko āvāso vā anāvāso vā gantabbo aññatra saṃghena aññatra antarāyā. |1| 
อุทฺทิฏฺฐํ สุอุทฺทิฏฺฐํ เตสํ สนฺติเก ปาริสุทฺธิ อาโรเจตพฺพา. อุทฺเทสกานํ อนาปตฺติ.  อิธ ปน ภิกฺขเว อญฺญตรสฺมึ อาวาเส ตทหุโปสเถ สมฺพหุลา อาวาสิกา ภิกฺขู สนฺนิปตนฺติ จตฺตาโร วา อติเรกา วา. เต น ชานนฺติ อตฺถญฺเญ อาวาสิกา ภิกฺขู อนาคตาติ เต ธมฺมสญฺญิโน วินยสญฺญิโน วคฺคา สมคฺคาสญฺญิโน อุโปสถํ กโรนฺติ ปาติโมกฺขํ อุทฺทิสนฺติ. เตหิ อุทฺทิฏฺฐมตฺเต ปาติโมกฺเข อวุฏฺฐิตาย ปริสาย อถญฺเญ อาวาสิกา ภิกฺขู อาคจฺฉนฺติ โถกตรา.  อุทฺทิฏฺฐํ สุอุทฺทิฏฺฐํ เตสํ สนฺติเก ปาริสุทฺธิ อาโรเจตพฺพา. อุทฺเทสกานํ อนาปตฺติ. 
na bhikkhave tadah’ uposathe sabhikkhukā anāvāsā abhikkhuko āvāso gantabbo aññatra saṃghena aññatra antarāyā.  na bhikkhave tadah’ uposathe sabhikkhukā anāvāsā abhikkhuko anāvāso gantabbo aññatra saṃghena aññatra antarāyā.  na bhikkhave tadah’ uposathe sabhikkhukā anāvāsā abhikkhuko āvāso vā anāvāso vā gantabbo aññatra saṃghena aññatra antarāyā. |2| 
อิธ ปน ภิกฺขเว อญฺญตรสฺมึ อาวาเส ตทหุโปสเถ สมฺพหุลา อาวาสิกา ภิกฺขู สนฺนิปตนฺติ จตฺตาโร วา อติเรกา วา. เต น ชานนฺติ อตฺถญฺเญ อาวาสิกา ภิกฺขู อนาคตาติ เต ธมฺมสญฺญิโน วินยสญฺญิโน วคฺคา สมคฺคสญฺญิโน อุโปสถํ กโรนฺติ ปาติโมกฺขํ อุทฺทิสนฺติ. เตหิ อุทฺทิฏฺฐมตฺเต ปาติโมกฺเข เอกจฺจาย วุฏฺฐิตาย ปริสาย อถญฺเญ อาวาสิกา ภิกฺขู อาคจฺฉนฺติ พหุตรา.  เตหิ ภิกฺขเว ภิกฺขูหิ ปุน ปาติโมกฺขํ อุทฺทิสิตพฺพํ. อุทฺเทสกานํ อนาปตฺติ. อิธ ปน ภิกฺขเว อญฺญตรสฺมึ อาวาเส ตทหุโปสเถ สมฺพหุลา อาวาสิกา ภิกฺขู สนฺนิปตนฺติ จตฺตาโร วา อติเรกา วา. เต น ชานนฺติ อตฺถญฺเญ อาวาสิกา ภิกฺขู อนาคตาติ เต ธมฺมสญฺญิโน วินยสญฺญิโน วคฺคา สมคฺคสญฺญิโน อุโปสถํ กโรนฺติ ปาติโมกฺขํ อุทฺทิสนฺติ. เตหิ อุทฺทิฏฺฐมตฺเต ปาติโมกฺเข เอกจฺจาย วุฏฺฐิตาย ปริสาย อถญฺเญ อาวาสิกา ภิกฺขู อาคจฺฉนฺติ สมสมา. อุทฺทิฏฺฐํ สุอุทฺทิฏฺฐํ เตสํ สนฺติเก ปาริสุทฺธิ อาโรเจตพฺพา. อุทฺเทสกานํ อนาปตฺติ.  อิธ ปน ภิกฺขเว อญฺญตรสฺมึ อาวาเส ตทหุโปสเถ สมฺพหุลา อาวาสิกา ภิกฺขู สนฺนิปตนฺติ จตฺตาโร วา อติเรกา วา. เต น ชานนฺติ อตฺถญฺเญ อาวาสิกา ภิกฺขู อนาคตาติ เต ธมฺมสญฺญิโน วินยสญฺญิโน วคฺคา สมคฺคสญฺญิโน อุโปสถํ กโรนฺติ ปาติโมกฺขํ อุทฺทิสนฺติ. เตหิ อุทฺทิฏฺฐมตฺเต ปาติโมกฺเข เอกจฺจาย วุฏฺฐิตาย ปริสาย อถญฺเญ อาวาสิกา ภิกฺขู อาคจฺฉนฺติ โถกตรา. อุทฺทิฏฺฐํ สุอุทฺทิฏฺฐํ เตสํ สนฺติเก ปาริสุทฺธิ อาโรเจตพฺพา. อุทฺเทสกานํ อนาปตฺติ. อิธ ปน ภิกฺขเว อญฺญตรสฺมึ อาวาเส ตทหุโปสเถ สมฺพหุลา อาวาสิกา ภิกฺขู สนฺนิปตนฺติ จตฺตาโร วา อติเรกา วา. เต น ชานนฺติ อตฺถญฺเญ อาวาสิกา ภิกฺขู อนาคตาติ เต ธมฺมสญฺญิโน วินยสญฺญิโน วคฺคา สมคฺคสญฺญิโน อุโปสถํ กโรนฺติ ปาติโมกฺขํ อุทฺทิสนฺติ. เตหิ อุทฺทิฏฺฐมตฺเต ปาติโมกฺเข สพฺพาย วุฏฺฐิตาย ปริสาย อถญฺเญ อาวาสิกา ภิกฺขู อาคจฺฉนฺติ พหุตรา. เตหิ ภิกฺขเว ภิกฺขูหิ ปุน ปาติโมกฺขํ อุทฺทิสิตพฺพํ. อุทฺเทสกานํ อนาปตฺติ. อิธ ปน ภิกฺขเว อญฺญตรสฺมึ อาวาเส ตทหุโปสเถ สมฺพหุลา อาวาสิกา ภิกฺขู สนฺนิปตนฺติ จตฺตาโร วา อติเรกา วา. เต น ชานนฺติ อตฺถญฺเญ อาวาสิกา ภิกฺขู อนาคตาติ เต ธมฺมสญฺญิโน วินยสญฺญิโน วคฺคา สมคฺคสญฺญิโน อุโปสถํ กโรนฺติ ปาติโมกฺขํ อุทฺทิสนฺติ. เตหิ อุทฺทิฏฺฐมตฺเต ปาติโมกฺเข สพฺพาย วุฏฺฐิตาย ปริสาย อถญฺเญ อาวาสิกา ภิกฺขู อาคจฺฉนฺติ สมสมา. อุทฺทิฏฺฐํ สุอุทฺทิฏฺฐํ เตสํ สนฺติเก ปาริสุทฺธิ อาโรเจตพฺพา. อุทฺเทสกานํ อนาปตฺติ. อิธ ปน ภิกฺขเว อญฺญตรสฺมึ อาวาเส ตทหุโปสเถ สมฺพหุลา อาวาสิกา ภิกฺขู สนฺนิปตนฺติ จตฺตาโร วา อติเรกา วา. เต น ชานนฺติ อตฺถญฺเญ อาวาสิกา ภิกฺขู อนาคตาติ เต ธมฺมสญฺญิโน วินยสญฺญิโน วคฺคา สมคฺคสญฺญิโน อุโปสถํ กโรนฺติ ปาติโมกฺขํ อุทฺทิสนฺติ. เตหิ อุทฺทิฏฺฐมตฺเต ปาติโมกฺเข สพฺพาย วุฏฺฐิตาย ปริสาย อถญฺเญ อาวาสิกา ภิกฺขู อาคจฺฉนฺติ โถกตรา. อุทฺทิฏฺฐํ สุอุทฺทิฏฺฐํ เตสํ สนฺติเก ปาริสุทฺธิ อาโรเจตพฺพา. อุทฺเทสกานํ อนาปตฺติ. 
na bhikkhave tadah’ uposathe sabhikkhukā āvāsā vā anāvāsā vā abhikkhuko āvāso gantabbo aññatra saṃghena aññatra antarāyā.  na bhi-(135)kkhave tadah’ uposathe sabhikkhukā āvāsā vā anāvāsā vā abhikkhuko anāvāso gantabbo aññatra saṃghena aññatra antarāyā.  na bhikkhave tadah’ uposathe sabhikkhukā āvāsā vā anāvāsā vā abhikkhuko āvāso vā anāvāso vā gantabbo aññatra saṃghena aññatra antarāyā. |3| 
อนาปตฺติปนฺนรสกํ นิฏฺฐิตํ.  (๙๖. วคฺคาวคฺคสญฺญีปนฺนรสกํ) ๑๗๓. อิธ ปน ภิกฺขเว อญฺญตรสฺมึ อาวาเส ตทหุโปสเถ สมฺพหุลา อาวาสิกา ภิกฺขู สนฺนิปตนฺติ จตฺตาโร วา อติเรกา วา. เต ชานนฺติ “อตฺถญฺเญ อาวาสิกา ภิกฺขู อนาคตา”ติ.  เต ธมฺมสญฺญิโน วินยสญฺญิโน วคฺคา วคฺคสญฺญิโน อุโปสถํ กโรนฺติ ปาติโมกฺขํ อุทฺทิสนฺติ. 
na bhikkhave tadah’ uposathe sabhikkhukā āvāsā sabhikkhuko āvāso gantabbo yatth’ assu bhikkhū nānāsaṃvāsakā aññatra saṃghena aññatra antarāyā.  na {bhikkhave} tadah’ uposathe sabhikkhukā āvāsā sabhikkhuko anāvāso gantabbo yatth’ assu bhikkhū nānāsaṃvāsakā aññatra saṃghena annatra antarāyā.  na bhikkhave tadah’ uposathe sabhikkhukā āvāsā sabhikkhuko āvāso vā anāvāso vā ...(comp.1,2,3) ...na bhikkhave tadah’ uposathe sabhikkhukā āvāsā vā anāvāsā vā sabhikkhuko āvāso vā anāvāso vā gantabbo yatth’ assu bhikkhū nānāsaṃvāsakā aññatra saṃghena aññatra antarāyā. |4| 
เตหิ อุทฺทิสฺสมาเน ปาติโมกฺเข อถญฺเญ อาวาสิกา ภิกฺขู อาคจฺฉนฺติ พหุตรา.  เตหิ ภิกฺขเว ภิกฺขูหิ ปุน ปาติโมกฺขํ อุทฺทิสิตพฺพํ. อุทฺเทสกานํ อาปตฺติ ทุกฺกฏสฺส.  อิธ ปน ภิกฺขเว อญฺญตรสฺมึ อาวาเส ตทหุโปสเถ สมฺพหุลา อาวาสิกา ภิกฺขู สนฺนิปตนฺติ จตฺตาโร วา อติเรกา วา. เต ชานนฺติ อตฺถญฺเญ อาวาสิกา ภิกฺขู อนาคตาติ เต ธมฺมสญฺญิโน วินยสญฺญิโน วคฺคา สมคฺคสญฺญิโน อุโปสถํ กโรนฺติ ปาติโมกฺขํ อุทฺทิสนฺติ. เตหิ อุทฺทิสฺสมาเน ปาติโมกฺเข อถญฺเญ อาวาสิกา ภิกฺขู อาคจฺฉนฺติ สมสมา อุทฺทิฏฺฐํ สุอุทฺทิฏฺฐํ อวเสสํ โสตพฺพํ. อุทฺเทสกานํ อาปตฺติ ทุกฺกฏสฺส. 
gantabbo bhikkhave tadah’ uposathe sabhikkhukā āvāsā sabhikkhuko āvāso yatth’ assu bhikkhū samānasaṃvāsakā, yaṃ jaññā sakkomi ajj’ eva gantun ti.  gantabbo bhikkhave tadah’ uposathe sabhikkhukā āvāsā sabhikkhuko anāvāso yatth’ assu bhikkhū samānasaṃvāsakā, yaṃ jaññā sakkomi ajj’ eva gantun ti ...gantabbo bhikkhave tadah’ uposathe sabhikkhukā āvāsā vā anāvāsā vā sabhikkhuko āvāso vā anāvāso vā yatth’ assu bhikkhū samānasaṃvāsakā, yaṃ jaññā sakkomi ajj’ eva gantun ti. |5| 
อิธ ปน ภิกฺขเว อญฺญตรสฺมึ อาวาเส ตทหุโปสเถ สมฺพหุลา อาวาสิกา ภิกฺขู สนฺนิปตนฺติ จตฺตาโร วา อติเรกา วา. เต ชานนฺติ อตฺถญฺเญ อาวาสิกา ภิกฺขู อนาคตาติ เต ธมฺมสญฺญิโน วินยสญฺญิโน วคฺคา วคฺคสญฺญิโน อุโปสถํ กโรนฺติ ปาติโมกฺขํ อุทฺทิสนฺติ. เตหิ อุทฺทิสฺสมาเน ปาติโมกฺเข อถญฺเญ อาวาสิกา ภิกฺขู อาคจฺฉนฺติ โถกตรา. อุทฺทิฏฺฐํ สุอุทฺทิฏฺฐํ อวเสสํ โสตพฺพํ. อุทฺเทสกานํ อาปตฺติ ทุกฺกฏสฺส. อิธ ปน ภิกฺขเว อญฺญตรสฺมึ อาวาเส ตทหุโปสเถ สมฺพหุลา อาวาสิกา ภิกฺขู สนฺนิปตนฺติ จตฺตาโร วา อติเรกา วา. เต ชานนฺติ “อตฺถญฺเญ อาวาสิกา ภิกฺขู อนาคตา”ติ. เต ธมฺมสญฺญิโน วินยสญฺญิโน วคฺคา วคฺคสญฺญิโน อุโปสถํ กโรนฺติ ปาติโมกฺขํ อุทฺทิสนฺติ. เตหิ อุทฺทิฏฺฐมตฺเต ปาติโมกฺเขฯเปฯ อวุฏฺฐิตาย ปริสายฯเปฯ เอกจฺจาย วุฏฺฐิตาย ปริสายฯเปฯ สพฺพาย วุฏฺฐิตาย ปริสาย อถญฺเญ อาวาสิกา ภิกฺขู อาคจฺฉนฺติ พหุตราฯเปฯ สมสมาฯเปฯ โถกตรา.  อุทฺทิฏฺฐํ สุอุทฺทิฏฺฐํ เตสํ สนฺติเก ปาริสุทฺธิ อาโรเจตพฺพา. อุทฺเทสกานํ อาปตฺติ ทุกฺกฏสฺส. 
||35|| 
วคฺคาวคฺคสญฺญิปนฺนรสกํ นิฏฺฐิตํ. 
na bhikkhave bhikkhuniyā nisinnaparisāya pātimokkhaṃ uddisitabbaṃ.  yo uddiseyya, āpatti dukkaṭassa.  --la-- na bhikkhave sikkhamānāya, na sāmaṇerassa, na sāmaṇeriyā, na sikkhaṃ paccakkhātakassa, na antimavatthuṃ ajjhāpannakassa nisinnaparisāya pātimokkhaṃ uddisitabbaṃ.  yo uddiseyya, āpatti dukkaṭassa. |1| 
(๙๗. เวมติกปนฺนรสกํ) ๑๗๔. อิธ ปน ภิกฺขเว อญฺญตรสฺมึ อาวาเส ตทหุโปสเถ สมฺพหุลา อาวาสิกา ภิกฺขู สนฺนิปตนฺติ จตฺตาโร วา อติเรกา วา. เต ชานนฺติ “อตฺถญฺเญ อาวาสิกา ภิกฺขู อนาคตา”ติ.  เต กปฺปติ นุ โข อมฺหากํ อุโปสโถ กาตุํ น นุ โข กปฺปตีติ เวมติกา อุโปสถํ กโรนฺติ ปาติโมกฺขํ อุทฺทิสนฺติ.  เตหิ อุทฺทิสฺสมาเน ปาติโมกฺเข อถญฺเญ อาวาสิกา ภิกฺขู อาคจฺฉนฺติ พหุตรา.  เตหิ ภิกฺขเว ภิกฺขูหิ ปุน ปาติโมกฺขํ อุทฺทิสิตพฺพํ. อุทฺเทสกานํ อาปตฺติ ทุกฺกฏสฺส. 
na āpattiyā adassane ukkhittakassa nisinnaparisāya pātimokkhaṃ uddisitabbaṃ.  yo uddiseyya, yathādhammo kāretabbo.  na āpattiyā appaṭikamme ukkhittakassa nisinnaparisāya, na pāpikāya diṭṭhiyā appaṭinissagge ukkhittakassa nisinnaparisāya pātimokkhaṃ uddisitabbaṃ.  yo uddiseyya, yathādhammo kāretabbo. |2| 
อิธ ปน ภิกฺขเว อญฺญตรสฺมึ อาวาเส ตทหุโปสเถ สมฺพหุลา อาวาสิกา ภิกฺขู สนฺนิปตนฺติ จตฺตาโร วา อติเรกา วา. เต ชานนฺติ “อตฺถญฺเญ อาวาสิกา ภิกฺขู อนาคตา”ติ เต “กปฺปติ นุ โข อมฺหากํ อุโปสโถ กาตุํ น นุ โข กปฺปตี”ติ เวมติกา อุโปสถํ กโรนฺติ ปาติโมกฺขํ อุทฺทิสนฺติ. เตหิ อุทฺทิสฺสมาเน ปาติโมกฺเข อถญฺเญ อาวาสิกา ภิกฺขู อาคจฺฉนฺติ สมสมา. อุทฺทิฏฺฐํ สุอุทฺทิฏฺฐํ อวเสสํ โสตพฺพํ. อุทฺเทสกานํ อาปตฺติ ทุกฺกฏสฺส. อิธ ปน ภิกฺขเว อญฺญตรสฺมึ อาวาเส ตทหุโปสเถ สมฺพหุลา อาวาสิกา ภิกฺขู สนฺนิปตนฺติ จตฺตาโร วา อติเรกา วา. เต ชานนฺติ อตฺถญฺเญ อาวาสิกา ภิกฺขู อนาคตาติ เต กปฺปติ นุ โข อมฺหากํ อุโปสโถ กาตุํ น นุ โข กปฺปตีติ เวมติกา อุโปสถํ กโรนฺติ ปาติโมกฺขํ อุทฺทิสนฺติ. เตหิ อุทฺทิสฺสมาเน ปาติโมกฺเข อถญฺเญ อาวาสิกา ภิกฺขู อาคจฺฉนฺติ โถกตรา. อุทฺทิฏฺฐํ สุอุทฺทิฏฺฐํ อวเสสํ โสตพฺพํ. อุทฺเทสกานํ อาปตฺติ ทุกฺกฏสฺส. อิธ ปน ภิกฺขเว อญฺญตรสฺมึ อาวาเส ตทหุโปสเถ สมฺพหุลา อาวาสิกา ภิกฺขู สนฺนิปตนฺติ จตฺตาโร วา อติเรกา วา. เต ชานนฺติ “อตฺถญฺเญ อาวาสิกา ภิกฺขู อนาคตา”ติ. เต “กปฺปติ นุ โข อมฺหากํ อุโปสโถ กาตุํ น นุ โข กปฺปตี”ติ เวมติกา อุโปสถํ กโรนฺติ ปาติโมกฺขํ อุทฺทิสนฺติ. เตหิ อุทฺทิฏฺฐมตฺเต ปาติโมกฺเขฯเปฯ อวุฏฺฐิตาย ปริสายฯเปฯ เอกจฺจาย วุฏฺฐิตาย ปริสายฯเปฯ สพฺพาย วุฏฺฐิตาย ปริสาย อถญฺเญ อาวาสิกา ภิกฺขู อาคจฺฉนฺติ พหุตราฯเปฯ สมสมาฯเปฯ โถกตรา. อุทฺทิฏฺฐํ สุอุทฺทิฏฺฐํ เตสํ สนฺติเก ปาริสุทฺธิ อาโรเจตพฺพา. อุทฺเทสกานํ อาปตฺติ ทุกฺกฏสฺส.  เวมติกปนฺนรสกํ นิฏฺฐิตํ.  (๙๘. กุกฺกุจฺจปกตปนฺนรสกํ) ๑๗๕. อิธ ปน ภิกฺขเว อญฺญตรสฺมึ อาวาเส ตทหุโปสเถ สมฺพหุลา อาวาสิกา ภิกฺขู สนฺนิปตนฺติ จตฺตาโร วา อติเรกา วา. เต ชานนฺติ “อตฺถญฺเญ อาวาสิกา ภิกฺขู อนาคตา”ติ.  เต “กปฺปเตว อมฺหากํ อุโปสโถ กาตุํ นามฺหากํ น กปฺปตี”ติ กุกฺกุจฺจปกตา อุโปสถํ กโรนฺติ ปาติโมกฺขํ อุทฺทิสนฺติ. 
na paṇḍakassa nisinnaparisāya pātimokkhaṃ uddisitabbaṃ.  yo uddiseyya, āpatti dukkaṭassa.  na theyyasaṃvāsakassa (136) --la-- na titthiyapakkantakassa, na tiracchānagatassa, na mātughātakassa, na pitughātakassa, na arahantaghātakassa, na bhikkhunīdūsakassa, na saṃghabhedakassa, na lohituppādakassa, na ubhatovyañjanakassa nisinnaparisāya pātimokkhaṃ uddisitabbaṃ.  yo uddiseyya, āpatti {dukkaṭassa.} |3| 
เตหิ อุทฺทิสฺสมาเน ปาติโมกฺเข อถญฺเญ อาวาสิกา ภิกฺขู อาคจฺฉนฺติ พหุตรา.  เตหิ ภิกฺขเว ภิกฺขูหิ ปุน ปาติโมกฺขํ อุทฺทิสิตพฺพํ. อุทฺเทสกานํ อาปตฺติ ทุกฺกฏสฺส.  อิธ ปน ภิกฺขเว อญฺญตรสฺมึ อาวาเส ตทหุโปสเถ สมฺพหุลา อาวาสิกา ภิกฺขู สนฺนิปตนฺติ จตฺตาโร วา อติเรกา วา. เต ชานนฺติ “อตฺถญฺเญ อาวาสิกา ภิกฺขู อนาคตา”ติ. เต “กปฺปเตว อมฺหากํ อุโปสโถ กาตุํ นามฺหากํ น กปฺปตี”ติ กุกฺกุจฺจปกตา อุโปสถํ กโรนฺติ ปาติโมกฺขํ อุทฺทิสนฺติ. เตหิ อุทฺทิสฺสมาเน ปาติโมกฺเข อถญฺเญ อาวาสิกา ภิกฺขู อาคจฺฉนฺติ สมสมา. อุทฺทิฏฺฐํ สุอุทฺทิฏฺฐํ อวเสสํ โสตพฺพํ. อุทฺเทสกานํ อาปตฺติ ทุกฺกฏสฺส. อิธ ปน ภิกฺขเว อญฺญตรสฺมึ อาวาเส ตทหุโปสเถ สมฺพหุลา อาวาสิกา ภิกฺขู สนฺนิปตนฺติ จตฺตาโร วา อติเรกา วา. เต ชานนฺติ “อตฺถญฺเญ อาวาสิกา ภิกฺขู อนาคตา”ติ. เต “กปฺปเตว อมฺหากํ อุโปสโถ กาตุํ นามฺหากํ น กปฺปตี”ติ กุกฺกุจฺจปกตา อุโปสถํ กโรนฺติ ปาติโมกฺขํ อุทฺทิสนฺติ. เตหิ อุทฺทิสฺสมาเน ปาติโมกฺเข อถญฺเญ อาวาสิกา ภิกฺขู อาคจฺฉนฺติ โถกตรา. อุทฺทิฏฺฐํ สุอุทฺทิฏฺฐํ อวเสสํ โสตพฺพํ. อุทฺเทสกานํ อาปตฺติ ทุกฺกฏสฺส. อิธ ปน ภิกฺขเว อญฺญตรสฺมึ อาวาเส ตทหุโปสเถ สมฺพหุลา อาวาสิกา ภิกฺขู สนฺนิปตนฺติ จตฺตาโร วา อติเรกา วา. เต ชานนฺติ “อตฺถญฺเญ อาวาสิกา ภิกฺขู อนาคตา”ติ. เต “กปฺปเตว อมฺหากํ อุโปสโถ กาตุํ นามฺหากํ น กปฺปตี”ติ กุกฺกุจฺจปกตา อุโปสถํ กโรนฺติ ปาติโมกฺขํ อุทฺทิสนฺติ. เตหิ อุทฺทิฏฺฐมตฺเต ปาติโมกฺเขฯเปฯ อวุฏฺฐิตาย ปริสายฯเปฯ เอกจฺจาย วุฏฺฐิตาย ปริสายฯเปฯ สพฺพาย วุฏฺฐิตาย ปริสาย อถญฺเญ อาวาสิกา ภิกฺขู อาคจฺฉนฺติ พหุตราฯเปฯ สมสมา ฯเปฯ โถกตรา. อุทฺทิฏฺฐํ สุอุทฺทิฏฺฐํ เตสํ สนฺติเก ปาริสุทฺธิ อาโรเจตพฺพา. อุทฺเทสกานํ อาปตฺติ ทุกฺกฏสฺส.  กุกฺกุจฺจปกตปนฺนรสกํ นิฏฺฐิตํ. 
na bhikkhave pārivāsikassa pārisuddhidānena uposatho kātabbo aññatra avuṭṭhitāya parisāya.  na ca bhikkhave anuposathe uposatho kātabbo aññatra saṃghasāmaggiyā ’ti. |4| 
(๙๙. เภทปุเรกฺขารปนฺนรสกํ) ๑๗๖. อิธ ปน ภิกฺขเว อญฺญตรสฺมึ อาวาเส ตทหุโปสเถ สมฺพหุลา อาวาสิกา ภิกฺขู สนฺนิปตนฺติ จตฺตาโร วา อติเรกา วา. เต ชานนฺติ “อตฺถญฺเญ อาวาสิกา ภิกฺขู อนาคตา”ติ.  เต “นสฺสนฺเตเต วินสฺสนฺเตเต โก เตหิ อตฺโถ”ติ เภทปุเรกฺขารา อุโปสถํ กโรนฺติ ปาติโมกฺขํ อุทฺทิสนฺติ. 
||36|| 
เตหิ อุทฺทิสฺสมาเน ปาติโมกฺเข อถญฺเญ อาวาสิกา ภิกฺขู อาคจฺฉนฺติ พหุตรา. 
uposathakkhandhake tatiyaṃ bhāṇavāraṃ. 
เตหิ ภิกฺขเว ภิกฺขูหิ ปุน ปาติโมกฺขํ อุทฺทิสิตพฺพํ. อุทฺเทสกานํ อาปตฺติ ถุลฺลจฺจยสฺส 
imasmiṃ khandhake vatthu chāsīti.  tassa uddānaṃ: titthiyā Bimbisāro ca, sannipatanti tuṇhikā, dhammaṃ, raho, pātimokkhaṃ, devasikaṃ, tadā sakiṃ, |  yathāparisāya, samaggaṃ, sāmaggī, Maddakucchi ca, sīmā, mahatī, nadiyā, anu, dve, khuddakāni ca, |  navā, Rājagahe c’ eva, sīmā avippavāsanā, sammanne paṭhamaṃ sīmaṃ pacchā sīmaṃ samūhane, |  asammatā gāmasīmā, nadiyā samudde sare udakukkhepo, bhindanti, tath’ ev’ ajjhottharanti ca, |  kati, kammāni, uddeso, savarā, asati pi ca, dhammaṃ, vinayaṃ, tajjenti, puna vinaya-tajjanā, |  codanā, kate okāse, adhamma-paṭikkosanā, catupañcaparā, āvi, sañcicca, ce pi vāyame, |  sagahaṭṭhā, anajjhiṭṭhā, Codanamhi, na jānati, sambahulā na jānanti, sajjukaṃ, na ca gacchare, |  katimī, kīvatikā, dūre ārocetuñ ca, na ssari, uklāpaṃ, āsanaṃ, padīpo, disā, añño bahussuto, |  sajjukaṃ, vassuposatho, suddhikammañ ca, ñātakā, Gaggo, catu-tayo, dve-’ko, āpatti, sabhāgā, sari, |  sabbo saṃgho, vematiko, na jānanti, bahussuto, bahū, samasamā, thokā, parisāya avuṭṭhitāya ca, |  ekaccā vuṭṭhitā, sabbā, jānanti ca, vematikā, kappat’ evā ’ti kukkuccā, jānaṃ, passaṃ, suṇanti ca, |  āvāsikena āgantu, cātupannaraso puna, pāṭipado pannaraso, liṅgasaṃvāsakā ubho, |  pārivāsānuposatho, aññatra saṃghasāmaggiyā.  ete vibhattā uddānā vatthuvibhūtakāraṇā ti. | 
อิธ ปน ภิกฺขเว อญฺญตรสฺมึ อาวาเส ตทหุโปสเถ สมฺพหุลา อาวาสิกา ภิกฺขู สนฺนิปตนฺติ จตฺตาโร วา อติเรกา วา. เต ชานนฺติ “อตฺถญฺเญ อาวาสิกา ภิกฺขู อนาคตา”ติ. เต “นสฺสนฺเตเต วินสฺสนฺเตเต โก เตหิ อตฺโถ”ติ เภทปุเรกฺขารา อุโปสถํ กโรนฺติ ปาติโมกฺขํ อุทฺทิสนฺติ. เตหิ อุทฺทิสฺสมาเน ปาติโมกฺเข อถญฺเญ อาวาสิกา ภิกฺขู อาคจฺฉนฺติ สมสมา. อุทฺทิฏฺฐํ สุอุทฺทิฏฺฐํ อวเสสํ โสตพฺพํ. อุทฺเทสกานํ อาปตฺติ ถุลฺลจฺจยสฺส. อิธ ปน ภิกฺขเว อญฺญตรสฺมึ อาวาเส ตทหุโปสเถ สมฺพหุลา อาวาสิกา ภิกฺขู สนฺนิปตนฺติ จตฺตาโร วา อติเรกา วา. เต ชานนฺติ “อตฺถญฺเญ อาวาสิกา ภิกฺขู อนาคตา”ติ. เต “นสฺสนฺเตเต วินสฺสนฺเตเต โก เตหิ อตฺโถ”ติ เภทปุเรกฺขารา อุโปสถํ กโรนฺติ ปาติโมกฺขํ อุทฺทิสนฺติ. เตหิ อุทฺทิสฺสมาเน ปาติโมกฺเข อถญฺเญ อาวาสิกา ภิกฺขู อาคจฺฉนฺติ โถกตรา. อุทฺทิฏฺฐํ สุอุทฺทิฏฺฐํ อวเสสํ โสตพฺพํ. อุทฺเทสกานํ อาปตฺติ ถุลฺลจฺจยสฺส. อิธ ปน ภิกฺขเว อญฺญตรสฺมึ อาวาเส ตทหุโปสเถ สมฺพหุลา อาวาสิกา ภิกฺขู สนฺนิปตนฺติ จตฺตาโร วา อติเรกา วา. เต ชานนฺติ “อตฺถญฺเญ อาวาสิกา ภิกฺขู อนาคตา”ติ เต “นสฺสนฺเตเต วินสฺสนฺเตเต โก เตหิ อตฺโถ”ติ เภทปุเรกฺขารา อุโปสถํ กโรนฺติ ปาติโมกฺขํ อุทฺทิสนฺติ. เตหิ อุทฺทิฏฺฐมตฺเต ปาติโมกฺเข อถญฺเญ อาวาสิกา ภิกฺขู อาคจฺฉนฺติ พหุตรา. เตหิ ภิกฺขเว ภิกฺขูหิ ปุน ปาติโมกฺขํ อุทฺทิสิตพฺพํ. อุทฺเทสกานํ อาปตฺติ ถุลฺลจฺจยสฺส. อิธ ปน ภิกฺขเว อญฺญตรสฺมึ อาวาเส ตทหุโปสเถ สมฺพหุลา อาวาสิกา ภิกฺขู สนฺนิปตนฺติ จตฺตาโร วา อติเรกา วา. เต ชานนฺติ “อตฺถญฺเญ อาวาสิกา ภิกฺขู อนาคตา”ติ เต “นสฺสนฺเตเต วินสฺสนฺเตเต โก เตหิ อตฺโถ”ติ เภทปุเรกฺขารา อุโปสถํ กโรนฺติ ปาติโมกฺขํ อุทฺทิสนฺติ. เตหิ อุทฺทิฏฺฐมตฺเต ปาติโมกฺเข อถญฺเญ อาวาสิกา ภิกฺขู อาคจฺฉนฺติ สมสมา. อุทฺทิฏฺฐํ สุอุทฺทิฏฺฐํ เตสํ สนฺติเก ปาริสุทฺธิ อาโรเจตพฺพา. อุทฺเทสกานํ อาปตฺติ ถุลฺลจฺจยสฺส. อิธ ปน ภิกฺขเว อญฺญตรสฺมึ อาวาเส ตทหุโปสเถ สมฺพหุลา อาวาสิกา ภิกฺขู สนฺนิปตนฺติ จตฺตาโร วา อติเรกา วา. เต ชานนฺติ “อตฺถญฺเญ อาวาสิกา ภิกฺขู อนาคตา”ติ. เต “นสฺสนฺเตเต วินสฺสนฺเตเต โก เตหิ อตฺโถ”ติ เภทปุเรกฺขารา อุโปสถํ กโรนฺติ ปาติโมกฺขํ อุทฺทิสนฺติ. เตหิ อุทฺทิฏฺฐมตฺเต ปาติโมกฺเข อถญฺเญ อาวาสิกา ภิกฺขู อาคจฺฉนฺติ โถกตรา. อุทฺทิฏฺฐํ สุอุทฺทิฏฺฐํ เตสํ สนฺติเก ปาริสุทฺธิ อาโรเจตพฺพา. อุทฺเทสกานํ อาปตฺติ ถุลฺลจฺจยสฺส. อิธ ปน ภิกฺขเว อญฺญตรสฺมึ อาวาเส ตทหุโปสเถ สมฺพหุลา อาวาสิกา ภิกฺขู สนฺนิปตนฺติ จตฺตาโร วา อติเรกา วา. เต ชานนฺติ “อตฺถญฺเญ อาวาสิกา ภิกฺขู อนาคตา”ติ. เต “นสฺสนฺเตเต วินสฺสนฺเตเต โก เตหิ อตฺโถ”ติ เภทปุเรกฺขารา อุโปสถํ กโรนฺติ ปาติโมกฺขํ อุทฺทิสนฺติ. เตหิ อุทฺทิฏฺฐมตฺเต ปาติโมกฺเข อวุฏฺฐิตาย ปริสาย อถญฺเญ อาวาสิกา ภิกฺขู อาคจฺฉนฺติ พหุตรา. เตหิ ภิกฺขเว ภิกฺขูหิ ปุน ปาติโมกฺขํ อุทฺทิสิตพฺพํ. อุทฺเทสกานํ อาปตฺติ ถุลฺลจฺจยสฺส. อิธ ปน ภิกฺขเว อญฺญตรสฺมึ อาวาเส ตทหุโปสเถ สมฺพหุลา อาวาสิกา ภิกฺขู สนฺนิปตนฺติ จตฺตาโร วา อติเรกา วา. เต ชานนฺติ “อตฺถญฺเญ อาวาสิกา ภิกฺขู อนาคตา”ติ. เต “นสฺสนฺเตเต วินสฺสนฺเตเต โก เตหิ อตฺโถ”ติ เภทปุเรกฺขารา อุโปสถํ กโรนฺติ ปาติโมกฺขํ อุทฺทิสนฺติ. เตหิ อุทฺทิฏฺฐมตฺเต ปาติโมกฺเข อวุฏฺฐิตาย ปริสาย อถญฺเญ อาวาสิกา ภิกฺขู อาคจฺฉนฺติ สมสมา. อุทฺทิฏฺฐํ สุอุทฺทิฏฺฐํ เตสํ สนฺติเก ปาริสุทฺธิ อาโรเจตพฺพา. อุทฺเทสกานํ อาปตฺติ ถุลฺลจฺจยสฺส. อิธ ปน ภิกฺขเว อญฺญตรสฺมึ อาวาเส ตทหุโปสเถ สมฺพหุลา อาวาสิกา ภิกฺขู สนฺนิปตนฺติ จตฺตาโร วา อติเรกา วา. เต ชานนฺติ “อตฺถญฺเญ อาวาสิกา ภิกฺขู อนาคตา”ติ. เต “นสฺสนฺเตเต วินสฺสนฺเตเต โก เตหิ อตฺโถ”ติ เภทปุเรกฺขารา อุโปสถํ กโรนฺติ ปาติโมกฺขํ อุทฺทิสนฺติ. เตหิ อุทฺทิฏฺฐมตฺเต ปาติโมกฺเข อวุฏฺฐิตาย ปริสาย อถญฺเญ อาวาสิกา ภิกฺขู อาคจฺฉนฺติ โถกตรา. อุทฺทิฏฺฐํ สุอุทฺทิฏฺฐํ เตสํ สนฺติเก ปาริสุทฺธิ อาโรเจตพฺพา. อุทฺเทสกานํ อาปตฺติ ถุลฺลจฺจยสฺส. อิธ ปน ภิกฺขเว อญฺญตรสฺมึ อาวาเส ตทหุโปสเถ สมฺพหุลา อาวาสิกา ภิกฺขู สนฺนิปตนฺติ จตฺตาโร วา อติเรกา วา. เต ชานนฺติ “อตฺถญฺเญ อาวาสิกา ภิกฺขู อนาคตา”ติ. เต “นสฺสนฺเตเต วินสฺสนฺเตเต โก เตหิ อตฺโถ”ติ เภทปุเรกฺขารา อุโปสถํ กโรนฺติ ปาติโมกฺขํ อุทฺทิสนฺติ. เตหิ อุทฺทิฏฺฐมตฺเต ปาติโมกฺเข เอกจฺจาย วุฏฺฐิตาย ปริสาย อถญฺเญ อาวาสิกา ภิกฺขู อาคจฺฉนฺติ พหุตรา. เตหิ ภิกฺขเว ภิกฺขูหิ ปุน ปาติโมกฺขํ อุทฺทิสิตพฺพํ. อุทฺเทสกานํ อาปตฺติ ถุลฺลจฺจยสฺส. อิธ ปน ภิกฺขเว อญฺญตรสฺมึ อาวาเส ตทหุโปสเถ สมฺพหุลา อาวาสิกา ภิกฺขู สนฺนิปตนฺติ จตฺตาโร วา อติเรกา วา. เต ชานนฺติ “อตฺถญฺเญ อาวาสิกา ภิกฺขู อนาคตา”ติ. เต “นสฺสนฺเตเต วินสฺสนฺเตเต โก เตหิ อตฺโถ”ติ เภทปุเรกฺขารา อุโปสถํ กโรนฺติ ปาติโมกฺขํ อุทฺทิสนฺติ. เตหิ อุทฺทิฏฺฐมตฺเต ปาติโมกฺเข เอกจฺจาย วุฏฺฐิตาย ปริสาย อถญฺเญ อาวาสิกา ภิกฺขู อาคจฺฉนฺติ สมสมา. อุทฺทิฏฺฐํ สุอุทฺทิฏฺฐํ เตสํ สนฺติเก ปาริสุทฺธิ อาโรเจตพฺพา. อุทฺเทสกานํ อาปตฺติ ถุลฺลจฺจยสฺส. อิธ ปน ภิกฺขเว อญฺญตรสฺมึ อาวาเส ตทหุโปสเถ สมฺพหุลา อาวาสิกา ภิกฺขู สนฺนิปตนฺติ จตฺตาโร วา อติเรกา วา. เต ชานนฺติ “อตฺถญฺเญ อาวาสิกา ภิกฺขู อนาคตา”ติ. เต “นสฺสนฺเตเต วินสฺสนฺเตเต โก เตหิ อตฺโถ”ติ เภทปุเรกฺขารา อุโปสถํ กโรนฺติ ปาติโมกฺขํ อุทฺทิสนฺติ. เตหิ อุทฺทิฏฺฐมตฺเต ปาติโมกฺเข เอกจฺจาย วุฏฺฐิตาย ปริสาย อถญฺเญ อาวาสิกา ภิกฺขู อาคจฺฉนฺติ โถกตรา. อุทฺทิฏฺฐํ สุอุทฺทิฏฺฐํ เตสํ สนฺติเก ปาริสุทฺธิ อาโรเจตพฺพา. อุทฺเทสกานํ อาปตฺติ ถุลฺลจฺจยสฺส. อิธ ปน ภิกฺขเว อญฺญตรสฺมึ อาวาเส ตทหุโปสเถ สมฺพหุลา อาวาสิกา ภิกฺขู สนฺนิปตนฺติ จตฺตาโร วา อติเรกา วา. เต ชานนฺติ “อตฺถญฺเญ อาวาสิกา ภิกฺขู อนาคตา”ติ. เต “นสฺสนฺเตเต วินสฺสนฺเตเต โก เตหิ อตฺโถ”ติ เภทปุเรกฺขารา อุโปสถํ กโรนฺติ ปาติโมกฺขํ อุทฺทิสนฺติ. เตหิ อุทฺทิฏฺฐมตฺเต ปาติโมกฺเข สพฺพาย วุฏฺฐิตาย ปริสาย อถญฺเญ อาวาสิกา ภิกฺขู อาคจฺฉนฺติ พหุตรา. เตหิ ภิกฺขเว ภิกฺขูหิ ปุน ปาติโมกฺขํ อุทฺทิสิตพฺพํ. อุทฺเทสกานํ อาปตฺติ ถุลฺลจฺจยสฺส. อิธ ปน ภิกฺขเว อญฺญตรสฺมึ อาวาเส ตทหุโปสเถ สมฺพหุลา อาวาสิกา ภิกฺขู สนฺนิปตนฺติ จตฺตาโร วา อติเรกา วา. เต ชานนฺติ “อตฺถญฺเญ อาวาสิกา ภิกฺขู อนาคตา”ติ. เต “นสฺสนฺเตเต วินสฺสนฺเตเต โก เตหิ อตฺโถ”ติ เภทปุเรกฺขารา อุโปสถํ กโรนฺติ ปาติโมกฺขํ อุทฺทิสนฺติ. เตหิ อุทฺทิฏฺฐมตฺเต ปาติโมกฺเข สพฺพาย วุฏฺฐิตาย ปริสาย อถญฺเญ อาวาสิกา ภิกฺขู อาคจฺฉนฺติ สมสมา. อุทฺทิฏฺฐํ สุอุทฺทิฏฺฐํ เตสํ สนฺติเก ปาริสุทฺธิ อาโรเจตพฺพา. อุทฺเทสกานํ อาปตฺติ ถุลฺลจฺจยสฺส. อิธ ปน ภิกฺขเว อญฺญตรสฺมึ อาวาเส ตทหุโปสเถ สมฺพหุลา อาวาสิกา ภิกฺขู สนฺนิปตนฺติ จตฺตาโร วา อติเรกา วา. เต ชานนฺติ “อตฺถญฺเญ อาวาสิกา ภิกฺขู อนาคตา”ติ. เต “นสฺสนฺเตเต วินสฺสนฺเตเต โก เตหิ อตฺโถ”ติ เภทปุเรกฺขารา อุโปสถํ กโรนฺติ ปาติโมกฺขํ อุทฺทิสนฺติ. เตหิ อุทฺทิฏฺฐมตฺเต ปาติโมกฺเข สพฺพาย วุฏฺฐิตาย ปริสาย อถญฺเญ อาวาสิกา ภิกฺขู อาคจฺฉนฺติ โถกตรา. อุทฺทิฏฺฐํ สุอุทฺทิฏฺฐํ เตสํ สนฺติเก ปาริสุทฺธิ อาโรเจตพฺพา. อุทฺเทสกานํ อาปตฺติ ถุลฺลจฺจยสฺส.  เภทปุเรกฺขารปนฺนรสกํ นิฏฺฐิตํ.  ปญฺจวีสติกา นิฏฺฐิตา.  (๑๐๐. สีโมกฺกนฺติกเปยฺยาลํ) ๑๗๗. อิธ ปน ภิกฺขเว อญฺญตรสฺมึ อาวาเส ตทหุโปสเถ สมฺพหุลา อาวาสิกา ภิกฺขู สนฺนิปตนฺติ จตฺตาโร วา อติเรกา วา. เต น ชานนฺติ “อญฺเญ อาวาสิกา ภิกฺขู อนฺโตสีมํ โอกฺกมนฺตี”ติ ฯเปฯ  เต น ชานนฺติ “อญฺเญ อาวาสิกา ภิกฺขู อนฺโตสีมํ โอกฺกนฺตา”ติฯเปฯ  เต น ปสฺสนฺติ อญฺเญ อาวาสิเก ภิกฺขู อนฺโตสีมํ โอกฺกมนฺเต ฯเปฯ  เต น ปสฺสนฺติ อญฺเญ อาวาสิเก ภิกฺขู อนฺโตสีมํ โอกฺกนฺเตฯเปฯ  เต น สุณนฺติ “อญฺเญ อาวาสิกา ภิกฺขู อนฺโตสีมํ โอกฺกมนฺตี”ติฯเปฯ  เต น สุณนฺติ “อญฺเญ อาวาสิกา ภิกฺขู อนฺโตสีมํ โอกฺกนฺตา”ติฯเปฯ.  อาวาสิเกน อาวาสิกา เอกสตปญฺจสตฺตติ ติกนยโต อาวาสิเกน อาคนฺตุกา อาคนฺตุเกน อาวาสิกา อาคนฺตุเกน อาคนฺตุกา เปยฺยาลมุเขน สตฺต ติกสตานิ โหนฺติ.      ๑๗๘. อิธ ปน ภิกฺขเว อาวาสิกานํ ภิกฺขูนํ จาตุทฺทโส โหติ อาคนฺตุกานํ ปนฺนรโส.  สเจ อาวาสิกา พหุตรา โหนฺติ อาคนฺตุเกหิ อาวาสิกานํ อนุวตฺติตพฺพํ.  สเจ สมสมา โหนฺติ อาคนฺตุเกหิ อาวาสิกานํ อนุวตฺติตพฺพํ. 
(137) Tena samayena buddho bhagavā Rājagahe viharati Veḷuvane Kalandakanivāpe.  tena kho pana samayena bhagavatā bhikkhūnaṃ vassāvāso apaññatto hoti.  te ’dha bhikkhū hemantam pi gimham pi vassam pi cārikaṃ caranti. |1| 
สเจ อาคนฺตุกา พหุตรา โหนฺติ อาวาสิเกหิ อาคนฺตุกานํ อนุวตฺติตพฺพํ.  อิธ ปน ภิกฺขเว อาวาสิกานํ ภิกฺขูนํ ปนฺนรโส โหติ อาคนฺตุกานํ จาตุทฺทโส.  สเจ อาวาสิกา พหุตรา โหนฺติ อาคนฺตุเกหิ อาวาสิกานํ อนุวตฺติตพฺพํ. 
manussā ujjhāyanti khīyanti vipācenti: kathaṃ hi nāma samaṇā Sakyaputtiyā hemantam pi gimham pi vassam pi cārikaṃ carissanti haritāni tiṇāni sammaddantā ekindriyaṃ jīvaṃ viheṭhentā bahū khuddake pāṇe saṃghātaṃ āpādentā.  ime hi nāma aññatitthiyā durakkhātadhammā vassāvāsaṃ alliyissanti saṃkāpayissanti, ime hi nāma sakuntakā rukkhaggesu kulāvakāni karitvā vassāvāsaṃ alliyissanti saṃkāpayissanti, ime pana samaṇā Sakyaputtiyā hemantam pi gimham pi vassam pi cārikaṃ caranti haritāni tiṇāni sammaddantā ekindriyaṃ jīvaṃ viheṭhentā bahū khuddake pāṇe saṃghātaṃ āpādentā ’ti. |2| 
สเจ สมสมา โหนฺติ อาคนฺตุเกหิ อาวาสิกานํ อนุวตฺติตพฺพํ.  สเจ อาคนฺตุกา พหุตรา โหนฺติ อาวาสิเกหิ อาคนฺตุกานํ อนุวตฺติตพฺพํ. 
assosuṃ kho bhikkhū tesaṃ manussānaṃ ujjhāyantānaṃ khīyantānaṃ vipācentānaṃ.  atha kho te bhikkhū bhagavato etam atthaṃ ārocesuṃ.  atha kho bhagavā etasmiṃ nidāne etasmiṃ pakaraṇe dhammiṃ kathaṃ katvā bhikkhū āmantesi: anujānāmi bhikkhave vassaṃ upagantun ti. |3| 
อิธ ปน ภิกฺขเว อาวาสิกานํ ภิกฺขูนํ ปาฏิปโท โหติ อาคนฺตุกานํ ปนฺนรโส.  สเจ อาวาสิกา พหุตรา โหนฺติ อาวาสิเกหิ อาคนฺตุกานํ นากามา ทาตพฺพา สามคฺคี. อาคนฺตุเกหิ นิสฺสีมํ คนฺตฺวา อุโปสโถ กาตพฺโพ.  สเจ สมสมา โหนฺติ อาวาสิเกหิ อาคนฺตุกานํ นากามา ทาตพฺพา สามคฺคี. อาคนฺตุเกหิ นิสฺสีมํ คนฺตฺวา อุโปสโถ กาตพฺโพ. 
||1|| 
สเจ อาคนฺตุกา พหุตรา โหนฺติ อาวาสิเกหิ อาคนฺตุกานํ สามคฺคี วา ทาตพฺพา นิสฺสีมํ วา คนฺตพฺพํ. 
atha kho bhikkhūnaṃ etad ahosi: kadā nu kho vassaṃ upagantabban ti.  bhagavato etam atthaṃ ārocesuṃ.  anujānāmi bhikkhave vassāne vassaṃ upagantun ti. |1| 
อิธ ปน ภิกฺขเว อาวาสิกานํ ภิกฺขูนํ ปนฺนรโส โหติ อาคนฺตุกานํ ปาฏิปโท.  สเจ อาวาสิกา พหุตรา โหนฺติ อาคนฺตุเกหิ อาวาสิกานํ สามคฺคี วา ทาตพฺพา นิสฺสีมํ วา คนฺตพฺพํ.  สเจ สมสมา โหนฺติ อาคนฺตุเกหิ อาวาสิกานํ สามคฺคี วา ทาตพฺพา นิสฺสีมํ วา คนฺตพฺพํ. 
atha kho bhikkhūnaṃ etad ahosi: kati nu kho vassupanāyikā ’ti.  bhagavato etam atthaṃ ārocesuṃ.  dve ’mā bhikkhave vassupanāyikā purimikā pacchimikā ’ti.  aparajjugatāya āsāḷhiyā purimikā upagantabbā, māsagatāya āsāḷhiyā pacchimikā upagantabbā.  imā kho bhikkhave dve vassupanāyikā ’ti. |2| 
สเจ อาคนฺตุกา พหุตรา โหนฺติ อาคนฺตุเกหิ อาวาสิกานํ นากามา ทาตพฺพา สามคฺคี. อาวาสิเกหิ นิสฺสีมํ คนฺตฺวา อุโปสโถ กาตพฺโพ. (สีโมกฺกนฺติกเปยฺยาลํ นิฏฺฐิตํ.)  (๑๐๑. ลิงฺคาทิทสฺสนํ) ๑๗๙. อิธ ปน ภิกฺขเว อาคนฺตุกา ภิกฺขู ปสฺสนฺติ อาวาสิกานํ ภิกฺขูนํ อาวาสิกาการํ อาวาสิกลิงฺคํ อาวาสิกนิมิตฺตํ อาวาสิกุทฺเทสํ สุปญฺญตฺตํ มญฺจปีฐํ ภิสิพิพฺโพหนํ ปานียํ ปริโภชนียํ สูปฏฺฐิตํ ปริเวณํ สุสมฺมฏฺฐํ ปสฺสิตฺวา เวมติกา โหนฺติ “อตฺถิ นุ โข อาวาสิกา ภิกฺขู นตฺถิ นุ โข”ติ.  เต เวมติกา น วิจินนฺติ อวิจินิตฺวา อุโปสถํ กโรนฺติ. อาปตฺติ ทุกฺกฏสฺส.  เต เวมติกา วิจินนฺติ วิจินิตฺวา น ปสฺสนฺติ อปสฺสิตฺวา อุโปสถํ กโรนฺติ. อนาปตฺติ.  เต เวมติกา วิจินนฺติ วิจินิตฺวา ปสฺสนฺติ ปสฺสิตฺวา เอกโต อุโปสถํ กโรนฺติ. อนาปตฺติ. 
||2|| 
เต เวมติกา วิจินนฺติ วิจินิตฺวา ปสฺสนฺติ ปสฺสิตฺวา ปาเฏกฺกํ อุโปสถํ กโรนฺติ. อาปตฺติ ทุกฺกฏสฺส. 
(138) tena kho pana samayena chabbaggiyā bhikkhū vassaṃ upagantvā antarā vassaṃ cārikaṃ caranti.  manussā ujjhāyanti khīyanti vipācenti: kathaṃ hi nāma samaṇā Sakyaputtiyā hemantam pi gimham pi vassam pi cārikaṃ carissanti haritāni tiṇāni sammaddantā ekindriyaṃ jīvaṃ viheṭhentā bahū khuddake pāṇe saṃghātaṃ āpādentā.  ime hi nāma aññatitthiyā durakkhātadhammā vassāvāsaṃ alliyissanti saṃkāpayissanti, ime hi nāma sakuntakā rukkhaggesu kulāvakāni karitvā vassāvāsaṃ alliyissanti saṃkāpayissanti, ime pana samaṇā Sakyaputtiyā hemantam pi gimham pi vassam pi cārikaṃ caranti haritāni tiṇāni sammaddantā ekindriyaṃ jīvaṃ viheṭhentā bahū khuddake pāṇe saṃghātaṃ āpādentā ’ti. |1| 
เต เวมติกา วิจินนฺติ วิจินิตฺวา ปสฺสนฺติ ปสฺสิตฺวา “นสฺสนฺเตเต วินสฺสนฺเตเต โก เตหิ อตฺโถ”ติ เภทปุเรกฺขารา อุโปสถํ กโรนฺติ. อาปตฺติ ถุลฺลจฺจยสฺส.  อิธ ปน ภิกฺขเว อาคนฺตุกา ภิกฺขู สุณนฺติ อาวาสิกานํ ภิกฺขูนํ อาวาสิกาการํ อาวาสิกลิงฺคํ อาวาสิกนิมิตฺตํ อาวาสิกุทฺเทสํ จงฺกมนฺตานํ ปทสทฺทํ สชฺฌายสทฺทํ อุกฺกาสิตสทฺทํ ขิปิตสทฺทํ สุตฺวา เวมติกา โหนฺติ “อตฺถิ นุ โข อาวาสิกา ภิกฺขู นตฺถิ นุ โข”ติ.  เต เวมติกา น วิจินนฺติ อวิจินิตฺวา อุโปสถํ กโรนฺติ. อาปตฺติ ทุกฺกฏสฺส. เต เวมติกา วิจินนฺติ วิจินิตฺวา น ปสฺสนฺติ อปสฺสิตฺวา อุโปสถํ กโรนฺติ. อนาปตฺติ. เต เวมติกา วิจินนฺติ วิจินิตฺวา ปสฺสนฺติ ปสฺสิตฺวา เอกโต อุโปสถํ กโรนฺติ. อนาปตฺติ. เต เวมติกา วิจินนฺติ วิจินิตฺวา ปสฺสนฺติ ปสฺสิตฺวา ปาเฏกฺกํ อุโปสถํ กโรนฺติ. อาปตฺติ ทุกฺกฏสฺส. เต เวมติกา วิจินนฺติ วิจินิตฺวา ปสฺสนฺติ ปสฺสิตฺวา “นสฺสนฺเตเต วินสฺสนฺเตเต โก เตหิ อตฺโถ”ติ เภทปุเรกฺขารา อุโปสถํ กโรนฺติ. อาปตฺติ ถุลฺลจฺจยสฺส. 
assosuṃ kho bhikkhū tesaṃ manussānaṃ ujjhāyantānaṃ khīyantānaṃ vipācentānaṃ.  ye te bhikkhū appicchā te ujjhāyanti khīyanti vipācenti: kathaṃ hi nāma chabbaggiyā bhikkhū vassaṃ upagantvā antarā vassaṃ cārikaṃ carissantīti.  atha kho te bhikkhū bhagavato etam atthaṃ ārocesuṃ.  atha kho bhagavā etasmiṃ nidāne etasmiṃ pakaraṇe dhammiṃ kathaṃ katvā bhikkhū āmantesi: na bhikkhave vassaṃ upagantvā purimaṃ vā temāsaṃ pacchimaṃ vā temāsaṃ avasitvā cārikā pakkamitabbā.  yo pakkameyya, āpatti dukkaṭassā ’ti. |2| 
อิธ ปน ภิกฺขเว อาวาสิกา ภิกฺขู ปสฺสนฺติ อาคนฺตุกานํ ภิกฺขูนํ อาคนฺตุกาการํ อาคนฺตุกลิงฺคํ อาคนฺตุกนิมิตฺตํ อาคนฺตุกุทฺเทสํ อญฺญาตกํ ปตฺตํ อญฺญาตกํ จีวรํ อญฺญาตกํ นิสีทนํ ปาทานํ โธตํ อุทกนิสฺเสกํ ปสฺสิตฺวา เวมติกา โหนฺติ “อตฺถิ นุ โข อาคนฺตุกา ภิกฺขู นตฺถิ นุ โข”ติ.  เต เวมติกา น วิจินนฺติ อวิจินิตฺวา อุโปสถํ กโรนฺติ. อาปตฺติ ทุกฺกฏสฺส. เต เวมติกา วิจินนฺติ วิจินิตฺวา น ปสฺสนฺติ อปสฺสิตฺวา อุโปสถํ กโรนฺติ. อนาปตฺติ. เต เวมติกา วิจินนฺติ วิจินิตฺวา ปสฺสนฺติ ปสฺสิตฺวา เอกโต อุโปสถํ กโรนฺติ. อนาปตฺติ. เต เวมติกา วิจินนฺติ วิจินิตฺวา ปสฺสนฺติ ปสฺสิตฺวา ปาเฏกฺกํ อุโปสถํ กโรนฺติ. อาปตฺติ ทุกฺกฏสฺส. เต เวมติกา วิจินนฺติ วิจินิตฺวา ปสฺสนฺติ ปสฺสิตฺวา “นสฺสนฺเตเต วินสฺสนฺเตเต โก เตหิ อตฺโถ”ติ เภทปุเรกฺขารา อุโปสถํ กโรนฺติ. อาปตฺติ ถุลฺลจฺจยสฺส.  อิธ ปน ภิกฺขเว อาวาสิกา ภิกฺขู สุณนฺติ อาคนฺตุกานํ ภิกฺขูนํ อาคนฺตุกาการํ อาคนฺตุกลิงฺคํ อาคนฺตุกนิมิตฺตํ อาคนฺตุกุทฺเทสํ อาคจฺฉนฺตานํ ปทสทฺทํ อุปาหนปปฺโผฏนสทฺทํ อุกฺกาสิตสทฺทํ ขิปิตสทฺทํ สุตฺวา เวมติกา โหนฺติ “อตฺถิ นุ โข อาคนฺตุกา ภิกฺขู นตฺถิ นุ โข”ติ.  เต เวมติกา น วิจินนฺติ อวิจินิตฺวา อุโปสถํ กโรนฺติ. อาปตฺติ ทุกฺกฏสฺส. เต เวมติกา วิจินนฺติ วิจินิตฺวา น ปสฺสนฺติ อปสฺสิตฺวา อุโปสถํ กโรนฺติ. อนาปตฺติ. เต เวมติกา วิจินนฺติ วิจินิตฺวา ปสฺสนฺติ ปสฺสิตฺวา เอกโต อุโปสถํ กโรนฺติ. อนาปตฺติ. เต เวมติกา วิจินนฺติ วิจินิตฺวา ปสฺสนฺติ ปสฺสิตฺวา ปาเฏกฺกํ อุโปสถํ กโรนฺติ. อาปตฺติ ทุกฺกฏสฺส. เต เวมติกา วิจินนฺติ วิจินิตฺวา ปสฺสนฺติ ปสฺสิตฺวา “นสฺสนฺเตเต วินสฺสนฺเตเต โก เตหิ อตฺโถ”ติ เภทปุเรกฺขารา อุโปสถํ กโรนฺติ. อาปตฺติ ถุลฺลจฺจยสฺส (ลิงฺคาทิทสฺสนํ นิฏฺฐิตํ.)  (๑๐๒. นานาสํวาสกาทีหิ อุโปสถกรณํ) ๑๘๐. อิธ ปน ภิกฺขเว อาคนฺตุกา ภิกฺขู ปสฺสนฺติ อาวาสิเก ภิกฺขู นานาสํวาสเก. 
||3|| 
เต สมานสํวาสกทิฏฺฐึ ปฏิลภนฺติ สมานสํวาสกทิฏฺฐึ ปฏิลภิตฺวา น ปุจฺฉนฺติ อปุจฺฉิตฺวา เอกโต อุโปสถํ กโรนฺติ. อนาปตฺติ. 
tena kho pana samayena chabbaggiyā bhikkhū na icchanti vassaṃ upagantuṃ.  bhagavato etam atthaṃ ārocesuṃ.  {na} bhikkhave vassaṃ na upagantabbaṃ.  yo na upagaccheyya, āpatti dukkaṭassā ’ti. |1| 
เต ปุจฺฉนฺติ ปุจฺฉิตฺวา นาภิวิตรนฺติ อนภิวิตริตฺวา เอกโต อุโปสถํ กโรนฺติ. อาปตฺติ ทุกฺกฏสฺส.  เต ปุจฺฉนฺติ ปุจฺฉิตฺวา นาภิวิตรนฺติ อนภิวิตริตฺวา ปาเฏกฺกํ อุโปสถํ กโรนฺติ. อนาปตฺติ.  อิธ ปน ภิกฺขเว อาคนฺตุกา ภิกฺขู ปสฺสนฺติ อาวาสิเก ภิกฺขู สมานสํวาสเก.  เต นานาสํวาสกทิฏฺฐึ ปฏิลภนฺติ นานาสํวาสกทิฏฺฐึ ปฏิลภิตฺวา น ปุจฺฉนฺติ อปุจฺฉิตฺวา เอกโต อุโปสถํ กโรนฺติ. อาปตฺติ ทุกฺกฏสฺส. 
tena kho pana samayena chabbaggiyā bhikkhū tadahu vassupanāyikāya vassaṃ anupagantukāmā sañcicca āvāsaṃ atikkamanti.  bhagavato etam atthaṃ ārocesuṃ.  na bhikkhave tadahu vassupanāyikāya vassaṃ anupagantukāmena sañcicca āvāso atikkamitabbo.  yo atikkameyya, āpatti dukkaṭassā ’ti. |2| 
เต ปุจฺฉนฺติ ปุจฺฉิตฺวา อภิวิตรนฺติ อภิวิตริตฺวา ปาเฏกฺกํ อุโปสถํ กโรนฺติ. อาปตฺติ ทุกฺกฏสฺส.  เต ปุจฺฉนฺติ ปุจฺฉิตฺวา อภิวิตรนฺติ อภิวิตริตฺวา เอกโต อุโปสถํ กโรนฺติ. อนาปตฺติ.  อิธ ปน ภิกฺขเว อาวาสิกา ภิกฺขู ปสฺสนฺติ อาคนฺตุเก ภิกฺขู นานาสํวาสเก.  เต สมานสํวาสกทิฏฺฐึ ปฏิลภนฺติ สมานสํวาสกทิฏฺฐึ ปฏิลภิตฺวา น ปุจฺฉนฺติ อปุจฺฉิตฺวา เอกโต อุโปสถํ กโรนฺติ. อนาปตฺติ. เต ปุจฺฉนฺติ ปุจฺฉิตฺวา นาภิวิตรนฺติ อนภิวิตริตฺวา เอกโต อุโปสถํ กโรนฺติ. อาปตฺติ ทุกฺกฏสฺส. เต ปุจฺฉนฺติ ปุจฺฉิตฺวา นาภิวิตรนฺติ อนภิวิตริตฺวา ปาเฏกฺกํ อุโปสถํ กโรนฺติ. อนาปตฺติ. 
tena kho pana samayena rājā Māgadho Seniyo Bimbisāro vassaṃ ukkaḍḍhitukāmo bhikkhūnaṃ santike dūtaṃ pāhesi, yadi pan’ ayyā āgame juṇhe vassaṃ upagaccheyyun ti.  bhagavato etam atthaṃ ārocesuṃ: anujānāmi bhikkhave rājūnaṃ anuvattitun ti. |3| 
อิธ ปน ภิกฺขเว อาวาสิกา ภิกฺขู ปสฺสนฺติ อาคนฺตุเก ภิกฺขู สมานสํวาสเก.  เต นานาสํวาสกทิฏฺฐึ ปฏิลภนฺติ นานาสํวาสกทิฏฺฐึ ปฏิลภิตฺวา น ปุจฺฉนฺติ อปุจฺฉิตฺวา เอกโต อุโปสถํ กโรนฺติ. อาปตฺติ ทุกฺกฏสฺส. เต ปุจฺฉนฺติ ปุจฺฉิตฺวา อภิวิตรนฺติ อภิวิตริตฺวา ปาเฏกฺกํ อุโปสถํ กโรนฺติ. อาปตฺติ ทุกฺกฏสฺส. เต ปุจฺฉนฺติ ปุจฺฉิตฺวา อภิวิตรนฺติ อภิวิตริตฺวา เอกโต อุโปสถํ กโรนฺติ. อนาปตฺติ. (นานาสํวาสกาทีหิ อุโปสถกรณํ นิฏฺฐิตํ.) 
||4|| 
 
(139) atha kho bhagavā Rājagahe yathābhirantaṃ viharitvā yena Sāvatthi tena cārikaṃ pakkāmi.  anupubbena cārikaṃ caramāno yena Sāvatthi tad avasari.  tatra sudaṃ bhagavā Sāvatthiyaṃ viharati Jetavane Anāthapiṇḍikassa ārāme.  tena kho pana samayena Kosalesu janapadesu Udenena upāsakena saṃghaṃ uddissa viharo kārāpito hoti.  so bhikkhūnaṃ santike dūtaṃ pāhesi, āgacchantu bhaddantā, icchāmi dānañ ca dātuṃ dhammañ ca sotuṃ bhikkhū ca passitun ti. |1| 
  (๑๐๓. นคนฺตพฺพวาโร) ๑๘๑. น ภิกฺขเว ตทหุโปสเถ สภิกฺขุกา อาวาสา อภิกฺขุโก อาวาโส คนฺตพฺโพ อญฺญตฺร สงฺเฆน อญฺญตฺร อนฺตรายา.  น ภิกฺขเว ตทหุโปสเถ สภิกฺขุกา อาวาสา อภิกฺขุโก อนาวาโส คนฺตพฺโพ อญฺญตฺร สงฺเฆน อญฺญตฺร อนฺตรายา.  น ภิกฺขเว ตทหุโปสเถ สภิกฺขุกา อาวาสา อภิกฺขุโก อาวาโส วา อนาวาโส วา คนฺตพฺโพ อญฺญตฺร สงฺเฆน อญฺญตฺร อนฺตรายา.  น ภิกฺขเว ตทหุโปสเถ สภิกฺขุกา อนาวาสา อภิกฺขุโก อาวาโส คนฺตพฺโพ อญฺญตฺร สงฺเฆน อญฺญตฺร อนฺตรายา. 
bhikkhū evaṃ āhaṃsu: bhagavatā āvuso paññattaṃ na vassaṃ upagantvā purimaṃ vā temāsaṃ pacchimaṃ vā temāsaṃ avasitvā cārikā pakkamitabbā ’ti.  āgametu Udeno upāsako yāva bhikkhū vassaṃ vasanti, vassaṃ vutthā gamissanti.  sace pan’ assa accāyikaṃ karaṇīyaṃ, tatth’ eva āvāsikānaṃ bhikkhūnaṃ santike vihāraṃ patiṭṭhāpetū ’ti. |2| 
น ภิกฺขเว ตทหุโปสเถ สภิกฺขุกา อนาวาสา อภิกฺขุโก อนาวาโส คนฺตพฺโพ อญฺญตฺร สงฺเฆน อญฺญตฺร อนฺตรายา.  น ภิกฺขเว ตทหุโปสเถ สภิกฺขุกา อนาวาสา อภิกฺขุโก อาวาโส วา อนาวาโส วา คนฺตพฺโพ อญฺญตฺร สงฺเฆน อญฺญตฺร อนฺตรายา.  น ภิกฺขเว ตทหุโปสเถ สภิกฺขุกา อาวาสา วา อนาวาสา วา อภิกฺขุโก อาวาโส คนฺตพฺโพ อญฺญตฺร สงฺเฆน อญฺญตฺร อนฺตรายา. 
Udeno upāsako ujjhāyati khīyati vipāceti: kathaṃ hi nāma bhaddantā mayā pahite na āgacchissanti, ahaṃ hi dāyako kārako saṃghupaṭṭhāko ’ti.  assosuṃ kho bhikkhū Udenassa upāsakassa ujjhāyantassa khīyantassa vipācentassa.  atha kho te bhikkhū bhagavato etam atthaṃ ārocesuṃ. |3| 
น ภิกฺขเว ตทหุโปสเถ สภิกฺขุกา อาวาสา วา อนาวาสา วา อภิกฺขุโก อนาวาโส คนฺตพฺโพ อญฺญตฺร สงฺเฆน อญฺญตฺร อนฺตรายา.  น ภิกฺขเว ตทหุโปสเถ สภิกฺขุกา อาวาสา วา อนาวาสา วา อภิกฺขุโก อาวาโส วา อนาวาโส วา คนฺตพฺโพ อญฺญตฺร สงฺเฆน อญฺญตฺร อนฺตรายา.  น ภิกฺขเว ตทหุโปสเถ สภิกฺขุกา อาวาสา สภิกฺขุโก อาวาโส คนฺตพฺโพ ยตฺถสฺสุ ภิกฺขู นานาสํวาสกา อญฺญตฺร สงฺเฆน อญฺญตฺร อนฺตรายา. 
atha kho bhagavā etasmiṃ nidāne dhammiṃ kathaṃ katvā bhikkhū āmantesi: anujānāmi bhikkhave sattannaṃ sattāhakaraṇīyena pahite gantuṃ, na tv eva appahite, bhikkhussa bhikkhuniyā sikkhamānāya sāmaṇerassa sāmaṇeriyā upāsakassa upāsikāya.  anujānāmi bhikkhave imesaṃ sattannaṃ sattāhakaraṇīyena pahite gantuṃ, na tv eva appahite.  sattāhaṃ sannivaṭṭo kātabbo. |4| 
น ภิกฺขเว ตทหุโปสเถ สภิกฺขุกา อาวาสา สภิกฺขุโก อนาวาโส คนฺตพฺโพ ยตฺถสฺสุ ภิกฺขู นานาสํวาสกา อญฺญตฺร สงฺเฆน อญฺญตฺร อนฺตรายา.  น ภิกฺขเว ตทหุโปสเถ สภิกฺขุกา อาวาสา สภิกฺขุโก อาวาโส วา อนาวาโส วา คนฺตพฺโพ ยตฺถสฺสุ ภิกฺขู นานาสํวาสกา อญฺญตฺร สงฺเฆน อญฺญตฺร อนฺตรายา. น ภิกฺขเว ตทหุโปสเถ สภิกฺขุกา อนาวาสา สภิกฺขุโก อาวาโส คนฺตพฺโพ ยตฺถสฺสุ ภิกฺขู นานาสํวาสกา อญฺญตฺร สงฺเฆน อญฺญตฺร อนฺตรายา. น ภิกฺขเว ตทหุโปสเถ สภิกฺขุกา อนาวาสา สภิกฺขุโก อนาวาโส คนฺตพฺโพ ยตฺถสฺสุ ภิกฺขู นานาสํวาสกา อญฺญตฺร สงฺเฆน อญฺญตฺร อนฺตรายา. น ภิกฺขเว ตทหุโปสเถ สภิกฺขุกา อนาวาสา สภิกฺขุโก อาวาโส วา อนาวาโส วา คนฺตพฺโพ ยตฺถสฺสุ ภิกฺขู นานาสํวาสกา อญฺญตฺร สงฺเฆน อญฺญตฺร อนฺตรายา. น ภิกฺขเว ตทหุโปสเถ สภิกฺขุกา อาวาสา วา อนาวาสา วา สภิกฺขุโก อาวาโส คนฺตพฺโพ ยตฺถสฺสุ ภิกฺขู นานาสํวาสกา อญฺญตฺร สงฺเฆน อญฺญตฺร อนฺตรายา. น ภิกฺขเว ตทหุโปสเถ สภิกฺขุกา อาวาสา วา อนาวาสา วา สภิกฺขุโก อนาวาโส คนฺตพฺโพ ยตฺถสฺสุ ภิกฺขู นานาสํวาสกา อญฺญตฺร สงฺเฆน อญฺญตฺร อนฺตรายา. น ภิกฺขเว ตทหุโปสเถ สภิกฺขุกา อาวาสา วา อนาวาสา วา สภิกฺขุโก อาวาโส วา อนาวาโส วา คนฺตพฺโพ ยตฺถสฺสุ ภิกฺขู นานาสํวาสกา อญฺญตฺร สงฺเฆน อญฺญตฺร อนฺตรายา. (นคนฺตพฺพวาโร นิฏฺฐิโต.)  (๑๐๔. คนฺตพฺพวาโร) ๑๘๒. คนฺตพฺโพ ภิกฺขเว ตทหุโปสเถ สภิกฺขุกา อาวาสา สภิกฺขุโก อาวาโส ยตฺถสฺสุ ภิกฺขู สมานสํวาสกา ยํ ชญฺญา “สกฺโกมิ อชฺเชว คนฺตุ”นฺติ. 
idha pana bhikkhave upāsakena saṃghaṃ uddissa vihāro kārāpito hoti.  so ce bhikkhūnaṃ santike dūtaṃ pahiṇeyya, āgacchantu bhaddantā, icchāmi dānañ ca dātuṃ dhammañ ca sotuṃ bhikkhū ca passitun ti, gantabbaṃ bhikkhave sattāhakaraṇīyena pahite, na tv eva appahite.  sattāhaṃ sannivaṭṭo kātabbo. |5| 
คนฺตพฺโพ ภิกฺขเว ตทหุโปสเถ สภิกฺขุกา อาวาสา สภิกฺขุโก อนาวาโสฯเปฯ สภิกฺขุโก อาวาโส วา อนาวาโส วา ยตฺถสฺสุ ภิกฺขู สมานสํวาสกา ยํ ชญฺญา “สกฺโกมิ อชฺเชว คนฺตุ”นฺติ. คนฺตพฺโพ ภิกฺขเว ตทหุโปสเถ สภิกฺขุกา อนาวาสา สภิกฺขุโก อาวาโสฯเปฯ สภิกฺขุโก อนาวาโสฯเปฯ สภิกฺขุโก อาวาโส วา อนาวาโส วา ยตฺถสฺสุ ภิกฺขู สมานสํวาสกา ยํ ชญฺญา “สกฺโกมิ อชฺเชว คนฺตุ”นฺติ. คนฺตพฺโพ ภิกฺขเว ตทหุโปสเถ สภิกฺขุกา อาวาสา วา อนาวาสา วา สภิกฺขุโก อาวาโสฯเปฯ สภิกฺขุโก อนาวาโสฯเปฯ สภิกฺขุโก อาวาโส วา อนาวาโส วา ยตฺถสฺสุ ภิกฺขู สมานสํวาสกา ยํ ชญฺญา “สกฺโกมิ อชฺเชว คนฺตุ”นฺติ. (คนฺตพฺพวาโร นิฏฺฐิโต.)     
idha pana bhikkhave upāsakena saṃghaṃ uddissa aḍḍhayogo kārāpito hoti, pāsādo kārāpito hoti, hammiyaṃ kārāpitaṃ h., guhā kārāpitā h., pariveṇaṃ kārāpitaṃ h., koṭṭhako kārāpito h., upaṭṭhānasālā kārāpitā h., aggisālā kārāpitā h., kappiyakuṭī kārāpitā h., vaccakuṭī kārāpitā h., caṅkamo kārāpito h., caṅkamanasālā kārāpitā h., udapāno kārāpito h., udapānasālā kārāpitā h., jantāgharaṃ kārāpi (140)  [III.5.6-9.taṃ h., jantāgharasālā kārāpitā h., pokkharaṇī kārāpitā h., maṇḍapo kārāpito h., ārāmo kārāpito h., ārāmavatthuṃ kārāpitaṃ hoti.  so ce bhikkhūnaṃ santike dūtaṃ pahiṇeyya, āgacchantu bhaddantā, icchāmi dānañ ca dātuṃ dhammañ ca sotuṃ bhikkhū ca passitun ti, gantabbaṃ bhikkhave sattāhakaraṇīyena pahite, na tv eva appahite.  sattāhaṃ sannivaṭṭo kātabbo. |6| 
(๑๐๕. วชฺชนียปุคฺคลสนฺทสฺสนา) ๑๘๓. น ภิกฺขเว ภิกฺขุนิยา นิสินฺนปริสาย ปาติโมกฺขํ อุทฺทิสิตพฺพํ.  โย อุทฺทิเสยฺย อาปตฺติ ทุกฺกฏสฺส.  น สิกฺขมานายฯเปฯ น สามเณรสฺส ฯเปฯ น สามเณริยาฯเปฯ น สิกฺขาปจฺจกฺขาตกสฺสฯเปฯ น อนฺติมวตฺถุํ อชฺฌาปนฺนกสฺส นิสินฺนปริสาย ปาติโมกฺขํ อุทฺทิสิตพฺพํ.  โย อุทฺทิเสยฺย อาปตฺติ ทุกฺกฏสฺส. 
idha pana bhikkhave upāsakena sambahule bhikkhū uddissa --la-- ekaṃ bhikkhuṃ uddissa vihāro kārāpito h., aḍḍhayogo k.  h., pāsādo k.h., ...(= 6) ...sattāhaṃ sannivaṭṭo kātabbo. |7| 
น อาปตฺติยา อทสฺสเน อุกฺขิตฺตกสฺส นิสินฺนปริสาย ปาติโมกฺขํ อุทฺทิสิตพฺพํ.  โย อุทฺทิเสยฺย ยถาธมฺโม กาเรตพฺโพ. 
idha pana bhikkhave upāsakena bhikkhunīsaṃghaṃ uddissa --la-- sambahulā bhikkhuniyo uddissa --la-- ekaṃ bhikkhuniṃ uddissa --la-- sambahulā sikkhamānāyo uddissa --la-- ekaṃ sikkhamānaṃ uddissa -- la -sambahule sāmaṇere uddissa --la-- ekaṃ sāmaṇeram uddissa --la-- sambahulā sāmaṇeriyo uddissa --la-- ekaṃ sāmaṇeriṃ uddissa vihāro kārāpito hoti, aḍḍhayogo k.  h., pāsādo k.h., hammiyaṃ k.h., guhā k.h., pariveṇaṃ k.h., koṭṭhako k.h., upaṭṭhānasālā k.h., aggisālā k.h., kappiyakuṭī k.h., caṅkamo k.h., caṅkamanasālā k.h., udapāno k.h., udapānasālā k.h., pokkharaṇī k.h., maṇḍapo k.h., ārāmo k.h., ārāmavatthuṃ k. hoti.  so ce bhikkhūnaṃ santike dūtaṃ pahiṇeyya, āgacchantu bhaddantā, icchāmi dānañ ca dātuṃ dhammañ ca sotuṃ bhikkhū ca passitun ti, gantabbaṃ bhikkhave sattāhakaraṇīyena pahite, na tv eva appahite.  sattāhaṃ sannivaṭṭo kātabbo. |8| 
น อาปตฺติยา อปฺปฏิกมฺเม อุกฺขิตฺตกสฺส นิสินฺนปริสายฯเปฯ น ปาปิกาย ทิฏฺฐิยา อปฺปฏินิสฺสคฺเค อุกฺขิตฺตกสฺส นิสินฺนปริสาย ปาติโมกฺขํ อุทฺทิสิตพฺพํ.  โย อุทฺทิเสยฺย ยถาธมฺโม กาเรตพฺโพ.  น ปณฺฑกสฺส นิสินฺนปริสาย ปาติโมกฺขํ อุทฺทิสิตพฺพํ.  โย อุทฺทิเสยฺย อาปตฺติ ทุกฺกฏสฺส. 
idha pana bhikkhave upāsakena attano atthāya nivesanaṃ kārāpitaṃ hoti --la-- sayanigharaṃ k.h., uddosito k.h., aṭṭo k.h., mālo k.h., āpaṇo k.h., āpaṇasālā k.h., pāsādo k.h., hammiyaṃ k.h., guhā k.h., pariveṇaṃ k.h., koṭṭhako k.h., upaṭṭhānasālā k.h., aggisālā k.h., rasavatī k.h., vaccakuṭī k.h., caṅkamo k.h., caṅkamanasālā k.h., udapāno k.h., udapānasālā k.h., jantāgharaṃ k.h., jantāgharasālā k.h., pokkharaṇī k.h., maṇḍapo k.h., ārāmo k.h., ārāmavatthuṃ k.h., puttassa vā vāreyyaṃ hoti, dhītuyā vā vāreyyaṃ hoti, gilāno vā hoti, abhiññātaṃ vā suttantaṃ bhaṇati.  so ce bhikkhūnaṃ santike dūtaṃ pahiṇeyya, āgacchantu bhaddantā imaṃ suttantaṃ pariyāpuṇissanti pur’ āyaṃ su-(141)ttanto palujjatīti.  aññataraṃ vā pan’ assa kiccaṃ hoti karaṇīyaṃ vā.  so ce bhikkhūnaṃ santike dūtaṃ pahiṇeyya, āgacchantu bhaddantā, icchāmi dānañ ca dātuṃ dhammañ ca sotuṃ bhikkhū ca passitun ti, gantabbaṃ bhikkhave sattāhakaraṇīyena pahite, na tv eva appahite.  sattāhaṃ sannivaṭṭo kātabbo. |9| 
น เถยฺยสํวาสกสฺสฯเปฯ น ติตฺถิยปกฺกนฺตกสฺสฯเปฯ น ติรจฺฉานคตสฺสฯเปฯ น มาตุฆาตกสฺสฯเปฯ น ปิตุฆาตกสฺสฯเปฯ น อรหนฺตฆาตกสฺสฯเปฯ น ภิกฺขุนิทูสกสฺสฯเปฯ น สงฺฆเภทกสฺสฯเปฯ น โลหิตุปฺปาทกสฺสฯเปฯ น อุภโตพฺยญฺชนกสฺส นิสินฺนปริสาย ปาติโมกฺขํ อุทฺทิสิตพฺพํ.  โย อุทฺทิเสยฺย อาปตฺติ ทุกฺกฏสฺส.  น ภิกฺขเว ปาริวาสิกปาริสุทฺธิทาเนน อุโปสโถ กาตพฺโพ อญฺญตฺร อวุฏฺฐิตาย ปริสาย.  น จ ภิกฺขเว อนุโปสเถ อุโปสโถ กาตพฺโพ อญฺญตฺร สงฺฆสามคฺคิยาติ. (วชฺชนียปุคฺคลสนฺทสฺสนา นิฏฺฐิตา.)   
idha pana bhikkhave upāsikāya saṃghaṃ uddisa vihāro kārāpito hoti.  sā ce bhikkhūnaṃ santike dūtaṃ pahiṇeyya, āgacchantu ayyā, icchāmi dānañ ca dātuṃ dhammañ ca sotuṃ bhikkhū ca passitun ti, gantabbaṃ bhikkhave sattāhakaraṇīyena pahite, na tv eva appahite.  sattāhaṃ sannivaṭṭo kātabbo. |10| 
  ตติยภาณวาโร นิฏฺฐิโต. อุโปสถกฺขนฺธโก ทุติโย.   
idha pana bhikkhave upāsikāya saṃghaṃ uddissa aḍḍhayogo kārāpito ...(= 6) ...ārāmavatthuṃ kārāpitaṃ hoti.sā ce bhikkhūnaṃ ...(= 10) ...sattāhaṃ sannivaṭṭo kātabbo. |11| 
๑๐๖. ตสฺสุทฺทานํ ติตฺถิยา พิมฺพิสาโร จ สนฺนิปติตุํ ตุณฺหิกา. ธมฺมํ รโห ปาติโมกฺขํ เทวสิกํ ตทา สกึฯ 
idha pana bhikkhave upāsikāya sambahule bhikkhū uddissa -- la -ekaṃ bhikkhuṃ uddissa --la-- bhikkhunīsaṃghaṃ uddissa --la-- sambahulā bhikkhuniyo uddissa --la-- ekaṃ bhikkhuniṃ uddissa --la-- sambahulā sikkhamānāyo uddissa, ekaṃ sikkhamānaṃ uddissa, sambahule sāmaṇere uddissa, ekaṃ sāmaṇeraṃ uddissa, sambahulā sāmaṇeriyo uddissa, ekaṃ sāmaṇeriṃ uddissa --la-- attano atthāya nivesanaṃ kārāpitaṃ hoti --la-- sayanigharaṃ kārāpitaṃ hoti ...(= 9) ...gilānā vā hoti, abhiññātaṃ vā suttantaṃ bhaṇati.  sā ce bhikkhūnaṃ santike dūtaṃ pahiṇeyya, āgacchantu ayyā imaṃ suttantaṃ pariyāpuṇissanti pur’ āyaṃ suttanto palujjatīti.  aññataraṃ vā pan’ assā kiccaṃ hoti karaṇīyaṃ vā.  sā ce bhikkhūnaṃ santike dūtaṃ pahiṇeyya, āgacchantu ayyā, icchāmi dānañ ca dātuṃ dhammañ ca sotuṃ bhikkhū ca passitun ti, gantabbaṃ bhikkhave sattāhakaraṇīyena pahite, na tv eva appahite.  sattāhaṃ sannivaṭṭo kātabbo. |12| 
ยถาปริสา สมคฺคํ สามคฺคี มทฺทกุจฺฉิ จ. สีมา มหตี นทิยา อนุ ทฺเว ขุทฺทกานิ จฯ  นวา ราชคเห เจว สีมา อวิปฺปวาสนา. สมฺมนฺเน ปฐมํ สีมํ ปจฺฉา สีมํ สมูหเนฯ  อสมฺมตา คามสีมา นทิยา สมุทฺเท สเร. อุทกุกฺเขโป ภินฺทนฺติ ตเถวชฺโฌตฺถรนฺติ จฯ  กติ กมฺมานิ อุทฺเทโส สวรา อสตีปิ จ. ธมฺมํ วินยํ ตชฺเชนฺติ ปุน วินยตชฺชนาฯ  โจทนา กเต โอกาเส อธมฺมปฺปฏิกฺโกสนา. จตุปญฺจปรา อาวิ สญฺจิจฺจ เจปิ วายเมฯ 
idha pana bhikkhave bhikkhunā saṃghaṃ uddissa, bhikkhuniyā saṃghaṃ uddissa, sikkhamānāya saṃghaṃ uddissa, sāmaṇerena saṃghaṃ uddissa, sāmaṇeriyā saṃghaṃ uddissa, sambahule bhikkhū uddissa, ekam bhikkhuṃ uddissa, bhikkhunīsaṃghaṃ uddissa, sambahulā bhikkhuniyo uddissa, ekaṃ bhikkhuniṃ uddissa, sambahulā sikkhamānāyo uddissa, ekaṃ sikkhamānaṃ uddissa, sambahule sāmaṇere uddissa, ekaṃ sāmaṇeraṃ uddissa, (142) sambahulā sāmaṇeriyo uddissa, ekaṃ sāmaṇeriṃ uddissa, attano atthāya vihāro kārāpito hoti ...(= 8) ... ārāmāvatthuṃ kārāpitaṃ hoti.  sā ce bhikkhūnaṃ santike dūtaṃ pahiṇeyya, āgacchantu ayyā, icchāmi dānañ ca dātuṃ dhammañ ca sotuṃ bhikkhū ca passitun ti, gantabbaṃ bhikkhave sattāhakaraṇīyena pahite, na tv eva appahite.  sattāhaṃ sannivaṭṭo kātabbo ’ti. |13| 
สคหฏฺฐา อนชฺฌิฏฺฐา โจทนมฺหิ น ชานติ. สมฺพหุลา น ชานนฺติ สชฺชุกํ น จ คจฺฉเรฯ  กติมี กีวติกา ทูเร อาโรเจตุญฺจ นสฺสริ. อุกฺลาปํ อาสนํ ทีโป ทิสา อญฺโญ พหุสฺสุโตฯ  สชฺชุกํ วสฺสุโปสโถ สุทฺธิกมฺมญฺจ ญาตกา. คคฺโค จตุตโย ทฺเวโก อาปตฺติสภาคา สริฯ 
||5|| 
สพฺโพ สงฺโฆ เวมติโก น ชานนฺติ พหุสฺสุโต. พหู สมสมา โถกา ปริสา อวุฏฺฐิตาย จฯ 
tena kho pana samayena aññataro bhikkhu gilāno hoti.  so {bhikkhūnaṃ} santike dūtaṃ pāhesi, ahaṃ hi gilāno, āgacchantu bhikkhū, icchāmi bhikkhūnaṃ āgatan ti.  bhagavato etam atthaṃ ārocesuṃ.  anujānāmi bhikkhave pañcannaṃ sattāhakaraṇīyena appahite pi gantuṃ, pag eva pahite, bhikkhussa bhikkhuniyā sikkhamānāya sāmaṇerassa sāmaṇeriyā.  anujānāmi bhikkhave imesaṃ pañcannaṃ sattāhakaraṇīyena appahite pi gantuṃ, pag eva pahite.  sattāhaṃ sannivaṭṭo kātabbo. |1| 
เอกจฺจา วุฏฺฐิตา สพฺพา ชานนฺติ จ เวมติกา. กปฺปเตวาติ กุกฺกุจฺจา ชานํ ปสฺสํ สุณนฺติ จฯ  อาวาสิเกน อาคนฺตุ จาตุปนฺนรโส ปุน. ปาฏิปโท ปนฺนรโส ลิงฺคสํวาสกา อุโภฯ  ปาริวาสานุโปสโถ อญฺญตฺร สงฺฆสามคฺคิยา.  เอเต วิภตฺตา อุทฺทานา วตฺถุวิภูตการณาติฯ (อิมสฺมึ ขนฺธเก วตฺถูนิ ฉอสีติ. อุโปสถกฺขนฺธโก นิฏฺฐิโต.)  (๓. วสฺสูปนายิกกฺขนฺธโก ๑๐๗. วสฺสูปนายิกานุชานนา) ๑๘๔. เตน สมเยน พุทฺโธ ภควา ราชคเห วิหรติ เวฬุวเน กลนฺทกนิวาเป.  เตน โข ปน สมเยน ภควตา ภิกฺขูนํ วสฺสาวาโส อปญฺญตฺโต โหติ. 
idha pana bhikkhave bhikkhu gilāno hoti.  so ce bhikkhūnaṃ santike dūtaṃ pahiṇeyya, ahaṃ hi gilāno, āgacchantu bhikkhū, icchāmi bhikkhūnaṃ āgatan ti, gantabbaṃ bhikkhave sattāhakaraṇīyena appahite pi, pag eva pahite, gilānabhattaṃ vā pariyesissāmi, gilānupaṭṭhākabhattaṃ vā pariyesissāmi, gilānabhesajjaṃ vā pariyesissāmi, pucchissāmi vā, upaṭṭhahissāmi vā ’ti.  sattāhaṃ sannivaṭṭo kātabbo. |2| 
เตอิธ ภิกฺขู เหมนฺตมฺปิ คิมฺหมฺปิ วสฺสมฺปิ จาริกํ จรนฺติ.  มนุสฺสา อุชฺฌายนฺติ ขิยฺยนฺติ วิปาเจนฺติ “กถญฺหิ นาม สมณา สกฺยปุตฺติยา เหมนฺตมฺปิ คิมฺหมฺปิ วสฺสมฺปิ จาริกํ จริสฺสนฺติ หริตานิ ติณานิ สมฺมทฺทนฺตา เอกินฺทฺริยํ ชีวํ วิเหเฐนฺตา พหู ขุทฺทเก ปาเณ สงฺฆาตํ อาปาเทนฺตา.  อิเม หิ นาม อญฺญติตฺถิยา ทุรกฺขาตธมฺมา วสฺสาวาสํ อลฺลียิสฺสนฺติ สงฺกสายิสฺสนฺติ. อิเม หิ นาม สกุนฺตกา รุกฺขคฺเคสุ กุลาวกานิ กริตฺวา วสฺสาวาสํ อลฺลียิสฺสนฺติ สงฺกสายิสฺสนฺติ . อิเม ปน สมณา สกฺยปุตฺติยา เหมนฺตมฺปิ คิมฺหมฺปิ วสฺสมฺปิ จาริกํ จรนฺติ หริตานิ ติณานิ สมฺมทฺทนฺตา เอกินฺทฺริยํ ชีวํ วิเหเฐนฺตา พหู ขุทฺทเก ปาเณ สงฺฆาตํ อาปาเทนฺตา”ติ. 
idha pana bhikkhave bhikkhussa anabhirati uppannā hoti.  so ce bhikkhūnaṃ santike dūtaṃ pahiṇeyya, anabhirati me uppannā, āgacchantu bhikkhū, icchāmi bhikkhūnaṃ āgatan ti, gantabbaṃ bhikkhave sattāhakaraṇīyena appahite pi, pag eva pahite, anabhiratiṃ vūpakāsessāmi vā vūpakāsāpessāmi vā dhammakathaṃ vāssa karissāmīti.  sattāhaṃ sannivaṭṭo kātabbo. |3| 
อสฺโสสุํ โข ภิกฺขู เตสํ มนุสฺสานํ อุชฺฌายนฺตานํ ขิยฺยนฺตานํ วิปาเจนฺตานํ.  อถ โข เต ภิกฺขู ภควโต เอตมตฺถํ อาโรเจสุํ.  อถ โข ภควา เอตสฺมึ นิทาเน เอตสฺมึ ปกรเณ ธมฺมึ กถํ กตฺวา ภิกฺขู อามนฺเตสิ “อนุชานามิ ภิกฺขเว วสฺสํ อุปคนฺตุ”นฺติ. 
idha pana bhikkhave bhikkhussa kukkuccaṃ uppannaṃ hoti.  so ce bhikkhūnaṃ santike dūtaṃ pahiṇeyya, kukkuccaṃ me uppannaṃ, āgacchantu bhikkhū, icchāmi bhikkhūnaṃ āgatan ti, gantabbaṃ bhikkhave sattāhakaraṇīyena appahite pi, pag eva pahite, kukkuccaṃ vinodessāmi vā vinodāpessāmi vā dhammakathaṃ vāssa karissāmīti.  sattāhaṃ sannivaṭṭo kātabbo. |4| 
    อถ โข ภิกฺขูนํ เอตทโหสิ “กทา นุ โข วสฺสํ อุปคนฺตพฺพ”นฺติ? 
idha pana bhikkhave bhikkhussa diṭṭhigataṃ uppannaṃ hoti.  so ce (143) bhikkhūnaṃ santike dūtaṃ pahiṇeyya, diṭṭhigataṃ me uppannaṃ, āgacchantu bhikkhū, icchāmi bhikkhūnaṃ āgatan ti, gantabbaṃ bhikkhave sattāhakaraṇīyena appahite pi, pag eva pahite, diṭṭhigataṃ vivecessāmi vā vivecāpessāmi vā dhammakathaṃ vāssa karissāmīti.  sattāhaṃ sannivaṭṭo kātabbo. |5| 
ภควโต เอตมตฺถํ อาโรเจสุํ.  อนุชานามิ ภิกฺขเว วสฺสาเน วสฺสํ อุปคนฺตุนฺติ.  อถ โข ภิกฺขูนํ เอตทโหสิ “กติ นุ โข วสฺสูปนายิกา”ติ? 
idha pana bhikkhave bhikkhu garudhammaṃ ajjhāpanno hoti parivāsāraho.  so ce bhikkhūnaṃ santike dūtaṃ pahiṇeyya, ahaṃ hi garudhammaṃ ajjhāpanno parivāsāraho, āgacchantu bhikkhū, icchāmi bhikkhūnaṃ āgatan ti, gantabbaṃ bhikkhave sattāhakaraṇīyena appahite pi, pag eva pahite, parivāsadānaṃ ussukkaṃ karissāmi vā, anussāvessāmi vā, gaṇapūrako vā bhavissāmīti.  sattāhaṃ sannivaṭṭo kātabbo. |6| 
ภควโต เอตมตฺถํ อาโรเจสุํ.  ทฺเวมา ภิกฺขเว วสฺสูปนายิกา ปุริมิกา ปจฺฉิมิกา.  อปรชฺชุคตาย อาสาฬฺหิยา ปุริมิกา อุปคนฺตพฺพา มาสคตาย อาสาฬฺหิยา ปจฺฉิมิกา อุปคนฺตพฺพา 
idha pana bhikkhave bhikkhu mūlāya paṭikassanāraho hoti.  so ce bhikkhūnaṃ santike dūtaṃ pahiṇeyya, ahaṃ hi mūlāya paṭikassanāraho, āgacchantu bhikkhū, icchāmi bhikkhūnaṃ āgatan ti, gantabbaṃ bhikkhave sattāhakaraṇīyena appahite pi, pag eva pahite, mūlāya paṭikassanaṃ ussukkaṃ karissāmi vā, anussāvessāmi vā, gaṇapūrako vā bhavissāmīti.  sattāhaṃ sannivaṭṭo kātabbo. |7| 
อิมา โข ภิกฺขเว ทฺเว วสฺสูปนายิกาติ. (วสฺสูปนายิกานุชานนา นิฏฺฐิตา.)     
idha pana bhikkhave bhikkhu mānattāraho hoti.  so ce bhikkhūnaṃ santike dūtaṃ pahiṇeyya, ahaṃ hi mānattāraho, āgacchantu bhikkhū, icchāmi bhikkhūnaṃ āgatan ti, gantabbaṃ bhikkhave sattāhakaraṇīyena appahite pi, pag eva pahite, mānattadānaṃ ussukkaṃ karissāmi vā, anussāvessāmi vā, gaṇapūrako vā bhavissāmīti.  sattāhaṃ sannivaṭṭo kātabbo. |8| 
(๑๐๘. วสฺสาเน จาริกาปฏิกฺเขปาทิ) ๑๘๕. เตน โข ปน สมเยน ฉพฺพคฺคิยา ภิกฺขู วสฺสํ อุปคนฺตฺวา อนฺตราวสฺสํ จาริกํ จรนฺติ.  มนุสฺสา ตเถว อุชฺฌายนฺติ ขิยฺยนฺติ วิปาเจนฺติ “กถญฺหิ นาม สมณา สกฺยปุตฺติยา เหมนฺตมฺปิ คิมฺหมฺปิ วสฺสมฺปิ จาริกํ จริสฺสนฺติ หริตานิ ติณานิ สมฺมทฺทนฺตา เอกินฺทฺริยํ ชีวํ วิเหเฐนฺตา พหู ขุทฺทเก ปาเณ สงฺฆาตํ อาปาเทนฺตา. อิเม หิ นาม อญฺญติตฺถิยา ทุรกฺขาตธมฺมา วสฺสาวาสํ อลฺลียิสฺสนฺติ สงฺกสายิสฺสนฺติ.  อิเม หิ นาม สกุนฺตกา รุกฺขคฺเคสุ กุลาวกานิ กริตฺวา วสฺสาวาสํ อลฺลียิสฺสนฺติ สงฺกสายิสฺสนฺติ. อิเม ปน สมณา สกฺยปุตฺติยา เหมนฺตมฺปิ คิมฺหมฺปิ วสฺสมฺปิ จาริกํ จรนฺติ หริตานิ ติณานิ สมฺมทฺทนฺตา เอกินฺทฺริยํ ชีวํ วิเหเฐนฺตา พหู ขุทฺทเก ปาเณ สงฺฆาตํ อาปาเทนฺตา”ติ. 
idha pana bhikkhave bhikkhu abbhānāraho hoti.  so ce bhikkhūnaṃ santike dūtaṃ pahiṇeyya, ahaṃ hi abbhānāraho, āgacchantu bhikkhū, icchāmi bhikkhūnaṃ āgatan ti, gantabbaṃ bhikkhave sattāhakaraṇīyena appahite pi, pag eva pahite, abbhānaṃ ussukkaṃ karissāmi vā, anussāvessāmi vā, gaṇapūrako vā bhavissāmīti.  sattāhaṃ sannivaṭṭo kātabbo. |9| 
อสฺโสสุํ โข ภิกฺขู เตสํ มนุสฺสานํ อุชฺฌายนฺตานํ ขิยฺยนฺตานํ วิปาเจนฺตานํ.  เย เต ภิกฺขู อปฺปิจฺฉาฯเปฯ เต อุชฺฌายนฺติ ขิยฺยนฺติ วิปาเจนฺติ “กถญฺหิ นาม ฉพฺพคฺคิยา ภิกฺขู วสฺสํ อุปคนฺตฺวา อนฺตราวสฺสํ จาริกํ จริสฺสนฺตี”ติ?  อถ โข เต ภิกฺขู ภควโต เอตมตฺถํ อาโรเจสุํ. 
idha pana bhikkhave bhikkhussa saṃgho kammaṃ kattukāmo hoti tajjaniyaṃ vā nissayaṃ vā pabbājaniyaṃ vā paṭisāraṇiyaṃ vā ukkhepaniyaṃ vā.  so ce bhikkhūnaṃ santike dūtaṃ pahiṇeyya, saṃgho me kammaṃ kattukāmo, āgacchantu bhikkhū, icchāmi bhikkhūnaṃ āgatan ti, gantabbaṃ bhikkhave sattāhakaraṇīyena appahite pi, pag eva pahite, kin ti (144) nu kho saṃgho kammaṃ na kareyya lahukāya vā pariṇāmeyyā ’ti.  sattāham sannivaṭṭo kātabbo. |10| 
อถ โข ภควา เอตสฺมึ นิทาเน เอตสฺมึ ปกรเณ ธมฺมึ กถํ กตฺวา ภิกฺขู อามนฺเตสิ “น ภิกฺขเว วสฺสํ อุปคนฺตฺวา ปุริมํ วา เตมาสํ ปจฺฉิมํ วา เตมาสํ อวสิตฺวา จาริกา ปกฺกมิตพฺพา.  โย ปกฺกเมยฺย อาปตฺติ ทุกฺกฏสฺสา”ติ.   
kataṃ vā pan’ assa hoti saṃghena kammaṃ tajjaniyaṃ vā ...ukkhepaniyaṃ vā.  so ce bhikkhūnaṃ santike dūtaṃ pahiṇeyya, saṃgho me kammaṃ akāsi, āgacchantu bhikkhū, icchāmi bhikkhūnaṃ āgatan ti, gantabbaṃ bhikkhave sattāhakaraṇīyena appahite pi, pag eva pahite, kin ti nu kho sammāvatteyya lomaṃ pāteyya netthāraṃ vatteyya, saṃgho taṃ kammaṃ paṭippassambheyyā ’ti.  sattāhaṃ sannivaṭṭo kātabbo. |11| 
  ๑๘๖. เตน โข ปน สมเยน ฉพฺพคฺคิยา ภิกฺขู น อิจฺฉนฺติ วสฺสํ อุปคนฺตุํ.  ภควโต เอตมตฺถํ อาโรเจสุํ. 
idha pana bhikkhave bhikkhunī gilānā hoti.  sā ce bhikkhūnaṃ santike dūtaṃ pahiṇeyya, ahaṃ hi gilānā, āgacchantu ayyā, icchāmi ayyānaṃ āgatan ti, gantabbaṃ bhikkhave sattāhakaraṇīyena appahite pi, pag eva pahite, gilānabhattaṃ vā pariyesissāmi, gilānupaṭṭhākabhattaṃ vā pariyesissāmi, gilānabhesajjaṃ vā pariyesissāmi, {pucchissāmi} vā, upaṭṭhahissāmi vā ’ti.  sattāhaṃ sannivaṭṭo kātabbo. |12| 
น ภิกฺขเว วสฺสํ น อุปคนฺตพฺพํ.  โย น อุปคจฺเฉยฺย อาปตฺติ ทุกฺกฏสฺสาติ.  เตน โข ปน สมเยน ฉพฺพคฺคิยา ภิกฺขู ตทหุ วสฺสูปนายิกาย วสฺสํ อนุปคนฺตุกามา สญฺจิจฺจ อาวาสํ อติกฺกมนฺติ. 
idha pana bhikkhave bhikkhuniyā anabhirati uppannā hoti.  sā ce bhikkhūnaṃ santike dūtaṃ pahiṇeyya, anabhirati me uppannā, āgacchantu ayyā, icchāmi ayyānaṃ āgatan ti, gantabbaṃ bhikkhave sattāhakaraṇīyena appahite pi, pag eva pahite, anabhiratiṃ vūpakāsessāmi vā vūpakāsāpessāmi vā dhammakathaṃ vāssā karissāmīti.  sattāhaṃ sannivaṭṭo kātabbo. |13| 
ภควโต เอตมตฺถํ อาโรเจสุํ.  น ภิกฺขเว ตทหุ วสฺสูปนายิกาย วสฺสํ อนุปคนฺตุกาเมน สญฺจิจฺจ อาวาโส อติกฺกมิตพฺโพ.  โย อติกฺกเมยฺย อาปตฺติ ทุกฺกฏสฺสาติ. 
idha pana bhikkhave bhikkhuniyā kukkuccaṃ uppannaṃ hoti.  sā ce bhikkhūnaṃ santike dūtaṃ pahiṇeyya, kukkuccaṃ me uppannaṃ, āgacchantu ayyā, icchāmi ayyānaṃ āgatan ti, gantabbaṃ bhikkhave sattāhakaraṇīyena appahite pi, pag eva pahite, kukkuccaṃ vinodessāmi vā vinodāpessāmi vā dhammakathaṃ vāssā karissāmīti.  sattāhaṃ sannivaṭṭo kātabbo. |14| 
เตน โข ปน สมเยน ราชา มาคโธ เสนิโย พิมฺพิสาโร วสฺสํ อุกฺกฑฺฒิตุกาโม ภิกฺขูนํ สนฺติเก ทูตํ ปาเหสิ ยทิ ปนายฺยา อาคเม ชุณฺเห วสฺสํ อุปคจฺเฉยฺยุนฺติ.  ภควโต เอตมตฺถํ อาโรเจสุํ. อนุชานามิ ภิกฺขเว ราชูนํ อนุวตฺติตุนฺติ. (วสฺสาเน จาริกาปฏิกฺเขปาทิ นิฏฺฐิตา.)   
idha pana bhikkhave bhikkhuniyā diṭṭhigataṃ uppannaṃ hoti.  sā ce bhikkhūnaṃ santike dūtaṃ pahiṇeyya, diṭṭhigataṃ me uppannaṃ, āgacchantu ayyā, icchāmi ayyānaṃ āgatan ti, gantabbaṃ bhikkhave sattāhakaraṇīyena appahite pi, pag eva pahite, diṭṭhigataṃ vivecessāmi vā vivecāpessāmi vā dhammakathaṃ vāssā karissāmīti.  sattāhaṃ sannivaṭṭo kātabbo. |15| 
  (๑๐๙. สตฺตาหกรณียานุชานนา) ๑๘๗. อถ โข ภควา ราชคเห ยถาภิรนฺตํ วิหริตฺวา เยน สาวตฺถิ เตน จาริกํ ปกฺกามิ.  อนุปุพฺเพน จาริกํ จรมาโน เยน สาวตฺถิ ตทวสริ. 
idha pana bhikkhave bhikkhunī garudhammaṃ ajjhāpannā hoti mānattārahā.  sā ce bhikkhūnaṃ santike dūtaṃ pahiṇeyya, ahaṃ hi (145) garudhammaṃ ajjhāpannā mānattārahā, āgacchantu ayyā, icchāmi ayyānaṃ āgatan ti, gantabbaṃ bhikkhave sattāhakaraṇīyena appahite pi, pag eva pahite, mānattadānaṃ ussukkaṃ karissāmīti.  sattāhaṃ sannivaṭṭo kātabbo. |16| 
ตตฺร สุทํ ภควา สาวตฺถิยํ วิหรติ เชตวเน อนาถปิณฺฑิกสฺส อาราเม.  เตน โข ปน สมเยน โกสเลสุ ชนปเท อุเทเนน อุปาสเกน สงฺฆํ อุทฺทิสฺส วิหาโร การาปิโต โหติ.  โส ภิกฺขูนํ สนฺติเก ทูตํ ปาเหสิ “อาคจฺฉนฺตุ ภทนฺตา อิจฺฉามิ ทานญฺจ ทาตุํ ธมฺมญฺจ โสตุํ ภิกฺขู จ ปสฺสิตุ”นฺติ. 
idha pana bhikkhave bhikkhunī mūlāya paṭikassanārahā hoti.  sā ce bhikkhūnaṃ santike dūtaṃ pahiṇeyya, ahaṃ hi mūlāya paṭikassanārahā, āgacchantu ayyā, icchāmi ayyānaṃ āgatan ti, gantabbaṃ bhikkhave sattāhakaraṇīyena appahite pi, pag eva pahite, mūlāya paṭikassanaṃ ussukkaṃ karissāmīti.  sattāhaṃ sannivaṭṭo kātabbo. |17| 
ภิกฺขู เอวมาหํสุ “ภควตา อาวุโส ปญฺญตฺตํ ‘น วสฺสํ อุปคนฺตฺวา ปุริมํ วา เตมาสํ ปจฺฉิมํ วา เตมาสํ อวสิตฺวา จาริกา ปกฺกมิตพฺพา’ติ.  อาคเมตุ อุเทโน อุปาสโก ยาว ภิกฺขู วสฺสํ วสนฺติ. วสฺสํวุฏฺฐา อาคมิสฺสนฺติ.  สเจ ปนสฺส อจฺจายิกํ กรณียํ ตตฺเถว อาวาสิกานํ ภิกฺขูนํ สนฺติเก วิหารํ ปติฏฺฐาเปตู”ติ. 
idha pana bhikkhave bhikkhunī abbhānārahā hoti.  sā ce bhikkhūnaṃ santike dūtaṃ pahiṇeyya, ahaṃ hi abbhānārahā, āgacchantu ayyā, icchāmi ayyānaṃ āgatan ti, gantabbaṃ bhikkhave sattāhakaraṇīyena appahite pi, pag eva pahite, abbhānaṃ ussukkaṃ karissāmīti.  sattāhaṃ sannivaṭṭo kātabbo. |18| 
อุเทโน อุปาสโก อุชฺฌายติ ขิยฺยติ วิปาเจติ “กถญฺหิ นาม ภทนฺตา มยา ปหิเต น อาคจฺฉิสฺสนฺติ. อหญฺหิ ทายโก การโก สงฺฆุปฏฺฐาโก”ติ.  อสฺโสสุํ โข ภิกฺขู อุเทนสฺส อุปาสกสฺส อุชฺฌายนฺตสฺส ขิยฺยนฺตสฺส วิปาเจนฺตสฺส.  อถ โข เต ภิกฺขู ภควโต เอตมตฺถํ อาโรเจสุํ. 
idha pana bhikkhave bhikkhuniyā saṃgho kammaṃ kattukāmo hoti tajjaniyaṃ vā nissayaṃ vā pabbājaniyaṃ vā paṭisāraṇiyaṃ vā ukkhepaniyaṃ vā.  sā ce bhikkhūnaṃ santike dūtaṃ pahiṇeyya, saṃgho me kammaṃ kattukāmo, āgacchantu ayyā, icchāmi ayyānaṃ āgatan ti, gantabbaṃ bhikkhave sattāhakaraṇīyena appahite pi, pag eva pahite, kin ti nu kho saṃgho kammaṃ na kareyya lahukāya vā pariṇāmeyyā ’ti.  sattāhaṃ sannivaṭṭo kātabbo. |19| 
อถ โข ภควา เอตสฺมึ นิทาเน เอตสฺมึ ปกรเณ ธมฺมึ กถํ กตฺวา ภิกฺขู อามนฺเตสิ “อนุชานามิ ภิกฺขเว สตฺตนฺนํ สตฺตาหกรณีเยน ปหิเต คนฺตุํ น ตฺเวว อปฺปหิเต. ภิกฺขุสฺส ภิกฺขุนิยา สิกฺขมานาย สามเณรสฺส สามเณริยา อุปาสกสฺส อุปาสิกาย  อนุชานามิ ภิกฺขเว อิเมสํ สตฺตนฺนํ สตฺตาหกรณีเยน ปหิเต คนฺตุํ น ตฺเวว อปฺปหิเต.  สตฺตาหํ สนฺนิวตฺโต กาตพฺโพ”. 
kataṃ vā pan’ assā hoti saṃghena kammaṃ tajjaniyaṃ vā ...ukkhepaniyaṃ vā.  sā ce bhikkhūnaṃ santike dūtaṃ pahiṇeyya, saṃgho me kammaṃ akāsi, āgacchantu ayyā, icchāmi ayyānaṃ āgatan ti, gantabbaṃ bhikkhave sattāhakaraṇīyena appahite pi, pag eva pahite, kin ti nu kho sammāvatteyya lomaṃ pāteyya netthāraṃ vatteyya, saṃgho taṃ kammaṃ paṭippassambheyyā ’ti.  sattāhaṃ sannivaṭṭo kātabbo. |20| 
๑๘๘. อิธ ปน ภิกฺขเว อุปาสเกน สงฺฆํ อุทฺทิสฺส วิหาโร การาปิโต โหติ.  โส เจ ภิกฺขูนํ สนฺติเก ทูตํ ปหิเณยฺย “อาคจฺฉนฺตุ ภทนฺตา อิจฺฉามิ ทานญฺจ ทาตุํ ธมฺมญฺจ โสตุํ ภิกฺขู จ ปสฺสิตุ”นฺติ คนฺตพฺพํ ภิกฺขเว สตฺตาหกรณีเยน ปหิเต น ตฺเวว อปฺปหิเต.  สตฺตาหํ สนฺนิวตฺโต กาตพฺโพ. 
idha pana bhikkhave sikkhamānā gilānā hoti.  sā ce bhikkhūnaṃ santike dūtaṃ pahiṇeyya, ahaṃ hi gilānā, āgacchantu ayyā, icchāmi ayyānaṃ āgatan ti, gantabbaṃ bhikkhave sattāhakaraṇīyena apahite pi, pag eva pahite, gilānabhattaṃ vā pariyesissāmi gilānupaṭṭhākabhattaṃ vā pariyesissāmi, gilānabhesajjaṃ vā pariyesissāmi, pucchissāmi vā, upaṭṭhahissāmi vā ’ti.  sattāhaṃ sannivaṭṭo kātabbo. |21| 
อิธ ปน ภิกฺขเว อุปาสเกน สงฺฆํ อุทฺทิสฺส อฑฺฒโยโค การาปิโต โหติฯเปฯ ปาสาโท การาปิโต โหติ… หมฺมิยํ การาปิตํ โหติ… คุหา การาปิตา โหติ… ปริเวณํ การาปิตํ โหติ… โกฏฺฐโก การาปิโต โหติ… อุปฏฺฐานสาลา การาปิตา โหติ… อคฺคิสาลา การาปิตา โหติ… กปฺปิยกุฏิ การาปิตา โหติ… วจฺจกุฏิ การาปิตา โหติ… จงฺกโม การาปิโต โหติ จงฺกมนสาลา การาปิตา โหติ… อุทปาโน การาปิโต โหติ … อุทปานสาลา การาปิตา โหติ… ชนฺตาฆรํ การาปิตํ โหติ…  ชนฺตาฆรสาลา การาปิตา โหติ… โปกฺขรณี การาปิตา โหติ… มณฺฑโป การาปิโต โหติ… อาราโม การาปิโต โหติ… อารามวตฺถุ การาปิตํ โหติ.  โส เจ ภิกฺขูนํ สนฺติเก ทูตํ ปหิเณยฺย “อาคจฺฉนฺตุ ภทนฺตา อิจฺฉามิ ทานญฺจ ทาตุํ ธมฺมญฺจ โสตุํ ภิกฺขู จ ปสฺสิตุ”นฺติ คนฺตพฺพํ ภิกฺขเว สตฺตาหกรณีเยน ปหิเต น ตฺเวว อปฺปหิเต. 
idha pana bhikkhave sikkha-(146)mānāya anabhirati uppannā hoti --la-- sikkhamānāya kukkuccaṃ uppannaṃ hoti, sikkhamānāya diṭṭhigataṃ uppannaṃ hoti, {sikkhamānāya} sikkhā kupitā hoti.  sā ce bhikkhūnaṃ santike dūtaṃ pahiṇeyya, sikkhā me kupitā, āgacchantu ayyā, icchāmi ayyānaṃ āgatan ti, gantabbaṃ bhikkhave sattāhakaraṇīyena appahite pi, pag eva pahite, sikkhāsamādānaṃ ussukkaṃ karissāmīti.  sattāhaṃ sannivaṭṭo kātabbo. |22| 
สตฺตาหํ สนฺนิวตฺโต กาตพฺโพ.  อิธ ปน ภิกฺขเว อุปาสเกน สมฺพหุเล ภิกฺขู อุทฺทิสฺสฯเปฯ เอกํ ภิกฺขุํ อุทฺทิสฺส วิหาโร การาปิโต โหติ… อฑฺฒโยโค การาปิโต โหติ…  ปาสาโท การาปิโต โหติ หมฺมิยํ การาปิตํ โหติ… คุหา การาปิตา โหติ… ปริเวณํ การาปิตํ โหติ… โกฏฺฐโก การาปิโต โหติ… อุปฏฺฐานสาลา การาปิตา โหติ… อคฺคิสาลา การาปิตา โหติ… กปฺปิยกุฏิ การาปิตา โหติ… วจฺจกุฏิ การาปิตา โหติ… จงฺกโม การาปิโต โหติ… จงฺกมนสาลา การาปิตา โหติ… อุทปาโน การาปิโต โหติ… อุทปานสาลา การาปิตา โหติ… ชนฺตาฆรํ การาปิตํ โหติ… ชนฺตาฆรสาลา การาปิตา โหติ… โปกฺขรณี การาปิตา โหติ… มณฺฑโป การาปิโต โหติ… อาราโม การาปิโต โหติ… อารามวตฺถุ การาปิตํ โหติ. โส เจ ภิกฺขูนํ สนฺติเก ทูตํ ปหิเณยฺย “อาคจฺฉนฺตุ ภทนฺตา อิจฺฉามิ ทานญฺจ ทาตุํ ธมฺมญฺจ โสตุํ ภิกฺขู จ ปสฺสิตุ”นฺติ คนฺตพฺพํ ภิกฺขเว สตฺตาหกรณีเยน ปหิเต น ตฺเวว อปฺปหิเต. สตฺตาหํ สนฺนิวตฺโต กาตพฺโพ. 
idha pana bhikkhave sikkhamānā upasampajjitukāmā hoti.  sā ce bhikkhūnaṃ santike dūtaṃ pahiṇeyya, ahaṃ hi upasampajjitukāmā, āgacchantu ayyā, icchāmi ayyānaṃ āgatan ti, gantabbaṃ bhikkhave sattāhakaraṇīyena appahite pi, pag eva pahite, upasampadaṃ ussukkaṃ karissāmi vā, anussāvessāmi vā, gaṇapūrako vā bhavissāmīti.  sattāhaṃ sannivaṭṭo kātabbo. |23| 
อิธ ปน ภิกฺขเว อุปาสเกน ภิกฺขุนิสงฺฆํ อุทฺทิสฺสฯเปฯ สมฺพหุลา ภิกฺขุนิโย อุทฺทิสฺสฯเปฯ เอกํ ภิกฺขุนึ อุทฺทิสฺสฯเปฯ สมฺพหุลา สิกฺขมานาโย อุทฺทิสฺสฯเปฯ เอกํ สิกฺขมานํ อุทฺทิสฺสฯเปฯ สมฺพหุเล สามเณเร อุทฺทิสฺสฯเปฯ เอกํ สามเณรํ อุทฺทิสฺสฯเปฯ สมฺพหุลา สามเณริโย อุทฺทิสฺสฯเปฯ เอกํ สามเณรึ อุทฺทิสฺส วิหาโร การาปิโต โหติฯเปฯ อฑฺฒโยโค การาปิโต โหติ…  ปาสาโท การาปิโต โหติ… หมฺมิยํ การาปิตํ โหติ… คุหา การาปิตา โหติ… ปริเวณํ การาปิตํ โหติ… โกฏฺฐโก การาปิโต โหติ… อุปฏฺฐานสาลา การาปิตา โหติ… อคฺคิสาลา การาปิตา โหติ กปฺปิยกุฏิ การาปิตา โหติ… จงฺกโม การาปิโต โหติ… จงฺกมนสาลา การาปิตา โหติ… อุทปาโน การาปิโต โหติ… อุทปานสาลา การาปิตา โหติ… โปกฺขรณี การาปิตา โหติ… มณฺฑโป การาปิโต โหติ… อาราโม การาปิโต โหติ… อารามวตฺถุ การาปิตํ โหติ.  โส เจ ภิกฺขูนํ สนฺติเก ทูตํ ปหิเณยฺย “อาคจฺฉนฺตุ ภทนฺตา อิจฺฉามิ ทานญฺจ ทาตุํ ธมฺมญฺจ โสตุํ ภิกฺขู จ ปสฺสิตุ”นฺติ คนฺตพฺพํ ภิกฺขเว สตฺตาหกรณีเยน ปหิเต น ตฺเวว อปฺปหิเต. 
idha pana bhikkhave sāmaṇero gilāno hoti.  so ce bhikkhūnaṃ santike dūtaṃ pahiṇeyya, ahaṃ hi gilāno, āgacchantu bhikkhū, icchāmi bhikkhūnaṃ āgatan ti, gantabbaṃ bhikkhave sattāhakaraṇīyena appahite pi, pag eva pahite, gilānabhattaṃ vā pariyesissāmi, gilānupaṭṭhākabhattaṃ vā pariyesissāmi, gilānabhesajjaṃ vā pariyesissāmi, pucchissāmi vā, upaṭṭhahissāmi vā ’ti.  sattāhaṃ sannivaṭṭo kātabbo. |24| 
สตฺตาหํ สนฺนิวตฺโต กาตพฺโพ.  ๑๘๙. อิธ ปน ภิกฺขเว อุปาสเกน อตฺตโน อตฺถาย นิเวสนํ การาปิตํ โหติฯเปฯ สยนิฆรํ การาปิตํ โหติ… อุโทสิโต การาปิโต โหติ… อฏฺโฏ การาปิโต โหติ… มาโฬ การาปิโต โหติ… อาปโณ การาปิโต โหติ… อาปณสาลา การาปิตา โหติ… ปาสาโท การาปิโต โหติ… หมฺมิยํ การาปิตํ โหติ… คุหา การาปิตา โหติ… ปริเวณํ การาปิตํ โหติ… โกฏฺฐโก การาปิโต โหติ… อุปฏฺฐานสาลา การาปิตา โหติ… อคฺคิสาลา การาปิตา โหติ… รสวตี การาปิตา โหติ… จงฺกโม การาปิโต โหติ… จงฺกมนสาลา การาปิตา โหติ… อุทปาโน การาปิโต โหติ… อุทปานสาลา การาปิตา โหติ… โปกฺขรณี การาปิตา โหติ… มณฺฑโป การาปิโต โหติ… อาราโม การาปิโต โหติ อารามวตฺถุ การาปิตํ โหติ… ปุตฺตสฺส วา วาเรยฺยํ โหติ… ธีตุยา วา วาเรยฺยํ โหติ… คิลาโน วา โหติ… อภิญฺญาตํ วา สุตฺตนฺตํ ภณติ.  โส เจ ภิกฺขูนํ สนฺติเก ทูตํ ปหิเณยฺย ‘อาคจฺฉนฺตุ ภทนฺตา อิมํ สุตฺตนฺตํ ปริยาปุณิสฺสนฺติ ปุรายํ สุตฺตนฺโต น ปลุชฺชตี’ติ. 
idha pana bhikkhave sāmaṇerassa anabhirati uppannā hoti --la-- sāmaṇerassa kukkuccaṃ uppannaṃ hoti, sāmaṇerassa diṭṭhigataṃ uppannaṃ hoti, sāmaṇero vassaṃ pucchitukāmo hoti, so ce bhikkhūnaṃ santike dūtaṃ pahiṇeyya, ahaṃ hi vassaṃ pucchitukāmo, āgacchantu bhikkhū, icchāmi bhikkhūnaṃ āgatan ti, gantabbaṃ bhikkhave sattāhakaraṇīyena appahite pi, pag eva pahite, pucchissāmi vā ācikkhissāmi vā ’ti.  sattāhaṃ sannivaṭṭo kātabbo. |25| 
อญฺญตรํ วา ปนสฺส กิจฺจํ โหติ กรณียํ วา  โส เจ ภิกฺขูนํ สนฺติเก ทูตํ ปหิเณยฺย “อาคจฺฉนฺตุ ภทนฺตา อิจฺฉามิ ทานญฺจ ทาตุํ ธมฺมญฺจ โสตุํ ภิกฺขู จ ปสฺสิตุ”นฺติ คนฺตพฺพํ ภิกฺขเว สตฺตาหกรณีเยน ปหิเต น ตฺเวว อปฺปหิเต. 
idha pana bhikkhave sāmaṇero upasampajjitukāmo hoti.  so ce bhikkhūnaṃ santike dūtaṃ pahiṇeyya, ahaṃ hi upasampajjitukāmo, āgacchantu bhikkhū, icchāmi bhikkhūnaṃ āgatan ti, gantabbaṃ bhikkhave sattāhakaraṇīyena appahite pi, pag eva pahite, upasampadaṃ ussukkaṃ karissāmi vā, anussāvessāmi vā, gaṇapūrako vā bhavissāmīti.  sattāhaṃ sannivaṭṭo kātabbo. |26| 
สตฺตาหํ สนฺนิวตฺโต กาตพฺโพ.  ๑๙๐. อิธ ปน ภิกฺขเว อุปาสิกาย สงฺฆํ อุทฺทิสฺส วิหาโร การาปิโต โหติ.  สา เจ ภิกฺขูนํ สนฺติเก ทูตํ ปหิเณยฺย “อาคจฺฉนฺตุ อยฺยา อิจฺฉามิ ทานญฺจ ทาตุํ ธมฺมญฺจ โสตุํ ภิกฺขู จ ปสฺสิตุ”นฺติ คนฺตพฺพํ ภิกฺขเว สตฺตาหกรณีเยน ปหิเต น ตฺเวว อปฺปหิเต. 
idha pana bhikkhave sāmaṇerī gilānā hoti.  sā ce bhikkhūnaṃ santike dūtaṃ pahiṇeyya, ahaṃ hi gilānā, āgacchantu ayyā, icchāmi ayyānaṃ āgatan (147) ti, gantabbaṃ bhikkhave sattāhakaraṇīyena appahite pi, pag eva pahite, gilānabhattaṃ vā pariyesissāmi, gilānupaṭṭhākabhattaṃ vā pariyesissāmi, gilānabhesajjaṃ vā pariyesissāmi, pucchissāmi vā, upaṭṭhahissāmi vā ’ti.  sattāhaṃ sannivaṭṭo kātabbo. |27| 
สตฺตาหํ สนฺนิวตฺโต กาตพฺโพ.  อิธ ปน ภิกฺขเว อุปาสิกาย สงฺฆํ อุทฺทิสฺส อฑฺฒโยโค การาปิโต โหติฯเปฯ ปาสาโท การาปิโต โหติ… หมฺมิยํ การาปิตํ โหติ… คุหา การาปิตา โหติ… ปริเวณํ การาปิตํ โหติ… โกฏฺฐโก การาปิโต โหติ… อุปฏฺฐานสาลา การาปิตา โหติ… อคฺคิสาลา การาปิตา โหติ… กปฺปิยกุฏิ การาปิตา โหติ… วจฺจกุฏิ การาปิตา โหติ… จงฺกโม การาปิโต โหติ… จงฺกมนสาลา การาปิตา โหติ… อุทปาโน การาปิโต โหติ… อุทปานสาลา การาปิตา โหติ… ชนฺตาฆรํ การาปิตํ โหติ… ชนฺตาฆรสาลา การาปิตา โหติ… โปกฺขรณี การาปิตา โหติ… มณฺฑโป การาปิโต โหติ… อาราโม การาปิโต โหติ… อารามวตฺถุ การาปิตํ โหติ. สา เจ ภิกฺขูนํ สนฺติเก ทูตํ ปหิเณยฺย “อาคจฺฉนฺตุ อยฺยา อิจฺฉามิ ทานญฺจ ทาตุํ ธมฺมญฺจ โสตุํ ภิกฺขู จ ปสฺสิตุ”นฺติ คนฺตพฺพํ ภิกฺขเว สตฺตาหกรณีเยน ปหิเต น ตฺเวว อปฺปหิเต. สตฺตาหํ สนฺนิวตฺโต กาตพฺโพ.  อิธ ปน ภิกฺขเว อุปาสิกาย สมฺพหุเล ภิกฺขู อุทฺทิสฺสฯเปฯ เอกํ ภิกฺขุํ อุทฺทิสฺสฯเปฯ ภิกฺขุนิสงฺฆํ อุทฺทิสฺสฯเปฯ สมฺพหุลา ภิกฺขุนิโย อุทฺทิสฺสฯเปฯ เอกํ ภิกฺขุนึ อุทฺทิสฺสฯเปฯ สมฺพหุลา สิกฺขมานาโย อุทฺทิสฺสฯเปฯ เอกํ สิกฺขมานํ อุทฺทิสฺสฯเปฯ สมฺพหุเล สามเณเร อุทฺทิสฺสฯเปฯ เอกํ สามเณรํ อุทฺทิสฺสฯเปฯ สมฺพหุลา สามเณริโย อุทฺทิสฺสฯเปฯ เอกํ สามเณรึ อุทฺทิสฺสฯเปฯ. ๑๙๑. อิธ ปน ภิกฺขเว อุปาสิกาย อตฺตโน อตฺถาย นิเวสนํ การาปิตํ โหติฯเปฯ สยนิฆรํ การาปิตํ โหติ… อุโทสิโต การาปิโต โหติ… อฏฺโฏ การาปิโต โหติ… มาโฬ การาปิโต โหติ… อาปโณ การาปิโต โหติ… อาปณสาลา การาปิตา โหติ… ปาสาโท การาปิโต โหติ… หมฺมิยํ การาปิตํ โหติ… คุหา การาปิตา โหติ… ปริเวณํ การาปิตํ โหติ… โกฏฺฐโก การาปิโต โหติ… อุปฏฺฐานสาลา การาปิตา โหติ… อคฺคิสาลา การาปิตา โหติ… รสวตี การาปิตา โหติ… จงฺกโม การาปิโต โหติ… จงฺกมนสาลา การาปิตา โหติ… อุทปาโน การาปิโต โหติ อุทปานสาลา การาปิตา โหติ… โปกฺขรณี การาปิตา โหติ… มณฺฑโป การาปิโต โหติ… อาราโม การาปิโต โหติ… อารามวตฺถุ การาปิตํ โหติ… ปุตฺตสฺส วา วาเรยฺยํ โหติ… ธีตุยา วา วาเรยฺยํ โหติ… คิลานา วา โหติ… อภิญฺญาตํ วา สุตฺตนฺตํ ภณติ. 
idha pana bhikkhave sāmaṇeriyā anabhirati uppannā hoti --la-- sāmaṇeriyā kukkuccaṃ uppannaṃ hoti, sāmaṇeriyā diṭṭhigataṃ uppannaṃ hoti, sāmaṇerī vassaṃ pucchitukāmā hoti.  sā ce bhikkhūnaṃ santike dūtaṃ pahiṇeyya, ahaṃ hi vassaṃ pucchitukāmā, āgacchantu ayyā, icchāmi ayyānaṃ āgatan ti, gantabbaṃ bhikkhave sattāhakaraṇīyena appahite pi, pag eva pahite, pucchissāmi vā ācikkhissāmi vā ’ti.  sattāhaṃ sannivaṭṭo kātabbo. |28| 
สา เจ ภิกฺขูนํ สนฺติเก ทูตํ ปหิเณยฺย “อาคจฺฉนฺตุ อยฺยา อิมํ สุตฺตนฺตํ ปริยาปุณิสฺสนฺติ ปุรายํ สุตฺตนฺโต ปลุชฺชตี”ติ.  อญฺญตรํ วา ปนสฺสา กิจฺจํ โหติ กรณียํ วา  สา เจ ภิกฺขูนํ สนฺติเก ทูตํ ปหิเณยฺย “อาคจฺฉนฺตุ อยฺยา อิจฺฉามิ ทานญฺจ ทาตุํ ธมฺมญฺจ โสตุํ ภิกฺขู จ ปสฺสิตุ”นฺติ คนฺตพฺพํ ภิกฺขเว สตฺตาหกรณีเยน ปหิเต น ตฺเวว อปฺปหิเต. 
idha pana bhikkhave sāmaṇerī sikkhaṃ samādiyitukāmā hoti.  sā ce bhikkhūnaṃ santike dūtaṃ pahiṇeyya, ahaṃ hi sikkhaṃ samādiyitukāmā, āgacchantu ayyā, icchāmi ayyānaṃ āgatan ti, gantabbaṃ bhikkhave sattāhakaraṇīyena appahite pi, pag eva pahite, sikkhāsamādānaṃ ussukkaṃ karissāmīti.  sattāhaṃ sannivaṭṭo kātabbo ’ti. |29| 
สตฺตาหํ สนฺนิวตฺโต กาตพฺโพ.  ๑๙๒. อิธ ปน ภิกฺขเว ภิกฺขุนา สงฺฆํ อุทฺทิสฺสฯเปฯ ภิกฺขุนิยา สงฺฆํ อุทฺทิสฺส… สิกฺขมานาย สงฺฆํ อุทฺทิสฺส… สามเณเรน สงฺฆํ อุทฺทิสฺส… สามเณริยา สงฺฆํ อุทฺทิสฺส … สมฺพหุเล ภิกฺขู อุทฺทิสฺส… เอกํ ภิกฺขุํ อุทฺทิสฺส… ภิกฺขุนิสงฺฆํ อุทฺทิสฺส… สมฺพหุลา ภิกฺขุนิโย อุทฺทิสฺส… เอกํ ภิกฺขุนึ อุทฺทิสฺส… สมฺพหุลา สิกฺขมานาโย อุทฺทิสฺส… เอกํ สิกฺขมานํ อุทฺทิสฺส… สมฺพหุเล สามเณเร อุทฺทิสฺส… เอกํ สามเณรํ อุทฺทิสฺส… สมฺพหุลา สามเณริโย อุทฺทิสฺส… เอกํ สามเณรึ อุทฺทิสฺส… อตฺตโน อตฺถาย วิหาโร การาปิโต โหติฯเปฯ อฑฺฒโยโค การาปิโต โหติ… ปาสาโท การาปิโต โหติ… หมฺมิยํ การาปิตํ โหติ… คุหา การาปิตา โหติ… ปริเวณํ การาปิตํ โหติ โกฏฺฐโก การาปิโต โหติ… อุปฏฺฐานสาลา การาปิตา โหติ… อคฺคิสาลา การาปิตา โหติ… กปฺปิยกุฏิ การาปิตา โหติ… จงฺกโม การาปิโต โหติ… จงฺกมนสาลา การาปิตา โหติ… อุทปาโน การาปิโต โหติ… อุทปานสาลา การาปิตา โหติ… โปกฺขรณี การาปิตา โหติ… มณฺฑโป การาปิโต โหติ… อาราโม การาปิโต โหติ… อารามวตฺถุ การาปิตํ โหติ.  สา เจ ภิกฺขูนํ สนฺติเก ทูตํ ปหิเณยฺย… “อาคจฺฉนฺตุ อยฺยา อิจฺฉามิ ทานญฺจ ทาตุํ ธมฺมญฺจ โสตุํ ภิกฺขู จ ปสฺสิตุ”นฺติ คนฺตพฺพํ ภิกฺขเว สตฺตาหกรณีเยน ปหิเต น ตฺเวว อปฺปหิเต. 
||6|| 
สตฺตาหํ สนฺนิวตฺโต กาตพฺโพติ. (สตฺตาหกรณียานุชานตา นิฏฺฐิตา.) 
tena kho pana samayena aññatarassa bhikkhuno mātā gilānā hoti.  sā puttassa santike dūtaṃ pāhesi, ahaṃ hi gilānā, āgacchatu me putto, icchāmi puttassa āgatan ti.  atha kho tassa bhikkhuno etad ahosi: bhagavatā paññattaṃ sattannaṃ sattāhakaraṇīyena pahite gantuṃ, na tv eva appahite, pañcannaṃ sattāhakaraṇīyena appahite pi gantuṃ, pag eva pahite, ayañ ca me mātā gilānā sā ca anupāsikā.  kathaṃ nu kho mayā paṭipajjitabban ti.  bhagavato etam atthaṃ ārocesuṃ. |1| 
    (๑๑๐. ปญฺจนฺนํ อปฺปหิเตปิ อนุชานนา) ๑๙๓. เตน โข ปน สมเยน อญฺญตโร ภิกฺขุ คิลาโน โหติ.  โส ภิกฺขูนํ สนฺติเก ทูตํ ปาเหสิ “อหญฺหิ คิลาโน อาคจฺฉนฺตุ ภิกฺขู อิจฺฉามิ ภิกฺขูนํ อาคต”นฺติ.  ภควโต เอตมตฺถํ อาโรเจสุํ. 
anujānāmi bhikkhave sattannaṃ sattāhakaraṇīyena appahite pi gantuṃ, pag eva pahite, bhikkhussa bhikkhuniyā sikkhamānāya sāmaṇerassa sāmaṇeriyā mātuyā ca pitussa ca.  anujānāmi bhikkhave imesaṃ {sattannaṃ} sattāhakaraṇīyena appahite pi gantuṃ, pag eva pahite.  sattāhaṃ sannivaṭṭo kātabbo. |2| 
อนุชานามิ ภิกฺขเว ปญฺจนฺนํ สตฺตาหกรณีเยน อปฺปหิเตปิ คนฺตุํ ปเคว ปหิเต. ภิกฺขุสฺส ภิกฺขุนิยา สิกฺขมานาย สามเณรสฺส สามเณริยา อ  นุชานามิ ภิกฺขเว อิเมสํ ปญฺจนฺนํ สตฺตาหกรณีเยน อปฺปหิเตปิ คนฺตุํ ปเคว ปหิเต.  สตฺตาหํ สนฺนิวตฺโต กาตพฺโพ. 
idha pana bhikkhave bhikkhussa mātā gilānā hoti.  sā ce puttassa santike dūtaṃ pahiṇeyya, ahaṃ hi gilānā, āgacchatu me putto, icchāmi puttassa āgatan ti, gantabbaṃ ...(= III.6.2) ...sattāhaṃ sannivaṭṭo kātabbo. |3| 
อิธ ปน ภิกฺขเว ภิกฺขุ คิลาโน โหติ.  โส เจ ภิกฺขูนํ สนฺติเก ทูตํ ปหิเณยฺย “อหญฺหิ คิลาโน อาคจฺฉนฺตุ ภิกฺขู อิจฺฉามิ ภิกฺขูนํ อาคต”นฺติ คนฺตพฺพํ ภิกฺขเว สตฺตาหกรณีเยน อปฺปหิเตปิ ปเคว ปหิเต “คิลานภตฺตํ วา ปริเยสิสฺสามิ คิลานุปฏฺฐากภตฺตํ วา ปริเยสิสฺสามิ คิลานเภสชฺชํ วา ปริเยสิสฺสามิ ปุจฺฉิสฺสามิ วา อุปฏฺฐหิสฺสามิ วา”ติ. 
idha pana bhikkhave bhi-(148)kkhussa pitā gilāno hoti.  so ce puttassa santike dūtaṃ pahiṇeyya, ahaṃ hi gilāno, āgacchatu me putto, icchāmi puttassa āgatan ti, gantabbaṃ ...(= III.6.2) ...sattāhaṃ sannivaṭṭo kātabbo. |4| 
สตฺตาหํ สนฺนิวตฺโต กาตพฺโพ.  อิธ ปน ภิกฺขเว ภิกฺขุสฺส อนภิรติ อุปฺปนฺนา โหติ. 
idha pana bhikkhave bhikkhussa bhātā gilāno hoti.  so ce bhātuno santike dūtaṃ pahiṇeyya, ahaṃ hi gilāno, āgacchatu me bhātā, icchāmi bhātuno āgatan ti, gantabbaṃ bhikkhave sattāhakaraṇīyena pahite, na tv eva appahite.  sattāhaṃ sannivaṭṭo kātabbo. |5| 
โส เจ ภิกฺขูนํ สนฺติเก ทูตํ ปหิเณยฺย “อนภิรติ เม อุปฺปนฺนา อาคจฺฉนฺตุ ภิกฺขู อิจฺฉามิ ภิกฺขูนํ อาคต”นฺติ คนฺตพฺพํ ภิกฺขเว สตฺตาหกรณีเยน อปฺปหิเตปิ ปเคว ปหิเต “อนภิรตํ วูปกาเสสฺสามิ วา วูปกาสาเปสฺสามิ วา ธมฺมกถํ วาสฺส กริสฺสามี”ติ.  สตฺตาหํ สนฺนิวตฺโต กาตพฺโพ.  อิธ ปน ภิกฺขเว ภิกฺขุสฺส กุกฺกุจฺจํ อุปฺปนฺนํ โหติ. 
idha pana bhikkhave bhikkhussa bhaginī gilānā hoti.  sā ce bhātuno santike dūtaṃ pahiṇeyya, ahaṃ hi gilānā, āgacchatu ...(= 5) ...sattāhaṃ sannivaṭṭo kātabbo. |6| 
โส เจ ภิกฺขูนํ สนฺติเก ทูตํ ปหิเณยฺย “กุกฺกุจฺจํ เม อุปฺปนฺนํ อาคจฺฉนฺตุ ภิกฺขู อิจฺฉามิ ภิกฺขูนํ อาคต”นฺติ คนฺตพฺพํ ภิกฺขเว สตฺตาหกรณีเยน อปฺปหิเตปิ ปเคว ปหิเต “กุกฺกุจฺจํ วิโนเทสฺสามิ วา วิโนทาเปสฺสามิ วา ธมฺมกถํ วาสฺส กริสฺสามี”ติ.  สตฺตาหํ สนฺนิวตฺโต กาตพฺโพ. 
idha pana bhikkhave bhikkhussa ñātako gilāno hoti.  so ce bhikkhussa santike dūtaṃ pahiṇeyya, ahaṃ hi gilāno, āgacchatu bhaddanto, icchāmi bhaddantassa āgatan ti, gantabbaṃ bhikkhave sattāhakaraṇīyena pahite, na tv eva appahite.  sattāhaṃ sannivaṭṭo kātabbo. |7| 
อิธ ปน ภิกฺขเว ภิกฺขุสฺส ทิฏฺฐิคตํ อุปฺปนฺนํ โหติ.  โส เจ ภิกฺขูนํ สนฺติเก ทูตํ ปหิเณยฺย “ทิฏฺฐิคตํ เม อุปฺปนฺนํ อาคจฺฉนฺตุ ภิกฺขู อิจฺฉามิ ภิกฺขูนํ อาคต”นฺติ คนฺตพฺพํ ภิกฺขเว สตฺตาหกรณีเยน อปฺปหิเตปิ ปเคว ปหิเต “ทิฏฺฐิคตํ วิเวเจสฺสามิ วา วิเวจาเปสฺสามิ วา ธมฺมกถํ วาสฺส กริสฺสามี”ติ.  สตฺตาหํ สนฺนิวตฺโต กาตพฺโพ. 
idha pana bhikkhave bhikkhugatiko gilāno hoti.  so ce bhikkhūnaṃ santike dūtam pahiṇeyya, ahaṃ hi gilāno, āgacchantu bhikkhū, icchāmi bhikkhūnaṃ āgatan ti, gantabbaṃ bhikkhave sattāhakaraṇīyena pahite, na tv eva appahite.  sattāhaṃ sannivaṭṭo kātabbo ’ti. |8| 
อิธ ปน ภิกฺขเว ภิกฺขุ ครุธมฺมํ อชฺฌาปนฺโน โหติ ปริวาสารโห.  โส เจ ภิกฺขูนํ สนฺติเก ทูตํ ปหิเณยฺย “อหญฺหิ ครุธมฺมํ อชฺฌาปนฺโน ปริวาสารโห อาคจฺฉนฺตุ ภิกฺขู อิจฺฉามิ ภิกฺขูนํ อาคต”นฺติ คนฺตพฺพํ ภิกฺขเว สตฺตาหกรณีเยน อปฺปหิเตปิ ปเคว ปหิเต “ปริวาสทานํ อุสฺสุกฺกํ กริสฺสามิ วา อนุสฺสาเวสฺสามิ วา คณปูรโก วา ภวิสฺสามี”ติ.  สตฺตาหํ สนฺนิวตฺโต กาตพฺโพ. 
||7|| 
อิธ ปน ภิกฺขเว ภิกฺขุ มูลาย ปฏิกสฺสนารโห โหติ. 
tena kho pana samayena saṃghassa vihāro udriyati.  aññatarena upāsakena araññe bhaṇḍaṃ chedāpitaṃ hoti.  so bhikkhūnaṃ santike dūtaṃ pāhesi, sace bhaddantā taṃ bhaṇḍaṃ avahareyyuṃ, dajjāhaṃ taṃ bhaṇḍan ti.  bhagavato etam atthaṃ ārocesuṃ.  anujānāmi bhikkhave saṃghakaraṇīyena gantuṃ.  sattāhaṃ sannivaṭṭo kātabbo ’ti. |1| 
โส เจ ภิกฺขูนํ สนฺติเก ทูตํ ปหิเณยฺย “อหญฺหิ มูลาย ปฏิกสฺสนารโห อาคจฺฉนฺตุ ภิกฺขู อิจฺฉามิ ภิกฺขูนํ อาคต”นฺติ คนฺตพฺพํ ภิกฺขเว สตฺตาหกรณีเยน อปฺปหิเตปิ ปเคว ปหิเต “มูลาย ปฏิกสฺสนํ อุสฺสุกฺกํ กริสฺสามิ วา อนุสฺสาเวสฺสามิ วา คณปูรโก วา ภวิสฺสามี”ติ.  สตฺตาหํ สนฺนิวตฺโต กาตพฺโพ.  อิธ ปน ภิกฺขเว ภิกฺขุ มานตฺตารโห โหติ.  โส เจ ภิกฺขูนํ สนฺติเก ทูตํ ปหิเณยฺย “อหญฺหิ มานตฺตารโห อาคจฺฉนฺตุ ภิกฺขู อิจฺฉามิ ภิกฺขูนํ อาคต”นฺติ คนฺตพฺพํ ภิกฺขเว สตฺตาหกรณีเยน อปฺปหิเตปิ ปเคว ปหิเต “มานตฺตทานํ อุสฺสุกฺกํ กริสฺสามิ วา อนุสฺสาเวสฺสามิ วา คณปูรโก วา ภวิสฺสามี”ติ.  สตฺตาหํ สนฺนิวตฺโต กาตพฺโพ.  อิธ ปน ภิกฺขเว ภิกฺขุ อพฺภานารโห โหติ. 
||8|| 
โส เจ ภิกฺขูนํ สนฺติเก ทูตํ ปหิเณยฺย “อหญฺหิ อพฺภานารโห อาคจฺฉนฺตุ ภิกฺขู อิจฺฉามิ ภิกฺขูนํ อาคต”นฺติ คนฺตพฺพํ ภิกฺขเว สตฺตาหกรณีเยน อปฺปหิเตปิ ปเคว ปหิเต “อพฺภานํ อุสฺสุกฺกํ กริสฺสามิ วา อนุสฺสาเวสฺสามิ วา คณปูรโก วา ภวิสฺสามี”ติ. 
vassāvāsabhāṇavāraṃ niṭṭhitaṃ.  tena kho pana samayena Kosalesu janapadesu aññatarasmiṃ āvāse vassupagatā bhikkhū vāḷehi ubbāḷhā honti, gaṇhiṃsu pi paripātiṃsu pi.  bhagavato etam atthaṃ ārocesuṃ.  idha pana bhikkhave vassupagatā bhikkhū vāḷehi ubbāḷhā honti, gaṇhanti pi paripātenti pi.  es’ eva antarāyo ’ti pakkamitabbaṃ.  anāpatti vassacchedassa.  idha pana bhikkhave vassupagatā bhikkhū siriṃsapehi ubbāḷhā honti, ḍasanti pi paripātenti pi.  es’ eva ...vassacche (149) dassa. |1| 
สตฺตาหํ สนฺนิวตฺโต กาตพฺโพ.  อิธ ปน ภิกฺขเว ภิกฺขุสฺส สงฺโฆ กมฺมํ กตฺตุกาโม โหติ ตชฺชนียํ วา นิยสฺสํ วา ปพฺพาชนียํ วา ปฏิสารณียํ วา อุกฺเขปนียํ วา.  โส เจ ภิกฺขูนํ สนฺติเก ทูตํ ปหิเณยฺย “สงฺโฆ เม กมฺมํ กตฺตุกาโม อาคจฺฉนฺตุ ภิกฺขู อิจฺฉามิ ภิกฺขูนํ อาคต”นฺติ คนฺตพฺพํ ภิกฺขเว สตฺตาหกรณีเยน อปฺปหิเตปิ ปเคว ปหิเต “กินฺติ นุ โข สงฺโฆ กมฺมํ น กเรยฺย ลหุกาย วา ปริณาเมยฺยา”ติ.  สตฺตาหํ สนฺนิวตฺโต กาตพฺโพ.  กตํ วา ปนสฺส โหติ สงฺเฆน กมฺมํ ตชฺชนียํ วา นิยสฺสํ วา ปพฺพาชนียํ วา ปฏิสารณียํ วา อุกฺเขปนียํ วา.  โส เจ ภิกฺขูนํ สนฺติเก ทูตํ ปหิเณยฺย “สงฺโฆ เม กมฺมํ อกาสิ อาคจฺฉนฺตุ ภิกฺขู อิจฺฉามิ ภิกฺขูนํ อาคต”นฺติ คนฺตพฺพํ ภิกฺขเว สตฺตาหกรณีเยน อปฺปหิเตปิ ปเคว ปหิเต “กินฺติ นุ โข สมฺมา วตฺเตยฺย โลมํ ปาเตยฺย เนตฺถารํ วตฺเตยฺย สงฺโฆ ตํ กมฺมํ ปฏิปฺปสฺสมฺเภยฺยา”ติ.  สตฺตาหํ สนฺนิวตฺโต กาตพฺโพ.  ๑๙๔. อิธ ปน ภิกฺขเว ภิกฺขุนี คิลานา โหติ. 
idha pana bhikkhave vassupagatā bhikkhū corehi ubbālha honti, vilumpanti pi ākoṭenti pi.  es’ eva ...vassacchedassa.  idha pana bhikkhave vassupagatā bhikkhū pisācehi ubbāḷhā honti, āvisanti pi ojam pi haranti.  es’ eva ...vassacchedassa. |2| 
สา เจ ภิกฺขูนํ สนฺติเก ทูตํ ปหิเณยฺย “อหญฺหิ คิลานา อาคจฺฉนฺตุ อยฺยา อิจฺฉามิ อยฺยานํ อาคต”นฺติ คนฺตพฺพํ ภิกฺขเว สตฺตาหกรณีเยน อปฺปหิเตปิ ปเคว ปหิเต “คิลานภตฺตํ วา ปริเยสิสฺสามิ คิลานุปฏฺฐากภตฺตํ วา ปริเยสิสฺสามิ คิลานเภสชฺชํ วา ปริเยสิสฺสามิ ปุจฺฉิสฺสามิ วา อุปฏฺฐหิสฺสามิ วา”ติ.  สตฺตาหํ สนฺนิวตฺโต กาตพฺโพ.  อิธ ปน ภิกฺขเว ภิกฺขุนิยา อนภิรติ อุปฺปนฺนา โหติ.  สา เจ ภิกฺขูนํ สนฺติเก ทูตํ ปหิเณยฺย “อนภิรติ เม อุปฺปนฺนา อาคจฺฉนฺตุ อยฺยา อิจฺฉามิ อยฺยานํ อาคต”นฺติ คนฺตพฺพํ ภิกฺขเว สตฺตาหกรณีเยน อปฺปหิเตปิ ปเคว ปหิเต “อนภิรตํ วูปกาเสสฺสามิ วา วูปกาสาเปสฺสามิ วา ธมฺมกถํ วาสฺสา กริสฺสามี”ติ. 
idha pana bhikkhave vassupagatānaṃ {bhikkhūnaṃ} gāmo agginā daḍḍho hoti, bhikkhū piṇḍakena kilamanti.  es’ eva ...vassacchedassa.  idha pana bhikkhave vassupagatānaṃ bhikkhūnaṃ senāsanaṃ agginā daḍḍhaṃ hoti, bhikkhū senāsanena kilamanti.  es’ eva ...vassacchedassa. |3| 
สตฺตาหํ สนฺนิวตฺโต กาตพฺโพ.  อิธ ปน ภิกฺขเว ภิกฺขุนิยา กุกฺกุจฺจํ อุปฺปนฺนํ โหติ.  สา เจ ภิกฺขูนํ สนฺติเก ทูตํ ปหิเณยฺย “กุกฺกุจฺจํ เม อุปฺปนฺนํ อาคจฺฉนฺตุ อยฺยา อิจฺฉามิ อยฺยานํ อาคต”นฺติ คนฺตพฺพํ ภิกฺขเว สตฺตาหกรณีเยน อปฺปหิเตปิ ปเคว ปหิเต “กุกฺกุจฺจํ วิโนเทสฺสามิ วา วิโนทาเปสฺสามิ วา ธมฺมกถํ วาสฺสา กริสฺสามี”ติ.  สตฺตาหํ สนฺนิวตฺโต กาตพฺโพ. 
idha pana bhikkhave vassupagatānaṃ bhikkhūnaṃ gāmo udakena vuḷho hoti, bhikkhū piṇḍakena kilamanti.  es’ eva ...vassacchedassa.  idha pana bhikkhave vassupagatānaṃ bhikkhūnaṃ senāsanaṃ udakena vuḷhaṃ hoti, bhikkhū senāsanena kilamanti.  es’ eva ...vassacchedassā ’ti. |4| 
อิธ ปน ภิกฺขเว ภิกฺขุนิยา ทิฏฺฐิคตํ อุปฺปนฺนํ โหติ.  สา เจ ภิกฺขูนํ สนฺติเก ทูตํ ปหิเณยฺย “ทิฏฺฐิคตํ เม อุปฺปนฺนํ อาคจฺฉนฺตุ อยฺยา อิจฺฉามิ อยฺยานํ อาคต”นฺติ คนฺตพฺพํ ภิกฺขเว สตฺตาหกรณีเยน อปฺปหิเตปิ ปเคว ปหิเต “ทิฏฺฐิคตํ วิเวเจสฺสามิ วา วิเวจาเปสฺสามิ วา ธมฺมกถํ วาสฺสา กริสฺสามี”ติ.  สตฺตาหํ สนฺนิวตฺโต กาตพฺโพ.  อิธ ปน ภิกฺขเว ภิกฺขุนี ครุธมฺมํ อชฺฌาปนฺนา โหติ มานตฺตารหา. 
||9|| 
สา เจ ภิกฺขูนํ สนฺติเก ทูตํ ปหิเณยฺย “อหญฺหิ ครุธมฺมํ อชฺฌาปนฺนา มานตฺตารหา อาคจฺฉนฺตุ อยฺยา อิจฺฉามิ อยฺยานํ อาคต”นฺติ คนฺตพฺพํ ภิกฺขเว สตฺตาหกรณีเยน อปฺปหิเตปิ ปเคว ปหิเต “มานตฺตทานํ อุสฺสุกฺกํ กริสฺสามี”ติ. 
tena kho pana samayena aññatarasmiṃ āvāse vassupagatānaṃ bhikkhūnaṃ gāmo corehi vuṭṭhāsi.  bhagavato etam atthaṃ ārocesuṃ.  anujānāmi bhikkhave yena gāmo tena gantun ti.  gāmo dvedhā bhijjittha.  bhagavato etam atthaṃ ārocesuṃ.  anujānāmi bhikkhave yena bahutarā tena gantun ti.  bahutarā assaddhā honti appasannā.  bhagavato etam atthaṃ ārocesuṃ.  anujānāmi bhikkhave yena saddhā pasannā tena gantun ti. |1| 
สตฺตาหํ สนฺนิวตฺโต กาตพฺโพ.  อิธ ปน ภิกฺขเว ภิกฺขุนี มูลาย ปฏิกสฺสนารหา โหติ.  สา เจ ภิกฺขูนํ สนฺติเก ทูตํ ปหิเณยฺย “อหญฺหิ มูลาย ปฏิกสฺสนารหา อาคจฺฉนฺตุ อยฺยา อิจฺฉามิ อยฺยานํ อาคต”นฺติ คนฺตพฺพํ ภิกฺขเว สตฺตาหกรณีเยน อปฺปหิเตปิ ปเคว ปหิเต “มูลาย ปฏิกสฺสนํ อุสฺสุกฺกํ กริสฺสามี”ติ.  สตฺตาหํ สนฺนิวตฺโต กาตพฺโพ.  อิธ ปน ภิกฺขเว ภิกฺขุนี อพฺภานารหา โหติ.  สา เจ ภิกฺขูนํ สนฺติเก ทูตํ ปหิเณยฺย “อหญฺหิ อพฺภานารหา อาคจฺฉนฺตุ อยฺยา อิจฺฉามิ อยฺยานํ อาคต”นฺติ คนฺตพฺพํ ภิกฺขเว สตฺตาหกรณีเยน อปฺปหิเตปิ ปเคว ปหิเต “อพฺภานํ อุสฺสุกฺกํ กริสฺสามี”ติ.  สตฺตาหํ สนฺนิวตฺโต กาตพฺโพ.  อิธ ปน ภิกฺขเว ภิกฺขุนิยา สงฺโฆ กมฺมํ กตฺตุกาโม โหติ ตชฺชนียํ วา นิยสฺสํ วา ปพฺพาชนียํ วา ปฏิสารณียํ วา อุกฺเขปนียํ วา.  สา เจ ภิกฺขูนํ สนฺติเก ทูตํ ปหิเณยฺย “สงฺโฆ เม กมฺมํ กตฺตุกาโม อาคจฺฉนฺตุ อยฺยา อิจฺฉามิ อยฺยานํ อาคต”นฺติ คนฺตพฺพํ ภิกฺขเว สตฺตาหกรณีเยน อปฺปหิเตปิ ปเคว ปหิเต “กินฺติ นุ โข สงฺโฆ กมฺมํ น กเรยฺย ลหุกาย วา ปริณาเมยฺยา”ติ. 
||10|| 
สตฺตาหํ สนฺนิวตฺโต กาตพฺโพ. 
tena kho pana samayena Kosalesu janapadesu aññatarasmiṃ āvāse vassupagatā bhikkhū na labhiṃsu lūkhassa vā pāṇītassa vā bhojanassa yāvadatthaṃ pāripūriṃ.  bhagavato etam atthaṃ ārocesuṃ.  idha pana bhikkhave vassupagatā bhikkhū na labhanti lūkhassa vā paṇītassa vā bhojanassa yāvadatthaṃ pāripūriṃ.  es’ eva antarāyo ’ti pakkamitabbaṃ.  anāpatti vassacchedassa.  idha pana bhikkhave vassupagatā bhikkhū labhanti lūkhassa vā paṇītassa vā bhojanassa yāvadatthaṃ pāripūriṃ, na labhanti sappāyāni bhojanāni.  es’ eva ...vassacchedassa. |1| 
กตํ วา ปนสฺสา โหติ สงฺเฆน กมฺมํ ตชฺชนียํ วา นิยสฺสํ วา ปพฺพาชนียํ วา ปฏิสารณียํ วา อุกฺเขปนียํ วา.  สา เจ ภิกฺขูนํ สนฺติเก ทูตํ ปหิเณยฺย “สงฺโฆ เม กมฺมํ อกาสิ อาคจฺฉนฺตุ อยฺยา อิจฺฉามิ อยฺยานํ อาคต”นฺติ คนฺตพฺพํ ภิกฺขเว สตฺตาหกรณีเยน อปฺปหิเตปิ ปเคว ปหิเต “กินฺติ นุ โข สมฺมา วตฺเตยฺย โลมํ ปาเตยฺย เนตฺถารํ วตฺเตยฺย สงฺโฆ ตํ กมฺมํ ปฏิปฺปสฺสมฺเภยฺยา”ติ.  สตฺตาหํ สนฺนิวตฺโต กาตพฺโพ.  ๑๙๕. อิธ ปน ภิกฺขเว สิกฺขมานา คิลานา โหติ.  สา เจ ภิกฺขูนํ สนฺติเก ทูตํ ปหิเณยฺย “อหญฺหิ คิลานา อาคจฺฉนฺตุ อยฺยา อิจฺฉามิ อยฺยานํ อาคต”นฺติ คนฺตพฺพํ ภิกฺขเว สตฺตาหกรณีเยน อปฺปหิเตปิ ปเคว ปหิเต “คิลานภตฺตํ วา ปริเยสิสฺสามิ คิลานุปฏฺฐากภตฺตํ วา ปริเยสิสฺสามิ คิลานเภสชฺชํ วา ปริเยสิสฺสามิ ปุจฺฉิสฺสามิ วา อุปฏฺฐหิสฺสามิ วา”ติ.  สตฺตาหํ สนฺนิวตฺโต กาตพฺโพ.  อิธ ปน ภิกฺขเว สิกฺขมานาย อนภิรติ อุปฺปนฺนา โหติฯเปฯ สิกฺขมานาย กุกฺกุจฺจํ อุปฺปนฺนํ โหติ… สิกฺขมานาย ทิฏฺฐิคตํ อุปฺปนฺนํ โหติ… สิกฺขมานาย สิกฺขา กุปิตา โหติ. 
idha pana bhikkhave vassupagatā bhikkhū labhanti lūkhassa vā paṇītassa vā bhojanassa yāvadatthaṃ pāripūriṃ, labhanti sappāyāni (150) bhojanāni, na labhanti sappāyāni bhesajjāni.  es’ eva ...vassacchedassa.  idha pana bhikkhave vassupagatā bhikkhū labhanti lūkhassa vā paṇītassa vā bhojanassa yāvadatthaṃ pāripūriṃ, labhanti sappāyāni bhojanāni, labhanti sappāyāni bhesajjāni, na labhanti paṭirūpaṃ upaṭṭhākaṃ.  es’ eva ...vassacchedassa. |2| 
สา เจ ภิกฺขูนํ สนฺติเก ทูตํ ปหิเณยฺย “สิกฺขา เม กุปิตา อาคจฺฉนฺตุ อยฺยา อิจฺฉามิ อยฺยานํ อาคต”นฺติ คนฺตพฺพํ ภิกฺขเว สตฺตาหกรณีเยน อปฺปหิเตปิ ปเคว ปหิเต “สิกฺขาสมาทานํ อุสฺสุกฺกํ กริสฺสามี”ติ.  สตฺตาหํ สนฺนิวตฺโต กาตพฺโพ.  อิธ ปน ภิกฺขเว สิกฺขมานา อุปสมฺปชฺชิตุกามา โหติ.  สา เจ ภิกฺขูนํ สนฺติเก ทูตํ ปหิเณยฺย “อหญฺหิ อุปสมฺปชฺชิตุกามา อาคจฺฉนฺตุ อยฺยา อิจฺฉามิ อยฺยานํ อาคต”นฺติ คนฺตพฺพํ ภิกฺขเว สตฺตาหกรณีเยน อปฺปหิเตปิ ปเคว ปหิเต อุปสมฺปทํ อุสฺสุกฺกํ กริสฺสามิ วา อนุสฺสาเวสฺสามิ วา คณปูรโก วา ภวิสฺสามีติ. 
idha pana bhikkhave vassupagataṃ bhikkhuṃ itthi nimanteti: ehi bhante hiraññaṃ vā te demi, suvaṇṇaṃ vā te demi, khettaṃ vā t.d., vatthuṃ vā t.d., gāvuṃ vā t.d., gāviṃ vā t.d., dāsaṃ vā t.d., dāsiṃ vā t.d., dhītaraṃ vā t.d.bhariyatthāya, ahaṃ vā te bhariyā homi, aññaṃ vā te bhariyaṃ ānemīti.  tatra ce bhikkhuno evaṃ hoti: lahuparivattaṃ kho cittaṃ vuttaṃ bhagavatā, siyāpi me brahmacariyassa antarāyo ’ti, pakkamitabbaṃ.  anāpatti vassacchedassa. |3| 
สตฺตาหํ สนฺนิวตฺโต กาตพฺโพ.  ๑๙๖. อิธ ปน ภิกฺขเว สามเณโร คิลาโน โหติ.  โส เจ ภิกฺขูนํ สนฺติเก ทูตํ ปหิเณยฺย “อหญฺหิ คิลาโน อาคจฺฉนฺตุ ภิกฺขู อิจฺฉามิ ภิกฺขูนํ อาคต”นฺติ คนฺตพฺพํ ภิกฺขเว สตฺตาหกรณีเยน อปฺปหิเตปิ ปเคว ปหิเต “คิลานภตฺตํ วา ปริเยสิสฺสามิ คิลานุปฏฺฐากภตฺตํ วา ปริเยสิสฺสามิ คิลานเภสชฺชํ วา ปริเยสิสฺสามิ ปุจฺฉิสฺสามิ วา อุปฏฺฐหิสฺสามิ วา”ติ. 
idha pana bhikkhave vassupagataṃ bhikkhuṃ vesī nimanteti --la-- thullakumārī nimanteti, paṇḍako nimanteti, ñātakā nimantenti, rājāno nimantenti, corā nimantenti, dhuttā nimantenti: ehi bhante hiraññaṃ vā te dema ...  dhītaraṃ vā te dema bhariyatthāya, aññaṃ vā te bhariyaṃ ānessāmā ’ti.  tatra ce bhikkhuno evaṃ hoti: lahuparivattaṃ ...vassacchedassa.  idha pana bhikkhave vassupagato bhikkhu asāmikaṃ nidhiṃ passati.  tatra ce bhikkhuno evaṃ hoti: lahuparivattaṃ ...vassacchedassa. |4| 
สตฺตาหํ สนฺนิวตฺโต กาตพฺโพ.  อิธ ปน ภิกฺขเว สามเณรสฺส อนภิรติ อุปฺปนฺนา โหติฯเปฯ สามเณรสฺส กุกฺกุจฺจํ อุปฺปนฺนํ โหติ… สามเณรสฺส ทิฏฺฐิคตํ อุปฺปนฺนํ โหติ… สามเณโร วสฺสํ ปุจฺฉิตุกาโม โหติ. โส เจ ภิกฺขูนํ สนฺติเก ทูตํ ปหิเณยฺย “อหญฺหิ วสฺสํ ปุจฺฉิตุกาโม อาคจฺฉนฺตุ ภิกฺขู อิจฺฉามิ ภิกฺขูนํ อาคต”นฺติ คนฺตพฺพํ ภิกฺขเว สตฺตาหกรณีเยน อปฺปหิเตปิ ปเคว ปหิเต “ปุจฺฉิสฺสามิ วา อาจิกฺขิสฺสามิ วา”ติ.  สตฺตาหํ สนฺนิวตฺโต กาตพฺโพ.  อิธ ปน ภิกฺขเว สามเณโร อุปสมฺปชฺชิตุกาโม โหติ.  โส เจ ภิกฺขูนํ สนฺติเก ทูตํ ปหิเณยฺย “อหญฺหิ อุปสมฺปชฺชิตุกาโม อาคจฺฉนฺตุ ภิกฺขู อิจฺฉามิ ภิกฺขูนํ อาคต”นฺติ คนฺตพฺพํ ภิกฺขเว สตฺตาหกรณีเยน อปฺปหิเตปิ ปเคว ปหิเต “อุปสมฺปทํ อุสฺสุกฺกํ กริสฺสามิ วา อนุสฺสาเวสฺสามิ วา คณปูรโก วา ภวิสฺสามี”ติ. 
idha pana bhikkhave vassupagato bhikkhu passati sambahule bhikkhū saṃghabhedāya parakkamante.  tatra ce bhikkhuno evaṃ hoti: garuko kho saṃghabhedo vutto bhagavatā, mā mayi sammukhībhūte saṃgho bhijjīti, pakkamitabbaṃ.  anāpatti vassacchedassa.  idha pana bhikkhave vassupagato bhikkhu suṇāti: sambahulā kira bhikkhū saṃghabhedāya parakkamantīti.  tatra ce ...vassacchedassa. |5| 
สตฺตาหํ สนฺนิวตฺโต กาตพฺโพ.  ๑๙๗. อิธ ปน ภิกฺขเว สามเณรี คิลานา โหติ.  สา เจ ภิกฺขูนํ สนฺติเก ทูตํ ปหิเณยฺย “อหญฺหิ คิลานา อาคจฺฉนฺตุ อยฺยา อิจฺฉามิ อยฺยานํ อาคต”นฺติ คนฺตพฺพํ ภิกฺขเว สตฺตาหกรณีเยน อปฺปหิเตปิ ปเคว ปหิเต “คิลานภตฺตํ วา ปริเยสิสฺสามิ คิลานุปฏฺฐากภตฺตํ วา ปริเยสิสฺสามิ คิลานเภสชฺชํ วา ปริเยสิสฺสามิ ปุจฺฉิสฺสามิ วา อุปฏฺฐหิสฺสามิ วา”ติ.  สตฺตาหํ สนฺนิวตฺโต กาตพฺโพ.  อิธ ปน ภิกฺขเว สามเณริยา อนภิรติ อุปฺปนฺนา โหติฯเปฯ สามเณริยา กุกฺกุจฺจํ อุปฺปนฺนํ โหติ… สามเณริยา ทิฏฺฐิคตํ อุปฺปนฺนํ โหติ… สามเณรี วสฺสํ ปุจฺฉิตุกามา โหติ. 
idha pana bhikkhave vassupagato bhikkhu suṇāti: amukasmiṃ kira āvāse sambahulā bhikkhū saṃghabhedāya parakkamantīti.  tatra ce bhikkhuno evaṃ hoti: te kho me bhikkhū mittā, ty āhaṃ vakkhāmi: garuko kho āvuso saṃghabhedo vutto bhagavatā, māyasmantānaṃ saṃghabhedo ruccitthā ’ti, karissanti me {vacanaṃ} sussūsissanti sotaṃ odahissantīti, pakkamitabbaṃ.  anāpatti vassacchedassa. |6| 
สา เจ ภิกฺขูนํ สนฺติเก ทูตํ ปหิเณยฺย “อหญฺหิ วสฺสํ ปุจฺฉิตุกามา อาคจฺฉนฺตุ อยฺยา อิจฺฉามิ อยฺยานํ อาคต”นฺติ คนฺตพฺพํ ภิกฺขเว สตฺตาหกรณีเยน อปฺปหิเตปิ ปเคว ปหิเต “ปุจฺฉิสฺสามิ วา อาจิกฺขิสฺสามิ วา”ติ.  สตฺตาหํ สนฺนิวตฺโต กาตพฺโพ.  อิธ ปน ภิกฺขเว สามเณรี สิกฺขํ สมาทิยิตุกามา โหติ. 
idha pana bhikkhave vassupagato bhikkhu saṇāti: amukasmiṃ kira āvāse sambahulā bhikkhū saṃgha (151) bhedāya parakkamantīti.  tatra ce bhikkhuno evaṃ hoti: te kho me bhikkhū na mittā, api ca ye tesaṃ mittā te me mittā, ty āhaṃ vakkhāmi, te vuttā te vakkhanti: garuko ...(= 6) ...vassacchedassa. |7| 
สา เจ ภิกฺขูนํ สนฺติเก ทูตํ ปหิเณยฺย “อหญฺหิ สิกฺขํ สมาทิยิตุกามา อาคจฺฉนฺตุ อยฺยา อิจฺฉามิ อยฺยานํ อาคต”นฺติ คนฺตพฺพํ ภิกฺขเว สตฺตาหกรณีเยน อปฺปหิเตปิ ปเคว ปหิเต “สิกฺขาสมาทานํ อุสฺสุกฺกํ กริสฺสามี”ติ.  สตฺตาหํ สนฺนิวตฺโต กาตพฺโพติ. (ปญฺจนฺนํ อปฺปหิเตปิ อนุชานนา นิฏฺฐิตา.) 
idha pana bhikkhave vassupagato bhikkhu suṇāti: amukasmiṃ kira āvāse sambahulehi bhikkhūhi saṃgho bhinno ’ti.  tatra ce bhikkhuno evaṃ hoti: te kho me bhikkhū mittā, ty āhaṃ vakkhāmi: garuko ...(= 6) ...vassacchedassa. |8| 
   
idha pana bhikkhave vassupagato bhikkhu suṇāti: amukasmiṃ kira āvāse sambahulehi bhikkhūhi saṃgho bhinno ’ti.  tatra ce bhikkhuno evaṃ hoti: te kho me bhikkhū na mittā, api ca ye tesaṃ mittā te me mittā, ty āhaṃ vakkhāmi, te vuttā te vakkhanti: garuko ...(= 6) ...vassacchedassa. |9| 
(๑๑๑. สตฺตนฺนํ อปฺปหิเตปิ อนุชานนา) ๑๙๘. เตน โข ปน สมเยน อญฺญตรสฺส ภิกฺขุโน มาตา คิลานา โหติ.  สา ปุตฺตสฺส สนฺติเก ทูตํ ปาเหสิ “อหญฺหิ คิลานา อาคจฺฉตุ เม ปุตฺโต อิจฺฉามิ ปุตฺตสฺส อาคต”นฺติ. 
idha pana bhikkhave vassupagato bhikkhu suṇāti: amukasmiṃ kira āvāse sambahulā bhikkhuniyo saṃghabhedāya parakkamantīti.  tatra ce bhikkhuno evaṃ hoti: tā kho me bhikkhuniyo mittā, tāhaṃ vakkhāmi: garuko kho bhaginiyo saṃghabhedo vutto bhagavatā, mā bhaginīnaṃ saṃghabhedo ruccitthā ’ti, karissanti me vacanaṃ sussūsissanti sotaṃ odahissantīti, pakkamitabbaṃ.  anāpatti vassacchedassa. |10| 
อถ โข ตสฺส ภิกฺขุโน เอตทโหสิ “ภควตา ปญฺญตฺตํ สตฺตนฺนํ สตฺตาหกรณีเยน ปหิเต คนฺตุํ น ตฺเวว อปฺปหิเต ปญฺจนฺนํ สตฺตาหกรณีเยน อปฺปหิเตปิ คนฺตุํ ปเคว ปหิเตติ. อยญฺจ เม มาตา คิลานา สา จ อนุปาสิกา  กถํ นุ โข มยา ปฏิปชฺชิตพฺพ”นฺติ?  ภควโต เอตมตฺถํ อาโรเจสุํ. 
idha pana bhikkhave vassupagato bhikkhu suṇāti: amukasmiṃ kira āvāse sambahulā bhikkhuniyo saṃghabhedāya parakkamantīti.  tatra ce bhikkhuno evaṃ hoti: tā kho me bhikkhuniyo na mittā, api ca yā tāsaṃ mittā tā me mittā, tāhaṃ vakkhāmi, tā vuttā tā vakkhanti: garuko ...(= 10) ...vassacchedassa. |11| 
อนุชานามิ ภิกฺขเว สตฺตนฺนํ สตฺตาหกรณีเยน อปฺปหิเตปิ คนฺตุํ ปเคว ปหิเต. ภิกฺขุสฺส ภิกฺขุนิยา สิกฺขมานาย สามเณรสฺส สามเณริยา มาตุยา จ ปิตุสฺส จ  อนุชานามิ ภิกฺขเว อิเมสํ สตฺตนฺนํ สตฺตาหกรณีเยน อปฺปหิเตปิ คนฺตุํ ปเคว ปหิเต. 
idha pana bhikkhave vassupagato bhikkhu suṇāti: amukasmiṃ kira āvāse sambahulāhi bhikkhunīhi saṃgho bhinno ’ti.  tatra ce {bhikkhuno} evaṃ hoti: tā kho me bhikkhuniyo mittā, tāhaṃ vakkhāmi: garuko ...(= 10) ...vassacchedassa. |12| 
สตฺตาหํ สนฺนิวตฺโต กาตพฺโพ.  อิธ ปน ภิกฺขเว ภิกฺขุสฺส มาตา คิลานา โหติ. 
idha pana bhikkhave vassupagato bhikkhu suṇāti: amukasmiṃ kira āvāse sambahulāhi bhikkhunīhi saṃgho bhinno ’ti.  tatra ce bhikkhuno evaṃ hoti: tā kho me bhikkhuniyo na mittā, api ca yā tāsaṃ mittā tā me mittā, tāhaṃ vakkhāmi, tā vuttā tā vakkhanti: garuko ...(= 10) ...vassacchedassa. |13| 
สา เจ ปุตฺตสฺส สนฺติเก ทูตํ ปหิเณยฺย “อหญฺหิ คิลานา อาคจฺฉตุ เม ปุตฺโต อิจฺฉามิ ปุตฺตสฺส อาคต”นฺติ คนฺตพฺพํ ภิกฺขเว สตฺตาหกรณีเยน อปฺปหิเตปิ ปเคว ปหิเต “คิลานภตฺตํ วา ปริเยสิสฺสามิ คิลานุปฏฺฐากภตฺตํ วา ปริเยสิสฺสามิ คิลานเภสชฺชํ วา ปริเยสิสฺสามิ ปุจฺฉิสฺสามิ วา อุปฏฺฐหิสฺสามิ วา”ติ. สตฺตาหํ สนฺนิวตฺโต กาตพฺโพ.  อิธ ปน ภิกฺขเว ภิกฺขุสฺส ปิตา คิลาโน โหติ. 
||11|| 
โส เจ ปุตฺตสฺส สนฺติเก ทูตํ ปหิเณยฺย “อหญฺหิ คิลาโน อาคจฺฉตุ เม ปุตฺโต อิจฺฉามิ ปุตฺตสฺส อาคต”นฺติ คนฺตพฺพํ ภิกฺขเว สตฺตาหกรณีเยน อปฺปหิเตปิ ปเคว ปหิเต “คิลานภตฺตํ วา ปริเยสิสฺสามิ คิลานุปฏฺฐากภตฺตํ วา ปริเยสิสฺสามิ คิลานเภสชฺชํ วา ปริเยสิสฺสามิ ปุจฺฉิสฺสามิ วา อุปฏฺฐหิสฺสามิ วา”ติ. สตฺตาหํ สนฺนิวตฺโต กาตพฺโพ. (สตฺตนฺนํ อปฺปหิเตปิ อนุชานนา นิฏฺฐิตา.) 
tena kho pana samayena aññataro bhikkhu vaje vassaṃ (152) upagantukāmo hoti.  bhagavato etam atthaṃ ārocesuṃ.  anujānāmi bhikkhave vaje vassaṃ upagantun ti.  vajo vuṭṭhāsi.  bhagavato etam atthaṃ ārocesuṃ.  anujānāmi bhikkhave yena vajo tena gantum ti. |1| 
(๑๑๒. ปหิเตเยว อนุชานนา) ๑๙๙. อิธ ปน ภิกฺขเว ภิกฺขุสฺส ภาตา คิลาโน โหติ.  โส เจ ภาตุโน สนฺติเก ทูตํ ปหิเณยฺย “อหญฺหิ คิลาโน อาคจฺฉตุ เม ภาตา อิจฺฉามิ ภาตุโน อาคต”นฺติ คนฺตพฺพํ ภิกฺขเว สตฺตาหกรณีเยน ปหิเต น ตฺเวว อปฺปหิเต.  สตฺตาหํ สนฺนิวตฺโต กาตพฺโพ.  อิธ ปน ภิกฺขเว ภิกฺขุสฺส ภคินี คิลานา โหติ.  สา เจ ภาตุโน สนฺติเก ทูตํ ปหิเณยฺย “อหญฺหิ คิลานา อาคจฺฉตุ เม ภาตา อิจฺฉามิ ภาตุโน อาคต”นฺติ คนฺตพฺพํ ภิกฺขเว สตฺตาหกรณีเยน ปหิเต น ตฺเวว อปฺปหิเต. สตฺตาหํ สนฺนิวตฺโต กาตพฺโพ.  อิธ ปน ภิกฺขเว ภิกฺขุสฺส ญาตโก คิลาโน โหติ. 
tena kho pana samayena aññataro bhikkhu upakaṭṭhāya vassupanāyikāya satthena gantukāmo hoti.  bhagavato etam atthaṃ ārocesuṃ.  anujānāmi bhikkhave satthe vassaṃ upagantun ti.  tena kho pana samayena aññataro bhikkhu upakaṭṭhāya vassupanāyikāya nāvāya gantukāmo hoti.  bhagavato etam atthaṃ ārocesuṃ.  anujānāmi bhikkhave nāvāya vassaṃ upagantun ti. |2| 
โส เจ ภิกฺขุสฺส สนฺติเก ทูตํ ปหิเณยฺย “อหญฺหิ คิลาโน อาคจฺฉตุ ภทนฺโต อิจฺฉามิ ภทนฺตสฺส อาคต”นฺติ คนฺตพฺพํ ภิกฺขเว สตฺตาหกรณีเยน ปหิเต น ตฺเวว อปฺปหิเต.  สตฺตาหํ สนฺนิวตฺโต กาตพฺโพ.  อิธ ปน ภิกฺขเว ภิกฺขุคติโก คิลาโน โหติ.  โส เจ ภิกฺขูนํ สนฺติเก ทูตํ ปหิเณยฺย “อหญฺหิ คิลาโน อาคจฺฉนฺตุ ภทนฺตา อิจฺฉามิ ภทนฺตานํ อาคต”นฺติ คนฺตพฺพํ ภิกฺขเว สตฺตาหกรณีเยน ปหิเต น ตฺเวว อปฺปหิเต.  สตฺตาหํ สนฺนิวตฺโต กาตพฺโพ.   
tena kho pana samayena bhikkhū rukkhasusire vassaṃ upagacchanti.  manussā ujjhāyanti khīyanti vipācenti, seyyathāpi pisācillikā ’ti.  bhagavato etam atthaṃ ārocesuṃ.  na bhikkhave rukkhasusire vassaṃ upagantabbaṃ.  yo upagaccheyya, āpatti dukkaṭassā ’ti. |3| 
  เตน โข ปน สมเยน สงฺฆสฺส วิหาโร อุนฺทฺริยติ.  อญฺญตเรน อุปาสเกน อรญฺเญ ภณฺฑํ เฉทาปิตํ โหติ.  โส ภิกฺขูนํ สนฺติเก ทูตํ ปาเหสิ “สเจ ภทนฺตา ตํ ภณฺฑํ อาวหาเปยฺยุํ ทชฺชาหํ ตํ ภณฺฑ”นฺติ.  ภควโต เอตมตฺถํ อาโรเจสุํ. 
tena kho pana samayena bhikkhū rukkhaviṭabhiyā vassaṃ upagacchanti.  manussā ujjhāyanti khīyanti vipācenti, seyyathāpi migaluddakā ’ti.  bhagavato etam atthaṃ ārocesuṃ.  na bhikkhave rukkhaviṭabhiyā vassaṃ upagantabbaṃ.  yo upagaccheyya, āpatti dukkaṭassā ’ti. |4| 
อนุชานามิ ภิกฺขเว สงฺฆกรณีเยน คนฺตุํ.  สตฺตาหํ สนฺนิวตฺโต กาตพฺโพติ. (ปหิเตเยว อนุชานนา นิฏฺฐิตา.)      วสฺสาวาสภาณวาโร นิฏฺฐิโต. 
tena kho pana samayena bhikkhū ajjhokāse vassaṃ upagacchanti, deve vassante rukkhamūlam pi nimbakosam pi upadhāvanti.  bhagavato etam atthaṃ ārocesuṃ.  na bhikkhave ajjhokāse vassaṃ upagantabbaṃ.  yo upagaccheyya, āpatti dukkaṭassā ’ti. |5| 
(๑๑๓. อนฺตราเย อนาปตฺติวสฺสจฺเฉทวาโร) ๒๐๐. เตน โข ปน สมเยน โกสเลสุ ชนปเท อญฺญตรสฺมึ อาวาเส วสฺสูปคตา ภิกฺขู วาเฬหิ อุพฺพาฬฺหา โหนฺติ. คณฺหึสุปิ ปริปาตึสุปิ.  ภควโต เอตมตฺถํ อาโรเจสุํ.  อิธ ปน ภิกฺขเว วสฺสูปคตา ภิกฺขู วาเฬหิ อุพฺพาฬฺหา โหนฺติ. คณฺหนฺติปิ ปริปาเตนฺติปิ.  เอเสว อนฺตราโยติ ปกฺกมิตพฺพํ. 
tena kho pana samayena bhikkhū asenāsanakā vassaṃ upagacchanti, sītena pi kilamanti uṇhena pi kilamanti.  bhagavato etam atthaṃ ārocesuṃ.  na bhikkhave asenāsanakena vassaṃ upagantabbaṃ.  yo upagaccheyya, āpatti dukkaṭassā ’ti. |6| 
อนาปตฺติ วสฺสจฺเฉทสฺส.  อิธ ปน ภิกฺขเว วสฺสูปคตา ภิกฺขู สรีสเปหิ อุพฺพาฬฺหา โหนฺติ. ฑํสนฺติปิ ปริปาเตนฺติปิ.  เอเสว อนฺตราโยติ ปกฺกมิตพฺพํ. อนาปตฺติ วสฺสจฺเฉทสฺส  อิธ ปน ภิกฺขเว วสฺสูปคตา ภิกฺขู โจเรหิ อุพฺพาฬฺหา โหนฺติ. วิลุมฺปนฺติปิ อาโกเฏนฺติปิ. 
tena kho pana samayena bhikkhū chavakuṭikāya vassaṃ upagacchanti.  manussā ujjhāyanti khīyanti vipācenti, seyyathāpi chavaḍāhakā ’ti.  bhagavato etam atthaṃ ārocesuṃ.  na bhikkhave chavakuṭikāya vassaṃ upagantabbaṃ.  yo upagaccheyya, āpatti dukkaṭassā ’ti. |7| 
เอเสว อนฺตราโยติ ปกฺกมิตพฺพํ. อนาปตฺติ วสฺสจฺเฉทสฺส.  อิธ ปน ภิกฺขเว วสฺสูปคตา ภิกฺขู ปิสาเจหิ อุพฺพาฬฺหา โหนฺติ. อาวิสนฺติปิ หนนฺติปิ .  เอเสว อนฺตราโยติ ปกฺกมิตพฺพํ. อนาปตฺติ วสฺสจฺเฉทสฺส.  อิธ ปน ภิกฺขเว วสฺสูปคตานํ ภิกฺขูนํ คาโม อคฺคินา ทฑฺโฒ โหติ. ภิกฺขู ปิณฺฑเกน กิลมนฺติ.  เอเสว อนฺตราโยติ ปกฺกมิตพฺพํ. อนาปตฺติ วสฺสจฺเฉทสฺส. 
tena kho pana samayena bhikkhū chatte vassaṃ upagacchanti.  manussā ujjhāyanti khīyanti vipācenti, seyyathāpi gopālakā ’ti.  bhagavato etam atthaṃ ārocesuṃ.  na bhikkhave chatte vassaṃ upagantabbaṃ.  yo upagaccheyya, āpatti dukkaṭassā ’ti. (153) |8| 
อิธ ปน ภิกฺขเว วสฺสูปคตานํ ภิกฺขูนํ เสนาสนํ อคฺคินา ทฑฺฒํ โหติ. ภิกฺขู เสนาสเนน กิลมนฺติ.  เอเสว อนฺตราโยติ ปกฺกมิตพฺพํ. อนาปตฺติ วสฺสจฺเฉทสฺส.  อิธ ปน ภิกฺขเว วสฺสูปคตานํ ภิกฺขูนํ คาโม อุทเกน วูฬฺโห โหติ. ภิกฺขู ปิณฺฑเกน กิลมนฺติ.  เอเสว อนฺตราโยติ ปกฺกมิตพฺพํ. อนาปตฺติ วสฺสจฺเฉทสฺส.  อิธ ปน ภิกฺขเว วสฺสูปคตานํ ภิกฺขูนํ เสนาสนํ อุทเกน วูฬฺหํ โหติ. ภิกฺขู เสนาสเนน กิลมนฺติ. 
tena kho pana samayena bhikkhū cāṭiyā vassaṃ upagacchanti.  manussā ujjhāyanti khīyanti vipācenti, seyyathāpi titthiyā ’ti.  bhagavato etam atthaṃ ārocesuṃ.  na bhikkhave cāṭiyā vassaṃ upagantabbaṃ.  yo upagaccheyya, āpatti dukkaṭassā ’ti. |9| 
เอเสว อนฺตราโยติ ปกฺกมิตพฺพํ. อนาปตฺติ วสฺสจฺเฉทสฺสาติ.      ๒๐๑. เตน โข ปน สมเยน อญฺญตรสฺมึ อาวาเส วสฺสูปคตานํ ภิกฺขูนํ คาโม โจเรหิ วุฏฺฐาสิ.  ภควโต เอตมตฺถํ อาโรเจสุํ. 
||12|| 
อนุชานามิ ภิกฺขเว เยน คาโม เตน คนฺตุนฺติ. 
tena kho pana samayena Sāvatthiyā saṃghena katikā katā hoti antarā vassaṃ na pabbājetabban ti.  Visākhāya Migāramātuyā nattā bhikkhū upasaṃkamitvā pabbajjaṃ yāci.  bhikkhū evaṃ āhaṃsu: saṃghena kho āvuso kātikā katā antarā vassaṃ na pabbājetabban ti, āgamehi āvuso yāva bhikkhū vassaṃ vasanti, vassaṃ vutthā pabbājessantīti.  atha kho te bhikkhū vassaṃ vutthā Visākhāya Migāramātuyā nattāraṃ etad avocuṃ: ehi dāni āvuso pabbajāhīti.  so evaṃ āha: sac’ āhaṃ bhante pabbajito assaṃ, abhirameyyām’ āhaṃ, na dān’ āhaṃ bhante pabbajissāmīti. |1| 
คาโม ทฺเวธา ภิชฺชิตฺถ.  ภควโต เอตมตฺถํ อาโรเจสุํ.  อนุชานามิ ภิกฺขเว เยน พหุตรา เตน คนฺตุนฺติ.  พหุตรา อสฺสทฺธา โหนฺติ อปฺปสนฺนา.  ภควโต เอตมตฺถํ อาโรเจสุํ. 
Visākhā Migāramātā ujjhāyati khīyati vipāceti: kathañ hi nāma ayyā evarūpaṃ katikaṃ karissanti na antarā vassaṃ pabbājetabban ti, kaṃ kālaṃ dhammo na caritabbo ’ti.  assosuṃ kho bhikkhū Visākhāya Migāramātuyā ujjhāyantiyā khīyantiyā vipācentiyā.  atha kho te bhikkhū bhagavato etam atthaṃ ārocesuṃ.  na bhikkhave evarūpā katikā kātabbā antarā vassaṃ na pabbājetabban ti.  yo kareyya, āpatti dukkaṭassā ’ti. |2| 
อนุชานามิ ภิกฺขเว เยน สทฺธา ปสนฺนา เตน คนฺตุนฺติ.      เตน โข ปน สมเยน โกสเลสุ ชนปเท อญฺญตรสฺมึ อาวาเส วสฺสูปคตา ภิกฺขู น ลภิ๎สุ ลูขสฺส วา ปณีตสฺส วา โภชนสฺส ยาวทตฺถํ ปาริปูรึ.  ภควโต เอตมตฺถํ อาโรเจสุํ. 
||13|| 
อิธ ปน ภิกฺขเว วสฺสูปคตา ภิกฺขู น ลภนฺติ ลูขสฺส วา ปณีตสฺส วา โภชนสฺส ยาวทตฺถํ ปาริปูรึ. 
tena kho pana samayena āyasmatā Upanandena Sakyaputtena rañño Pasenadissa Kosalassa vassāvāso paṭissuto hoti purimikāya.  so taṃ āvāsaṃ gacchanto addasa antarā magge dve āvāse bahucīvarake, tassa etad ahosi: yaṃ nūnāhaṃ imesu dvīsu āvāsesu vassaṃ vaseyyaṃ, evaṃ me bahu cīvaraṃ uppajjissatīti.  so tesu dvīsu āvāsesu vassaṃ vasi.  rājā Pasenadi Kosalo ujjhāyati khīyati vipāceti: kathañ hi nāma ayyo Upanando Sakyaputto amhākaṃ vassāvāsaṃ paṭisuṇitvā visaṃvādessati.  nanu bhagavatā anekapariyāyena musāvādo garahito, musāvādā veramaṇī pasatthā ’ti. |1| 
เอเสว อนฺตราโยติ ปกฺกมิตพฺพํ.  อนาปตฺติ วสฺสจฺเฉทสฺส.  อิธ ปน ภิกฺขเว วสฺสูปคตา ภิกฺขู ลภนฺติ ลูขสฺส วา ปณีตสฺส วา โภชนสฺส ยาวทตฺถํ ปาริปูรึ น ลภนฺติ สปฺปายานิ โภชนานิ.  เอเสว อนฺตราโยติ ปกฺกมิตพฺพํ. อนาปตฺติ วสฺสจฺเฉทสฺส.  อิธ ปน ภิกฺขเว วสฺสูปคตา ภิกฺขู ลภนฺติ ลูขสฺส วา ปณีตสฺส วา โภชนสฺส ยาวทตฺถํ ปาริปูรึ ลภนฺติ สปฺปายานิ โภชนานิ น ลภนฺติ สปฺปายานิ เภสชฺชานิ. 
assosuṃ kho bhikkhū rañño Pasenadissa Kosalassa ujjhāyantassa khīyantassa vipācentassa.  ye te bhikkhū appicchā, te ujjhāyanti khīyanti vipācenti: kathaṃ hi nāma (154) āyasmā Upanando Sakyaputto rañño Pasenadissa Kosalassa vassāvāsaṃ paṭisuṇitvā visaṃvādessati.  nanu bhagavatā anekapariyāyena musāvādo garahito, musāvādā veramaṇī pasatthā ’ti. |2| 
เอเสว อนฺตราโยติ ปกฺกมิตพฺพํ. อนาปตฺติ วสฺสจฺเฉทสฺส.  อิธ ปน ภิกฺขเว วสฺสูปคตา ภิกฺขู ลภนฺติ ลูขสฺส วา ปณีตสฺส วา โภชนสฺส ยาวทตฺถํ ปาริปูรึ ลภนฺติ สปฺปายานิ โภชนานิ ลภนฺติ สปฺปายานิ เภสชฺชานิ น ลภนฺติ ปติรูปํ อุปฏฺฐากํ.  เอเสว อนฺตราโยติ ปกฺกมิตพฺพํ. อนาปตฺติ วสฺสจฺเฉทสฺส. 
atha kho te bhikkhū bhagavato etam atthaṃ ārocesuṃ.  atha kho bhagavā etasmiṃ nidāne bhikkhusaṃghaṃ sannipātāpetvā āyasmantaṃ Upanandaṃ Sakyaputtaṃ paṭipucchi: saccaṃ kira tvaṃ Upananda rañño Pasenadissa Kosalassa vassāvāsaṃ paṭisuṇitvā visaṃvādesīti.  saccaṃ bhagavā.  vigarahi buddho bhagavā: kathaṃ hi nāma tvaṃ moghapurisa rañño Pasenadissa Kosalassa vassāvāsaṃ paṭisuṇitvā visaṃvādessasi.  nanu mayā moghapurisa anekapariyāyena musāvādo garahito musāvādā veramaṇī pasatthā.  n’ etaṃ moghapurisa appasannānaṃ vā pasādāya --la-- vigarahitvā dhammiṃ kathaṃ katvā bhikkhū āmantesi: |3| 
อิธ ปน ภิกฺขเว วสฺสูปคตํ ภิกฺขุํ อิตฺถี นิมนฺเตติ “เอหิ ภนฺเต หิรญฺญํ วา เต เทมิ สุวณฺณํ วา เต เทมิ เขตฺตํ วา เต เทมิ วตฺถุํ วา เต เทมิ คาวุํ วา เต เทมิ คาวึ วา เต เทมิ ทาสํ วา เต เทมิ ทาสึ วา เต เทมิ ธีตรํ วา เต เทมิ ภริยตฺถาย อหํ วา เต ภริยา โหมิ อญฺญํ วา เต ภริยํ อาเนมี”ติ.  ตตฺร เจ ภิกฺขุโน เอวํ โหติ ‘ลหุปริวตฺตํ โข จิตฺตํ วุตฺตํ ภควตา สิยาปิ เม พฺรหฺมจริยสฺส อนฺตราโย’ติ ปกฺกมิตพฺพํ.  อนาปตฺติ วสฺสจฺเฉทสฺส.  อิธ ปน ภิกฺขเว วสฺสูปคตํ ภิกฺขุํ เวสี นิมนฺเตติฯเปฯ ถุลฺลกุมารี นิมนฺเตติ… ปณฺฑโก นิมนฺเตติ… ญาตกา นิมนฺเตนฺติ… ราชาโน นิมนฺเตนฺติ… โจรา นิมนฺเตนฺติ… ธุตฺตา นิมนฺเตนฺติ “เอหิ ภนฺเต หิรญฺญํ วา เต เทม สุวณฺณํ วา เต เทม เขตฺตํ วา เต เทม วตฺถุํ วา เต เทม คาวุํ วา เต เทม คาวึ วา เต เทม ทาสํ วา เต เทม ทาสึ วา เต เทม  ธีตรํ วา เต เทม ภริยตฺถาย อญฺญํ วา เต ภริยํ อาเนมา”ติ.  ตตฺร เจ ภิกฺขุโน เอวํ โหติ ‘ลหุปริวตฺตํ โข จิตฺตํ วุตฺตํ ภควตา สิยาปิ เม พฺรหฺมจริยสฺส อนฺตราโย’ติ ปกฺกมิตพฺพํ. อนาปตฺติ วสฺสจฺเฉทสฺส. 
idha pana bhikkhave bhikkhunā vassāvāso paṭissuto hoti purimikāyā.  so taṃ āvāsaṃ gacchanto passati antarā magge dve āvāse bahucīvarake, tassa evaṃ hoti: yaṃ nūnāhaṃ imesu dvīsu āvāsesu vassaṃ vaseyyaṃ, evaṃ me bahuṃ cīvaraṃ uppajjissatīti.  so tesu dvīsu āvāsesu vassaṃ vasati.  tassa bhikkhave bhikkhuno purimikā ca na paññāyati paṭissave ca āpatti dukkaṭassa. |4| 
อิธ ปน ภิกฺขเว วสฺสูปคโต ภิกฺขุ อสฺสามิกํ นิธึ ปสฺสติ.  ตตฺร เจ ภิกฺขุโน เอวํ โหติ ‘ลหุปริวตฺตํ โข จิตฺตํ วุตฺตํ ภควตา สิยาปิ เม พฺรหฺมจริยสฺส อนฺตราโย’ติ ปกฺกมิตพฺพํ. อนาปตฺติ วสฺสจฺเฉทสฺส. (อนฺตราเย อนาปตฺติวสฺสจฺเฉทวาโร นิฏฺฐิโต.)  (๑๑๔. สงฺฆเภเท อนาปตฺติวสฺสจฺเฉทวาโร) ๒๐๒. อิธ ปน ภิกฺขเว วสฺสูปคโต ภิกฺขุ ปสฺสติ สมฺพหุเล ภิกฺขู สงฺฆเภทาย ปรกฺกมนฺเต.  ตตฺร เจ ภิกฺขุโน เอวํ โหติ ‘ครุโก โข สงฺฆเภโท วุตฺโต ภควตา มา มยิ สมฺมุขีภูเต สงฺโฆ ภิชฺชี’ติ ปกฺกมิตพฺพํ. 
idha pana bhikkhave bhikkhunā vassāvāso paṭissuto hoti purimikāya.  so taṃ āvāsaṃ gacchanto bahiddhā uposathaṃ karoti, pāṭipadena vihāraṃ upeti senāsanaṃ paññāpeti pāniyaṃ paribhojaniyaṃ upaṭṭhāpeti pariveṇaṃ sammajjati, so tadah’ eva akaraṇīyo pakkamati.  tassa bhikkhave bhikkhuno purimikā ca na paññāyati paṭissave ca āpatti dukkaṭassa.  idha pana ...(= 5) ...so tadah’ eva sakaraṇīyo pakkamati.  tassa bhikkhave bhikkhuno purimikā ca na paññāyati paṭissave ca āpatti dukkaṭassa. |5| 
อนาปตฺติ วสฺสจฺเฉทสฺส.  อิธ ปน ภิกฺขเว วสฺสูปคโต ภิกฺขุ สุณาติ “อสุกสฺมึ กิร อาวาเส สมฺพหุลา ภิกฺขู สงฺฆเภทาย ปรกฺกมนฺตี”ติ.  ตตฺร เจ ภิกฺขุโน เอวํ โหติ ‘ครุโก โข สงฺฆเภโท วุตฺโต ภควตา มา มยิ สมฺมุขีภูเต สงฺโฆ ภิชฺชี’ติ ปกฺกมิตพฺพํ. อนาปตฺติ วสฺสจฺเฉทสฺส.  อิธ ปน ภิกฺขเว วสฺสูปคโต ภิกฺขุ สุณาติ “อสุกสฺมึ กิร อาวาเส สมฺพหุลา ภิกฺขู สงฺฆเภทาย ปรกฺกมนฺตี”ติ.  ตตฺร เจ ภิกฺขุโน เอวํ โหติ “เต โข เม ภิกฺขู มิตฺตา. ตฺยาหํ วกฺขามิ ‘ครุโก โข อาวุโส สงฺฆเภโท วุตฺโต ภควตา มายสฺมนฺตานํ สงฺฆเภโท รุจฺจิตฺถา’ติ. กริสฺสนฺติ เม วจนํ สุสฺสูสิสฺสนฺติ โสตํ โอทหิสฺสนฺตี”ติ ปกฺกมิตพฺพํ. 
idha pana ...so dvīhatīhaṃ vasitvā akaraṇīyo pakkamati.  tassa bhikkhave bhikkhuno purimikā ca na {paññāyati} paṭissave ca āpatti dukkaṭassa.  idhapana ...so dvīhatīhaṃ vasitvā sakaraṇīyo pakkamati.  tassa bhikkhave bhikkhuno purimikā ca na paññāyati paṭissave ca āpatti dukkaṭassa.  idha pana ...so dvīhatīhaṃ vasitvā sattāhakaraṇīyena pakkamati.  so taṃ sattāhaṃ bahiddhā vītināmeti.  tassa bhikkhave bhikkhuno purimikā ca na paññāyati paṭissave ca āpatti dukkaṭassa.  idha pana ...so dvīhatīhaṃ vasitvā sattāhakaraṇīyena pakka-(155)mati.  so taṃ sattāhaṃ anto sannivaṭṭaṃ karoti.  tassa bhikkhave bhikkhuno purimikā ca paññāyati paṭissave ca anāpatti. |6| 
อนาปตฺติ วสฺสจฺเฉทสฺส.  อิธ ปน ภิกฺขเว วสฺสูปคโต ภิกฺขุ สุณาติ “อสุกสฺมึ กิร อาวาเส สมฺพหุลา ภิกฺขู สงฺฆเภทาย ปรกฺกมนฺตี”ติ.  ตตฺร เจ ภิกฺขุโน เอวํ โหติ “เต โข เม ภิกฺขู น มิตฺตา อปิ จ เย เตสํ มิตฺตา เต เม มิตฺตา. ตฺยาหํ วกฺขามิ. เต วุตฺตา เต วกฺขนฺติ ‘ครุโก โข อาวุโส สงฺฆเภโท วุตฺโต ภควตา มายสฺมนฺตานํ สงฺฆเภโท รุจฺจิตฺถา’ติ. กริสฺสนฺติ เตสํ วจนํ สุสฺสูสิสฺสนฺติ โสตํ โอทหิสฺสนฺตี”ติ ปกฺกมิตพฺพํ. อนาปตฺติ วสฺสจฺเฉทสฺส.  อิธ ปน ภิกฺขเว วสฺสูปคโต ภิกฺขุ สุณาติ “อสุกสฺมึ กิร อาวาเส สมฺพหุเลหิ ภิกฺขูหิ สงฺโฆ ภินฺโน”ติ.  ตตฺร เจ ภิกฺขุโน เอวํ โหติ “เต โข เม ภิกฺขู มิตฺตา. ตฺยาหํ วกฺขามิ ‘ครุโก โข อาวุโส สงฺฆเภโท วุตฺโต ภควตา มายสฺมนฺตานํ สงฺฆเภโท รุจฺจิตฺถา’ติ. กริสฺสนฺติ เม วจนํ สุสฺสูสิสฺสนฺติ โสตํ โอทหิสฺสนฺตี”ติ ปกฺกมิตพฺพํ. อนาปตฺติ วสฺสจฺเฉทสฺส.  อิธ ปน ภิกฺขเว วสฺสูปคโต ภิกฺขุ สุณาติ “อสุกสฺมึ กิร อาวาเส สมฺพหุเลหิ ภิกฺขูหิ สงฺโฆ ภินฺโน”ติ.  ตตฺร เจ ภิกฺขุโน เอวํ โหติ “เต โข เม ภิกฺขู น มิตฺตา อปิ จ เย เตสํ มิตฺตา เต เม มิตฺตา. ตฺยาหํ วกฺขามิ. เต วุตฺตา เต วกฺขนฺติ ‘ครุโก โข อาวุโส สงฺฆเภโท วุตฺโต ภควตา มายสฺมนฺตานํ สงฺฆเภโท รุจฺจิตฺถา’ติ. กริสฺสนฺติ เตสํ วจนํ สุสฺสูสิสฺสนฺติ โสตํ โอทหิสฺสนฺตี”ติ ปกฺกมิตพฺพํ. อนาปตฺติ วสฺสจฺเฉทสฺส.  อิธ ปน ภิกฺขเว วสฺสูปคโต ภิกฺขุ สุณาติ “อมุกสฺมึ กิร อาวาเส สมฺพหุลา ภิกฺขุนิโย สงฺฆเภทาย ปรกฺกมนฺตี”ติ.  ตตฺร เจ ภิกฺขุโน เอวํ โหติ “ตา โข เม ภิกฺขุนิโย มิตฺตา. ตาหํ วกฺขามิ ‘ครุโก โข ภคินิโย สงฺฆเภโท วุตฺโต ภควตา มา ภคินีนํ สงฺฆเภโท รุจฺจิตฺถา’ติ. กริสฺสนฺติ เม วจนํ สุสฺสูสิสฺสนฺติ โสตํ โอทหิสฺสนฺตี”ติ ปกฺกมิตพฺพํ.  อนาปตฺติ วสฺสจฺเฉทสฺส. 
idha pana ...so sattāhaṃ anāgatāya pavāraṇāya sakaraṇīyo pakkamati.  āgaccheyya vā so bhikkhave bhikkhu taṃ āvāsaṃ na vā āgaccheyya, tassa bhikkhave bhikkhuno purimikā ca paññāyati paṭissave ca anāpatti. |7| 
อิธ ปน ภิกฺขเว วสฺสูปคโต ภิกฺขุ สุณาติ “อมุกสฺมึ กิร อาวาเส สมฺพหุลา ภิกฺขุนิโย สงฺฆเภทาย ปรกฺกมนฺตี”ติ.  ตตฺร เจ ภิกฺขุโน เอวํ โหติ “ตา โข เม ภิกฺขุนิโย น มิตฺตา. อปิ จ ยา ตาสํ มิตฺตา ตา เม มิตฺตา. ตาหํ วกฺขามิ. ตา วุตฺตา ตา วกฺขนฺติ ‘ครุโก โข ภคินิโย สงฺฆเภโท วุตฺโต ภควตา. มา ภคินีนํ สงฺฆเภโท รุจฺจิตฺถา’ติ. กริสฺสนฺติ ตาสํ วจนํ สุสฺสูสิสฺสนฺติ โสตํ โอทหิสฺสนฺตี”ติ ปกฺกมิตพฺพํ. อนาปตฺติ วสฺสจฺเฉทสฺสติ. 
idha pana bhikkhave bhikkhunā vassāvāso paṭissuto hoti purimikāya.  so taṃ āvāsaṃ gantvā uposathaṃ karoti, pāṭipadena vihāraṃ upeti senāsanaṃ paññāpeti pāniyaṃ paribhojaniyaṃ upaṭṭhāpeti pariveṇaṃ sammajjati.  so tadah’ eva akaraṇīyo pakkamati.  tassa bhikkhave bhikkhuno purimikā ca na paññāyati paṭissave ca āpatti dukkaṭassa. |8| 
อิธ ปน ภิกฺขเว วสฺสูปคโต ภิกฺขุ สุณาติ “อมุกสฺมึ กิร อาวาเส สมฺพหุลาหิ ภิกฺขุนีหิ สงฺโฆ ภินฺโน”ติ.  ตตฺร เจ ภิกฺขุโน เอวํ โหติ “ตา โข เม ภิกฺขุนิโย มิตฺตา. ตาหํ วกฺขามิ ‘ครุโก โข ภคินิโย สงฺฆเภโท วุตฺโต ภควตา. มา ภคินีนํ สงฺฆเภโท รุจฺจิตฺถา’ติ. กริสฺสนฺติ เม วจนํ สุสฺสูสิสฺสนฺติ โสตํ โอทหิสฺสนฺตี”ติ ปกฺกมิตพฺพํ. อนาปตฺติ วสฺสจฺเฉทสฺสติ.  อิธ ปน ภิกฺขเว วสฺสูปคโต ภิกฺขุ สุณาติ “อมุกสฺมึ กิร อาวาเส สมฺพหุลาหิ ภิกฺขุนีหิ สงฺโฆ ภินฺโน”ติ.  ตตฺร เจ ภิกฺขุโน เอวํ โหติ “ตา โข เม ภิกฺขุนิโย น มิตฺตา. อปิ จ ยา ตาสํ มิตฺตา ตา เม มิตฺตา. ตาหํ วกฺขามิ. ตา วุตฺตา ตา วกฺขนฺติ ‘ครุโก โข ภคินิโย สงฺฆเภโท วุตฺโต ภควตา มา ภคินีนํ สงฺฆเภโท รุจฺจิตฺถา’ติ. กริสฺสนฺติ ตาสํ วจนํ สุสฺสูสิสฺสนฺติ โสตํ โอทหิสฺสนฺตี”ติ ปกฺกมิตพฺพํ. อนาปตฺติ วสฺสจฺเฉทสฺสาติ. (สงฺฆเภเท อนาปตฺติวสฺสจฺเฉทวาโร นิฏฺฐิโต.) 
idha pana ...(= 8) ...so tadah’ eva sakaraṇīyo pakkamati --la-- so dvīhatīhaṃ vasitvā akaraṇīyo pakkamati --la-- so dvīhatīhaṃ vasitvā sakaraṇīyo pakkamati -- la -so dvīhatīhaṃ vasitvā sattāhakaraṇīyena pakkamati.  so taṃ sattāham bahiddhā vītināmeti.  tassa bhikkhave bhikkhuno purimikā ca na paññāyati paṭissave ca āpatti dukkaṭassa. |9| 
    (๑๑๕. วชาทีสุ วสฺสูปคมนํ) ๒๐๓. เตน โข ปน สมเยน อญฺญตโร ภิกฺขุ วเช วสฺสํ อุปคนฺตุกาโม โหติ. 
so dvīhatīhaṃ vasitvā sattāhakaraṇīyena pakkamati.  so taṃ sattāhaṃ anto sannivaṭṭaṃ karoti.  tassa bhikkhave bhikkhuno purimikā ca paññāyati paṭissave ca anāpatti.  so sattāhaṃ anāgatāya ...(= 7) ...anāpatti. |10| 
ภควโต เอตมตฺถํ อาโรเจสุํ.  อนุชานามิ ภิกฺขเว วเช วสฺสํ อุปคนฺตุนฺติ.  วโช วุฏฺฐาสิ.  ภควโต เอตมตฺถํ อาโรเจสุํ. 
idha pana bhikkhave bhikkhunā vassāvāso paṭissuto hoti pacchimikāya.  so taṃ āvāsaṃ gacchanto bahiddhā uposathaṃ karoti, pāṭipadena vihāraṃ upeti senāsanaṃ paññāpeti pāniyaṃ paribhojaniyaṃ upaṭṭhāpeti pariveṇaṃ sammajjati.  so tadah’ eva akaraṇīyo pakkamati.  tassa bhikkhave bhikkhuno pacchimikā ca na paññāyati paṭissave ca āpatti dukkaṭassa.  idha pana ...(the whole passage is identical with 5-10; read instead of purimikā and purimikāya: pacchimikā and pacchimikāya, instead of anāgatāya pavāraṇāya: anāgatāya komudiyā cātumāsiniyā) ...paṭissave ca anāpattīti. |11| 
อนุชานามิ ภิกฺขเว เยน วโช เตน คนฺตุนฺติ.  เตน โข ปน สมเยน อญฺญตโร ภิกฺขุ อุปกฏฺฐาย วสฺสูปนายิกาย สตฺเถน คนฺตุกาโม โหติ.  ภควโต เอตมตฺถํ อาโรเจสุํ.  อนุชานามิ ภิกฺขเว สตฺเถ วสฺสํ อุปคนฺตุนฺติ.  เตน โข ปน สมเยน อญฺญตโร ภิกฺขุ อุปกฏฺฐาย วสฺสูปนายิกาย นาวาย คนฺตุกาโม โหติ. 
||14|| 
ภควโต เอตมตฺถํ อาโรเจสุํ. 
vassupanāyikakkhandhako tatiyo.  tassa uddānaṃ: upagantuṃ, kadā c’ eva, kati, antarā vassa ca, na icchanti ca, sañcicca, ukkaḍḍhituṃ, upāsako, |  (156) gilāno, mātā ca, pitā, bhātā ca, atha ñātako, bhikkhugatiko, vihāro, vāḷā cāpi, siriṃsapā, |  corā c’ eva, pisācā ca, daḍḍho, tadubhayena ca, vuḷho dakena, vuṭṭhāsi, bahutarā ca, dāyakā, |  lūkhapaṇītasappāya-bhesajj’-upaṭṭhakena ca, itthi, vesī, kumārī ca, paṇḍako, ñātakena ca, |  rājā, corā, dhuttā, nidhi, bhedā, aṭṭhavidhena ca, 5 vajā, satthā ca, nāvā ca, susire, viṭabhāya ca, |  ajjhokāse vassāvāso, asenāsanakena ca, chavakuṭikā, chatte ca, cāṭiyā ca upenti te, |  katikā, paṭisuṇitvā, bahiddhā ca uposathā, purimikā, pacchimikā, yathānayena yojaye, |  akaraṇīyo pakkamati, sakaraṇīyo tath’ eva ca, dvīhatīhā ca puna, sattāhakaraṇīyena ca, |  sattāhanāgatā c’ eva, āgaccheyya na eyya vā, vatthuddāne antarikā tantimaggaṃ nisāmaye ’ti. |  imamhi khandhake vatthu dvepaṇṇāsa. 
อนุชานามิ ภิกฺขเว นาวาย วสฺสํ อุปคนฺตุนฺติ. (วชาทีสุ วสฺสูปคมนํ นิฏฺฐิตํ.)  (๑๑๖. วสฺสํ อนุปคนฺตพฺพฏฺฐานานิ) ๒๐๔. เตน โข ปน สมเยน ภิกฺขู รุกฺขสุสิเร วสฺสํ อุปคจฺฉนฺติ.  มนุสฺสา อุชฺฌายนฺติ ขิยฺยนฺติ วิปาเจนฺติ “เสยฺยถาปิ ปิสาจิลฺลิกา”ติ.  ภควโต เอตมตฺถํ อาโรเจสุํ.  น ภิกฺขเว รุกฺขสุสิเร วสฺสํ อุปคนฺตพฺพํ.  โย อุปคจฺเฉยฺย อาปตฺติ ทุกฺกฏสฺสาติ.  เตน โข ปน สมเยน ภิกฺขู รุกฺขวิฏภิยา วสฺสํ อุปคจฺฉนฺติ.  มนุสฺสา อุชฺฌายนฺติ ขิยฺยนฺติ วิปาเจนฺติ “เสยฺยถาปิ มิคลุทฺทกา”ติ.  ภควโต เอตมตฺถํ อาโรเจสุํ.  น ภิกฺขเว รุกฺขวิฏภิยา วสฺสํ อุปคนฺตพฺพํ.  โย อุปคจฺเฉยฺย อาปตฺติ ทุกฺกฏสฺสาติ. 
(157) Tena samayena buddho bhagavā Sāvatthiyaṃ viharati Jetavane Anāthapiṇḍikassa ārāme.  tena kho pana samayena sambahulā sandiṭṭhā sambhattā bhikkhū Kosalesu janapadesu aññatarasmiṃ āvāse vassaṃ upagacchiṃsu.  atha kho tesaṃ bhikkhūnaṃ etad ahosi: kena nu kho mayaṃ upāyena samaggā sammodamānā avivadamānā phāsukaṃ vassaṃ vaseyyāma na ca piṇḍakena kilameyyāmā ’ti. |1| 
เตน โข ปน สมเยน ภิกฺขู อชฺโฌกาเส วสฺสํ อุปคจฺฉนฺติ. เทเว วสฺสนฺเต รุกฺขมูลมฺปิ นิพฺพโกสมฺปิ อุปธาวนฺติ.  ภควโต เอตมตฺถํ อาโรเจสุํ.  น ภิกฺขเว อชฺโฌกาเส วสฺสํ อุปคนฺตพฺพํ. 
atha kho tesaṃ bhikkhūnaṃ etad ahosi: sace kho mayaṃ aññamaññaṃ n’ eva ālapeyyāma na sallapeyyāma, yo paṭhamaṃ gāmato piṇḍāya paṭikkameyya, so āsanaṃ paññāpeyya, pādodakaṃ pādapīṭhaṃ pādakathalikaṃ upanikkhipeyya, avakkārapātiṃ dhovitvā upaṭṭhāpeyya, pāniyaṃ paribhojaniyaṃ upaṭṭhāpeyya, |2| 
โย อุปคจฺเฉยฺย อาปตฺติ ทุกฺกฏสฺสาติ. 
yo pacchā gāmato piṇḍāya paṭikkameyya, sac’ assa bhuttāvaseso, sace ākaṅkheyya, bhuñjeyya, no ce ākaṅkheyya, appaharite vā chaḍḍeyya appāṇake vā udake opilāpeyya, so āsanaṃ uddhareyya, pādodakaṃ pādapīṭhaṃ pādakathalikaṃ paṭisāmeyya, avakkārapātiṃ dhovitvā paṭisāmeyya, pāniyaṃ paribhojaniyaṃ paṭisāmeyya, bhattaggaṃ sammajjeyya, |3| 
เตน โข ปน สมเยน ภิกฺขู อเสนาสนิกา วสฺสํ อุปคจฺฉนฺติ. สีเตนปิ กิลมนฺติ อุณฺเหนปิ กิลมนฺติ. 
yo passeyya pāniyaghaṭaṃ vā paribhojaniyaghaṭaṃ vā vaccaghaṭaṃ vā rittaṃ tucchaṃ, so upaṭṭhāpeyya, sac’ assa avisayhaṃ hatthavikārena, dutiyaṃ āmantetvā hatthavilaṅghakena upaṭṭhāpeyya, na tv eva tappaccayā vācaṃ bhindeyya, evaṃ kho mayaṃ samaggā sammodamānā avivadamānā phāsukaṃ vassaṃ vaseyyāma na ca piṇḍakena kilameyyāmā ’ti. |4| 
ภควโต เอตมตฺถํ อาโรเจสุํ. 
atha kho te bhikkhū aññamaññaṃ n’ eva ālapiṃsu na sallapiṃsu.  yo paṭhamaṃ gāmato piṇḍāya paṭikkamati, so āsanaṃ paññāpeti, pādodakaṃ pādapīṭhaṃ pādakathalikaṃ upanikkhipati, avakkārapātiṃ dhovitvā upaṭṭhāpeti, pāniyaṃ paribhojaniyaṃ upa-(158)ṭṭhāpeti. |5| 
น ภิกฺขเว อเสนาสนิเกน วสฺสํ อุปคนฺตพฺพํ.  โย อุปคจฺเฉยฺย อาปตฺติ ทุกฺกฏสฺสาติ. 
yo pacchā gāmato piṇḍāya paṭikkamati, sace hoti bhuttāvaseso, sace ākaṅkhati, bhuñjati, no ce ākaṅkhati, appaharite vā chaḍḍeti appāṇake vā udake opilāpeti, so āsanaṃ uddharati pādodakaṃ pādapīṭhaṃ pādakathalikaṃ paṭisāmeti, avakkārapātiṃ dhovitvā paṭisāmeti, pāniyaṃ paribhojaniyaṃ paṭisāmeti, bhattaggaṃ sammajjati. |6| 
เตน โข ปน สมเยน ภิกฺขู ฉวกุฏิกาย วสฺสํ อุปคจฺฉนฺติ. 
yo passati pāniyaghaṭaṃ vā paribhojaniyaghaṭaṃ vā vaccaghaṭaṃ vā rittaṃ tucchaṃ, so upaṭṭhāpeti.  sac’ assa hoti avisayhaṃ hatthavikārena, dutiyaṃ āmantetvā hatthavilaṅghakena upaṭṭhāpeti, na tv eva tappaccayā vācaṃ bhindati. |7| 
มนุสฺสา อุชฺฌายนฺติ ขิยฺยนฺติ วิปาเจนฺติ “เสยฺยถาปิ ฉวฑาหกา”ติ.  ภควโต เอตมตฺถํ อาโรเจสุํ. 
āciṇṇaṃ kho pan’ etaṃ vassaṃ vutthānaṃ bhikkhūnaṃ bhagavantaṃ dassanāya upasaṃkamituṃ.  atha kho te bhikkhū vassaṃ vutthā temāsaccayena senāsanaṃ saṃsāmetvā pattacīvaraṃ ādāya yena Sāvatthī tena pakkamiṃsu.  anupubbena yena Sāvatthī Jetavanaṃ Anāthapiṇḍikassa ārāmo, yena bhagavā ten’ upasaṃkamiṃsu, upasaṃkamitvā bhagavantaṃ abhivādetvā ekamantaṃ nisīdiṃsu.  āciṇṇaṃ kho pan’ etaṃ buddhānaṃ bhagavantānaṃ āgantukehi bhikkhūhi saddhiṃ paṭisammodituṃ. |8| 
น ภิกฺขเว ฉวกุฏิกาย วสฺสํ อุปคนฺตพฺพํ.  โย อุปคจฺเฉยฺย อาปตฺติ ทุกฺกฏสฺสาติ.  เตน โข ปน สมเยน ภิกฺขู ฉตฺเต วสฺสํ อุปคจฺฉนฺติ.  มนุสฺสา อุชฺฌายนฺติ ขิยฺยนฺติ วิปาเจนฺติ “เสยฺยถาปิ โคปาลกา”ติ. 
atha kho bhagavā te bhikkhū etad avoca: kacci bhikkhave khamanīyaṃ, kacci yāpanīyaṃ, kacci samaggā sammodamānā avivadamānā phāsukaṃ vassaṃ vasittha na ca piṇḍakena kilamitthā ’ti.  khamanīyaṃ bhagavā, yāpanīyaṃ bhagavā, samaggā ca mayaṃ bhante sammodamānā avivadamānā phāsukaṃ vassaṃ vasimhā na ca piṇḍakena kilamimhā ’ti. |9| 
ภควโต เอตมตฺถํ อาโรเจสุํ.  น ภิกฺขเว ฉตฺเต วสฺสํ อุปคนฺตพฺพํ. 
jānantāpi tathāgatā pucchanti, jānantāpi na pucchanti, kālaṃ viditvā pucchanti, kalaṃ viditvā {na} pucchanti, atthasaṃhitaṃ tathāgatā pucchanti no anatthasaṃhitaṃ, anatthasaṃhite setughāto tathāgatānaṃ.  dvīhi ākārehi buddhā bhagavanto bhikkhū paṭipucchanti, dhammaṃ vā desessāma, {sāvakānaṃ} vā sikkhāpadaṃ paññāpessāmā ’ti.  atha kho bhagavā te bhikkhū etad avoca: yathākathaṃ pana tumhe bhikkhave samaggā sammodamānā avivadamānā phāsukaṃ vassaṃ vasittha na ca piṇḍakena kilamitthā ’ti. |10| 
โย อุปคจฺเฉยฺย อาปตฺติ ทุกฺกฏสฺสาติ.  เตน โข ปน สมเยน ภิกฺขู จาฏิยา วสฺสํ อุปคจฺฉนฺติ.  มนุสฺสา อุชฺฌายนฺติ ขิยฺยนฺติ วิปาเจนฺติ “เสยฺยถาปิ ติตฺถิยา”ติ. 
idha mayaṃ bhante sambahulā sandiṭṭhā sambhattā bhikkhū Kosalesu janapadesu aññatarasmiṃ āvāse vassaṃ upagacchimhā.  tesaṃ no bhante amhākaṃ etad ahosi: kena nu kho mayaṃ upāyena samaggā sammodamānā avivadamānā phāsukaṃ vassaṃ vaseyyāma na (159) ca piṇḍakena kilameyyāmā ’ti.  tesaṃ no bhante amhākaṃ etad ahosi: sace kho mayam ...evaṃ kho mayaṃ samaggā sammodamānā avivadamānā phāsukaṃ vassaṃ vaseyyāma na ca piṇḍakena kilameyyāmā ’ti.  atha kho mayaṃ bhante aññamaññaṃ n’ eva ālapimhā na sallapimhā.  yo paṭhamaṃ gāmato piṇḍāya paṭikkamati, so āsanaṃ paññāpeti, pādodakaṃ ...vācaṃ bhindati.  evaṃ kho mayaṃ bhante samaggā sammodamānā avivadamānā phāsukaṃ vassaṃ vasimhā na ca piṇḍakena kilamimhā ’ti. |11| 
ภควโต เอตมตฺถํ อาโรเจสุํ.  น ภิกฺขเว จาฏิยา วสฺสํ อุปคนฺตพฺพํ.  โย อุปคจฺเฉยฺย อาปตฺติ ทุกฺกฏสฺสาติ. (วสฺสํ อนุปคนฺตพฺพฏฺฐานานิ นิฏฺฐิตา.)      (๑๑๗. อธมฺมิกกติกา) ๒๐๕. เตน โข ปน สมเยน สาวตฺถิยา สงฺเฆน เอวรูปา กติกา กตา โหติ อนฺตราวสฺสํ น ปพฺพาเชตพฺพนฺติ. 
atha kho bhagavā bhikkhū āmantesi: aphāsuñ ñeva kira ’me bhikkhave moghapurisā vutthā samānā phāsu ’ mha vutthā ’ti paṭijānanti, pasusaṃvāsañ ñeva kira ’me bhikkhave moghapurisā vutthā samānā phāsu ’mha vutthā ’ti paṭijānanti, eḷakasaṃvāsañ ñeva kira ’me bhikkhave moghapurisā vutthā samānā phāsu ’ mha vutthā ’ti paṭijānanti, pamattasaṃvāsañ ñeva kira ’me bhikkhave moghapurisā vutthā samānā phāsu ’mha vutthā ’ti paṭijānanti.  kathaṃ hi nām’ ime bhikkhave moghapurisā mūgabbataṃ titthiyasamādānaṃ samādiyissanti. |12| 
วิสาขาย มิคารมาตุยา นตฺตา ภิกฺขู อุปสงฺกมิตฺวา ปพฺพชฺชํ ยาจิ.  ภิกฺขู เอวมาหํสุ “สงฺเฆน โข อาวุโส เอวรูปา กติกา กตา ‘อนฺตราวสฺสํ น ปพฺพาเชตพฺพ’นฺติ. อาคเมหิ อาวุโส ยาว ภิกฺขู วสฺสํ วสนฺติ. วสฺสํวุฏฺฐา ปพฺพาเชสฺสนฺตี”ติ. 
n’ etaṃ bhikkhave appasannānaṃ vā pasādāya.  vigarahitvā dhammiṃ kathaṃ katvā bhikkhū āmantesi: na bhikkhave mūgabbataṃ titthiyasamādānaṃ samādiyitabbaṃ.  yo samādiyeyya, āpatti dukkaṭassa.  anujānāmi bhikkhave vassaṃ vutthānaṃ bhikkhūnaṃ tīhi ṭhānehi pavāretuṃ diṭṭhena vā sutena vā parisaṅkāya vā.  sā vo bhavissati aññamaññānulomatā āpattivuṭṭhānatā vinayapurekkhāratā. |13| 
อถ โข เต ภิกฺขู วสฺสํวุฏฺฐา วิสาขาย มิคารมาตุยา นตฺตารํ เอตทโวจุํ “เอหิ ทานิ อาวุโส ปพฺพชาหี”ติ.  โส เอวมาห “สจาหํ ภนฺเต ปพฺพชิโต อสฺสํ อภิรเมยฺยามหํ . น ทานาหํ ภนฺเต ปพฺพชิสฺสามี”ติ.  วิสาขา มิคารมาตา อุชฺฌายติ ขิยฺยติ วิปาเจติ “กถญฺหิ นาม อยฺยา เอวรูปํ กติกํ กริสฺสนฺติ ‘น อนฺตราวสฺสํ ปพฺพาเชตพฺพ’นฺติ. กํ กาลํ ธมฺโม น จริตพฺโพ”ติ?  อสฺโสสุํ โข ภิกฺขู วิสาขาย มิคารมาตุยา อุชฺฌายนฺติยา ขิยฺยนฺติยา วิปาเจนฺติยา.  อถ โข เต ภิกฺขู ภควโต เอตมตฺถํ อาโรเจสุํ. 
evañ ca pana bhikkhave pavāretabbaṃ.  vyattena bhikkhunā paṭibalena saṃgho ñāpetabbo: suṇātu me bhante saṃgho.  ajja pavāraṇā.  yadi saṃghassa pattakallaṃ saṃgho pavāreyyā ’ti.  therena bhikkhunā ekaṃsaṃ uttarāsaṅgaṃ karitvā ukkuṭikaṃ nisīditvā añjaliṃ paggahetvā evam assa vacanīyo: saṃghaṃ āvuso pavāremi diṭṭhena vā sutena vā parisaṅkāya vā, vadantu maṃ āyasmanto anukampaṃ upādāya, passanto paṭikarissāmi.  dutiyam pi ...tatiyam pi āvuso saṃghaṃ pavāremi diṭṭhena vā sutena vā parisaṅkāya vā, vadantu maṃ āyasmanto anukampaṃ upādāya, passanto paṭikarissāmīti.  navakena bhikkhunā ekaṃsaṃ uttarāsaṅgaṃ karitvā ukkuṭikaṃ nisīditvā añjaliṃ paggahetvā evam assa vacanīyo: saṃghaṃ bhante pavāremi (160) diṭṭhena vā ...dutiyam pi ...tatiyam pi ...passanto paṭikarissāmīti. |14| 
น ภิกฺขเว เอวรูปา กติกา กาตพฺพา ‘น อนฺตราวสฺสํ ปพฺพาเชตพฺพ’นฺติ.  โย กเรยฺย อาปตฺติ ทุกฺกฏสฺสาติ. (อธมฺมิกกติกา นิฏฺฐิตา.)      (๑๑๘. ปฏิสฺสวทุกฺกฏาปตฺติ) ๒๐๖. เตน โข ปน สมเยน อายสฺมตา อุปนนฺเทน สกฺยปุตฺเตน รญฺโญ ปเสนทิสฺส โกสลสฺส วสฺสาวาโส ปฏิสฺสุโต โหติ ปุริมิกาย.  โส ตํ อาวาสํ คจฺฉนฺโต อทฺทส อนฺตรามคฺเค ทฺเว อาวาเส พหุจีวรเก. ตสฺส เอตทโหสิ “ยํนูนาหํ อิเมสุ ทฺวีสุ อาวาเสสุ วสฺสํ วเสยฺยํ. เอวํ เม พหุํ จีวรํ อุปฺปชฺชิสฺสตี”ติ.  โส เตสุ ทฺวีสุ อาวาเสสุ วสฺสํ วสิ. 
||1|| 
ราชา ปเสนทิ โกสโล อุชฺฌายติ ขิยฺยติ วิปาเจติ “กถญฺหิ นาม อยฺโย อุปนนฺโท สกฺยปุตฺโต อมฺหากํ วสฺสาวาสํ ปฏิสฺสุณิตฺวา วิสํวาเทสฺสติ. 
tena kho pana samayena chabbaggiyā bhikkhū theresu bhikkhūsu ukkuṭikaṃ nisinnesu pavārayamānesu āsanesu acchanti.  ye te bhikkhū appicchā te ujjhāyanti khīyanti vipācenti: kathaṃ hi nāma chabbaggiyā bhikkhū theresu bhikkhūsu ukkuṭikaṃ nisinnesu pavārayamānesu āsanesu acchissantīti.  atha kho te bhikkhū bhagavato etam atthaṃ ārocesuṃ.  saccaṃ kira bhikkhave chabbaggiyā bhikkhū theresu ...acchantīti.saccaṃ bhagavā.vigarahi buddho bhagavā: kathaṃ hi nāma te bhikkhave moghapurisā theresu ...acchissanti.  n’ etaṃ bhikkhave appasannānaṃ vā pasādāya.  vigarahitvā dhammiṃ kathaṃ katvā bhikkhū āmantesi: na bhikkhave theresu bhikkhūsu ukkuṭikaṃ nisinnesu pavārayamānesu āsanesu acchitabbaṃ.  yo accheyya, āpatti dukkaṭassa.  anujānāmi bhikkhave sabbeh’ eva ukkuṭikaṃ nisinnehi pavāretun ti. |1| 
นนุ ภควตา อเนกปริยาเยน มุสาวาโท ครหิโต มุสาวาทา เวรมณี ปสตฺถา”ติ.  อสฺโสสุํ โข ภิกฺขู รญฺโญ ปเสนทิสฺส โกสลสฺส อุชฺฌายนฺตสฺส ขิยฺยนฺตสฺส วิปาเจนฺตสฺส.  เย เต ภิกฺขู อปฺปิจฺฉาฯเปฯ เต อุชฺฌายนฺติ ขิยฺยนฺติ วิปาเจนฺติ “กถญฺหิ นาม อายสฺมา อุปนนฺโท สกฺยปุตฺโต รญฺโญ ปเสนทิสฺส โกสลสฺส วสฺสาวาสํ ปฏิสฺสุณิตฺวา วิสํวาเทสฺสติ.  นนุ ภควตา อเนกปริยาเยน มุสาวาโท ครหิโต มุสาวาทา เวรมณี ปสตฺถา”ติ.  อถ โข เต ภิกฺขู ภควโต เอตมตฺถํ อาโรเจสุํฯเปฯ  อถ โข ภควา เอตสฺมึ นิทาเน เอตสฺมึ ปกรเณ ภิกฺขุสงฺฆํ สนฺนิปาตาเปตฺวา อายสฺมนฺตํ อุปนนฺทํ สกฺยปุตฺตํ ปฏิปุจฺฉิ “สจฺจํ กิร ตฺวํ อุปนนฺท รญฺโญ ปเสนทิสฺส โกสลสฺส วสฺสาวาสํ ปฏิสฺสุณิตฺวา วิสํวาเทสี”ติ?  “สจฺจํ ภควา”ติ.  วิครหิ พุทฺโธ ภควาฯเปฯ กถญฺหิ นาม ตฺวํ โมฆปุริส รญฺโญ ปเสนทิสฺส โกสลสฺส วสฺสาวาสํ ปฏิสฺสุณิตฺวา วิสํวาเทสฺสสิ. 
tena kho pana samayena aññataro thero jarādubbalo yāva sabbe pavārentīti ukkuṭikaṃ nisinno āgamayamāno mucchito papati.  bhagavato etam atthaṃ ārocesuṃ.  anujānāmi bhikkhave tadantarā ukkuṭikaṃ nisīdituṃ yāva pavāreti, pavāretvā āsane nisīditun ti. |2| 
นนุ มยา โมฆปุริส อเนกปริยาเยน มุสาวาโท ครหิโต มุสาวาทา เวรมณี ปสตฺถา.  เนตํ โมฆปุริส อปฺปสนฺนานํ วา ปสาทายฯเปฯ วิครหิตฺวาฯเปฯ ธมฺมึ กถํ กตฺวา ภิกฺขู อามนฺเตสิ  ๒๐๗. อิธ ปน ภิกฺขเว ภิกฺขุนา วสฺสาวาโส ปฏิสฺสุโต โหติ ปุริมิกาย. 
||2|| 
โส ตํ อาวาสํ คจฺฉนฺโต ปสฺสติ อนฺตรามคฺเค ทฺเว อาวาเส พหุจีวรเก. ตสฺส เอวํ โหติ “ยํนูนาหํ อิเมสุ ทฺวีสุ อาวาเสสุ วสฺสํ วเสยฺยํ. เอวํ เม พหุํ จีวรํ อุปฺปชฺชิสฺสตี”ติ. 
atha kho bhikkhūnaṃ etad ahosi: kati nu kho pavāraṇā ’ti.  bhagavato etam atthaṃ ārocesuṃ.  dve ’mā bhikkhave pavāraṇā cātuddasikā pannarasikā ca.  imā kho bhikkhave dve pavāraṇā ’ti. |1| 
โส เตสุ ทฺวีสุ อาวาเสสุ วสฺสํ วสติ.  ตสฺส ภิกฺขเว ภิกฺขุโน ปุริมิกา จ น ปญฺญายติ ปฏิสฺสเว จ อาปตฺติ ทุกฺกฏสฺส.  อิธ ปน ภิกฺขเว ภิกฺขุนา วสฺสาวาโส ปฏิสฺสุโต โหติ ปุริมิกาย.  โส ตํ อาวาสํ คจฺฉนฺโต พหิทฺธา อุโปสถํ กโรติ ปาฏิปเท วิหารํ อุเปติ เสนาสนํ ปญฺญเปติ ปานียํ ปริโภชนียํ อุปฏฺฐาเปติ ปริเวณํ สมฺมชฺชติ. โส ตทเหว อกรณีโย ปกฺกมติ. 
atha kho bhikkhūnaṃ etad ahosi: kati nu kho pavāraṇakammānīti.  bhagavato etam atthaṃ ārocesuṃ.  cattār’ imāni bhikkhave pavāraṇakammāni, adhammena vaggaṃ pavāraṇakammaṃ ...(= II.14.2,3.Read pavāraṇakammaṃ instead of uposathakammaṃ) ...sikkhitabban ti. |2| 
ตสฺส ภิกฺขเว ภิกฺขุโน ปุริมิกา จ น ปญฺญายติ ปฏิสฺสเว จ อาปตฺติ ทุกฺกฏสฺส.  อิธ ปน ภิกฺขเว ภิกฺขุนา วสฺสาวาโส ปฏิสฺสุโต โหติ ปุริมิกาย. โส ตํ อาวาสํ คจฺฉนฺโต พหิทฺธา อุโปสถํ กโรติ ปาฏิปเท วิหารํ อุเปติ เสนาสนํ ปญฺญเปติ ปานียํ ปริโภชนียํ อุปฏฺฐาเปติ ปริเวณํ สมฺมชฺชติ. โส ตทเหว สกรณีโย ปกฺกมติ.  ตสฺส ภิกฺขเว ภิกฺขุโน ปุริมิกา จ น ปญฺญายติ ปฏิสฺสเว จ อาปตฺติ ทุกฺกฏสฺส. 
atha kho bhagavā bhikkhū āmantesi: sannipatatha bhikkhave, saṃgho pavāressatīti.  evaṃ vutte aññataro bhikkhu bhagavantaṃ etad avoca: atthi bhante bhikkhu gilāno, so anāgato ’ti.  anujānāmi bhikkhave gilānena bhikkhunā pavāraṇaṃ dātuṃ.  evañ ca pana bhikkhave dātabbā.  tena gilānena bhikkhunā ekaṃ (161) bhikkhuṃ upasaṃkamitvā ekaṃsaṃ uttarāsaṅgaṃ karitvā ukkuṭikaṃ nisīditvā añjaliṃ paggahetvā evam assa vacanīyo: pavāraṇaṃ dammi, pavāraṇaṃ me hara, mam’ atthāya pavārehīti.  kāyena viññāpeti, vācāya viññāpeti, kāyena vācāya viññāpeti, dinnā hoti pavāraṇā.  na kāyena viññāpeti, na vācāya viññāpeti, na kāyena vācāya viññāpeti, na dinnā hoti pavāraṇā. |3| 
อิธ ปน ภิกฺขเว ภิกฺขุนา วสฺสาวาโส ปฏิสฺสุโต โหติ ปุริมิกาย. โส ตํ อาวาสํ คจฺฉนฺโต พหิทฺธา อุโปสถํ กโรติ ปาฏิปเท วิหารํ อุเปติ เสนาสนํ ปญฺญเปติ ปานียํ ปริโภชนียํ อุปฏฺฐาเปติ ปริเวณํ สมฺมชฺชติ. โส ทฺวีหตีหํ วสิตฺวา อกรณีโย ปกฺกมติ.  ตสฺส ภิกฺขเว ภิกฺขุโน ปุริมิกา จ น ปญฺญายติ ปฏิสฺสเว จ อาปตฺติ ทุกฺกฏสฺส.  อิธ ปน ภิกฺขเว ภิกฺขุนา วสฺสาวาโส ปฏิสฺสุโต โหติ ปุริมิกาย. โส ตํ อาวาสํ คจฺฉนฺโต พหิทฺธา อุโปสถํ กโรติ ปาฏิปเท วิหารํ อุเปติ เสนาสนํ ปญฺญเปติ ปานียํ ปริโภชนียํ อุปฏฺฐาเปติ ปริเวณํ สมฺมชฺชติ. โส ทฺวีหตีหํ วสิตฺวา สกรณีโย ปกฺกมติ.  ตสฺส ภิกฺขเว ภิกฺขุโน ปุริมิกา จ น ปญฺญายติ ปฏิสฺสเว จ อาปตฺติ ทุกฺกฏสฺส.  อิธ ปน ภิกฺขเว ภิกฺขุนา วสฺสาวาโส ปฏิสฺสุโต โหติ ปุริมิกาย. โส ตํ อาวาสํ คจฺฉนฺโต พหิทฺธา อุโปสถํ กโรติ ปาฏิปเท วิหารํ อุเปติ เสนาสนํ ปญฺญเปติ ปานียํ ปริโภชนียํ อุปฏฺฐาเปติ ปริเวณํ สมฺมชฺชติ. โส ทฺวีหตีหํ วสิตฺวา สตฺตาหกรณีเยน ปกฺกมติ.  โส ตํ สตฺตาหํ พหิทฺธา วีตินาเมติ.  ตสฺส ภิกฺขเว ภิกฺขุโน ปุริมิกา จ น ปญฺญายติ ปฏิสฺสเว จ อาปตฺติ ทุกฺกฏสฺส. 
evaṃ ce taṃ labhetha, icc etaṃ kusalaṃ.  no ce labhetha, so bhikkhave gilāno bhikkhu mañcena vā pīṭhena vā saṃghamajjhe ānetvā pavāretabbaṃ.  sace bhikkhave gilānupaṭṭhākānaṃ bhikkhūnaṃ evaṃ hoti: sace kho mayaṃ gilānaṃ ṭhānā cāvessāma, ābādho vā abhivaḍḍhissati kālaṃkiriyā vā bhavissatīti, na bhikkhave gilāno ṭhānā cāvetabbo, saṃghena tattha gantvā pavāretabbaṃ, na tv eva vaggena saṃghena pavāretabbaṃ.  pavāreyya ce, āpatti dukkaṭassa. |4| 
อิธ ปน ภิกฺขเว ภิกฺขุนา วสฺสาวาโส ปฏิสฺสุโต โหติ ปุริมิกาย. โส ตํ อาวาสํ คจฺฉนฺโต พหิทฺธา อุโปสถํ กโรติ ปาฏิปเท วิหารํ อุเปติ เสนาสนํ ปญฺญเปติ ปานียํ ปริโภชนียํ อุปฏฺฐาเปติ ปริเวณํ สมฺมชฺชติ. โส ทฺวีหตีหํ วสิตฺวา สตฺตาหกรณีเยน ปกฺกมติ  โส ตํ สตฺตาหํ อนฺโต สนฺนิวตฺตํ กโรติ.  ตสฺส ภิกฺขเว ภิกฺขุโน ปุริมิกา จ ปญฺญายติ ปฏิสฺสเว จ อนาปตฺติ.  อิธ ปน ภิกฺขเว ภิกฺขุนา วสฺสาวาโส ปฏิสฺสุโต โหติ ปุริมิกาย. โส ตํ อาวาสํ คจฺฉนฺโต พหิทฺธา อุโปสถํ กโรติ ปาฏิปเท วิหารํ อุเปติ เสนาสนํ ปญฺญเปติ ปานียํ ปริโภชนียํ อุปฏฺฐาเปติ ปริเวณํ สมฺมชฺชติ. โส สตฺตาหํ อนาคตาย ปวารณาย สกรณีโย ปกฺกมติ. 
pavāraṇāhārako ce bhikkhave dinnāya pavāraṇāya ...(= II.22.3,4.Read pavāraṇā, pavāraṇāya, pavāraṇāhārako instead of pārisuddhi, pārisuddhiyā, pārisuddhihārako) ...pavāraṇāhārakassa āpatti dukkaṭassa.  anujānāmi bhikkhave tadahu pavāraṇāya pavāraṇaṃ dentena chandam pi dātuṃ santi saṃghassa karaṇīyan ti. |5| 
อาคจฺเฉยฺย วา โส ภิกฺขเว ภิกฺขุ ตํ อาวาสํ น วา อาคจฺเฉยฺย ตสฺส ภิกฺขเว ภิกฺขุโน ปุริมิกา จ ปญฺญายติ ปฏิสฺสเว จ อนาปตฺติ.  อิธ ปน ภิกฺขเว ภิกฺขุนา วสฺสาวาโส ปฏิสฺสุโต โหติ ปุริมิกาย. 
||3|| 
โส ตํ อาวาสํ คนฺตฺวา อุโปสถํ กโรติ ปาฏิปเท วิหารํ อุเปติ เสนาสนํ ปญฺญเปติ ปานียํ ปริโภชนียํ อุปฏฺฐาเปติ ปริเวณํ สมฺมชฺชติ. 
tena kho pana samayena aññataraṃ bhikkhuṃ tadahu pavāraṇāya ñātakā gaṇhiṃsu.  bhagavato etam atthaṃ arocesuṃ.  idha pana bhikkhave bhikkhuṃ tadahu pavāraṇāya ñātakā gaṇhanti.  te ñātakā bhikkhūhi evam assu vacanīyā: iṅgha tumhe āyasmanto imaṃ bhikkhuṃ muhuttaṃ muñcatha yāvāyaṃ bhikkhu pavāretīti. |1| 
โส ตทเหว อกรณีโย ปกฺกมติ.  ตสฺส ภิกฺขเว ภิกฺขุโน ปุริมิกา จ น ปญฺญายติ ปฏิสฺสเว จ อาปตฺติ ทุกฺกฏสฺส.  อิธ ปน ภิกฺขเว ภิกฺขุนา วสฺสาวาโส ปฏิสฺสุโต โหติ ปุริมิกาย. โส ตํ อาวาสํ คนฺตฺวา อุโปสถํ กโรติ ปาฏิปเท วิหารํ อุเปติ เสนาสนํ ปญฺญเปติ ปานียํ ปริโภชนียํ อุปฏฺฐาเปติ ปริเวณํ สมฺมชฺชติ. โส ตทเหว สกรณีโย ปกฺกมติฯเปฯ โส ทฺวีหตีหํ วสิตฺวา อกรณีโย ปกฺกมติฯเปฯ โส ทฺวีหตีหํ วสิตฺวา สกรณีโย ปกฺกมติฯเปฯ โส ทฺวีหตีหํ วสิตฺวา สตฺตาหกรณีเยน ปกฺกมติ.  โส ตํ สตฺตาหํ พหิทฺธา วีตินาเมติ. 
evaṃ ce taṃ labhetha, icc etaṃ kusalaṃ, no ce labhetha, te ñātakā bhikkhūhi evam assu vacanīyā: iṅgha tumhe āyasmanto muhuttaṃ ekamantaṃ hotha yāvāyaṃ bhikkhu pavāraṇaṃ detīti.  evaṃ ce taṃ labhetha, icc etaṃ kusalaṃ, no ce labhetha, te ñātakā bhikkhūhi evam assu vacanīyā: iṅgha tumhe āyasmanto imaṃ bhikkhuṃ muhuttaṃ nissīmaṃ netha yāva saṃgho pavāretīti.  evaṃ ce taṃ labhetha, icc etaṃ kusalaṃ, no ce labhetha, na tv eva vaggena saṃghena pavāretabbaṃ.  pavāreyya ce, āpatti dukkaṭassa. |2| 
ตสฺส ภิกฺขเว ภิกฺขุโน ปุริมิกา จ น ปญฺญายติ ปฏิสฺสเว จ อาปตฺติ ทุกฺกฏสฺสฯเปฯ  โส ทฺวีหตีหํ วสิตฺวา สตฺตาหกรณีเยน ปกฺกมติ.  โส ตํ สตฺตาหํ อนฺโต สนฺนิวตฺตํ กโรติ.  ตสฺส ภิกฺขเว ภิกฺขุโน ปุริมิกา จ ปญฺญายติ ปฏิสฺสเว จ อนาปตฺติฯเปฯ 
idha pana bhikkhave bhikkhuṃ tadahu pavāraṇāya rājāno gaṇhanti, corā gaṇ (162) hanti, dhuttā gaṇhanti, bhikkhū paccatthikā gaṇhanti.  te bhikkhū paccatthikā bhikkhūhi evam assu vacanīyā: iṅgha ...(comp.1.2) ...na tv eva vaggena saṃghena pavāretabbaṃ.  pavāreyya ce, āpatti dukkaṭassā ’ti. |3| 
โส สตฺตาหํ อนาคตาย ปวารณาย สกรณีโย ปกฺกมติ. อาคจฺเฉยฺย วา โส ภิกฺขเว ภิกฺขุ ตํ อาวาสํ น วา อาคจฺเฉยฺย ตสฺส ภิกฺขเว ภิกฺขุโน ปุริมิกา จ ปญฺญายติ ปฏิสฺสเว จ อนาปตฺติ.  ๒๐๘. อิธ ปน ภิกฺขเว ภิกฺขุนา วสฺสาวาโส ปฏิสฺสุโต โหติ ปจฺฉิมิกาย.  โส ตํ อาวาสํ คจฺฉนฺโต พหิทฺธา อุโปสถํ กโรติ ปาฏิปเท วิหารํ อุเปติ เสนาสนํ ปญฺญเปติ ปานียํ ปริโภชนียํ อุปฏฺฐาเปติ ปริเวณํ สมฺมชฺชติ. 
||4|| 
โส ตทเหว อกรณีโย ปกฺกมติ. 
tena kho pana samayena aññatarasmiṃ āvāse tadahu pavāraṇāya pañca bhikkhū viharanti.  atha kho tesaṃ bhikkhūnaṃ etad ahosi: bhagavatā paññattaṃ saṃghena pavāretabban ti, mayañ c’ amhā pañca janā.  kathaṃ nu kho amhehi pavāretabban ti.  bhagavato etam atthaṃ ārocesuṃ.  anujānāmi bhikkhave pañcannaṃ saṃghe pavāretun ti. |1| 
ตสฺส ภิกฺขเว ภิกฺขุโน ปจฺฉิมิกา จ น ปญฺญายติ ปฏิสฺสเว จ อาปตฺติ ทุกฺกฏสฺส.  อิธ ปน ภิกฺขเว ภิกฺขุนา วสฺสาวาโส ปฏิสฺสุโต โหติ ปจฺฉิมิกาย. โส ตํ อาวาสํ คจฺฉนฺโต พหิทฺธา อุโปสถํ กโรติ ปาฏิปเท วิหารํ อุเปติ เสนาสนํ ปญฺญเปติ ปานียํ ปริโภชนียํ อุปฏฺฐาเปติ ปริเวณํ สมฺมชฺชติ. โส ตทเหว สกรณีโย ปกฺกมติ. ตสฺส ภิกฺขเว ภิกฺขุโน ปจฺฉิมิกา จ น ปญฺญายติ ปฏิสฺสเว จ อาปตฺติ ทุกฺกฏสฺส. อิธ ปน ภิกฺขเว ภิกฺขุนา วสฺสาวาโส ปฏิสฺสุโต โหติ ปจฺฉิมิกาย. โส ตํ อาวาสํ คจฺฉนฺโต พหิทฺธา อุโปสถํ กโรติ ปาฏิปเท วิหารํ อุเปติ เสนาสนํ ปญฺญเปติ ปานียํ ปริโภชนียํ อุปฏฺฐาเปติ ปริเวณํ สมฺมชฺชติ. โส ทฺวีหตีหํ วสิตฺวา อกรณีโย ปกฺกมติ ตสฺส ภิกฺขเว ภิกฺขุโน ปจฺฉิมิกา จ น ปญฺญายติ ปฏิสฺสเว จ อาปตฺติ ทุกฺกฏสฺส. อิธ ปน ภิกฺขเว ภิกฺขุนา วสฺสาวาโส ปฏิสฺสุโต โหติ ปจฺฉิมิกาย. โส ตํ อาวาสํ คจฺฉนฺโต พหิทฺธา อุโปสถํ กโรติ ปาฏิปเท วิหารํ อุเปติ เสนาสนํ ปญฺญเปติ ปานียํ ปริโภชนียํ อุปฏฺฐาเปติ ปริเวณํ สมฺมชฺชติ. โส ทฺวีหตีหํ วสิตฺวา สกรณีโย ปกฺกมติ. ตสฺส ภิกฺขเว ภิกฺขุโน ปจฺฉิมิกา จ น ปญฺญายติ ปฏิสฺสเว จ อาปตฺติ ทุกฺกฏสฺส. อิธ ปน ภิกฺขเว ภิกฺขุนา วสฺสาวาโส ปฏิสฺสุโต โหติ ปจฺฉิมิกาย. โส ตํ อาวาสํ คจฺฉนฺโต พหิทฺธา อุโปสถํ กโรติ ปาฏิปเท วิหารํ อุเปติ เสนาสนํ ปญฺญเปติ ปานียํ ปริโภชนียํ อุปฏฺฐาเปติ ปริเวณํ สมฺมชฺชติ. โส ทฺวีหตีหํ วสิตฺวา สตฺตาหกรณีเยน ปกฺกมติ. โส ตํ สตฺตาหํ พหิทฺธา วีตินาเมติ. ตสฺส ภิกฺขเว ภิกฺขุโน ปจฺฉิมิกา จ น ปญฺญายติ ปฏิสฺสเว จ อาปตฺติ ทุกฺกฏสฺส. อิธ ปน ภิกฺขเว ภิกฺขุนา วสฺสาวาโส ปฏิสฺสุโต โหติ ปจฺฉิมิกาย. โส ตํ อาวาสํ คจฺฉนฺโต พหิทฺธา อุโปสถํ กโรติ ปาฏิปเท วิหารํ อุเปติ เสนาสนํ ปญฺญเปติ ปานียํ ปริโภชนียํ อุปฏฺฐาเปติ ปริเวณํ สมฺมชฺชติ. โส ทฺวีหตีหํ วสิตฺวา สตฺตาหกรณีเยน ปกฺกมติ. โส ตํ สตฺตาหํ อนฺโต สนฺนิวตฺตํ กโรติ. ตสฺส ภิกฺขเว ภิกฺขุโน ปจฺฉิมิกา จ ปญฺญายติ ปฏิสฺสเว จ อนาปตฺติ. อิธ ปน ภิกฺขเว ภิกฺขุนา วสฺสาวาโส ปฏิสฺสุโต โหติ ปจฺฉิมิกาย. โส ตํ อาวาสํ คจฺฉนฺโต พหิทฺธา อุโปสถํ กโรติ ปาฏิปเท วิหารํ อุเปติ เสนาสนํ ปญฺญเปติ ปานียํ ปริโภชนียํ อุปฏฺฐาเปติ ปริเวณํ สมฺมชฺชติ. โส สตฺตาหํ อนาคตาย โกมุทิยา จาตุมาสินิยา สกรณีโย ปกฺกมติ. อาคจฺเฉยฺย วา โส ภิกฺขเว ภิกฺขุ ตํ อาวาสํ น วา อาคจฺเฉยฺย ตสฺส ภิกฺขเว ภิกฺขุโน ปจฺฉิมิกา จ ปญฺญายติ ปฏิสฺสเว จ อนาปตฺติ. อิธ ปน ภิกฺขเว ภิกฺขุนา วสฺสาวาโส ปฏิสฺสุโต โหติ ปจฺฉิมิกาย. โส ตํ อาวาสํ คนฺตฺวา อุโปสถํ กโรติ ปาฏิปเท วิหารํ อุเปติ เสนาสนํ ปญฺญเปติ ปานียํ ปริโภชนียํ อุปฏฺฐาเปติ ปริเวณํ สมฺมชฺชติ. โส ตทเหว อกรณีโย ปกฺกมติ. ตสฺส ภิกฺขเว ภิกฺขุโน ปจฺฉิมิกา จ น ปญฺญายติ ปฏิสฺสเว จ อาปตฺติ ทุกฺกฏสฺส. อิธ ปน ภิกฺขเว ภิกฺขุนา วสฺสาวาโส ปฏิสฺสุโต โหติ ปจฺฉิมิกาย. โส ตํ อาวาสํ คนฺตฺวา อุโปสถํ กโรติ ปาฏิปเท วิหารํ อุเปติ เสนาสนํ ปญฺญเปติ ปานียํ ปริโภชนียํ อุปฏฺฐาเปติ ปริเวณํ สมฺมชฺชติ. โส ตทเหว สกรณีโย ปกฺกมติฯเปฯ โส ทฺวีหตีหํ วสิตฺวา อกรณีโย ปกฺกมติ ฯเปฯ โส ทฺวีหตีหํ วสิตฺวา สกรณีโย ปกฺกมติฯเปฯ โส ทฺวีหตีหํ วสิตฺวา สตฺตาหกรณีเยน ปกฺกมติ. โส ตํ สตฺตาหํ พหิทฺธา วีตินาเมติ. ตสฺส ภิกฺขเว ภิกฺขุโน ปจฺฉิมิกา จ น ปญฺญายติ ปฏิสฺสเว จ อาปตฺติ ทุกฺกฏสฺสฯเปฯ โส ทฺวีหตีหํ วสิตฺวา สตฺตาหกรณีเยน ปกฺกมติ. โส ตํ สตฺตาหํ อนฺโต สนฺนิวตฺตํ กโรติ. ตสฺส ภิกฺขเว ภิกฺขุโน ปจฺฉิมิกา จ ปญฺญายติ ปฏิสฺสเว จ อนาปตฺติ. อิธ ปน ภิกฺขเว ภิกฺขุนา วสฺสาวาโส ปฏิสฺสุโต โหติ ปจฺฉิมิกาย. โส ตํ อาวาสํ คนฺตฺวา อุโปสถํ กโรติ ปาฏิปเท วิหารํ อุเปติ เสนาสนํ ปญฺญเปติ ปานียํ ปริโภชนียํ อุปฏฺฐาเปติ ปริเวณํ สมฺมชฺชติ. โส สตฺตาหํ อนาคตาย โกมุทิยา จาตุมาสินิยา สกรณีโย ปกฺกมติ. อาคจฺเฉยฺย วา โส ภิกฺขเว ภิกฺขุ ตํ อาวาสํ น วา อาคจฺเฉยฺย ตสฺส ภิกฺขเว ภิกฺขุโน ปจฺฉิมิกา จ ปญฺญายติ ปฏิสฺสเว จ อนาปตฺตีติ. (ปฏิสฺสวทุกฺกฏาปตฺติ นิฏฺฐิตา.)      วสฺสูปนายิกกฺขนฺธโก ตติโย. 
tena kho pana samayena aññatarasmiṃ āvāse tadahu pavāraṇāya cattāro bhikkhū viharanti.  atha kho tesaṃ bhikkhūnaṃ etad ahosi: bhagavatā anuññātaṃ pañcannaṃ saṃghe pavāretuṃ, mayañ c’ amhā cattāro janā.  kathaṃ nu kho amhehi pavāretabban ti.  bhagavato etam atthaṃ ārocesuṃ.  anujānāmi bhikkhave catunnaṃ aññamaññaṃ pavāretuṃ. |2| 
๑๑๙. ตสฺสุทฺทานํ อุปคนฺตุํ กทา เจว กติ อนฺตราวสฺส จ. น อิจฺฉนฺติ จ สญฺจิจฺจ อุกฺกฑฺฒิตุํ อุปาสโกฯ  คิลาโน มาตา จ ปิตา ภาตา จ อถ ญาตโก. ภิกฺขุคติโก วิหาโร วาฬา จาปิ สรีสปาฯ  โจโร เจว ปิสาจา จ ทฑฺฒา ตทุภเยน จ. วูฬฺโหทเกน วุฏฺฐาสิ พหุตรา จ ทายกาฯ  ลูขปฺปณีตสปฺปาย เภสชฺชุปฏฺฐเกน จ. อิตฺถี เวสี กุมารี จ ปณฺฑโก ญาตเกน จฯ  ราชา โจรา ธุตฺตา นิธิ เภทอฏฺฐวิเธน จ. วชสตฺถา จ นาวา จ สุสิเร วิฏภิยา จฯ 
evañ ca pana bhikkhave pavāretabbaṃ: vyattena bhikkhunā paṭibalena te bhikkhū ñāpetabbā: suṇantu me āyasmanto.  ajja pavāraṇā.  yad’ āyasmantānaṃ pattakallaṃ mayaṃ aññamaññaṃ pavāreyyāmā ’ti.  therena bhikkhunā ekaṃsaṃ uttarāsaṅgaṃ karitvā ukkuṭikaṃ nisīditvā añjaliṃ paggahetvā te bhikkhū evam assu vacanīyā: ahaṃ āvuso āyasmante pavāremi diṭṭhena vā sutena vā parisaṅkāya vā, vadantu maṃ āyasmanto anukampaṃ upādāya, passanto paṭikarissāmi.  dutiyam pi ...tatiyam pi āvuso ...paṭikarissāmīti.navakena bhikkhunā ekaṃsaṃ uttarāsaṅgaṃ karitvā ukkuṭikaṃ nisīditvā añjaliṃ paggahetvā te bhikkhū evam assu vacanīyā: ahaṃ bhante āyasmante pavāremi diṭṭhena vā ...dutiyam pi ...tatiyam pi ...paṭikarissāmīti. |3| 
อชฺโฌกาเส วสฺสาวาโส อเสนาสนิเกน จ. ฉวกุฏิกา ฉตฺเต จ จาฏิยา จ อุเปนฺติ เตฯ  กติกา ปฏิสฺสุณิตฺวา พหิทฺธา จ อุโปสถา. ปุริมิกา ปจฺฉิมิกา ยถาญาเยน โยชเยฯ  อกรณี ปกฺกมติ สกรณี ตเถว จ. ทฺวีหตีหา จ ปุน จ สตฺตาหกรณีเยน จฯ  สตฺตาหนาคตา เจว อาคจฺเฉยฺย น เอยฺย วา. วตฺถุทฺทาเน อนฺตริกา ตนฺติมคฺคํ นิสามเยติฯ  อิมมฺหิ ขนฺธเก วตฺถูนิ ทฺเวปณฺณาส. (วสฺสูปนายิกกฺขนฺธโก นิฏฺฐิโต.) 
tena kho pana samayena aññatarasmiṃ āvāse tadahu pavāraṇāya tayo bhikkhū viharanti.  atha kho tesaṃ bhikkhūnaṃ etad ahosi: bhagavatā anuññātaṃ pañcannaṃ saṃghe pavāretuṃ, catunnaṃ aññamaññaṃ pavāretuṃ, mayañ c’ amhā tayo janā.  kathaṃ nu kho amhehi pavāretabban ti.  bhagavato etam atthaṃ ārocesuṃ.  anujānāmi bhikkhave tiṇṇannaṃ aññamaññaṃ pavāretuṃ.  evañ ca pana bhikkhave pavāretabbaṃ.  vyattena ...(= 3) (163) ...paṭikarissāmīti. |4| 
(๔. ปวารณากฺขนฺธโก ๑๒๐. อผาสุกวิหาโร) ๒๐๙. เตน สมเยน พุทฺโธ ภควา สาวตฺถิยํ วิหรติ เชตวเน อนาถปิณฺฑิกสฺส อาราเม.  เตน โข ปน สมเยน สมฺพหุลา สนฺทิฏฺฐา สมฺภตฺตา ภิกฺขู โกสเลสุ ชนปเท อญฺญตรสฺมึ อาวาเส วสฺสํ อุปคจฺฉึสุ.  อถ โข เตสํ ภิกฺขูนํ เอตทโหสิ “เกน นุ โข มยํ อุปาเยน สมคฺคา สมฺโมทมานา อวิวทมานา ผาสุกํ วสฺสํ วเสยฺยาม น จ ปิณฺฑเกน กิลเมยฺยามา”ติ.  อถ โข เตสํ ภิกฺขูนํ เอตทโหสิ “สเจ โข มยํ อญฺญมญฺญํ เนว อาลเปยฺยาม น สลฺลเปยฺยาม โย ปฐมํ คามโต ปิณฺฑาย ปฏิกฺกเมยฺย โส อาสนํ ปญฺญเปยฺย ปาโททกํ ปาทปีฐํ ปาทกถลิกํ อุปนิกฺขิเปยฺย อวกฺการปาตึ โธวิตฺวา อุปฏฺฐาเปยฺย ปานียํ ปริโภชนียํ อุปฏฺฐาเปยฺย  โย ปจฺฉา คามโต ปิณฺฑาย ปฏิกฺกเมยฺย สจสฺส ภุตฺตาวเสโส สเจ อากงฺเขยฺย ภุญฺเชยฺย โน เจ อากงฺเขยฺย อปฺปหริเต วา ฉฑฺเฑยฺย อปฺปาณเก วา อุทเก โอปิลาเปยฺย โส อาสนํ อุทฺธเรยฺย ปาโททกํ ปาทปีฐํ ปาทกถลิกํ ปฏิสาเมยฺย อวกฺการปาตึ โธวิตฺวา ปฏิสาเมยฺย ปานียํ ปริโภชนียํ ปฏิสาเมยฺย ภตฺตคฺคํ สมฺมชฺเชยฺย  โย ปสฺเสยฺย ปานียฆฏํ วา ปริโภชนียฆฏํ วา วจฺจฆฏํ วา ริตฺตํ ตุจฺฉํ โส อุปฏฺฐาเปยฺย สจสฺส โหติ อวิสยฺหํ หตฺถวิกาเรน ทุติยํ อามนฺเตตฺวา หตฺถวิลงฺฆเกน อุปฏฺฐาเปยฺย น ตฺเวว ตปฺปจฺจยา วาจํ ภินฺเทยฺย เอวํ โข มยํ สมคฺคา สมฺโมทมานา อวิวทมานา ผาสุกํ วสฺสํ วเสยฺยาม น จ ปิณฺฑเกน กิลเมยฺยามา”ติ.  อถ โข เต ภิกฺขู อญฺญมญฺญํ เนว อาลปิ๎สุ น สลฺลปิ๎สุ. 
tena kho pana samayena aññatarasmiṃ āvāse tadahu pavāraṇāya dve bhikkhū viharanti.  atha kho tesaṃ bhikkhūnaṃ etad ahosi: bhagavatā anuññātaṃ pañcannaṃ saṃghe pavāretuṃ, catunnaṃ aññamaññaṃ pavāretuṃ, tiṇṇannaṃ aññamaññaṃ pavāretuṃ, mayañ c’ amhā dve janā.  kathaṃ nu kho amhehi pavāretabban ti.  bhagavato etam atthaṃ ārocesuṃ.  anujānāmi bhikkhave dvinnaṃ aññamaññaṃ pavāretuṃ. |5| 
โย ปฐมํ คามโต ปิณฺฑาย ปฏิกฺกมติ โส อาสนํ ปญฺญเปติ ปาโททกํ ปาทปีฐํ ปาทกถลิกํ อุปนิกฺขิปติ อวกฺการปาตึ โธวิตฺวา อุปฏฺฐาเปติ ปานียํ ปริโภชนียํ อุปฏฺฐาเปติ  โย ปจฺฉา คามโต ปิณฺฑาย ปฏิกฺกมติ สเจ โหติ ภุตฺตาวเสโส สเจ อากงฺขติ ภุญฺชติ โน เจ อากงฺขติ อปฺปหริเต วา ฉฑฺเฑติ อปฺปาณเก วา อุทเก โอปิลาเปติ โส อาสนํ อุทฺธรติ ปาโททกํ ปาทปีฐํ ปาทกถลิกํ ปฏิสาเมติ อวกฺการปาตึ โธวิตฺวา ปฏิสาเมติ ปานียํ ปริโภชนียํ ปฏิสาเมติ ภตฺตคฺคํ สมฺมชฺชติ.  โย ปสฺสติ ปานียฆฏํ วา ปริโภชนียฆฏํ วา วจฺจฆฏํ วา ริตฺตํ ตุจฺฉํ โส อุปฏฺฐาเปติ.  สจสฺส โหติ อวิสยฺหํ หตฺถวิกาเรน ทุติยํ อามนฺเตตฺวา หตฺถวิลงฺฆเกน อุปฏฺฐาเปติ น ตฺเวว ตปฺปจฺจยา วาจํ ภินฺทติ.  อาจิณฺณํ โข ปเนตํ วสฺสํวุฏฺฐานํ ภิกฺขูนํ ภควนฺตํ ทสฺสนาย อุปสงฺกมิตุํ. 
evañ ca pana bhikkhave pavāretabbaṃ.  therena bhikkhunā ekaṃsaṃ uttarāsaṅgaṃ karitvā ukkuṭikaṃ nisīditvā añjaliṃ paggahetvā navo bhikkhu evam assa vacanīyo: ahaṃ āvuso āyasmantaṃ pavāremi diṭṭhena vā sutena vā parisaṅkāya vā, vadatu maṃ āyasmā anukampaṃ upādāya, passanto paṭikarissāmi.  dutiyam pi ...tatiyam pi āvuso ...paṭikarissāmīti.navakena bhikkhunā ekaṃsaṃ ...paggahetvā thero bhikkhu evam assa vacanīyo: ahaṃ bhante āyasmantaṃ pavāremi diṭṭhena vā ...dutiyam pi ...tatiyam pi ...paṭikarissāmīti. |6| 
อถ โข เต ภิกฺขู วสฺสํวุฏฺฐา เตมาสจฺจเยน เสนาสนํ สํสาเมตฺวา ปตฺตจีวรมาทาย เยน สาวตฺถิ เตน ปกฺกมึสุ.  อนุปุพฺเพน เยน สาวตฺถิ เชตวนํ อนาถปิณฺฑิกสฺส อาราโม เยน ภควา เตนุปสงฺกมึสุ อุปสงฺกมิตฺวา ภควนฺตํ อภิวาเทตฺวา เอกมนฺตํ นิสีทึสุ.  อาจิณฺณํ โข ปเนตํ พุทฺธานํ ภควนฺตานํ อาคนฺตุเกหิ ภิกฺขูหิ สทฺธึ ปฏิสมฺโมทิตุํ. 
tena kho pana samayena aññatarasmiṃ āvāse tadahu pavāraṇāya eko bhikkhu viharati.  atha kho tassa bhikkhuno etad ahosi: bhagavatā anuññātaṃ pañcannaṃ saṃghe pavāretuṃ, catunnaṃ aññamaññaṃ pavāretuṃ, tiṇṇannaṃ aññamaññaṃ pavāretuṃ, dvinnaṃ aññamaññaṃ pavāretuṃ, ahañ c’ amhi ekako.  kathaṃ nu kho mayā pavāretabban ti.  bhagavato etam atthaṃ ārocesuṃ. |7| 
อถ โข ภควา เต ภิกฺขู เอตทโวจ “กจฺจิ ภิกฺขเว ขมนียํ กจฺจิ ยาปนียํ กจฺจิ สมคฺคา สมฺโมทมานา อวิวทมานา ผาสุกํ วสฺสํ วสิตฺถ น จ ปิณฺฑเกน กิลมิตฺถา”ติ?  “ขมนียํ ภควา ยาปนียํ ภควา. สมคฺคา จ มยํ ภนฺเต สมฺโมทมานา อวิวทมานา ผาสุกํ วสฺสํ วสิมฺหา น จ ปิณฺฑเกน กิลมิมฺหา”ติ.  ชานนฺตาปิ ตถาคตา ปุจฺฉนฺติ ชานนฺตาปิ น ปุจฺฉนฺติ. กาลํ วิทิตฺวา ปุจฺฉนฺติ กาลํ วิทิตฺวา น ปุจฺฉนฺติ. อตฺถสํหิตํ ตถาคตา ปุจฺฉนฺติ โน อนตฺถสํหิตํ. อนตฺถสํหิเต เสตุฆาโต ตถาคตานํ.  ทฺวีหากาเรหิ พุทฺธา ภควนฺโต ภิกฺขู ปฏิปุจฺฉนฺติ ธมฺมํ วา เทเสสฺสาม สาวกานํ วา สิกฺขาปทํ ปญฺญเปสฺสามาติ. 
idha pana bhikkhave aññatarasmiṃ āvāse tadahu pavāraṇāya eko bhikkhu viharati.  tena bhikkhave bhikkhunā yattha bhikkhū paṭikkamanti upaṭṭhānasālāya vā maṇḍape vā rukkhamūle vā, sa deso sammajjitvā pāniyaṃ paribhojaniyaṃ upaṭṭhāpetvā āsanaṃ paññāpetvā padīpaṃ katvā nisīditabbaṃ.  sace aññe bhikkhū āgacchanti, tehi saddhiṃ pavāretabbaṃ, no ce āgacchanti, ajja me pavāraṇā ’ti adhiṭṭhātabbaṃ.  no ce adhiṭṭhaheyya, āpatti dukkaṭassa. |8| 
อถ โข ภควา เต ภิกฺขู เอตทโวจ “ยถากถํ ปน ตุมฺเห ภิกฺขเว สมคฺคา สมฺโมทมานา อวิวทมานา ผาสุกํ วสฺสํ วสิตฺถ น จ ปิณฺฑเกน กิลมิตฺถา”ติ.  อิธ มยํ ภนฺเต สมฺพหุลา สนฺทิฏฺฐา สมฺภตฺตา ภิกฺขู โกสเลสุ ชนปเท อญฺญตรสฺมึ อาวาเส วสฺสํ อุปคจฺฉิมฺหา.  เตสํ โน ภนฺเต อมฺหากํ เอตทโหสิ “เกน นุ โข มยํ อุปาเยน สมคฺคา สมฺโมทมานา อวิวทมานา ผาสุกํ วสฺสํ วเสยฺยาม น จ ปิณฺฑเกน กิลเมยฺยามา”ติ.  เตสํ โน ภนฺเต อมฺหากํ เอตทโหสิ “สเจ โข มยํ อญฺญมญฺญํ เนว อาลเปยฺยาม น สลฺลเปยฺยาม โย ปฐมํ คามโต ปิณฺฑาย ปฏิกฺกเมยฺย โส อาสนํ ปญฺญเปยฺย ปาโททกํ ปาทปีฐํ ปาทกถลิกํ อุปนิกฺขิเปยฺย อวกฺการปาตึ โธวิตฺวา อุปฏฺฐาเปยฺย ปานียํ ปริโภชนียํ อุปฏฺฐาเปยฺย โย ปจฺฉา คามโต ปิณฺฑาย ปฏิกฺกเมยฺย สจสฺส ภุตฺตาวเสโส สเจ อากงฺเขยฺย ภุญฺเชยฺย โน เจ อากงฺเขยฺย อปฺปหริเต วา ฉฑฺเฑยฺย อปฺปาณเก วา อุทเก โอปิลาเปยฺย โส อาสนํ อุทฺธเรยฺย ปาโททกํ ปาทปีฐํ ปาทกถลิกํ ปฏิสาเมยฺย อวกฺการปาตึ โธวิตฺวา ปฏิสาเมยฺย ปานียํ ปริโภชนียํ ปฏิสาเมยฺย ภตฺตคฺคํ สมฺมชฺเชยฺย โย ปสฺเสยฺย ปานียฆฏํ วา ปริโภชนียฆฏํ วา วจฺจฆฏํ วา ริตฺตํ ตุจฺฉํ โส อุปฏฺฐาเปยฺย สจสฺส โหติ อวิสยฺหํ หตฺถวิกาเรน ทุติยํ อามนฺเตตฺวา หตฺถวิลงฺฆเกน อุปฏฺฐาเปยฺย น ตฺเวว ตปฺปจฺจยา วาจํ ภินฺเทยฺย เอวํ โข มยํ สมคฺคา สมฺโมทมานา อวิวทมานา ผาสุกํ วสฺสํ วเสยฺยาม น จ ปิณฺฑเกน กิลเมยฺยามา”ติ. 
tatra bhikkhave yattha pañca bhikkhū viharanti, na ekassa pavāraṇaṃ āharitvā catūhi saṃghe pavāretabbaṃ.  pavāreyyuṃ ce, āpatti dukkaṭassa.  tatra bhikkhave yattha cattāro bhikkhū viharanti, na ekassa pavāraṇaṃ āharitvā tīhi aññamaññaṃ pavāretabbaṃ.  pavāreyyuṃ ce, āpatti dukkaṭassa.  tatra bhikkhave yattha tayo bhikkhū viharanti, (164) na ekassa pavāraṇaṃ āharitvā dvīhi aññamaññaṃ pavāretabbaṃ.  pavāreyyuṃ ce, āpatti dukkaṭassa.  tatra bhikkhave yattha dve bhikkhū viharanti, na ekassa pavāraṇaṃ āharitvā ekena adhiṭṭhātabbaṃ.  adhiṭṭhaheyya ce, āpatti dukkaṭassā ’ti. |9| 
อถ โข มยํ ภนฺเต อญฺญมญฺญํ เนว อาลปิมฺหา น สลฺลวิมฺหา.  โย ปฐมํ คามโต ปิณฺฑาย ปฏิกฺกมติ โส อาสนํ ปญฺญเปติ ปาโททกํ ปาทปีฐํ ปาทกถลิกํ อุปนิกฺขิปติ อวกฺการปาตึ โธวิตฺวา อุปฏฺฐาเปติ ปานียํ ปริโภชนียํ อุปฏฺฐาเปติ. โย ปจฺฉา คามโต ปิณฺฑาย ปฏิกฺกมติ สเจ โหติ ภุตฺตาวเสโส สเจ อากงฺขติ ภุญฺชติ โน เจ อากงฺขติ อปฺปหริเต วา ฉฑฺเฑติ อปฺปาณเก วา อุทเก โอปิลาเปติ โส อาสนํ อุทฺธรติ ปาโททกํ ปาทปีฐํ ปาทกถลิกํ ปฏิสาเมติ อวกฺการปาตึ โธวิตฺวา ปฏิสาเมติ ปานียํ ปริโภชนียํ ปฏิสาเมติ ภตฺตคฺคํ สมฺมชฺชติ. โย ปสฺสติ ปานียฆฏํ วา ปริโภชนียฆฏํ วา วจฺจฆฏํ วา ริตฺตํ ตุจฺฉํ โส อุปฏฺฐาเปติ. สจสฺส โหติ อวิสยฺหํ หตฺถวิกาเรน ทุติยํ อามนฺเตตฺวา หตฺถวิลงฺฆเกน อุปฏฺฐาเปติ น ตฺเวว ตปฺปจฺจยา วาจํ ภินฺทติ.  เอวํ โข มยํ ภนฺเต สมคฺคา สมฺโมทมานา อวิวทมานา ผาสุกํ วสฺสํ วสิมฺหา น จ ปิณฺฑเกน กิลมิมฺหาติ.  อถ โข ภควา ภิกฺขู อามนฺเตสิ “อผาสุญฺเญว กิรเม ภิกฺขเว โมฆปุริสา วุฏฺฐา สมานา ผาสุมฺหา วุฏฺฐาติ ปฏิชานนฺติ. ปสุสํวาสญฺเญว กิรเม ภิกฺขเว โมฆปุริสา วุฏฺฐา สมานา ผาสุมฺหา วุฏฺฐาติ ปฏิชานนฺติ. เอฬกสํวาสญฺเญว กิรเม ภิกฺขเว โมฆปุริสา วุฏฺฐา สมานา ผาสุมฺหา วุฏฺฐาติ ปฏิชานนฺติ. สปตฺตสํวาสญฺเญว กิรเม ภิกฺขเว โมฆปุริสา วุฏฺฐา สมานา ผาสุมฺหา วุฏฺฐาติ ปฏิชานนฺติ.  กถญฺหิ นามิเม ภิกฺขเว โมฆปุริสา มูคพฺพตํ ติตฺถิยสมาทานํ สมาทิยิสฺส”นฺติ.  เนตํ ภิกฺขเว อปฺปสนฺนานํ วา ปสาทายฯเปฯ  วิครหิตฺวา ธมฺมึ กถํ กตฺวา ภิกฺขู อามนฺเตสิ น ภิกฺขเว มูคพฺพตํ ติตฺถิยสมาทานํ สมาทิยิตพฺพํ.  โย สมาทิเยยฺย อาปตฺติ ทุกฺกฏสฺส. 
||5|| 
อนุชานามิ ภิกฺขเว วสฺสํวุฏฺฐานํ ภิกฺขูนํ ตีหิ ฐาเนหิ ปวาเรตุํ ทิฏฺเฐน วา สุเตน วา ปริสงฺกาย วา. 
tena kho pana samayena aññataro bhikkhu tadahu pavāraṇāya āpattiṃ āpanno hoti.  atha kho tassa bhikkhuno etad ahosi: bhagavatā paññattaṃ na sāpattikena pavāretabban ti, ahañ c’ amhi āpattiṃ āpanno.  kathaṃ nu kho mayā paṭipajjitabban ti.  bhagavato etam atthaṃ ārocesuṃ.  idha pana ...(comp.II.27.1,2.Read tadahu pavāraṇāya instead of tadah’ uposathe) ...paṭikarissāmīti vatvā pavāretabbaṃ, na tv eva tappaccayā pavāraṇāya antarāyo kātabbo ’ti. |1| 
สา โว ภวิสฺสติ อญฺญมญฺญานุโลมตา อาปตฺติวุฏฺฐานตา วินยปุเรกฺขารตา.  เอวญฺจ ปน ภิกฺขเว ปวาเรตพฺพํ.  พฺยตฺเตน ภิกฺขุนา ปฏิพเลน สงฺโฆ ญาเปตพฺโพ ๒๑๐. “สุณาตุ เม ภนฺเต สงฺโฆ.  อชฺช ปวารณา.  ยทิ สงฺฆสฺส ปตฺตกลฺลํ สงฺโฆ ปวาเรยฺยา”ติ. 
tena kho pana samayena aññataro bhikkhu pavārayamāno āpattiṃ sarati.  atha kho tassa bhikkhuno etad ahosi: bhagavatā paññattaṃ na sāpattikena pavāretabban ti, ahañ c’ amhi āpattiṃ āpanno.  kathaṃ nu kho mayā paṭipajjitabban ti.  bhagavato etam atthaṃ ārocesuṃ.  idha pana bhikkhave bhikkhu pavārayamāno āpattiṃ sarati.  tena bhikkhave bhikkhunā sāmantā bhikkhu evam assa vacanīyo: ahaṃ āvuso itthannāmaṃ āpattiṃ āpanno, ito vuṭṭhahitvā taṃ āpattiṃ paṭikarissāmīti vatvā pavāretabbaṃ, na tv eva tappaccayā pavāraṇāya antarāyo kātabbo. |2| 
เถเรน ภิกฺขุนา เอกํสํ อุตฺตราสงฺคํ กริตฺวา อุกฺกุฏิกํ นิสีทิตฺวา อญฺชลึ ปคฺคเหตฺวา เอวมสฺส วจนีโย “สงฺฆํ อาวุโส ปวาเรมิ ทิฏฺเฐน วา สุเตน วา ปริสงฺกาย วา. วทนฺตุ มํ อายสฺมนฺโต อนุกมฺปํ อุปาทาย. ปสฺสนฺโต ปฏิกริสฺสามิ.  ทุติยมฺปิ อาวุโส สงฺฆํ ปวาเรมิ ทิฏฺเฐน วา สุเตน วา ปริสงฺกาย วา. วทนฺตุ มํ อายสฺมนฺโต อนุกมฺปํ อุปาทาย. ปสฺสนฺโต ปฏิกริสฺสามิ. ตติยมฺปิ อาวุโส สงฺฆํ ปวาเรมิ ทิฏฺเฐน วา สุเตน วา ปริสงฺกาย วา. วทนฺตุ มํ อายสฺมนฺโต อนุกมฺปํ อุปาทาย. ปสฺสนฺโต ปฏิกริสฺสามี”ติ.  นวเกน ภิกฺขุนา เอกํสํ อุตฺตราสงฺคํ กริตฺวา อุกฺกุฏิกํ นิสีทิตฺวา อญฺชลึ ปคฺคเหตฺวา เอวมสฺส วจนีโย “สงฺฆํ ภนฺเต ปวาเรมิ ทิฏฺเฐน วา สุเตน วา ปริสงฺกาย วา. วทนฺตุ มํ อายสฺมนฺโต อนุกมฺปํ อุปาทาย. ปสฺสนฺโต ปฏิกริสฺสามิ. ทุติยมฺปิ ภนฺเต สงฺฆํฯเปฯ ตติยมฺปิ ภนฺเต สงฺฆํ ปวาเรมิ ทิฏฺเฐน วา สุเตน วา ปริสงฺกาย วา. วทนฺตุ มํ อายสฺมนฺโต อนุกมฺปํ อุปาทาย. ปสฺสนฺโต ปฏิกริสฺสามี”ติ.      ๒๑๑. เตน โข ปน สมเยน ฉพฺพคฺคิยา ภิกฺขู เถเรสุ ภิกฺขูสุ อุกฺกุฏิกํ นิสินฺเนสุ ปวารยมาเนสุ อาสเนสุ อจฺฉนฺติ. 
idha pana bhikkhave bhikkhu pavārayamāno āpattiyā vematiko hoti.  tena bhikkhave bhikkhunā ...(comp.II.27.4-8) ...paṭikarissatīti vatvā pavāretabbaṃ, na tv eva tappaccayā pavāraṇāya antarāyo kātabbo ’ti. |3| 
เย เต ภิกฺขู อปฺปิจฺฉาฯเปฯ เต อุชฺฌายนฺติ ขิยฺยนฺติ วิปาเจนฺติ “กถญฺหิ นาม ฉพฺพคฺคิยา ภิกฺขู เถเรสุ ภิกฺขูสุ อุกฺกุฏิกํ นิสินฺเนสุ ปวารยมาเนสุ อาสเนสุ อจฺฉิสฺสนฺตี”ติ.  อถ โข เต ภิกฺขู ภควโต เอตมตฺถํ อาโรเจสุํฯเปฯ 
||6|| 
“สจฺจํ กิร ภิกฺขเว ฉพฺพคฺคิยา ภิกฺขู เถเรสุ ภิกฺขูสุ อุกฺกุฏิกํ นิสินฺเนสุ ปวารยมาเนสุ อาสเนสุ อจฺฉนฺตี”ติ? “สจฺจํ ภควา”ติ. วิครหิ พุทฺโธ ภควาฯเปฯ “กถญฺหิ นาม เต ภิกฺขเว โมฆปุริสา เถเรสุ ภิกฺขูสุ อุกฺกุฏิกํ นิสินฺเนสุ ปวารยมาเนสุ อาสเนสุ อจฺฉิสฺส”นฺติ. 
paṭhamabhāṇavāraṃ niṭṭhitaṃ.  tena kho pana samayena aññatarasmiṃ āvāse tadahu pavāraṇāya sambahulā āvāsikā bhikkhū sannipatiṃsu pañca vā atirekā vā, te na jāniṃsu atth’ aññe āvāsikā bhikkhū anāgatā ’ti.  te dhammasaññino vinayasaññino vaggā samaggasaññino pavāresuṃ.  tehi pavāriyamāne ath’ aññe āvāsikā bhikkhū āgacchiṃsu bahutarā.  bhagavato etam atthaṃ ārocesuṃ. |1| 
เนตํ ภิกฺขเว อปฺปสนฺนานํ วา ปสาทาย ปสนฺนานํ วา ภิยฺโยภาวายฯเปฯ  วิครหิตฺวา ธมฺมึ กถํ กตฺวา ภิกฺขู อามนฺเตสิ “น ภิกฺขเว เถเรสุ ภิกฺขูสุ อุกฺกุฏิกํ นิสินฺเนสุ ปวารยมาเนสุ อาสเนสุ อจฺฉิตพฺพํ.  โย อจฺเฉยฺย อาปตฺติ ทุกฺกฏสฺส.  อนุชานามิ ภิกฺขเว สพฺเพเหว อุกฺกุฏิกํ นิสินฺเนหิ ปวาเรตุ”นฺติ.  เตน โข ปน สมเยน อญฺญตโร เถโร ชราทุพฺพโล ยาว สพฺเพ ปวาเรนฺตีติ อุกฺกุฏิกํ นิสินฺโน อาคมยมาโน มุจฺฉิโต ปปติ. 
idha pana bhikkhave aññatarasmiṃ āvāse tadahu pavāraṇāya sambahulā āvāsikā bhikkhū sannipatanti (165) pañca vā atirekā vā, te na jānanti atth’ aññe āvāsikā bhikkhū anāgatā ’ti.  te dhammasaññino vinayasaññino vaggā samaggasaññino pavārenti.  tehi pavāriyamāne ath’ aññe āvāsikā bhikkhū āgacchanti bahutarā.  tehi bhikkhave bhikkhūhi puna pavāretabbaṃ, pavāritānaṃ anāpatti. |2| 
ภควโต เอตมตฺถํ อาโรเจสุํ.  อนุชานามิ ภิกฺขเว ตทมนฺตรา อุกฺกุฏิกํ นิสีทิตุํ ยาว ปวาเรติ ปวาเรตฺวา อาสเน นิสีทิตุนฺติ. (อผาสุกวิหาโร นิฏฺฐิโต.)     
idha pana bhikkhave aññatarasmiṃ āvāse tadahu pavāraṇāya ...tehi pavāriyamāne ath’ aññe āvāsikā bhikkhū āgacchanti samasamā.  pavāritā supavāritā, avasesehi pavāretabbaṃ, pavāritānaṃ anāpatti.  idha pana bhikkhave aññatarasmiṃ āvāse tadahu pavāraṇāya ...tehi pavāriyamāne ath’ aññe āvāsikā bhikkhū āgacchanti thokatarā.  pavāritāsupavāritā, avasesehi pavāretabbaṃ, pavāritānaṃ anāpatti. |3| 
(๑๒๑. ปวารณาเภทา) ๒๑๒. อถ โข ภิกฺขูนํ เอตทโหสิ “กติ นุ โข ปวารณา”ติ?  ภควโต เอตมตฺถํ อาโรเจสุํ.  ทฺเวมา ภิกฺขเว ปวารณา จาตุทฺทสิกา จ ปนฺนรสิกา จ.  อิมา โข ภิกฺขเว ทฺเว ปวารณาติ. 
idha pana bhikkhave aññatarasmiṃ āvāse tadahu pavāraṇāya ...tehi pavāritamatte ath’ aññe āvāsikā bhikkhū āgacchanti bahutarā.  tehi bhikkhave bhikkhūhi puna pavāretabbaṃ, pavāritānaṃ anāpatti.  idha pana ... tehi pavāritamatte ath’ aññe āvāsikā bhikkhū āgacchanti samasamā.  pavāritā supavāritā, tesaṃ santike pavāretabbaṃ, pavāritānaṃ anāpatti.  idha pana ... tehi pavāritamatte ath’ aññe āvasikā bhikkhū āgacchanti thokatarā.  pavāritā supavāritā, tesaṃ santike pavāretabbaṃ, pavāritānaṃ anāpatti. |4| 
อถ โข ภิกฺขูนํ เอตทโหสิ “กติ นุ โข ปวารณกมฺมานี”ติ?  ภควโต เอตมตฺถํ อาโรเจสุํ.  จตฺตาริมานิ ภิกฺขเว ปวารณกมฺมานิ อธมฺเมน วคฺคํ ปวารณกมฺมํ อธมฺเมน สมคฺคํ ปวารณกมฺมํ ธมฺเมน วคฺคํ ปวารณกมฺมํ ธมฺเมน สมคฺคํ ปวารณกมฺมํ. ตตฺร ภิกฺขเว ยทิทํ อธมฺเมน วคฺคํ ปวารณกมฺมํ น ภิกฺขเว เอวรูปํ ปวารณกมฺมํ กาตพฺพํ น จ มยา เอวรูปํ ปวารณกมฺมํ อนุญฺญาตํ. ตตฺร ภิกฺขเว ยทิทํ อธมฺเมน สมคฺคํ ปวารณกมฺมํ น ภิกฺขเว เอวรูปํ ปวารณกมฺมํ กาตพฺพํ น จ มยา เอวรูปํ ปวารณกมฺมํ อนุญฺญาตํ. ตตฺร ภิกฺขเว ยทิทํ ธมฺเมน วคฺคํ ปวารณกมฺมํ น ภิกฺขเว เอวรูปํ ปวารณกมฺมํ กาตพฺพํ น จ มยา เอวรูปํ ปวารณกมฺมํ อนุญฺญาตํ. ตตฺร ภิกฺขเว ยทิทํ ธมฺเมน สมคฺคํ ปวารณกมฺมํ เอวรูปํ ภิกฺขเว ปวารณกมฺมํ กาตพฺพํ เอวรูปญฺจ มยา ปวารณกมฺมํ อนุญฺญาตํ. ตสฺมาติห ภิกฺขเว เอวรูปํ ปวารณกมฺมํ กริสฺสาม ยทิทํ ธมฺเมน สมคฺคนฺติ เอวญฺหิ โว ภิกฺขเว สิกฺขิตพฺพนฺติ. (ปวารณาเภทา นิฏฺฐิตา.)  (๑๒๒. ปวารณาทานานุชานนา) ๒๑๓. อถ โข ภควา ภิกฺขู อามนฺเตสิ “สนฺนิปตถ ภิกฺขเว. สงฺโฆ ปวาเรสฺสตี”ติ.  เอวํ วุตฺเต อญฺญตโร ภิกฺขุ ภควนฺตํ เอตทโวจ “อตฺถิ ภนฺเต ภิกฺขุ คิลาโน โส อนาคโต”ติ.  อนุชานามิ ภิกฺขเว คิลาเนน ภิกฺขุนา ปวารณํ ทาตุํ. 
idha pana ...tehi pavāritamatte avuṭṭhitāya parisāya ath’ aññe ...(= 4) ...pavāritānaṃ anāpatti.idha pana ...tehi pavāritamatte ekaccāya vuṭṭhitāya parisāya ...(= 4) ...pavāritānaṃ anāpatti.  idha pana ...tehi pavāritamatte sabbāya vuṭṭhitāya parisāya ...(= 4) ...pavāritānaṃ anāpatti. |5| 
เอวญฺจ ปน ภิกฺขเว ทาตพฺพา  เตน คิลาเนน ภิกฺขุนา เอกํ ภิกฺขุํ อุปสงฺกมิตฺวา เอกํสํ อุตฺตราสงฺคํ กริตฺวา อุกฺกุฏิกํ นิสีทิตฺวา อญฺชลึ ปคฺคเหตฺวา เอวมสฺส วจนีโย “ปวารณํ ทมฺมิ ปวารณํ เม หร ปวารณํ เม อาโรเจหิ มมตฺถาย ปวาเรหี”ติ 
anāpattipannarasakaṃ niṭṭhitaṃ. ||7|| 
กาเยน วิญฺญาเปติ วาจาย วิญฺญาเปติ กาเยน วาจาย วิญฺญาเปติ ทินฺนา โหติ ปวารณา 
idha pana bhikkhave aññatarasmiṃ āvāse tadahu pavāraṇāya sambahulā āvāsikā bhikkhū sannipatanti pañca vā atirekā vā, te jānanti atth’ aññe āvāsikā bhikkhū anāgatā ’ti.  te dhammasaññino vinayasaññino vaggā vaggasaññino pavārenti.  tehi pavāriyamāne ath’ aññe āvāsikā bhikkhū āgacchanti bahutarā.  tehi bhikkhave bhikkhūhi puna pavāretabbaṃ, pavāritānaṃ āpatti dukkaṭassa. |1| 
น กาเยน วิญฺญาเปติ น วาจาย วิญฺญาเปติ น กาเยน วาจาย วิญฺญาเปติ น ทินฺนา โหติ ปวารณา.  เอวญฺเจตํ ลเภถ อิจฺเจตํ กุสลํ.  โน เจ ลเภถ โส ภิกฺขเว คิลาโน ภิกฺขุ มญฺเจน วา ปีเฐน วา สงฺฆมชฺเฌ อาเนตฺวา ปวาเรตพฺพํ.  สเจ ภิกฺขเว คิลานุปฏฺฐากานํ ภิกฺขูนํ เอตทโหสิ “สเจ โข มยํ คิลานํ ฐานา จาเวสฺสาม อาพาโธ วา อภิวฑฺฒิสฺสติ กาลํกิริยา วา ภวิสฺสตี”ติ น ภิกฺขเว คิลาโน ภิกฺขุ ฐานา จาเวตพฺโพ. สงฺเฆน ตตฺถ คนฺตฺวา ปวาเรตพฺพํ น ตฺเวว วคฺเคน สงฺเฆน ปวาเรตพฺพํ. 
idha pana ...tehi pavāriyamāne ath’ aññe āvāsikā (166) bhikkhū āgacchanti samasamā.  pavāritā supavāritā, avasesehi pavāretabbaṃ, pavāritānaṃ āpatti dukkaṭassa.  idha pana ...tehi pavāriyamāne ath’ aññe āvāsikā bhikkhū āgacchanti thokatarā.  pavāritā supavāritā, avasesehi pavāretabbaṃ, pavāritānaṃ āpatti dukkaṭassa. |2| 
ปวาเรยฺย เจ อาปตฺติ ทุกฺกฏสฺส.  ปวารณหารโก เจ ภิกฺขเว ทินฺนาย ปวารณาย ตตฺเถว ปกฺกมติ อญฺญสฺส ทาตพฺพา ปวารณา. ปวารณหารโก เจ ภิกฺขเว ทินฺนาย ปวารณาย ตตฺเถว วิพฺภมติฯเปฯ กาลํกโรติ… สามเณโร ปฏิชานาติ… สิกฺขํ ปจฺจกฺขาตโก ปฏิชานาติ… อนฺติมวตฺถุํ อชฺฌาปนฺนโก ปฏิชานาติ… อุมฺมตฺตโก ปฏิชานาติ… ขิตฺตจิตฺโต ปฏิชานาติ… เวทนาฏฺโฏ ปฏิชานาติ… อาปตฺติยา อทสฺสเน อุกฺขิตฺตโก ปฏิชานาติ… อาปตฺติยา อปฺปฏิกมฺเม อุกฺขิตฺตโก ปฏิชานาติ… ปาปิกาย ทิฏฺฐิยา อปฺปฏินิสฺสคฺเค อุกฺขิตฺตโก ปฏิชานาติ… ปณฺฑโก ปฏิชานาติ… เถยฺยสํวาสโก ปฏิชานาติ… ติตฺถิยปกฺกนฺตโก ปฏิชานาติ… ติรจฺฉานคโต ปฏิชานาติ… มาตุฆาตโก ปฏิชานาติ… ปิตุฆาตโก ปฏิชานาติ… อรหนฺตฆาตโก ปฏิชานาติ… ภิกฺขุนิทูสโก ปฏิชานาติ… สงฺฆเภทโก ปฏิชานาติ โลหิตุปฺปาทโก ปฏิชานาติ… อุภโตพฺยญฺชนโก ปฏิชานาติ อญฺญสฺส ทาตพฺพา ปวารณา. ปวารณหารโก เจ ภิกฺขเว ทินฺนาย ปวารณาย อนฺตรามคฺเค ปกฺกมติ อนาหฏา โหติ ปวารณา. ปวารณหารโก เจ ภิกฺขเว ทินฺนาย ปวารณาย อนฺตรามคฺเค วิพฺภมติฯเปฯ กาลํกโรติ… สามเณโร ปฏิชานาติ… สิกฺขํ ปจฺจกฺขาตโก ปฏิชานาติ… อนฺติมวตฺถุํ อชฺฌาปนฺนโก ปฏิชานาติ… อุมฺมตฺตโก ปฏิชานาติ… ขิตฺตจิตฺโต ปฏิชานาติ… เวทนาฏฺโฏ ปฏิชานาติ… อาปตฺติยา อทสฺสเน อุกฺขิตฺตโก ปฏิชานาติ… อาปตฺติยา อปฺปฏิกมฺเม อุกฺขิตฺตโก ปฏิชานาติ… ปาปิกาย ทิฏฺฐิยา อปฺปฏินิสฺสคฺเค อุกฺขิตฺตโก ปฏิชานาติ… ปณฺฑโก ปฏิชานาติ… เถยฺยสํวาสโก ปฏิชานาติ… ติตฺถิยปกฺกนฺตโก ปฏิชานาติ… ติรจฺฉานคโต ปฏิชานาติ… มาตุฆาตโก ปฏิชานาติ… ปิตุฆาตโก ปฏิชานาติ… อรหนฺตฆาตโก ปฏิชานาติ… ภิกฺขุนิทูสโก ปฏิชานาติ… สงฺฆเภทโก ปฏิชานาติ… โลหิตุปฺปาทโก ปฏิชานาติ… อุภโตพฺยญฺชนโก ปฏิชานาติ อนาหฏา โหติ ปวารณา. ปวารณหารโก เจ ภิกฺขเว ทินฺนาย ปวารณาย สงฺฆปฺปตฺโต ปกฺกมติ อาหฏา โหติ ปวารณา. ปวารณหารโก เจ ภิกฺขเว ทินฺนาย ปวารณาย สงฺฆปฺปตฺโต วิพฺภมติฯเปฯ กาลํกโรติ… สามเณโร ปฏิชานาติ… สิกฺขํ ปจฺจกฺขาตโก ปฏิชานาติ… อนฺติมวตฺถุํ อชฺฌาปนฺนโก ปฏิชานาติ… อุมฺมตฺตโก ปฏิชานาติ… ขิตฺตจิตฺโต ปฏิชานาติ… เวทนาฏฺโฏ ปฏิชานาติ… อาปตฺติยา อทสฺสเน อุกฺขิตฺตโก ปฏิชานาติ… อาปตฺติยา อปฺปฏิกมฺเม อุกฺขิตฺตโก ปฏิชานาติ… ปาปิกาย ทิฏฺฐิยา อปฺปฏินิสฺสคฺเค อุกฺขิตฺตโก ปฏิชานาติ… ปณฺฑโก ปฏิชานาติ… เถยฺยสํวาสโก ปฏิชานาติ… ติตฺถิยปกฺกนฺตโก ปฏิชานาติ… ติรจฺฉานคโต ปฏิชานาติ… มาตุฆาตโก ปฏิชานาติ… ปิตุฆาตโก ปฏิชานาติ… อรหนฺตฆาตโก ปฏิชานาติ… ภิกฺขุนิทูสโก ปฏิชานาติ… สงฺฆเภทโก ปฏิชานาติ… โลหิตุปฺปาทโก ปฏิชานาติ… อุภโตพฺยญฺชนโก ปฏิชานาติ อาหฏา โหติ ปวารณา. ปวารณหารโก เจ ภิกฺขเว ทินฺนาย ปวารณาย สงฺฆปฺปตฺโต สุตฺโต นาโรเจติ อาหฏา โหติ ปวารณา. ปวารณหารกสฺส อนาปตฺติ ปวารณหารโก เจ ภิกฺขเว ทินฺนาย ปวารณาย สงฺฆปฺปตฺโต ปมตฺโต นาโรเจติฯเปฯ สมาปนฺโน นาโรเจติ อาหฏา โหติ ปวารณา. ปวารณหารกสฺส อนาปตฺติ. ปวารณหารโก เจ ภิกฺขเว ทินฺนาย ปวารณาย สงฺฆปฺปตฺโต สญฺจิจฺจ นาโรเจติ อาหฏา โหติ ปวารณา. ปวารณหารกสฺส อาปตฺติ ทุกฺกฏสฺส.  อนุชานามิ ภิกฺขเว ตทหุ ปวารณาย ปวารณํ เทนฺเตน ฉนฺทมฺปิ ทาตุํ สนฺติ สงฺฆสฺส กรณียนฺติ. (ปวารณาทานานุชานนา นิฏฺฐิตา.)   
idha pana ...tehi pavāritamatte --la-- avuṭṭhitāya parisāya -- la -ekaccāya vuṭṭhitāya parisāya --la-- sabbāya vuṭṭhitāya parisāya ath’ aññe āvāsikā bhikkhū āgacchanti bahutarā --la-- samasamā --la-- thokatarā.  pavāritā supavāritā, tesaṃ santike pavāretabbaṃ, pavāritānaṃ āpatti dukkaṭassa. |3| 
  (๑๒๓. ญาตกาทิคฺคหณกถา) ๒๑๔. เตน โข ปน สมเยน อญฺญตรํ ภิกฺขุํ ตทหุ ปวารณาย ญาตกา คณฺหึสุ. 
vaggāvaggasaññinopannarasakaṃ niṭṭhitaṃ. ||8|| 
ภควโต เอตมตฺถํ อาโรเจสุํ. 
idha pana bhikkhave aññatarasmiṃ āvāse tadahu pavāraṇāya sambahulā āvāsikā bhikkhū sannipatanti pañca vā atirekā vā, te jānanti atth’ aññe āvāsikā bhikkhū anāgatā ’ti.  te kappati nu kho amhākaṃ pavāretuṃ na nu kho kappatīti vematikā pavārenti.  tehi pavāriyamāne ath’ aññe āvāsikā bhikkhū āgacchanti bahutarā.  tehi bhikkhave bhikkhūhi puna pavāretabbaṃ, pavāritānaṃ āpatti dukkaṭassa. |1| 
อิธ ปน ภิกฺขเว ภิกฺขุํ ตทหุ ปวารณาย ญาตกา คณฺหนฺติ.  เต ญาตกา ภิกฺขูหิ เอวมสฺสุ วจนียา “อิงฺฆ ตุมฺเห อายสฺมนฺโต อิมํ ภิกฺขุํ มุหุตฺตํ มุญฺจถ ยาวายํ ภิกฺขุ ปวาเรตี”ติ.  เอวญฺเจตํ ลเภถ อิจฺเจตํ กุสลํ. โน เจ ลเภถ เต ญาตกา ภิกฺขูหิ เอวมสฺสุ วจนียา “อิงฺฆ ตุมฺเห อายสฺมนฺโต มุหุตฺตํ เอกมนฺตํ โหถ ยาวายํ ภิกฺขุ ปวารณํ เทตี”ติ.  เอวญฺเจตํ ลเภถ อิจฺเจตํ กุสลํ. โน เจ ลเภถ เต ญาตกา ภิกฺขูหิ เอวมสฺสุ วจนียา “อิงฺฆ ตุมฺเห อายสฺมนฺโต อิมํ ภิกฺขุํ มุหุตฺตํ นิสฺสีมํ เนถ ยาว สงฺโฆ ปวาเรตี”ติ. 
idha pana ...(comp.IV.8.2,3) ...tesaṃ santike pavāretabbaṃ, pavāritānaṃ āpatti dukkaṭassa. |2| 
เอวญฺเจตํ ลเภถ อิจฺเจตํ กุสลํ. โน เจ ลเภถ น ตฺเวว วคฺเคน สงฺเฆน ปวาเรตพฺพํ. 
vematikāpannarasakaṃ niṭṭhitaṃ. ||9|| 
ปวาเรยฺย เจ อาปตฺติ ทุกฺกฏสฺส. 
idha pana bhikkhave aññatarasmiṃ āvāse tadahu pavāraṇāya sambahulā āvāsikā bhikkhū sannipatanti pañca vā atirekā vā, te jānanti atth’ aññe āvāsikā bhikkhū anāgatā ’ti.  te kappat’ eva amhākaṃ pavāretuṃ, n’ amhākaṃ na kappatīti kukkuccapakatā pavārenti.  tehi pavāriyamāne ath’ aññe āvāsikā bhikkhū āgacchanti bahutarā.  tehi bhikkhave bhikkhūhi puna pavāretabbaṃ, pavāritānaṃ āpatti dukkaṭassa. |1| 
อิธ ปน ภิกฺขเว ภิกฺขุํ ตทหุ ปวารณาย ราชาโน คณฺหนฺติฯเปฯ โจรา คณฺหนฺติ ธุตฺตา คณฺหนฺติ… ภิกฺขุปจฺจตฺถิกา คณฺหนฺติ.  เต ภิกฺขุปจฺจตฺถิกา ภิกฺขูหิ เอวมสฺสุ วจนียา “อิงฺฆ ตุมฺเห อายสฺมนฺโต อิมํ ภิกฺขุํ มุหุตฺตํ มุญฺจถ ยาวายํ ภิกฺขุ ปวาเรตี”ติ เอวญฺเจตํ ลเภถ อิจฺเจตํ กุสลํ. โน เจ ลเภถ เต ภิกฺขุปจฺจตฺถิกา ภิกฺขูหิ เอวมสฺสุ วจนียา “อิงฺฆ ตุมฺเห อายสฺมนฺโต มุหุตฺตํ เอกมนฺตํ โหถ ยาวายํ ภิกฺขุ ปวารณํ เทตี”ติ. เอวญฺเจตํ ลเภถ อิจฺเจตํ กุสลํ. โน เจ ลเภถ เต ภิกฺขุปจฺจตฺถิกา ภิกฺขูหิ เอวมสฺสุ วจนียา “อิงฺฆ ตุมฺเห อายสฺมนฺโต อิมํ ภิกฺขุํ มุหุตฺตํ นิสฺสีมํ เนถ ยาว สงฺโฆ ปวาเรตี”ติ. เอวญฺเจตํ ลเภถ อิจฺเจตํ กุสลํ. โน เจ ลเภถ น ตฺเวว วคฺเคน สงฺเฆน ปวาเรตพฺพํ. ปวาเรยฺย เจ อาปตฺติ ทุกฺกฏสฺสาติ. ( ญาตกาทิคฺคหณกถา นิฏฺฐิตา.)     
idha pana ...(comp.IV.8.2,3) ...tesaṃ santike pavāretabbaṃ, pavāritānaṃ āpatti dukkaṭassa. |2| 
 
kukkuccapakatāpannarasakaṃ niṭṭhitaṃ. ||10|| 
(๑๒๔. สงฺฆปวารณาทิปฺปเภทา) ๒๑๕. เตน โข ปน สมเยน อญฺญตรสฺมึ อาวาเส ตทหุ ปวารณาย ปญฺจ ภิกฺขู วิหรนฺติ. 
idha pana bhikkhave aññatarasmiṃ āvāse tadahu pavā (167) raṇāya sambahulā āvāsikā bhikkhū sannipatanti pañca vā atirekā vā, te jānanti atth’ aññe āvāsikā bhikkhū anāgatā ’ti.  te nassante te vinassante te ko tehi attho ’ti bhedapurekkhārā pavārenti.  tehi pavāriyamāne ath’ aññe āvāsikā bhikkhū āgacchanti bahutarā.  tehi bhikkhave bhikkhūhi puna pavāretabbaṃ, pavāritānaṃ apatti thullaccayassa. |1| 
อถ โข เตสํ ภิกฺขูนํ เอตทโหสิ “ภควตา ปญฺญตฺตํ ‘สงฺเฆน ปวาเรตพฺพ’นฺติ. มยญฺจมฺหา ปญฺจ ชนา.  กถํ นุ โข อมฺเหหิ ปวาเรตพฺพ”นฺติ?  ภควโต เอตมตฺถํ อาโรเจสุํ.  อนุชานามิ ภิกฺขเว ปญฺจนฺนํ สงฺเฆ ปวาเรตุนฺติ. 
idha pana ...(comp.IV.8.2,3.Read āpatti thullaccayassa instead of āpatti dukkaṭassa; in the case of āgacchanti samasamā read pavāritā supavāritā, avasesehi pavāretabbaṃ) ...tesaṃ santike pavāretabbaṃ, pavāritānaṃ āpatti thullaccayassa. |2| 
๒๑๖. เตน โข ปน สมเยน อญฺญตรสฺมึ อาวาเส ตทหุ ปวารณาย จตฺตาโร ภิกฺขู วิหรนฺติ. 
bhedapurekkhārāpannarasakaṃ niṭṭhitaṃ. ||11|| 
อถ โข เตสํ ภิกฺขูนํ เอตทโหสิ “ภควตา อนุญฺญาตํ ปญฺจนฺนํ สงฺเฆ ปวาเรตุนฺติ. มยญฺจมฺหา จตฺตาโร ชนา. 
pañcasattatikaṃ niṭṭhitaṃ.  idha pana bhikkhave aññatarasmiṃ āvāse tadahu pavāraṇāya sambahulā āvāsikā bhikkhū sannipatanti pañca vā atirekā vā, te jānanti aññe āvāsikā bhikkhū antosīmaṃ okkamantīti.  te jānanti aññe āvāsikā bhikkhū antosīmaṃ okkantā ’ti.  te passanti aññe āvāsike bhikkhū antosīmaṃ okkamante.  te passanti aññe āvāsike bhikkhū antosīmaṃ okkante.  te suṇanti aññe āvāsikā bhikkhū antosīmaṃ okkamantīti.  te suṇanti aññe āvāsikā bhikkhū antosīmaṃ okkantā ’ti.  āvāsikena āvāsikā ekasatapañcasattati tikanayato, āvāsikena āgantukā, āgantukena āvāsikā, āgantukena āgantukā, peyyālamukhena satta tikasatāni honti. |1| 
กถํ นุ โข อมฺเหหิ ปวาเรตพฺพ”นฺติ?  ภควโต เอตมตฺถํ อาโรเจสุํ.  อนุชานามิ ภิกฺขเว จตุนฺนํ อญฺญมญฺญํ ปวาเรตุํ.  เอวญฺจ ปน ภิกฺขเว ปวาเรตพฺพํ. พฺยตฺเตน ภิกฺขุนา ปฏิพเลน เต ภิกฺขู ญาเปตพฺพา “สุณนฺตุ เม อายสฺมนฺโต.  อชฺช ปวารณา.  ยทายสฺมนฺตานํ ปตฺตกลฺลํ มยํ อญฺญมญฺญํ ปวาเรยฺยามา”ติ.  เถเรน ภิกฺขุนา เอกํสํ อุตฺตราสงฺคํ กริตฺวา อุกฺกุฏิกํ นิสีทิตฺวา อญฺชลึ ปคฺคเหตฺวา เต ภิกฺขู เอวมสฺสุ วจนียา “อหํ อาวุโส อายสฺมนฺเต ปวาเรมิ ทิฏฺเฐน วา สุเตน วา ปริสงฺกาย วา. วทนฺตุ มํ อายสฺมนฺโต อนุกมฺปํ อุปาทาย. ปสฺสนฺโต ปฏิกริสฺสามิ.  ทุติยมฺปิฯเปฯ ตติยมฺปิ อหํ อาวุโส อายสฺมนฺเต ปวาเรมิ ทิฏฺเฐน วา สุเตน วา ปริสงฺกาย วา. วทนฺตุ มํ อายสฺมนฺโต อนุกมฺปํ อุปาทาย. ปสฺสนฺโต ปฏิกริสฺสามี”ติ. นวเกน ภิกฺขุนา เอกํสํ อุตฺตราสงฺคํ กริตฺวา อุกฺกุฏิกํ นิสีทิตฺวา อญฺชลึ ปคฺคเหตฺวา เต ภิกฺขู เอวมสฺสุ วจนียา “อหํ ภนฺเต อายสฺมนฺเต ปวาเรมิ ทิฏฺเฐน วา สุเตน วา ปริสงฺกาย วา. วทนฺตุ มํ อายสฺมนฺโต อนุกมฺปํ อุปาทาย. ปสฺสนฺโต ปฏิกริสฺสามิ. ทุติยมฺปิฯเปฯ ตติยมฺปิ อหํ ภนฺเต อายสฺมนฺเต ปวาเรมิ ทิฏฺเฐน วา สุเตน วา ปริสงฺกาย วา. วทนฺตุ มํ อายสฺมนฺโต อนุกมฺปํ อุปาทาย. ปสฺสนฺโต ปฏิกริสฺสามี”ติ. 
||12|| 
เตน โข ปน สมเยน อญฺญตรสฺมึ อาวาเส ตทหุ ปวารณาย ตโย ภิกฺขู วิหรนฺติ. 
idha pana bhikkhave āvāsikānaṃ bhikkhūnaṃ cātuddaso hoti, āgantukānaṃ pannaraso ...(= II.34.1-35,5.Read pavāretabbaṃ, pavārenti, tadahu pavāraṇāya instead of uposatho kātabbo, uposathaṃ karonti, tadah’ uposathe) ...ajj’ eva gantun ti. |1| 
อถ โข เตสํ ภิกฺขูนํ เอตทโหสิ “ภควตา อนุญฺญาตํ ปญฺจนฺนํ สงฺเฆ ปวาเรตุํ จตุนฺนํ อญฺญมญฺญํ ปวาเรตุํ. มยญฺจมฺหา ตโย ชนา. 
||13|| 
กถํ นุ โข อมฺเหหิ ปวาเรตพฺพ”นฺติ? 
na bhikkhave bhikkhuniyā nisinnaparisāya pavāretabbaṃ.  yo pavāreyya, āpatti dukkaṭassa.  na bhikkhave sikkhamānāya, na sāmaṇerassa, na sāmaṇeriyā, na sikkhaṃ paccakkhātakassa, na antimavatthuṃ ajjhāpannakassa nisinnaparisāya pavāretabbaṃ.  yo pavāreyya, āpatti dukka (168) ṭassa. |1| 
ภควโต เอตมตฺถํ อาโรเจสุํ.  อนุชานามิ ภิกฺขเว ติณฺณํ อญฺญมญฺญํ ปวาเรตุํ.  เอวญฺจ ปน ภิกฺขเว ปวาเรตพฺพํ.  พฺยตฺเตน ภิกฺขุนา ปฏิพเลน เต ภิกฺขู ญาเปตพฺพา “สุณนฺตุ เม อายสฺมนฺตา. อชฺช ปวารณา. ยทายสฺมนฺตานํ ปตฺตกลฺลํ มยํ อญฺญมญฺญํ ปวาเรยฺยามา”ติ. เถเรน ภิกฺขุนา เอกํสํ อุตฺตราสงฺคํ กริตฺวา อุกฺกุฏิกํ นิสีทิตฺวา อญฺชลึ ปคฺคเหตฺวา เต ภิกฺขู เอวมสฺสุ วจนียา “อหํ อาวุโส อายสฺมนฺเต ปวาเรมิ ทิฏฺเฐน วา สุเตน วา ปริสงฺกาย วา. วทนฺตุ มํ อายสฺมนฺตา อนุกมฺปํ อุปาทาย. ปสฺสนฺโต ปฏิกริสฺสามิ. ทุติยมฺปิฯเปฯ ตติยมฺปิ อหํ อาวุโส อายสฺมนฺเต ปวาเรมิ ทิฏฺเฐน วา สุเตน วา ปริสงฺกาย วา. วทนฺตุ มํ อายสฺมนฺตา อนุกมฺปํ อุปาทาย. ปสฺสนฺโต ปฏิกริสฺสามี”ติ. นวเกน ภิกฺขุนา เอกํสํ อุตฺตราสงฺคํ กริตฺวา อุกฺกุฏิกํ นิสีทิตฺวา อญฺชลึ ปคฺคเหตฺวา เต ภิกฺขู เอวมสฺสุ วจนียา “อหํ ภนฺเต อายสฺมนฺเต ปวาเรมิ ทิฏฺเฐน วา สุเตน วา ปริสงฺกาย วา. วทนฺตุ มํ อายสฺมนฺตา อนุกมฺปํ อุปาทาย. ปสฺสนฺโต ปฏิกริสฺสามิ. ทุติยมฺปิฯเปฯ ตติยมฺปิ อหํ ภนฺเต อายสฺมนฺเต ปวาเรมิ ทิฏฺเฐน วา สุเตน วา ปริสงฺกาย วา. วทนฺตุ มํ อายสฺมนฺตา อนุกมฺปํ อุปาทาย. ปสฺสนฺโต ปฏิกริสฺสามี”ติ 
na āpattiyā adassane ukkhittakassa nisinnaparisāya pavāretabbaṃ.  yo pavāreyya, yathādhammo kāretabbo.  na āpattiyā appaṭikamme ukkhittakassa, na pāpikāya diṭṭhiyā appaṭinissagge ukkhittakassa nisinnaparisāya pavāretabbaṃ.  yo pavāreyya, yathādhammo kāretabbo. |2| 
๒๑๗. เตน โข ปน สมเยน อญฺญตรสฺมึ อาวาเส ตทหุ ปวารณาย ทฺเว ภิกฺขู วิหรนฺติ.  อถ โข เตสํ ภิกฺขูนํ เอตทโหสิ “ภควตา อนุญฺญาตํ ปญฺจนฺนํ สงฺเฆ ปวาเรตุํ จตุนฺนํ อญฺญมญฺญํ ปวาเรตุํ ติณฺณํ อญฺญมญฺญํ ปวาเรตุํ. มยญฺจมฺหา ทฺเว ชนา.  กถํ นุ โข อมฺเหหิ ปวาเรตพฺพ”นฺติ.  ภควโต เอตมตฺถํ อาโรเจสุํ. 
na paṇḍakassa nisinnaparisāya pavāretabbaṃ.  yo pavāreyya, āpatti dukkaṭassa.  na theyyasaṃvāsakassa, na titthiyapakkantakassa, na tiracchānagatassa, na mātughātakassa, na pitughātakassa, na arahantaghātakassa, na bhikkhunīdūsakassa, na saṃghabhedakassa, na lohituppādakassa, na ubhatovyañjanakassa nisinnaparisāya pavāretabbaṃ.  yo pavāreyya, āpatti dukkaṭassa. |3| 
อนุชานามิ ภิกฺขเว ทฺวินฺนํ อญฺญมญฺญํ ปวาเรตุํ.  เอวญฺจ ปน ภิกฺขเว ปวาเรตพฺพํ.  เถเรน ภิกฺขุนา เอกํสํ อุตฺตราสงฺคํ กริตฺวา อุกฺกุฏิกํ นิสีทิตฺวา อญฺชลึ ปคฺคเหตฺวา นโว ภิกฺขุ เอวมสฺส วจนีโย “อหํ อาวุโส อายสฺมนฺตํ ปวาเรมิ ทิฏฺเฐน วา สุเตน วา ปริสงฺกาย วา. วทตุ มํ อายสฺมา อนุกมฺปํ อุปาทาย. ปสฺสนฺโต ปฏิกริสฺสามิ.  ทุติยมฺปิฯเปฯ ตติยมฺปิ อหํ อาวุโส อายสฺมนฺตํ ปวาเรมิ ทิฏฺเฐน วา สุเตน วา ปริสงฺกาย วา. วทตุ มํ อายสฺมา อนุกมฺปํ อุปาทาย. ปสฺสนฺโต ปฏิกริสฺสามี”ติ. นวเกน ภิกฺขุนา เอกํสํ อุตฺตราสงฺคํ กริตฺวา อุกฺกุฏิกํ นิสีทิตฺวา อญฺชลึ ปคฺคเหตฺวา เถโร ภิกฺขุ เอวมสฺส วจนีโย “อหํ ภนฺเต อายสฺมนฺตํ ปวาเรมิ ทิฏฺเฐน วา สุเตน วา ปริสงฺกาย วา. วทตุ มํ อายสฺมา อนุกมฺปํ อุปาทาย. ปสฺสนฺโต ปฏิกริสฺสามิ. ทุติยมฺปิฯเปฯ ตติยมฺปิ อหํ ภนฺเต อายสฺมนฺตํ ปวาเรมิ ทิฏฺเฐน วา สุเตน วา ปริสงฺกาย วา. วทตุ มํ อายสฺมา อนุกมฺปํ อุปาทาย. ปสฺสนฺโต ปฏิกริสฺสามี”ติ. 
na bhikkhave pārivāsikassa pavāraṇādānena pavāretabbaṃ aññatra avuṭṭhitāya parisāya.  na ca bhikkhave apavāraṇāya pavāretabbaṃ aññatra saṃghasāmaggiyā ’ti. |4| 
๒๑๘. เตน โข ปน สมเยน อญฺญตรสฺมึ อาวาเส ตทหุ ปวารณาย เอโก ภิกฺขุ วิหรติ.  อถ โข ตสฺส ภิกฺขุโน เอตทโหสิ “ภควตา อนุญฺญาตํ ปญฺจนฺนํ สงฺเฆ ปวาเรตุํ จตุนฺนํ อญฺญมญฺญํ ปวาเรตุํ ติณฺณํ อญฺญมญฺญํ ปวาเรตุํ ทฺวินฺนํ อญฺญมญฺญํ ปวาเรตุํ. อหญฺจมฺหิ เอกโก. 
||14|| 
กถํ นุ โข มยา ปวาเรตพฺพ”นฺติ? 
tena kho pana samayena Kosalesu janapadesu aññatarasmiṃ āvāse tadahu pavāraṇāya savarabhayakaṃ ahosi.  bhikkhū nāsakkhiṃsu tevācikaṃ pavāretuṃ.  bhagavato etam atthaṃ ārocesuṃ.  anujānāmi bhikkhave dvevācikaṃ pavāretun ti.  bāḷhataraṃ savarabhayakaṃ ahosi.  bhikkhū nāsakkhiṃsu dvevācikaṃ pavāretuṃ.  bhagavato etam atthaṃ ārocesuṃ.  anujānāmi bhikkhave ekavācikaṃ pavāretun ti.  bāḷhataraṃ savarabhayakaṃ ahosi.  bhikkhū nāsakkhiṃsu ekavācikaṃ pavāretuṃ.  bhagavato etam atthaṃ ārocesum.  anujānāmi bhikkhave samānavassikaṃ pavāretun ti. |1| 
ภควโต เอตมตฺถํ อาโรเจสุํ.  อิธ ปน ภิกฺขเว อญฺญตรสฺมึ อาวาเส ตทหุ ปวารณาย เอโก ภิกฺขุ วิหรติ.  เตน ภิกฺขเว ภิกฺขุนา ยตฺถ ภิกฺขู ปฏิกฺกมนฺติ อุปฏฺฐานสาลาย วา มณฺฑเป วา รุกฺขมูเล วา โส เทโส สมฺมชฺชิตฺวา ปานียํ ปริโภชนียํ อุปฏฺฐาเปตฺวา อาสนํ ปญฺญเปตฺวา ปทีปํ กตฺวา นิสีทิตพฺพํ.  สเจ อญฺเญ ภิกฺขู อาคจฺฉนฺติ เตหิ สทฺธึ ปวาเรตพฺพํ โน เจ อาคจฺฉนฺติ ‘อชฺช เม ปวารณา’ติ อธิฏฺฐาตพฺพํ.  โน เจ อธิฏฺเฐยฺย อาปตฺติ ทุกฺกฏสฺส.  ตตฺร ภิกฺขเว ยตฺถ ปญฺจ ภิกฺขู วิหรนฺติ น เอกสฺส ปวารณํ อาหริตฺวา จตูหิ สงฺเฆ ปวาเรตพฺพํ.  ปวาเรยฺยุํ เจ อาปตฺติ ทุกฺกฏสฺส.  ตตฺร ภิกฺขเว ยตฺถ จตฺตาโร ภิกฺขู วิหรนฺติ น เอกสฺส ปวารณํ อาหริตฺวา ตีหิ อญฺญมญฺญํ ปวาเรตพฺพํ.  ปวาเรยฺยุํ เจ อาปตฺติ ทุกฺกฏสฺส.  ตตฺร ภิกฺขเว ยตฺถ ตโย ภิกฺขู วิหรนฺติ น เอกสฺส ปวารณํ อาหริตฺวา ทฺวีหิ อญฺญมญฺญํ ปวาเรตพฺพํ.  ปวาเรยฺยุํ เจ อาปตฺติ ทุกฺกฏสฺส.  ตตฺร ภิกฺขเว ยตฺถ ทฺเว ภิกฺขู วิหรนฺติ น เอกสฺส ปวารณํ อาหริตฺวา เอเกน อธิฏฺฐาตพฺพํ. 
tena kho pana samayena aññatarasmiṃ āvāse tadahu pavāraṇāya manussehi dānaṃ dentehi yebhuyyena ratti khepitā hoti.  atha kho tesaṃ bhikkhūnaṃ etad ahosi: manussehi dānaṃ dentehi yebhuyyena ratti khepitā.  sace saṃgho tevācikaṃ pavāressati, apavārito ’va saṃgho bhavissati, athāyaṃ ratti vibhāyissati.  kathaṃ nu kho amhehi paṭipajjitabban ti.  bhagavato etam atthaṃ ārocesuṃ. |2| 
อธิฏฺเฐยฺย เจ อาปตฺติ ทุกฺกฏสฺสาติ. ( สงฺฆปวารณาทิปฺปเภทา นิฏฺฐิตา.)      (๑๒๕. อาปตฺติปฏิกมฺมวิธิ) ๒๑๙. เตน โข ปน สมเยน อญฺญตโร ภิกฺขุ ตทหุ ปวารณาย อาปตฺตึ อาปนฺโน โหติ.  อถ โข ตสฺส ภิกฺขุโน เอตทโหสิ “ภควตา ปญฺญตฺตํ ‘น สาปตฺติเกน ปวาเรตพฺพ’นฺติ. อหญฺจมฺหิ อาปตฺตึ อาปนฺโน. 
idha pana bhikkhave aññatarasmiṃ āvāse tadahu pavāraṇāya manussehi dānaṃ dentehi yebhuyyena ratti khepitā hoti.  tatra ce bhikkhūnaṃ evaṃ hoti: manussehi ...vibhāyissatīti, vyattena bhikkhunā paṭibalena saṃgho ñāpetabbo: suṇātu me bhante saṃgho.  manussehi (169) dānaṃ dentehi yebhuyyena ratti khepitā.  sace saṃgho tevācikaṃ pavāressati, apavārito ’va saṃgho bhavissati, athāyaṃ ratti vibhāyissati.  yadi saṃghassa pattakallaṃ, saṃgho dvevācikaṃ ekavācikaṃ samānavassikaṃ pavāreyyā ’ti. |3| 
กถํ นุ โข มยา ปฏิปชฺชิตพฺพ”นฺติ?  ภควโต เอตมตฺถํ อาโรเจสุํ .  อิธ ปน ภิกฺขเว ภิกฺขุ ตทหุ ปวารณาย อาปตฺตึ อาปนฺโน โหติ. เตน ภิกฺขเว ภิกฺขุนา เอกํ ภิกฺขุํ อุปสงฺกมิตฺวา เอกํสํ อุตฺตราสงฺคํ กริตฺวา อุกฺกุฏิกํ นิสีทิตฺวา อญฺชลึ ปคฺคเหตฺวา เอวมสฺส วจนีโย “อหํ อาวุโส อิตฺถนฺนามํ อาปตฺตึ อาปนฺโน ตํ ปฏิเทเสมี”ติ. เตน วตฺตพฺโพ “ปสฺสสี”ติ. อาม ปสฺสามีติ. อายตึ สํวเรยฺยาสีติ. อิธ ปน ภิกฺขเว ภิกฺขุ ตทหุ ปวารณาย อาปตฺติยา เวมติโก โหติ. เตน ภิกฺขเว ภิกฺขุนา เอกํ ภิกฺขุํ อุปสงฺกมิตฺวา เอกํสํ อุตฺตราสงฺคํ กริตฺวา อุกฺกุฏิกํ นิสีทิตฺวา อญฺชลึ ปคฺคเหตฺวา เอวมสฺส วจนีโย “อหํ อาวุโส อิตฺถนฺนามาย อาปตฺติยา เวมติโก ยทา นิพฺเพมติโก ภวิสฺสามิ ตทา ตํ อาปตฺตึ ปฏิกริสฺสามี”ติ วตฺวา ปวาเรตพฺพํ น ตฺเวว ตปฺปจฺจยา ปวารณาย อนฺตราโย กาตพฺโพติ. (อาปตฺติปฏิกมฺมวิธิ นิฏฺฐิตา.)  (๑๒๖. อาปตฺติอาวิกรณวิธิ) ๒๒๐. เตน โข ปน สมเยน อญฺญตโร ภิกฺขุ ปวารยมาโน อาปตฺตึ สรติ.  อถ โข ตสฺส ภิกฺขุโน เอตทโหสิ “ภควตา ปญฺญตฺตํ ‘น สาปตฺติเกน ปวาเรตพฺพ’นฺติ. อหญฺจมฺหิ อาปตฺตึ อาปนฺโน. 
idha pana bhikkhave aññatarasmiṃ āvāse tadahu pavāraṇāya bhikkhūhi dhammaṃ bhaṇantehi suttantikehi suttantaṃ saṃgāyantehi vinayadharehi vinayaṃ vinicchinantehi dhammakathikehi dhammaṃ sākacchantehi bhikkhūhi kalahaṃ karontehi yebhuyyena ratti khepitā hoti.  tatra ce bhikkhūnaṃ evaṃ hoti: bhikkhūhi kalahaṃ karontehi yebhuyyena ratti khepitā.  sace saṃgho tevācikaṃ pavāressati, apavārito ’va saṃgho bhavissati, athāyaṃ ratti vibhāyissatīti, vyattena bhikkhunā paṭibalena saṃgho ñāpetabbo: suṇātu me bhante saṃgho.  bhikkhūhi kalahaṃ ...khepitā.  sace saṃgho tevācikaṃ pavāressati, apavārito ’va saṃgho bhavissati, athāyaṃ ratti vibhāyissati.  yadi saṃghassa pattakallaṃ, saṃgho dvevācikaṃ ekavācikaṃ samānavassikaṃ pavāreyyā ’ti. |4| 
กถํ นุ โข มยา ปฏิปชฺชิตพฺพ”นฺติ?  ภควโต เอตมตฺถํ อาโรเจสุํ.  อิธ ปน ภิกฺขเว ภิกฺขุ ปวารยมาโน อาปตฺตึ สรติ.  เตน ภิกฺขเว ภิกฺขุนา สามนฺโต ภิกฺขุ เอวมสฺส วจนีโย “อหํ อาวุโส อิตฺถนฺนามํ อาปตฺตึ อาปนฺโน. อิโต วุฏฺฐหิตฺวา ตํ อาปตฺตึ ปฏิกริสฺสามี”ติ วตฺวา ปวาเรตพฺพํ น ตฺเวว ตปฺปจฺจยา ปวารณาย อนฺตราโย กาตพฺโพ.  อิธ ปน ภิกฺขเว ภิกฺขุ ปวารยมาโน อาปตฺติยา เวมติโก โหติ.  เตน ภิกฺขเว ภิกฺขุนา สามนฺโต ภิกฺขุ เอวมสฺส วจนีโย “อหํ อาวุโส อิตฺถนฺนามาย อาปตฺติยา เวมติโก ยทา นิพฺเพมติโก ภวิสฺสามิ ตทา ตํ อาปตฺตึ ปฏิกริสฺสามี”ติ วตฺวา ปวาเรตพฺพํ น ตฺเวว ตปฺปจฺจยา ปวารณาย อนฺตราโย กาตพฺโพติ. อาปตฺติ อาวิกรณวิธิ นิฏฺฐิตา. ๑๒๗. สภาคาปตฺติปฏิกมฺมวิธิ ๒๒๑. เตน โข ปน สมเยน อญฺญตรสฺมึ อาวาเส ตทหุ ปวารณาย สพฺโพ สงฺโฆ สภาคํ อาปตฺตึ อาปนฺโน โหติ. อถ โข เตสํ ภิกฺขูนํ เอตทโหสิ “ภควตา ปญฺญตฺตํ ‘น สภาคา อาปตฺติ เทเสตพฺพา น สภาคา อาปตฺติ ปฏิคฺคเหตพฺพา’ติ. อยญฺจ สพฺโพ สงฺโฆ สภาคํ อาปตฺตึ อาปนฺโน. กถํ นุ โข อมฺเหหิ ปฏิปชฺชิตพฺพ”นฺติ? ภควโต เอตมตฺถํ อาโรเจสุํ. อิธ ปน ภิกฺขเว อญฺญตรสฺมึ อาวาเส ตทหุ ปวารณาย สพฺโพ สงฺโฆ สภาคํ อาปตฺตึ อาปนฺโน โหติ. เตหิ ภิกฺขเว ภิกฺขูหิ เอโก ภิกฺขุ สามนฺตา อาวาสา สชฺชุกํ ปาเหตพฺโพ คจฺฉาวุโส ตํ อาปตฺตึ ปฏิกริตฺวา อาคจฺฉ มยํ เต สนฺติเก ตํ อาปตฺตึ ปฏิกริสฺสามาติ. เอวญฺเจตํ ลเภถ อิจฺเจตํ กุสลํ. โน เจ ลเภถ พฺยตฺเตน ภิกฺขุนา ปฏิพเลน สงฺโฆ ญาเปตพฺโพ “สุณาตุ เม ภนฺเต สงฺโฆ. อยํ สพฺโพ สงฺโฆ สภาคํ อาปตฺตึ อาปนฺโน. ยทา อญฺญํ ภิกฺขุํ สุทฺธํ อนาปตฺติกํ ปสฺสิสฺสติ ตทา ตสฺส สนฺติเก ตํ อาปตฺตึ ปฏิกริสฺสตี”ติ วตฺวา ปวาเรตพฺพํ น ตฺเวว ตปฺปจฺจยา ปวารณาย อนฺตราโย กาตพฺโพ. อิธ ปน ภิกฺขเว อญฺญตรสฺมึ อาวาเส ตทหุ ปวารณาย สพฺโพ สงฺโฆ สภาคาย อาปตฺติยา เวมติโก โหติ. พฺยตฺเตน ภิกฺขุนา ปฏิพเลน สงฺโฆ ญาเปตพฺโพ “สุณาตุ เม ภนฺเต สงฺโฆ. อยํ สพฺโพ สงฺโฆ สภาคาย อาปตฺติยา เวมติโก. ยทา นิพฺเพมติโก ภวิสฺสติ ตทา ตํ อาปตฺตึ ปฏิกริสฺสตี”ติ วตฺวา ปวาเรตพฺพํ น ตฺเวว ตปฺปจฺจยา ปวารณาย อนฺตราโย กาตพฺโพติ.(สภาคาปตฺติปฏิกมฺมวิธิ นิฏฺฐิตา.) 
tena kho pana samayena Kosalesu janapadesu aññatarasmiṃ āvāse tadahu pavāraṇāya mahā bhikkhusaṃgho sannipatito hoti parittañ ca anovassikaṃ hoti mahā ca megho uggato hoti.  atha kho tesaṃ bhikkhūnaṃ etad ahosi: ayaṃ kho mahā bhikkhusaṃgho sannipatito parittañ ca anovassikaṃ mahā ca megho uggato.  sace saṃgho tevācikaṃ pavāressati, apavārito ’va saṃgho bhavissati, athāyaṃ megho pavassissati.  kathaṃ nu kho amhehi paṭipajjitabban ti.  bhagavato etam atthaṃ ārocesuṃ. |5| 
    ปฐมภาณวาโร นิฏฺฐิโต.  (๑๒๘. อนาปตฺติปนฺนรสกํ) ๒๒๒. เตน โข ปน สมเยน อญฺญตรสฺมึ อาวาเส ตทหุ ปวารณาย สมฺพหุลา อาวาสิกา ภิกฺขู สนฺนิปตึสุ ปญฺจ วา อติเรกา วา. เต น ชานึสุ “อตฺถญฺเญ อาวาสิกา ภิกฺขู อนาคตา”ติ.  เต ธมฺมสญฺญิโน วินยสญฺญิโน วคฺคา สมคฺคสญฺญิโน ปวาเรสุํ. 
idha pana bhikkhave aññatarasmiṃ āvāse tadahu pavāraṇāya mahā bhikkhusaṃgho sannipatito hoti parittañ ca anovassikaṃ hoti mahā ca megho uggato hoti.  tatra ce bhikkhūnaṃ evaṃ hoti: ayaṃ kho mahā ...(= 5) ...pavassissatīti, vyattena bhikkhunā paṭibalena saṃgho ñāpetabbo: suṇātu me bhante saṃgho.  ayaṃ mahā ...pavassissati.  yadi saṃghassa pattakallaṃ, saṃgho dvevācikaṃ ekavācikaṃ samānavassikaṃ pavāreyyā ’ti. |6| 
เตหิ ปวาริยมาเน อถญฺเญ อาวาสิกา ภิกฺขู อาคจฺฉึสุ พหุตรา.  ภควโต เอตมตฺถํ อาโรเจสุํ.  อิธ ปน ภิกฺขเว อญฺญตรสฺมึ อาวาเส ตทหุ ปวารณาย สมฺพหุลา อาวาสิกา ภิกฺขู สนฺนิปตนฺติ ปญฺจ วา อติเรกา วา. เต น ชานนฺติ “อตฺถญฺเญ อาวาสิกา ภิกฺขู อนาคตา”ติ.  เต ธมฺมสญฺญิโน วินยสญฺญิโน วคฺคา สมคฺคสญฺญิโน ปวาเรนฺติ. 
idha pana bhikkhave aññatarasmiṃ āvāse tadahu pavāraṇāya rājantarāyo hoti --la-- corantarāyo h., agyantarāyo h., udakant.h., manussant.h., amanussant.h., vāḷant.h., siriṃsapant.h., jīvitant.h., brahmacariyantarāyo hoti.  tatra ce bhikkhūnaṃ evaṃ hoti: ayaṃ kho brah-(170)macariyantarāyo.  sace saṃgho tevācikaṃ pavāressati, apavārito ’va saṃgho bhavissati, athāyaṃ brahmacariyantarāyo bhavissatīti, vyattena bhikkhunā paṭibalena saṃgho ñāpetabbo: suṇātu me bhante saṃgho.  ayaṃ brahmacariyantarāyo.  sace saṃgho tevācikaṃ pavāressati, apavārito ’va saṃgho bhavissati, athāyaṃ brahmacariyantarāyo bhavissati.  yadi saṃghassa pattakallaṃ, saṃgho dvevācikaṃ ekavācikaṃ samānavassikaṃ pavāreyyā ’ti. |7| 
เตหิ ปวาริยมาเน อถญฺเญ อาวาสิกา ภิกฺขู อาคจฺฉนฺติ พหุตรา.  เตหิ ภิกฺขเว ภิกฺขูหิ ปุน ปวาเรตพฺพํ. ปวาริตานํ อนาปตฺติ.  อิธ ปน ภิกฺขเว อญฺญตรสฺมึ อาวาเส ตทหุ ปวารณาย สมฺพหุลา อาวาสิกา ภิกฺขู สนฺนิปตนฺติ ปญฺจ วา อติเรกา วา. เต น ชานนฺติ “อตฺถญฺเญ อาวาสิกา ภิกฺขู อนาคตา”ติ. เต ธมฺมสญฺญิโน วินยสญฺญิโน วคฺคา สมคฺคสญฺญิโน ปวาเรนฺติ. เตหิ ปวาริยมาเน อถญฺเญ อาวาสิกา ภิกฺขู อาคจฺฉนฺติ สมสมา.  ปวาริตา สุปฺปวาริตา อวเสเสหิ ปวาเรตพฺพํ. ปวาริตานํ อนาปตฺติ.  อิธ ปน ภิกฺขเว อญฺญตรสฺมึ อาวาเส ตทหุ ปวารณาย สมฺพหุลา อาวาสิกา ภิกฺขู สนฺนิปตนฺติ ปญฺจ วา อติเรกา วา. เต น ชานนฺติ “อตฺถญฺเญ อาวาสิกา ภิกฺขู อนาคตา”ติ. เต ธมฺมสญฺญิโน วินยสญฺญิโน วคฺคา สมคฺคสญฺญิโน ปวาเรนฺติ. เตหิ ปวาริยมาเน อถญฺเญ อาวาสิกา ภิกฺขู อาคจฺฉนฺติ โถกตรา.  ปวาริตา สุปฺปวาริตา อวเสเสหิ ปวาเรตพฺพํ. ปวาริตานํ อนาปตฺติ. 
||15|| 
อิธ ปน ภิกฺขเว อญฺญตรสฺมึ อาวาเส ตทหุ ปวารณาย สมฺพหุลา อาวาสิกา ภิกฺขู สนฺนิปตนฺติ ปญฺจ วา อติเรกา วา. เต น ชานนฺติ “อตฺถญฺเญ อาวาสิกา ภิกฺขู อนาคตา”ติ. เต ธมฺมสญฺญิโน วินยสญฺญิโน วคฺคา สมคฺคสญฺญิโน ปวาเรนฺติ. เตหิ ปวาริตมตฺเต อถญฺเญ อาวาสิกา ภิกฺขู อาคจฺฉนฺติ พหุตรา. 
tena kho pana samayena chabbaggiyā bhikkhū sāpattikā pavārenti.  bhagavato etam atthaṃ ārocesuṃ.  na bhikkhave sāpattikena pavāretabbaṃ.  yo pavāreyya, āpatti dukkaṭassa.  anujānāmi bhikkhave yo sāpattiko pavāreti, tassa okāsaṃ kārāpetvā āpattiyā codetun ti. |1| 
เตหิ ภิกฺขเว ภิกฺขูหิ ปุน ปวาเรตพฺพํ. ปวาริตานํ อนาปตฺติ.  อิธ ปน ภิกฺขเว อญฺญตรสฺมึ อาวาเส ตทหุ ปวารณาย สมฺพหุลา อาวาสิกา ภิกฺขู สนฺนิปตนฺติ ปญฺจ วา อติเรกา วา. เต น ชานนฺติ “อตฺถญฺเญ อาวาสิกา ภิกฺขู อนาคตา”ติ. เต ธมฺมสญฺญิโน วินยสญฺญิโน วคฺคา สมคฺคสญฺญิโน ปวาเรนฺติ. เตหิ ปวาริตมตฺเต อถญฺเญ อาวาสิกา ภิกฺขู อาคจฺฉนฺติ สมสมา.  ปวาริตา สุปฺปวาริตา เตสํ สนฺติเก ปวาเรตพฺพํ. ปวาริตานํ อนาปตฺติ.  อิธ ปน ภิกฺขเว อญฺญตรสฺมึ อาวาเส ตทหุ ปวารณาย สมฺพหุลา อาวาสิกา ภิกฺขู สนฺนิปตนฺติ ปญฺจ วา อติเรกา วา. เต น ชานนฺติ “อตฺถญฺเญ อาวาสิกา ภิกฺขู อนาคตา”ติ. เต ธมฺมสญฺญิโน วินยสญฺญิโน วคฺคา สมคฺคสญฺญิโน ปวาเรนฺติ. เตหิ ปวาริตมตฺเต อถญฺเญ อาวาสิกา ภิกฺขู อาคจฺฉนฺติ โถกตรา.  ปวาริตา สุปฺปวาริตา เตสํ สนฺติเก ปวาเรตพฺพํ. ปวาริตานํ อนาปตฺติ. 
tena kho pana samayena chabbaggiyā bhikkhū okāsaṃ kārāpiyamānā na icchanti okāsaṃ kātuṃ.  bhagavato etam atthaṃ ārocesuṃ.  anujānāmi bhikkhave okāsaṃ akarontassa pavāraṇaṃ ṭhapetuṃ.  evañ ca pana bhikkhave ṭhapetabbā.  tadahu pavāraṇāya cātuddase vā pannarase vā tasmiṃ puggale sammukhībhūte saṃghamajjhe udāharitabbaṃ: suṇātu me bhante saṃgho.  itthannāmo puggalo sāpattiko, tassa pavāraṇaṃ ṭhapemi, na tasmiṃ sammukhībhūte pavāretabban ti ṭhapitā hoti pavāraṇā ’ti. |2| 
อิธ ปน ภิกฺขเว อญฺญตรสฺมึ อาวาเส ตทหุ ปวารณาย สมฺพหุลา อาวาสิกา ภิกฺขู สนฺนิปตนฺติ ปญฺจ วา อติเรกา วา. เต น ชานนฺติ “อตฺถญฺเญ อาวาสิกา ภิกฺขู อนาคตา”ติ. เต ธมฺมสญฺญิโน วินยสญฺญิโน วคฺคา สมคฺคสญฺญิโน ปวาเรนฺติ. เตหิ ปวาริตมตฺเต อวุฏฺฐิตาย ปริสาย อถญฺเญ อาวาสิกา ภิกฺขู อาคจฺฉนฺติ พหุตรา. เตหิ ภิกฺขเว ภิกฺขูหิ ปุน ปวาเรตพฺพํ. ปวาริตานํ อนาปตฺติ. อิธ ปน ภิกฺขเว อญฺญตรสฺมึ อาวาเส ตทหุ ปวารณาย สมฺพหุลา อาวาสิกา ภิกฺขู สนฺนิปตนฺติ ปญฺจ วา อติเรกา วา. เต น ชานนฺติ “อตฺถญฺเญ อาวาสิกา ภิกฺขู อนาคตา”ติ. เต ธมฺมสญฺญิโน วินยสญฺญิโน วคฺคา สมคฺคสญฺญิโน ปวาเรนฺติ. เตหิ ปวาริตมตฺเต อวุฏฺฐิตาย ปริสาย อถญฺเญ อาวาสิกา ภิกฺขู อาคจฺฉนฺติ สมสมา. ปวาริตา สุปฺปวาริตา เตสํ สนฺติเก ปวาเรตพฺพํ. ปวาริตานํ อนาปตฺติ. อิธ ปน ภิกฺขเว อญฺญตรสฺมึ อาวาเส ตทหุ ปวารณาย สมฺพหุลา อาวาสิกา ภิกฺขู สนฺนิปตนฺติ ปญฺจ วา อติเรกา วา. เต น ชานนฺติ “อตฺถญฺเญ อาวาสิกา ภิกฺขู อนาคตา”ติ. เต ธมฺมสญฺญิโน วินยสญฺญิโน วคฺคา สมคฺคสญฺญิโน ปวาเรนฺติ. เตหิ ปวาริตมตฺเต อวุฏฺฐิตาย ปริสาย อถญฺเญ อาวาสิกา ภิกฺขู อาคจฺฉนฺติ โถกตรา. ปวาริตา สุปฺปวาริตา เตสํ สนฺติเก ปวาเรตพฺพํ. ปวาริตานํ อนาปตฺติ. อิธ ปน ภิกฺขเว อญฺญตรสฺมึ อาวาเส ตทหุ ปวารณาย สมฺพหุลา อาวาสิกา ภิกฺขู สนฺนิปตนฺติ ปญฺจ วา อติเรกา วา. เต น ชานนฺติ “อตฺถญฺเญ อาวาสิกา ภิกฺขู อนาคตา”ติ. เต ธมฺมสญฺญิโน วินยสญฺญิโน วคฺคา สมคฺคสญฺญิโน ปวาเรนฺติ. เตหิ ปวาริตมตฺเต เอกจฺจาย วุฏฺฐิตาย ปริสาย อถญฺเญ อาวาสิกา ภิกฺขู อาคจฺฉนฺติ พหุตรา. เตหิ ภิกฺขเว ภิกฺขูหิ ปุน ปวาเรตพฺพํ. ปวาริตานํ อนาปตฺติ. อิธ ปน ภิกฺขเว อญฺญตรสฺมึ อาวาเส ตทหุ ปวารณาย สมฺพหุลา อาวาสิกา ภิกฺขู สนฺนิปตนฺติ ปญฺจ วา อติเรกา วา. เต น ชานนฺติ “อตฺถญฺเญ อาวาสิกา ภิกฺขู อนาคตา”ติ. เต ธมฺมสญฺญิโน วินยสญฺญิโน วคฺคา สมคฺคสญฺญิโน ปวาเรนฺติ. เตหิ ปวาริตมตฺเต เอกจฺจาย วุฏฺฐิตาย ปริสาย อถญฺเญ อาวาสิกา ภิกฺขู อาคจฺฉนฺติ สมสมา. ปวาริตา สุปฺปวาริตา เตสํ สนฺติเก ปวาเรตพฺพํ. ปวาริตานํ อนาปตฺติ. อิธ ปน ภิกฺขเว อญฺญตรสฺมึ อาวาเส ตทหุ ปวารณาย สมฺพหุลา อาวาสิกา ภิกฺขู สนฺนิปตนฺติ ปญฺจ วา อติเรกา วา. เต น ชานนฺติ “อตฺถญฺเญ อาวาสิกา ภิกฺขู อนาคตา”ติ. เต ธมฺมสญฺญิโน วินยสญฺญิโน วคฺคา สมคฺคสญฺญิโน ปวาเรนฺติ. เตหิ ปวาริตมตฺเต เอกจฺจาย วุฏฺฐิตาย ปริสาย อถญฺเญ อาวาสิกา ภิกฺขู อาคจฺฉนฺติ โถกตรา. ปวาริตา สุปฺปวาริตา เตสํ สนฺติเก ปวาเรตพฺพํ. ปวาริตานํ อนาปตฺติ.  อิธ ปน ภิกฺขเว อญฺญตรสฺมึ อาวาเส ตทหุ ปวารณาย สมฺพหุลา อาวาสิกา ภิกฺขู สนฺนิปตนฺติ ปญฺจ วา อติเรกา วา. เต น ชานนฺติ “อตฺถญฺเญ อาวาสิกา ภิกฺขู อนาคตา”ติ. เต ธมฺมสญฺญิโน วินยสญฺญิโน วคฺคา สมคฺคสญฺญิโน ปวาเรนฺติ. เตหิ ปวาริตมตฺเต สพฺพาย วุฏฺฐิตาย ปริสาย อถญฺเญ อาวาสิกา ภิกฺขู อาคจฺฉนฺติ พหุตรา. เตหิ ภิกฺขเว ภิกฺขูหิ ปุน ปวาเรตพฺพํ. ปวาริตานํ อนาปตฺติ. อิธ ปน ภิกฺขเว อญฺญตรสฺมึ อาวาเส ตทหุ ปวารณาย สมฺพหุลา อาวาสิกา ภิกฺขู สนฺนิปตนฺติ ปญฺจ วา อติเรกา วา. เต น ชานนฺติ “อตฺถญฺเญ อาวาสิกา ภิกฺขู อนาคตา”ติ. เต ธมฺมสญฺญิโน วินยสญฺญิโน วคฺคา สมคฺคสญฺญิโน ปวาเรนฺติ. เตหิ ปวาริตมตฺเต สพฺพาย วุฏฺฐิตาย ปริสาย อถญฺเญ อาวาสิกา ภิกฺขู อาคจฺฉนฺติ สมสมา. ปวาริตา สุปฺปวาริตา เตสํ สนฺติเก ปวาเรตพฺพํ. ปวาริตานํ อนาปตฺติ. อิธ ปน ภิกฺขเว อญฺญตรสฺมึ อาวาเส ตทหุ ปวารณาย สมฺพหุลา อาวาสิกา ภิกฺขู สนฺนิปตนฺติ ปญฺจ วา อติเรกา วา. เต น ชานนฺติ “อตฺถญฺเญ อาวาสิกา ภิกฺขู อนาคตา”ติ. เต ธมฺมสญฺญิโน วินยสญฺญิโน วคฺคา สมคฺคสญฺญิโน ปวาเรนฺติ. เตหิ ปวาริตมตฺเต สพฺพาย วุฏฺฐิตาย ปริสาย อถญฺเญ อาวาสิกา ภิกฺขู อาคจฺฉนฺติ โถกตรา. ปวาริตา สุปฺปวาริตา เตสํ สนฺติเก ปวาเรตพฺพํ. ปวาริตานํ อนาปตฺติ.  อนาปตฺติปนฺนรสกํ นิฏฺฐิตํ.  (๑๒๙. วคฺคาวคฺคสญฺญีปนฺนรสกํ) ๒๒๓. อิธ ปน ภิกฺขเว อญฺญตรสฺมึ อาวาเส ตทหุ ปวารณาย สมฺพหุลา อาวาสิกา ภิกฺขู สนฺนิปตนฺติ ปญฺจ วา อติเรกา วา. เต ชานนฺติ “อตฺถญฺเญ อาวาสิกา ภิกฺขู อนาคตา”ติ.  เต ธมฺมสญฺญิโน วินยสญฺญิโน วคฺคา วคฺคสญฺญิโน ปวาเรนฺติ.  เตหิ ปวาริยมาเน อถญฺเญ อาวาสิกา ภิกฺขู อาคจฺฉนฺติ พหุตรา. 
tena kho pana samayena chabbaggiyā bhikkhū pur’ amhākaṃ pesalā bhikkhū pavāraṇaṃ ṭhapentīti paṭigacc’ eva suddhānaṃ bhikkhūnaṃ anāpattikānaṃ avatthusmiṃ akāraṇe pavāraṇaṃ ṭhapenti pavāritānam pi pavāraṇaṃ ṭhapenti.  bhagavato etam atthaṃ ārocesuṃ.  na bhikkhave suddhānaṃ bhikkhūnaṃ anāpattikānaṃ avatthusmiṃ akāraṇe pavāraṇā ṭhapetabbā.  yo ṭhapeyya, āpatti dukkaṭassa.  na bhikkhave pavāritānam pi pavāraṇā ṭhapetabbā.  yo ṭhapeyya, āpatti dukkaṭassa. |3| 
เตหิ ภิกฺขเว ภิกฺขูหิ ปุน ปวาเรตพฺพํ. ปวาริตานํ อาปตฺติ ทุกฺกฏสฺส.  อิธ ปน ภิกฺขเว อญฺญตรสฺมึ อาวาเส ตทหุ ปวารณาย สมฺพหุลา อาวาสิกา ภิกฺขู สนฺนิปตนฺติ ปญฺจ วา อติเรกา วา. เต ชานนฺติ “อตฺถญฺเญ อาวาสิกา ภิกฺขู อนาคตา”ติ. เต ธมฺมสญฺญิโน วินยสญฺญิโน วคฺคา วคฺคสญฺญิโน ปวาเรนฺติ. เตหิ ปวาริยมาเน อถญฺเญ อาวาสิกา ภิกฺขู อาคจฺฉนฺติ สมสมา.  ปวาริตา สุปฺปวาริตา อวเสเสหิ ปวาเรตพฺพํ. ปวาริตานํ อาปตฺติ ทุกฺกฏสฺส.  อิธ ปน ภิกฺขเว อญฺญตรสฺมึ อาวาเส ตทหุ ปวารณาย สมฺพหุลา อาวาสิกา ภิกฺขู สนฺนิปตนฺติ ปญฺจ วา อติเรกา วา. เต ชานนฺติ “อตฺถญฺเญ อาวาสิกา ภิกฺขู อนาคตา”ติ. เต ธมฺมสญฺญิโน วินยสญฺญิโน วคฺคา วคฺคสญฺญิโน ปวาเรนฺติ. เตหิ ปวาริยมาเน อถญฺเญ อาวาสิกา ภิกฺขู อาคจฺฉนฺติ โถกตรา.  ปวาริตา สุปฺปวาริตา อวเสเสหิ ปวาเรตพฺพํ. ปวาริตานํ อาปตฺติ ทุกฺกฏสฺส.  อิธ ปน ภิกฺขเว อญฺญตรสฺมึ อาวาเส ตทหุ ปวารณาย สมฺพหุลา อาวาสิกา ภิกฺขู สนฺนิปตนฺติ ปญฺจ วา อติเรกา วา. เต ชานนฺติ “อตฺถญฺเญ อาวาสิกา ภิกฺขู อนาคตา”ติ. เต ธมฺมสญฺญิโน วินยสญฺญิโน วคฺคา วคฺคสญฺญิโน ปวาเรนฺติ. เตหิ ปวาริตมตฺเตฯเปฯ อวุฏฺฐิตาย ปริสายฯเปฯ เอกจฺจาย วุฏฺฐิตาย ปริสายฯเปฯ สพฺพาย วุฏฺฐิตาย ปริสาย อถญฺเญ อาวาสิกา ภิกฺขู อาคจฺฉนฺติ พหุตราฯเปฯ สมสมาฯเปฯ โถกตรา. 
evaṃ kho bhikkhave ṭhapitā hoti pavāraṇā, evaṃ aṭṭhapitā.  kathañ ca bhikkhave aṭṭhapitā hoti pavāraṇā.  tevācikāya ce bhikkhave pavāraṇāya bhāsitāya lapitāya pariyositāya pavāraṇaṃ ṭhapeti, aṭṭhapitā hoti pavāraṇā.  dvevācikāya ce bhikkhave, ekavācikāya ce bhikkhave, samānavassikāya ce bhikkhave pavāraṇāya bhāsitāya lapitāya pariyositāya pavāraṇaṃ ṭhapeti, (171) aṭṭhapitā hoti pavāraṇā.  evaṃ kho bhikkhave aṭṭhapitā hoti pavāraṇā. |4| 
ปวาริตา สุปฺปวาริตา เตสํ สนฺติเก ปวาเรตพฺพํ. ปวาริตานํ อาปตฺติ ทุกฺกฏสฺส.  วคฺคาวคฺคสญฺญีปนฺนรสกํ นิฏฺฐิตํ.  (๑๓๐. เวมติกปนฺนรสกํ) ๒๒๔. อิธ ปน ภิกฺขเว อญฺญตรสฺมึ อาวาเส ตทหุ ปวารณาย สมฺพหุลา อาวาสิกา ภิกฺขู สนฺนิปตนฺติ ปญฺจ วา อติเรกา วา. เต ชานนฺติ “อตฺถญฺเญ อาวาสิกา ภิกฺขู อนาคตา”ติ.  เต “กปฺปติ นุ โข อมฺหากํ ปวาเรตุํ น นุ โข กปฺปตี”ติ เวมติกา ปวาเรนฺติ.  เตหิ ปวาริยมาเน อถญฺเญ อาวาสิกา ภิกฺขู อาคจฺฉนฺติ พหุตรา. 
kathañ ca bhikkhave ṭhapitā hoti pavāraṇā.  tevācikāya ce bhikkhave pavāraṇāya bhāsitāya lapitāya apariyositāya pavāraṇaṃ ṭhapeti, ṭhapitā hoti pavāraṇā.  dvevācikāya ce bhikkhave, ekavācikāya ce bhikkhave, samānavassikāya ce bhikkhave pavāraṇāya bhāsitāya lapitāya apariyositāya pavāraṇaṃ ṭhapeti, ṭhapitā hoti pavāraṇā.  evaṃ kho bhikkhave ṭhapitā hoti pavāraṇā. |5| 
เตหิ ภิกฺขเว ภิกฺขูหิ ปุน ปวาเรตพฺพํ. ปวาริตานํ อาปตฺติ ทุกฺกฏสฺส.  อิธ ปน ภิกฺขเว อญฺญตรสฺมึ อาวาเส ตทหุ ปวารณาย สมฺพหุลา อาวาสิกา ภิกฺขู สนฺนิปตนฺติ ปญฺจ วา อติเรกา วา. เต ชานนฺติ “อตฺถญฺเญ อาวาสิกา ภิกฺขู อนาคตา”ติ. เต “กปฺปติ นุ โข อมฺหากํ ปวาเรตุํ น นุ โข กปฺปตี”ติ เวมติกา ปวาเรนฺติ. เตหิ ปวาริยมาเน อถญฺเญ อาวาสิกา ภิกฺขู อาคจฺฉนฺติ สมสมา. ปวาริตา สุปฺปวาริตา อวเสเสหิ ปวาเรตพฺพํ. ปวาริตานํ อาปตฺติ ทุกฺกฏสฺส. อิธ ปน ภิกฺขเว อญฺญตรสฺมึ อาวาเส ตทหุ ปวารณาย สมฺพหุลา อาวาสิกา ภิกฺขู สนฺนิปตนฺติ ปญฺจ วา อติเรกา วา. เต ชานนฺติ “อตฺถญฺเญ อาวาสิกา ภิกฺขู อนาคตา”ติ. เต “กปฺปติ นุ โข อมฺหากํ ปวาเรตุํ น นุ โข กปฺปตี”ติ เวมติกา ปวาเรนฺติ. เตหิ ปวาริยมาเน อถญฺเญ อาวาสิกา ภิกฺขู อาคจฺฉนฺติ โถกตรา. ปวาริตา สุปฺปวาริตา อวเสเสหิ ปวาเรตพฺพํ. ปวาริตานํ อาปตฺติ ทุกฺกฏสฺส. อิธ ปน ภิกฺขเว อญฺญตรสฺมึ อาวาเส ตทหุ ปวารณาย สมฺพหุลา อาวาสิกา ภิกฺขู สนฺนิปตนฺติ ปญฺจ วา อติเรกา วา. เต ชานนฺติ “อตฺถญฺเญ อาวาสิกา ภิกฺขู อนาคตา”ติ. เต “กปฺปติ นุ โข อมฺหากํ ปวาเรตุํ น นุ โข กปฺปตี”ติ เวมติกา ปวาเรนฺติ. เตหิ ปวาริตมตฺเตฯเปฯ อวุฏฺฐิตาย ปริสายฯเปฯ เอกจฺจาย วุฏฺฐิตาย ปริสายฯเปฯ สพฺพาย วุฏฺฐิตาย ปริสาย อถญฺเญ อาวาสิกา ภิกฺขู อาคจฺฉนฺติ พหุตราฯเปฯ สมสมาฯเปฯ โถกตรา. ปวาริตา สุปฺปวาริตา เตสํ สนฺติเก ปวาเรตพฺพํ. ปวาริตานํ อาปตฺติ ทุกฺกฏสฺส.  เวมติกปนฺนรสกํ นิฏฺฐิตํ.  (๑๓๑. กุกฺกุจฺจปกตปนฺนรสกํ) ๒๒๕. อิธ ปน ภิกฺขเว อญฺญตรสฺมึ อาวาเส ตทหุ ปวารณาย สมฺพหุลา อาวาสิกา ภิกฺขู สนฺนิปตนฺติ ปญฺจ วา อติเรกา วา. เต ชานนฺติ “อตฺถญฺเญ อาวาสิกา ภิกฺขู อนาคตา”ติ. 
idha pana bhikkhave tadahu pavāraṇāya bhikkhu bhikkhussa pavāraṇaṃ ṭhapeti.  taṃ ce bhikkhuṃ aññe bhikkhū jānanti ayaṃ kho āyasmā aparisuddhakāyasamācāro aparisuddhavacīsamācāro aparisuddhāajīvo bālo avyatto na paṭibalo anuyuñjiyamāno anuyogaṃ dātun ti, alaṃ bhikkhu, mā bhaṇḍanaṃ mā kalahaṃ mā viggahaṃ mā vivādan ti omadditvā saṃghena pavāretabbaṃ. |6| 
เต “กปฺปเตว อมฺหากํ ปวาเรตุํ นามฺหากํ น กปฺปตี”ติ กุกฺกุจฺจปกตา ปวาเรนฺติ.  เตหิ ปวาริยมาเน อถญฺเญ อาวาสิกา ภิกฺขู อาคจฺฉนฺติ พหุตรา. 
idha pana bhikkhave tadahu pavāraṇāya bhikkhu bhikkhussa pavāraṇaṃ ṭhapeti.  taṃ ce bhikkhuṃ aññe bhikkhū jānanti ayaṃ kho āyasmā parisuddhakāyasamācāro aparisuddhavacīsamācāro aparisuddhaājīvo bālo avyatto na paṭibalo anuyuñjiyamāno anuyogaṃ dātun ti, alaṃ bhikkhu ...pavāretabbaṃ. |7| 
เตหิ ภิกฺขเว ภิกฺขูหิ ปุน ปวาเรตพฺพํ. ปวาริตานํ อาปตฺติ ทุกฺกฏสฺส.  อิธ ปน ภิกฺขเว อญฺญตรสฺมึ อาวาเส ตทหุ ปวารณาย สมฺพหุลา อาวาสิกา ภิกฺขู สนฺนิปตนฺติ ปญฺจ วา อติเรกา วา. เต ชานนฺติ “อตฺถญฺเญ อาวาสิกา ภิกฺขู อนาคตา”ติ. เต “กปฺปเตว อมฺหากํ ปวาเรตุํ นามฺหากํ น กปฺปตี”ติ กุกฺกุจฺจปกตา ปวาเรนฺติ. เตหิ ปวาริยมาเน อถญฺเญ อาวาสิกา ภิกฺขู อาคจฺฉนฺติ สมสมา. ปวาริตา สุปฺปวาริตา อวเสเสหิ ปวาเรตพฺพํ. ปวาริตานํ อาปตฺติ ทุกฺกฏสฺส. อิธ ปน ภิกฺขเว อญฺญรสฺมึ อาวาเส ตทหุ ปวารณาย สมฺพหุลา อาวาสิกา ภิกฺขู สนฺนิปตนฺติ ปญฺจ วา อติเรกา วา. เต ชานนฺติ “อตฺถญฺเญ อาวาสิกา ภิกฺขู อนาคตา”ติ. เต “กปฺปเตว อมฺหากํ ปวาเรตุํ นามฺหากํ น กปฺปตี”ติ กุกฺกุจฺจปกตา ปวาเรนฺติ. เตหิ ปวาริยมาเน อถญฺเญ อาวาสิกา ภิกฺขู อาคจฺฉนฺติ โถกตรา. ปวาริตา สุปฺปวาริตา อวเสเสหิ ปวาเรตพฺพํ. ปวาริตานํ อาปตฺติ ทุกฺกฏสฺส. อิธ ปน ภิกฺขเว อญฺญตรสฺมึ อาวาเส ตทหุ ปวารณาย สมฺพหุลา อาวาสิกา ภิกฺขู สนฺนิปตนฺติ ปญฺจ วา อติเรกา วา. เต ชานนฺติ “อตฺถญฺเญ อาวาสิกา ภิกฺขู อนาคตา”ติ. เต “กปฺปเตว อมฺหากํ ปวาเรตุํ นามฺหากํ น กปฺปตี”ติ กุกฺกุจฺจปกตา ปวาเรนฺติ. เตหิ ปวาริตมตฺเตฯเปฯ อวุฏฺฐิตาย ปริสายฯเปฯ เอกจฺจาย วุฏฺฐิตาย ปริสายฯเปฯ สพฺพาย วุฏฺฐิตาย ปริสาย อถญฺเญ อาวาสิกา ภิกฺขู อาคจฺฉนฺติ พหุตราฯเปฯ สมสมาฯเปฯ โถกตรา. ปวาริตา สุปฺปวาริตา เตสํ สนฺติเก ปวาเรตพฺพํ. ปวาริตานํ อาปตฺติ ทุกฺกฏสฺส. 
idha pana bhikkhave tadahu pavāraṇāya bhikkhu bhikkhussa pavāraṇaṃ ṭhapeti.  taṃ ce bhikkhuṃ aññe bhikkhū jānanti ayaṃ kho āyasmā parisuddhakāyasamācāro parisuddhavacīsamācāro aparisuddhāajīvo bālo avyatto na paṭibalo anuyuñjiyamāno anuyogaṃ dātun ti, alaṃ bhikkhu ... pavāretabbaṃ. |8| 
กุกฺกุจฺจปกตปนฺนรสกํ นิฏฺฐิตํ.  (๑๓๒. เภทปุเรกฺขารปนฺนรสกํ) ๒๒๖. อิธ ปน ภิกฺขเว อญฺญตรสฺมึ อาวาเส ตทหุ ปวารณาย สมฺพหุลา อาวาสิกา ภิกฺขู สนฺนิปตนฺติ ปญฺจ วา อติเรกา วา. เต ชานนฺติ “อตฺถญฺเญ อาวาสิกา ภิกฺขู อนาคตา”ติ. 
idha pana bhikkhave tadahu pavāraṇāya bhikkhu bhikkhussa pavāraṇaṃ ṭhapeti.  taṃ ce bhikkhuṃ aññe bhikkhū jānanti ayaṃ kho āyasmā parisuddhakāyasamācāro parisuddhavacīsamācāro parisuddhāajīvo bālo avyatto na paṭibalo anuyuñjiyamāno anuyogaṃ dātun ti, alaṃ bhikkhu ... pavāretabbaṃ. |9| 
เต “นสฺสนฺเตเต วินสฺสนฺเตเต โก เตหิ อตฺโถ”ติ เภทปุเรกฺขารา ปวาเรนฺติ.  เตหิ ปวาริยมาเน อถญฺเญ อาวาสิกา ภิกฺขู อาคจฺฉนฺติ พหุตรา 
idha pana bhikkhave tadahu pavāraṇāya bhikkhu bhikkhussa pavāraṇaṃ ṭhapeti.  taṃ ce bhikkhuṃ aññe bhikkhū jānanti ayaṃ kho āyasmā parisuddhakāyasamācāro parisuddhavacīsamācāro parisuddhāajīvo paṇḍito vyatto paṭibalo anuyuñjiyamāno anuyogaṃ dātun ti, so evam assa vacanīyo: yaṃ kho tvaṃ āvuso imassa bhikkhuno pavāraṇaṃ ṭhapesi, kimhi naṃ ṭhapesi, sīlavipattiyā ṭhapesi, ācāravipattiyā ṭhapesi, (172) diṭṭhivipattiyā ṭhapesīti. |10| 
เตหิ ภิกฺขเว ภิกฺขูหิ ปุน ปวาเรตพฺพํ. ปวาริตานํ อาปตฺติ ถุลฺลจฺจยสฺส.  อิธ ปน ภิกฺขเว อญฺญตรสฺมึ อาวาเส ตทหุ ปวารณาย สมฺพหุลา อาวาสิกา ภิกฺขู สนฺนิปตนฺติ ปญฺจ วา อติเรกา วา. เต ชานนฺติ “อตฺถญฺเญ อาวาสิกา ภิกฺขู อนาคตา”ติ. เต “นสฺสนฺเตเต วินสฺสนฺเตเต โก เตหิ อตฺโถ”ติ เภทปุเรกฺขารา ปวาเรนฺติ. เตหิ ปวาริยมาเน อถญฺเญ อาวาสิกา ภิกฺขู อาคจฺฉนฺติ สมสมา. ปวาริตา สุปฺปวาริตา อวเสเสหิ ปวาเรตพฺพํ. ปวาริตานํ อาปตฺติ ถุลฺลจฺจยสฺส. อิธ ปน ภิกฺขเว อญฺญตรสฺมึ อาวาเส ตทหุ ปวารณาย สมฺพหุลา อาวาสิกา ภิกฺขู สนฺนิปตนฺติ ปญฺจ วา อติเรกา วา. เต ชานนฺติ “อตฺถญฺเญ อาวาสิกา ภิกฺขู อนาคตา”ติ. เต “นสฺสนฺเตเต วินสฺสนฺเตเต โก เตหิ อตฺโถ”ติ เภทปุเรกฺขารา ปวาเรนฺติ. เตหิ ปวาริยมาเน อถญฺเญ อาวาสิกา ภิกฺขู อาคจฺฉนฺติ โถกตรา. ปวาริตา สุปฺปวาริตา อวเสเสหิ ปวาเรตพฺพํ. ปวาริตานํ อาปตฺติ ถุลฺลจฺจยสฺส. อิธ ปน ภิกฺขเว อญฺญตรสฺมึ อาวาเส ตทหุ ปวารณาย สมฺพหุลา อาวาสิกา ภิกฺขู สนฺนิปตนฺติ ปญฺจ วา อติเรกา วา. เต ชานนฺติ “อตฺถญฺเญ อาวาสิกา ภิกฺขู อนาคตา”ติ. เต “นสฺสนฺเตเต วินสฺสนฺเตเต โก เตหิ อตฺโถ”ติ เภทปุเรกฺขารา ปวาเรนฺติ. เตหิ ปวาริตมตฺเต อถญฺเญ อาวาสิกา ภิกฺขู อาคจฺฉนฺติ พหุตรา เตหิ ภิกฺขเว ภิกฺขูหิ ปุน ปวาเรตพฺพํ ปวาริตานํ อาปตฺติ ถุลฺลจฺจยสฺส. อิธ ปน ภิกฺขเว อญฺญตรสฺมึ อาวาเส ตทหุ ปวารณาย สมฺพหุลา อาวาสิกา ภิกฺขู สนฺนิปตนฺติ ปญฺจ วา อติเรกา วา. เต ชานนฺติ “อตฺถญฺเญ อาวาสิกา ภิกฺขู อนาคตา”ติ. เต “นสฺสนฺเตเต วินสฺสนฺเตเต โก เตหิ อตฺโถ”ติ เภทปุเรกฺขารา ปวาเรนฺติ. เตหิ ปวาริตมตฺเต อถญฺเญ อาวาสิกา ภิกฺขู อาคจฺฉนฺติ สมสมา. ปวาริตา สุปฺปวาริตา เตสํ สนฺติเก ปวาเรตพฺพํ. ปวาริตานํ อาปตฺติ ถุลฺลจฺจยสฺส. อิธ ปน ภิกฺขเว อญฺญตรสฺมึ อาวาเส ตทหุ ปวารณาย สมฺพหุลา อาวาสิกา ภิกฺขู สนฺนิปตนฺติ ปญฺจ วา อติเรกา วา. เต ชานนฺติ “อตฺถญฺเญ อาวาสิกา ภิกฺขู อนาคตา”ติ. เต “นสฺสนฺเตเต วินสฺสนฺเตเต โก เตหิ อตฺโถ”ติ เภทปุเรกฺขารา ปวาเรนฺติ. เตหิ ปวาริตมตฺเต อถญฺเญ อาวาสิกา ภิกฺขู อาคจฺฉนฺติ โถกตรา. ปวาริตา สุปฺปวาริตา เตสํ สนฺติเก ปวาเรตพฺพํ. ปวาริตานํ อาปตฺติ ถุลฺลจฺจยสฺส. อิธ ปน ภิกฺขเว อญฺญตรสฺมึ อาวาเส ตทหุ ปวารณาย สมฺพหุลา อาวาสิกา ภิกฺขู สนฺนิปตนฺติ ปญฺจ วา อติเรกา วา. เต ชานนฺติ “อตฺถญฺเญ อาวาสิกา ภิกฺขู อนาคตา”ติ. เต “นสฺสนฺเตเต วินสฺสนฺเตเต โก เตหิ อตฺโถ”ติ เภทปุเรกฺขารา ปวาเรนฺติ. เตหิ ปวาริตมตฺเต อวุฏฺฐิตาย ปริสาย อถญฺเญ อาวาสิกา ภิกฺขู อาคจฺฉนฺติ พหุตรา. เตหิ ภิกฺขเว ภิกฺขูหิ ปุน ปวาเรตพฺพํ. ปวาริตานํ อาปตฺติ ถุลฺลจฺจยสฺส. อิธ ปน ภิกฺขเว อญฺญตรสฺมึ อาวาเส ตทหุ ปวารณาย สมฺพหุลา อาวาสิกา ภิกฺขู สนฺนิปตนฺติ ปญฺจ วา อติเรกา วา. เต ชานนฺติ “อตฺถญฺเญ อาวาสิกา ภิกฺขู อนาคตา”ติ. เต “นสฺสนฺเตเต วินสฺสนฺเตเต โก เตหิ อตฺโถ”ติ เภทปุเรกฺขารา ปวาเรนฺติ. เตหิ ปวาริตมตฺเต อวุฏฺฐิตาย ปริสาย อถญฺเญ อาวาสิกา ภิกฺขู อาคจฺฉนฺติ สมสมา. ปวาริตา สุปฺปวาริตา เตสํ สนฺติเก ปวาเรตพฺพํ. ปวาริตานํ อาปตฺติ ถุลฺลจฺจยสฺส. อิธ ปน ภิกฺขเว อญฺญตรสฺมึ อาวาเส ตทหุ ปวารณาย สมฺพหุลา อาวาสิกา ภิกฺขู สนฺนิปตนฺติ ปญฺจ วา อติเรกา วา. เต ชานนฺติ “อตฺถญฺเญ อาวาสิกา ภิกฺขู อนาคตา”ติ. เต “นสฺสนฺเตเต วินสฺสนฺเตเต โก เตหิ อตฺโถ”ติ เภทปุเรกฺขารา ปวาเรนฺติ. เตหิ ปวาริตมตฺเต อวุฏฺฐิตาย ปริสาย อถญฺเญ อาวาสิกา ภิกฺขู อาคจฺฉนฺติ โถกตรา. ปวาริตา สุปฺปวาริตา เตสํ สนฺติเก ปวาเรตพฺพํ. ปวาริตานํ อาปตฺติ ถุลฺลจฺจยสฺส. อิธ ปน ภิกฺขเว อญฺญตรสฺมึ อาวาเส ตทหุ ปวารณาย สมฺพหุลา อาวาสิกา ภิกฺขู สนฺนิปตนฺติ ปญฺจ วา อติเรกา วา. เต ชานนฺติ “อตฺถญฺเญ อาวาสิกา ภิกฺขู อนาคตา”ติ. เต “นสฺสนฺเตเต วินสฺสนฺเตเต โก เตหิ อตฺโถ”ติ เภทปุเรกฺขารา ปวาเรนฺติ. เตหิ ปวาริตมตฺเต เอกจฺจาย วุฏฺฐิตาย ปริสาย อถญฺเญ อาวาสิกา ภิกฺขู อาคจฺฉนฺติ พหุตรา. เตหิ ภิกฺขเว ภิกฺขูหิ ปุน ปวาเรตพฺพํ. ปวาริตานํ อาปตฺติ ถุลฺลจฺจยสฺส. อิธ ปน ภิกฺขเว อญฺญตรสฺมึ อาวาเส ตทหุ ปวารณาย สมฺพหุลา อาวาสิกา ภิกฺขู สนฺนิปตนฺติ ปญฺจ วา อติเรกา วา. เต ชานนฺติ “อตฺถญฺเญ อาวาสิกา ภิกฺขู อนาคตา”ติ. เต “นสฺสนฺเตเต วินสฺสนฺเตเต โก เตหิ อตฺโถ”ติ เภทปุเรกฺขารา ปวาเรนฺติ. เตหิ ปวาริตมตฺเต เอกจฺจาย วุฏฺฐิตาย ปริสาย อถญฺเญ อาวาสิกา ภิกฺขู อาคจฺฉนฺติ สมสมา. ปวาริตา สุปฺปวาริตา เตสํ สนฺติเก ปวาเรตพฺพํ. ปวาริตานํ อาปตฺติ ถุลฺลจฺจยสฺส. อิธ ปน ภิกฺขเว อญฺญตรสฺมึ อาวาเส ตทหุ ปวารณาย สมฺพหุลา อาวาสิกา ภิกฺขู สนฺนิปตนฺติ ปญฺจ วา อติเรกา วา. เต ชานนฺติ “อตฺถญฺเญ อาวาสิกา ภิกฺขู อนาคตา”ติ. เต “นสฺสนฺเตเต วินสฺสนฺเตเต โก เตหิ อตฺโถ”ติ เภทปุเรกฺขารา ปวาเรนฺติ. เตหิ ปวาริตมตฺเต เอกจฺจาย วุฏฺฐิตาย ปริสาย อถญฺเญ อาวาสิกา ภิกฺขู อาคจฺฉนฺติ โถกตรา. ปวาริตา สุปฺปวาริตา เตสํ สนฺติเก ปวาเรตพฺพํ. ปวาริตานํ อาปตฺติ ถุลฺลจฺจยสฺส. อิธ ปน ภิกฺขเว อญฺญตรสฺมึ อาวาเส ตทหุ ปวารณาย สมฺพหุลา อาวาสิกา ภิกฺขู สนฺนิปตนฺติ ปญฺจ วา อติเรกา วา. เต ชานนฺติ “อตฺถญฺเญ อาวาสิกา ภิกฺขู อนาคตา”ติ. เต “นสฺสนฺเตเต วินสฺสนฺเตเต โก เตหิ อตฺโถ”ติ เภทปุเรกฺขารา ปวาเรนฺติ. เตหิ ปวาริตมตฺเต สพฺพาย วุฏฺฐิตาย ปริสาย อถญฺเญ อาวาสิกา ภิกฺขู อาคจฺฉนฺติ พหุตรา. เตหิ ภิกฺขเว ภิกฺขูหิ ปุน ปวาเรตพฺพํ. ปวาริตานํ อาปตฺติ ถุลฺลจฺจยสฺส. อิธ ปน ภิกฺขเว อญฺญตรสฺมึ อาวาเส ตทหุ ปวารณาย สมฺพหุลา อาวาสิกา ภิกฺขู สนฺนิปตนฺติ ปญฺจ วา อติเรกา วา. เต ชานนฺติ “อตฺถญฺเญ อาวาสิกา ภิกฺขู อนาคตา”ติ. เต “นสฺสนฺเตเต วินสฺสนฺเตเต โก เตหิ อตฺโถ”ติ เภทปุเรกฺขารา ปวาเรนฺติ. เตหิ ปวาริตมตฺเต สพฺพาย วุฏฺฐิตาย ปริสาย อถญฺเญ อาวาสิกา ภิกฺขู อาคจฺฉนฺติ สมสมา. ปวาริตา สุปฺปวาริตา เตสํ สนฺติเก ปวาเรตพฺพํ. ปวาริตานํ อาปตฺติ ถุลฺลจฺจยสฺส. อิธ ปน ภิกฺขเว อญฺญตรสฺมึ อาวาเส ตทหุ ปวารณาย สมฺพหุลา อาวาสิกา ภิกฺขู สนฺนิปตนฺติ ปญฺจ วา อติเรกา วา. เต ชานนฺติ “อตฺถญฺเญ อาวาสิกา ภิกฺขู อนาคตา”ติ. เต “นสฺสนฺเตเต วินสฺสนฺเตเต โก เตหิ อตฺโถ”ติ เภทปุเรกฺขารา ปวาเรนฺติ. เตหิ ปวาริตมตฺเต สพฺพาย วุฏฺฐิตาย ปริสาย อถญฺเญ อาวาสิกา ภิกฺขู อาคจฺฉนฺติ โถกตรา. ปวาริตา สุปฺปวาริตา เตสํ สนฺติเก ปวาเรตพฺพํ. ปวาริตานํ อาปตฺติ ถุลฺลจฺจยสฺส. 
so ce evaṃ vadeyya: sīlavipattiyā ṭhapemi, ācāravip.ṭh., diṭṭhivip.ṭhapemīti, so evam assa vacanīyo: jānāti panāyasmā sīlavipattiṃ, jānāti ācāravipattiṃ, jānāti diṭṭhivipattin ti.  so ce evaṃ vadeyya: jānāmi kho ahaṃ āvuso sīlavipattiṃ, jānāmi ācāravipattiṃ, jānāmi diṭṭhivipattin ti, so evam assa vacanīyo: katamā panāvuso sīlavipatti, katamā ācāravipatti, katamā diṭṭhivipattīti. |11| 
เภทปุเรกฺขารปนฺนรสกํ นิฏฺฐิตํ.  ปญฺจวีสตฺติกา นิฏฺฐิตา. 
so ce evaṃ vadeyya: cattāri ca pārājikāni terasa saṃghādisesā ayaṃ sīlavipatti, thullaccayaṃ pācittiyaṃ pāṭidesanīyaṃ dukkaṭaṃ dubbhāsitaṃ ayaṃ ācāravipatti, micchādiṭṭhi antaggāhikā diṭṭhi ayaṃ diṭṭhivipattīti, so evam assa vacanīyo: yaṃ kho tvaṃ āvuso imassa bhikkhuno pavāraṇaṃ ṭhapesi, diṭṭhena ṭhapesi, sutena ṭhapesi, parisaṅkāya ṭhapesīti. |12| 
(๑๓๓. สีโมตฺตนฺติกเปยฺยาลํ) ๒๒๗. อิธ ปน ภิกฺขเว อญฺญตรสฺมึ อาวาเส ตทหุ ปวารณาย สมฺพหุลา อาวาสิกา ภิกฺขู สนฺนิปตนฺติ ปญฺจ วา อติเรกา วา. เต น ชานนฺติ “อญฺเญ อาวาสิกา ภิกฺขู อนฺโตสีมํ โอกฺกมนฺตี”ติฯเปฯ 
so ce evaṃ vadeyya: diṭṭhena vā ṭhapemi, sutena vā ṭhapemi, parisaṅkāya vā ṭhapemīti, so evam assa vacanīyo: yaṃ kho tvaṃ āvuso imassa bhikkhuno diṭṭhena pavāraṇaṃ ṭhapesi, kiṃ te diṭṭhaṃ, kinti te diṭṭhaṃ, kadā te diṭṭhaṃ, kattha te diṭṭhaṃ, pārājikaṃ ajjhāpajjanto diṭṭho, saṃghādisesaṃ ajjhāpajjanto diṭṭho, thullaccayaṃ pācittiyaṃ pāṭidesanīyaṃ dukkaṭaṃ dubbhāsitaṃ ajjhāpajjanto diṭṭho, kattha ca tvaṃ ahosi, kattha cāyaṃ bhikkhu ahosi, kiṃ ca tvaṃ karosi, kiṃ cāyaṃ bhikkhu karotīti. |13| 
เต น ชานนฺติ “อญฺเญ อาวาสิกา ภิกฺขู อนฺโตสีมํ โอกฺกนฺตา”ติฯเปฯ 
so ce evaṃ vadeyya: na kho ahaṃ āvuso imassa bhikkhuno diṭṭhena pavāraṇaṃ ṭhapemi, api ca sutena pavāraṇaṃ ṭhapemīti, so evam assa vacanīyo: yaṃ kho tvaṃ āvuso imassa bhikkhuno sutena pavāraṇaṃ ṭhapesi, kiṃ te sutaṃ, kinti te sutaṃ, kadā te sutaṃ, kattha te sutaṃ, pārājikaṃ ajjhāpanno ’ti sutaṃ, saṃghādisesaṃ ajjhāpanno ’ti sutaṃ, thullaccayaṃ pācittiyaṃ pāṭidesanīyaṃ {dukkaṭaṃ} dubbhāsitaṃ ajjhāpanno ’ti sutaṃ, bhikkhussa sutaṃ, bhikkhuniyā s., sikkhamānāya s., sāmaṇerassa s., sāmaṇeriyā s., upāsakassa s., upāsikāya s., rājūnaṃ s., rājamahāmattānaṃ s., titthiyānaṃ s., titthiyasāvakānaṃ sutan ti. |14| 
เต น ปสฺสนฺติ อญฺเญ อาวาสิเก ภิกฺขู อนฺโตสีมํ โอกฺกมนฺเตฯเปฯ 
so ce evaṃ vadeyya: na kho ahaṃ āvuso imassa bhikkhuno sutena pavāraṇaṃ ṭhapemi, api ca parisaṅkāya pavāraṇaṃ ṭhapemīti, so evam assa vacanīyo: yaṃ kho tvaṃ āvuso imassa bhikkhuno parisaṅkāya pavāraṇaṃ ṭhapesi, kiṃ parisaṅkasi, kinti parisaṅkasi, kadā parisaṅkasi, kattha parisaṅkasi, pārā (173) jikaṃ ajjhāpanno ’ti parisaṅkasi, saṃghādisesaṃ ajjhāpanno ’ti parisaṅkasi, thullaccayaṃ pācittiyaṃ pāṭidesanīyaṃ dukkaṭaṃ dubbhāsitaṃ ajjhāpanno ’ti parisaṅkasi, bhikkhussa sutvā parisaṅkasi ...titthiyasāvakānaṃ sutvā parisaṅkasīti. |15| 
เต น ปสฺสนฺติ อญฺเญ อาวาสิเก ภิกฺขู อนฺโตสีมํ โอกฺกนฺเตฯเปฯ 
so ce evaṃ vadeyya: na kho ahaṃ āvuso imassa bhikkhuno parisaṅkāya pavāraṇaṃ ṭhapemi, api ca ahaṃ na jānāmi kena ahaṃ imassa bhikkhuno pavāraṇaṃ ṭhapemīti, so ce bhikkhave codako bhikkhu anuyogena viññūnaṃ sabrahmacārīnaṃ cittaṃ na ārādheti ananuvādo cudito bhikkhū ’ti alaṃ vacanāya.  so ce bhikkhave codako bhikkhu anuyogena viññūnaṃ {sabrahmacārīnaṃ} cittaṃ ārādheti sānuvādo cudito bhikkhū ’ti alaṃ vacanāya. |16| 
เต น สุณนฺติ “อญฺเญ อาวาสิกา ภิกฺขู อนฺโตสีมํ โอกฺกมนฺตี”ติฯเปฯ  เต น สุณนฺติ “อญฺเญ อาวาสิกา ภิกฺขู อนฺโตสีมํ โอกฺกนฺตา”ติฯเปฯ. 
so ce bhikkhave codako bhikkhu amūlakena pārājikena anuddhaṃsitaṃ paṭijānāti, saṃghādisesaṃ ropetvā saṃghena pavāretabbaṃ.  so ce bhikkhave codako bhikkhu amūlakena saṃghādisesena anuddhaṃsitaṃ paṭijānāti, yathādhammaṃ kārāpetvā saṃghena pavāretabbaṃ.  so ce bhikkhave codako bhikkhu amūlakena thullaccayena pācittiyena pāṭidesanīyena dukkaṭena dubbhāsitena anuddhaṃsitaṃ paṭijānāti, yathādhammaṃ kārāpetvā saṃghena pavāretabbaṃ. |17| 
อาวาสิเกน อาวาสิกา เอกสตปญฺจสตฺตติ ติกนยโต อาวาสิเกน อาคนฺตุกา อาคนฺตุเกน อาวาสิกา อาคนฺตุเกน อาคนฺตุกา เปยฺยาลมุเขน สตฺต ติกสตานิ โหนฺติ. (สีโมกฺกนฺติกเปยฺยาลํ นิฏฺฐิตํ.)     
so ce bhikkhave cudito bhikkhu pārājikaṃ ajjhāpanno ’ti paṭijānāti, nāsetvā saṃghena pavāretabbaṃ.  so ce bhikkhave cudito bhikkhu saṃghādisesaṃ ajjhāpanno ’ti paṭijānāti, saṃghādisesaṃ ropetvā saṃghena pavāretabbaṃ.  so ce bhikkhave cudito bhikkhu thullaccayaṃ pācittiyaṃ pāṭidesanīyaṃ dukkaṭaṃ dubbhāsitaṃ ajjhāpanno ’ti paṭijānāti, yathādhammaṃ kārāpetvā saṃghena pavāretabbaṃ. |18| 
(๑๓๔. ทิวสนานตฺตํ) ๒๒๘. อิธ ปน ภิกฺขเว อาวาสิกานํ ภิกฺขูนํ จาตุทฺทโส โหติ อาคนฺตุกานํ ปนฺนรโส. สเจ อาวาสิกา พหุตรา โหนฺติ อาคนฺตุเกหิ อาวาสิกานํ อนุวตฺติตพฺพํ. สเจ สมสมา โหนฺติ อาคนฺตุเกหิ อาวาสิกานํ อนุวตฺติตพฺพํ. สเจ อาคนฺตุกา พหุตรา โหนฺติ อาวาสิเกหิ อาคนฺตุกานํ อนุวตฺติตพฺพํ. อิธ ปน ภิกฺขเว อาวาสิกานํ ภิกฺขูนํ ปนฺนรโส โหติ อาคนฺตุกานํ จาตุทฺทโส. สเจ อาวาสิกา พหุตรา โหนฺติ อาคนฺตุเกหิ อาวาสิกานํ อนุวตฺติตพฺพํ. สเจ สมสมา โหนฺติ อาคนฺตุเกหิ อาวาสิกานํ อนุวตฺติตพฺพํ. สเจ อาคนฺตุกา พหุตรา โหนฺติ อาวาสิเกหิ อาคนฺตุกานํ อนุวตฺติตพฺพํ. อิธ ปน ภิกฺขเว อาวาสิกานํ ภิกฺขูนํ ปาฏิปโท โหติ อาคนฺตุกานํ ปนฺนรโส. สเจ อาวาสิกา พหุตรา โหนฺติ อาวาสิเกหิ อาคนฺตุกานํ นากามา ทาตพฺพา สามคฺคี อาคนฺตุเกหิ นิสฺสีมํ คนฺตฺวา ปวาเรตพฺพํ. สเจ สมสมา โหนฺติ อาวาสิเกหิ อาคนฺตุกานํ นากามา ทาตพฺพา สามคฺคี อาคนฺตุเกหิ นิสฺสีมํ คนฺตฺวา ปวาเรตพฺพํ สเจ อาคนฺตุกา พหุตรา โหนฺติ อาวาสิเกหิ อาคนฺตุกานํ สามคฺคี วา ทาตพฺพา นิสฺสีมํ วา คนฺตพฺพํ. อิธ ปน ภิกฺขเว อาวาสิกานํ ภิกฺขูนํ ปนฺนรโส โหติ อาคนฺตุกานํ ปาฏิปโท. สเจ อาวาสิกา พหุตรา โหนฺติ อาคนฺตุเกหิ อาวาสิกานํ สามคฺคี วา ทาตพฺพา นิสฺสีมํ วา คนฺตพฺพํ. สเจ สมสมา โหนฺติ อาคนฺตุเกหิ อาวาสิกานํ สามคฺคี วา ทาตพฺพา นิสฺสีมํ วา คนฺตพฺพํ. สเจ อาคนฺตุกา พหุตรา โหนฺติ อาคนฺตุเกหิ อาวาสิกานํ นากามา ทาตพฺพา สามคฺคี อาวาสิเกหิ นิสฺสีมํ คนฺตฺวา ปวาเรตพฺพํ. ทิวสนานตฺตํ นิฏฺฐิตํ. ๑๓๕. ลิงฺคาทิทสฺสนํ ๒๒๙. อิธ ปน ภิกฺขเว อาคนฺตุกา ภิกฺขู ปสฺสนฺติ อาวาสิกานํ ภิกฺขูนํ อาวาสิกาการํ อาวาสิกลิงฺคํ อาวาสิกนิมิตฺตํ อาวาสิกุทฺเทสํ สุปฺปญฺญตฺตํ มญฺจปีฐํ ภิสิพิพฺโพหนํ ปานียํ ปริโภชนียํ สปฏฺฐิตํ ปริเวณํ สุสมฺมฏฺฐํ ปสฺสิตฺวา เวมติกา โหนฺติ “อตฺถิ นุ โข อาวาสิกา ภิกฺขู นตฺถิ นุ โข”ติ. เต เวมติกา น วิจินนฺติ อวิจินิตฺวา ปวาเรนฺติ. อาปตฺติ ทุกฺกฏสฺสฯเปฯ เต เวมติกา วิจินนฺติ วิจินิตฺวา น ปสฺสนฺติ อปสฺสิตฺวา ปวาเรนฺติ. อนาปตฺติ. เต เวมติกา วิจินนฺติ วิจินิตฺวา ปสฺสนฺติ ปสฺสิตฺวา เอกโต ปวาเรนฺติ. อนาปตฺติ. เต เวมติกา วิจินนฺติ วิจินิตฺวา ปสฺสนฺติ ปสฺสิตฺวา ปาเฏกฺกํ ปวาเรนฺติ. อาปตฺติ ทุกฺกฏสฺส. เต เวมติกา วิจินนฺติ วิจินิตฺวา ปสฺสนฺติ ปสฺสิตฺวา “นสฺสนฺเตเต วินสฺสนฺเตเต โก เตหิ อตฺโถ”ติ เภทปุเรกฺขารา ปวาเรนฺติ. อาปตฺติ ถุลฺลจฺจยสฺส. อิธ ปน ภิกฺขเว อาคนฺตุกา ภิกฺขู สุณนฺติ อาวาสิกานํ ภิกฺขูนํ อาวาสิกาการํ อาวาสิกลิงฺคํ อาวาสิกนิมิตฺตํ อาวาสิกุทฺเทสํ จงฺกมนฺตานํ ปทสทฺทํ สชฺฌายสทฺทํ อุกฺกาสิตสทฺทํ ขิปิตสทฺทํ สุตฺวา เวมติกา โหนฺติ “อตฺถิ นุ โข อาวาสิกา ภิกฺขู นตฺถิ นุ โข”ติ. เต เวมติกา น วิจินนฺติ อวิจินิตฺวา ปวาเรนฺติ. อาปตฺติ ทุกฺกฏสฺส. เต เวมติกา วิจินนฺติ วิจินิตฺวา น ปสฺสนฺติ อปสฺสิตฺวา ปวาเรนฺติ. อนาปตฺติ. เต เวมติกา วิจินนฺติ วิจินิตฺวา ปสฺสนฺติ ปสฺสิตฺวา เอกโต ปวาเรนฺติ. อนาปตฺติ. เต เวมติกา วิจินนฺติ วิจินิตฺวา ปสฺสนฺติ ปสฺสิตฺวา ปาเฏกฺกํ ปวาเรนฺติ. อาปตฺติ ทุกฺกฏสฺส. เต เวมติกา วิจินนฺติ วิจินิตฺวา ปสฺสนฺติ ปสฺสิตฺวา “นสฺสนฺเตเต วินสฺสนฺเตเต โก เตหิ อตฺโถ”ติ เภทปุเรกฺขารา ปวาเรนฺติ. อาปตฺติ ถุลฺลจฺจยสฺส. อิธ ปน ภิกฺขเว อาวาสิกา ภิกฺขู ปสฺสนฺติ อาคนฺตุกานํ ภิกฺขูนํ อาคนฺตุกาการํ อาคนฺตุกลิงฺคํ อาคนฺตุกนิมิตฺตํ อาคนฺตุกุทฺเทสํ อญฺญาตกํ ปตฺตํ อญฺญาตกํ จีวรํ อญฺญาตกํ นิสีทนํ ปาทานํ โธตํ อุทกนิสฺเสกํ ปสฺสิตฺวา เวมติกา โหนฺติ “อตฺถิ นุ โข อาคนฺตุกา ภิกฺขู นตฺถิ นุ โข”ติ. เต เวมติกา น วิจินนฺติ อวิจินิตฺวา ปวาเรนฺติ. อาปตฺติ ทุกฺกฏสฺส. เต เวมติกา วิจินนฺติ วิจินิตฺวา น ปสฺสนฺติ อปสฺสิตฺวา ปวาเรนฺติ. อนาปตฺติ. เต เวมติกา วิจินนฺติ วิจินิตฺวา ปสฺสนฺติ ปสฺสิตฺวา เอกโต ปวาเรนฺติ. อนาปตฺติ. เต เวมติกา วิจินนฺติ วิจินิตฺวา ปสฺสนฺติ ปสฺสิตฺวา ปาเฏกฺกํ ปวาเรนฺติ. อาปตฺติ ทุกฺกฏสฺส. เต เวมติกา วิจินนฺติ วิจินิตฺวา ปสฺสนฺติ ปสฺสิตฺวา นสฺสนฺเตเต วินสฺสนฺเตเต โก เตหิ อตฺโถติ เภทปุเรกฺขารา ปวาเรนฺติ. อาปตฺติ ถุลฺลจฺจยสฺส. อิธ ปน ภิกฺขเว อาวาสิกา ภิกฺขู สุณนฺติ อาคนฺตุกานํ ภิกฺขูนํ อาคนฺตุกาการํ อาคนฺตุกลิงฺคํ อาคนฺตุกนิมิตฺตํ อาคนฺตุกุทฺเทสํ อาคจฺฉนฺตานํ ปทสทฺทํ อุปาหนปปฺโผฏนสทฺทํ อุกฺกาสิตสทฺทํ ขิปิตสทฺทํ สุตฺวา เวมติกา โหนฺติ “อตฺถิ นุ โข อาคนฺตุกา ภิกฺขู นตฺถิ นุ โข”ติ. เต เวมติกา น วิจินนฺติ อวิจินิตฺวา ปวาเรนฺติ. อาปตฺติ ทุกฺกฏสฺส. เต เวมติกา วิจินนฺติ วิจินิตฺวา น ปสฺสนฺติ อปสฺสิตฺวา ปวาเรนฺติ. อนาปตฺติ. เต เวมติกา วิจินนฺติ วิจินิตฺวา ปสฺสนฺติ ปสฺสิตฺวา เอกโต ปวาเรนฺติ. อนาปตฺติ. เต เวมติกา วิจินนฺติ วิจินิตฺวา ปสฺสนฺติ ปสฺสิตฺวา ปาเฏกฺกํ ปวาเรนฺติ. อาปตฺติ ทุกฺกฏสฺส. เต เวมติกา วิจินนฺติ วิจินิตฺวา ปสฺสนฺติ ปสฺสิตฺวา นสฺสนฺเตเต วินสฺสนฺเตเต โก เตหิ อตฺโถติ เภทปุเรกฺขารา ปวาเรนฺติ. อาปตฺติ ถุลฺลจฺจยสฺส. ลิงฺคาทิทสฺสนํ นิฏฺฐิตํ. ๑๓๖. นานาสํวาสกาทีหิ ปวารณา ๒๓๐. อิธ ปน ภิกฺขเว อาคนฺตุกา ภิกฺขู ปสฺสนฺติ อาวาสิเก ภิกฺขู นานาสํวาสเก. เต สมานสํวาสกทิฏฺฐึ ปฏิลภนฺติ สมานสํวาสกทิฏฺฐึ ปฏิลภิตฺวา น ปุจฺฉนฺติ อปุจฺฉิตฺวา เอกโต ปวาเรนฺติ. อนาปตฺติ. เต ปุจฺฉนฺติ ปุจฺฉิตฺวา นาภิวิตรนฺติ อนภิวิตริตฺวา เอกโต ปวาเรนฺติ. อาปตฺติ ทุกฺกฏสฺส. เต ปุจฺฉนฺติ ปุจฺฉิตฺวา นาภิวิตรนฺติ อนภิวิตริตฺวา ปาเฏกฺกํ ปวาเรนฺติ. อนาปตฺติ. อิธ ปน ภิกฺขเว อาคนฺตุกา ภิกฺขู ปสฺสนฺติ อาวาสิเก ภิกฺขู สมานสํวาสเก. เต นานาสํวาสกทิฏฺฐึ ปฏิลภนฺติ นานาสํวาสกทิฏฺฐึ ปฏิลภิตฺวา น ปุจฺฉนฺติ อปุจฺฉิตฺวา เอกโต ปวาเรนฺติ. อาปตฺติ ทุกฺกฏสฺส. เต ปุจฺฉนฺติ ปุจฺฉิตฺวา อภิวิตรนฺติ อภิวิตริตฺวา ปาเฏกฺกํ ปวาเรนฺติ. อาปตฺติ ทุกฺกฏสฺส. เต ปุจฺฉนฺติ ปุจฺฉิตฺวา อภิวิตรนฺติ อภิวิตริตฺวา เอกโต ปวาเรนฺติ. อนาปตฺติ. อิธ ปน ภิกฺขเว อาวาสิกา ภิกฺขู ปสฺสนฺติ อาคนฺตุเก ภิกฺขู นานาสํวาสเก. เต สมานสํวาสกทิฏฺฐึ ปฏิลภนฺติ สมานสํวาสกทิฏฺฐึ ปฏิลภิตฺวา น ปุจฺฉนฺติ อปุจฺฉิตฺวา เอกโต ปวาเรนฺติ. อนาปตฺติ. เต ปุจฺฉนฺติ ปุจฺฉิตฺวา นาภิวิตรนฺติ อนภิวิตริตฺวา เอกโต ปวาเรนฺติ. อาปตฺติ ทุกฺกฏสฺส. เต ปุจฺฉนฺติ ปุจฺฉิตฺวา นาภิวิตรนฺติ อนภิวิตริตฺวา ปาเฏกฺกํ ปวาเรนฺติ. อนาปตฺติ. อิธ ปน ภิกฺขเว อาวาสิกา ภิกฺขู ปสฺสนฺติ อาคนฺตุเก ภิกฺขู สมานสํวาสเก. เต นานาสํวาสกทิฏฺฐึ ปฏิลภนฺติ นานาสํวาสกทิฏฺฐึ ปฏิลภิตฺวา น ปุจฺฉนฺติ อปุจฺฉิตฺวา เอกโต ปวาเรนฺติ. อาปตฺติ ทุกฺกฏสฺส. เต ปุจฺฉนฺติ ปุจฺฉิตฺวา อภิวิตรนฺติ อภิวิตริตฺวา ปาเฏกฺกํ ปวาเรนฺติ. อาปตฺติ ทุกฺกฏสฺส. เต ปุจฺฉนฺติ ปุจฺฉิตฺวา อภิวิตรนฺติ อภิวิตริตฺวา เอกโต ปวาเรนฺติ. อนาปตฺติ. นานาสํวาสกาทีหิ ปวารณา นิฏฺฐิตา. ๑๓๗. น คนฺตพฺพวาโร ๒๓๑. น ภิกฺขเว ตทหุ ปวารณาย สภิกฺขุกา อาวาสา อภิกฺขุโก อาวาโส คนฺตพฺโพ อญฺญตฺร สงฺเฆน อญฺญตฺร อนฺตรายา. น ภิกฺขเว ตทหุ ปวารณาย สภิกฺขุกา อาวาสา อภิกฺขุโก อนาวาโส คนฺตพฺโพ อญฺญตฺร สงฺเฆน อญฺญตฺร อนฺตรายา. น ภิกฺขเว ตทหุ ปวารณาย สภิกฺขุกา อาวาสา อภิกฺขุโก อาวาโส วา อนาวาโส วา คนฺตพฺโพ อญฺญตฺร สงฺเฆน อญฺญตฺร อนฺตรายา. น ภิกฺขเว ตทหุ ปวารณาย สภิกฺขุกา อนาวาสา อภิกฺขุโก อาวาโส คนฺตพฺโพ อญฺญตฺร สงฺเฆน อญฺญตฺร อนฺตรายา. น ภิกฺขเว ตทหุ ปวารณาย สภิกฺขุกา อนาวาสา อภิกฺขุโก อนาวาโส คนฺตพฺโพ อญฺญตฺร สงฺเฆน อญฺญตฺร อนฺตรายา. น ภิกฺขเว ตทหุ ปวารณาย สภิกฺขุกา อนาวาสา อภิกฺขุโก อาวาโส วา อนาวาโส วา คนฺตพฺโพ อญฺญตฺร สงฺเฆน อญฺญตฺร อนฺตรายา. น ภิกฺขเว ตทหุ ปวารณาย สภิกฺขุกา อาวาสา วา อนาวาสา วา อภิกฺขุโก อาวาโส คนฺตพฺโพ อญฺญตฺร สงฺเฆน อญฺญตฺร อนฺตรายา. น ภิกฺขเว ตทหุ ปวารณาย สภิกฺขุกา อาวาสา วา อนาวาสา วา อภิกฺขุโก อนาวาโส คนฺตพฺโพ อญฺญตฺร สงฺเฆน อญฺญตฺร อนฺตรายา น ภิกฺขเว ตทหุ ปวารณาย สภิกฺขุกา อาวาสา วา อนาวาสา วา อภิกฺขุโก อาวาโส วา อนาวาโส วา คนฺตพฺโพ อญฺญตฺร สงฺเฆน อญฺญตฺร อนฺตรายา. น ภิกฺขเว ตทหุ ปวารณาย สภิกฺขุกา อาวาสา สภิกฺขุโก อาวาโส คนฺตพฺโพ ยตฺถสฺสุ ภิกฺขู นานาสํวาสกา อญฺญตฺร สงฺเฆน อญฺญตฺร อนฺตรายา. น ภิกฺขเว ตทหุ ปวารณาย สภิกฺขุกา อาวาสา สภิกฺขุโก อนาวาโส คนฺตพฺโพ ยตฺถสฺสุ ภิกฺขู นานาสํวาสกา อญฺญตฺร สงฺเฆน อญฺญตฺร อนฺตรายา. น ภิกฺขเว ตทหุ ปวารณาย สภิกฺขุกา อาวาสา สภิกฺขุโก อาวาโส วา อนาวาโส วา คนฺตพฺโพ ยตฺถสฺสุ ภิกฺขู นานาสํวาสกา อญฺญตฺร สงฺเฆน อญฺญตฺร อนฺตรายา. น ภิกฺขเว ตทหุ ปวารณาย สภิกฺขุกา อนาวาสา สภิกฺขุโก อาวาโส คนฺตพฺโพ ยตฺถสฺสุ ภิกฺขู นานาสํวาสกา อญฺญตฺร สงฺเฆน อญฺญตฺร อนฺตรายา. น ภิกฺขเว ตทหุ ปวารณาย สภิกฺขุกา อนาวาสา สภิกฺขุโก อนาวาโส คนฺตพฺโพ ยตฺถสฺสุ ภิกฺขู นานาสํวาสกา อญฺญตฺร สงฺเฆน อญฺญตฺร อนฺตรายา. น ภิกฺขเว ตทหุ ปวารณาย สภิกฺขุกา อนาวาสา สภิกฺขุโก อาวาโส วา อนาวาโส วา คนฺตพฺโพ ยตฺถสฺสุ ภิกฺขู นานาสํวาสกา อญฺญตฺร สงฺเฆน อญฺญตฺร อนฺตรายา. น ภิกฺขเว ตทหุ ปวารณาย สภิกฺขุกา อาวาสา วา อนาวาสา วา สภิกฺขุโก อาวาโส คนฺตพฺโพ ยตฺถสฺสุ ภิกฺขู นานาสํวาสกา อญฺญตฺร สงฺเฆน อญฺญตฺร อนฺตรายา. น ภิกฺขเว ตทหุ ปวารณาย สภิกฺขุกา อาวาสา วา อนาวาสา วา สภิกฺขุโก อนาวาโส คนฺตพฺโพ ยตฺถสฺสุ ภิกฺขู นานาสํวาสกา อญฺญตฺร สงฺเฆน อญฺญตฺร อนฺตรายา. น ภิกฺขเว ตทหุ ปวารณาย สภิกฺขุกา อาวาสา วา อนาวาสา วา สภิกฺขุโก อาวาโส วา อนาวาโส วา คนฺตพฺโพ ยตฺถสฺสุ ภิกฺขู นานาสํวาสกา อญฺญตฺร สงฺเฆน อญฺญตฺร อนฺตรายา. น คนฺตพฺพวาโร นิฏฺฐิโต. ๑๓๘. คนฺตพฺพวาโร ๒๓๒. คนฺตพฺโพ ภิกฺขเว ตทหุ ปวารณาย สภิกฺขุกา อาวาสา สภิกฺขุโก อาวาโส ยตฺถสฺสุ ภิกฺขู สมานสํวาสกา ยํ ชญฺญา “สกฺโกมิ อชฺเชว คนฺตุ”นฺติ. คนฺตพฺโพ ภิกฺขเว ตทหุ ปวารณาย สภิกฺขุกา อาวาสา สภิกฺขุโก อนาวาโสฯเปฯ สภิกฺขุโก อาวาโส วา อนาวาโส วา ยตฺถสฺสุ ภิกฺขู สมานสํวาสกา ยํ ชญฺญา “สกฺโกมิ อชฺเชว คนฺตุ”นฺติ. คนฺตพฺโพ ภิกฺขเว ตทหุ ปวารณาย สภิกฺขุกา อนาวาสา สภิกฺขุโก อาวาโสฯเปฯ สภิกฺขุโก อนาวาโสฯเปฯ สภิกฺขุโก อาวาโส วา อนาวาโส วา ยตฺถสฺสุ ภิกฺขู สมานสํวาสกา ยํ ชญฺญา “สกฺโกมิ อชฺเชว คนฺตุ”นฺติ. คนฺตพฺโพ ภิกฺขเว ตทหุ ปวารณาย สภิกฺขุกา อาวาสา วา อนาวาสา วา สภิกฺขุโก อาวาโสฯเปฯ สภิกฺขุโก อนาวาโสฯเปฯ สภิกฺขุโก อาวาโส วา อนาวาโส วา ยตฺถสฺสุ ภิกฺขู สมานสํวาสกา ยํ ชญฺญา “สกฺโกมิ อชฺเชว คนฺตุ”นฺติ. (คนฺตพฺพวาโร นิฏฺฐิโต.)     
idha pana bhikkhave bhikkhu tadahu pavāraṇāya thullaccayaṃ ajjhāpanno hoti.  ekacce bhikkhū thullaccayadiṭṭhino honti, ekacce bhikkhū saṃghādisesadiṭṭhino honti.  ye te bhikkhave bhikkhū thullaccayadiṭṭhino, tehi so bhikkhave bhikkhu ekamantaṃ apanetvā yathādhammaṃ kārāpetvā saṃghaṃ upasaṃkamitvā evam assa vacanīyo: yaṃ kho so āvuso bhikkhu āpattiṃ āpanno, sāssa yathādhammaṃ paṭikatā.  yadi saṃghassa pattakallaṃ, saṃgho pavāreyyā ’ti. |19| 
(๑๓๙. วชฺชนียปุคฺคลสนฺทสฺสนา) ๒๓๓. น ภิกฺขเว ภิกฺขุนิยา นิสินฺนปริสาย ปวาเรตพฺพํ.  โย ปวาเรยฺย อาปตฺติ ทุกฺกฏสฺส.  น ภิกฺขเว สิกฺขมานายฯเปฯ น สามเณรสฺสฯเปฯ น สามเณริยาฯเปฯ น สิกฺขํ ปจฺจกฺขาตกสฺสฯเปฯ น อนฺติมวตฺถุํ อชฺฌาปนฺนกสฺส นิสินฺนปริสาย ปวาเรตพฺพํ.  โย ปวาเรยฺย อาปตฺติ ทุกฺกฏสฺส 
idha pana bhikkhave bhikkhu tadahu pavāraṇāya thullaccayaṃ ajjhāpanno hoti.  ekacce bhikkhū thullaccayadiṭṭhino honti, ekacce bhikkhū pācittiyadiṭṭhino honti.  ekacce bhi-(174)kkhū thullaccayadiṭṭhino honti, ekacce bhikkhū pāṭidesanīyadiṭṭhino honti.ek.bh.thullaccayad.h., ek.bh.dukkaṭad.h., ek.bh.thullaccayad.h., ek.bh.dubbhāsitad.h.ye te bhikkhave bhikkhū thullaccayadiṭṭhino, tehi ...(= 19) ...saṃgho pavāreyyā ’ti. |20| 
น อาปตฺติยา อทสฺสเน อุกฺขิตฺตกสฺส นิสินฺนปริสาย ปวาเรตพฺพํ.  โย ปวาเรยฺย ยถาธมฺโม กาเรตพฺโพ.  น อาปตฺติยา อปฺปฏิกมฺเม อุกฺขิตฺตกสฺสฯเปฯ น ปาปิกาย ทิฏฺฐิยา อปฺปฏินิสฺสคฺเค อุกฺขิตฺตกสฺส นิสินฺนปริสาย ปวาเรตพฺพํ. 
idha pana bhikkhave bhikkhu tadahu pavāraṇāya pācittiyaṃ ajjhāpanno hoti, pāṭidesanīyaṃ ajjhāp.  hoti, dukkaṭaṃ ajjhāp.  hoti, dubbhāsitaṃ ajjhāp.  hoti.  ekacce bhikkhū dubbhāsitadiṭṭhino honti, ekacce bhikkhū saṃghādisesadiṭṭhino honti.  ye te bhikkhave bhikkhū dubbhāsitadiṭṭhino, tehi ...(= 19) ...saṃgho pavāreyyā ’ti. |21| 
โย ปวาเรยฺย ยถาธมฺโม กาเรตพฺโพ.  น ปณฺฑกสฺส นิสินฺนปริสาย ปวาเรตพฺพํ.  โย ปวาเรยฺย อาปตฺติ ทุกฺกฏสฺส.  น เถยฺยสํวาสกสฺสฯเปฯ น ติตฺถิยปกฺกนฺตกสฺสฯเปฯ น ติรจฺฉานคตสฺสฯเปฯ น มาตุฆาตกสฺสฯเปฯ น ปิตุฆาตกสฺสฯเปฯ น อรหนฺตฆาตกสฺสฯเปฯ น ภิกฺขุนิทูสกสฺส ฯเปฯ น สงฺฆเภทกสฺสฯเปฯ น โลหิตุปฺปาทกสฺส ฯเปฯ น อุภโตพฺยญฺชนกสฺส นิสินฺนปริสาย ปวาเรตพฺพํ.  โย ปวาเรยฺย อาปตฺติ ทุกฺกฏสฺส.  น ภิกฺขเว ปาริวาสิกปวารณาทาเนน ปวาเรตพฺพํ อญฺญตฺร อวุฏฺฐิตาย ปริสาย. 
idha pana bhikkhave bhikkhu tadahu pavāraṇāya dubbhāsitaṃ ajjhāpanno hoti.  ekacce bhikkhū dubbhāsitadiṭṭhino honti, ek.bh.thullaccayad.h., ek.bh.dubbhāsitad.h., ek.bh.pācittiyad.h., ek.bh.dubbhāsitad.h., ek.bh.pāṭidesanīyad.h., ek.bh.dubbhāsitad.h., ek.bh.dukkaṭad.honti.ye te bhikkhave bhikkhū dubbhāsitadiṭṭhino, tehi ...saṃgho pavāreyyā ’ti. |22| 
น จ ภิกฺขเว อปฺปวารณาย ปวาเรตพฺพํ อญฺญตฺร สงฺฆสามคฺคิยาติ. (วชฺชนียปุคฺคลสนฺทสฺสนา นิฏฺฐิตา. ทุติยภาณวาโร นิฏฺฐิโต.)   
idha pana bhikkhave bhikkhu tadahu pavāraṇāya saṃghamajjhe udāhareyya: suṇātu me bhante saṃgho.  idaṃ vatthuṃ paññāyati na puggalo.  yadi saṃghassa pattakallaṃ, vatthuṃ ṭhapetvā saṃgho pavāreyyā ’ti.  so evam assa vacanīyo: bhagavatā kho āvuso visuddhānaṃ pavāraṇā paññattā.  sace vatthuṃ paññāyati na puggalo, idān’ eva naṃ vadehīti. |23| 
  (๑๔๐. ทฺเววาจิกาทิปวารณา) ๒๓๔. เตน โข ปน สมเยน โกสเลสุ ชนปเท อญฺญตรสฺมึ อาวาเส ตทหุ ปวารณาย สวรภยํ อโหสิ.  ภิกฺขู นาสกฺขิ๎สุ เตวาจิกํ ปวาเรตุํ.  ภควโต เอตมตฺถํ อาโรเจสุํ.  อนุชานามิ ภิกฺขเว ทฺเววาจิกํ ปวาเรตุนฺติ. 
idha pana bhikkhave bhikkhu tadahu pavāraṇāya saṃghamajjhe udāhareyya: suṇātu me bhante saṃgho.  ayaṃ puggalo paññāyati na vatthuṃ.  yadi saṃghassa pattakallaṃ, puggalaṃ ṭhapetvā saṃgho pavāreyyā ’ti.  so evam assa vacanīyo: bhagavatā kho āvuso samaggānaṃ pavāraṇā paññattā.  sace puggalo paññāyati na vatthuṃ, idān’ eva naṃ vadehīti. |24| 
พาฬฺหตรํ สวรภยํ อโหสิ.  ภิกฺขู นาสกฺขิ๎สุ ทฺเววาจิกํ ปวาเรตุํ.  ภควโต เอตมตฺถํ อาโรเจสุํ.  อนุชานามิ ภิกฺขเว เอกวาจิกํ ปวาเรตุนฺติ.  พาฬฺหตรํ สวรภยํ อโหสิ. 
idha pana bhikkhave bhikkhu tadahu pavāraṇāya saṃghamajjhe udāhareyya: suṇātu me bhante saṃgho.  idaṃ vatthuñ ca puggalo ca paññāyati.  yadi saṃghassa pattakallaṃ, vatthuñ ca puggalañ ca ṭhapetvā saṃgho pavāreyyā ’ti.  so evam assa vacanīyo: bhagavatā kho āvuso visuddhānañ ca samaggānañ ca pavāraṇā paññattā.  sace vatthuñ ca puggalo ca paññāyati, idān’ eva naṃ vadehīti. |25| 
ภิกฺขู นาสกฺขิ๎สุ เอกวาจิกํ ปวาเรตุํ.  ภควโต เอตมตฺถํ อาโรเจสุํ.  อนุชานามิ ภิกฺขเว สมานวสฺสิกํ ปวาเรตุนฺติ.  เตน โข ปน สมเยน อญฺญตรสฺมึ อาวาเส ตทหุ ปวารณาย มนุสฺเสหิ ทานํ เทนฺเตหิ เยภุยฺเยน รตฺติ เขปิตา โหติ.  อถ โข เตสํ ภิกฺขูนํ เอตทโหสิ “มนุสฺเสหิ ทานํ เทนฺเตหิ เยภุยฺเยน รตฺติ เขปิตา. 
pubbe ce bhikkhave pavāraṇāya vatthuṃ paññāyati, pacchā puggalo, kallaṃ vacanāya.  pubbe ce bhikkhave (175) pavāraṇāya puggalo paññāyati, pacchā vatthuṃ, kallaṃ vacanāya.  pubbe ce bhikkhave pavāraṇāya vatthuñ ca puggalo ca paññāyati, taṃ ce katāya pavāraṇāya ukkoṭeti, ukkoṭanakaṃ pācittiyan ti. |26| 
สเจ สงฺโฆ เตวาจิกํ ปวาเรสฺสติ อปฺปวาริโตว สงฺโฆ ภวิสฺสติ อถายํ รตฺติ วิภายิสฺสติ.  กถํ นุ โข อมฺเหหิ ปฏิปชฺชิตพฺพ”นฺติ?  ภควโต เอตมตฺถํ อาโรเจสุํ. 
||16|| 
อิธ ปน ภิกฺขเว อญฺญตรสฺมึ อาวาเส ตทหุ ปวารณาย มนุสฺเสหิ ทานํ เทนฺเตหิ เยภุยฺเยน รตฺติ เขปิตา โหติ. 
tena kho pana samayena sambahulā sandiṭṭhā sambhattā bhikkhū Kosalesu janapadesu aññatarasmiṃ āvāse vassaṃ upagacchiṃsu.  tesaṃ sāmantā aññe bhikkhū bhaṇḍanakārakā kalahakārakā vivādakārakā bhassakārakā saṃghe adhikaraṇakārakā vassaṃ upagacchiṃsu mayaṃ tesaṃ bhikkhūnaṃ vassaṃ vutthānaṃ pavāraṇāya pavāraṇaṃ ṭhapessāmā ’ti.  assosuṃ kho te bhikkhū: amhākaṃ kira sāmantā aññe bhikkhū bhaṇḍanakārakā ... adhikaraṇakārakā vassaṃ upagatā mayaṃ ... ṭhapessāmā ’ti.  kathaṃ nu kho amhehi paṭipajjitabban ti.  bhagavato etam atthaṃ ārocesuṃ. |1| 
ตตฺร เจ ภิกฺขเว ภิกฺขูนํ เอวํ โหติ “มนุสฺเสหิ ทานํ เทนฺเตหิ เยภุยฺเยน รตฺติ เขปิตา. สเจ สงฺโฆ เตวาจิกํ ปวาเรสฺสติ อปฺปวาริโตว สงฺโฆ ภวิสฺสติ อถายํ รตฺติ วิภายิสฺสตี”ติ พฺยตฺเตน ภิกฺขุนา ปฏิพเลน สงฺโฆ ญาเปตพฺโพ “สุณาตุ เม ภนฺเต สงฺโฆ.  มนุสฺเสหิ ทานํ เทนฺเตหิ เยภุยฺเยน รตฺติ เขปิตา.  สเจ สงฺโฆ เตวาจิกํ ปวาเรสฺสติ อปฺปวาริโตว สงฺโฆ ภวิสฺสติ อถายํ รตฺติ วิภายิสฺสติ.  ยทิ สงฺฆสฺส ปตฺตกลฺลํ สงฺโฆ ทฺเววาจิกํ เอกวาจิกํ สมานวสฺสิกํ ปวาเรยฺยา”ติ.  อิธ ปน ภิกฺขเว อญฺญตรสฺมึ อาวาเส ตทหุ ปวารณาย ภิกฺขูหิ ธมฺมํ ภณนฺเตหิฯเปฯ สุตฺตนฺติเกหิ สุตฺตนฺตํ สงฺคายนฺเตหิ… วินยธเรหิ วินยํ วินิจฺฉินนฺเตหิ… ธมฺมกถิเกหิ ธมฺมํ สากจฺฉนฺเตหิ… ภิกฺขูหิ กลหํ กโรนฺเตหิ เยภุยฺเยน รตฺติ เขปิตา โหติ. 
idha pana bhikkhave sambahulā sandiṭṭhā sambhattā bhikkhū aññatarasmiṃ āvāse vassaṃ upagacchanti.  tesaṃ sāmantā aññe bhikkhū bhaṇḍanakārakā ... adhikaraṇakārakā vassaṃ upagacchanti mayaṃ ... ṭhapessāmā ’ti.  anujānāmi bhikkhave tehi bhikkhūhi dve tayo uposathe cātuddasike kātuṃ kathaṃ mayaṃ tehi bhikkhūhi paṭhamataraṃ pavāreyyāmā ’ti.  te ce bhikkhave bhikkhū bhaṇḍanakārakā ... adhikaraṇakārakā āvāsaṃ āgacchanti, tehi bhikkhave āvāsikehi bhikkhūhi lahuṃ-lahuṃ sannipatitvā pavāretabbaṃ, pavāretvā vattabbā: pavāritā kho mayaṃ āvuso, yathāyasmantā maññanti tathā karontū ’ti. |2| 
ตตฺร เจ ภิกฺขูนํ เอวํ โหติ “ภิกฺขูหิ กลหํ กโรนฺเตหิ เยภุยฺเยน รตฺติ เขปิตา.  สเจ สงฺโฆ เตวาจิกํ ปวาเรสฺสติ อปฺปวาริโตว สงฺโฆ ภวิสฺสติ อถายํ รตฺติ วิภายิสฺสตี”ติ พฺยตฺเตน ภิกฺขุนา ปฏิพเลน สงฺโฆ ญาเปตพฺโพ “สุณาตุ เม ภนฺเต สงฺโฆ.  ภิกฺขูหิ กลหํ กโรนฺเตหิ เยภุยฺเยน รตฺติ เขปิตา.  สเจ สงฺโฆ เตวาจิกํ ปวาเรสฺสติ อปฺปวาริโตว สงฺโฆ ภวิสฺสติ อถายํ รตฺติ วิภายิสฺสติ. 
te ce bhikkhave bhikkhū bhaṇḍanakārakā ... adhikaraṇakārakā asaṃvihitā taṃ āvāsaṃ āgacchanti, tehi bhikkhave āvāsikehi bhikkhūhi āsanaṃ paññāpetabbaṃ, pādodakaṃ pādapīṭhaṃ pādakathalikaṃ upanikkhipitabbaṃ, paccuggantvā pattacīvaraṃ paṭiggahetabbaṃ, pāniyena pucchitabbā, tesaṃ vikkhitvā nissīmaṃ gantvā pavāretabbaṃ, pavāretvā vattabbā: pavāritā kho mayaṃ āvuso, yathāyasmantā maññanti tathā karontū ’ti. |3| 
ยทิ สงฺฆสฺส ปตฺตกลฺลํ สงฺโฆ ทฺเววาจิกํ เอกวาจิกํ สมานวสฺสิกํ ปวาเรยฺยา”ติ. 
evañ ce taṃ labhetha, icc etaṃ kusalaṃ, no ce labhetha, āvāsikena bhikkhunā vyattena paṭibalena āvāsikā bhikkhū ñāpetabbā: suṇantu me āyasmantā āvāsikā.  yad’ āyasmantānaṃ pattakallaṃ, idāni uposathaṃ kareyyāma pātimokkhaṃ uddiseyyā (176) ma, āgame kāḷe pavāreyyāmā ’ti.  te ce bhikkhave bhikkhū bhaṇḍanakārakā ... adhikaraṇakārakā te bhikkhū evaṃ vadeyyuṃ: sādh’ āvuso idān’ eva no pavārethā ’ti, te evaṃ assu vacanīyā: anissarā kho tumhe āvuso amhākaṃ pavāraṇāya, na tāva mayaṃ pavāressāmā ’ti. |4| 
เตน โข ปน สมเยน โกสเลสุ ชนปเท อญฺญตรสฺมึ อาวาเส ตทหุ ปวารณาย มหาภิกฺขุสงฺโฆ สนฺนิปติโต โหติ ปริตฺตญฺจ อโนวสฺสิกํ โหติ มหา จ เมโฆ อุคฺคโต โหติ.  อถ โข เตสํ ภิกฺขูนํ เอตทโหสิ “อยํ โข มหาภิกฺขุสงฺโฆ สนฺนิปติโต ปริตฺตญฺจ อโนวสฺสิกํ มหา จ เมโฆ อุคฺคโต.  สเจ สงฺโฆ เตวาจิกํ ปวาเรสฺสติ อปฺปวาริโตว สงฺโฆ ภวิสฺสติ อถายํ เมโฆ ปวสฺสิสฺสติ. 
te ce bhikkhave bhikkhū bhaṇḍanakārakā ... adhikaraṇakārakā taṃ kāḷaṃ anuvaseyyuṃ, āvāsikena bhikkhave bhikkhunā vyattena paṭibalena āvāsikā bhikkhū ñāpetabbā: suṇantu me āyasmantā ... uddiseyyāma, āgame juṇhe pavāreyyāmā ’ti.  te ce bhikkhave bhikkhū bhaṇḍanakārakā ... adhikaraṇakārakā te bhikkhū evaṃ vadeyyuṃ: sādh’ āvuso idān’ eva no pavārethā ’ti, te evaṃ assu vacanīyā: anissarā kho tumhe āvuso amhākaṃ pavāraṇāya, na tāva mayaṃ pavāressāmā ’ti. |5| 
กถํ นุ โข อมฺเหหิ ปฏิปชฺชิตพฺพ”นฺติ?  ภควโต เอตมตฺถํ อาโรเจสุํ. 
te ce bhikkhave bhikkhū bhaṇḍanakārakā ... adhikaraṇakārakā tam pi juṇhaṃ anuvaseyyuṃ, tehi bhikkhave bhikkhūhi sabbeh’ eva āgame juṇhe komudiyā cātumāsiniyā akāmā pavāretabbaṃ. |6| 
อิธ ปน ภิกฺขเว อญฺญตรสฺมึ อาวาเส ตทหุ ปวารณาย มหาภิกฺขุสงฺโฆ สนฺนิปติโต โหติ ปริตฺตญฺจ อโนวสฺสิกํ โหติ มหา จ เมโฆ อุคฺคโต โหติ. 
tehi ce bhikkhave bhikkhūhi pavāriyamāne gilāno agilānassa pavāraṇaṃ ṭhapeti, so evam assa vacanīyo: āyasmā kho gilāno, gilāno ca ananuyogakkhamo vutto bhagavatā.  āgamehi āvuso yāva ārogo hosi, ārogo ākaṅkhamāno codessasīti.  evaṃ ce vuccamāno codeti, anādariye pācittiyaṃ. |7| 
ตตฺร เจ ภิกฺขูนํ เอวํ โหติ “อยํ โข มหาภิกฺขุสงฺโฆ สนฺนิปติโต ปริตฺตญฺจ อโนวสฺสิกํ มหา จ เมโฆ อุคฺคโต. สเจ สงฺโฆ เตวาจิกํ ปวาเรสฺสติ อปฺปวาริโตว สงฺโฆ ภวิสฺสติ อถายํ เมโฆ ปวสฺสิสฺสตี”ติ. พฺยตฺเตน ภิกฺขุนา ปฏิพเลน สงฺโฆ ญาเปตพฺโพ “สุณาตุ เม ภนฺเต สงฺโฆ.  อยํ มหาภิกฺขุสงฺโฆ สนฺนิปติโต ปริตฺตญฺจ อโนวสฺสิกํ มหา จ เมโฆ อุคฺคโต. สเจ สงฺโฆ เตวาจิกํ ปวาเรสฺสติ อปฺปวาริโตว สงฺโฆ ภวิสฺสติ อถายํ เมโฆ ปวสฺสิสฺสติ.  ยทิ สงฺฆสฺส ปตฺตกลฺลํ สงฺโฆ ทฺเววาจิกํ เอกวาจิกํ สมานวสฺสิกํ ปวาเรยฺยา”ติ. 
tehi ce bhikkhave bhikkhūhi pavāriyamāne agilāno gilānassa pavāraṇaṃ ṭhapeti, so evam assa vacanīyo: ayaṃ kho āvuso bhikkhu gilāno, gilāno ca ananuyogakkhamo vutto bhagavatā.  āgamehi āvuso yāvāyaṃ bhikkhu ārogo hoti, ārogaṃ ākaṅkhamāno codessasīti.  evaṃ ce vuccamāno codeti, anādariye pācittiyaṃ. |8| 
อิธ ปน ภิกฺขเว อญฺญตรสฺมึ อาวาเส ตทหุ ปวารณาย ราชนฺตราโย โหติฯเปฯ โจรนฺตราโย โหติ… อคฺยนฺตราโย โหติ… อุทกนฺตราโย โหติ… มนุสฺสนฺตราโย โหติ… อมนุสฺสนฺตราโย โหติ… วาฬนฺตราโย โหติ… สรีสปนฺตราโย โหติ… ชีวิตนฺตราโย โหติ… พฺรหฺมจริยนฺตราโย โหติ.  ตตฺร เจ ภิกฺขูนํ เอวํ โหติ “อยํ โข พฺรหฺมจริยนฺตราโย  สเจ สงฺโฆ เตวาจิกํ ปวาเรสฺสติ อปฺปวาริโตว สงฺโฆ ภวิสฺสติ อถายํ พฺรหฺมจริยนฺตราโย ภวิสฺสตี”ติ พฺยตฺเตน ภิกฺขุนา ปฏิพเลน สงฺโฆ ญาเปตพฺโพ “สุณาตุ เม ภนฺเต สงฺโฆ. 
tehi ce bhikkhave bhikkhūhi pavāriyamāne gilāno gilānassa pavāraṇaṃ ṭhapeti, so evam assa vacanīyo: āyasmantā kho gilānā, gilāno ca ananuyogakkhamo vutto bhagavatā.  āgamehi āvuso yāva ārogā hotha, ārogaṃ ākaṅkhamāno codessasīti.  evaṃ ce vuccamāno codeti, anādariye pacittiyaṃ. |9| 
อยํ พฺรหฺมจริยนฺตราโย.  สเจ สงฺโฆ เตวาจิกํ ปวาเรสฺสติ อปฺปวาริโตว สงฺโฆ ภวิสฺสติ อถายํ พฺรหฺมจริยนฺตราโย ภวิสฺสติ.  ยทิ สงฺฆสฺส ปตฺตกลฺลํ สงฺโฆ ทฺเววาจิกํ เอกวาจิกํ สมานวสฺสิกํ ปวาเรยฺยา”ติ. (ทฺเววาจิกาทิปวารณา นิฏฺฐิตา.) 
tehi ce bhikkhave bhikkhūhi pavāriyamāne agilāno agilānassa pavāraṇaṃ ṭhapeti, ubho saṃghena samanuyuñjitvā samanuggāhitvā yathādhammaṃ kārāpetvā saṃghena pavāretabban ti. |10| 
 
||17|| 
 
tena kho pana samayena sambahulā sandiṭṭhā sambhattā (177) bhikkhū Kosalesu janapadesu aññatarasmiṃ āvāse vassaṃ upagacchiṃsu.  tesaṃ samaggānaṃ sammodamānānaṃ avivadamānānaṃ viharataṃ aññataro phāsuvihāro adhigato hoti.  atha kho tesaṃ bhikkhūnaṃ etad ahosi: amhākaṃ kho samaggānaṃ ... adhigato.  sace mayaṃ idāni pavāressāma, siyāpi bhikkhū pavāretvā cārikaṃ pakkameyyuṃ, evaṃ mayaṃ imamhā phāsuvihārā paribāhirā bhavissāma.  kathaṃ nu kho amhehi paṭipajjitabban ti.  bhagavato etam atthaṃ ārocesuṃ. |1| 
(๑๔๑. ปวารณาฐปนํ) ๒๓๕. เตน โข ปน สมเยน ฉพฺพคฺคิยา ภิกฺขู สาปตฺติกา ปวาเรนฺติ.  ภควโต เอตมตฺถํ อาโรเจสุํ.  น ภิกฺขเว สาปตฺติเกน ปวาเรตพฺพํ.  โย ปวาเรยฺย อาปตฺติ ทุกฺกฏสฺส.  อนุชานามิ ภิกฺขเว โย สาปตฺติโก ปวาเรติ ตสฺส โอกาสํ การาเปตฺวา อาปตฺติยา โจเทตุนฺติ.  เตน โข ปน สมเยน ฉพฺพคฺคิยา ภิกฺขู โอกาสํ การาปิยมานา น อิจฺฉนฺติ โอกาสํ กาตุํ. 
idha pana bhikkhave sambahulā sandiṭṭhā sambhattā bhikkhū aññatarasmiṃ āvāse vassaṃ upagacchanti.  tesaṃ samaggānaṃ ... adhigato hoti.  tatra ce bhikkhūnaṃ evaṃ hoti: amhākaṃ kho samaggānaṃ ... paribāhirā bhavissāmā ’ti.  anujānāmi bhikkhave tehi bhikkhūhi pavāraṇāsaṃgahaṃ kātuṃ. |2| 
ภควโต เอตมตฺถํ อาโรเจสุํ.  อนุชานามิ ภิกฺขเว โอกาสํ อกโรนฺตสฺส ปวารณํ ฐเปตุํ.  เอวญฺจ ปน ภิกฺขเว ฐเปตพฺพา.  ตทหุ ปวารณาย จาตุทฺทเส วา ปนฺนรเส วา ตสฺมึ ปุคฺคเล สมฺมุขีภูเต สงฺฆมชฺเฌ อุทาหริตพฺพํ “สุณาตุ เม ภนฺเต สงฺโฆ. 
evañ ca pana bhikkhave kātabbo.  sabbeh’ eva ekajjhaṃ sannipatitabbaṃ, sannipatitvā vyattena bhikkhunā paṭibalena saṃgho ñāpetabbo: suṇātu me bhante saṃgho.  amhākaṃ samaggānaṃ sammodamānānaṃ avivadamānānaṃ viharataṃ aññataro phāsuvihāro adhigato.  sace mayaṃ idāni pavāressāma, siyāpi bhikkhū pavāretvā cārikaṃ pakkameyyuṃ, evaṃ mayaṃ imamhā phāsuvihārā paribāhirā bhavissāma.  yadi saṃghassa pattakallaṃ, saṃgho pavāraṇāsaṃgahaṃ kareyya, idāni uposathaṃ kareyya pātimokkhaṃ uddiseyya, āgame komudiyā cātumāsiniyā saṃgho pavāreyya.  esā ñatti. |3| 
อิตฺถนฺนาโม ปุคฺคโล สาปตฺติโก ตสฺส ปวารณํ ฐเปมิ. น ตสฺมึ สมฺมุขีภูเต ปวาเรตพฺพ”นฺติ. ฐปิตา โหติ ปวารณาติ.  เตน โข ปน สมเยน ฉพฺพคฺคิยา ภิกฺขู ปุรมฺหากํ เปสลา ภิกฺขู ปวารณํ ฐเปนฺตีติ ปฏิกจฺเจว สุทฺธานํ ภิกฺขูนํ อนาปตฺติกานํ อวตฺถุสฺมึ อการเณ ปวารณํ ฐเปนฺติ ปวาริตานมฺปิ ปวารณํ ฐเปนฺติ.  ภควโต เอตมตฺถํ อาโรเจสุํ.  น ภิกฺขเว สุทฺธานํ ภิกฺขูนํ อนาปตฺติกานํ อวตฺถุสฺมึ อการเณ ปวารณา ฐเปตพฺพา.  โย ฐเปยฺย อาปตฺติ ทุกฺกฏสฺส.  น ภิกฺขเว ปวาริตานมฺปิ ปวารณา ฐเปตพฺพา. 
suṇātu me bhante saṃgho.  amhākaṃ samaggānaṃ ... paribāhirā bhavissāma.  saṃgho pavāraṇāsaṃgahaṃ karoti, idāni uposathaṃ karissati pātimokkhaṃ uddisissati, āgame komudiyā cātumāsiniyā pavāressati.  yassāyasmato khamati pavāraṇāsaṃgahassa karaṇaṃ idāni uposathaṃ karissati pātimokkhaṃ uddisissati, āgame komudiyā cātumāsiniyā pavāressati, so tuṇh’ assa.  yassa na kkhamati, so bhāseyya.  kato {saṃghena} pavāraṇāsaṃgaho idāni uposathaṃ karissati pātimokkhaṃ uddisissati, āgame komudiyā cātumāsiniyā pavāressati.  khamati saṃghassa, tasmā tuṇhī, evam etaṃ dhārayāmīti. |4| 
โย ฐเปยฺย อาปตฺติ ทุกฺกฏสฺส.  ๒๓๖. เอวํ โข ภิกฺขเว ฐปิตา โหติ ปวารณา เอวํ อฏฺฐปิตา.  กถญฺจ ภิกฺขเว อฏฺฐปิตา โหติ ปวารณา?  เตวาจิกาย เจ ภิกฺขเว ปวารณาย ภาสิตาย ลปิตาย ปริโยสิตาย ปวารณํ ฐเปติ อฏฺฐปิตา โหติ ปวารณา.  ทฺเววาจิกาย เจ ภิกฺขเว… เอกวาจิกาย เจ ภิกฺขเว… สมานวสฺสิกาย เจ ภิกฺขเว ปวารณาย ภาสิตาย ลปิตาย ปริโยสิตาย ปวารณํ ฐเปติ อฏฺฐปิตา โหติ ปวารณา.  เอวํ โข ภิกฺขเว อฏฺฐปิตา โหติ ปวารณา.  กถญฺจ ภิกฺขเว ฐปิตา โหติ ปวารณา? 
tehi ce bhikkhave bhikkhūhi kate pavāraṇāsaṃgahe aññataro bhikkhu evaṃ vadeyya: icchām’ ahaṃ āvuso janapadacārikaṃ pakkamituṃ, atthi me janapade karaṇīyan ti, so evam assa vacanīyo: sādh’ āvuso pavāretvā gacchāhīti.  so-(178)ce bhikkhave bhikkhu pavārayamāno aññatarassa bhikkhuno pavāraṇaṃ ṭhapeti, so evam assa vacanīyo: anissaro kho me tvaṃ āvuso pavāraṇāya, na tāvāhaṃ pavāressāmīti.  tassa ce bhikkhave bhikkhuno pavārayamānassa aññataro bhikkhu tassa bhikkhuno pavāraṇaṃ ṭhapeti, ubho saṃghena samanuyuñjitvā samanuggāhitvā yathādhammaṃ kārāpetabbā. |5| 
เตวาจิกาย เจ ภิกฺขเว ปวารณาย ภาสิตาย ลปิตาย อปริโยสิตาย ปวารณํ ฐเปติ ฐปิตา โหติ ปวารณา.  ทฺเววาจิกาย เจ ภิกฺขเว… เอกวาจิกาย เจ ภิกฺขเว… สมานวสฺสิกาย เจ ภิกฺขเว ปวารณาย ภาสิตาย ลปิตาย อปริโยสิตาย ปวารณํ ฐเปติ ฐปิตา โหติ ปวารณา.  เอวํ โข ภิกฺขเว ฐปิตา โหติ ปวารณา. 
so ce bhikkhave bhikkhu janapade taṃ karaṇīyaṃ tīretvā punad eva anto komudiyā cātumāsiniyā taṃ āvāsaṃ āgacchati, tehi ce bhikkhave bhikkhūhi pavāriyamāne aññataro bhikkhu tassa bhikkhuno pavāraṇaṃ ṭhapeti, so evam assa vacanīyo: anissaro kho me tvaṃ āvuso pavāraṇāya, pavārito ahan ti.  tehi ce bhikkhave bhikkhūhi pavāriyamāne so bhikkhu aññatarassa bhikkhuno pavāraṇaṃ ṭhapeti, ubho saṃghena samanuyuñjitvā samanuggāhitvā yathādhammaṃ kārāpetvā saṃghena pavāretabban ti. |6| 
๒๓๗. อิธ ปน ภิกฺขเว ตทหุ ปวารณาย ภิกฺขุ ภิกฺขุสฺส ปวารณํ ฐเปติ.  ตํ เจ ภิกฺขุํ อญฺเญ ภิกฺขู ชานนฺติ “อยํ โข อายสฺมา อปริสุทฺธกายสมาจาโร อปริสุทฺธวจีสมาจาโร อปริสุทฺธาชีโว พาโล อพฺยตฺโต น ปฏิพโล อนุยุญฺชียมาโน อนุโยคํ ทาตุ”นฺติ ‘อลํ ภิกฺขุ มา ภณฺฑนํ มา กลหํ มา วิคฺคหํ มา วิวาท’นฺติ โอมทฺทิตฺวา สงฺเฆน ปวาเรตพฺพํ. 
||18|| 
อิธ ปน ภิกฺขเว ตทหุ ปวารณาย ภิกฺขุ ภิกฺขุสฺส ปวารณํ ฐเปติ. 
pavāraṇakkhandhakaṃ catutthaṃ. 
ตํ เจ ภิกฺขุํ อญฺเญ ภิกฺขู ชานนฺติ “อยํ โข อายสฺมา ปริสุทฺธกายสมาจาโร อปริสุทฺธวจีสมาจาโร อปริสุทฺธาชีโว พาโล อพฺยตฺโต น ปฏิพโล อนุยุญฺชียมาโน อนุโยคํ ทาตุ”นฺติ ‘อลํ ภิกฺขุ มา ภณฺฑนํ มา กลหํ มา วิคฺคหํ มา วิวาท’นฺติ โอมทฺทิตฺวา สงฺเฆน ปวาเรตพฺพํ. 
imamhi khandhake vatthu chacattārisā.  tassa uddānaṃ: vassaṃ vutthā Kosalesu agamuṃ satthu dassanaṃ aphāsupasusaṃvāsaṃ aññamaññānulomatā, |  pavārentāpaṇā, dve ca, kammaṃ, gilāna-ñātakā, rājā, corā ca, dhuttā ca, bhikkhū paccatthikā tathā, |  pañca, catu, tayo, dve,’ko, āpanno, vemati, sari, sabbo saṃgho, vematiko, bahū samā ca thokikā, |  āvāsikā, cātuddasā, liṅga-saṃvāsakā ubho, gantabbaṃ, na nisinnāya, chandadān’, apavāraṇā, |  savarehi, khepitā, megho, antarā ca, pavāraṇā, |  5 na karonti, pur’ amhākaṃ, aṭṭhapitā ca, bhikkhuno, |  kimhi vā ’ti katamañ ca diṭṭhena sutasaṅkāya, codako cuditako ca, thullaccaya-vatthu-bhaṇḍanaṃ, |  pavāraṇāsaṃgaho ca, anissaro, pavāraye ’ti. 
อิธ ปน ภิกฺขเว ตทหุ ปวารณาย ภิกฺขุ ภิกฺขุสฺส ปวารณํ ฐเปติ.  ตํ เจ ภิกฺขุํ อญฺเญ ภิกฺขู ชานนฺติ “อยํ โข อายสฺมา ปริสุทฺธกายสมาจาโร ปริสุทฺธวจีสมาจาโร อปริสุทฺธาชีโว พาโล อพฺยตฺโต น ปฏิพโล อนุยุญฺชียมาโน อนุโยคํ ทาตุ”นฺติ ‘อลํ ภิกฺขุ มา ภณฺฑนํ มา กลหํ มา วิคฺคหํ มา วิวาท’นฺติ โอมทฺทิตฺวา สงฺเฆน ปวาเรตพฺพํ.  อิธ ปน ภิกฺขเว ตทหุ ปวารณาย ภิกฺขุ ภิกฺขุสฺส ปวารณํ ฐเปติ.  ตํ เจ ภิกฺขุํ อญฺเญ ภิกฺขู ชานนฺติ “อยํ โข อายสฺมา ปริสุทฺธกายสมาจาโร ปริสุทฺธวจีสมาจาโร ปริสุทฺธาชีโว พาโล อพฺยตฺโต น ปฏิพโล อนุยุญฺชียมาโน อนุโยคํ ทาตุ”นฺติ ‘อลํ ภิกฺขุ มา ภณฺฑนํ มา กลหํ มา วิคฺคหํ มา วิวาท’นฺติ โอมทฺทิตฺวา สงฺเฆน ปวาเรตพฺพํ.  อิธ ปน ภิกฺขเว ตทหุ ปวารณาย ภิกฺขุ ภิกฺขุสฺส ปวารณํ ฐเปติ.  ตํ เจ ภิกฺขุํ อญฺเญ ภิกฺขู ชานนฺติ “อยํ โข อายสฺมา ปริสุทฺธกายสมาจาโร ปริสุทฺธวจีสมาจาโร ปริสุทฺธาชีโว ปณฺฑิโต พฺยตฺโต ปฏิพโล อนุยุญฺชียมาโน อนุโยคํ ทาตุ”นฺติ โส เอวมสฺส วจนีโย “ยํ โข ตฺวํ อาวุโส อิมสฺส ภิกฺขุโน ปวารณํ ฐเปสิ กิมฺหิ นํ ฐเปสิ สีลวิปตฺติยา วา ฐเปสิ อาจารวิปตฺติยา วา ฐเปสิ ทิฏฺฐิวิปตฺติยา วา ฐเปสี”ติ?  โส เจ เอวํ วเทยฺย “สีลวิปตฺติยา วา ฐเปมิ อาจารวิปตฺติยา วา ฐเปมิ ทิฏฺฐิวิปตฺติยา วา ฐเปมี”ติ โส เอวมสฺส วจนีโย “ชานาสิ ปนายสฺมา สีลวิปตฺตึ ชานาสิ อาจารวิปตฺตึ ชานาสิ ทิฏฺฐิวิปตฺติ”นฺติ?  โส เจ เอวํ วเทยฺย “ชานามิ โข อหํ อาวุโส สีลวิปตฺตึ ชานามิ อาจารวิปตฺตึ ชานามิ ทิฏฺฐิวิปตฺติ”นฺติ โส เอวมสฺส วจนีโย “กตมา ปนาวุโส สีลวิปตฺติ กตมา อาจารวิปตฺติ กตมา ทิฏฺฐิวิปตฺตี”ติ?  โส เจ เอวํ วเทยฺย “จตฺตาริ ปาราชิกานิ เตรส สงฺฆาทิเสสา อยํ สีลวิปตฺติ ถุลฺลจฺจยํ ปาจิตฺติยํ ปาฏิเทสนียํ ทุกฺกฏํ ทุพฺภาสิตํ อยํ อาจารวิปตฺติ มิจฺฉาทิฏฺฐิ อนฺตคฺคาหิกาทิฏฺฐิ อยํ ทิฏฺฐิวิปตฺตี”ติ โส เอวมสฺส วจนีโย “ยํ โข ตฺวํ อาวุโส อิมสฺส ภิกฺขุโน ปวารณํ ฐเปสิ ทิฏฺเฐน วา ฐเปสิ สุเตน วา ฐเปสิ ปริสงฺกาย วา ฐเปสี”ติ? 
(179) Tena samayena buddho bhagavā Rājagahe viharati Gijjhakūṭe pabbate.  tena kho pana samayena rājā Māgadho Seniyo Bimbisāro asītiyā gāmasahassesu issarādhipaccaṃ rajjaṃ kāreti.  tena kho pana samayena Campāyaṃ Soṇo nāma Koḷiviso seṭṭhiputto sukhumālo hoti, tassa pādatalesu lomāni jātāni honti.  atha kho rājā Māgadho Seniyo Bimbisāro tāni asītiṃ gāmikasahassāni sannipātāpetvā kenacid eva karaṇīyena Soṇassa Koḷivisassa santike dūtaṃ pāhesi, āgacchatu Soṇo icchāmi Soṇassa āgatan ti. |1| 
โส เจ เอวํ วเทยฺย “ทิฏฺเฐน วา ฐเปมิ สุเตน วา ฐเปมิ ปริสงฺกาย วา ฐเปมี”ติ โส เอวมสฺส วจนีโย “ยํ โข ตฺวํ อาวุโส อิมสฺส ภิกฺขุโน ทิฏฺเฐน ปวารณํ ฐเปสิ กึ เต ทิฏฺฐํ กินฺติ เต ทิฏฺฐํ กทา เต ทิฏฺฐํ กตฺถ เต ทิฏฺฐํ ปาราชิกํ อชฺฌาปชฺชนฺโต ทิฏฺโฐ สงฺฆาทิเสสํ อชฺฌาปชฺชนฺโต ทิฏฺโฐ ถุลฺลจฺจยํ… ปาจิตฺติยํ… ปาฏิเทสนียํ… ทุกฺกฏํ… ทุพฺภาสิตํ อชฺฌาปชฺชนฺโต ทิฏฺโฐ กตฺถ จ ตฺวํ อโหสิ กตฺถ จายํ ภิกฺขุ อโหสิ กิญฺจ ตฺวํ กโรสิ กิญฺจายํ ภิกฺขุ กโรตี”ติ?  โส เจ เอวํ วเทยฺย “น โข อหํ อาวุโส อิมสฺส ภิกฺขุโน ทิฏฺเฐน ปวารณํ ฐเปมิ อปิจ สุเตน ปวารณํ ฐเปมี”ติ โส เอวมสฺส วจนีโย “ยํ โข ตฺวํ อาวุโส อิมสฺส ภิกฺขุโน สุเตน ปวารณํ ฐเปสิ กึ เต สุตํ กินฺติ เต สุตํ กทา เต สุตํ กตฺถ เต สุตํ ปาราชิกํ อชฺฌาปนฺโนติ สุตํ สงฺฆาทิเสสํ อชฺฌาปนฺโนติ สุตํ ถุลฺลจฺจยํ… ปาจิตฺติยํ… ปาฏิเทสนียํ… ทุกฺกฏํ… ทุพฺภาสิตํ อชฺฌาปนฺโนติ สุตํ ภิกฺขุสฺส สุตํ ภิกฺขุนิยา สุตํ สิกฺขมานาย สุตํ สามเณรสฺส สุตํ สามเณริยา สุตํ อุปาสกสฺส สุตํ อุปาสิกาย สุตํ ราชูนํ สุตํ ราชมหามตฺตานํ สุตํ ติตฺถิยานํ สุตํ ติตฺถิยสาวกานํ สุต”นฺติ?  โส เจ เอวํ วเทยฺย “น โข อหํ อาวุโส อิมสฺส ภิกฺขุโน สุเตน ปวารณํ ฐเปมิ อปิจ ปริสงฺกาย ปวารณํ ฐเปมี”ติ โส เอวมสฺส วจนีโย “ยํ โข ตฺวํ อาวุโส อิมสฺส ภิกฺขุโน ปริสงฺกาย ปวารณํ ฐเปสิ กึ ปริสงฺกสิ กินฺติ ปริสงฺกสิ กทา ปริสงฺกสิ กตฺถ ปริสงฺกสิ ปาราชิกํ อชฺฌาปนฺโนติ ปริสงฺกสิ สงฺฆาทิเสสํ อชฺฌาปนฺโนติ ปริสงฺกสิ ถุลฺลจฺจยํ… ปาจิตฺติยํ… ปาฏิเทสนียํ… ทุกฺกฏํ… ทุพฺภาสิตํ อชฺฌาปนฺโนติ ปริสงฺกสิ ภิกฺขุสฺส สุตฺวา ปริสงฺกสิ ภิกฺขุนิยา สุตฺวา ปริสงฺกสิ สิกฺขมานาย สุตฺวา ปริสงฺกสิ สามเณรสฺส สุตฺวา ปริสงฺกสิ สามเณริยา สุตฺวา ปริสงฺกสิ อุปาสกสฺส สุตฺวา ปริสงฺกสิ อุปาสิกาย สุตฺวา ปริสงฺกสิ ราชูนํ สุตฺวา ปริสงฺกสิ ราชมหามตฺตานํ สุตฺวา ปริสงฺกสิ ติตฺถิยานํ สุตฺวา ปริสงฺกสิ ติตฺถิยสาวกานํ สุตฺวา ปริสงฺกสี”ติ?  โส เจ เอวํ วเทยฺย “น โข อหํ อาวุโส อิมสฺส ภิกฺขุโน ปริสงฺกาย ปวารณํ ฐเปมิ อปิ จ อหมฺปิ น ชานามิ เกน ปนาหํ อิมสฺส ภิกฺขุโน ปวารณํ ฐเปมี”ติ. โส เจ ภิกฺขเว โจทโก ภิกฺขุ อนุโยเคน วิญฺญูนํ สพฺรหฺมจารีนํ จิตฺตํ น อาราเธติ อนนุวาโท จุทิโต ภิกฺขูติ อลํ วจนาย. 
atha kho Soṇassa Koḷivisassa mātāpitaro Soṇaṃ Koḷivisaṃ etad avocuṃ: rājā te tāta Soṇa pāde dakkhitukāmo.  mā kho tvaṃ tāta Soṇa yena rājā tena pāde abhippasāreyyāsi, rañño purato pallaṅkena nisīda, nisinnassa te rājā pāde dakkhissatīti.  atha kho Soṇaṃ Koḷivisaṃ sivikāya ānesuṃ.  atha kho Soṇo Koḷiviso yena rājā Māgadho Seniyo Bimbisāro ten’ upasaṃkami, upasaṃkamitvā rājānaṃ Māgadhaṃ Seniyaṃ Bimbisāraṃ abhivādetvā rañño purato pallaṅkena nisīdi.  addasa kho rājā Māgadho Seniyo Bimbisāro Soṇassa Koḷivisassa pādatalesu lomāni jātāni. |2| 
โส เจ ภิกฺขเว โจทโก ภิกฺขุ อนุโยเคน วิญฺญูนํ สพฺรหฺมจารีนํ จิตฺตํ อาราเธติ สานุวาโท จุทิโต ภิกฺขูติ อลํ วจนาย.  โส เจ ภิกฺขเว โจทโก ภิกฺขุ อมูลเกน ปาราชิเกน อนุทฺธํสิตํ ปฏิชานาติ สงฺฆาทิเสสํ อาโรเปตฺวา สงฺเฆน ปวาเรตพฺพํ.  โส เจ ภิกฺขเว โจทโก ภิกฺขุ อมูลเกน สงฺฆาทิเสเสน อนุทฺธํสิตํ ปฏิชานาติ ยถาธมฺมํ การาเปตฺวา สงฺเฆน ปวาเรตพฺพํ.  โส เจ ภิกฺขเว โจทโก ภิกฺขุ อมูลเกน ถุลฺลจฺจเยน… ปาจิตฺติเยน… ปาฏิเทสนีเยน… ทุกฺกเฏน… ทุพฺภาสิเตน อนุทฺธํสิตํ ปฏิชานาติ ยถาธมฺมํ การาเปตฺวา สงฺเฆน ปวาเรตพฺพํ.  โส เจ ภิกฺขเว จุทิโต ภิกฺขุ ปาราชิกํ อชฺฌาปนฺโนติ ปฏิชานาติ นาเสตฺวา สงฺเฆน ปวาเรตพฺพํ. 
atha kho rājā Māgadho Seniyo Bimbisāro tāni asītiṃ gāmikasahassāni diṭṭhadhammike atthe anusāsitvā uyyojesi: tumhe khv’ attha bhaṇe mayā diṭṭhadhammike atthe anusāsitā, gacchatha taṃ bhagavantaṃ payirupāsatha, so no bhagavā samparāyike atthe anusāsissatīti.  atha kho tāni asīti gāmikasahassāni yena Gijjhakūṭo pabbato ten’ upasaṃkamiṃsu. |3| 
โส เจ ภิกฺขเว จุทิโต ภิกฺขุ สงฺฆาทิเสสํ อชฺฌาปนฺโนติ ปฏิชานาติ สงฺฆาทิเสสํ อาโรเปตฺวา สงฺเฆน ปวาเรตพฺพํ.  โส เจ ภิกฺขเว จุทิโต ภิกฺขุ ถุลฺลจฺจยํ… ปาจิตฺติยํ… ปาฏิเทสนียํ… ทุกฺกฏํ… ทุพฺภาสิตํ อชฺฌาปนฺโนติ ปฏิชานาติ ยถาธมฺมํ การาเปตฺวา สงฺเฆน ปวาเรตพฺพํ. (ปวารณาฐปนํ นิฏฺฐิตํ.) 
tena kho pana samayena āyasmā Sāgato bhagavato upaṭṭhāko hoti.  atha kho tāni asīti gāmikasahassāni yenāyasmā Sāgato ten’ upasaṃkamiṃsu, upasaṃkamitvā āyasmantaṃ Sāgataṃ (180) etad avocuṃ: imāni bhante asīti gāmikasahassāni idh’ upasaṃkantāni bhagavantaṃ dassanāya.  sādhu mayaṃ bhante labheyyāma bhagavantaṃ dassanāyā ’ti.  tena hi tumhe āyasmanto muhuttaṃ idh’ eva tāva hotha yāvāhaṃ bhagavantaṃ paṭivedemīti. |4| 
(๑๔๒. ถุลฺลจฺจยวตฺถุกาทิ) ๒๓๘. อิธ ปน ภิกฺขเว ภิกฺขุ ตทหุ ปวารณาย ถุลฺลจฺจยํ อชฺฌาปนฺโน โหติ.  เอกจฺเจ ภิกฺขู ถุลฺลจฺจยทิฏฺฐิโน โหนฺติ เอกจฺเจ ภิกฺขู สงฺฆาทิเสสทิฏฺฐิโน โหนฺติ.  เย เต ภิกฺขเว ภิกฺขู ถุลฺลจฺจยทิฏฺฐิโน เตหิ โส ภิกฺขเว ภิกฺขุ เอกมนฺตํ อปเนตฺวา ยถาธมฺมํ การาเปตฺวา สงฺฆํ อุปสงฺกมิตฺวา เอวมสฺส วจนีโย “ยํ โข โส อาวุโส ภิกฺขุ อาปตฺตึ อาปนฺโน สาสฺส ยถาธมฺมํ ปฏิกตา.  ยทิ สงฺฆสฺส ปตฺตกลฺลํ สงฺโฆ ปวาเรยฺยา”ติ. 
atha kho āyasmā Sāgato tesaṃ asītiyā gāmikasahassānaṃ purato pekkhamānānaṃ pāṭikāya nimujjitvā bhagavato purato ummujjitvā bhagavantaṃ etad avoca: imāni bhante asīti gāmikasahassāni idh’ upasaṃkantāni bhagavantaṃ dassanāya, yassa dāni bhante bhagavā kālaṃ maññatīti.  tena hi tvaṃ Sāgata vihārapacchāyāyaṃ āsanaṃ paññāpehīti. |5| 
อิธ ปน ภิกฺขเว ภิกฺขุ ตทหุ ปวารณาย ถุลฺลจฺจยํ อชฺฌาปนฺโน โหติ.  เอกจฺเจ ภิกฺขู ถุลฺลจฺจยทิฏฺฐิโน โหนฺติ เอกจฺเจ ภิกฺขู ปาจิตฺติยทิฏฺฐิโน โหนฺติฯเปฯ 
evaṃ bhante ’ti kho āyasmā Sāgato bhagavato paṭisuṇitvā pīṭhaṃ gahetvā bhagavato purato nimujjitvā tesaṃ asītiyā gāmikasahassānaṃ purato pekkhamānānaṃ pāṭikāya ummujjitvā vihārapacchāyāyaṃ āsanaṃ paññāpesi.  atha kho bhagavā vihārā nikkhamitvā vihārapacchāyāyaṃ paññatte āsane nisīdi. |6| 
เอกจฺเจ ภิกฺขู ถุลฺลจฺจยทิฏฺฐิโน โหนฺติ เอกจฺเจ ภิกฺขู ปาฏิเทสนียทิฏฺฐิโน โหนฺติ… เอกจฺเจ ภิกฺขู ถุลฺลจฺจยทิฏฺฐิโน โหนฺติ เอกจฺเจ ภิกฺขู ทุกฺกฏทิฏฺฐิโน โหนฺติ… เอกจฺเจ ภิกฺขู ถุลฺลจฺจยทิฏฺฐิโน โหนฺติ เอกจฺเจ ภิกฺขู ทุพฺภาสิตทิฏฺฐิโน โหนฺติ. เย เต ภิกฺขเว ภิกฺขู ถุลฺลจฺจยทิฏฺฐิโน เตหิ โส ภิกฺขเว ภิกฺขุ เอกมนฺตํ อปเนตฺวา ยถาธมฺมํ การาเปตฺวา สงฺฆํ อุปสงฺกมิตฺวา เอวมสฺส วจนีโย “ยํ โข โส อาวุโส ภิกฺขุ อาปตฺตึ อาปนฺโน สาสฺส ยถาธมฺมํ ปฏิกตา. ยทิ สงฺฆสฺส ปตฺตกลฺลํ สงฺโฆ ปวาเรยฺยา”ติ.  อิธ ปน ภิกฺขเว ภิกฺขุ ตทหุ ปวารณาย ปาจิตฺติยํ อชฺฌาปนฺโน โหติฯเปฯ ปาฏิเทสนียํ อชฺฌาปนฺโน 
atha kho tāni asīti gāmikasahassāni yena bhagavā ten’ upasaṃkamiṃsu, upasaṃkamitvā bhagavantaṃ abhivādetvā ekamantaṃ {nisīdiṃsu}.  atha kho tāni asīti gāmikasahassāni āyasmantaṃ yeva Sāgataṃ samannāharanti, no tathā bhagavantaṃ.  atha kho bhagavā tesaṃ āsītiyā gāmikasahassānaṃ cetasā cetoparivitakkaṃ aññāya āyasmantaṃ Sāgataṃ āmantesi: tena hi tvaṃ Sāgata bhiyyosomattāya uttarimanussadhammaṃ iddhipāṭihāriyaṃ dassehīti.  evaṃ bhante ’ti kho āyasmā Sāgato bhagavato paṭisuṇitvā vehāsaṃ abbhuggantvā ākāse antalikkhe caṅkamati pi tiṭṭhati pi nisīdati pi seyyam pi kappeti dhūpāyati pi pajjalati pi antaradhāyati pi. |7| 
โหติ… ทุกฺกฏํ อชฺฌาปนฺโน  โหติ… ทุพฺภาสิตํ อชฺฌาปนฺโน  โหติ.  เอกจฺเจ ภิกฺขู ทุพฺภาสิตทิฏฺฐิโน โหนฺติ เอกจฺเจ ภิกฺขู สงฺฆาทิเสสทิฏฺฐิโน โหนฺติ. 
atha kho āyasmā Sāgato ākāse antalikkhe anekavihitaṃ uttarimanussadhammaṃ iddhipāṭihāriyaṃ dassetvā bhagavato pādesu sirasā nipatitvā bhagavantaṃ etad avoca: satthā me bhante bhagavā, sāvako ’ham asmi, satthā me bhante bhagavā, sāvako ’ham asmīti.  atha kho tāni asīti gāmikasahassāni acchariyaṃ vata bho, abbhutaṃ vata bho, sāvako pi nāma evaṃ mahiddhiko bhavissati evaṃ mahānubhāvo, aho nūna satthā ’ti bhagavantaṃ yeva samannāharanti, no tathā āyasmantaṃ Sāgataṃ. |8| 
เย เต ภิกฺขเว ภิกฺขู ทุพฺภาสิตทิฏฺฐิโน เตหิ โส ภิกฺขเว ภิกฺขุ เอกมนฺตํ อปเนตฺวา ยถาธมฺมํ การาเปตฺวา สงฺฆํ อุปสงฺกมิตฺวา เอวมสฺส วจนีโย “ยํ โข โส อาวุโส ภิกฺขุ อาปตฺตึ อาปนฺโน สาสฺส ยถาธมฺมํ ปฏิกตา. ยทิ สงฺฆสฺส ปตฺตกลฺลํ สงฺโฆ ปวาเรยฺยา”ติ.  อิธ ปน ภิกฺขเว ภิกฺขุ ตทหุ ปวารณาย ทุพฺภาสิตํ อชฺฌาปนฺโน โหติ. 
atha kho bhagavā tesaṃ asītiyā gāmikasahassānaṃ cetasā cetoparivitakkaṃ aññāya anupubbikathaṃ kathesi seyyath’ īdaṃ: dānakathaṃ sīlakathaṃ (181) saggakathaṃ kāmānaṃ ādīnavaṃ okāraṃ saṃkilesaṃ nekkhamme ānisaṃsaṃ pakāsesi.  yadā te bhagavā aññāsi kallacitte muducitte vinīvaraṇacitte udaggacitte pasannacitte, atha yā buddhānaṃ sāmukkaṃsikā dhammadesanā taṃ pakāsesi, dukkhaṃ samudayaṃ nirodhaṃ maggaṃ.  seyyathāpi nāma suddhaṃ vatthaṃ apagatakāḷakaṃ sammad eva rajanaṃ {paṭigaṇheyya,} evam eva tesaṃ asītiyā gāmikasahassānaṃ tasmiṃ yeva āsane virajaṃ vītamalaṃ dhammacakkhuṃ udapādi yaṃ kiñci samudayadhammaṃ sabbaṃ taṃ nirodhadhamman ti. |9| 
เอกจฺเจ ภิกฺขู ทุพฺภาสิตทิฏฺฐิโน โหนฺติ เอกจฺเจ ภิกฺขู ถุลฺลจฺจยทิฏฺฐิโน โหนฺติฯเปฯ เอกจฺเจ ภิกฺขู ทุพฺภาสิตทิฏฺฐิโน โหนฺติ เอกจฺเจ ภิกฺขู ปาจิตฺติยทิฏฺฐิโน โหนฺติ… เอกจฺเจ ภิกฺขู ทุพฺภาสิตทิฏฺฐิโน โหนฺติ เอกจฺเจ ภิกฺขู ปาฏิเทสนียทิฏฺฐิโน โหนฺติ… เอกจฺเจ ภิกฺขู ทุพฺภาสิตทิฏฺฐิโน โหนฺติ เอกจฺเจ ภิกฺขู ทุกฺกฏทิฏฺฐิโน โหนฺติ. เย เต ภิกฺขเว ภิกฺขู ทุพฺภาสิตทิฏฺฐิโน เตหิ โส ภิกฺขเว ภิกฺขุ เอกมนฺตํ อปเนตฺวา ยถาธมฺมํ การาเปตฺวา สงฺฆํ อุปสงฺกมิตฺวา เอวมสฺส วจนีโย “ยํ โข โส อาวุโส ภิกฺขุ อาปตฺตึ อาปนฺโน สาสฺส ยถาธมฺมํ ปฏิกตา. ยทิ สงฺฆสฺส ปตฺตกลฺลํ สงฺโฆ ปวาเรยฺยา”ติ. (ถุลฺลจฺจยวตฺถุกาทิ นิฏฺฐิตา.)  (๑๔๓. วตฺถุฐปนาทิ) ๒๓๙. อิธ ปน ภิกฺขเว ภิกฺขุ ตทหุ ปวารณาย สงฺฆมชฺเฌ อุทาหเรยฺย “สุณาตุ เม ภนฺเต สงฺโฆ.  อิทํ วตฺถุ ปญฺญายติ น ปุคฺคโล. 
te diṭṭhadhammā pattadhammā viditadhammā pariyogāḷhadhammā tiṇṇavicikicchā vigatakathaṃkathā vesārajjappattā aparappaccayā satthu sāsane bhagavantaṃ etad avocuṃ: abhikkantaṃ bhante, abhikkantaṃ bhante, seyyathāpi bhante nikkujjitaṃ vā ukkujjeyya, paṭicchannaṃ vā vivareyya, mūḷhassa vā maggaṃ ācikkheyya, andhakāre vā telapajjotaṃ dhāreyya cakkhumanto rūpāni dakkhintīti, evam eva bhagavatā anekapariyāyena dhammo pakāsito.  ete mayaṃ bhante bhagavantaṃ saraṇaṃ gacchāma dhammañ ca bhikkhusaṃghañ ca, upāsake no bhagavā dhāretu ajjatagge pāṇupete saraṇaṃ gate ’ti. |10| 
ยทิ สงฺฆสฺส ปตฺตกลฺลํ วตฺถุํ ฐเปตฺวา สงฺโฆ ปวาเรยฺยา”ติ.  โส เอวมสฺส วจนีโย “ภควตา โข อาวุโส วิสุทฺธานํ ปวารณา ปญฺญตฺตา. 
atha kho Soṇassa Koḷivisassa etad ahosi: yathā -yathā kho ahaṃ bhagavatā dhammaṃ desitaṃ ājānāmi, na yidaṃ sukaraṃ agāraṃ ajjhāvasatā ekantaparipuṇṇaṃ ekantaparisuddhaṃ saṅkhalikhitaṃ brahmacariyaṃ carituṃ.  yaṃ nūnāhaṃ kesamassuṃ ohāretvā kāsāyāni vatthāni acchādetvā agārasmā anagāriyaṃ pabbajeyyan ti.  atha kho tāni asīti gāmikasahassāni bhagavato bhāsitaṃ abhinanditvā anumoditvā uṭṭhāyāsanā bhagavantaṃ abhivādetvā padakkhiṇaṃ katvā pakkamiṃsu. |11| 
สเจ วตฺถุ ปญฺญายติ น ปุคฺคโล อิทาเนว นํ วเทหี”ติ.  อิธ ปน ภิกฺขเว ภิกฺขุ ตทหุ ปวารณาย สงฺฆมชฺเฌ อุทาหเรยฺย “สุณาตุ เม ภนฺเต สงฺโฆ.  อยํ ปุคฺคโล ปญฺญายติ น วตฺถุ. 
atha kho Soṇo Koḷiviso acirapakkantesu tesu asītiyā gāmikasahassesu yena bhagavā ten’ upasaṃkami, upasaṃkamitvā bhagavantaṃ abhivādetvā ekamantaṃ nisīdi.  ekamantaṃ nisinno kho Soṇo Koḷiviso bhagavantaṃ etad avoca: yathā-yathāhaṃ bhante bhagavatā dhammaṃ desitaṃ ... brahmacariyaṃ carituṃ.  icchām’ ahaṃ bhante kesamassuṃ ohāretvā kāsāyāni vatthāni acchādetvā agārasmā anagāriyaṃ pabbajituṃ, pabbājetu maṃ bhante bhagavā ’ti.  alattha kho Soṇo Koḷiviso bhagavato santike pabbajjaṃ, alattha upasampadaṃ.  acirūpasampanno (182) ca panāyasmā Soṇo Sītavane viharati. |12| 
ยทิ สงฺฆสฺส ปตฺตกลฺลํ ปุคฺคลํ ฐเปตฺวา สงฺโฆ ปวาเรยฺยา”ติ.  โส เอวมสฺส วจนีโย “ภควตา โข อาวุโส สมคฺคานํ ปวารณา ปญฺญตฺตา.  สเจ ปุคฺคโล ปญฺญายติ น วตฺถุ อิทาเนว นํ วเทหี”ติ.  อิธ ปน ภิกฺขเว ภิกฺขุ ตทหุ ปวารณาย สงฺฆมชฺเฌ อุทาหเรยฺย “สุณาตุ เม ภนฺเต สงฺโฆ.  อิทํ วตฺถุ จ ปุคฺคโล จ ปญฺญายติ. 
tassa accāraddhaviriyassa caṅkamato pādā bhijjiṃsu, caṅkamo lohitena phuṭo hoti seyyathāpi gavāghātanaṃ.  atha kho āyasmato Soṇassa rahogatassa paṭisallīnassa evaṃ cetaso parivitakko udapādi: ye kho keci bhagavato sāvakā āraddhaviriyā viharanti, ahaṃ tesaṃ aññataro, atha ca pana me nānupādāya āsavehi cittaṃ vimuccati, saṃvijjanti kho pana me kule bhogā.  sakkā bhoge ca bhuñjituṃ puññāni ca kātuṃ.  yaṃ nūnāhaṃ hīnāyāvattitvā bhoge ca bhuñjeyyaṃ puññāni ca kareyyan ti. |13| 
ยทิ สงฺฆสฺส ปตฺตกลฺลํ วตฺถุญฺจ ปุคฺคลญฺจ ฐเปตฺวา สงฺโฆ ปวาเรยฺยา”ติ.  โส เอวมสฺส วจนีโย “ภควตา โข อาวุโส วิสุทฺธานญฺจ สมคฺคานญฺจ ปวารณา ปญฺญตฺตา.  สเจ วตฺถุ จ ปุคฺคโล จ ปญฺญายติ อิทาเนว นํ วเทหี”ติ.  ปุพฺเพ เจ ภิกฺขเว ปวารณาย วตฺถุ ปญฺญายติ ปจฺฉา ปุคฺคโล กลฺลํ วจนาย. 
atha kho bhagavā āyasmato Soṇassa cetasā cetoparivitakkaṃ aññāya seyyathāpi nāma balavā puriso sammiñjitaṃ vā bāhaṃ pasāreyya pasāritaṃ vā bāhaṃ sammiñjeyya, evam eva Gijjhakūṭe pabbate antarahito Sītavane pāturahosi.  atha kho bhagavā sambahulehi bhikkhūhi saddhiṃ senāsanacārikaṃ āhiṇḍanto yenāyasmato Soṇassa caṅkamo ten’ upasaṃkami.  addasa kho bhagavā āyasmato Soṇassa caṅkamaṃ lohitena phuṭaṃ, disvāna bhikkhū āmantesi: kassa nv āyaṃ bhikkhave caṅkamo lohitena phuṭo seyyathāpi gavāghātanan ti.  āyasmato bhante Soṇassa accāraddhaviriyassa caṅkamato pādā bhijjiṃsu, tassāyaṃ caṅkamo lohitena phuṭo seyyathāpi {gavāghātanan} ti. |14| 
ปุพฺเพ เจ ภิกฺขเว ปวารณาย ปุคฺคโล ปญฺญายติ ปจฺฉา วตฺถุ กลฺลํ วจนาย.  ปุพฺเพ เจ ภิกฺขเว ปวารณาย วตฺถุ จ ปุคฺคโล จ ปญฺญายติ ตํ เจ กตาย ปวารณาย อุกฺโกเฏติ อุกฺโกฏนกํ ปาจิตฺติยนฺติ. (วตฺถุฐปนาทิ นิฏฺฐิตา.)     
atha kho bhagavā yenāyasmato Soṇassa vihāro ten’ upasaṃkami, upasaṃkamitvā paññatte āsane nisīdi.  āyasmāpi kho Soṇo bhagavantaṃ abhivādetvā ekamantaṃ nisīdi.  ekamantaṃ nisinnaṃ kho āyasmantaṃ Soṇaṃ bhagavā etad avoca: nanu te Soṇa rahogatassa paṭisallīnassa evaṃ cetaso parivitakko udapādi: ye kho keci ... puññāni ca kareyyan ti.  evaṃ bhante ’ti.  taṃ kiṃ maññasi Soṇa, kusalo tvaṃ pubbe agārikabhūto vīṇāya tantissare ’ti.  evaṃ bhante.  taṃ kiṃ maññasi Soṇa, yadā te vīṇāya tantiyo accāyatā honti, api nu te vīṇā tasmiṃ samaye saravatī vā hoti kammaññā vā ’ti.  no h’ etaṃ bhante. |15| 
(๑๔๔. ภณฺฑนการกวตฺถุ) ๒๔๐. เตน โข ปน สมเยน สมฺพหุลา สนฺทิฏฺฐา สมฺภตฺตา ภิกฺขู โกสเลสุ ชนปเท อญฺญตรสฺมึ อาวาเส วสฺสํ อุปคจฺฉึสุ.  เตสํ สามนฺตา อญฺเญ ภิกฺขู ภณฺฑนการกา กลหการกา วิวาทการกา ภสฺสการกา สงฺเฆ อธิกรณการกา วสฺสํ อุปคจฺฉึสุ มยํ เตสํ ภิกฺขูนํ วสฺสํวุฏฺฐานํ ปวารณาย ปวารณํ ฐเปสฺสามาติ.  อสฺโสสุํ โข เต ภิกฺขู “อมฺหากํ กิร สามนฺตา อญฺเญ ภิกฺขู ภณฺฑนการกา กลหการกา วิวาทการกา ภสฺสการกา สงฺเฆ อธิกรณการกา วสฺสํ อุปคตา มยํ เตสํ ภิกฺขูนํ วสฺสํวุฏฺฐานํ ปวารณาย ปวารณํ ฐเปสฺสามา”ติ.  กถํ นุ โข อมฺเหหิ ปฏิปชฺชิตพฺพนฺติ?  ภควโต เอตมตฺถํ อาโรเจสุํ.  อิธ ปน ภิกฺขเว สมฺพหุลา สนฺทิฏฺฐา สมฺภตฺตา ภิกฺขู อญฺญตรสฺมึ อาวาเส วสฺสํ อุปคจฺฉนฺติ.  เตสํ สามนฺตา อญฺเญ ภิกฺขู ภณฺฑนการกา กลหการกา วิวาทการกา ภสฺสการกา สงฺเฆ อธิกรณการกา วสฺสํ อุปคจฺฉนฺติ มยํ เตสํ ภิกฺขูนํ วสฺสํวุฏฺฐานํ ปวารณาย ปวารณํ ฐเปสฺสามาติ.  อนุชานามิ ภิกฺขเว เตหิ ภิกฺขูหิ ทฺเว ตโย อุโปสเถ จาตุทฺทสิเก กาตุํ กถํ มยํ เตหิ ภิกฺขูหิ ปฐมตรํ ปวาเรยฺยามาติ. 
taṃ kiṃ maññasi Soṇa, yadā te vīṇāya tantiyo atisithilā honti, api nu te vīṇā tasmiṃ samaye {saravatī} vā hoti kammaññā vā ’ti.  no h’ etaṃ bhante.  taṃ kiṃ maññasi Soṇa, yadā te vīṇāya tantiyo n’ eva accāyatā honti nātisithilā same guṇe patiṭṭhitā, api nu te vīṇā tasmiṃ samaye saravatī va hoti kammaññā vā ’ti.  evaṃ bhante.  evam eva kho Soṇa accāraddhaviriyaṃ uddhaccāya saṃvatta (183) ti, atilīnaviriyaṃ kosajjāya saṃvattati. |16| 
เต เจ ภิกฺขเว ภิกฺขู ภณฺฑนการกา กลหการกา วิวาทการกา ภสฺสการกา สงฺเฆ อธิกรณการกา ตํ อาวาสํ อาคจฺฉนฺติ เตหิ ภิกฺขเว อาวาสิเกหิ ภิกฺขูหิ ลหุํ ลหุํ สนฺนิปติตฺวา ปวาเรตพฺพํ ปวาเรตฺวา วตฺตพฺพา “ปวาริตา โข มยํ อาวุโส ยถายสฺมนฺตา มญฺญนฺติ ตถา กโรนฺตู”ติ.  เต เจ ภิกฺขเว ภิกฺขู ภณฺฑนการกา กลหการกา วิวาทการกา ภสฺสการกา สงฺเฆ อธิกรณการกา อสํวิหิตา ตํ อาวาสํ อาคจฺฉนฺติ เตหิ ภิกฺขเว อาวาสิเกหิ ภิกฺขูหิ อาสนํ ปญฺญเปตพฺพํ ปาโททกํ ปาทปีฐํ ปาทกถลิกํ อุปนิกฺขิปิตพฺพํ ปจฺจุคฺคนฺตฺวา ปตฺตจีวรํ ปฏิคฺคเหตพฺพํ ปานีเยน ปริปุจฺฉิตพฺพา เตสํ วิกฺขิตฺวา นิสฺสีมํ คนฺตฺวา ปวาเรตพฺพํ ปวาเรตฺวา วตฺตพฺพา “ปวาริตา โข มยํ อาวุโส ยถายสฺมนฺตา มญฺญนฺติ ตถา กโรนฺตู”ติ.  เอวญฺเจตํ ลเภถ อิจฺเจตํ กุสลํ. โน เจ ลเภถ อาวาสิเกน ภิกฺขุนา พฺยตฺเตน ปฏิพเลน อาวาสิกา ภิกฺขู ญาเปตพฺพา “สุณนฺตุ เม อายสฺมนฺโต อาวาสิกา.  ยทายสฺมนฺตานํ ปตฺตกลฺลํ อิทานิ อุโปสถํ กเรยฺยาม ปาติโมกฺขํ อุทฺทิเสยฺยาม อาคเม กาเฬ ปวาเรยฺยามา”ติ.  เต เจ ภิกฺขเว ภิกฺขู ภณฺฑนการกา กลหการกา วิวาทการกา ภสฺสการกา สงฺเฆ อธิกรณการกา เต ภิกฺขู เอวํ วเทยฺยุํ “สาธาวุโส อิทาเนว โน ปวาเรถา”ติ เต เอวมสฺสุ วจนียา “อนิสฺสรา โข ตุมฺเห อาวุโส อมฺหากํ ปวารณาย น ตาว มยํ ปวาเรยฺยามา”ติ. 
tasmāt iha tvaṃ Soṇa viriyasamataṃ adhiṭṭhaha indriyānaṃ ca samataṃ paṭivijjha tattha ca nimittaṃ gaṇhāhīti.  evaṃ bhante ’ti kho āyasmā Soṇo bhagavato paccassosi.  atha kho bhagavā āyasmantaṃ Soṇaṃ iminā ovādena ovaditvā seyyathāpi nāma balavā puriso sammiñjitaṃ vā bāhaṃ pasāreyya pasāritaṃ vā bāhaṃ sammiñjeyya, evam eva Sītavane āyasmato Soṇassa sammukhe antarahito Gijjhakūṭe pabbate pāturahosi. |17| 
เต เจ ภิกฺขเว ภิกฺขู ภณฺฑนการกา กลหการกา วิวาทการกา ภสฺสการกา สงฺเฆ อธิกรณการกา ตํ กาฬํ อนุวเสยฺยุํ อาวาสิเกน ภิกฺขเว ภิกฺขุนา พฺยตฺเตน ปฏิพเลน อาวาสิกา ภิกฺขู ญาเปตพฺพา “สุณนฺตุ เม อายสฺมนฺโต อาวาสิกา. ยทายสฺมนฺตานํ ปตฺตกลฺลํ อิทานิ อุโปสถํ กเรยฺยาม ปาติโมกฺขํ อุทฺทิเสยฺยาม อาคเม ชุณฺเห ปวาเรยฺยามา”ติ.  เต เจ ภิกฺขเว ภิกฺขู ภณฺฑนการกา กลหการกา วิวาทการกา ภสฺสการกา สงฺเฆ อธิกรณการกา เต ภิกฺขู เอวํ วเทยฺยุํ “สาธาวุโส อิทาเนว โน ปวาเรยฺยาถา”ติ เต เอวมสฺสุ วจนียา “อนิสฺสรา โข ตุมฺเห อาวุโส อมฺหากํ ปวารณาย น ตาว มยํ ปวาเรยฺยามา”ติ.  เต เจ ภิกฺขเว ภิกฺขู ภณฺฑนการกา กลหการกา วิวาทการกา ภสฺสการกา สงฺเฆ อธิกรณการกา ตมฺปิ ชุณฺหํ อนุวเสยฺยุํ เตหิ ภิกฺขเว ภิกฺขูหิ สพฺเพเหว อาคเม ชุณฺเห โกมุทิยา จาตุมาสินิยา อกามา ปวาเรตพฺพํ. 
atha kho āyasmā Soṇo aparena samayena viriyasamataṃ adhiṭṭhāsi indriyānaṃ ca samataṃ paṭivijjhi tattha ca nimittaṃ aggahesi.  atha kho āyasmā Soṇo eko vūpakaṭṭho appamatto ātāpī pahitatto viharanto na cirass’ eva yass’ atthāya kulaputtā sammad eva agārasmā anagāriyaṃ pabbajanti, tad anuttaraṃ brahmacariyapariyosānaṃ diṭṭheva dhamme sayaṃ abhiññā sacchikatvā upasampajja vihāsi, khīṇā jāti, vusitaṃ brahmacariyaṃ, kataṃ karaṇīyaṃ, nāparaṃ itthattāyā ’ti abbhaññāsi, aññataro ca panāyasmā Soṇo arahataṃ ahosi. |18| 
เตหิ เจ ภิกฺขเว ภิกฺขูหิ ปวาริยมาเน คิลาโน อคิลานสฺส ปวารณํ ฐเปติ โส เอวมสฺส วจนีโย “อายสฺมา โข คิลาโน. คิลาโน จ อนนุโยคกฺขโม วุตฺโต ภควตา.  อาคเมหิ อาวุโส ยาว อโรโค โหสิ. อโรโค อากงฺขมาโน โจเทสฺสสี”ติ. 
atha kho āyasmato Soṇassa arahattaṃ pattassa etad ahosi: yaṃ nūnāhaṃ bhagavato santike aññaṃ vyākareyyan ti.  atha kho āyasmā Soṇo yena bhagavā ten’ upasaṃkami, upasaṃkamitvā bhagavantaṃ abhivādetvā ekamantaṃ nisīdi, ekamantaṃ nisinno kho āyasmā Soṇo bhagavantam etad avoca: |19| 
เอวญฺเจ วุจฺจมาโน โจเทติ อนาทริเย ปาจิตฺติยํ.  เตหิ เจ ภิกฺขเว ภิกฺขูหิ ปวาริยมาเน อคิลาโน คิลานสฺส ปวารณํ ฐเปติ โส เอวมสฺส วจนีโย “อยํ โข อาวุโส ภิกฺขุ คิลาโน. คิลาโน จ อนนุโยคกฺขโม วุตฺโต ภควตา. 
yo so bhante bhikkhu arahaṃ khīṇāsavo vusitavā katakaraṇīyo ohitabhāro anuppattasadattho parikkhīṇabhavasaṃyojano sammadaññāvimutto, so cha ṭṭhānāni adhimutto hoti: nekkhammādhimutto hoti, pavivekādhimutto hoti, avyāpajjhādhimutto hoti, upādānakkhayādhimutto hoti, taṇhakkhayādhimutto hoti, asammohādhimutto hoti. |20| 
อาคเมหิ อาวุโส ยาวายํ ภิกฺขุ อโรโค โหติ. อโรคํ อากงฺขมาโน โจเทสฺสสี”ติ. 
siyā kho pana bhante idh’ ekaccassa āyasmato evam assa: kevalaṃ saddhāmattakaṃ nūna ayam āyasmā nissāya nekkhammādhimutto ’ti.  na kho pan’ etaṃ bhante evaṃ daṭṭhabbaṃ.  khīṇāsavo bhante bhikkhu vusitavā katakaraṇīyo karaṇīyam attānaṃ asamanupassanto katassa vā paṭicayaṃ khayā rāgassa vītarāgattā nekkhammādhimutto hoti, khayā dosassa vītadosattā nekkhammādhimutto hoti, khayā mohassa vītamohattā nekkhammādhimutto hoti. |21| 
เอวญฺเจ วุจฺจมาโน โจเทติ อนาทริเย ปาจิตฺติยํ.  เตหิ เจ ภิกฺขเว ภิกฺขูหิ ปวาริยมาเน คิลาโน คิลานสฺส ปวารณํ ฐเปติ โส เอวมสฺส วจนีโย “อายสฺมนฺตา โข คิลานา. คิลาโน จ อนนุโยคกฺขโม วุตฺโต ภควตา.  อาคเมหิ อาวุโส ยาว อโรคา โหถ. อโรโค อโรคํ อากงฺขมาโน โจเทสฺสสี”ติ . 
siyā kho pana bhante idh’ ekaccassa āyasmato evam assa: lābhasakkārasilokaṃ nūna ayam āyasmā nikā (184) mayamāno pavivekādhimutto ’ti.  na kho pan’ etaṃ ... khayā rāgassa vītarāgattā pavivekādhimutto hoti, khayā dosassa vītadosattā pavivekādhimutto hoti, khayā mohassa vītamohattā pavivekādhimutto hoti. |22| 
เอวญฺเจ วุจฺจมาโน โจเทติ อนาทริเย ปาจิตฺติยํ.  เตหิ เจ ภิกฺขเว ภิกฺขูหิ ปวาริยมาเน อคิลาโน อคิลานสฺส ปวารณํ ฐเปติ อุโภ สงฺเฆน สมนุยุญฺชิตฺวา สมนุคาหิตฺวา ยถาธมฺมํ การาเปตฺวา สงฺเฆน ปวาเรตพฺพนฺติ. (ภณฺฑนการกวตฺถุ นิฏฺฐิตํ.) 
siyā kho pana bhante idh’ ekaccassa āyasmato evam assa: sīlabbataparāmāsaṃ nūna ayam āyasmā sārato paccāgacchanto avyāpajjhādhimutto ’ti.  na kho pan’ etaṃ ... khayā rāgassa vītarāgattā avyāpajjhādhimutto hoti, khayā dosassa vītadosattā avyāpajjhādhimutto hoti, khayā mohassa vītamohattā avyāpajjhādhimutto hoti, |23| 
   
khayā rāgassa vītarāgattā upādānakkhayādhimutto hoti, khayā dosassa vītadosattā upādānakkhayādhimutto hoti, khayā mohassa vītamohattā upādānakkhayādhimutto hoti, khayā rāgassa vītarāgattā taṇhakkhayādhimutto hoti, khayā dosassa vītadosattā taṇhakkhayādhimutto hoti, khayā mohassa vītamohattā taṇhakkhayādhimutto hoti, khayā rāgassa vītarāgattā asammohādhimutto hoti, khayā dosassa vītadosattā asammohādhimutto hoti, khayā mohassa vītamohattā asammohādhimutto hoti. |24| 
(๑๔๕. ปวารณาสงฺคโห) ๒๔๑. เตน โข ปน สมเยน สมฺพหุลา สนฺทิฏฺฐา สมฺภตฺตา ภิกฺขู โกสเลสุ ชนปเท อญฺญตรสฺมึ อาวาเส วสฺสํ อุปคจฺฉึสุ. 
evaṃ sammāvimuttacittassa bhante bhikkhuno bhusā ce pi cakkhuviññeyyā rūpā cakkhussa āpāthaṃ āgacchanti, n’ ev’ assa cittaṃ pariyādiyanti, amissikatam ev’ assa cittaṃ hoti ṭhitaṃ ānejjappattaṃ vayañ c’ assānupassati.  bhusā ce pi sotaviññeyyā saddā, ghānaviññeyyā gandhā, {jivhāviññeyyā} rasā, {kāyaviññeyyā} phoṭṭhabbā, manoviññeyyā dhammā manassa āpāthaṃ āgacchanti, n’ ev’ assa cittaṃ pariyādiyanti, amissikatam ev’ assa cittaṃ hoti ṭhitaṃ ānejjappattaṃ vayañ c’ assānupassati. |25| 
เตสํ สมคฺคานํ สมฺโมทมานานํ อวิวทมานานํ วิหรตํ อญฺญตโร ผาสุวิหาโร อธิคโต โหติ.  อถ โข เตสํ ภิกฺขูนํ เอตทโหสิ “อมฺหากํ โข สมคฺคานํ สมฺโมทมานานํ อวิวทมานานํ วิหรตํ อญฺญตโร ผาสุวิหาโร อธิคโต. 
seyyathāpi bhante selo pabbato acchiddo asusiro ekaghano puratthimāya ce pi disāya āgaccheyya bhusā vātavuṭṭhi, n’ eva naṃ saṃkampeyya na sampakampeyya na sampavedheyya, pacchimāya ce pi disāya --la-- uttarāya ce pi disāya --la-- dakkhiṇāya ce pi disāya ... na sampavedheyya, evam eva kho bhante evaṃ sammāvimuttacittassa bhikkhuno bhusā ce pi cakkhuviññeyyā rūpā ... {manoviññeyyā} dhammā manassa āpāthaṃ āgacchanti, n’ ev’ assa cittam ... vayañ c’ assānupassatīti. |26| 
สเจ มยํ อิทานิ ปวาเรสฺสาม สิยาปิ ภิกฺขู ปวาเรตฺวา จาริกํ ปกฺกเมยฺยุํ. เอวํ มยํ อิมมฺหา ผาสุวิหารา ปริพาหิรา ภวิสฺสาม. 
nekkhammaṃ adhimuttassa pavivekañ ca cetaso avyāpajjhādhimuttassa upādānakkhayassa ca |  (185) taṇhakkhayādhimuttassa asammohañ ca cetaso disvā āyatanuppādaṃ sammā cittaṃ vimuccati. |  tassa sammāvimuttassa santacittassa bhikkhuno katassa paṭicayo n’ atthi karaṇīyañ ca na vijjati. |  selo yathā ekaghano vātena na samīrati, evaṃ rūpā rasā saddā gandhā phassā ca kevalā |  iṭṭhā dhammā aniṭṭhā ca na pavedhenti tādino.  ṭhitaṃ cittaṃ vippamuttaṃ vayañ c’ assānupassatīti. |27| 
กถํ นุ โข อมฺเหหิ ปฏิปชฺชิตพฺพ”นฺติ?  ภควโต เอตมตฺถํ อาโรเจสุํ.  อิธ ปน ภิกฺขเว สมฺพหุลา สนฺทิฏฺฐา สมฺภตฺตา ภิกฺขู อญฺญตรสฺมึ อาวาเส วสฺสํ อุปคจฺฉนฺติ.  เตสํ สมคฺคานํ สมฺโมทมานานํ อวิวทมานานํ วิหรตํ อญฺญตโร ผาสุวิหาโร อธิคโต โหติ.  ตตฺร เจ ภิกฺขูนํ เอวํ โหติ “อมฺหากํ โข สมคฺคานํ สมฺโมทมานานํ อวิวทมานานํ วิหรตํ อญฺญตโร ผาสุวิหาโร อธิคโต. สเจ มยํ อิทานิ ปวาเรสฺสาม สิยาปิ ภิกฺขู ปวาเรตฺวา จาริกํ ปกฺกเมยฺยุํ. เอวํ มยํ อิมมฺหา ผาสุวิหารา ปริพาหิรา ภวิสฺสามา”ติ  อนุชานามิ ภิกฺขเว เตหิ ภิกฺขูหิ ปวารณาสงฺคหํ กาตุํ. 
atha kho bhagavā bhikkhū āmantesi: evaṃ kho bhikkhave kulaputtā aññaṃ vyākaronti.  attho ca vutto attā ca anupanīto.  atha ca pan’ idh’ ekacce moghapurisā hasamānakaṃ maññe aññaṃ vyākaronti, te pacchā vighātaṃ āpajjantīti. |28| 
เอวญฺจ ปน ภิกฺขเว กาตพฺโพ.  สพฺเพเหว เอกชฺฌํ สนฺนิปติตพฺพํ สนฺนิปติตฺวา พฺยตฺเตน ภิกฺขุนา ปฏิพเลน สงฺโฆ ญาเปตพฺโพ “สุณาตุ เม ภนฺเต สงฺโฆ.  อมฺหากํ สมคฺคานํ สมฺโมทมานานํ อวิวทมานานํ วิหรตํ อญฺญตโร ผาสุวิหาโร อธิคโต. 
atha kho bhagavā āyasmantaṃ Soṇaṃ āmantesi: tvaṃ kho ’si Soṇa sukhumālo.  anujānāmi te Soṇa ekapalāsikaṃ upāhanan ti.  ahaṃ kho bhante asītisakaṭavāhe hiraññaṃ ohāya agārasmā anagāriyaṃ pabbajito sattahatthikañ ca anīkaṃ.  tassa me bhavissanti vattāro: Soṇo Koḷiviso asītisakaṭavāhe hiraññaṃ ohāya agārasmā anagāriyaṃ pabbajito sattahatthikañ ca anīkaṃ, so dān’ āyaṃ ekapalāsikāsu upāhanāsu satto ’ti. |29| 
สเจ มยํ อิทานิ ปวาเรสฺสาม สิยาปิ ภิกฺขู ปวาเรตฺวา จาริกํ ปกฺกเมยฺยุํ. เอวํ มยํ อิมมฺหา ผาสุวิหารา ปริพาหิรา ภวิสฺสาม.  ยทิ สงฺฆสฺส ปตฺตกลฺลํ สงฺโฆ ปวารณาสงฺคหํ กเรยฺย อิทานิ อุโปสถํ กเรยฺย ปาติโมกฺขํ อุทฺทิเสยฺย อาคเม ชุณฺเห โกมุทิยา จาตุมาสินิยา ปวาเรยฺย.  เอสา ญตฺติ.  “สุณาตุ เม ภนฺเต สงฺโฆ. 
sace bhagavā bhikkhusaṃghassa anujānissati, aham pi paribhuñjissāmi, no ce bhagavā bhikkhusaṃghassa anujānissati, aham pi na paribhuñjissāmīti.  atha kho bhagavā etasmiṃ nidāne dhammiṃ kathaṃ katvā bhikkhū āmantesi: anujānāmi bhikkhave ekapalāsikaṃ upāhanaṃ.  na bhikkhave diguṇā upāhanā dhāretabbā, na tiguṇā upāhanā dhāretabbā, na gaṇaṃgaṇūpāhanā dhāretabbā.  yo dhāreyya, āpatti dukkaṭassā ’ti. |30| 
อมฺหากํ สมคฺคานํ สมฺโมทมานานํ อวิวทมานานํ วิหรตํ อญฺญตโร ผาสุวิหาโร อธิคโต. สเจ มยํ อิทานิ ปวาเรสฺสาม สิยาปิ ภิกฺขู ปวาเรตฺวา จาริกํ ปกฺกเมยฺยุํ. เอวํ มยํ อิมมฺหา ผาสุวิหารา ปริพาหิรา ภวิสฺสาม.  สงฺโฆ ปวารณาสงฺคหํ กโรติ อิทานิ อุโปสถํ กริสฺสติ ปาติโมกฺขํ อุทฺทิสิสฺสติ อาคเม ชุณฺเห โกมุทิยา จาตุมาสินิยา ปวาเรสฺสติ.  ยสฺสายสฺมโต ขมติ ปวารณาสงฺคหสฺส กรณํ อิทานิ อุโปสถํ กริสฺสติ ปาติโมกฺขํ อุทฺทิสิสฺสติ อาคเม ชุณฺเห โกมุทิยา จาตุมาสินิยา ปวาเรสฺสติ โส ตุณฺหสฺส  ยสฺส นกฺขมติ โส ภาเสยฺย. 
||1|| 
“กโต สงฺเฆน ปวารณาสงฺคโห อิทานิ อุโปสถํ กริสฺสติ ปาติโมกฺขํ อุทฺทิสิสฺสติ อาคเม ชุณฺเห โกมุทิยา จาตุมาสินิยา ปวาเรสฺสติ. 
tena kho pana samayena chabbaggiyā bhikkhū sabbanīlikā upāhanāyo dhārenti --la-- sabbapītikā upāhanāyo dhārenti, sabbalohitikā up.dh., sabbamañjeṭṭhikā up.dh., sabbakaṇhā up.dh., sabbamahāraṅgarattā up.dh., sabbamahānāmarattā up.dhārenti.  manussā ujjhāyanti khīyanti vipācenti: seyyathāpi gihikāmabhogino ’ti.  bhagavato etam atthaṃ ārocesuṃ.  na bhikkhave sabbanīlikā upāhanā dhāretabbā, na sabbapītikā upāhanā dhāretabbā ... na sabbamahānāmarattā upāhanā dhāretabbā.  yo dhāreyya, āpatti dukkaṭassā ’ti. |1| 
ขมติ สงฺฆสฺส ตสฺมา ตุณฺหี เอวเมตํ ธารยามี”ติ.  เตหิ เจ ภิกฺขเว ภิกฺขูหิ กเต ปวารณาสงฺคเห อญฺญตโร ภิกฺขุ เอวํ วเทยฺย “อิจฺฉามหํ อาวุโส ชนปทจาริกํ ปกฺกมิตุํ อตฺถิ เม ชนปเท กรณีย”นฺติ โส เอวมสฺส วจนีโย “สาธาวุโส ปวาเรตฺวา คจฺฉาหี”ติ.  โส เจ ภิกฺขเว ภิกฺขุ ปวารยมาโน อญฺญตรสฺส ภิกฺขุโน ปวารณํ ฐเปติ โส เอวมสฺส วจนีโย “อนิสฺสโร โข เม ตฺวํ อาวุโส ปวารณาย น ตาวาหํ ปวาเรสฺสามี”ติ.  ตสฺส เจ ภิกฺขเว ภิกฺขุโน ปวารยมานสฺส อญฺญตโร ภิกฺขุ ตสฺส ภิกฺขุโน ปวารณํ ฐเปติ อุโภ สงฺเฆน สมนุยุญฺชิตฺวา สมนุคาหิตฺวา ยถาธมฺมํ การาเปตพฺพา.  โส เจ ภิกฺขเว ภิกฺขุ ชนปเท ตํ กรณียํ ตีเรตฺวา ปุนเทว อนฺโต โกมุทิยา จาตุมาสินิยา ตํ อาวาสํ อาคจฺฉติ เตหิ เจ ภิกฺขเว ภิกฺขูหิ ปวาริยมาเน อญฺญตโร ภิกฺขุ ตสฺส ภิกฺขุโน ปวารณํ ฐเปติ โส เอวมสฺส วจนีโย “อนิสฺสโร โข เม ตฺวํ อาวุโส ปวารณาย ปวาริโต อห”นฺติ. 
tena kho pana samayena chabbaggi (186) yā bhikkhū nīlakavaṭṭikā upāhanāyo dhārenti, pītakavaṭṭikā up.dh., lohitakavaṭṭikā up.dh., mañjeṭṭhakavaṭṭikā up.dh., kaṇhavaṭṭikā up.dh., mahāraṅgarattavaṭṭikā up.dh., mahānāmarattavaṭṭikā up.dhārenti.  manussā ujjhāyanti khīyanti vipācenti: seyyathāpi gihikāmabhogino ’ti.  bhagavato etam atthaṃ ārocesuṃ.  na bhikkhave nīlakavaṭṭikā upāhanā dhāretabbā ... na mahānāmarattavaṭṭikā upāhanā dhāretabbā.  yo dhāreyya, āpatti dukkaṭassā ’ti. |2| 
เตหิ เจ ภิกฺขเว ภิกฺขูหิ ปวาริยมาเน โส ภิกฺขุ อญฺญตรสฺส ภิกฺขุโน ปวารณํ ฐเปติ อุโภ สงฺเฆน สมนุยุญฺชิตฺวา สมนุคาหิตฺวา ยถาธมฺมํ การาเปตฺวา สงฺเฆน ปวาเรตพฺพนฺติ. (ปวารณาสงฺคโห นิฏฺฐิโต.)      ปวารณากฺขนฺธโก จตุตฺโถ.   
tena kho pana samayena chabbaggiyā bhikkhū khallakabaddhā upāhanāyo dhārenti, puṭabaddhā up.dhārenti, pāliguṇṭhimā up.dh., tūlapuṇṇikā up.dh., tittirapattikā up.dh., meṇḍavisāṇabandhikā up.dh., ajavisāṇabandhikā up.dh., vicchikālikā up.dh., morapicchaparisibbitā up.dh., citrā up.dhārenti.  manussā ujjhāyanti khīyanti vipācenti: seyyathāpi gihikāmabhogino ’ti.  bhagavato etam atthaṃ ārocesuṃ.  na bhikkhave khallakabaddhā upāhanā dhāretabbā ... na citrā upāhanā dhāretabbā.  yo dhāreyya, āpatti dukkaṭassā ’ti. |3| 
๑๔๖. ตสฺสุทฺทานํ วสฺสํ วุฏฺฐา โกสเลสุ อคมุํ สตฺถุ ทสฺสนํ. อผาสุํ ปสุสํวาสํ อญฺญมญฺญานุโลมตาฯ  ปวาเรนฺตา ปณามญฺจ กมฺมํ คิลานญาตกา. ราชา โจรา จ ธุตฺตา จ ภิกฺขุปจฺจตฺถิกา ตถาฯ  ปญฺจ จตุตโย ทฺเวโก อาปนฺโน เวมตี สริ. สพฺโพ สงฺโฆ เวมติโก พหู สมา จ โถกิกาฯ  อาวาสิกา จาตุทฺทส ลิงฺคสํวาสกา อุโภ. คนฺตพฺพํ น นิสินฺนาย ฉนฺททาเน ปวารณา ฯ  สวเรหิ เขปิตา เมโฆ อนฺตรา จ ปวารณา. 
tena kho pana samayena chabbaggiyā bhikkhū sīhacammaparikkhaṭā upāhanāyo dhārenti, vyagghacammaparikkhaṭā up.dh., dīpicammap.up.dh., ajinacammap.up.dh., uddacammap.up.dh., majjāricammap.up.dh., kāḷakacammap.up.dh., ulūkacammap.up.dhārenti.  manussā ujjhāyanti khīyanti vipācenti: seyyathāpi gihikāmabhogino ’ti.  bhagavato etam atthaṃ ārocesuṃ.  na bhikkhave sīhacammaparikkhaṭā upāhanā dhāretabbā ... na ulūkacammap.up.dhāretabbā.  yo dhāreyya, āpatti dukkaṭassā ’ti. |4| 
น อิจฺฉนฺติ ปุรมฺหากํ อฏฺฐปิตา จ ภิกฺขุโนฯ  กิมฺหิ วาติ กตมญฺจ ทิฏฺเฐน สุตสงฺกาย. โจทโก จุทิตโก จ ถุลฺลจฺจยํ วตฺถุ ภณฺฑนํ.  ปวารณาสงฺคโห จ อนิสฺสโร ปวารเยติฯ (อิมมฺหิ ขนฺธเก วตฺถูนิ ฉจตฺตาฬีสาติ. ปวารณากฺขนฺธโก นิฏฺฐิโต.)  (๕. จมฺมกฺขนฺธโก ๑๔๗. โสณโกฬิวิสวตฺถุ) ๒๔๒. เตน สมเยน พุทฺโธ ภควา ราชคเห วิหรติ คิชฺฌกูเฏ ปพฺพเต.  เตน โข ปน สมเยน ราชา มาคโธ เสนิโย พิมฺพิสาโร อสีติยา คามสหสฺเสสุ อิสฺสริยาธิปจฺจํ รชฺชํ กาเรติ. 
||2|| 
เตน โข ปน สมเยน จมฺปายํ โสโณ นาม โกฬิวิโส เสฏฺฐิปุตฺโต สุขุมาโล โหติ. 
atha kho bhagavā pubbaṇhasamayaṃ nivāsetvā pattacīvaraṃ ādāya Rājagahaṃ piṇḍāya pāvisi aññatarena bhikkhunā pacchāsamaṇena.  atha kho so bhikkhu khañjamāno bhagavantaṃ piṭṭhito-piṭṭhito anubandhi.  addasa kho aññataro upāsako gaṇaṃgaṇūpāhanaṃ ārohitvā bhagavantaṃ dūrato ’va āgacchantaṃ, disvā upāhanā orohitvā yena bhagavā ten’ upasaṃkami, upasaṃkamitvā bhagavantaṃ abhivādetvā yena so bhikkhu ten’ upasaṃkami, upasaṃkamitvā taṃ bhikkhuṃ abhivādetvā etad avoca: |1| 
ตสฺส ปาทตเลสุ โลมานิ ชาตานิ โหนฺติ. อถ โข ราชา มาคโธ เสนิโย พิมฺพิสาโร ตานิ อสีติ คามิกสหสฺสานิ สนฺนิปาตาเปตฺวา เกนจิเทว กรณีเยน โสณสฺส โกฬิวิสสฺส สนฺติเก ทูตํ ปาเหสิ อาคจฺฉตุ โสโณ อิจฺฉามิ โสณสฺส อาคตนฺติ.  อถ โข โสณสฺส โกฬิวิสสฺส มาตาปิตโร โสณํ โกฬิวิสํ เอตทโวจุํ “ราชา เต ตาต โสณ ปาเท ทกฺขิตุกาโม.  มา โข ตฺวํ ตาต โสณ เยน ราชา เตน ปาเท อภิปฺปสาเรยฺยาสิ. รญฺโญ ปุรโต ปลฺลงฺเกน นิสีท. นิสินฺนสฺส เต ราชา ปาเท ทกฺขิสฺสตี”ติ. 
kissa bhante ayyo khañjatīti.  pādā me āvuso phālitā ’ti.  handa bhante upāhanāyo ’ti.  (187) alaṃ āvuso paṭikkhittā bhagavatā gaṇaṃgaṇūpāhanā ’ti.  gaṇhāh’ etā bhikkhu upāhanāyo ’ti.  atha kho bhagavā etasmiṃ nidāne dhammiṃ kathaṃ katvā bhikkhū āmantesi: anujānāmi bhikkhave omukkaṃ gaṇaṃgaṇūpāhanaṃ.  na bhikkhave navā gaṇaṃgaṇūpāhanā dhāretabbā.  yo dhāreyya, āpatti dukkaṭassā ’ti. |2| 
อถ โข โสณํ โกฬิวิสํ สิวิกาย อาเนสุํ.  อถ โข โสโณ โกฬิวิโส เยน ราชา มาคโธ เสนิโย พิมฺพิสาโร เตนุปสงฺกมิ อุปสงฺกมิตฺวา ราชานํ มาคธํ เสนิยํ พิมฺพิสารํ อภิวาเทตฺวา รญฺโญ ปุรโต ปลฺลงฺเกน นิสีทิ.  อทฺทสา โข ราชา มาคโธ เสนิโย พิมฺพิสาโร โสณสฺส โกฬิวิสสฺส ปาทตเลสุ โลมานิ ชาตานิ.  อถ โข ราชา มาคโธ เสนิโย พิมฺพิสาโร ตานิ อสีติ คามิกสหสฺสานิ ทิฏฺฐธมฺมิเก อตฺเถ อนุสาสิตฺวา อุยฺโยเชสิ “ตุมฺเห ขฺวตฺถ ภเณ มยา ทิฏฺฐธมฺมิเก อตฺเถ อนุสาสิตา คจฺฉถ ตํ ภควนฺตํ ปยิรุปาสถ โส โน ภควา สมฺปรายิเก อตฺเถ อนุสาสิสฺสตี”ติ.  อถ โข ตานิ อสีติ คามิกสหสฺสานิ เยน คิชฺฌกูโฏ ปพฺพโต เตนุปสงฺกมึสุ.  เตน โข ปน สมเยน อายสฺมา สาคโต ภควโต อุปฏฺฐาโก โหติ.  อถ โข ตานิ อสีติ คามิกสหสฺสานิ เยนายสฺมา สาคโต เตนุปสงฺกมึสุ อุปสงฺกมิตฺวา อายสฺมนฺตํ สาคตํ เอตทโวจุํ “อิมานิ ภนฺเต อสีติ คามิกสหสฺสานิ อิธูปสงฺกนฺตานิ ภควนฺตํ ทสฺสนาย  สาธุ มยํ ภนฺเต ลเภยฺยาม ภควนฺตํ ทสฺสนายา”ติ. 
||3|| 
“เตน หิ ตุมฺเห อายสฺมนฺโต มุหุตฺตํ อิเธว ตาว โหถ ยาวาหํ ภควนฺตํ ปฏิเวเทมี”ติ. 
tena kho pana samayena bhagavā ajjhokāse anupāhano caṅkamati.  satthā anupāhano caṅkamatīti therāpi bhikkhū anupāhanā caṅkamanti.  chabbaggiyā bhikkhū satthari anupāhane caṅkamamāne theresu pi bhikkhūsu anupāhanesu caṅkamamānesu saupāhanā caṅkamanti.  ye te bhikkhū appicchā te ujjhāyanti khīyanti vipācenti: kathaṃ hi nāma chabbaggiyā bhikkhū satthari anupāhane caṅkamamāne theresu pi bhikkhūsu anupāhanesu caṅkamamānesu saupāhanā caṅkamissantīti. |1| 
อถ โข อายสฺมา สาคโต เตสํ อสีติยา คามิกสหสฺสานํ ปุรโต เปกฺขมานานํ ปาฏิกาย นิมุชฺชิตฺวา ภควโต ปุรโต อุมฺมุชฺชิตฺวา ภควนฺตํ เอตทโวจ “อิมานิ ภนฺเต อสีติ คามิกสหสฺสานิ อิธูปสงฺกนฺตานิ ภควนฺตํ ทสฺสนาย ยสฺส ทานิ ภนฺเต ภควา กาลํ มญฺญตี”ติ.  “เตน หิ ตฺวํ สาคต วิหารปจฺฉายายํ อาสนํ ปญฺญเปหี”ติ.  “เอวํ ภนฺเต”ติ โข อายสฺมา สาคโต ภควโต ปฏิสฺสุณิตฺวา ปีฐํ คเหตฺวา ภควโต ปุรโต นิมุชฺชิตฺวา เตสํ อสีติยา คามิกสหสฺสานํ ปุรโต เปกฺขมานานํ ปาฏิกาย อุมฺมุชฺชิตฺวา วิหารปจฺฉายายํ อาสนํ ปญฺญเปติ.  อถ โข ภควา วิหารา นิกฺขมิตฺวา วิหารปจฺฉายายํ ปญฺญตฺเต อาสเน นิสีทิ. 
atha kho te bhikkhū bhagavato etam atthaṃ ārocesuṃ.  saccaṃ kira bhikkhave chabbaggiyā bhikkhū satthari ... saupāhanā caṅkamantīti.  saccaṃ bhagavā ’ti.  vigarahi buddho bhagavā: kathaṃ hi nāma te bhikkhave moghapurisā satthari ... saupāhanā caṅkamissanti.  ime hi nāma bhikkhave gihī odātavasanā abhijīvanikassa sippassa kāraṇā ācariyesu sagāravā sappatissā sabhāgavuttikā viharissanti. |2| 
อถ โข ตานิ อสีติ คามิกสหสฺสานิ เยน ภควา เตนุปสงฺกมึสุ อุปสงฺกมิตฺวา ภควนฺตํ อภิวาเทตฺวา เอกมนฺตํ นิสีทึสุ.  อถ โข ตานิ อสีติ คามิกสหสฺสานิ อายสฺมนฺตํเยว สาคตํ สมนฺนาหรนฺติ โน ตถา ภควนฺตํ.  อถ โข ภควา เตสํ อสีติยา คามิกสหสฺสานํ เจตสา เจโตปริวิตกฺกมญฺญาย อายสฺมนฺตํ สาคตํ อามนฺเตสิ “เตน หิ ตฺวํ สาคต ภิยฺโยโสมตฺตาย อุตฺตริมนุสฺสธมฺมํ อิทฺธิปาฏิหาริยํ ทสฺเสหี”ติ.  “เอวํ ภนฺเต”ติ โข อายสฺมา สาคโต ภควโต ปฏิสฺสุณิตฺวา เวหาสํ อพฺภุคฺคนฺตฺวา อากาเส อนฺตลิกฺเข จงฺกมติปิ ติฏฺฐติปิ นิสีทติปิ เสยฺยมฺปิ กปฺเปติ ธูมายติปิ ปชฺชลติปิ อนฺตรธายติปิ.  อถ โข อายสฺมา สาคโต อากาเส อนฺตลิกฺเข อเนกวิหิตํ อุตฺตริมนุสฺสธมฺมํ อิทฺธิปาฏิหาริยํ ทสฺเสตฺวา ภควโต ปาเทสุ สิรสา นิปติตฺวา ภควนฺตํ เอตทโวจ “สตฺถา เม ภนฺเต ภควา สาวโกหมสฺมิ. สตฺถา เม ภนฺเต ภควา สาวโกหมสฺมี”ติ. 
idha kho taṃ bhikkhave sobhetha yaṃ tumhe evaṃ svākkhāte dhammavinaye pabbajitā samānā ācariyesu ācariyamattesu upajjhāyesu upajjhāyamattesu sagāravā sappatissā sabhāgavuttikā vihareyyātha.  n’ etaṃ bhikkhave appasannānaṃ vā pasādāya --la-- vigarahitvā dhammiṃ kathaṃ katvā bhikkhū āmantesi: na bhikkhave ācariyesu ācariyamattesu upajjhāyesu upajjhāyamattesu anupāhanesu caṅkamamānesu saupāhanena caṅkamitabbaṃ.  yo caṅkameyya, āpatti dukkaṭassa.  na ca bhikkhave ajjhārāme upāhanā dhāretabbā.  yo dhāreyya, āpatti dukkaṭassā ’ti. |3| 
อถ โข ตานิ อสีติ คามิกสหสฺสานิ “อจฺฉริยํ วต โภ! อพฺภุตํ วต โภ! สาวโกปิ นาม เอวํ มหิทฺธิโก ภวิสฺสติ เอวํ มหานุภาโว อโห นูน สตฺถา”ติ ภควนฺตํเยว สมนฺนาหรนฺติ โน ตถา อายสฺมนฺตํ สาคตํ.  อถ โข ภควา เตสํ อสีติยา คามิกสหสฺสานํ เจตสา เจโตปริวิตกฺกมญฺญาย อนุปุพฺพิ๎ กถํ กเถสิ เสยฺยถิทํ ทานกถํ สีลกถํ สคฺคกถํ กามานํ อาทีนวํ โอการํ สํกิเลสํ เนกฺขมฺเม อานิสํสํ ปกาเสสิ.  ยทา เต ภควา อญฺญาสิ กลฺลจิตฺเต มุทุจิตฺเต วินีวรณจิตฺเต อุทคฺคจิตฺเต ปสนฺนจิตฺเต อถ ยา พุทฺธานํ สามุกฺกํสิกา ธมฺมเทสนา ตํ ปกาเสสิ ทุกฺขํ สมุทยํ นิโรธํ มคฺคํ.  เสยฺยถาปิ นาม สุทฺธํ วตฺถํ อปคตกาฬกํ สมฺมเทว รชนํ ปฏิคฺคณฺเหยฺย เอวเมวํ เตสํ อสีติยา คามิกสหสฺสานํ ตสฺมึเยว อาสเน วิรชํ วีตมลํ ธมฺมจกฺขุํ อุทปาทิ “ยํกิญฺจิ สมุทยธมฺมํ สพฺพํ ตํ นิโรธธมฺม”นฺติ.  เต ทิฏฺฐธมฺมา ปตฺตธมฺมา วิทิตธมฺมา ปริโยคาฬฺหธมฺมา ติณฺณวิจิกิจฺฉา วิคตกถํกถา เวสารชฺชปฺปตฺตา อปรปฺปจฺจยา สตฺถุสาสเน ภควนฺตํ เอตทโวจุํ “อภิกฺกนฺตํ ภนฺเต อภิกฺกนฺตํ ภนฺเต. เสยฺยถาปิ ภนฺเต นิกฺกุชฺชิตํ วา อุกฺกุชฺเชยฺย ปฏิจฺฉนฺนํ วา วิวเรยฺย มูฬฺหสฺส วา มคฺคํ อาจิกฺเขยฺย อนฺธกาเร วา เตลปชฺโชตํ ธาเรยฺย “จกฺขุมนฺโต รูปานิ ทกฺขนฺตี”ติ เอวเมวํ ภควตา อเนกปริยาเยน ธมฺโม ปกาสิโต. 
||4|| 
เอเต มยํ ภนฺเต ภควนฺตํ สรณํ คจฺฉาม. ธมฺมญฺจ ภิกฺขุสงฺฆญฺจ. อุปาสเก โน ภควา ธาเรตุ อชฺชตคฺเค ปาณุเปเต สรณํ คเต”ติ. 
tena kho pana samayena aññatarassa bhikkhuno pādakhīlābādho hoti.  taṃ bhikkhuṃ pariggahetvā uccāram pi passāvam pi nikkhāmenti.  addasa kho bhagavā senāsanacārikaṃ āhiṇḍanto te bhikkhū taṃ bhikkhuṃ pariggahetvā (188) uccāram pi passāvam pi nikkhāmente, disvāna yena te bhikkhū ten’ upasaṃkami, upasaṃkamitvā te bhikkhū etad avoca: |1| kiṃ imassa bhikkhave bhikkhuno ābādho ’ti.  imassa bhante āyasmato pādakhīlābādho, imaṃ mayaṃ pariggahetvā uccāram pi passāvam pi nikkhāmemā ’ti.  atha kho bhagavā etasmiṃ nidāne dhammiṃ kathaṃ katvā bhikkhū āmantesi: anujānāmi bhikkhave yassa pādā vā dukkhā pādā vā phālitā pādakhīlā vā ābādho upāhanaṃ dhāretun ti. |2| ||5|| tena kho pana samayena bhikkhū adhotehi pādehi mañcam pi pīṭham pi abhirūhanti, cīvaram pi senāsanam pi dussati.  bhagavato etam atthaṃ ārocesuṃ.  anujānāmi bhikkhave idāni mañcaṃ vā pīṭhaṃ vā abhirūhissāmīti upāhanaṃ dhāretun ti. |1| 
(โสณสฺส ปพฺพชฺชา) ๒๔๓. อถ โข โสณสฺส โกฬิวิสสฺส เอตทโหสิ “ยถา ยถา โข อหํ ภควตา ธมฺมํ เทสิตํ อาชานามิ นยิทํ สุกรํ อคารํ อชฺฌาวสตา เอกนฺตปริปุณฺณํ เอกนฺตปริสุทฺธํ สงฺขลิขิตํ พฺรหฺมจริยํ จริตุํ  ยํนูนาหํ เกสมสฺสุํ โอหาเรตฺวา กาสายานิ วตฺถานิ อจฺฉาเทตฺวา อคารสฺมา อนคาริยํ ปพฺพเชยฺย”นฺติ.  อถ โข ตานิ อสีติ คามิกสหสฺสานิ ภควโต ภาสิตํ อภินนฺทิตฺวา อนุโมทิตฺวา อุฏฺฐายาสนา ภควนฺตํ อภิวาเทตฺวา ปทกฺขิณํ กตฺวา ปกฺกมิสุํ.  อถ โข โสโณ โกฬิวิโส อจิรปกฺกนฺเตสุ เตสุ อสีติยา คามิกสหสฺเสสุ เยน ภควา เตนุปสงฺกมิ อุปสงฺกมิตฺวา ภควนฺตํ อภิวาเทตฺวา เอกมนฺตํ นิสีทิ.  เอกมนฺตํ นิสินฺโน โข โสโณ โกฬิวิโส ภควนฺตํ เอตทโวจ “ยถา ยถาหํ ภนฺเต ภควตา ธมฺมํ เทสิตํ อาชานามิ นยิทํ สุกรํ อคารํ อชฺฌาวสตา เอกนฺตปริปุณฺณํ เอกนฺตปริสุทฺธํ สงฺขลิขิตํ พฺรหฺมจริยํ จริตุํ.  อิจฺฉามหํ ภนฺเต เกสมสฺสุํ โอหาเรตฺวา กาสายานิ วตฺถานิ อจฺฉาเทตฺวา อคารสฺมา อนคาริยํ ปพฺพชิตุํ. ปพฺพาเชตุ มํ ภนฺเต ภควา”ติ.  อลตฺถ โข โสโณ โกฬิวิโส ภควโต สนฺติเก ปพฺพชฺชํ อลตฺถ อุปสมฺปทํ. 
tena kho pana samayena bhikkhū rattiyā uposathaggam pi sannisajjam pi gacchantā andhakāre khānum pi kaṇṭakam pi akkamanti, pādā dukkhā honti.  bhagavato etam atthaṃ ārocesuṃ.  anujānāmi bhikkhave ajjhārāme upāhanaṃ dhāretuṃ ukkaṃ padīpaṃ kattaradaṇḍan ti. |2| 
อจิรุปสมฺปนฺโน จ ปนายสฺมา โสโณ สีตวเน วิหรติ.  ตสฺส อจฺจารทฺธวีริยสฺส จงฺกมโต ปาทา ภิชฺชึสุ. จงฺกโม โลหิเตน ผุโฏ โหติ เสยฺยถาปิ ควาฆาตนํ.  อถ โข อายสฺมโต โสณสฺส รโหคตสฺส ปฏิสลฺลีนสฺส เอวํ เจตโส ปริวิตกฺโก อุทปาทิ “เย โข เกจิ ภควโต สาวกา อารทฺธวีริยา วิหรนฺติ อหํ เตสํ อญฺญตโร. อถ จ ปน เม นานุปาทาย อาสเวหิ จิตฺตํ วิมุจฺจติ. สํวิชฺชนฺติ โข ปน เม กุเล โภคา 
tena kho pana samayena chabbaggiyā bhikkhū rattiyā paccūsasamayaṃ paccuṭṭhāya kaṭṭhapādukāyo abhirūhitvā ajjhokāse caṅkamanti uccāsaddā mahāsaddā khaṭakhaṭasaddā anekavihitaṃ tiracchānakathaṃ kathentā seyyath’ īdaṃ: rājakathaṃ, corakathaṃ, mahāmattak., senāk., bhayak., yuddhak., annak., pānak., vatthak., sayanak., mālāk., gandhak., ñātik., yānak., gāmak., nigamak., nagarak., janapadak., itthik., sūrak., visikhāk., kumbhaṭṭhānak., pubbapetak., nānatthak., lokakkhāyikaṃ samuddakkhāyikaṃ itibhavābhavakathaṃ iti vā kīṭakam pi akkamitvā mārenti bhikkhū pi samādhimhā cāventi. |3| ye te bhikkhū appicchā te ujjhāyanti khīyanti vipācenti: kathaṃ hi nāma chabbaggiyā bhikkhū rattiyā paccūsasamayaṃ paccuṭṭhāya kaṭṭhapādukāyo abhirūhitvā ajjhokāse caṅkamissanti uccāsaddā ... akkamitvā māressanti bhikkhū pi samādhimhā cāvessantīti.  atha kho te bhikkhū bhagavato etam atthaṃ ārocesuṃ.  saccaṃ kira bhikkhave chabbaggiyā bhikkhū rattiyā paccūsasamayaṃ paccuṭṭhāya kaṭṭhapādukāyo abhirūhitvā ajjhokāse caṅkamanti uccāsaddā ... akkamitvā mārenti bhikkhū pi (189) samādhimhā cāventīti.  saccaṃ bhagavā.  vigarahitvā dhammikathaṃ katvā bhikkhū āmantesi: na bhikkhave kaṭṭhapādukā dhāretabbā.  yo dhāreyya, āpatti dukkaṭassā ’ti. |4| 
สกฺกา โภเค จ ภุญฺชิตุํ ปุญฺญานิ จ กาตุํ.  ยํนูนาหํ หีนายาวตฺติตฺวา โภเค จ ภุญฺเชยฺยํ ปุญฺญานิ จ กเรยฺย”นฺติ.  อถ โข ภควา อายสฺมโต โสณสฺส เจตสา เจโตปริวิตกฺกมญฺญาย เสยฺยถาปิ นาม พลวา ปุริโส สมิญฺชิตํ วา พาหํ ปสาเรยฺย ปสาริตํ วา พาหํ สมิญฺเชยฺย เอวเมว คิชฺฌกูเฏ ปพฺพเต อนฺตรหิโต สีตวเน ปาตุรโหสิ.  อถ โข ภควา สมฺพหุเลหิ ภิกฺขูหิ สทฺธึ เสนาสนจาริกํ อาหิณฺฑนฺโต เยนายสฺมโต โสณสฺส จงฺกโม เตนุปสงฺกมิ.  อทฺทสา โข ภควา อายสฺมโต โสณสฺส จงฺกมํ โลหิเตน ผุฏํ ทิสฺวาน ภิกฺขู อามนฺเตสิ “กสฺส นฺวายํ ภิกฺขเว จงฺกโม โลหิเตน ผุโฏ เสยฺยถาปิ ควาฆาตน”นฺติ?  “อายสฺมโต ภนฺเต โสณสฺส อจฺจารทฺธวีริยสฺส จงฺกมโต ปาทา ภิชฺชึสุ. ตสฺสายํ จงฺกโม โลหิเตน ผุโฏ เสยฺยถาปิ ควาฆาตน”นฺติ. 
||6|| 
อถ โข ภควา เยนายสฺมโต โสณสฺส วิหาโร เตนุปสงฺกมิ อุปสงฺกมิตฺวา ปญฺญตฺเต อาสเน นิสีทิ. 
atha kho bhagavā Rājagahe yathābhirantaṃ viharitvā yena Bārāṇasī tena cārikaṃ pakkāmi.  anupubbena cārikaṃ caramāno yena Bārāṇasī tad avasari.  tatra sudaṃ bhagavā Bārāṇasiyaṃ viharati Isipatane migadāye.  tena kho pana samayena chabbaggiyā bhikkhū bhagavatā kaṭṭhapādukā paṭikkhittā ’ti tālataruṇe chedāpetvā tālapattapādukāyo dhārenti, tāni tālataruṇāni chinnāni milāyanti.  manussā ujjhāyanti khīyanti vipācenti: kathaṃ hi nāma samaṇā Sakyaputtiyā tālataruṇe chedāpetvā tālapattapādukāyo dhāressanti, tāni tālataruṇāni chinnāni milāyanti.  ekindriyaṃ samaṇā Sakyaputtiyā jīvaṃ viheṭhentīti. |1| 
อายสฺมาปิ โข โสโณ ภควนฺตํ อภิวาเทตฺวา เอกมนฺตํ นิสีทิ.  เอกมนฺตํ นิสินฺนํ โข อายสฺมนฺตํ โสณํ ภควา เอตทโวจ “นนุ เต โสณ รโหคตสฺส ปฏิสลฺลีนสฺส เอวํ เจตโส ปริวิตกฺโก อุทปาทิ ‘เย โข เกจิ ภควโต สาวกา อารทฺธวีริยา วิหรนฺติ อหํ เตสํ อญฺญตโร. อถ จ ปน เม นานุปาทาย อาสเวหิ จิตฺตํ วิมุจฺจติ. สํวิชฺชนฺติ โข ปน เม กุเล โภคา สกฺกา โภเค จ ภุญฺชิตุํ ปุญฺญานิ จ กาตุํ. ยํนูนาหํ หีนายาวตฺติตฺวา โภเค จ ภุญฺเชยฺยํ ปุญฺญานิ จ กเรยฺย”’นฺติ?  “เอวํ ภนฺเต”ติ  “ตํ กึ มญฺญสิ โสณ กุสโล ตฺวํ ปุพฺเพ อคาริกภูโต วีณาย ตนฺติสฺสเร”ติ?  “เอวํ ภนฺเต”ติ.  “ตํ กึ มญฺญสิ โสณ ยทา เต วีณาย ตนฺติโย อจฺจายตา โหนฺติ อปิ นุ เต วีณา ตสฺมึ สมเย สรวตี วา โหติ กมฺมญฺญา วา”ติ? 
assosuṃ kho bhikkhū tesaṃ manussānaṃ ujjhāyantānaṃ khīyantānaṃ vipācentānaṃ.  atha kho te bhikkhū bhagavato etam atthaṃ ārocesuṃ.  saccaṃ kira bhikkhave chabbaggiyā bhikkhū tālataruṇe chedāpetvā tālapattapādukāyo dhārenti, tāni tālataruṇāni chinnāni milāyantīti.  saccaṃ bhagavā.  vigarahi buddho bhagavā: kathaṃ hi nāma te bhikkhave moghapurisā tālataruṇe chedāpetvā tālapattapādukāyo dhāressanti, tāni tālataruṇāni chinnāni milāyanti.  jīvasaññino hi bhikkhave manussā rukkhasmiṃ.  n’ etaṃ bhikkhave appasannānaṃ vā pasādāya --la-- vigarahitvā dhammiṃ kathaṃ katvā bhikkhū āmantesi: na bhikkhave tālapattapādukā dhāretabbā.  yo dhāreyya, āpatti dukkaṭassā ’ti. |2| 
“โน เหตํ ภนฺเต”ติ.  “ตํ กึ มญฺญสิ โสณ ยทา เต วีณาย ตนฺติโย อติสิถิลา โหนฺติ อปิ นุ เต วีณา ตสฺมึ สมเย สรวตี วา โหติ กมฺมญฺญา วา”ติ?  “โน เหตํ ภนฺเต”ติ.  “ตํ กึ มญฺญสิ โสณ ยทา เต วีณาย ตนฺติโย เนว อจฺจายตา โหนฺติ นาติสิถิลา สเม คุเณ ปติฏฺฐิตา อปิ นุ เต วีณา ตสฺมึ สมเย สรวตี วา โหติ กมฺมญฺญา วา”ติ?  “เอวํ ภนฺเต”ติ.  “เอวเมว โข โสณ อจฺจารทฺธวีริยํ อุทฺธจฺจาย สํวตฺตติ อติลีนวีริยํ โกสชฺชาย สํวตฺตติ.  ตสฺมาติห ตฺวํ โสณ วีริยสมตํ อธิฏฺฐห อินฺทฺริยานญฺจ สมตํ ปฏิวิชฺฌ ตตฺถ จ นิมิตฺตํ คณฺหาหี”ติ.  “เอวํ ภนฺเต”ติ โข อายสฺมา โสโณ ภควโต ปจฺจสฺโสสิ. 
tena kho pana samayena chabbaggiyā bhikkhū bhagavatā tālapattapādukā paṭikkhittā ’ti veḷutaruṇe chedāpetvā veḷupattapādukāyo dhārenti, tāni ... (= 1.2.  Read veḷuinstead of tāla-) ... na bhikkhave veḷupattapādukā dhāretabbā.  yo dhāreyya, āpatti dukkaṭassā ’ti. |3| 
อถ โข ภควา อายสฺมนฺตํ โสณํ อิมินา โอวาเทน โอวทิตฺวา เสยฺยถาปิ นาม พลวา ปุริโส สมฺมิญฺชิตํ วา พาหํ ปสาเรยฺย ปสาริตํ วา พาหํ สมิญฺเชยฺย เอวเมว สีตวเน อายสฺมโต โสณสฺส สมฺมุเข อนฺตรหิโต คิชฺฌกูเฏ ปพฺพเต ปาตุรโหสิ.  อถ โข อายสฺมา โสโณ อปเรน สมเยน วีริยสมตํ อธิฏฺฐาสิ อินฺทฺริยานญฺจ สมตํ ปฏิวิชฺฌิ ตตฺถ จ นิมิตฺตํ อคฺคเหสิ.  อถ โข อายสฺมา โสโณ เอโก วูปกฏฺโฐ อปฺปมตฺโต อาตาปี ปหิตตฺโต วิหรนฺโต น จิรสฺเสว ยสฺสตฺถาย กุลปุตฺตา สมฺมเทว อคารสฺมา อนคาริยํ ปพฺพชนฺติ ตทนุตฺตรํ พฺรหฺมจริยปริโยสานํ ทิฏฺเฐว ธมฺเม สยํ อภิญฺญา สจฺฉิกตฺวา อุปสมฺปชฺช วิหาสิ. ‘ขีณา ชาติ วุสิตํ พฺรหฺมจริยํ กตํ กรณียํ นาปรํ อิตฺถตฺตายา’ติ อภิญฺญาสิ. อญฺญตโร จ ปนายสฺมา โสโณ อรหตํ อโหสิ. 
||7|| 
๒๔๔. อถ โข อายสฺมโต โสณสฺส อรหตฺตปฺปตฺตสฺส เอตทโหสิ “ยํนูนาหํ ภควโต สนฺติเก อญฺญํ พฺยากเรยฺย”นฺติ. 
atha kho bhagavā Bārāṇasiyaṃ yathābhirantaṃ viharitvā yena Bhaddiyaṃ tena cārikaṃ pakkāmi.  anupubbena cārikaṃ caramāno yena Bhaddiyaṃ tad avasari.  tatra sudaṃ bhagavā Bhaddiye viharati Jātiyāvane.  tena (190) kho pana samayena Bhaddiyā bhikkhū anekavihitaṃ pādukaṃ maṇḍanānuyogam anuyuttā viharanti, tiṇapādukaṃ karonti pi kārāpenti pi, muñjapād.k.pi k.pi, babbajapād.k.pi k.pi, hintālapād.k.pi k.pi, kamalapād.k.pi k.pi, kambalapād.k.pi k.pi, riñcanti uddesaṃ paripucchaṃ adhisīlaṃ adhicittaṃ adhipaññaṃ. |1| 
อถ โข อายสฺมา โสโณ เยน ภควา เตนุปสงฺกมิ อุปสงฺกมิตฺวา ภควนฺตํ อภิวาเทตฺวา เอกมนฺตํ นิสีทิ. เอกมนฺตํ นิสินฺโน โข อายสฺมา โสโณ ภควนฺตํ เอตทโวจ  โย โส ภนฺเต ภิกฺขุ อรหํ ขีณาสโว วุสิตวา กตกรณีโย โอหิตภาโร อนุปฺปตฺตสทตฺโถ ปริกฺขีณภวสญฺโญชโน สมฺมทญฺญา วิมุตฺโต โส ฉฏฺฐานานิ อธิมุตฺโต โหติ เนกฺขมฺมาธิมุตฺโต โหติ ปวิเวกาธิมุตฺโต โหติ อพฺยาปชฺชาธิมุตฺโต โหติ อุปาทานกฺขยาธิมุตฺโต โหติ ตณฺหกฺขยาธิมุตฺโต โหติ อสมฺโมหาธิมุตฺโต โหติ.  “สิยา โข ปน ภนฺเต อิเธกจฺจสฺส อายสฺมโต เอวมสฺส ‘เกวลํ สทฺธามตฺตกํ นูน อยมายสฺมา นิสฺสาย เนกฺขมฺมาธิมุตฺโต’ติ  น โข ปเนตํ ภนฺเต เอวํ ทฏฺฐพฺพํ. 
ye te bhikkhū appicchā, te ujjhāyanti khīyanti vipācenti: kathaṃ hi nāma Bhaddiyā bhikkhū anekavihitaṃ pādukaṃ maṇḍanānuyogam anuyuttā viharissanti, tiṇapādukaṃ karissanti pi kārāpessanti pi ... riñcissanti uddesaṃ paripucchaṃ adhisīlaṃ adhicittaṃ adhipaññan ti.  atha kho te bhikkhū bhagavato etam atthaṃ ārocesuṃ.  saccaṃ kira bhikkhave Bhaddiyā bhikkhū anekavihitaṃ pādukaṃ maṇḍanānuyogam anuyuttā viharanti, tiṇapādukaṃ karonti pi kārāpenti pi --la-- riñcanti uddesaṃ ... adhipaññan ti.  saccaṃ bhagavā.  vigarahi buddho bhagavā: kathaṃ hi nāma te bhikkhave moghapurisā anekavihitaṃ pādukaṃ maṇḍanānuyogam anuyuttā viharissanti, tiṇapādukaṃ karissanti pi kārāpessanti pi -- la -riñcissanti uddesaṃ paripucchaṃ adhisīlaṃ adhicittaṃ adhipaññaṃ.  n’ etaṃ bhikkhave appasannānaṃ vā pasādāya. |2| 
ขีณาสโว ภนฺเต ภิกฺขุ วุสิตวา กตกรณีโย กรณียมตฺตานํ อสมนุปสฺสนฺโต กตสฺส วา ปฏิจยํ ขยา ราคสฺส วีตราคตฺตา เนกฺขมฺมาธิมุตฺโต โหติ ขยา โทสสฺส วีตโทสตฺตา เนกฺขมฺมาธิมุตฺโต โหติ ขยา โมหสฺส วีตโมหตฺตา เนกฺขมฺมาธิมุตฺโต โหติ.  “สิยา โข ปน ภนฺเต อิเธกจฺจสฺส อายสฺมโต เอวมสฺส ‘ลาภสกฺการสิโลกํ นูน อยมายสฺมา นิกามยมาโน ปวิเวกาธิมุตฺโต’ติ.  น โข ปเนตํ ภนฺเต เอวํ ทฏฺฐพฺพํ. ขีณาสโว ภนฺเต ภิกฺขุ วุสิตวา กตกรณีโย กรณียมตฺตานํ อสมนุปสฺสนฺโต กตสฺส วา ปฏิจยํ ขยา ราคสฺส วีตราคตฺตา ปวิเวกาธิมุตฺโต โหติ ขยา โทสสฺส วีตโทสตฺตา ปวิเวกาธิมุตฺโต โหติ ขยา โมหสฺส วีตโมหตฺตา ปวิเวกาธิมุตฺโต โหติ.  “สิยา โข ปน ภนฺเต อิเธกจฺจสฺส อายสฺมโต เอวมสฺส ‘สีลพฺพตปรามาสํ นูน อยมายสฺมา สารโต ปจฺจาคจฺฉนฺโต อพฺยาปชฺชาธิมุตฺโต’ติ.  น โข ปเนตํ ภนฺเต เอวํ ทฏฺฐพฺพํ. ขีณาสโว ภนฺเต ภิกฺขุ วุสิตวา กตกรณีโย กรณียมตฺตานํ อสมนุปสฺสนฺโต กตสฺส วา ปฏิจยํ ขยา ราคสฺส วีตราคตฺตา อพฺยาปชฺชาธิมุตฺโต โหติ ขยา โทสสฺส วีตโทสตฺตา อพฺยาปชฺชาธิมุตฺโต โหติ ขยา โมหสฺส วีตโมหตฺตา อพฺยาปชฺชาธิมุตฺโต โหติ.  “ขยา ราคสฺส วีตราคตฺตา อุปาทานกฺขยาธิมุตฺโต โหติ ขยา โทสสฺส วีตโทสตฺตา อุปาทานกฺขยาธิมุตฺโต โหติ ขยา โมหสฺส วีตโมหตฺตา อุปาทานกฺขยาธิมุตฺโต โหติ. “ขยา ราคสฺส วีตราคตฺตา ตณฺหกฺขยาธิมุตฺโต โหติ ขยา โทสสฺส วีตโทสตฺตา ตณฺหกฺขยาธิมุตฺโต โหติ ขยา โมหสฺส วีตโมหตฺตา ตณฺหกฺขยาธิมุตฺโต โหติ. “ขยา ราคสฺส วีตราคตฺตา อสมฺโมหาธิมุตฺโต โหติ ขยา โทสสฺส วีตโทสตฺตา อสมฺโมหาธิมุตฺโต โหติ ขยา โมหสฺส วีตโมหตฺตา อสมฺโมหาธิมุตฺโต โหติ. 
vigarahitvā dhammiṃ kathaṃ katvā bhikkhū āmantesi: na bhikkhave tiṇapādukā dhāretabbā, na muñjapādukā dhāretabbā, na babbajap.dh., na hintālap.dh., na kamalap.dh., na kambalap.dh., na sovaṇṇamayā p.dh., na rūpiyamayā p.dh., na maṇimayā p.dh., na veḷuriyamayā p.dh., na phalikamayā p.dh., na kaṃsamayā p.dh., na kācamayā p.dh., na tipumayā p.dh., na sīsamayā p.dh., na tambalohamayā p.dhāretabbā.  yo dhāreyya, āpatti dukkaṭassa.  na ca bhikkhave kāci saṃkamanīyā pādukā dhāretabbā.  yo dhāreyya, āpatti dukkaṭassa.  anujānāmi bhikkhave tisso pādukāyo dhuvaṭṭhāniyā asaṃkamanīyāyo, vaccapādukaṃ, passāvapādukaṃ, ācamanapādukan ti. |3| 
“เอวํ สมฺมา วิมุตฺตจิตฺตสฺส ภนฺเต ภิกฺขุโน ภุสา เจปิ จกฺขุวิญฺเญยฺยา รูปา จกฺขุสฺส อาปาถํ อาคจฺฉนฺติ เนวสฺส จิตฺตํ ปริยาทิยนฺติ. อมิสฺสีกตเมวสฺส จิตฺตํ โหติ ฐิตํ อาเนญฺชปฺปตฺตํ วยญฺจสฺสานุปสฺสติ.  ภุสา เจปิ โสตวิญฺเญยฺยา สทฺทาฯเปฯ ฆานวิญฺเญยฺยา คนฺธา… ชิวฺหาวิญฺเญยฺยา รสา… กายวิญฺเญยฺยา โผฏฺฐพฺพา… มโนวิญฺเญยฺยา ธมฺมา มนสฺส อาปาถํ อาคจฺฉนฺติ เนวสฺส จิตฺตํ ปริยาทิยนฺติ อมิสฺสีกตเมวสฺส จิตฺตํ โหติ ฐิตํ อาเนญฺชปฺปตฺตํ วยญฺจสฺสานุปสฺสติ.  เสยฺยถาปิ ภนฺเต เสโล ปพฺพโต อจฺฉิทฺโท อสุสิโร เอกคฺฆโน ปุรตฺถิมาย เจปิ ทิสาย อาคจฺเฉยฺย ภุสา วาตวุฏฺฐิ เนว นํ สงฺกมฺเปยฺย น สมฺปกมฺเปยฺย น สมฺปเวเธยฺย ปจฺฉิมาย เจปิ ทิสาย อาคจฺเฉยฺย ภุสา วาตวุฏฺฐิฯเปฯ อุตฺตราย เจปิ ทิสายฯเปฯ ทกฺขิณาย เจปิ ทิสาย อาคจฺเฉยฺย ภุสา วาตวุฏฺฐิ เนว นํ สงฺกมฺเปยฺย น สมฺปกมฺเปยฺย น สมฺปเวเธยฺย เอวเมว โข ภนฺเต เอวํ สมฺมา วิมุตฺตจิตฺตสฺส ภิกฺขุโน ภุสา เจปิ จกฺขุวิญฺเญยฺยา รูปา จกฺขุสฺส อาปาถํ อาคจฺฉนฺติ เนวสฺส จิตฺตํ ปริยาทิยนฺติ อมิสฺสีกตเมวสฺส จิตฺตํ โหติ ฐิตํ อาเนญฺชปฺปตฺตํ วยญฺจสฺสานุปสฺสติ. ภุสา เจปิ โสตวิญฺเญยฺยา สทฺทาฯเปฯ ฆานวิญฺเญยฺยา คนฺธา… ชิวฺหาวิญฺเญยฺยา รสา… กายวิญฺเญยฺยา โผฏฺฐพฺพา… มโนวิญฺเญยฺยา ธมฺมา มนสฺส อาปาถํ อาคจฺฉนฺติ เนวสฺส จิตฺตํ ปริยาทิยนฺติ อมิสฺสีกตเมวสฺส จิตฺตํ โหติ ฐิตํ อาเนญฺชปฺปตฺตํ วยญฺจสฺสานุปสฺสตี”ติ.  เนกฺขมฺมํ อธิมุตฺตสฺส ปวิเวกญฺจ เจตโส. อพฺยาปชฺชาธิมุตฺตสฺส อุปาทานกฺขยสฺส จฯ  ตณฺหกฺขยาธิมุตฺตสฺส อสมฺโมหญฺจ เจตโส. ทิสฺวา อายตนุปฺปาทํ สมฺมา จิตฺตํ วิมุจฺจติฯ 
||8|| 
ตสฺส สมฺมาวิมุตฺตสฺส สนฺตจิตฺตสฺส ภิกฺขุโน. กตสฺส ปฏิจโย นตฺถิ กรณียํ น วิชฺชติฯ 
atha kho bhagavā Bhaddiye yathābhirantaṃ viharitvā yena Sāvatthi tena cārikaṃ pakkāmi.  anupubbena cārikaṃ caramāno yena Sāvatthi tad avasari.  tatra sudaṃ bhagavā Sāvatthiyaṃ viharati Jetavane Anāthapiṇḍikassa ārāme.  tena kho pana samayena chabbaggiyā (191) bhikkhū Aciravatiyā nadiyā gāvīnaṃ tarantīnaṃ visāṇesu pi gaṇhanti, kaṇṇesu pi gaṇhanti, gīvāya pi gaṇhanti, cheppāya pi gaṇhanti, piṭṭhim pi abhirūhanti, rattacittāpi aṅgajātaṃ chupanti, vacchatarī pi ogāhetvā mārenti. |1| 
เสโล ยถา เอกคฺฆโน วาเตน น สมีรติ. เอวํ รูปา รสา สทฺทา คนฺธา ผสฺสา จ เกวลาฯ  อิฏฺฐา ธมฺมา อนิฏฺฐา จ น ปเวเธนฺติ ตาทิโน.  ฐิตํ จิตฺตํ วิปฺปมุตฺตํ วยญฺจสฺสานุปสฺสตีติฯ (โสณโกฬิวิสวตฺถุ นิฏฺฐิตํ.)  (๑๔๘. ทิคุณาทิอุปาหนปฏิกฺเขโป) ๒๔๕. อถ โข ภควา ภิกฺขู อามนฺเตสิ “เอวํ โข ภิกฺขเว กุลปุตฺตา อญฺญํ พฺยากโรนฺติ 
manussā ujjhāyanti khīyanti vipācenti: kathaṃ hi nāma samaṇā Sakyaputtiyā gāvīnaṃ tarantīnaṃ visāṇesu pi gahessanti --gha-- seyyathāpi gihikāmabhogino ’ti.  assosuṃ kho bhikkhū tesaṃ manussānaṃ ujjhāyantānaṃ khīyantānaṃ vipācentānaṃ.  atha kho te bhikkhū bhagavato etam atthaṃ ārocesuṃ.  saccaṃ kira bhikkhave --la-- saccaṃ bhagavā. |2| 
อตฺโถ จ วุตฺโต อตฺตา จ อนุปนีโต.  อถ จ ปนิเธกจฺเจ โมฆปุริสา หสมานกํ มญฺเญ อญฺญํ พฺยากโรนฺติ เต ปจฺฉา วิฆาตํ อาปชฺชนฺตี”ติ.  อถ โข ภควา อายสฺมนฺตํ โสณํ อามนฺเตสิ “ตฺวํ โขสิ โสณ สุขุมาโล.  อนุชานามิ เต โสณ เอกปลาสิกํ อุปาหน”นฺติ. 
vigarahitvā dhammiṃ kathaṃ katvā bhikkhū āmantesi: na bhikkhave gāvīnaṃ visāṇesu gahetabbaṃ, na kaṇṇesu gahetabbaṃ, na gīvāya gahetabbaṃ, na cheppāya gahetabbaṃ, na piṭṭhī abhirūhitabbā.  yo abhirūheyya, āpatti dukkaṭassa.  na ca bhikkhave rattacittena aṅgajātaṃ chupitabbaṃ.  yo chupeyya, āpatti thullaccayassa.  na vacchatarī māretabbā.  yo māreyya, yathādhammo kāretabbo ’ti. |3| 
“อหํ โข ภนฺเต อสีติสกฏวาเห หิรญฺญํ โอหาย อคารสฺมา อนคาริยํ ปพฺพชิโต สตฺตหตฺถิกญฺจ อนีกํ. อถาหํ ภนฺเต เอกปลาสิกํ เจ อุปาหนํ ปริหริสฺสามิ  ตสฺส เม ภวิสฺสนฺติ วตฺตาโร ‘โสโณ โกฬิวิโส อสีติสกฏวาเห หิรญฺญํ โอหาย อคารสฺมา อนคาริยํ ปพฺพชิโต สตฺตหตฺถิกญฺจ อนีกํ. โส ทานายํ เอกปลาสิกาสุ อุปาหนาสุ สตฺโต’ติ.  สเจ ภควา ภิกฺขุสงฺฆสฺส อนุชานิสฺสติ อหมฺปิ ปริภุญฺชิสฺสามิ โน เจ ภควา ภิกฺขุสงฺฆสฺส อนุชานิสฺสติ อหมฺปิ น ปริภุญฺชิสฺสามี”ติ.  อถ โข ภควา เอตสฺมึ นิทาเน เอตสฺมึ ปกรเณ ธมฺมึ กถํ กตฺวา ภิกฺขู อามนฺเตสิ “อนุชานามิ ภิกฺขเว เอกปลาสิกํ อุปาหนํ.  น ภิกฺขเว ทิคุณา อุปาหนา ธาเรตพฺพา. น ติคุณา อุปาหนา ธาเรตพฺพา. น คุณงฺคุณูปาหนา ธาเรตพฺพา.  โย ธาเรยฺย อาปตฺติ ทุกฺกฏสฺสา”ติ. (ทิคุณาทิอุปาหนปฏิกฺเขโป นิฏฺฐิโต.) 
tena kho pana samayena chabbaggiyā bhikkhū yānena yāyanti, itthiyuttena pi purisantarena, purisayuttena pi itthantarena.  manussā ujjhāyanti khīyanti vipācenti: seyyathāpi Gaṅgāmahiyāyā ’ti.  bhagavato etam atthaṃ ārocesuṃ.  na bhikkhave yānena yāyitabbaṃ.  yo yāyeyya, āpatti dukkaṭassā ’ti. |4| 
    (๑๔๙. สพฺพนีลิกาทิปฏิกฺเขโป) ๒๔๖. เตน โข ปน สมเยน ฉพฺพคฺคิยา ภิกฺขู สพฺพนีลิกา อุปาหนาโย ธาเรนฺติฯเปฯ สพฺพปีติกา อุปาหนาโย ธาเรนฺติ… สพฺพโลหิติกา อุปาหนาโย ธาเรนฺติ… สพฺพมญฺชิฏฺฐิกา อุปาหนาโย ธาเรนฺติ สพฺพกณฺหา อุปาหนาโย ธาเรนฺติ… สพฺพมหารงฺครตฺตา อุปาหนาโย ธาเรนฺติ… สพฺพมหานามรตฺตา อุปาหนาโย ธาเรนฺติ.  มนุสฺสา อุชฺฌายนฺติ ขิยฺยนฺติ วิปาเจนฺติ “เสยฺยถาปิ คิหี กามโภคิโน”ติ.  ภควโต เอตมตฺถํ อาโรเจสุํ. 
||9|| 
น ภิกฺขเว สพฺพนีลิกา อุปาหนา ธาเรตพฺพาฯเปฯ น สพฺพปีติกา อุปาหนา ธาเรตพฺพา น สพฺพโลหิติกา อุปาหนา ธาเรตพฺพา น สพฺพมญฺชิฏฺฐิกา อุปาหนา ธาเรตพฺพา น สพฺพกณฺหา อุปาหนา ธาเรตพฺพา น สพฺพมหารงฺครตฺตา อุปาหนา ธาเรตพฺพา น สพฺพมหานามรตฺตา อุปาหนา ธาเรตพฺพา. 
tena kho pana samayena aññataro bhikkhu Kosalesu janapadesu Sāvatthiṃ gacchanto bhagavantaṃ dassanāya antarā magge gilāno hoti.  atha kho so bhikkhu maggā okkamma aññatarasmiṃ rukkhamūle nisīdi.  manussā taṃ bhikkhuṃ disvā etad avocuṃ: kahaṃ ayyo bhante gamissatīti.  Sāvatthiṃ kho ahaṃ āvuso gamissāmi bhagavantaṃ dassanāyā ’ti. |1| 
โย ธาเรยฺย อาปตฺติ ทุกฺกฏสฺสาติ.  เตน โข ปน สมเยน ฉพฺพคฺคิยา ภิกฺขู นีลกวทฺธิกา อุปาหนาโย ธาเรนฺติ ปีตกวทฺธิกา อุปาหนาโย ธาเรนฺติ โลหิตกวทฺธิกา อุปาหนาโย ธาเรนฺติ มญฺชิฏฺฐิกวทฺธิกา อุปาหนาโย ธาเรนฺติ กณฺหวทฺธิกา อุปาหนาโย ธาเรนฺติ มหารงฺครตฺตวทฺธิกา อุปาหนาโย ธาเรนฺติ มหานามรตฺตวทฺธิกา อุปาหนาโย ธาเรนฺติ.  มนุสฺสา อุชฺฌายนฺติ ขิยฺยนฺติ วิปาเจนฺติ “เสยฺยถาปิ คิหี กามโภคิโน”ติ.  ภควโต เอตมตฺถํ อาโรเจสุํ. 
ehi bhante gamissāmā ’ti.  nāhaṃ āvuso sakkomi, gilāno ’mhīti.  ehi bhante yānaṃ abhirūhā ’ti.  alaṃ āvuso paṭikkhittaṃ bhagavatā yānan ti kukkuccāyanto yānaṃ nābhirūhi.  atha kho so bhikkhu Sāvatthiṃ gantvā bhikkhūnaṃ etam atthaṃ ārocesi.  bhikkhū bhagavato etam atthaṃ ārocesuṃ.  anujānāmi bhikkhave gilānassa yānan ti. |2| 
น ภิกฺขเว นีลกวทฺธิกา อุปาหนา ธาเรตพฺพาฯเปฯ น ปีตกวทฺธิกา อุปาหนา ธาเรตพฺพา น โลหิตกวทฺธิกา อุปาหนา ธาเรตพฺพา น มญฺชิฏฺฐิกวทฺธิกา อุปาหนา ธาเรตพฺพา น กณฺหวทฺธิกา อุปาหนา ธาเรตพฺพา น มหารงฺครตฺตวทฺธิกา อุปาหนา ธาเรตพฺพา น มหานามรตฺตวทฺธิกา อุปาหนา ธาเรตพฺพา.  โย ธาเรยฺย อาปตฺติ ทุกฺกฏสฺสาติ.  เตน โข ปน สมเยน ฉพฺพคฺคิยา ภิกฺขู ขลฺลกพทฺธา อุปาหนาโย ธาเรนฺติฯเปฯ ปุฏพทฺธา อุปาหนาโย ธาเรนฺติ ปาลิคุณฺฐิมา อุปาหนาโย ธาเรนฺติ ตูลปุณฺณิกา อุปาหนาโย ธาเรนฺติ ติตฺติรปตฺติกา อุปาหนาโย ธาเรนฺติ เมณฺฑวิสาณวทฺธิกา อุปาหนาโย ธาเรนฺติ อชวิสาณวทฺธิกา อุปาหนาโย ธาเรนฺติ วิจฺฉิกาฬิกา อุปาหนาโย ธาเรนฺติ โมรปิญฺฉ ปริสิพฺพิตา อุปาหนาโย ธาเรนฺติ จิตฺรา อุปาหนาโย ธาเรนฺติ.  มนุสฺสา อุชฺฌายนฺติ ขิยฺยนฺติ วิปาเจนฺติ “เสยฺยถาปิ คิหี กามโภคิโน”ติ.  ภควโต เอตมตฺถํ อาโรเจสุํ.  น ภิกฺขเว ขลฺลกพทฺธา อุปาหนา ธาเรตพฺพาฯเปฯ น ปุฏพทฺธา อุปาหนา ธาเรตพฺพา น ปาลิคุณฺฐิมา อุปาหนา ธาเรตพฺพา น ตูลปุณฺณิกา อุปาหนา ธาเรตพฺพา น ติตฺติรปตฺติกา อุปาหนา ธาเรตพฺพา น เมณฺฑวิสาณวทฺธิกา อุปาหนา ธาเรตพฺพา น อชวิสาณวทฺธิกา อุปาหนา ธาเรตพฺพา น วิจฺฉิกาฬิกา อุปาหนา ธาเรตพฺพา น โมรปิญฺฉปริสิพฺพิตา อุปาหนา ธาเรตพฺพา น จิตฺรา อุปาหนา ธาเรตพฺพา.  โย ธาเรยฺย อาปตฺติ ทุกฺกฏสฺสาติ. 
atha kho bhikkhūnaṃ etad ahosi: itthiyuttaṃ nu kho purisayuttaṃ nu kho ’ti.  bhagavato etam atthaṃ ārocesuṃ.  (192) anujānāmi bhikkhave purisayuttaṃ hatthavaṭṭakan ti.  tena kho pana samayena aññatarassa bhikkhuno yānugghātena bāḷhataraṃ aphāsu ahosi.  bhagavato etam atthaṃ ārocesuṃ.  anujānāmi bhikkhave sivikaṃ pāṭaṅkin ti. |3| 
เตน โข ปน สมเยน ฉพฺพคฺคิยา ภิกฺขู สีหจมฺมปริกฺขฏา อุปาหนาโย ธาเรนฺติฯเปฯ พฺยคฺฆจมฺมปริกฺขฏา อุปาหนาโย ธาเรนฺติ ทีปิจมฺมปริกฺขฏา อุปาหนาโย ธาเรนฺติ อชินจมฺมปริกฺขฏา อุปาหนาโย ธาเรนฺติ อุทฺทจมฺมปริกฺขฏา อุปาหนาโย ธาเรนฺติ มชฺชารจมฺมปริกฺขฏา อุปาหนาโย ธาเรนฺติ กาฬกจมฺมปริกฺขฏา อุปาหนาโย ธาเรนฺติ ลุวกจมฺมปริกฺขฏา อุปาหนาโย ธาเรนฺติ.  มนุสฺสา อุชฺฌายนฺติ ขิยฺยนฺติ วิปาเจนฺติ “เสยฺยถาปิ คิหี กามโภคิโน”ติ.  ภควโต เอตมตฺถํ อาโรเจสุํ. น ภิกฺขเว สีหจมฺมปริกฺขฏา อุปาหนา ธาเรตพฺพาฯเปฯ น พฺยคฺฆจมฺมปริกฺขฏา อุปาหนา ธาเรตพฺพา น ทีปิจมฺมปริกฺขฏา อุปาหนา ธาเรตพฺพา น อชินจมฺมปริกฺขฏา อุปาหนา ธาเรตพฺพา น อุทฺทจมฺมปริกฺขฏา อุปาหนา ธาเรตพฺพา น มชฺชารจมฺมปริกฺขฏา อุปาหนา ธาเรตพฺพา น กาฬกจมฺมปริกฺขฏา อุปาหนา ธาเรตพฺพา น ลุวกจมฺมปริกฺขฏา อุปาหนา ธาเรตพฺพา.  โย ธาเรยฺย อาปตฺติ ทุกฺกฏสฺสาติ. ( สพฺพนีลิกาทิปฏิกฺเขโป นิฏฺฐิโต.)     
tena kho pana samayena chabbaggiyā bhikkhū uccāsayanamahāsayanāni dhārenti seyyath’ īdaṃ: āsandiṃ, pallaṅkaṃ, {goṇakaṃ,} cittakaṃ, paṭikaṃ, paṭalikaṃ, tūlikaṃ, vikatikaṃ, uddhalomiṃ, ekantalomiṃ, kaṭṭhissaṃ, koseyyaṃ, kuttakaṃ, hatthattharaṃ, assattharaṃ, rathattharaṃ, ajinappaveṇiṃ, kadalimigapavarapaccattharaṇaṃ, sauttaracchadaṃ, ubhatolohitakūpadhānaṃ.  manussā vihāracārikaṃ āhiṇḍantā passitvā ujjhāyanti khīyanti vipācenti: seyyathāpi gihikāmabhogino ’ti.  bhagavato etam atthaṃ ārocesuṃ. |4| 
  (๑๕๐. โอมุกฺกคุณงฺคุณูปาหนานุชานนา) ๒๔๗. อถ โข ภควา ปุพฺพณฺหสมยํ นิวาเสตฺวา ปตฺตจีวรมาทาย ราชคหํ ปิณฺฑาย ปาวิสิ อญฺญตเรน ภิกฺขุนา ปจฺฉาสมเณน.  อถ โข โส ภิกฺขุ ขญฺชมาโน ภควนฺตํ ปิฏฺฐิโต ปิฏฺฐิโต อนุพนฺธิ. 
na bhikkhave uccāsayanamahāsayanāni dhāretabbāni seyyath’ īdaṃ: āsandi, pallaṅko, goṇako, cittakā, paṭikā, paṭalikā, tūlikā, vikatikā, uddhalomī, ekantalomī, kaṭṭhissaṃ, koseyyaṃ, kuttakaṃ, hatthattharaṃ, assattharaṃ, rathattharaṃ, ajinappaveṇi, kadalimigapavarapaccattharaṇaṃ, sauttaracchadaṃ, ubhatolohitakūpadhānaṃ.  yo dhāreyya, āpatti dukkaṭassā ’ti. |5| 
อทฺทสา โข อญฺญตโร อุปาสโก คุณงฺคุณูปาหนา อาโรหิตฺวา ภควนฺตํ ทูรโตว อาคจฺฉนฺตํ ทิสฺวา อุปาหนา อาโรหิตฺวา เยน ภควา เตนุปสงฺกมิ อุปสงฺกมิตฺวา ภควนฺตํ อภิวาเทตฺวา เยน โส ภิกฺขุ เตนุปสงฺกมิ อุปสงฺกมิตฺวา ตํ ภิกฺขุํ อภิวาเทตฺวา เอตทโวจ  “กิสฺส ภนฺเต อยฺโย ขญฺชตี”ติ 
tena kho pana samayena chabbaggiyā bhikkhū bhagavatā uccāsayanamahāsayanāni paṭikkhittānīti mahācammāni dhārenti, sīhacammaṃ, vyagghacammaṃ, dīpicammaṃ.  tāni mañcappamāṇena pi chinnāni honti, pīṭhappamāṇena pi chinnāni honti, anto pi mañce paññattāni honti, bahi pi mañce paññattāni honti, anto pi pīṭhe paññattāni honti, bahi pi pīṭhe paññattāni honti.  manussā vihāracārikaṃ āhiṇḍantā passitvā ujjhāyanti khīyanti vipācenti: seyyathāpi gihikāmabhogino ’ti.  bhagavato etam atthaṃ ārocesuṃ.  na bhikkhave mahācammāni dhāretabbāni, sīhacammaṃ, vyagghacammaṃ, dīpicammaṃ.  yo dhāreyya, āpatti dukkaṭassā ’ti. |6| 
“ปาทา เม อาวุโส ผลิตา”ติ.  “หนฺท ภนฺเต อุปาหนาโย”ติ.  “อลํ อาวุโส ปฏิกฺขิตฺตา ภควตา คุณงฺคุณูปาหนา”ติ.  “คณฺหาเหตา ภิกฺขุ อุปาหนาโย”ติ.  อถ โข ภควา เอตสฺมึ นิทาเน เอตสฺมึ ปกรเณ ธมฺมึ กถํ กตฺวา ภิกฺขู อามนฺเตสิ “อนุชานามิ ภิกฺขเว โอมุกฺกํ คุณงฺคุณูปาหนํ.  น ภิกฺขเว นวา คุณงฺคุณูปาหนา ธาเรตพฺพา. 
tena kho pana samayena chabbaggiyā bhikkhū bhagavatā mahācammāni paṭikkhittānīti gocammāni dhārenti.  tāni mañcappamāṇena pi chinnāni honti ... bahi pi pīṭhe paññattāni honti.  aññataro pāpabhikkhu aññatarassa pāpupāsakassa kulūpako hoti.  atha kho so pāpabhikkhu pubbaṇhasamayaṃ nivāsetvā pattacīvaraṃ ādāya yena tassa {pāpupāsakassa} nivesanaṃ ten’ upasaṃkami, upasaṃkamitvā paññatte āsane nisīdi.  atha kho (193) so pāpupāsako yena so pāpabhikkhu ten’ upasaṃkami, upasaṃkamitvā taṃ pāpabhikkhuṃ abhivādetvā ekamantaṃ nisīdi. |7| 
โย ธาเรยฺย อาปตฺติ ทุกฺกฏสฺสา”ติ. (โอมุกฺกคุณงฺคุณูปาหนานุชานนา นิฏฺฐิตา.)      (๑๕๑. อชฺฌาราเม อุปาหนปฏิกฺเขโป) ๒๔๘. เตน โข ปน สมเยน ภควา อชฺโฌกาเส อนุปาหโน จงฺกมติ.  สตฺถา อนุปาหโน จงฺกมตีติ เถราปิ ภิกฺขู อนุปาหนา จงฺกมนฺติ. 
tena kho pana samayena tassa {pāpupāsakassa} vacchako hoti taruṇako abhirūpo dassanīyo pāsādiko citro seyyathāpi dīpicchāpo.  atha kho so pāpabhikkhu taṃ vacchakaṃ sakkaccaṃ upanijjhāyati.  atha kho so pāpupāsako taṃ pāpabhikkhuṃ etad avoca: kissa bhante ayyo imaṃ vacchakaṃ sakkaccaṃ upanijjhāyatīti.  attho me āvuso imassa vacchakassa cammenā ’ti.  atha kho so pāpupāsako taṃ vacchakaṃ vadhitvā cammaṃ vidhūnitvā tassa pāpabhikkhuno pādāsi.  atha kho so pāpabhikkhu taṃ cammaṃ saṃghāṭiyā paṭicchādetvā agamāsi. |8| 
ฉพฺพคฺคิยา ภิกฺขู สตฺถริ อนุปาหเน จงฺกมมาเน เถเรสุปิ ภิกฺขูสุ อนุปาหเนสุ จงฺกมมาเนสุ สอุปาหนา จงฺกมนฺติ.  เย เต ภิกฺขู อปฺปิจฺฉาฯเปฯ เต อุชฺฌายนฺติ ขิยฺยนฺติ วิปาเจนฺติ “กถญฺหิ นาม ฉพฺพคฺคิยา ภิกฺขู สตฺถริ อนุปาหเน จงฺกมมาเน เถเรสุปิ ภิกฺขูสุ อนุปาหเนสุ จงฺกมมาเนสุ สอุปาหนา จงฺกมิสฺสนฺตี”ติ.  อถ โข เต ภิกฺขู ภควโต เอตมตฺถํ อาโรเจสุํฯเปฯ  “สจฺจํ กิร ภิกฺขเว ฉพฺพคฺคิยา ภิกฺขู สตฺถริ อนุปาหเน จงฺกมมาเน เถเรสุปิ ภิกฺขูสุ อนุปาหเนสุ จงฺกมมาเนสุ สอุปาหนา จงฺกมนฺตี”ติ?  “สจฺจํ ภควา”ติ.  วิครหิ พุทฺโธ ภควาฯเปฯ “กถญฺหิ นาม เต ภิกฺขเว โมฆปุริสา สตฺถริ อนุปาหเน จงฺกมมาเน เถเรสุปิ ภิกฺขูสุ อนุปาหเนสุ จงฺกมมาเนสุ สอุปาหนา จงฺกมิสฺสนฺติ. 
atha kho sā gāvī vacchagiddhinī taṃ pāpabhikkhuṃ piṭṭhito-piṭṭhito anubandhi.  bhikkhū evam āhaṃsu: kissa ty āyaṃ āvuso gāvī piṭṭhito-piṭṭhito anubaddhā ’ti.  aham pi kho āvuso na jānāmi kena my āyaṃ gāvī piṭṭhito-piṭṭhito anubaddhā ’ti.  tena kho pana samayena tassa pāpabhikkhuno saṃghāṭī lohitena makkhitā hoti.  bhikkhū evam āhaṃsu: ayaṃ pana te avuso saṃghāṭī kiṃ katā ’ti.  atha kho so pāpabhikkhu bhikkhūnaṃ etam atthaṃ ārocesi.  kiṃ pana tvaṃ āvuso pāṇātipāte samādapesīti.  evaṃ āvuso ’ti.  ye te bhikkhū appicchā, te ujjhāyanti khīyanti vipācenti: kathaṃ hi nāma bhikkhu pāṇātipāte samādapessati.  nanu bhagavatā anekapariyāyena pāṇātipāto garahito pāṇātipātā veramaṇī pasatthā ’ti.  atha kho te bhikkhū bhagavato etam atthaṃ ārocesuṃ. |9| 
อิเม หิ นาม ภิกฺขเว คิหี โอทาตวตฺถวสนกา อภิชีวนิกสฺส สิปฺปสฺส การณา อาจริเยสุ สคารวา สปฺปติสฺสา สภาควุตฺติกา วิหริสฺสนฺติ.  อิธ โข ตํ ภิกฺขเว โสเภถ ยํ ตุมฺเห เอวํ สฺวากฺขาเต ธมฺมวินเย ปพฺพชิตา สมานา อาจริเยสุ อาจริยมตฺเตสุ อุปชฺฌาเยสุ อุปชฺฌายมตฺเตสุ อคารวา อปฺปติสฺสา อสภาควุตฺติกา วิหเรยฺยาถ.  เนตํ ภิกฺขเว อปฺปสนฺนานํ วา ปสาทายฯเปฯ วิครหิตฺวาฯเปฯ ธมฺมึ กถํ กตฺวา ภิกฺขู อามนฺเตสิ “น ภิกฺขเว อาจริเยสุ อาจริยมตฺเตสุ อุปชฺฌาเยสุ อุปชฺฌายมตฺเตสุ อนุปาหเนสุ จงฺกมมาเนสุ สอุปาหเนน จงฺกมิตพฺพํ.  โย จงฺกเมยฺย อาปตฺติ ทุกฺกฏสฺส  น จ ภิกฺขเว อชฺฌาราเม อุปาหนา ธาเรตพฺพา.  โย ธาเรยฺย อาปตฺติ ทุกฺกฏสฺสา”ติ.      ๒๔๙. เตน โข ปน สมเยน อญฺญตรสฺส ภิกฺขุโน ปาทขิลาพาโธ โหติ.  ตํ ภิกฺขู ปริคฺคเหตฺวา อุจฺจารมฺปิ ปสฺสาวมฺปิ นิกฺขาเมนฺติ.  อทฺทสา โข ภควา เสนาสนจาริกํ อาหิณฺฑนฺโต เต ภิกฺขู ตํ ภิกฺขุํ ปริคฺคเหตฺวา อุจฺจารมฺปิ ปสฺสาวมฺปิ นิกฺขาเมนฺเต ทิสฺวาน เยน เต ภิกฺขู เตนุปสงฺกมิ อุปสงฺกมิตฺวา เต ภิกฺขู เอตทโวจ “กึ อิมสฺส ภิกฺขเว ภิกฺขุโน อาพาโธ”ติ? 
atha kho bhagavā etasmiṃ nidāne etasmiṃ pakaraṇe bhikkhusaṃghaṃ sannipātāpetvā taṃ pāpabhikkhuṃ paṭipucchi: saccaṃ kira tvaṃ bhikkhu pāṇātipāte samādapesīti.  saccaṃ bhagavā.  kathaṃ hi nāma tvaṃ moghapurisa pāṇātipāte samādapessasi.  nanu mayā moghapurisa anekapariyāyena pāṇātipāto garahito, pāṇātipātā veramaṇī pasatthā.  n’ etaṃ moghapurisa appasannānaṃ vā pasādāya.  vigarahitvā dhammiṃ kathaṃ katvā bhikkhū āmantesi: na bhikkhave pāṇātipāte samādapetabbaṃ.  yo samādapeyya, yathādhammo kāretabbo.  na bhikkhave gocammaṃ dhāretabbaṃ.  yo dhāreyya, āpatti dukkaṭassa.  na ca bhikkhave kiñci cammaṃ dhāretabbaṃ.  yo dhāreyya, āpatti dukkaṭassā ’ti. |10| 
“อิมสฺส ภนฺเต อายสฺมโต ปาทขิลาพาโธ อิมํ มยํ ปริคฺคเหตฺวา อุจฺจารมฺปิ ปสฺสาวมฺปิ นิกฺขาเมมา”ติ.  อถ โข ภควา เอตสฺมึ นิทาเน เอตสฺมึ ปกรเณ ธมฺมึ กถํ กตฺวา ภิกฺขู อามนฺเตสิ “อนุชานามิ ภิกฺขเว ยสฺส ปาทา วา ทุกฺขา ปาทา วา ผลิตา ปาทขิโล วา อาพาโธ อุปาหนํ ธาเรตุ”นฺติ. เตน โข ปน สมเยน ภิกฺขู อโธเตหิ ปาเทหิ มญฺจมฺปิ ปีฐมฺปิ อภิรุหนฺติ จีวรมฺปิ เสนาสนมฺปิ ทุสฺสติ.  ภควโต เอตมตฺถํ อาโรเจสุํ.  อนุชานามิ ภิกฺขเว ‘อิทานิ มญฺจํ วา ปีฐํ วา อภิรุหิสฺสามี”ติ อุปาหนํ ธาเรตุนฺติ.  เตน โข ปน สมเยน ภิกฺขู รตฺติยา อุโปสถคฺคมฺปิ สนฺนิสชฺชมฺปิ คจฺฉนฺตา อนฺธกาเร ขาณุมฺปิ กณฺฏกมฺปิ อกฺกมนฺติ ปาทา ทุกฺขา โหนฺติ.  ภควโต เอตมตฺถํ อาโรเจสุํ.  อนุชานามิ ภิกฺขเว อชฺฌาราเม อุปาหนํ ธาเรตุํ อุกฺกํ ปทีปํ กตฺตรทณฺฑนฺติ. (อชฺฌาราเม อุปาหนปฏิกฺเขโป นิฏฺฐิโต.)  (๑๕๒. กฏฺฐปาทุกาทิปฏิกฺเขโป) ๒๕๐. เตน โข ปน สมเยน ฉพฺพคฺคิยา ภิกฺขู รตฺติยา ปจฺจูสสมยํ ปจฺจุฏฺฐาย กฏฺฐปาทุกาโย อภิรุหิตฺวา อชฺโฌกาเส จงฺกมนฺติ อุจฺจาสทฺทา มหาสทฺทา ขฏขฏสทฺทา อเนกวิหิตํ ติรจฺฉานกถํ กเถนฺตา เสยฺยถิทํ ราชกถํ โจรกถํ มหามตฺตกถํ เสนากถํ ภยกถํ ยุทฺธกถํ อนฺนกถํ ปานกถํ วตฺถกถํ สยนกถํ มาลากถํ คนฺธกถํ ญาติกถํ ยานกถํ คามกถํ นิคมกถํ นครกถํ ชนปทกถํ อิตฺถิกถํ สูรกถํ วิสิขากถํ กุมฺภฏฺฐานกถํ ปุพฺพเปตกถํ นานตฺตกถํ โลกกฺขายิกํ สมุทฺทกฺขายิกํ อิติภวาภวกถํ อิติ วา กีฏกมฺปิ อกฺกมิตฺวา มาเรนฺติ ภิกฺขูปิ สมาธิมฺหา จาเวนฺติ. เย เต ภิกฺขู อปฺปิจฺฉาฯเปฯ เต อุชฺฌายนฺติ ขิยฺยนฺติ วิปาเจนฺติ “กถญฺหิ นาม ฉพฺพคฺคิยา ภิกฺขู รตฺติยา ปจฺจูสสมยํ ปจฺจุฏฺฐาย กฏฺฐปาทุกาโย อภิรุหิตฺวา อชฺโฌกาเส จงฺกมิสฺสนฺติ อุจฺจาสทฺทา มหาสทฺทา ขฏขฏสทฺทา อเนกวิหิตํ ติรจฺฉานกถํ กเถนฺตา เสยฺยถิทํ ราชกถํ โจรกถํฯเปฯ อิติภวาภวกถํ อิติ วา กีฏกมฺปิ อกฺกมิตฺวา มาเรสฺสนฺติ ภิกฺขูปิ สมาธิมฺหา จาเวสฺสนฺตี”ติ.  อถ โข เต ภิกฺขู ภควโต เอตมตฺถํ อาโรเจสุํฯเปฯ  “สจฺจํ กิร ภิกฺขเว ฉพฺพคฺคิยา ภิกฺขู รตฺติยา ปจฺจูสสมยํ ปจฺจุฏฺฐาย กฏฺฐปาทุกาโย อภิรุหิตฺวา อชฺโฌกาเส จงฺกมนฺติ อุจฺจาสทฺทา มหาสทฺทา ขฏขฏสทฺทา อเนกวิหิตํ ติรจฺฉานกถํ กเถนฺตา เสยฺยถิทํ ราชกถํ โจรกถํฯเปฯ อิติภวาภวกถํ อิติ วา กีฏกมฺปิ อกฺกมิตฺวา มาเรนฺติ ภิกฺขูปิ สมาธิมฺหา จาเวนฺตี”ติ?  “สจฺจํ ภควา”ติฯเปฯ 
||10|| 
วิครหิตฺวา ธมฺมึ กถํ กตฺวา ภิกฺขู อามนฺเตสิ “น ภิกฺขเว กฏฺฐปาทุกา ธาเรตพฺพา. 
(194) tena kho pana samayena manussānaṃ mañcam pi pīṭham pi cammonaddhāni honti cammavinaddhāni.  bhikkhū kukkuccāyantā nābhinisīdanti.  bhagavato etam atthaṃ ārocesuṃ.  anujānāmi bhikkhave gihivikataṃ abhinisīdituṃ, na tv eva abhinipajjitun ti.  tena kho pana samayena vihārā cammabandhehi ogumphiyanti.  bhikkhū kukkuccāyantā nābhinisīdanti.  bhagavato etam atthaṃ ārocesuṃ.  anujānāmi bhikkhave bandhanamattaṃ abhinisīditun ti. |1| 
โย ธาเรยฺย อาปตฺติ ทุกฺกฏสฺสา”ติ.      อถ โข ภควา ราชคเห ยถาภิรนฺตํ วิหริตฺวา เยน พาราณสี เตน จาริกํ ปกฺกามิ.  อนุปุพฺเพน จาริกํ จรมาโน เยน พาราณสี ตทวสริ.  ตตฺร สุทํ ภควา พาราณสิยํ วิหรติ อิสิปตเน มิคทาเย.  เตน โข ปน สมเยน ฉพฺพคฺคิยา ภิกฺขู ภควตา กฏฺฐปาทุกา ปฏิกฺขิตฺตาติ ตาลตรุเณ เฉทาเปตฺวา ตาลปตฺตปาทุกาโย ธาเรนฺติ ตานิ ตาลตรุณานิ ฉินฺนานิ มิลายนฺติ.  มนุสฺสา อุชฺฌายนฺติ ขิยฺยนฺติ วิปาเจนฺติ “กถญฺหิ นาม สมณา สกฺยปุตฺติยา ตาลตรุเณ เฉทาเปตฺวา ตาลปตฺตปาทุกาโย ธาเรสฺสนฺติ ตานิ ตาลตรุณานิ ฉินฺนานิ มิลายนฺติ 
||11|| 
เอกินฺทฺริยํ สมณา สกฺยปุตฺติยา ชีวํ วิเหเฐนฺตี”ติ. 
tena kho pana samayena chabbaggiyā bhikkhū saupāhanā gāmaṃ pavisanti.  manussā ujjhāyanti khīyanti vipācenti: seyyathāpi gihikāmabhogino ’ti.  bhagavato etam atthaṃ ārocesuṃ.  na bhikkhave saupāhanena gāmo pavisitabbo.  yo paviseyya, āpatti dukkaṭassā ’ti.  tena kho pana samayena aññataro bhikkhu gilāno hoti, na sakkoti upāhanena vinā gāmaṃ pavisituṃ.  bhagavato etam atthaṃ ārocesuṃ.  anujānāmi bhikkhave gilānena bhikkhunā saupāhanena gāmaṃ pavisitun ti. |1| 
อสฺโสสุํ โข ภิกฺขู เตสํ มนุสฺสานํ อุชฺฌายนฺตานํ ขิยฺยนฺตานํ วิปาเจนฺตานํ.  อถ โข เต ภิกฺขู ภควโต เอตมตฺถํ อาโรเจสุํฯเปฯ  “สจฺจํ กิร ภิกฺขเว ฉพฺพคฺคิยา ภิกฺขู ตาลตรุเณ เฉทาเปตฺวา ตาลปตฺตปาทุกาโย ธาเรนฺติ ตานิ ตาลตรุณานิ ฉินฺนานิ มิลายนฺตี”ติ?  สจฺจํ ภควาติ.  วิครหิ พุทฺโธ ภควาฯเปฯ กถญฺหิ นาม เต ภิกฺขเว โมฆปุริสา ตาลตรุเณ เฉทาเปตฺวา ตาลปตฺตปาทุกาโย ธาเรสฺสนฺติ ตานิ ตาลตรุณานิ ฉินฺนานิ มิลายนฺติ.  ชีวสญฺญิโน หิ ภิกฺขเว มนุสฺสา รุกฺขสฺมึ.  เนตํ ภิกฺขเว อปฺปสนฺนานํ วา ปสาทายฯเปฯ วิครหิตฺวา ธมฺมึ กถํ กตฺวา ภิกฺขู อามนฺเตสิ “น ภิกฺขเว ตาลปตฺตปาทุกา ธาเรตพฺพา.  โย ธาเรยฺย อาปตฺติ ทุกฺกฏสฺสา”ติ. 
||12|| 
เตน โข ปน สมเยน ฉพฺพคฺคิยา ภิกฺขู ‘ภควตา ตาลปตฺตปาทุกา ปฏิกฺขิตฺตา’ติ เวฬุตรุเณ เฉทาเปตฺวา เวฬุปตฺตปาทุกาโย ธาเรนฺติ. ตานิ เวฬุตรุณานิ ฉินฺนานิ มิลายนฺติ. มนุสฺสา อุชฺฌายนฺติ ขิยฺยนฺติ วิปาเจนฺติ “กถญฺหิ นาม สมณา สกฺยปุตฺติยา เวฬุตรุเณ เฉทาเปตฺวา เวฬุปตฺตปาทุกาโย ธาเรสฺสนฺติ. ตานิ เวฬุตรุณานิ ฉินฺนานิ มิลายนฺติ. เอกินฺทฺริยํ สมณา สกฺยปุตฺติยา ชีวํ วิเหเฐนฺตี”ติ. อสฺโสสุํ โข ภิกฺขู เตสํ มนุสฺสานํ อุชฺฌายนฺตานํ ขิยฺยนฺตานํ วิปาเจนฺตานํ. อถ โข เต ภิกฺขู ภควโต เอตมตฺถํ อาโรเจสุํฯเปฯ ชีวสญฺญิโน หิ ภิกฺขเว มนุสฺสา รุกฺขสฺมึฯเปฯ 
tena kho pana samayena āyasmā Mahākaccāno Avantīsu viharati Kuraraghare Papāte pabbate.  tena kho pana samayena Soṇo upāsako Kuṭikaṇṇo āyasmato Mahākaccānassa upaṭṭhāko hoti.  atha kho Soṇo upāsako Kuṭikaṇṇo yenāyasmā Mahākaccāno ten’ upasaṃkami, upasaṃkamitvā āyasmantaṃ Mahākaccānaṃ abhivādetvā ekamantaṃ nisīdi.  ekamantaṃ nisinno kho Soṇo upāsako Kuṭikaṇṇo āyasmantaṃ Mahākaccānaṃ etad avoca: yathā-yathāhaṃ bhante ayyena Mahākaccānena dhammaṃ desitaṃ ājānāmi, na yidaṃ sukaraṃ agāraṃ ajjhāvasatā ekantaparipuṇṇaṃ ekantaparisuddhaṃ saṅkhalikhitaṃ brahmacariyaṃ carituṃ.  icchām’ ahaṃ bhante kesamassuṃ ohāretvā kāsāyāni vatthāni acchādetvā agārasmā anagāriyaṃ pabbajituṃ, pabbājetu maṃ bhante ayyo Mahākaccāno ’ti. |1| 
น ภิกฺขเว เวฬุปตฺตปาทุกา ธาเรตพฺพา.  โย ธาเรยฺย อาปตฺติ ทุกฺกฏสฺสาติ.      ๒๕๑. อถ โข ภควา พาราณสิยํ ยถาภิรนฺตํ วิหริตฺวา เยน ภทฺทิยํ เตน จาริกํ ปกฺกามิ. 
dukkaraṃ kho Soṇa yāvajīvaṃ ekaseyyaṃ ekabhattaṃ brahmacariyaṃ, iṅgha tvaṃ Soṇa tatth’ eva agārikabhūto buddhānaṃ sāsanaṃ anuyuñja kālayuttaṃ ekaseyyaṃ ekabhattaṃ brahmacariyan ti.  atha kho Soṇassa upāsakassa Kuṭikaṇṇassa yo ahosi pabbajjābhisaṃkhāro so paṭippassambhi.  dutiyam pi kho Soṇo upāsako (195) Kuṭikaṇṇo --la-- tatiyam pi kho Soṇo up. Kuṭ.  yenāyasmā Mahākaccāno ten’ upasaṃkami ... pabbājetu maṃ bhante ayyo Mahākaccāno ’ti.  atha kho āyasmā Mahākaccāno Soṇaṃ upāsakaṃ Kuṭikaṇṇaṃ pabbājesi.  tena kho pana samayena Avantidakkhiṇāpatho appabhikkhuko hoti.  atha kho āyasmā Mahākaccāno tiṇṇaṃ vassānaṃ accayena kicchena kasirena tato-tato dasavaggaṃ bhikkhusaṃghaṃ sannipātāpetvā āyasmantaṃ Soṇaṃ upasampādesi. |2| 
อนุปุพฺเพน จาริกํ จรมาโน เยน ภทฺทิยํ ตทวสริ.  ตตฺร สุทํ ภควา ภทฺทิเย วิหรติ ชาติยา วเน.  เตน โข ปน สมเยน ภทฺทิยา ภิกฺขู อเนกวิหิตํ ปาทุกมณฺฑนานุโยคมนุยุตฺตา วิหรนฺติ ติณปาทุกํ กโรนฺติปิ การาเปนฺติปิ มุญฺชปาทุกํ กโรนฺติปิ การาเปนฺติปิ ปพฺพชปาทุกํ กโรนฺติปิ การาเปนฺติปิ หินฺตาลปาทุกํ กโรนฺติปิ การาเปนฺติปิ กมลปาทุกํ กโรนฺติปิ การาเปนฺติปิ กมฺพลปาทุกํ กโรนฺติปิ การาเปนฺติปิ ริญฺจนฺติ อุทฺเทสํ ปริปุจฺฉํ อธิสีลํ อธิจิตฺตํ อธิปญฺญํ.  เย เต ภิกฺขู อปฺปิจฺฉาฯเปฯ เต อุชฺฌายนฺติ ขิยฺยนฺติ วิปาเจนฺติ “กถญฺหิ นาม ภทฺทิยา ภิกฺขู อเนกวิหิตํ ปาทุกมณฺฑนานุโยคมนุยุตฺตา วิหริสฺสนฺติ ติณปาทุกํ กริสฺสนฺติปิ การาเปสฺสนฺติปิ มุญฺชปาทุกํ กริสฺสนฺติปิ การาเปสฺสนฺติปิ ปพฺพชปาทุกํ กริสฺสนฺติปิ การาเปสฺสนฺติปิ หินฺตาลปาทุกํ กริสฺสนฺติปิ การาเปสฺสนฺติปิ กมลปาทุกํ กริสฺสนฺติปิ การาเปสฺสนฺติปิ กมฺพลปาทุกํ กริสฺสนฺติปิ การาเปสฺสนฺติปิ ริญฺจิสฺสนฺติ อุทฺเทสํ ปริปุจฺฉํ อธิสีลํ อธิจิตฺตํ อธิปญฺญ”นฺติ.  อถ โข เต ภิกฺขู ภควโต เอตมตฺถํ อาโรเจสุํฯเปฯ  “สจฺจํ กิร ภิกฺขเว ภทฺทิยา ภิกฺขู อเนกวิหิตํ ปาทุกมณฺฑนานุโยคมนุยุตฺตา วิหรนฺติ ติณปาทุกํ กโรนฺติปิ การาเปนฺติปิฯเปฯ ริญฺจนฺติ อุทฺเทสํ ปริปุจฺฉํ อธิสีลํ อธิจิตฺตํ อธิปญฺญ”นฺติ?  “สจฺจํ ภควา”ติ. 
atha kho āyasmato Soṇassa vassaṃ vutthassa rahogatassa paṭisallīnassa evaṃ cetaso parivatakko udapādi: suto yeva kho me so bhagavā ediso ca ediso cā ’ti na ca mayā sammukhā diṭṭho.  gaccheyyāhaṃ taṃ bhagavantaṃ dassanāya arahantaṃ sammāsambuddhaṃ sace maṃ upajjhāyo anujāneyyā ’ti.  atha kho āyasmā Soṇo sāyaṇhasamayaṃ paṭisallānā vuṭṭhito yenāyasmā Mahākaccāno ten’ upasaṃkami, upasaṃkamitvā ayasmantaṃ Mahākaccānaṃ abhivādetvā ekamantaṃ nisīdi, ekamantaṃ nisinno kho āyasmā Soṇo āyasmantaṃ Mahākaccānaṃ etad avoca: |3| 
วิครหิ พุทฺโธ ภควาฯเปฯ “กถญฺหิ นาม เต ภิกฺขเว โมฆปุริสา อเนกวิหิตํ ปาทุกมณฺฑนานุโยคมนุยุตฺตา วิหริสฺสนฺติ ติณปาทุกํ กริสฺสนฺติปิ การาเปสฺสนฺติปิฯเปฯ ริญฺจิสฺสนฺติ อุทฺเทสํ ปริปุจฺฉํ อธิสีลํ อธิจิตฺตํ อธิปญฺญํ.  เนตํ ภิกฺขเว อปฺปสนฺนานํ วา ปสาทายฯเปฯ  วิครหิตฺวาฯเปฯ ธมฺมึ กถํ กตฺวา ภิกฺขู อามนฺเตสิ “น ภิกฺขเว ติณปาทุกา ธาเรตพฺพา น มุญฺชปาทุกา ธาเรตพฺพา น ปพฺพชปาทุกา ธาเรตพฺพา น หินฺตาลปาทุกา ธาเรตพฺพา น กมลปาทุกา ธาเรตพฺพา น กมฺพลปาทุกา ธาเรตพฺพา น โสวณฺณมยา ปาทุกา ธาเรตพฺพา น รูปิยมยา ปาทุกา ธาเรตพฺพา น มณิมยา ปาทุกา ธาเรตพฺพา น เวฬุริยมยา ปาทุกา ธาเรตพฺพา น ผลิกมยา ปาทุกา ธาเรตพฺพา น กํสมยา ปาทุกา ธาเรตพฺพา น กาจมยา ปาทุกา ธาเรตพฺพา น ติปุมยา ปาทุกา ธาเรตพฺพา น สีสมยา ปาทุกา ธาเรตพฺพา น ตมฺพโลหมยา ปาทุกา ธาเรตพฺพา. 
idha mayhaṃ bhante rahogatassa paṭisallīnassa evaṃ cetaso parivitakko udapādi: suto yeva kho me so bhagavā ediso ca ediso cā ’ti, na ca mayā sammukhā diṭṭho.  gaccheyyāhaṃ taṃ bhagavantaṃ dassanāya arahantaṃ sammāsambuddhaṃ sace maṃ upajjhāyo anujāneyyā ’ti.  gaccheyyāhaṃ bhante taṃ bhagavantaṃ dassanāya arahantaṃ sammāsambuddhaṃ sace maṃ upajjhāyo anujānātīti.  sādhu sādhu Soṇa, gaccha tvaṃ Soṇa taṃ bhagavantaṃ dassanāya arahantaṃ sammāsambuddhaṃ. |4| 
โย ธาเรยฺย อาปตฺติ ทุกฺกฏสฺส.  น จ ภิกฺขเว กาจิ สงฺกมนิยา ปาทุกา ธาเรตพฺพา.  โย ธาเรยฺย อาปตฺติ ทุกฺกฏสฺส.  อนุชานามิ ภิกฺขเว ติสฺโส ปาทุกา ธุวฏฺฐานิยา อสงฺกมนิยาโย วจฺจปาทุกํ ปสฺสาวปาทุกํ อาจมนปาทุก”นฺติ. 
dakkhissasi tvaṃ Soṇa taṃ bhagavantaṃ pāsādikaṃ pasādanīyaṃ santindriyaṃ santamānasaṃ uttamadamathasamathaṃ anuppattaṃ dantaṃ guttaṃ yatindriyaṃ nāgaṃ.  tena hi tvaṃ Soṇa mama vacanena bhagavato pāde sirasā vanda upajjhāyo me bhante āyasmā Mahākaccāno bhagavato pāde sirasā vandatīti, evañ ca vadehi: Avantidakkhiṇāpatho bhante appabhikkhuko, tiṇṇaṃ me vassānaṃ accayena kicchena kasirena tato-tato dasavaggaṃ bhikkhusaṃghaṃ sannipātāpetvā upasampadaṃ alatthaṃ.  app eva nāma bhagavā Avantidakkhiṇāpathe appatarena gaṇena upasampadaṃ anujāneyya. |5| 
    ๒๕๒. อถ โข ภควา ภทฺทิเย ยถาภิรนฺตํ วิหริตฺวา เยน สาวตฺถิ เตน จาริกํ ปกฺกามิ. 
Avantidakkhiṇāpathe bhante kaṇhuttarā bhūmi kharā gokaṇṭakahatā.  app eva nāma bhagavā Avantidakkhiṇāpa-(196)the gaṇaṃgaṇūpāhanaṃ anujāneyya.  Avantidakkhiṇāpathe bhante nahānagarukā manussā udakasuddhikā.  app eva nāma bhagavā Avantidakkhiṇāpathe dhuvanahānaṃ anujāneyya.  Avantidakkhiṇāpathe bhante cammāni attharaṇāni eḷakacammaṃ ajacammaṃ migacammaṃ.  seyyathāpi bhante majjhimesu janapadesu eragu moragu majjhāru jantu, evam eva kho bhante Avantidakkhiṇāpathe cammāni attharaṇāni eḷakacammaṃ ajacammaṃ migacammaṃ.  app eva nāma bhagavā Avantidakkhiṇāpathe cammāni attharaṇāni anujāneyya eḷakacammaṃ ajacammaṃ migacammaṃ. |6| 
อนุปุพฺเพน จาริกํ จรมาโน เยน สาวตฺถิ ตทวสริ.  ตตฺร สุทํ ภควา สาวตฺถิยํ วิหรติ เชตวเน อนาถปิณฺฑิกสฺส อาราเม.  เตน โข ปน สมเยน ฉพฺพคฺคิยา ภิกฺขู อจิรวติยา นทิยา คาวีนํ ตรนฺตีนํ วิสาเณสุปิ คณฺหนฺติ กณฺเณสุปิ คณฺหนฺติ คีวายปิ คณฺหนฺติ เฉปฺปาปิ คณฺหนฺติ ปิฏฺฐิมฺปิ อภิรุหนฺติ รตฺตจิตฺตาปิ องฺคชาตํ ฉุปนฺติ วจฺฉตริมฺปิ โอคาเหตฺวา มาเรนฺติ.  มนุสฺสา อุชฺฌายนฺติ ขิยฺยนฺติ วิปาเจนฺติ “กถญฺหิ นาม สมณา สกฺยปุตฺติยา คาวีนํ ตรนฺตีนํ วิสาเณสุปิ คเหสฺสนฺติฯเปฯ เสยฺยถาปิ คิหี กามโภคิโน”ติ.  อสฺโสสุํ โข ภิกฺขู เตสํ มนุสฺสานํ อุชฺฌายนฺตานํ ขิยฺยนฺตานํ วิปาเจนฺตานํ.  อถ โข เต ภิกฺขู ภควโต เอตมตฺถํ อาโรเจสุํฯเปฯ  สจฺจํ กิร ภิกฺขเวฯเปฯ สจฺจํ ภควาติฯเปฯ 
etarahi bhante manussā nissīmagatānaṃ bhikkhūnaṃ cīvaraṃ denti imaṃ cīvaraṃ itthannāmassa demā ’ti, te āgantvā ārocenti itthannāmehi te āvuso manussehi cīvaraṃ dinnan ti, te kukkuccāyantā na sādiyanti mā no nissaggiyaṃ ahosīti.  app eva nāma bhagavā cīvare pariyāyaṃ ācikkheyyā ’ti.  evaṃ bhante ’ti kho āyasmā Soṇo āyasmato Mahākaccānassa paṭisuṇitvā uṭṭhāyāsanā āyasmantaṃ Mahākaccānaṃ abhivādetvā padakkhiṇaṃ katvā senāsanaṃ saṃsāmetvā pattacīvaraṃ ādāya yena Sāvatthi tena pakkāmi. |7| 
วิครหิตฺวาฯเปฯ ธมฺมึ กถํ กตฺวา ภิกฺขู อามนฺเตสิ “น ภิกฺขเว คาวีนํ วิสาเณสุ คเหตพฺพํ น กณฺเณสุ คเหตพฺพํ น คีวาย คเหตพฺพํ น เฉปฺปาย คเหตพฺพํ น ปิฏฺฐิ อภิรุหิตพฺพา  โย อภิรุเหยฺย อาปตฺติ ทุกฺกฏสฺส.  น จ ภิกฺขเว รตฺตจิตฺเตน องฺคชาตํ ฉุปิตพฺพํ. 
anupubbena yena Sāvatthi Jetavanaṃ Anāthapiṇḍikassa ārāmo yena bhagavā ten’ upasaṃkami, upasaṃkamitvā bhagavantaṃ abhivādetvā ekamantaṃ nisīdi.  atha kho bhagavā āyasmantaṃ Ānandaṃ āmantesi: imassānanda āgantukassa bhikkhuno senāsanaṃ paññāpehīti.  atha kho āyasmā Ānando yassa kho maṃ bhagavā āṇāpeti imassa Ānanda āgantukassa bhikkhuno senāsanaṃ paññāpehīti, icchati bhagavā tena bhikkhunā saddhiṃ ekavihāre vatthuṃ, icchati bhagavā āyasmatā Soṇena saddhiṃ ekavihāre vatthun ti yasmiṃ vihāre bhagavā viharati tasmiṃ vihāre āyasmato Soṇassa senāsanaṃ paññāpesi. |8| 
โย ฉุเปยฺย อาปตฺติ ถุลฺลจฺจยสฺส.  น วจฺฉตรี มาเรตพฺพา.  โย มาเรยฺย ยถาธมฺโม กาเรตพฺโพ”ติ. (กฏฺฐปาทุกาทิปฏิกฺเขโป นิฏฺฐิโต.) 
atha kho bhagavā bahud eva rattiṃ ajjhokāse vītināmetvā vihāraṃ pāvisi.  āyasmāpi kho Soṇo bahud eva rattiṃ ajjhokāse vītināmetvā vihāraṃ pāvisi.  atha kho bhagavā rattiyā paccūsasamayaṃ paccuṭṭhāya āyasmantaṃ Soṇaṃ ajjhesi: paṭibhātu taṃ bhikkhu dhammo bhāsitun ti.  evaṃ bhante ’ti kho āyasmā Soṇo bhagavato paṭisuṇitvā sabbān’ eva aṭṭhakavaggikāni sarena abhāsi.  atha kho bhagavā āyasmato Soṇassa sarabhaññapariyosāne abbhanumodi: sādhu sādhu bhikkhu suggahitāni kho te bhikkhu aṭṭhaka (197) vaggikāni sumanasikatāni sūpadhāritāni kalyāṇiyāpi ’si vācāya samannāgato vissaṭṭhāya aneḷagalāya atthassa viññāpaniyā.  kativasso si tvaṃ bhikkhū ’ti.  ekavasso ahaṃ bhagavā ’ti. |9| 
(๑๕๓. ยานาทิปฏิกฺเขโป) ๒๕๓. เตน โข ปน สมเยน ฉพฺพคฺคิยา ภิกฺขู ยาเนน ยายนฺติ อิตฺถิยุตฺเตนปิ ปุริสนฺตเรน ปุริสยุตฺเตนปิ อิตฺถนฺตเรน.  มนุสฺสา อุชฺฌายนฺติ ขิยฺยนฺติ วิปาเจนฺติ “เสยฺยถาปิ คงฺคามหิยายา”ติ.  ภควโต เอตมตฺถํ อาโรเจสุํ.  น ภิกฺขเว ยาเนน ยายิตพฺพํ  โย ยาเยยฺย อาปตฺติ ทุกฺกฏสฺสาติ.     
kissa pana tvaṃ bhikkhu evaṃ ciraṃ akāsīti.  ciraṃ diṭṭho me bhante kāmesu ādīnavo, api ca sambādhā gharāvāsā bahukiccā bahukaraṇīyā ’ti.  atha kho bhagavā etam atthaṃ viditvā tāyaṃ velāyaṃ imaṃ udānaṃ udānesi: disvā ādīnavaṃ loke ñatvā dhammaṃ nirūpadhi ariyo na ramati pāpe sāsane ramati sucīti. |10| 
เตน โข ปน สมเยน อญฺญตโร ภิกฺขุ โกสเลสุ ชนปเท สาวตฺถึ คจฺฉนฺโต ภควนฺตํ ทสฺสนาย อนฺตรามคฺเค คิลาโน โหติ.  อถ โข โส ภิกฺขุ มคฺคา โอกฺกมฺม อญฺญตรสฺมึ รุกฺขมูเล นิสีทิ.  มนุสฺสา ตํ ภิกฺขุํ ทิสฺวา เอตทโวจุํ “กหํ ภนฺเต อยฺโย คมิสฺสตี”ติ? 
atha kho āyasmā Soṇo paṭisammodati kho maṃ bhagavā, ayaṃ khv assa kālo yaṃ me upajjhāyo paridassīti uṭṭhāyāsanā ekaṃsaṃ uttarāsaṅgaṃ karitvā bhagavato pādesu sirasā nipatitvā bhagavantaṃ etad avoca: upajjhāyo me bhante āyasmā Mahākaccāno bhagavato pāde sirasā vandati evañ ca vadati: Avantidakkhiṇāpatho ... pariyāyaṃ ācikkheyyā ’ti.  atha kho bhagavā etasmiṃ nidāne etasmiṃ pakaraṇe dhammiṃ kathaṃ katvā bhikkhū āmantesi: Avantidakkhiṇāpatho bhikkhave appabhikkhuko.  anujānāmi bhikkhave sabbapaccantimesu janapadesu vinayadharapañcamena gaṇena upasampadaṃ. |11| 
“สาวตฺถึ โข อหํ อาวุโส คมิสฺสามิ ภควนฺตํ ทสฺสนายา”ติ.  “เอหิ ภนฺเต คมิสฺสามา”ติ.  “นาหํ อาวุโส สกฺโกมิ คิลาโนมฺหี”ติ. 
tatr’ ime paccantimā janapadā: puratthimāya disāya Kajaṅgalaṃ nāma nigamo, tassa parena Mahāsālā, tato parā paccantimā janapadā, orato majjhe.  puratthimadakkhiṇāya disāya Sallavatī nāma nadī, tato parā paccantimā janapadā, orato majjhe.  dakkhiṇāya disāya Setakaṇṇikaṃ nāma nigamo, tato parā paccantimā janapadā, orato majjhe.  pacchimāya disāya Thūnaṃ nāma brāhmaṇagāmo, tato parā paccantimā janapadā, orato majjhe.  uttarāya disāya Usīraddhajo nāma pabbato, tato parā paccantimā janapadā, orato majjhe.  anujānāmi bhikkhave evarūpesu paccantimesu janapadesu vinayadharapañcamena gaṇena upasampadaṃ. |12| 
“เอหิ ภนฺเต ยานํ อภิรุหา”ติ.  “อลํ อาวุโส ปฏิกฺขิตฺตํ ภควตา ยาน”นฺติ กุกฺกุจฺจายนฺโต ยานํ นาภิรุหิ.  อถ โข โส ภิกฺขุ สาวตฺถึ คนฺตฺวา ภิกฺขูนํ เอตมตฺถํ อาโรเจสิ.  ภิกฺขู ภควโต เอตมตฺถํ อาโรเจสุํ.  อนุชานามิ ภิกฺขเว คิลานสฺส ยานนฺติ.  อถ โข ภิกฺขูนํ เอตทโหสิ “อิตฺถิยุตฺตํ นุ โข ปุริสยุตฺตํ นุ โข”ติ? 
Avantidakkhiṇāpathe bhikkhave kaṇhuttarā bhūmi kharā gokaṇṭakahatā.  anujānāmi bhikkhave sabbapaccantimesu janapadesu gaṇaṃgaṇūpāhanaṃ.  Avantidakkhiṇāpathe bhikkhave nahānagarukā manussā udakasuddhikā.  anujānāmi bhikkhave sabbapaccantimesu janapadesu dhuvanahānaṃ.  Avantidakkhiṇāpathe bhikkhave cammāni attharaṇāni eḷakacammaṃ (198) ajacammaṃ migacammaṃ.  seyyathāpi bhikkhave majjhimesu janapadesu eragu moragu majjhāru jantu, evam eva kho bhikkhave Avantidakkhiṇāpathe cammāni attharaṇāni eḷakacammaṃ ajacammaṃ migacammaṃ.  anujānāmi bhikkhave sabbapaccantimesu janapadesu cammāni attharaṇāni eḷakacammaṃ ajacammaṃ migacammaṃ.  idha pana bhikkhave manussā nissīmagatānaṃ bhikkhūnaṃ cīvaraṃ denti imaṃ cīvaraṃ itthannāmassa demā ’ti.  anujānāmi bhikkhave sādituṃ.  na tāva taṃ gaṇanūpagaṃ yāva na hatthaṃ gacchatīti. |13| 
ภควโต เอตมตฺถํ อาโรเจสุํ.  อนุชานามิ ภิกฺขเว ปุริสยุตฺตํ หตฺถวฏฺฏกนฺติ.  เตน โข ปน สมเยน อญฺญตรสฺส ภิกฺขุโน ยานุคฺฆาเตน พาฬฺหตรํ อผาสุ อโหสิ.  ภควโต เอตมตฺถํ อาโรเจสุํ.  อนุชานามิ ภิกฺขเว สิวิกํ ปาฏงฺกินฺติ. (ยานาทิปฏิกฺเขโป นิฏฺฐิโต.)  (๑๕๔. อุจฺจาสยนมหาสยนปฏิกฺเขโป) ๒๕๔. เตน โข ปน สมเยน ฉพฺพคฺคิยา ภิกฺขู อุจฺจาสยนมหาสยนานิ ธาเรนฺติ เสยฺยถิทํ อาสนฺทึ ปลฺลงฺกํ โคนกํ จิตฺตกํ ปฏิกํ ปฏลิกํ ตูลิกํ วิกติกํ อุทฺธโลมึ เอกนฺตโลมึ กฏฺฏิสฺสํ โกเสยฺยํ กุตฺตกํ หตฺถตฺถรํ อสฺสตฺถรํ รถตฺถรํ อชินปเวณึ กทลิมิคปวรปจฺจตฺถรณํ สอุตฺตรจฺฉทํ อุภโตโลหิตกูปธานนฺติ.  มนุสฺสา วิหารจาริกํ อาหิณฺฑนฺตา ปสฺสิตฺวา อุชฺฌายนฺติ ขิยฺยนฺติ วิปาเจนฺติ “เสยฺยถาปิ คิหี กามโภคิโน”ติ.  ภควโต เอตมตฺถํ อาโรเจสุํ.  น ภิกฺขเว อุจฺจาสยนมหาสยนานิ ธาเรตพฺพานิ เสยฺยถิทํ อาสนฺทิ ปลฺลงฺโก โคนโก จิตฺตโก ปฏิกา ปฏลิกา ตูลิกา วิกติกา อุทฺธโลมิ เอกนฺตโลมิ กฏฺฏิสฺสํ โกเสยฺยํ กุตฺตกํ หตฺถตฺถรํ อสฺสตฺถรํ รถตฺถรํ อชินปเวณิ กทลิมิคปวรปจฺจตฺถรณํ สอุตฺตรจฺฉทํ อุภโตโลหิตกูปธานํ.  โย ธาเรยฺย อาปตฺติ ทุกฺกฏสฺสาติ.( อุจฺจาสยนมหาสยนปฏิกฺเขโป นิฏฺฐิโต.) 
||13|| 
(๑๕๕. สพฺพจมฺมปฏิกฺเขโป) ๒๕๕. เตน โข ปน สมเยน ฉพฺพคฺคิยา ภิกฺขู ภควตา อุจฺจาสยนมหาสยนานิ ปฏิกฺขิตฺตานีติ มหาจมฺมานิ ธาเรนฺติ สีหจมฺมํ พฺยคฺฆจมฺมํ ทีปิจมฺมํ. 
cammakkhandhakaṃ pañcamaṃ. 
ตานิ มญฺจปฺปมาเณนปิ ฉินฺนานิ โหนฺติ ปีฐปฺปมาเณนปิ ฉินฺนานิ โหนฺติ อนฺโตปิ มญฺเจ ปญฺญตฺตานิ โหนฺติ พหิปิ มญฺเจ ปญฺญตฺตานิ โหนฺติ อนฺโตปิ ปีเฐ ปญฺญตฺตานิ โหนฺติ พหิปิ ปีเฐ ปญฺญตฺตานิ โหนฺติ. 
imamhi khandhake vatthu tesaṭṭhi. tass’ uddānaṃ:  rājā Māgadho Soṇo ca asītisahassissaro Sāgato Gijjhakūṭasmiṃ bahuṃ dassesi uttariṃ |  pabbajjāraddha-bhijjiṃsu vīṇaṃ ekapalāsikaṃ, nīlā, pītā, lohitikā, mañjeṭṭhā, kaṇham eva ca, |  mahāraṅga-mahānāmā vaṭṭikā ca paṭikkhipi, khallakā, puṭa-pālī ca, tūla-tittira-meṇḍ’-ajā, |  vicchikā mora-citrā ca, sīha-vyagghā ca, dīpikā, ajin’-uddā, majjārī ca, kāḷa-luvaparikkhaṭā, |  {phālit’-upāhanā,} khīlā,’dhota-khānu-khaṭakhaṭā, 5 tāla-veḷu-tiṇaṃ c’ eva, muñja-babbaja-hintalā, |  kamala-kambala-sovaṇṇā, rūpikā, maṇi, veḷuriyā, phalikā, kaṃsa-kācā ca, tipu-sīsañ ca, tambakā, |  gāvī, yānaṃ, gilāno ca, purisayutta-sivikā, sayanāni, mahācammā, gocammehi ca pāpako, |  gihīnaṃ, cammabaddhehi, pavisanti, gilāyano, Mahākaccāyano Soṇo saren’ aṭṭhakavaggikaṃ |  upasampadaṃ pañcagaṇaṃ gaṇaṃgaṇā dhuvasinā cammattharaṇānuññāsi na tāva gaṇanūpagaṃ adās’ ime vare pañca Soṇattherassa nāyako ’ti. 
มนุสฺสา วิหารจาริกํ อาหิณฺฑนฺตา ปสฺสิตฺวา อุชฺฌายนฺติ ขิยฺยนฺติ วิปาเจนฺติ “เสยฺยถาปิ คิหี กามโภคิโน”ติ.  ภควโต เอตมตฺถํ อาโรเจสุํ.  น ภิกฺขเว มหาจมฺมานิ ธาเรตพฺพานิ สีหจมฺมํ พฺยคฺฆจมฺมํ ทีปิจมฺมํ.  โย ธาเรยฺย อาปตฺติ ทุกฺกฏสฺสาติ.  เตน โข ปน สมเยน ฉพฺพคฺคิยา ภิกฺขู ภควตา มหาจมฺมานิ ปฏิกฺขิตฺตานีติ โคจมฺมานิ ธาเรนฺติ.  ตานิ มญฺจปฺปมาเณนปิ ฉินฺนานิ โหนฺติ ปีฐปฺปมาเณนปิ ฉินฺนานิ โหนฺติ อนฺโตปิ มญฺเจ ปญฺญตฺตานิ โหนฺติ พหิปิ มญฺเจ ปญฺญตฺตานิ โหนฺติ อนฺโตปิ ปีเฐ ปญฺญตฺตานิ โหนฺติ พหิปิ ปีเฐ ปญฺญตฺตานิ โหนฺติ.  อญฺญตโรปิ ปาปภิกฺขุ อญฺญตรสฺส ปาปุปาสกสฺส กุลูปโก โหติ.  อถ โข โส ปาปภิกฺขุ ปุพฺพณฺหสมยํ นิวาเสตฺวา ปตฺตจีวรมาทาย เยน ตสฺส ปาปุปาสกสฺส นิเวสนํ เตนุปสงฺกมิ อุปสงฺกมิตฺวา ปญฺญตฺเต อาสเน นิสีทิ.  อถ โข โส ปาปุปาสโก เยน โส ปาปภิกฺขุ เตนุปสงฺกมิ อุปสงฺกมิตฺวา ตํ ปาปภิกฺขุํ อภิวาเทตฺวา เอกมนฺตํ นิสีทิ.  เตน โข ปน สมเยน ตสฺส ปาปุปาสกสฺส วจฺฉโก โหติ ตรุณโก อภิรูโป ทสฺสนีโย ปาสาทิโก จิตฺโร เสยฺยถาปิ ทีปิจฺฉาโป. 
(199) Tena samayena buddho bhagavā Sāvatthiyaṃ viharati Jetavane Anāthapiṇḍikassa ārāme.  tena kho pana samayena bhikkhūnaṃ sāradikena ābādhena phuṭṭhānaṃ yāgu pi pītā uggacchati bhattam pi bhuttaṃ uggacchati, te tena kisā honti lūkhā dubbaṇṇā uppaṇḍuppaṇḍukajātā {dhamani-} santhatagattā.  addasa kho bhagavā te bhikkhū kise lūkhe dubbaṇṇe uppaṇḍuppaṇḍukajāte {dhamanisanthatagatte,} disvāna āyasmantaṃ Ānandaṃ āmantesi: kiṃ nu kho Ānanda etarahi bhikkhū kisā lūkhā ... dhamanisanthatagatte ’ti.  etarahi bhante bhikkhūnaṃ sāradikena ābādhena phuṭṭhānaṃ yāgu pi pītā uggacchati bhattam pi bhuttaṃ uggacchati, te tena kisā lūkhā dubbaṇṇā uppaṇḍuppaṇḍukajātā dhamanisanthatagattā ’ti. |1| 
อถ โข โส ปาปภิกฺขุ ตํ วจฺฉกํ สกฺกจฺจํ อุปนิชฺฌายติ.  อถ โข โส ปาปุปาสโก ตํ ปาปภิกฺขุํ เอตทโวจ “กิสฺส ภนฺเต อยฺโย อิมํ วจฺฉกํ สกฺกจฺจํ อุปนิชฺฌายตี”ติ?  “อตฺโถ เม อาวุโส อิมสฺส วจฺฉกสฺส จมฺเมนา”ติ.  อถ โข โส ปาปุปาสโก ตํ วจฺฉกํ วธิตฺวา จมฺมํ วิธุนิตฺวา ตสฺส ปาปภิกฺขุโน ปาทาสิ. 
atha kho bhagavato rahogatassa paṭisallīnassa evaṃ cetaso parivitakko udapādi: etarahi kho bhikkhūnaṃ sāradikena ābādhena phuṭṭhānaṃ --la-- dhamanisanthatagattā.  kiṃ nu kho ahaṃ bhikkhūnaṃ bhesajjaṃ anujāneyyaṃ, yaṃ bhesajjañ c’ eva assa bhesajjasammatañ ca lokassa āhārattañ ca phareyya na ca oḷāriko āhāro paññāyeyyā ’ti.  atha kho bhagavato etad ahosi: imāni kho pañca bhesajjāni seyyath’ īdaṃ sappi navanītaṃ telaṃ madhu phāṇitaṃ bhesajjāni c’ eva bhesajjasammatāni ca lokassa āhārattañ ca pharanti na ca oḷāriko āhāro paññāyati.  yaṃ nūnāhaṃ bhikkhūnaṃ imāni pañca bhesajjāni anujāneyyaṃ kāle paṭiggahetvā kāle paribhuñjitun ti. |2| 
อถ โข โส ปาปภิกฺขุ ตํ จมฺมํ สงฺฆาฏิยา ปฏิจฺฉาเทตฺวา อคมาสิ.  อถ โข สา คาวี วจฺฉคิทฺธินี ตํ ปาปภิกฺขุํ ปิฏฺฐิโต ปิฏฺฐิโต อนุพนฺธิ.  ภิกฺขู เอวมาหํสุ “กิสฺส ตฺยายํ อาวุโส คาวี ปิฏฺฐิโต ปิฏฺฐิโต อนุพนฺธี”ติ?  “อหมฺปิ โข อาวุโส น ชานามิ เกน มฺยายํ คาวี ปิฏฺฐิโต ปิฏฺฐิโต อนุพนฺธี”ติ. 
atha kho bhagavā sāyaṇhasamayaṃ paṭisallānā vuṭṭhito etasmiṃ nidāne dhammiṃ kathaṃ katvā bhikkhū āmantesi: idha mayhaṃ bhikkhave rahogatassa ...  paññāyeyyā ’ti.  tassa mayhaṃ bhikkhave etad ahosi: imāni kho pañca bhe-(200)sajjāni --la-- yaṃ nūnāhaṃ bhikkhūnaṃ imāni pañca bhesajjāni anujāneyyaṃ kāle paṭiggahetvā kāle paribhuñjitun ti.  anujānāmi bhikkhave tāni pañca bhesajjāni kāle paṭiggahetvā kāle paribhuñjitun ti. |3| 
เตน โข ปน สมเยน ตสฺส ปาปภิกฺขุโน สงฺฆาฏิ โลหิเตน มกฺขิตา โหติ.  ภิกฺขู เอวมาหํสุ “อยํ ปน เต อาวุโส สงฺฆาฏิ กึ กตา”ติ?  อถ โข โส ปาปภิกฺขุ ภิกฺขูนํ เอตมตฺถํ อาโรเจสิ.  “กึ ปน ตฺวํ อาวุโส ปาณาติปาเต สมาทเปสี”ติ? 
tena kho pana samayena bhikkhū tāni pañca bhesajjāni kāle paṭiggahetvā kāle paribhuñjanti.  tesaṃ yāni pi tāni pākatikāni lūkhāni bhojanāni tāni pi na cchādenti, pag eva senesikāni.  te tena c’ eva sāradikena ābādhena phuṭṭhā iminā ca bhattācchandakena tadubhayena bhiyyosomattāya kisā honti lūkhā dubbaṇṇā uppaṇḍuppaṇḍukajātā dhamanisanthatagattā.  addasa kho bhagavā te bhikkhū bhiyyosomattāya --la-- dhamanisanthatagatte, disvāna āyasmantaṃ Ānandaṃ āmantesi: kiṃ nu kho Ānanda etarahi bhikkhū bhiyyosomattāya kisā --la-- dhamanisanthatagattā ’ti. |4| 
“เอวมาวุโส”ติ.  เย เต ภิกฺขู อปฺปิจฺฉา เต อุชฺฌายนฺติ ขิยฺยนฺติ วิปาเจนฺติ “กถญฺหิ นาม ภิกฺขุ ปาณาติปาเต สมาทเปสฺสติ  นนุ ภควตา อเนกปริยาเยน ปาณาติปาโต ครหิโต ปาณาติปาตา เวรมณี ปสตฺถา”ติ.  อถ โข เต ภิกฺขู ภควโต เอตมตฺถํ อาโรเจสุํ. 
etarahi bhante bhikkhū tāni ca pañca bhesajjāni kāle ...  tadubhayena bhiyyosomattāya kisā lūkhā dubbaṇṇā uppaṇḍuppaṇḍukajātā dhamanisanthatagattā ’ti.  atha kho bhagavā etasmiṃ nidāne dhammiṃ kathaṃ katvā bhikkhū āmantesi: anujānāmi bhikkhave tāni pañca bhesajjāni paṭiggahetvā kāle pi vikāle pi paribhuñjitun ti. |5| 
อถ โข ภควา เอตสฺมึ นิทาเน เอตสฺมึ ปกรเณ ภิกฺขุสงฺฆํ สนฺนิปาตาเปตฺวา ตํ ปาปภิกฺขุํ ปฏิปุจฺฉิ “สจฺจํ กิร ตฺวํ ภิกฺขุ ปาณาติปาเต สมาทเปสี”ติ?  สจฺจํ ภควาติฯเปฯ  กถญฺหิ นาม ตฺวํ โมฆปุริส ปาณาติปาเต สมาทเปสฺสสิ 
||1|| 
นนุ มยา โมฆปุริส อเนกปริยาเยน ปาณาติปาโต ครหิโต ปาณาติปาตา เวรมณี ปสตฺถา. 
tena kho pana samayena gilānānaṃ bhikkhūnaṃ vasehi bhesajjehi attho hoti.  bhagavato etam atthaṃ ārocesuṃ.  anujānāmi bhikkhave vasāni bhesajjāni acchavasaṃ macchavasaṃ susukāvasaṃ sūkaravasaṃ gadrabhavasaṃ kāle paṭiggahitaṃ kāle nipakkaṃ kāle saṃsaṭṭhaṃ telaparibhogena paribhuñjituṃ. |1| vikāle ce bhikkhave paṭiggahitaṃ, vikāle nipakkaṃ, vikāle saṃsaṭṭhaṃ, taṃ ce paribhuñjeyya, āpatti tiṇṇaṃ dukkaṭānaṃ.  kāle ce bhikkhave paṭiggahitaṃ, vikāle nipakkaṃ, vikāle saṃsaṭṭhaṃ, taṃ ce paribhuñjeyya, āpatti dvinnaṃ dukkaṭānaṃ.  kāle ce bhikkhave paṭiggahitaṃ, kāle nipakkaṃ, vikāle saṃsaṭṭhaṃ, taṃ ce paribhuñjeyya, āpatti dukkaṭassa.  kāle ce bhikkhave paṭiggahitaṃ, kāle nipakkaṃ, kāle saṃsaṭṭhaṃ, taṃ ce paribhuñjeyya, anāpattīti. |2| 
เนตํ โมฆปุริส อปฺปสนฺนานํ วา ปสาทายฯเปฯ  วิครหิตฺวา ธมฺมึ กถํ กตฺวา ภิกฺขู อามนฺเตสิ “น ภิกฺขเว ปาณาติปาเต สมาทเปตพฺพํ.  โย สมาทเปยฺย ยถาธมฺโม กาเรตพฺโพ.  น ภิกฺขเว โคจมฺมํ ธาเรตพฺพํ.  โย ธาเรยฺย อาปตฺติ ทุกฺกฏสฺส.  น จ ภิกฺขเว กิญฺจิ จมฺมํ ธาเรตพฺพํ. 
||2|| 
โย ธาเรยฺย อาปตฺติ ทุกฺกฏสฺสา”ติ. (สพฺพจมฺมปฏิกฺเขโป นิฏฺฐิโต.) 
tena kho pana samayena gilānānaṃ bhikkhūnaṃ mūlehi bhesajjehi attho hoti.  bhagavato etam atthaṃ ārocesuṃ.  (201) anujānāmi bhikkhave mūlāni bhesajjāni haliddaṃ siṅgiveraṃ vacaṃ vacatthaṃ ativisaṃ kaṭukarohiṇiṃ usīraṃ bhaddamuttakaṃ yāni vā pan’ aññāni pi atthi mūlāni bhesajjāni, n’ eva khādaniye khādaniyattaṃ pharanti, na bhojaniye bhojaniyattaṃ pharanti, tāni paṭiggahetvā yāvajīvaṃ pariharituṃ, sati paccaye paribhuñjituṃ.  asati paccaye paribhuñjantassa āpatti dukkaṭassā ’ti. |1| 
    (๑๕๖. คิหิวิกตานุญฺญาตาทิ) ๒๕๖. เตน โข ปน สมเยน มนุสฺสานํ มญฺจมฺปิ ปีฐมฺปิ จมฺโมนทฺธานิ โหนฺติ จมฺมวินทฺธานิ.  ภิกฺขู กุกฺกุจฺจายนฺตา นาภินิสีทนฺติ. 
tena kho pana samayena gilānānaṃ bhikkhūnaṃ mūlehi bhesajjehi piṭṭhehi attho hoti.  bhagavato etam atthaṃ ārocesuṃ.  anujānāmi bhikkhave nisadaṃ nisadapotan ti. |2| 
ภควโต เอตมตฺถํ อาโรเจสุํ.  อนุชานามิ ภิกฺขเว คิหิวิกตํ อภินิสีทิตุํ น ตฺเวว อภินิปชฺชิตุนฺติ.  เตน โข ปน สมเยน วิหารา จมฺมวทฺเธหิ โอคุมฺผิยนฺติ. 
||3|| 
ภิกฺขู กุกฺกุจฺจายนฺตา นาภินิสีทนฺติ. 
tena kho pana samayena gilānānaṃ bhikkhūnaṃ kasāvehi bhesajjehi attho hoti.  bhagavato etam atthaṃ ārocesuṃ.  anujānāmi bhikkhave kasāvāni bhesajjāni nimbakasāvaṃ kuṭajak.  pakkavak.  nattamālak.  yāni vā pan’ aññāni pi atthi kasāvabhesajjāni, n’ eva khādaniye khādaniyattaṃ pharanti na bhojaniye bhojaniyattaṃ pharanti, tāni paṭiggahetvā yāvajīvaṃ pariharituṃ, sati paccaye paribhuñjituṃ.  asati paccaye paribhuñjantassa āpatti dukkaṭassā ’ti. |1| 
ภควโต เอตมตฺถํ อาโรเจสุํ.  อนุชานามิ ภิกฺขเว พนฺธนมตฺตํ อภินิสีทิตุนฺติ.      เตน โข ปน สมเยน ฉพฺพคฺคิยา ภิกฺขู สอุปาหนา คามํ ปวิสนฺติ.  มนุสฺสา อุชฺฌายนฺติ ขิยฺยนฺติ วิปาเจนฺติ “เสยฺยถาปิ คิหี กามโภคิโน”ติ.  ภควโต เอตมตฺถํ อาโรเจสุํ 
||4|| 
น ภิกฺขเว สอุปาหเนน คาโม ปวิสิตพฺโพ. 
tena kho pana samayena gilānānaṃ bhikkhūnaṃ paṇṇehi bhesajjehi attho hoti.  bhagavato etam atthaṃ ārocesuṃ.  anujānāmi bhikkhave paṇṇāni bhesajjāni nimbapaṇṇaṃ kuṭajap.  paṭolap.  sulasip.  kappāsikap.  yāni vā pan’ aññāni pi atthi paṇṇāni bhesajjāni, n’ eva khādaniye khādaniyattaṃ pharanti na bhojaniye bhojaniyattaṃ pharanti -- la --. |1| 
โย ปวิเสยฺย อาปตฺติ ทุกฺกฏสฺสาติ.  เตน โข ปน สมเยน อญฺญตโร ภิกฺขุ คิลาโน โหติ น สกฺโกติ วินา อุปาหเนน คามํ ปวิสิตุํ.  ภควโต เอตมตฺถํ อาโรเจสุํ.  อนุชานามิ ภิกฺขเว คิลาเนน ภิกฺขุนา สอุปาหเนน คามํ ปวิสิตุนฺติ. (คิหิวิกตานุญฺญาตาทิ นิฏฺฐิตา.)      (๑๕๗. โสณกุฏิกณฺณวตฺถุ) ๒๕๗. เตน โข ปน สมเยน อายสฺมา มหากจฺจาโน อวนฺตีสุ วิหรติ กุรรฆเร ปปตเก ปพฺพเต. 
||5|| 
เตน โข ปน สมเยน โสโณ อุปาสโก กุฏิกณฺโณ อายสฺมโต มหากจฺจานสฺส อุปฏฺฐาโก โหติ. 
tena kho pana samayena gilānānaṃ bhikkhūnaṃ phalehi bhesajjehi attho hoti --la-- anujānāmi bhikkhave phalāni bhesajjāni vilaṅgaṃ pippalaṃ maricaṃ harītakaṃ vibhītakaṃ āmalakaṃ goṭhaphalaṃ yāni vā pan’ aññāni pi atthi phalāni bhesajjāni, n’ eva khādaniye khādaniyattaṃ pharanti, na bhojaniye bhojaniyattaṃ pharanti --la--. |1| 
อถ โข โสโณ อุปาสโก กุฏิกณฺโณ เยนายสฺมา มหากจฺจาโน เตนุปสงฺกมิ อุปสงฺกมิตฺวา อายสฺมนฺตํ มหากจฺจานํ อภิวาเทตฺวา เอกมนฺตํ นิสีทิ. 
||6|| 
เอกมนฺตํ นิสินฺโน โข โสโณ อุปาสโก กุฏิกณฺโณ อายสฺมนฺตํ มหากจฺจานํ เอตทโวจ “ยถา ยถาหํ ภนฺเต อยฺเยน มหากจฺจาเนน ธมฺมํ เทสิตํ อาชานามิ นยิทํ สุกรํ อคารํ อชฺฌาวสตา เอกนฺตปริปุณฺณํ เอกนฺตปริสุทฺธํ สงฺขลิขิตํ พฺรหฺมจริยํ จริตุํ. 
tena kho pana samayena gilānānaṃ bhikkhūnaṃ jatūhi bhesajjehi attho hoti --la-- anujānāmi bhikkhave jatūni bhesajjāni hiṅgu hiṅgujatu hiṅgusipāṭikaṃ takaṃ takapattiṃ (202) takapaṇṇiṃ sajjulasaṃ yāni vā pan’ aññāni pi atthi jatūni bhesajjāni, n’ eva khādaniye khādaniyattaṃ pharanti -- la --. |1| 
อิจฺฉามหํ ภนฺเต เกสมสฺสุํ โอหาเรตฺวา กาสายานิ วตฺถานิ อจฺฉาเทตฺวา อคารสฺมา อนคาริยํ ปพฺพชิตุํ ปพฺพาเชตุ มํ ภนฺเต อยฺโย มหากจฺจาโน”ติ. ( ) 
||7|| 
“ทุกฺกรํ โข โสณ ยาวชีวํ เอกเสยฺยํ เอกภตฺตํ พฺรหฺมจริยํ จริตุํ. อิงฺฆ ตฺวํ โสณ ตตฺเถว อคาริกภูโต พุทฺธานํ สาสนํ อนุยุญฺช กาลยุตฺตํ เอกเสยฺยํ เอกภตฺตํ พฺรหฺมจริย”นฺติ. 
tena kho pana samayena gilānānaṃ bhikkhūnaṃ loṇehi bhesajjehi attho hoti --la-- anujānāmi bhikkhave loṇāni bhesajjāni sāmuddaṃ kāḷaloṇaṃ sindhavaṃ ubbhidaṃ bilaṃ yāni vā pan’ aññāni pi atthi loṇāni bhesajjāni, n’ eva khādaniye khādaniyattaṃ pharanti, na bhojaniye bhojaniyattaṃ pharanti, tāni {paṭiggahetvā} yāvajīvaṃ pariharituṃ, sati paccaye paribhuñjituṃ.  asati paccaye paribhuñjantassa āpatti dukkaṭassā ’ti. |1| 
อถ โข โสณสฺส อุปาสกสฺส กุฏิกณฺณสฺส โย อโหสิ ปพฺพชฺชาภิสงฺขาโร โส ปฏิปฺปสฺสมฺภิ.  ทุติยมฺปิ โข โสโณ อุปาสโก กุฏิกณฺโณ เปฯ ตติยมฺปิ โข โสโณ อุปาสโก กุฏิกณฺโณ 
||8|| 
เยนายสฺมา มหากจฺจาโน เตนุปสงฺกมิ อุปสงฺกมิตฺวา อายสฺมนฺตํ มหากจฺจานํ อภิวาเทตฺวา เอกมนฺตํ นิสีทิ. เอกมนฺตํ นิสินฺโน โข โสโณ อุปาสโก กุฏิกณฺโณ อายสฺมนฺตํ มหากจฺจานํ เอตทโวจ “ยถา ยถาหํ ภนฺเต อยฺเยน มหากจฺจาเนน ธมฺมํ เทสิตํ อาชานามิ นยิทํ สุกรํ อคารํ อชฺฌาวสตา เอกนฺตปริปุณฺณํ เอกนฺตปริสุทฺธํ สงฺขลิขิตํ พฺรหฺมจริยํ จริตุํ. อิจฺฉามหํ ภนฺเต เกสมสฺสุํ โอหาเรตฺวา กาสายานิ วตฺถานิ อจฺฉาเทตฺวา อคารสฺมา อนคาริยํ ปพฺพชิตุํ. ปพฺพาเชตุ มํ ภนฺเต อยฺโย มหากจฺจาโน”ติ. 
tena kho pana samayena āyasmato Ānandassa upajjhāyassa āyasmato Belaṭṭhasīsassa thullakacchābādho hoti.  tassa lasikāya cīvarāni kāye lagganti.  tāni bhikkhū udakena temetvā-temetvā apakaḍḍhanti.  addasa kho bhagavā senāsanacārikaṃ āhiṇḍanto te bhikkhū tāni cīvarāni udakena temetvā-temetvā apakaḍḍhante, disvāna yena te bhikkhū ten’ upasaṃkami, upasaṃkamitvā te bhikkhū etad avoca: kiṃ imassa bhikkhave bhikkhuno ābādho ’ti.  imassa bhante āyasmato thullakacchābādho, lasikāya cīvarāni kāye lagganti, tāni mayaṃ udakena temetvā-temetvā apakaḍḍhāmā ’ti. |1| 
อถ โข อายสฺมา มหากจฺจาโน โสณํ อุปาสกํ กุฏิกณฺณํ ปพฺพาเชสิ.  เตน โข ปน สมเยน อวนฺติทกฺขิณาปโถ อปฺปภิกฺขุโก โหติ.  อถ โข อายสฺมา มหากจฺจาโน ติณฺณํ วสฺสานํ อจฺจเยน กิจฺเฉน กสิเรน ตโต ตโต ทสวคฺคํ ภิกฺขุสงฺฆํ สนฺนิปาตาเปตฺวา อายสฺมนฺตํ โสณํ อุปสมฺปาเทสิ.( โสณกุฏิกณฺณวตฺถุ นิฏฺฐิตํ.)  (๑๕๘. มหากจฺจานสฺส ปญฺจวรปริทสฺสนา) อถ โข อายสฺมโต โสณสฺส วสฺสํวุฏฺฐสฺส รโหคตสฺส ปฏิสลฺลีนสฺส เอวํ เจตโส ปริวิตกฺโก อุทปาทิ “สุโตเยว โข เม โส ภควา เอทิโส จ เอทิโส จาติ น จ มยา สมฺมุขา ทิฏฺโฐ  คจฺเฉยฺยาหํ ตํ ภควนฺตํ ทสฺสนาย อรหนฺตํ สมฺมาสมฺพุทฺธํ สเจ มํ อุปชฺฌาโย อนุชาเนยฺยา”ติ. 
atha kho bhagavā etasmiṃ nidāne dhammikathaṃ katvā bhikkhū āmantesi: anujānāmi bhikkhave yassa kaṇḍu vā piḷakā vā assāvo vā thullakacchā vā ābādho kāyo vā duggandho, cuṇṇāni bhesajjāni, agilānassa chakanaṃ mattikaṃ rajananipakkaṃ.  anujānāmi bhikkhave udukkhalaṃ musalan ti. |2| 
อถ โข อายสฺมา โสโณ สายนฺหสมยํ ปฏิสลฺลานา วุฏฺฐิโต เยนายสฺมา มหากจฺจาโน เตนุปสงฺกมิ อุปสงฺกมิตฺวา อายสฺมนฺตํ มหากจฺจานํ อภิวาเทตฺวา เอกมนฺตํ นิสีทิ. เอกมนฺตํ นิสินฺโน โข อายสฺมา โสโณ อายสฺมนฺตํ มหากจฺจานํ เอตทโวจ  “อิธ มยฺหํ ภนฺเต รโหคตสฺส ปฏิสลฺลีนสฺส เอวํ เจตโส ปริวิตกฺโก อุทปาทิ ‘สุโต เยว โข เม โส ภควา เอทิโส จ เอทิโส จาติ น จ มยา สมฺมุขา ทิฏฺโฐ 
||9|| 
คจฺเฉยฺยาหํ ตํ ภควนฺตํ ทสฺสนาย อรหนฺตํ สมฺมาสมฺพุทฺธํ สเจ มํ อุปชฺฌาโย อนุชาเนยฺยา’ติ 
tena kho pana samayena gilānānaṃ bhikkhūnaṃ cuṇṇehi bhesajjehi cālitehi attho hoti --la-- anujānāmi bhikkhave cuṇṇacālanin ti.  saṇhehi attho hoti.  anujānāmi bhikkhave dussacālanin ti. |1| 
คจฺเฉยฺยาหํ ภนฺเต ตํ ภควนฺตํ ทสฺสนาย อรหนฺตํ สมฺมาสมฺพุทฺธํ สเจ มํ อุปชฺฌาโย อนุชานาตี”ติ.  “สาธุ สาธุ โสณ. คจฺฉ ตฺวํ โสณ ตํ ภควนฺตํ ทสฺสนาย อรหนฺตํ สมฺมาสมฺพุทฺธํ.  ทกฺขิสฺสสิ ตฺวํ โสณ ตํ ภควนฺตํ ปาสาทิกํ ปสาทนียํ สนฺตินฺทฺริยํ สนฺตมานสํ อุตฺตมทมถสมถํ อมนุปฺปตฺตํ ทนฺตํ คุตฺตํ ยตินฺทฺริยํ นาคํ. 
tena kho pana samayena aññatarassa bhikkhuno amanussikābādho hoti.  taṃ ācariyupajjhāyā upaṭṭhahantā nāsakkhiṃsu ārogaṃ kātuṃ.  so sūkarasūnaṃ gantvā āmakamaṃsaṃ khādi āmakalohitaṃ pivi, tassa so amanussikābādho paṭippassambhi.  bhagavato etam atthaṃ (203) ārocesuṃ.  anujānāmi bhikkhave amanussikābādhe āmakamaṃsaṃ āmakalohitan ti. |2| 
เตน หิ ตฺวํ โสณ มม วจเนน ภควโต ปาเท สิรสา วนฺท ‘อุปชฺฌาโย เม ภนฺเต อายสฺมา มหากจฺจาโน ภควโต ปาเท สิรสา วนฺทตี”’ติ. เอวญฺจ วเทหิ “อวนฺติทกฺขิณาปโถ ภนฺเต อปฺปภิกฺขุโก ติณฺณํ เม วสฺสานํ อจฺจเยน กิจฺเฉน กสิเรน ตโต ตโต ทสวคฺคํ ภิกฺขุสงฺฆํ สนฺนิปาตาเปตฺวา อุปสมฺปทํ อลตฺถํ  อปฺเปว นาม ภควา อวนฺติทกฺขิณาปเถ อปฺปตเรน คเณน อุปสมฺปทํ อนุชาเนยฺย.  อวนฺติทกฺขิณาปเถ ภนฺเต กณฺหุตฺตรา ภูมิ ขรา โคกณฺฏกหตา  อปฺเปว นาม ภควา อวนฺติทกฺขิณาปเถ คุณงฺคุณูปาหนํ อนุชาเนยฺย.  อวนฺติทกฺขิณาปเถ ภนฺเต นหานครุกา มนุสฺสา อุทกสุทฺธิกา 
||10|| 
อปฺเปว นาม ภควา อวนฺติทกฺขิณาปเถ ธุวนหานํ อนุชาเนยฺย. 
tena kho pana samayena aññatarassa bhikkhuno cakkhurogābādho hoti.  taṃ bhikkhuṃ pariggahetvā uccāram pi passāvam pi nikkhāmenti.  addasa kho bhagavā senāsanacārikaṃ āhiṇḍanto te bhikkhū taṃ bhikkhuṃ pariggahetvā uccāram pi passāvam pi nikkhāmente, disvāna yena te bhikkhū ten’ upasaṃkami, upasaṃkamitvā te bhikkhū etad avoca: kiṃ imassa bhikkhave bhikkhuno ābādho ’ti. |1| 
อวนฺติทกฺขิณาปเถ ภนฺเต จมฺมานิ อตฺถรณานิ เอฬกจมฺมํ อชจมฺมํ มิคจมฺมํ.  เสยฺยถาปิ ภนฺเต มชฺฌิเมสุ ชนปเทสุ เอรคู โมรคู มชฺชารู ชนฺตู เอวเมว โข ภนฺเต อวนฺติทกฺขิณาปเถ จมฺมานิ อตฺถรณานิ เอฬกจมฺมํ อชจมฺมํ มิคจมฺมํ  อปฺเปว นาม ภควา อวนฺติทกฺขิณาปเถ จมฺมานิ อตฺถรณานิ อนุชาเนยฺย เอฬกจมฺมํ อชจมฺมํ มิคจมฺมํ. 
imassa bhante āyasmato cakkhurogābādho, imaṃ mayaṃ pariggahetvā uccāram pi passāvam pi nikkhāmemā ’ti.  atha kho bhagavā etasmiṃ nidāne dhammiṃ kathaṃ katvā bhikkhū āmantesi: anujānāmi bhikkhave añjanaṃ kāḷañjanaṃ rasañjanaṃ sotañjanaṃ gerukaṃ kapallan ti.  añjanupapisanehi attho hoti --gha-- anujānāmi bhikkhave candanaṃ tagaraṃ kāḷānusāriyaṃ tālīsaṃ bhaddamuttakan ti. |2| 
เอตรหิ ภนฺเต มนุสฺสา นิสฺสีมคตานํ ภิกฺขูนํ จีวรํ เทนฺติ ‘อิมํ จีวรํ อิตฺถนฺนามสฺส เทมา”’ติ. เต อาคนฺตฺวา อาโรเจนฺติ ‘อิตฺถนฺนาเมหิ เต อาวุโส มนุสฺเสหิ จีวรํ ทินฺน’นฺติ เต กุกฺกุจฺจายนฺตา น สาทิยนฺติ ‘มา โน นิสฺสคฺคิยํ อโหสี’ติ  อปฺเปว นาม ภควา จีวเร ปริยายํ อาจิกฺเขยฺยา”ติ.  “เอวํ ภนฺเต”ติ โข อายสฺมา โสโณ อายสฺมโต มหากจฺจานสฺส ปฏิสฺสุตฺวา อุฏฺฐายาสนา อายสฺมนฺตํ มหากจฺจานํ อภิวาเทตฺวา ปทกฺขิณํ กตฺวา เสนาสนํ สํสาเมตฺวา ปตฺตจีวรมาทาย เยน สาวตฺถิ เตน ปกฺกามิ. 
||11|| 
อนุปุพฺเพน เยน สาวตฺถิ เชตวนํ อนาถปิณฺฑิกสฺส อาราโม เยน ภควา เตนุปสงฺกมิ อุปสงฺกมิตฺวา ภควนฺตํ อภิวาเทตฺวา เอกมนฺตํ นิสีทิ. 
tena kho pana samayena bhikkhū piṭṭhāni añjanāni thālikesu pi sarāvakesu pi nikkhipanti.  tiṇacuṇṇehi pi paṃsukehi pi okiriyanti --gha-- anujānāmi bhikkhave añjanin ti.  tena kho pana samayena chabbaggiyā bhikkhū uccāvacā añjaniyo dhārenti sovaṇṇamayaṃ rūpiyamayaṃ.  manussā ujjhāyanti khīyanti vipācenti: seyyathāpi gihikāmabhogino ’ti.  bhagavato etam atthaṃ ārocesuṃ.  na bhikkhave uccāvacā añjanī dhāretabbā.  yo dhāreyya, āpatti dukkaṭassa.  anujānāmi bhikkhave aṭṭhimayaṃ dantamayaṃ visāṇamayaṃ naḷamayaṃ veḷumayaṃ kaṭṭhamayaṃ jatumayaṃ phalamayaṃ lohamayaṃ saṅkhanābhimayan ti. |1| 
อถ โข ภควา อายสฺมนฺตํ อานนฺทํ อามนฺเตสิ “อิมสฺส อานนฺท อาคนฺตุกสฺส ภิกฺขุโน เสนาสนํ ปญฺญาเปหี”ติ.  อถ โข อายสฺมา อานนฺโท “ยสฺส โข มํ ภควา อาณาเปติ ‘อิมสฺส อานนฺท อาคนฺตุกสฺส ภิกฺขุโน เสนาสนํ ปญฺญาเปหี’ติ อิจฺฉติ ภควา เตน ภิกฺขุนา สทฺธึ เอกวิหาเร วตฺถุํ อิจฺฉติ ภควา อายสฺมตา โสเณน สทฺธึ เอกวิหาเร วตฺถุ”นฺติ ยสฺมึ วิหาเร ภควา วิหรติ ตสฺมึ วิหาเร อายสฺมโต โสณสฺส เสนาสนํ ปญฺญาเปสิ.  ๒๕๘. อถ โข ภควา พหุเทว รตฺตึ อชฺโฌกาเส วีตินาเมตฺวา วิหารํ ปาวิสิ.  อายสฺมาปิ โข โสโณ พหุเทว รตฺตึ อชฺโฌกาเส วีตินาเมตฺวา วิหารํ ปาวิสิ.  อถ โข ภควา รตฺติยา ปจฺจูสสมยํ ปจฺจุฏฺฐาย อายสฺมนฺตํ โสณํ อชฺเฌสิ “ปฏิภาตุ ตํ ภิกฺขุ ธมฺโม ภาสิตุ”นฺติ.  “เอวํ ภนฺเต”ติ โข อายสฺมา โสโณ ภควโต ปฏิสฺสุณิตฺวา สพฺพาเนว อฏฺฐกวคฺคิกานิ สเรน อภาสิ.  อถ โข ภควา อายสฺมโต โสณสฺส สรภญฺญปริโยสาเน อพฺภานุโมทิ “สาธุ สาธุ ภิกฺขุ. สุคฺคหิตานิ โข เต ภิกฺขุ อฏฺฐกวคฺคิกานิ สุมนสิกตานิ สูปธาริตานิ. กลฺยาณิยาปิ วาจาย สมนฺนาคโต วิสฺสฏฺฐาย อเนลคลาย อตฺถสฺส วิญฺญาปนิยา.  กติวสฺโสสิ ตฺวํ ภิกฺขู”ติ? 
tena kho pana samayena añjanī apārutā honti.  tiṇacuṇṇehi pi paṃsukehi pi okiriyanti --la-- anujānāmi bhikkhave apidhānan ti.  apidhānaṃ nipatati.  anujānāmi bhikkhave suttakena bandhitvā añjaniyā bandhitun ti.  añjanī nipatati.  anujānāmi bhikkhave suttakena sibbetun ti. |2| 
“เอกวสฺโสหํ ภควา”ติ.  “กิสฺส ปน ตฺวํ ภิกฺขุ เอวํ จิรํ อกาสี”ติ?  “จิรํ ทิฏฺโฐ เม ภนฺเต กาเมสุ อาทีนโว อปิ จ สมฺพาธา ฆราวาสา พหุกิจฺจา พหุกรณียา”ติ.  อถ โข ภควา เอตมตฺถํ วิทิตฺวา ตายํ เวลายํ อิมํ อุทานํ อุทาเนสิ “ทิสฺวา อาทีนวํ โลเก ญตฺวา ธมฺมํ นิรูปธึ. อริโย น รมตี ปาเป ปาเป น รมตี สุจี”ติฯ  อถ โข อายสฺมา โสโณ ปฏิสมฺโมทติ โข มํ ภควา อยํ ขฺวสฺส กาโล ยํ เม อุปชฺฌาโย ปริทสฺสีติ อุฏฺฐายาสนา เอกํสํ อุตฺตราสงฺคํ กริตฺวา ภควโต ปาเทสุ สิรสา นิปติตฺวา ภควนฺตํ เอตทโวจ “อุปชฺฌาโย เม ภนฺเต อายสฺมา มหากจฺจาโน ภควโต ปาเท สิรสา วนฺทติ เอวญฺจ วเทติ อวนฺติทกฺขิณาปโถ ภนฺเต อปฺปภิกฺขุโก. ติณฺณํ เม วสฺสานํ อจฺจเยน กิจฺเฉน กสิเรน ตโต ตโต ทสวคฺคํ ภิกฺขุสงฺฆํ สนฺนิปาตาเปตฺวา อุปสมฺปทํ อลตฺถํ อปฺเปว นาม ภควา อวนฺติทกฺขิณาปเถ อปฺปตเรน คเณน อุปสมฺปทํ อนุชาเนยฺย. อวนฺติทกฺขิณาปเถ ภนฺเต กณฺหุตฺตรา ภูมิ ขรา โคกณฺฏกหตา อปฺเปว นาม ภควา อวนฺติทกฺขิณาปเถ คุณงฺคุณูปาหนํ อนุชาเนยฺย. อวนฺติทกฺขิณาปเถ ภนฺเต นหานครุกา มนุสฺสา อุทกสุทฺธิกา อปฺเปว นาม ภควา อวนฺติทกฺขิณาปเถ ธุวนหานํ อนุชาเนยฺย. อวนฺติทกฺขิณาปเถ ภนฺเต จมฺมานิ อตฺถรณานิ เอฬกจมฺมํ อชจมฺมํ มิคจมฺมํ. เสยฺยถาปิ ภนฺเต มชฺฌิเมสุ ชนปเทสุ เอรคู โมรคู มชฺชารู ชนฺตู เอวเมว โข ภนฺเต อวนฺติทกฺขิณาปเถ จมฺมานิ อตฺถรณานิ เอฬกจมฺมํ อชจมฺมํ มิคจมฺมํ อปฺเปว นาม ภควา อวนฺติทกฺขิณาปเถ จมฺมานิ อตฺถรณานิ อนุชาเนยฺย เอฬกจมฺมํ อชจมฺมํ มิคจมฺมํ. เอตรหิ ภนฺเต มนุสฺสา นิสฺสีมคตานํ ภิกฺขูนํ จีวรํ เทนฺติ ‘อิมํ จีวรํ อิตฺถนฺนามสฺส เทมา’ติ. เต อาคนฺตฺวา อาโรเจนฺติ ‘อิตฺถนฺนาเมหิ เต อาวุโส มนุสฺเสหิ จีวรํ ทินฺน’นฺติ. เต กุกฺกุจฺจายนฺตา น สาทิยนฺติ ‘มา โน นิสฺสคฺคิยํ อโหสี’ติ อปฺเปว นาม ภควา จีวเร ปริยายํ อาจิกฺเขยฺยา”ติ.  ๒๕๙. อถ โข ภควา เอตสฺมึ นิทาเน เอตสฺมึ ปกรเณ ธมฺมึ กถํ กตฺวา ภิกฺขู อามนฺเตสิ “อวนฺติทกฺขิณาปโถ ภิกฺขเว อปฺปภิกฺขุโก. 
tena kho pana samayena bhikkhū aṅguliyā añjanti.  akkhīni dukkhāni honti --la-- anujānāmi bhikkhave añjanisalākan ti.  tena kho pana samayena chabbaggiyā bhikkhū uccāvacā añjanisalākāyo dhārenti sovaṇṇamayaṃ rūpiyamayaṃ.  ma-(204)nussā ujjhāyanti khīyanti vipācenti: seyyathāpi gihikāmabhogino ’ti --la-- na bhikkhave uccāvacā añjanisalākā dhāretabbā.  yo dhāreyya, āpatti dukkaṭassa.  anujānāmi bhikkhave aṭṭhimayaṃ --la-- saṅkhanābhimayan ti. |3| 
อนุชานามิ ภิกฺขเว สพฺพปจฺจนฺติเมสุ ชนปเทสุ วินยธรปญฺจเมน คเณน อุปสมฺปทํ.  ตตฺริเม ปจฺจนฺติมา ชนปทา ปุรตฺถิมาย ทิสาย คชงฺคลํ นาม นิคโม ตสฺส ปเรน มหาสาลา ตโต ปรา ปจฺจนฺติมา ชนปทา โอรโต มชฺเฌ  ปุรตฺถิมทกฺขิณาย ทิสาย สลฺลวตี นาม นที ตโต ปรา ปจฺจนฺติมา ชนปทา โอรโต มชฺเฌ  ทกฺขิณาย ทิสาย เสตกณฺณิกํ นาม นิคโม ตโต ปรา ปจฺจนฺติมา ชนปทา โอรโต มชฺเฌ  ปจฺฉิมาย ทิสาย ถูณํ นาม พฺราหฺมณคาโม ตโต ปรา ปจฺจนฺติมา ชนปทา โอรโต มชฺเฌ  อุตฺตราย ทิสาย อุสีรทฺธโช นาม ปพฺพโต ตโต ปรา ปจฺจนฺติมา ชนปทา โอรโต มชฺเฌ 
tena kho pana samayena añjanisalākā bhūmiyaṃ patitā pharusā hoti --la-- anujānāmi bhikkhave salākodhāniyan ti.  tenakho pana samayena bhikkhū añjanim pi añjanisalākam pi hatthena pariharanti --la-- anujānāmi bhikkhave añjanithavikan ti.  aṃsabandhako na hoti --la-- anujānāmi bhikkhave aṃsabandhakaṃ bandhanasuttakan ti. |4| 
อนุชานามิ ภิกฺขเว เอวรูเปสุ ปจฺจนฺติเมสุ ชนปเทสุ วินยธรปญฺจเมน คเณน อุปสมฺปทํ.  อวนฺติทกฺขิณาปเถ ภิกฺขเว กณฺหุตฺตรา ภูมิ ขรา โคกณฺฏกหตา.  อนุชานามิ ภิกฺขเว สพฺพปจฺจนฺติเมสุ ชนปเทสุ คุณงฺคุณูปาหนํ. 
||12|| 
อวนฺติทกฺขิณาปเถ ภิกฺขเว นหานครุกา มนุสฺสา อุทกสุทฺธิกา. 
tena kho pana samayena āyasmato Pilindavacchassa sīsābhitāpo hoti --la-- anujānāmi bhikkhave muddhani telakan ti.  na kkhamanīyo hoti --la-- anujānāmi bhikkhave natthukamman ti.  natthu galati --la-- anujānāmi bhikkhave natthukaraṇin ti.  tena kho pana samayena chabbaggiyā bhikkhū uccāvacā natthukaraṇiyo dhārenti sovaṇṇamayaṃ rūpiyamayaṃ.  manussā ujjhāyanti khīyanti vipācenti: seyyathāpi gihikāmabhogino ’ti.  na bhikkhave uccāvacā natthukaraṇī dhāretabbā.  yo dhāreyya, āpatti dukkaṭassa.  anujānāmi bhikkhave aṭṭhimayaṃ -- la -saṅkhanābhimayan ti. |1| 
อนุชานามิ ภิกฺขเว สพฺพปจฺจนฺติเมสุ ชนปเทสุ ธุวนหานํ.  อวนฺติทกฺขิณาปเถ ภิกฺขเว จมฺมานิ อตฺถรณานิ เอฬกจมฺมํ อชจมฺมํ มิคจมฺมํ.  เสยฺยถาปิ ภิกฺขเว มชฺฌิเมสุ ชนปเทสุ เอรคู โมรคู มชฺชารู ชนฺตู เอวเมว โข ภิกฺขเว อวนฺติทกฺขิณาปเถ จมฺมานิ อตฺถรณานิ เอฬกจมฺมํ อชจมฺมํ มิคจมฺมํ.  อนุชานามิ ภิกฺขเว สพฺพปจฺจนฺติเมสุ ชนปเทสุ จมฺมานิ อตฺถรณานิ เอฬกจมฺมํ อชจมฺมํ มิคจมฺมํ.  อิธ ปน ภิกฺขเว มนุสฺสา นิสฺสีมคตานํ ภิกฺขูนํ จีวรํ เทนฺติ ‘อิมํ จีวรํ อิตฺถนฺนามสฺส เทมา’ติ.  อนุชานามิ ภิกฺขเว สาทิตุํ  น ตาว ตํ คณนูปคํ ยาว น หตฺถํ คจฺฉตี”ติ. (มหากจฺจานสฺส ปญฺจวรปริทสฺสนา นิฏฺฐิตา.)   
natthuṃ visamaṃ āsiñcanti.  anujānāmi bhikkhave yamakanatthukaraṇin ti.  na kkhamanīyo hoti.  anujānāmi bhikkhave dhūmaṃ pātun ti.  tañ ñeva vaṭṭiṃ ālimpetvā pivanti.  kaṇṭhaṃ dahati --la-- anujānāmi bhikkhave dhūmanettan ti.  tena kho pana samayena chabbaggiyā bhikkhū uccāvacāni dhūmanettāni dhārenti ... (comp.1.) ... saṅkhanābhimayan ti.  tena kho pana samayena dhūmanettāni apārutāni honti, pāṇakā pavisanti --la-- anujānāmi bhikkhave apidhānan ti.  tena kho pana samayena bhikkhū dhūmanettāni hatthena pariharanti.  anujānāmi bhikkhave dhūmanettathavikan ti.  ekato ghaṃsiyanti --la-- anujānāmi bhikkhave yamakathavikan ti.  aṃsabandhako na hoti --la-- anujānāmi bhikkhave aṃsabandhakaṃ bandhanasuttakan ti. |2| 
  จมฺมกฺขนฺธโก ปญฺจโม.    (๑๕๙. ตสฺสุทฺทานํ) ราชา จ มาคโธ โสโณ อสีติสหสฺสิสฺสโร. สาคโต คิชฺฌกูฏสฺมึ พหุํ ทสฺเสติ อุตฺตรึฯ  ปพฺพชฺชารทฺธภิชฺชึสุ วีณํ เอกปลาสิกํ. นีลา ปีตา โลหิติกา มญฺชิฏฺฐา กณฺหเมว จฯ  มหารงฺคมหานามา วทฺธิกา จ ปฏิกฺขิปิ. ขลฺลกา ปุฏปาลิ จ ตูลติตฺติรเมณฺฑชาฯ  วิจฺฉิกา โมรจิตฺรา จ สีหพฺยคฺฆา จ ทีปิกา. อชินุทฺทา มชฺชารี จ กาฬลุวกปริกฺขฏาฯ  ผลิตุปาหนา ขิลา โธตขาณุขฏขฏา. ตาลเวฬุติณํ เจว มุญฺชปพฺพชหินฺตาลาฯ  กมลกมฺพลโสวณฺณา รูปิกา มณิเวฬุริยา. ผลิกา กํสกาจา จ ติปุสีสญฺจ ตมฺพกาฯ  คาวี ยานํ คิลาโน จ ปุริสายุตฺตสิวิกา. สยนานิ มหาจมฺมา โคจมฺเมหิ จ ปาปโกฯ  คิหีนํ จมฺมวทฺเธหิ ปวิสนฺติ คิลายโน. มหากจฺจายโน โสโณ สเรน อฏฺฐกวคฺคิกํฯ  อุปสมฺปทํ ปญฺจหิ คุณงฺคุณา ธุวสินา. จมฺมตฺถรณานุญฺญาสิ น ตาว คณนูปคํ. อทาสิ เม วเร ปญฺจ โสณตฺเถรสฺส นายโกติฯ (อิมมฺหิ ขนฺธเก วตฺถูนิ เตสฏฺฐิ.)(จมฺมกฺขนฺธโก นิฏฺฐิโต.) 
||13|| 
(๖. เภสชฺชกฺขนฺธโก ๑๖๐. ปญฺจเภสชฺชกถา) ๒๖๐. เตน สมเยน พุทฺโธ ภควา สาวตฺถิยํ วิหรติ เชตวเน อนาถปิณฺฑิกสฺส อาราเม. 
tena kho pana samayena āyasmato Pilindavacchassa (205) vātābādho hoti.  vejjā evaṃ āhaṃsu: telaṃ pacitabban ti.  anujānāmi bhikkhave telapākan ti.  tasmiṃ kho pana telapāke majjaṃ pakkhipitabbaṃ hoti.  anujānāmi bhikkhave telapāke majjaṃ pakkhipitun ti.  tena kho pana samayena chabbaggiyā bhikkhū atipakkhittamajjāni telāni pacanti.  tāni pivitvā majjanti.  na bhikkhave atipakkhittamajjaṃ telaṃ pātabbaṃ.  yo piveyya, yathādhammo kāretabbo.  anujānāmi bhikkhave yasmiṃ telapāke majjassa na vaṇṇo na gandho na raso paññāyati, evarūpaṃ majjapakkhittaṃ telaṃ pātun ti. |1| 
เตน โข ปน สมเยน ภิกฺขูนํ สารทิเกน อาพาเธน ผุฏฺฐานํ ยาคุปิ ปีตา อุคฺคจฺฉติ ภตฺตมฺปิ ภุตฺตํ อุคฺคจฺฉติ. เต เตน กิสา โหนฺติ ลูขา ทุพฺพณฺณา อุปฺปณฺฑุปฺปณฺฑุกชาตา ธมนิสนฺถตคตฺตา.  อทฺทสา โข ภควา เต ภิกฺขู กิเส ลูเข ทุพฺพณฺเณ อุปฺปณฺฑุปฺปณฺฑุกชาเต ธมนิสนฺถตคตฺเต ทิสฺวาน อายสฺมนฺตํ อานนฺทํ อามนฺเตสิ “กึ นุ โข อานนฺท เอตรหิ ภิกฺขู กิสา ลูขา ทุพฺพณฺณา อุปฺปณฺฑุปฺปณฺฑุกชาตา ธมนิสนฺถตคตฺตา”ติ?  “เอตรหิ ภนฺเต ภิกฺขูนํ สารทิเกน อาพาเธน ผุฏฺฐานํ ยาคุปิ ปีตา อุคฺคจฺฉติ ภตฺตมฺปิ ภุตฺตํ อุคฺคจฺฉติ. เต เตน กิสา โหนฺติ ลูขา ทุพฺพณฺณา อุปฺปณฺฑุปฺปณฺฑุกชาตา ธมนิสนฺถตคตฺตา”ติ.  อถ โข ภควโต รโหคตสฺส ปฏิสลฺลีนสฺส เอวํ เจตโส ปริวิตกฺโก อุทปาทิ “เอตรหิ โข ภิกฺขูนํ สารทิเกน อาพาเธน ผุฏฺฐานํ ยาคุปิ ปีตา อุคฺคจฺฉติ ภตฺตมฺปิ ภุตฺตํ อุคฺคจฺฉติ. เต เตน กิสา โหนฺติ ลูขา ทุพฺพณฺณา อุปฺปณฺฑุปฺปณฺฑุกชาตา ธมนิสนฺถตคตฺตา.  กึ นุ โข อหํ ภิกฺขูนํ เภสชฺชํ อนุชาเนยฺยํ ยํ เภสชฺชญฺเจว อสฺส เภสชฺชสมฺมตญฺจ โลกสฺส อาหารตฺถญฺจ ผเรยฺย น จ โอฬาริโก อาหาโร ปญฺญาเยยฺยา”ติ?  อถ โข ภควโต เอตทโหสิ “อิมานิ โข ปญฺจ เภสชฺชานิ เสยฺยถิทํ สปฺปิ นวนีตํ เตลํ มธุ ผาณิตํ เภสชฺชานิ เจว เภสชฺชสมฺมตานิ จ โลกสฺส อาหารตฺถญฺจ ผรนฺติ น จ โอฬาริโก อาหาโร ปญฺญายติ.  ยํนูนาหํ ภิกฺขูนํ อิมานิ ปญฺจ เภสชฺชานิ อนุชาเนยฺยํ กาเล ปฏิคฺคเหตฺวา กาเล ปริภุญฺชิตุ”นฺติ.  อถ โข ภควา สายนฺหสมยํ ปฏิสลฺลานา วุฏฺฐิโต เอตสฺมึ นิทาเน เอตสฺมึ ปกรเณ ธมฺมึ กถํ กตฺวา ภิกฺขู อามนฺเตสิ “อิธ มยฺหํ ภิกฺขเว รโหคตสฺส ปฏิสลฺลีนสฺส เอวํ เจตโส ปริวิตกฺโก อุทปาทิ ‘เอตรหิ โข ภิกฺขูนํ สารทิเกน อาพาเธน ผุฏฺฐานํ ยาคุปิ ปีตา อุคฺคจฺฉติ ภตฺตมฺปิ ภุตฺตํ อุคฺคจฺฉติ. เต เตน กิสา โหนฺติ ลูขา ทุพฺพณฺณา อุปฺปณฺฑุปฺปณฺฑุกชาตา ธมนิสนฺถตคตฺตา. กึ นุ โข อหํ ภิกฺขูนํ เภสชฺชํ อนุชาเนยฺยํ ยํ เภสชฺชญฺเจว อสฺส เภสชฺชสมฺมตญฺจ โลกสฺส อาหารตฺถญฺจ ผเรยฺย น จ โอฬาริโก อาหาโร  ปญฺญาเยยฺยา’ติ.  ตสฺส มยฺหํ ภิกฺขเว เอตทโหสิ ‘อิมานิ โข ปญฺจ เภสชฺชานิ เสยฺยถิทํ สปฺปิ นวนีตํ เตลํ มธุ ผาณิตํ เภสชฺชานิ เจว เภสชฺชสมฺมตานิ จ โลกสฺส อาหารตฺถญฺจ ผรนฺติ น จ โอฬาริโก อาหาโร ปญฺญายติ. ยํนูนาหํ ภิกฺขูนํ อิมานิ ปญฺจ เภสชฺชานิ อนุชาเนยฺยํ กาเล ปฏิคฺคเหตฺวา กาเล ปริภุญฺชิตุ’นฺติ. 
tena kho pana samayena bhikkhūnaṃ bahuṃ atipakkhittamajjaṃ telaṃ pakkaṃ hoti.  atha kho bhikkhūnaṃ etad ahosi: kathaṃ nu kho atipakkhittamajje tele paṭipajjitabban ti.  anujānāmi bhikkhave abbhañjanaṃ adhiṭṭhātun ti.  tena kho pana samayena āyasmato Pilindavacchassa bahutaraṃ telaṃ pakkaṃ hoti, telabhājanaṃ na saṃvijjati.  anujānāmi bhikkhave tīṇi tumbāni lohatumbaṃ kaṭṭhatumbaṃ phalatumban ti. |2| 
อนุชานามิ ภิกฺขเว ตานิ ปญฺจ เภสชฺชานิ กาเล ปฏิคฺคเหตฺวา กาเล ปริภุญฺชิตุ”นฺติ.  ๒๖๑. เตน โข ปน สมเยน ภิกฺขู ตานิ ปญฺจ เภสชฺชานิ กาเล ปฏิคฺคเหตฺวา กาเล ปริภุญฺชนฺติ.  เตสํ ยานิปิ ตานิ ปากติกานิ ลูขานิ โภชนานิ ตานิปิ นจฺฉาเทนฺติ ปเคว เสเนสิตานิ.  เต เตน เจว สารทิเกน อาพาเธน ผุฏฺฐา อิมินา จ ภตฺตาจฺฉาทเกน ตทุภเยน ภิยฺโยโสมตฺตาย กิสา โหนฺติ ลูขา ทุพฺพณฺณา อุปฺปณฺฑุปฺปณฺฑุกชาตา ธมนิสนฺถตคตฺตา.  อทฺทสา โข ภควา เต ภิกฺขู ภิยฺโยโสมตฺตาย กิเส ลูเข ทุพฺพณฺเณ อุปฺปณฺฑุปฺปณฺฑุกชาเต ธมนิสนฺถตคตฺเต ทิสฺวาน อายสฺมนฺตํ อานนฺทํ อามนฺเตสิ “กึ นุ โข อานนฺท เอตรหิ ภิกฺขู ภิยฺโยโสมตฺตาย กิสา ลูขา ทุพฺพณฺณา อุปฺปณฺฑุปฺปณฺฑุกชาตา ธมนิสนฺถตคตฺตา”ติ? 
tena kho pana samayena āyasmato Pilindavacchassa aṅgavāto hoti.  anujānāmi bhikkhave sedakamman ti.  na kkhamanīyo hoti.  anujānāmi bhikkhave sambhārasedan ti.  na kkhamanīyo hoti.  anujānāmi bhikkhave mahāsedan ti.  na kkhamanīyo hoti.  anujānāmi bhikkhave bhaṅgodakan ti.  na kkhamanīyo hoti.  anujānāmi bhikkhave udakakoṭṭhakan ti. |3| 
“เอตรหิ ภนฺเต ภิกฺขู ตานิ จ ปญฺจ เภสชฺชานิ กาเล ปฏิคฺคเหตฺวา กาเล ปริภุญฺชนฺติ. เตสํ ยานิปิ ตานิ ปากติกานิ ลูขานิ โภชนานิ ตานิปิ นจฺฉาเทนฺติ ปเคว เสเนสิกานิ. เต เตน เจว สารทิเกน อาพาเธน ผุฏฺฐา อิมินา จ ภตฺตาจฺฉาทเกน  ตทุภเยน ภิยฺโยโสมตฺตาย กิสา ลูขา ทุพฺพณฺณา อุปฺปณฺฑุปฺปณฺฑุกชาตา ธมนิสนฺถตคตฺตา”ติ.  อถ โข ภควา เอตสฺมึ นิทาเน เอตสฺมึ ปกรเณ ธมฺมึ กถํ กตฺวา ภิกฺขู อามนฺเตสิ “อนุชานามิ ภิกฺขเว ตานิ ปญฺจ เภสชฺชานิ ปฏิคฺคเหตฺวา กาเลปิ วิกาเลปิ ปริภุญฺชิตุ”นฺติ.      ๒๖๒. เตน โข ปน สมเยน คิลานานํ ภิกฺขูนํ วเสหิ เภสชฺเชหิ อตฺโถ โหติ.  ภควโต เอตมตฺถํ อาโรเจสุํ.  อนุชานามิ ภิกฺขเว วสานิ เภสชฺชานิ อจฺฉวสํ มจฺฉวสํ สุสุกาวสํ (p๒) สูกรวสํ คทฺรภวสํ กาเล ปฏิคฺคหิตํ กาเล นิปฺปกฺกํ กาเล สํสฏฺฐํ เตลปริโภเคน ปริภุญฺชิตุํ. วิกาเล เจ ภิกฺขเว ปฏิคฺคหิตํ วิกาเล นิปฺปกฺกํ วิกาเล สํสฏฺฐํ ตํ เจ ปริภุญฺเชยฺย อาปตฺติ ติณฺณํ ทุกฺกฏานํ.  กาเล เจ ภิกฺขเว ปฏิคฺคหิตํ วิกาเล นิปฺปกฺกํ วิกาเล สํสฏฺฐํ ตํ เจ ปริภุญฺเชยฺย อาปตฺติ ทฺวินฺนํ ทุกฺกฏานํ.  กาเล เจ ภิกฺขเว ปฏิคฺคหิตํ กาเล นิปฺปกฺกํ วิกาเล สํสฏฺฐํ ตํ เจ ปริภุญฺเชยฺย อาปตฺติ ทุกฺกฏสฺส. 
tena kho pana samayena āyasmato Pilindavacchassa pabbavāto hoti.  anujānāmi bhikkhave lohitaṃ mocetun ti.  na kkhamanīyo hoti.  anujānāmi bhikkhave lohitaṃ mocetvā visāṇena gahetun ti.  tena kho pana samayena āyasmato Pilindavacchassa pādā phālitā honti.  anujānāmi bhikkhave pādabbhañjanan ti.  na kkhamanīyo hoti.  anujānāmi bhikkhave pajjaṃ abhisaṃkharitun ti.  tena kho pana samayena aññatarassa bhikkhuno gaṇḍābādho hoti.  anujānāmi bhikkhave satthakammaṃ.  kasāvodakena attho hoti.  anujānāmi bhikkhave kasāvodakan ti.  tilakakkena attho hoti.  anujānāmi bhikkhave tilakakkan ti. |4| 
กาเล เจ ภิกฺขเว ปฏิคฺคหิตํ กาเล นิปฺปกฺกํ กาเล สํสฏฺฐํ ตํ เจ ปริภุญฺเชยฺย อนาปตฺตีติ. (ปญฺจเภสชฺชกถา นิฏฺฐิตา.)      (๑๖๑. มูลาทิเภสชฺชกถา) ๒๖๓. เตน โข ปน สมเยน คิลานานํ ภิกฺขูนํ มูเลหิ เภสชฺเชหิ อตฺโถ โหติ.  ภควโต เอตมตฺถํ อาโรเจสุํ.  อนุชานามิ ภิกฺขเว มูลานิ เภสชฺชานิ หลิทฺทึ สิงฺคิเวรํ วจํ วจตฺถํ อติวิสํ กฏุกโรหิณึ อุสีรํ ภทฺทมุตฺตกํ ยานิ วา ปนญฺญานิปิ อตฺถิ มูลานิ เภสชฺชานิ เนว ขาทนีเย ขาทนียตฺถํ ผรนฺติ น โภชนีเย โภชนียตฺถํ ผรนฺติ ตานิ ปฏิคฺคเหตฺวา ยาวชีวํ ปริหริตุํ สติ ปจฺจเย ปริภุญฺชิตุํ.  อสติ ปจฺจเย ปริภุญฺชนฺตสฺส อาปตฺติ ทุกฺกฏสฺสาติ.  เตน โข ปน สมเยน คิลานานํ ภิกฺขูนํ มูเลหิ เภสชฺเชหิ ปิฏฺเฐหิ อตฺโถ โหติ.  ภควโต เอตมตฺถํ อาโรเจสุํ.  อนุชานามิ ภิกฺขเว นิสทํ นิสทโปตกนฺติ.      เตน โข ปน สมเยน คิลานานํ ภิกฺขูนํ กสาเวหิ เภสชฺเชหิ อตฺโถ โหติ.  ภควโต เอตมตฺถํ อาโรเจสุํ. 
kabaḷikāya attho hoti.  anujānāmi bhikkhave kabaḷikan ti.  vaṇabandhanacolena attho hoti.  anujānāmi bhikkhave vaṇabandhanacolan ti.  vaṇo kaṇḍuvati.  anujānāmi bhikkhave sāsapakuṭṭena phositun ti.  vaṇo kilijjittha.  (206) anujānāmi bhikkhave dhūmaṃ kātun ti.  vaṇamaṃsaṃ vuṭṭhāti.  anujānāmi bhikkhave loṇasakkharikāya chinditun ti.  vaṇo na rūhati.  anujānāmi bhikkhave vaṇatelan ti.  telaṃ galati.  bhagavato etam atthaṃ ārocesuṃ.  anujānāmi bhikkhave vikāsikaṃ sabbaṃ vaṇapaṭikamman ti. |5| 
อนุชานามิ ภิกฺขเว กสาวานิ เภสชฺชานิ นิมฺพกสาวํ กุฏชกสาวํ ปโฏลกสาวํ  ผคฺควกสาวํ  นตฺตมาลกสาวํ  ยานิ วา ปนญฺญานิปิ อตฺถิ กสาวานิ เภสชฺชานิ เนว ขาทนีเย ขาทนียตฺถํ ผรนฺติ น โภชนีเย โภชนียตฺถํ ผรนฺติ ตานิ ปฏิคฺคเหตฺวา ยาวชีวํ ปริหริตุํ สติ ปจฺจเย ปริภุญฺชิตุํ.  อสติ ปจฺจเย ปริภุญฺชนฺตสฺส อาปตฺติ ทุกฺกฏสฺสาติ.      เตน โข ปน สมเยน คิลานานํ ภิกฺขูนํ ปณฺเณหิ เภสชฺเชหิ อตฺโถ โหติ.  ภควโต เอตมตฺถํ อาโรเจสุํ.  อนุชานามิ ภิกฺขเว ปณฺณานิ เภสชฺชานิ นิมฺพปณฺณํ กุฏชปณฺณํ  ปโฏลปณฺณํ  สุลสิปณฺณํ  กปฺปาสปณฺณํ  ยานิ วา ปนญฺญานิปิ อตฺถิ ปณฺณานิ เภสชฺชานิ เนว ขาทนีเย ขาทนียตฺถํ ผรนฺติ น โภชนีเย โภชนียตฺถํ ผรนฺติฯเปฯ.   
tena kho pana samayena aññataro bhikkhu ahinā daṭṭho hoti.  bhagavato etam atthaṃ ārocesuṃ.  anujānāmi bhikkhave cattāri mahāvikaṭāni dātuṃ gūthaṃ muttaṃ chārikaṃ mattikan ti.  atha kho bhikkhūnaṃ etad ahosi: appaṭiggahitāni nu kho udāhu paṭiggahetabbānīti.  bhagavato etam atthaṃ ārocesuṃ.  anujānāmi bhikkhave sati kappiyakārake paṭiggahāpetuṃ, asati kappiyakārake sāmaṃ gahetvā paribhuñjitun ti.  tena kho pana samayena aññatarena bhikkhunā visaṃ pītaṃ hoti.  anujānāmi bhikkhave gūthaṃ pāyetun ti.  atha kho bhikkhūnaṃ etad ahosi: appaṭiggahito nu kho udāhu paṭiggahāpetabbo ’ti.  anujānāmi bhikkhave yaṃ karonto paṭiggaṇhāti sv eva paṭiggaho kato, na puna paṭiggahāpetabbo ’ti. |6| 
  เตน โข ปน สมเยน คิลานานํ ภิกฺขูนํ ผเลหิ เภสชฺเชหิ อตฺโถ โหติ. ภควโต เอตมตฺถํ อาโรเจสุํ. อนุชานามิ ภิกฺขเว ผลานิ เภสชฺชานิ พิลงฺคํ ปิปฺปลึ มริจํ หรีตกํ วิภีตกํ อามลกํ โคฏฺฐผลํ ยานิ วา ปนญฺญานิปิ อตฺถิ ผลานิ เภสชฺชานิ เนว ขาทนีเย ขาทนียตฺถํ ผรนฺติ น โภชนีเย โภชนียตฺถํ ผรนฺติฯเปฯ.      เตน โข ปน สมเยน คิลานานํ ภิกฺขูนํ ชตูหิ เภสชฺเชหิ อตฺโถ โหติ. ภควโต เอตมตฺถํ อาโรเจสุํ. อนุชานามิ ภิกฺขเว ชตูนิ เภสชฺชานิ หิงฺคุํ หิงฺคุชตุํ หิงฺคุสิปาฏิกํ ตกํ ตกปตฺตึ ตกปณฺณึ สชฺชุลสํ ยานิ วา ปนญฺญานิปิ อตฺถิ ชตูนิ เภสชฺชานิ เนว ขาทนีเย ขาทนียตฺถํ ผรนฺติฯเปฯ.      เตน โข ปน สมเยน คิลานานํ ภิกฺขูนํ โลเณหิ เภสชฺเชหิ อตฺโถ โหติ. ภควโต เอตมตฺถํ อาโรเจสุํ. อนุชานามิ ภิกฺขเว โลณานิ เภสชฺชานิ สามุทฺทํ กาฬโลณํ สินฺธวํ อุพฺภิทํ พิลํ ยานิ วา ปนญฺญานิปิ อตฺถิ โลณานิ เภสชฺชานิ เนว ขาทนีเย ขาทนียตฺถํ ผรนฺติ น โภชนีเย โภชนียตฺถํ ผรนฺติ ตานิ ปฏิคฺคเหตฺวา ยาวชีวํ ปริหริตุํ สติ ปจฺจเย ปริภุญฺชิตุํ.  อสติ ปจฺจเย ปริภุญฺชนฺตสฺส อาปตฺติ ทุกฺกฏสฺสาติ.   
tena kho pana samayena aññatarassa bhikkhuno gharadinnakābādho hoti.  anujānāmi bhikkhave sītāloḷiṃ pāyetun ti.  tena kho pana samayena aññataro bhikkhu duṭṭhagahaṇiko hoti.  anujānāmi bhikkhave āmisakhāraṃ pāyetun ti.  tena kho pana samayena aññatarassa bhikkhuno paṇḍurogābādho hoti.  anujānāmi bhikkhave muttaharītakaṃ pāyetun ti.  tena kho pana samayena aññatarassa bhikkhuno chavidosābādho hoti.  anujānāmi bhikkhave gandhālepaṃ kātun ti.  tena kho pana samayena aññataro bhikkhu abhisannakāyo hoti.  anujānāmi bhikkhave virecanaṃ pātun ti.  acchakañjiyā attho hoti.  anujānāmi bhikkhave acchakañjikan ti.  akaṭayūsena attho hoti.  anujānāmi bhikkhave akaṭayūsan ti.  kaṭākaṭena attho hoti.  anujānāmi bhikkhave kaṭākaṭan ti.  paṭicchādaniyena attho hoti.  anujānāmi bhikkhave paṭicchādaniyan ti. |7| 
  ๒๖๔. เตน โข ปน สมเยน อายสฺมโต อานนฺทสฺส อุปชฺฌายสฺส อายสฺมโต เพลฏฺฐสีสสฺส ถุลฺลกจฺฉาพาโธ โหติ.  ตสฺส ลสิกาย จีวรานิ กาเย ลคฺคนฺติ  ตานิ ภิกฺขู อุทเกน เตเมตฺวา เตเมตฺวา อปกฑฺฒนฺติ.  อทฺทสา โข ภควา เสนาสนจาริกํ อาหิณฺฑนฺโต เต ภิกฺขู ตานิ จีวรานิ อุทเกน เตเมตฺวา เตเมตฺวา อปกฑฺฒนฺเต ทิสฺวาน เยน เต ภิกฺขู เตนุปสงฺกมิ อุปสงฺกมิตฺวา เต ภิกฺขู เอตทโวจ “กึ อิมสฺส ภิกฺขเว ภิกฺขุโน อาพาโธ”ติ?  “อิมสฺส ภนฺเต อายสฺมโต ถุลฺลกจฺฉาพาโธ ลสิกาย จีวรานิ กาเย ลคฺคนฺติ ตานิ มยํ อุทเกน เตเมตฺวา เตเมตฺวา อปกฑฺฒามา”ติ  อถ โข ภควา เอตสฺมึ นิทาเน เอตสฺมึ ปกรเณ ธมฺมึ กถํ กตฺวา ภิกฺขู อามนฺเตสิ “อนุชานามิ ภิกฺขเว ยสฺส กณฺฑุ วา ปิฬกา วา อสฺสาโว วา ถุลฺลกจฺฉุ วา อาพาโธ กาโย วา ทุคฺคนฺโธ จุณฺณานิ เภสชฺชานิ อคิลานสฺส ฉกณํ มตฺติกํ รชนนิปฺปกฺกํ.  อนุชานามิ ภิกฺขเว อุทุกฺขลํ มุสล”นฺติ.      เตน โข ปน สมเยน คิลานานํ ภิกฺขูนํ จุณฺเณหิ เภสชฺเชหิ จาลิเตหิ อตฺโถ โหติ ภควโต เอตมตฺถํ อาโรเจสุํ. อนุชานามิ ภิกฺขเว จุณฺณจาลินินฺติ.  สณฺเหหิ อตฺโถ โหติ. (ภควโต เอตมตฺถํ อาโรเจสุํ.)  อนุชานามิ ภิกฺขเว ทุสฺสจาลินินฺติ.  เตน โข ปน สมเยน อญฺญตรสฺส ภิกฺขุโน อมนุสฺสิกาพาโธ โหติ.  ตํ อาจริยุปชฺฌายา อุปฏฺฐหนฺตา นาสกฺขิ๎สุ อโรคํ กาตุํ.  โส สูกรสูนํ คนฺตฺวา อามกมํสํ ขาทิ อามกโลหิตํ ปิวิ ตสฺส โส อมนุสฺสิกาพาโธ ปฏิปฺปสฺสมฺภิ.  ภควโต เอตมตฺถํ อาโรเจสุํ  อนุชานามิ ภิกฺขเว อมนุสฺสิกาพาเธ อามกมํสํ อามกโลหิตนฺติ. 
||14|| 
 
tena kho pana samayena āyasmā Pilindavaccho Rājagahe pabbhāraṃ sodhāpeti leṇaṃ kattukāmo.  atha kho rājā Māgadho Seniyo Bimbisāro yenāyasmā Pilindavaccho ten’ upasaṃkami, upasaṃkamitvā āyasmantaṃ Pilin-(207)davacchaṃ abhivādetvā ekamantaṃ nisīdi.  ekamantaṃ nisinno kho rājā Māgadho Seniyo Bimbisāro āyasmantaṃ Pilindavacchaṃ etad avoca: kiṃ bhante thero kārāpetīti.  pabbhāraṃ mahārāja sodhāpemi leṇaṃ kattukāmo ’ti.  attho bhante ayyassa ārāmikenā ’ti.  na kho mahārāja bhagavatā ārāmiko anuññāto ’ti.  tena hi bhante bhagavantaṃ paṭipucchitvā mama āroceyyāthā ’ti.  evaṃ mahārājā ’ti kho āyasmā Pilindavaccho rañño Māgadhassa Seniyassa Bimbisārassa paccassosi. |1| 
  ๒๖๕. เตน โข ปน สมเยน อญฺญตรสฺส ภิกฺขุโน จกฺขุโรคาพาโธ โหติ.  ตํ ภิกฺขู ปริคฺคเหตฺวา อุจฺจารมฺปิ ปสฺสาวมฺปิ นิกฺขาเมนฺติ.  อทฺทสา โข ภควา เสนาสนจาริกํ อาหิณฺฑนฺโต เต ภิกฺขู ตํ ภิกฺขุํ ปริคฺคเหตฺวา อุจฺจารมฺปิ ปสฺสาวมฺปิ นิกฺขาเมนฺเต ทิสฺวาน เยน เต ภิกฺขู เตนุปสงฺกมิ อุปสงฺกมิตฺวา เต ภิกฺขู เอตทโวจ “กึ อิมสฺส ภิกฺขเว ภิกฺขุโน อาพาโธ”ติ?  “อิมสฺส ภนฺเต อายสฺมโต จกฺขุโรคาพาโธ. อิมํ มยํ ปริคฺคเหตฺวา อุจฺจารมฺปิ ปสฺสาวมฺปิ นิกฺขาเมมา”ติ.  อถ โข ภควา เอตสฺมึ นิทาเน เอตสฺมึ ปกรเณ ธมฺมึ กถํ กตฺวา ภิกฺขู อามนฺเตสิ “อนุชานามิ ภิกฺขเว อญฺชนํ กาฬญฺชนํ รสญฺชนํ โสตญฺชนํ เครุกํ กปลฺล”นฺติ.  อญฺชนูปปิสเนหิ อตฺโถ โหติ. ภควโต เอตมตฺถํ อาโรเจสุํ. อนุชานามิ ภิกฺขเว จนฺทนํ ตครํ กาฬานุสาริยํ ตาลีสํ ภทฺทมุตฺตกนฺติ.   
atha kho āyasmā Pilindavaccho rājānaṃ Māgadhaṃ Seniyaṃ Bimbisāraṃ dhammiyā kathāya sandassesi samādapesi samuttejesi sampahaṃsesi.  atha kho rājā Māgadho Seniyo Bimbisāro āyasmatā Pilindavacchena dhammiyā kathāya sandassito samādapito samuttejito sampahaṃsito uṭṭhāyāsanā āyasmantaṃ Pilindavacchaṃ abhivādetvā padakkhiṇaṃ katvā pakkāmi.  atha kho āyasmā Pilindavaccho bhagavato santike dūtaṃ pāhesi: rājā bhante Māgadho Seniyo Bimbisāro ārāmikaṃ dātukāmo.  kathaṃ nu kho bhante paṭipajjitabban ti.  atha kho bhagavā etasmiṃ nidāne dhammiṃ kathaṃ katvā bhikkhū āmantesi: anujānāmi bhikkhave ārāmikan ti. |2| 
  เตน โข ปน สมเยน ภิกฺขู ปิฏฺฐานิ อญฺชนานิ จรุเกสุปิ สราวเกสุปิ นิกฺขิปนฺติ  ติณจุณฺเณหิปิ ปํสุเกหิปิ โอกิริยนฺติ. ภควโต เอตมตฺถํ อาโรเจสุํ. อนุชานามิ ภิกฺขเว อญฺชนินฺติ.  เตน โข ปน สมเยน ฉพฺพคฺคิยา ภิกฺขู อุจฺจาวจา อญฺชนิโย ธาเรนฺติ โสวณฺณมยํ รูปิยมยํ.  มนุสฺสา อุชฺฌายนฺติ ขิยฺยนฺติ วิปาเจนฺติ “เสยฺยถาปิ คิหี กามโภคิโน”ติ. 
dutiyam pi kho rājā Māgadho Seniyo Bimbisāro yenāyasmā Pilindavaccho ten’ upasaṃkami, upasaṃkamitvā āyasmantaṃ Pilindavacchaṃ abhivādetvā ekamantaṃ nisīdi.  ekamantaṃ nisinno kho rājā Māgadho Seniyo Bimbisāro āyasmantaṃ Pilindavacchaṃ etad avoca: anuññāto bhante bhagavatā ārāmiko ’ti.  evaṃ mahārājā ’ti.  tena hi bhante ayyassa ārāmikaṃ dammīti.  atha kho rājā Māgadho Seniyo Bimbisāro āyasmato Pilindavacchassa ārāmikaṃ paṭisuṇitvā vissaritvā cirena satiṃ paṭilabhitvā aññataraṃ sabbatthakaṃ mahāmattaṃ āmantesi: yo mayā bhaṇe ayyassa ārāmiko paṭissuto dinno so ārāmiko ’ti.  na kho deva ayyassa ārāmiko dinno ’ti.  kīvaciraṃ nu kho bhaṇe ito hitaṃ hotīti. |3| 
ภควโต เอตมตฺถํ อาโรเจสุํ.  น ภิกฺขเว อุจฺจาวจา อญฺชนี ธาเรตพฺพา.  โย ธาเรยฺย อาปตฺติ ทุกฺกฏสฺส.  อนุชานามิ ภิกฺขเว อฏฺฐิมยํ ทนฺตมยํ วิสาณมยํ นฬมยํ เวฬุมยํ กฏฺฐมยํ ชตุมยํ ผลมยํ โลหมยํ สงฺขนาภิมยนฺติ.  เตน โข ปน สมเยน อญฺชนิโย อปารุตา โหนฺติ  ติณจุณฺเณหิปิ ปํสุเกหิปิ โอกิริยนฺติ. ภควโต เอตมตฺถํ อาโรเจสุํ. อนุชานามิ ภิกฺขเว อปิธานนฺติ.  อปิธานํ นิปตติ ภควโต เอตมตฺถํ อาโรเจสุํ. 
atha kho so mahāmatto rattiyo vigaṇetvā rājānaṃ Māgadhaṃ Seniyaṃ Bimbisāraṃ etad avoca: pañca deva rattisatānīti.  tena hi bhaṇe ayyassa pañca ārāmikasatāni dethā ’ti.  evaṃ devā ’ti kho so mahāmatto rañño Māgadhassa Seniyassa Bimbisārassa paṭisuṇitvā āyasmato Pilindavacchassa pañca ārāmikasatāni pādāsi, pāṭiyekko gāmo nivisi.  Ārāmikagāmo ’ti pi naṃ-(208)āhaṃsu, Pilindagāmo ’ti pi naṃ āhaṃsu.  tena kho pana samayena āyasmā Pilindavaccho tasmiṃ gāmake kulūpako hoti.  atha kho āyasmā Pilindavaccho {pubbaṇhasamayaṃ} nivāsetvā pattacīvaraṃ ādāya Pilindagāmaṃ piṇḍāya pāvisi. |4| 
อนุชานามิ ภิกฺขเว สุตฺตเกน พนฺธิตฺวา อญฺชนิยา พนฺธิตุนฺติ.  อญฺชนี ผลติ. ภควโต เอตมตฺถํ อาโรเจสุํ.  อนุชานามิ ภิกฺขเว สุตฺตเกน สิพฺเพตุนฺติ.  เตน โข ปน สมเยน ภิกฺขู องฺคุลิยา อญฺชนฺติ  อกฺขีนิ ทุกฺขานิ โหนฺติ. ภควโต เอตมตฺถํ อาโรเจสุํ. อนุชานามิ ภิกฺขเว อญฺชนิสลากนฺติ.  เตน โข ปน สมเยน ฉพฺพคฺคิยา ภิกฺขู อุจฺจาวจา อญฺชนิสลากาโย ธาเรนฺติ โสวณฺณมยํ รูปิยมยํ. 
tena kho pana samayena tasmiṃ gāmake ussavo hoti, dārikā alaṃkatā mālākitā kīḷanti.  atha kho āyasmā Pilindavaccho Pilindagāmake sapadānaṃ piṇḍāya caramāno yena aññatarassa ārāmikassa nivesanaṃ ten’ upasaṃkami, upasaṃkamitvā paññatte āsane nisīdi.  tena kho pana samayena tassā ārāmikiniyā dhītā aññe dārake alaṃkate mālākite passitvā rodati: mālaṃ me detha, alaṃkāraṃ me dethā ’ti.  atha kho āyasmā Pilindavaccho taṃ ārāmikiniṃ etad avoca: kissāyaṃ dārikā rodatīti.  ayaṃ bhante dārikā aññe dārake alaṃkate mālākite passitvā rodati: mālaṃ me detha, alaṃkāraṃ me dethā ’ti.  kuto amhākaṃ duggatānaṃ mālā, kuto alaṃkāro ’ti. |5| 
มนุสฺสา อุชฺฌายนฺติ ขิยฺยนฺติ วิปาเจนฺติ “เสยฺยถาปิ คิหี กามโภคิโน”ติ. ภควโต เอตมตฺถํ อาโรเจสุํ. น ภิกฺขเว อุจฺจาวจา อญฺชนิสลากา ธาเรตพฺพา.  โย ธาเรยฺย อาปตฺติ ทุกฺกฏสฺส.  อนุชานามิ ภิกฺขเว อฏฺฐิมยํฯเปฯ สงฺขนาภิมยนฺติ.  เตน โข ปน สมเยน อญฺชนิสลากา ภูมิยํ ปติตา ผรุสา โหติ. ภควโต เอตมตฺถํ อาโรเจสุํ อนุชานามิ ภิกฺขเว สลากฐานิยนฺติ.  เตน โข ปน สมเยน ภิกฺขู อญฺชนิมฺปิ อญฺชนิสลากมฺปิ หตฺเถน ปริหรนฺติ. ภควโต เอตมตฺถํ อาโรเจสุํ. อนุชานามิ ภิกฺขเว อญฺชนิตฺถวิกนฺติ.  อํสพทฺธโก น โหติ. ภควโต เอตมตฺถํ อาโรเจสุํ. อนุชานามิ ภิกฺขเว อํสพทฺธกํ พนฺธนสุตฺตกนฺติ. 
atha kho āyasmā Pilindavaccho aññataraṃ tiṇaṇḍupakaṃ gahetvā taṃ ārāmikiniṃ etad avoca: hand’ imaṃ tiṇaṇḍupakaṃ tassā dārikāya sīse paṭimuñcā ’ti.  atha kho sā ārāmikinī taṃ {tiṇaṇḍupakaṃ} gahetvā tassā dārikāya sīse paṭimuñci.  sā ahosi suvaṇṇamālā abhirūpā dassanīyā pāsādikā, n’ atthi tādisā rañño pi antepure suvaṇṇamālā.  manussā rañño Māgadhassa Seniyassa Bimbisārassa ārocesuṃ: amukassa deva ārāmikassa ghare suvaṇṇamālā abhirūpā dassanīyā pāsādikā, n’ atthi tādisā devassa pi antepure suvaṇṇamālā.  kuto tassa duggatassa.  nissaṃsayaṃ corikāya ābhatā ’ti.  atha kho rājā Māgadho Seniyo Bimbisāro taṃ ārāmikakulaṃ bandhāpesi. |6| 
    ๒๖๖. เตน (p๖) โข ปน สมเยน อายสฺมโต ปิลินฺทวจฺฉสฺส สีสาภิตาโป โหติ. ภควโต เอตมตฺถํ อาโรเจสุํ. อนุชานามิ ภิกฺขเว มุทฺธนิ เตลกนฺติ.  นกฺขมนิโย โหติ. ภควโต เอตมตฺถํ อาโรเจสุํ. อนุชานามิ ภิกฺขเว นตฺถุกมฺมนฺติ.  นตฺถุ คลติ. ภควโต เอตมตฺถํ อาโรเจสุํ. อนุชานามิ ภิกฺขเว นตฺถุกรณินฺติ.  เตน โข ปน สมเยน ฉพฺพคฺคิยา ภิกฺขู อุจฺจาวจา นตฺถุกรณิโย ธาเรนฺติ โสวณฺณมยํ รูปิยมยํ.  มนุสฺสา อุชฺฌายนฺติ ขิยฺยนฺติ วิปาเจนฺติ “เสยฺยถาปิ คิหี กามโภคิโน”ติ. ภควโต เอตมตฺถํ อาโรเจสุํ. 
dutiyam pi kho āyasmā Pilindavaccho pubbaṇhasamayaṃ nivāsetvā pattacīvaram ādāya Pilindagāmaṃ piṇḍāya pāvisi.  Pilindagāmake sapadānaṃ piṇḍāya caramāno yena tassa ārāmikassa nivesanaṃ ten’ upasaṃkami, upasaṃkamitvā paṭivissake pucchi: kahaṃ imaṃ ārāmikakulaṃ gatan ti.  etissā bhante suvaṇṇamālāya kāraṇā raññā bandhāpitan ti.  atha kho āyasmā Pilindavaccho yena rañño Māgadhassa Seniyassa Bimbisārassa nivesanaṃ ten’ upasaṃkami, upasaṃkamitvā paññatte āsane nisīdi.  atha kho rājā Māgadho Seniyo Bimbisāro yenāyasmā Pilindavaccho ten’ upasaṃkami, upasaṃkamitvā āyasmantaṃ Pilindavacchaṃ abhivādetvā ekamantaṃ nisīdi.  ekamantaṃ nisinnaṃ (209) kho rājānaṃ Māgadhaṃ Seniyaṃ Bimbisāraṃ āyasmā Pilindavaccho etad avoca: |7| 
น ภิกฺขเว อุจฺจาวจา นตฺถุกรณี ธาเรตพฺพา.  โย ธาเรยฺย อาปตฺติ ทุกฺกฏสฺส.  อนุชานามิ ภิกฺขเว อฏฺฐิมยํฯเปฯ สงฺขนาภิมยนฺติ.  นตฺถุํ วิสมํ อาสิญฺจนฺติ. ภควโต เอตมตฺถํ อาโรเจสุํ.  อนุชานามิ ภิกฺขเว ยมกนตฺถุกรณินฺติ.  นกฺขมนิโย โหติ. ภควโต เอตมตฺถํ อาโรเจสุํ. 
kissa mahārāja ārāmikakulaṃ bandhāpitan ti.  tassa bhante ārāmikassa ghare suvaṇṇamālā abhirūpā dassanīyā pāsādikā, n’ atthi tādisā amhākam pi antepure suvaṇṇamālā.  kuto tassa duggatassa.  nissaṃsayaṃ corikāya ābhatā ’ti.  atha kho āyasmā Pilindavaccho rañño Māgadhassa Seniyassa Bimbisārassa pāsādaṃ suvaṇṇan ti adhimucci, so ahosi sabbo sovaṇṇamayo.  idaṃ pana te mahārāja tāvabahuṃ suvaṇṇaṃ kuto ’ti.  aññātaṃ bhante, ayyassa eso iddhānubhāvo ’ti taṃ ārāmikakulaṃ muñcāpesi. |8| 
อนุชานามิ ภิกฺขเว ธูมํ ปาตุนฺติ.  ตญฺเญว วฏฺฏึ อาลิมฺเปตฺวา ปิวนฺติ  กณฺโฐ ทหติ. ภควโต เอตมตฺถํ อาโรเจสุํ. อนุชานามิ ภิกฺขเว ธูมเนตฺตนฺติ.  เตน โข ปน สมเยน ฉพฺพคฺคิยา ภิกฺขู อุจฺจาวจานิ ธูมเนตฺตานิ ธาเรนฺติ โสวณฺณมยํ รูปิยมยํ. มนุสฺสา อุชฺฌายนฺติ ขิยฺยนฺติ วิปาเจนฺติ เสยฺยถาปิ คิหี กามโภคิโนติ. ภควโต เอตมตฺถํ อาโรเจสุํ. น ภิกฺขเว อุจฺจาวจานิ ธูมเนตฺตานิ ธาเรตพฺพานิ. โย ธาเรยฺย อาปตฺติ ทุกฺกฏสฺส. อนุชานามิ ภิกฺขเว อฏฺฐิมยํฯเปฯ สงฺขนาภิมยนฺติ.  เตน โข ปน สมเยน ธูมเนตฺตานิ อปารุตานิ โหนฺติ ปาณกา ปวิสนฺติ. ภควโต เอตมตฺถํ อาโรเจสุํ. อนุชานามิ ภิกฺขเว อปิธานนฺติ.  เตน โข ปน สมเยน ภิกฺขู ธูมเนตฺตานิ หตฺเถน ปริหรนฺติ. ภควโต เอตมตฺถํ อาโรเจสุํ.  อนุชานามิ ภิกฺขเว ธูมเนตฺตถวิกนฺติ. 
manussā ayyena kira Pilindavacchena sarājikāya parisāya uttarimanussadhammaṃ iddhipāṭihāriyaṃ dassitan ti attamanā abhippasannā āyasmato Pilindavacchassa pañca bhesajjāni abhihariṃsu seyyath’ īdaṃ: sappiṃ navanītaṃ telaṃ madhuṃ phāṇitan ti.  pakatiyāpi ca āyasmā Pilindavaccho lābhī hoti, pañcannaṃ bhesajjānaṃ laddhaṃ-laddhaṃ parisāya vissajjesi.  parisā c’ assa hoti bāhullikā, laddhaṃ -laddhaṃ kolambe pi ghaṭe pi pūretvā paṭisāmeti, parissāvanāni pi thavikāyo pi pūretvā vātapānesu lagganti, tāni olīnavilīnāni tiṭṭhanti, undurehi pi vihārā okiṇṇavikiṇṇā honti.  manussā vihāracārikaṃ āhiṇḍantā passitvā ujjhāyanti khīyanti vipācenti: antokoṭṭhāgārikā ime samaṇā Sakyaputtiyā seyyathāpi rājā Māgadho Seniyo Bimbisāro ’ti. |9| 
เอกโต ฆํสิยนฺติ. ภควโต เอตมตฺถํ อาโรเจสุํ. อนุชานามิ ภิกฺขเว ยมกถวิกนฺติ.  อํสพทฺธโก น โหติ. ภควโต เอตมตฺถํ อาโรเจสุํ. อนุชานามิ ภิกฺขเว อํสพทฺธกํ พนฺธนสุตฺตกนฺติ.     
assosuṃ kho bhikkhū tesaṃ manussānaṃ ujjhāyantānaṃ khīyantānaṃ vipācentānaṃ.  ye te bhikkhū appicchā te ujjhāyanti khīyanti vipācenti: kathaṃ hi nāma bhikkhū evarūpāya bāhullāya cetessantīti.  atha kho te bhikkhū bhagavato etam atthaṃ ārocesuṃ.  saccaṃ kira bhikkhave bhikkhū evarūpāya bāhullāya cetentīti.  saccaṃ bhagavā.  vigarahitvā dhammiṃ kathaṃ katvā bhikkhū āmantesi: yāni kho pana tāni gilānānaṃ bhikkhūnaṃ paṭisāyaniyāni bhesajjāni seyyath’ īdaṃ: sappi navanītaṃ telaṃ madhu phāṇitaṃ, tāni paṭiggahetvā sattāhaparamaṃ sannidhikārakaṃ paribhuñjitabbāni, taṃ atikkāmayato yathādhammo kāretabbo ’ti. |10| 
๒๖๗. เตน (p๗) โข ปน สมเยน อายสฺมโต ปิลินฺทวจฺฉสฺส วาตาพาโธ โหติ.  เวชฺชา เอวมาหํสุ “เตลํ ปจิตพฺพ”นฺติ. ภควโต เอตมตฺถํ อาโรเจสุํ.  อนุชานามิ ภิกฺขเว เตลปากนฺติ.  ตสฺมึ โข ปน เตลปาเก มชฺชํ ปกฺขิปิตพฺพํ โหติ. ภควโต เอตมตฺถํ อาโรเจสุํ.  อนุชานามิ ภิกฺขเว เตลปาเก มชฺชํ ปกฺขิปิตุนฺติ.  เตน โข ปน สมเยน ฉพฺพคฺคิยา ภิกฺขู อติปกฺขิตฺตมชฺชานิ เตลานิ ปจนฺติ 
||15|| 
ตานิ ปิวิตฺวา มชฺชนฺติ. ภควโต เอตมตฺถํ อาโรเจสุํ. 
bhesajjānuññātabhāṇavāraṃ paṭhamaṃ.  atha kho bhagavā Sāvatthiyaṃ yathābhirantaṃ viha-(210)ritvā yena Rājagahaṃ tena cārikaṃ pakkāmi.  addasa kho āyasmā Kaṅkhārevato antarā magge guḷakaraṇaṃ okkamitvā guḷe piṭṭham pi chārikam pi pakkhipante, disvāna akappiyo guḷo sāmiso, na kappati guḷo vikāle paribhuñjitun ti kukkuccāyanto sapariso guḷaṃ na paribhuñjati, ye pi ’ssa sotabbaṃ maññanti, te pi guḷaṃ na paribhuñjanti.  bhagavato etam atthaṃ ārocesuṃ.  kimatthiyā bhikkhave guḷe piṭṭham pi chārikam pi pakkhipantīti.  thaddhanatthāya bhagavā ’ti.  sace bhikkhave thaddhanatthāya guḷe piṭṭham pi chārikam pi pakkhipanti so ca guḷo tv eva saṃkhaṃ gacchati, anujānāmi bhikkhave yathāsukhaṃ guḷaṃ paribhuñjitun ti. |1| 
น ภิกฺขเว อติปกฺขิตฺตมชฺชํ เตลํ ปาตพฺพํ.  โย ปิเวยฺย ยถาธมฺโม กาเรตพฺโพ.  อนุชานามิ ภิกฺขเว ยสฺมึ เตลปาเก มชฺชสฺส น วณฺโณ น คนฺโธ น รโส ปญฺญายติ เอวรูปํ มชฺชปกฺขิตฺตํ เตลํ ปาตุนฺติ.  เตน โข ปน สมเยน ภิกฺขูนํ พหุํ อติปกฺขิตฺตมชฺชํ เตลํ ปกฺกํ โหติ.  อถ โข ภิกฺขูนํ เอตทโหสิ “กถํ นุ โข อติปกฺขิตฺตมชฺเช เตเล ปฏิปชฺชิตพฺพ”นฺติ? ภควโต เอตมตฺถํ อาโรเจสุํ.  อนุชานามิ ภิกฺขเว อพฺภญฺชนํ อธิฏฺฐาตุนฺติ.  เตน โข ปน สมเยน อายสฺมโต ปิลินฺทวจฺฉสฺส พหุตรํ เตลํ ปกฺกํ โหติ เตลภาชนํ น วิชฺชติ. ภควโต เอตมตฺถํ อาโรเจสุํ. 
addasa kho āyasmā Kaṅkhārevato antarā magge vacce muggaṃ jātaṃ, passitvā akappiyā muggā, pakkāpi muggā jāyantīti kukkuccāyanto sapariso muggaṃ na paribhuñjati, ye pi ’ssa sotabbaṃ maññanti, te pi muggaṃ na paribhuñjanti.  bhagavato etam atthaṃ ārocesuṃ.  sace bhikkhave pakkāpi muggā jāyanti, anujānāmi bhikkhave yathāsukhaṃ muggaṃ paribhuñjitun ti. |2| 
อนุชานามิ ภิกฺขเว ตีณิ ตุมฺพานิ โลหตุมฺพํ กฏฺฐตุมฺพํ ผลตุมฺพนฺติ.  เตน โข ปน สมเยน อายสฺมโต ปิลินฺทวจฺฉสฺส องฺควาโต โหติ. ภควโต เอตมตฺถํ อาโรเจสุํ.  อนุชานามิ ภิกฺขเว เสทกมฺมนฺติ. 
tena kho pana samayena aññatarassa bhikkhuno udaravātābādho hoti, so loṇasovīrakaṃ apāyi, tassa so udaravātābādho paṭippassambhi.  bhagavato etam atthaṃ ārocesuṃ.  anujānāmi bhikkhave gilānassa loṇasovīrakaṃ, agilānassa udakasambhinnaṃ pānaparibhogena paribhuñjitun ti. |3| 
นกฺขมนิโย โหติ. ภควโต เอตมตฺถํ อาโรเจสุํ.  อนุชานามิ ภิกฺขเว สมฺภารเสทนฺติ.  นกฺขมนิโย โหติ. ภควโต เอตมตฺถํ อาโรเจสุํ. 
||16|| 
อนุชานามิ ภิกฺขเว มหาเสทนฺติ. 
atha kho bhagavā anupubbena cārikaṃ caramāno yena Rājagahaṃ tad avasari.  tatra sudaṃ bhagavā Rājagahe viharati Veḷuvane Kalandakanivāpe.  tena kho pana samayena bhagavato udaravātābādho hoti.  atha kho āyasmā Ānando pubbe pi bhagavato udaravātābādho tekaṭulāya yāguyā phāsu hotīti sāmaṃ tilam pi taṇḍulam pi muggam pi paññāpetvā anto vāsetvā anto sāmaṃ pacitvā bhagavato upanāmesi pivatu bhagavā tekaṭulayāgun ti. |1| 
นกฺขมนิโย โหติ. ภควโต เอตมตฺถํ อาโรเจสุํ.  อนุชานามิ ภิกฺขเว ภงฺโคทกนฺติ.  นกฺขมนิโย โหติ. ภควโต เอตมตฺถํ อาโรเจสุํ.  อนุชานามิ ภิกฺขเว อุทกโกฏฺฐกนฺติ. 
jānantāpi tathāgatā pucchanti, jānantāpi na pucchanti, kālaṃ viditvā pucchanti, kālaṃ viditvā na pucchanti, atthasaṃhitaṃ tathāgatā pucchanti no anatthasaṃhitaṃ, anatthasaṃhite setughāto tathāgatānaṃ.  dvīhi ākārehi buddhā bhagavanto bhikkhū paṭipucchanti, dhammaṃ vā desessāma, sāvakānaṃ vā sikkhāpadaṃ paññāpessāmā ’ti.  atha kho bhagavā āyas-(211)mantaṃ Ānandaṃ āmantesi: kut’ āyaṃ Ānanda yāgū ’ti.  atha kho āyasmā Ānando bhagavato etam atthaṃ ārocesi. |2| 
เตน โข ปน สมเยน อายสฺมโต ปิลินฺทวจฺฉสฺส ปพฺพวาโต โหติ. ภควโต เอตมตฺถํ อาโรเจสุํ.  อนุชานามิ ภิกฺขเว โลหิตํ โมเจตุนฺติ.  นกฺขมนิโย โหติ. ภควโต เอตมตฺถํ อาโรเจสุํ.  อนุชานามิ ภิกฺขเว โลหิตํ โมเจตฺวา วิสาเณน คาเหตุนฺติ. 
vigarahi buddho bhagavā: ananucchaviyaṃ Ānanda ananulomikaṃ appaṭirūpaṃ assāmaṇakaṃ akappiyaṃ akaraṇīyaṃ.  kathaṃ hi nāma tvaṃ Ānanda evarūpāya bāhullāya cetessasi.  yad api Ānanda anto vutthaṃ tad api akappiyaṃ, yad api anto pakkaṃ tad api akappiyaṃ, yad api sāmaṃ pakkaṃ tad api akappiyaṃ.  n’ etaṃ Ānanda appasannānaṃ vā pasādāya.  vigarahitvā dhammiṃ kathaṃ katvā bhikkhū āmantesi: na bhikkhave anto vutthaṃ anto pakkaṃ sāmaṃ pakkaṃ paribhuñjitabbaṃ.  yo paribhuñjeyya, āpatti dukkaṭassa. |3| 
เตน โข ปน สมเยน อายสฺมโต ปิลินฺทวจฺฉสฺส ปาทา ผลิตา โหนฺติ. ภควโต เอตมตฺถํ อาโรเจสุํ.  อนุชานามิ ภิกฺขเว ปาทพฺภญฺชนนฺติ.  นกฺขมนิโย โหติ. ภควโต เอตมตฺถํ อาโรเจสุํ.  อนุชานามิ ภิกฺขเว ปชฺชํ อภิสงฺขริตุนฺติ.  เตน โข ปน สมเยน อญฺญตรสฺส ภิกฺขุโน คณฺฑาพาโธ โหติ. ภควโต เอตมตฺถํ อาโรเจสุํ.  อนุชานามิ ภิกฺขเว สตฺถกมฺมนฺติ. 
anto ce bhikkhave vutthaṃ anto pakkaṃ sāmaṃ pakkaṃ, tañ ce paribhuñjeyya, āpatti tiṇṇaṃ dukkaṭānaṃ.  anto ce bhikkhave vutthaṃ anto pakkaṃ aññehi pakkaṃ, tañ ce paribhuñjeyya, āpatti dvinnaṃ dukkaṭānaṃ.  anto ce bhikkhave vutthaṃ bahi pakkaṃ sāmaṃ pakkaṃ, tañ ce paribhuñjeyya, āpatti dvinnaṃ dukkaṭānaṃ. |4| 
กสาโวทเกน อตฺโถ โหติ. ภควโต เอตมตฺถํ อาโรเจสุํ.  อนุชานามิ ภิกฺขเว กสาโวทกนฺติ.  ติลกกฺเกน อตฺโถ โหติ. ภควโต เอตมตฺถํ อาโรเจสุํ. 
bahi ce bhikkhave vutthaṃ anto pakkaṃ sāmaṃ pakkaṃ, tañ ce paribhuñjeyya, āpatti dvinnaṃ dukkaṭānaṃ.  anto ce bhikkhave vutthaṃ bahi pakkaṃ aññehi pakkaṃ, tañ ce paribhuñjeyya, āpatti dukkaṭassa.  bahi ce bhikkhave vutthaṃ anto pakkaṃ aññehi pakkaṃ, tañ ce paribhuñjeyya, āpatti dukkaṭassa.  bahi ce bhikkhave vutthaṃ bahi pakkaṃ sāmaṃ pakkaṃ, tañ ce paribhuñjeyya, āpatti dukkaṭassa.  bahi ce bhikkhave vutthaṃ bahi pakkaṃ aññehi pakkaṃ, tañ ce paribhuñjeyya, anāpattīti. |5| 
อนุชานามิ ภิกฺขเว ติลกกฺกนฺติ.  กพฬิกาย อตฺโถ โหติ. ภควโต เอตมตฺถํ อาโรเจสุํ.  อนุชานามิ ภิกฺขเว กพฬิกนฺติ.  วณพนฺธนโจเฬน อตฺโถ โหติ. ภควโต เอตมตฺถํ อาโรเจสุํ.  อนุชานามิ ภิกฺขเว วณพนฺธนโจฬนฺติ. 
tena kho pana samayena bhikkhū bhagavatā sāmaṃpāko paṭikkhitto ’ti punapāke kukkuccāyanti.  bhagavato etam atthaṃ ārocesuṃ.  anujānāmi bhikkhave punapākaṃ pacitun ti. |6| 
วโณ กณฺฑุวติ. ภควโต เอตมตฺถํ อาโรเจสุํ.  อนุชานามิ ภิกฺขเว สาสปกุฏฺเฏน โผสิตุนฺติ.  วโณ กิลิชฺชิตฺถ. ภควโต เอตมตฺถํ อาโรเจสุํ. 
tena kho pana samayena Rājagahaṃ dubbhikkhaṃ hoti.  manussā loṇam pi telam pi taṇḍulam pi khādaniyam pi ārāmaṃ āharanti, tāni bhikkhū bahi vāsenti, ukkapiṇḍakāpi khādanti corāpi haranti.  bhagavato etam atthaṃ ārocesuṃ.  anujānāmi bhikkhave anto vāsetun ti.  anto vāsetvā bahi pācenti, damakā parivārenti.  bhikkhū avissatthā paribhuñjanti.  bhagavato etam atthaṃ ārocesuṃ.  anujānāmi bhikkhave anto pacitun ti.  dubbhikkhe kappiyakārakā bahutaraṃ haranti, appataraṃ bhikkhūnaṃ denti.  bhaga-(212)vato etam atthaṃ ārocesuṃ.  anujānāmi bhikkhave sāmaṃ pacituṃ.  anujānāmi bhikkhave anto vutthaṃ anto pakkaṃ sāmaṃ pakkan ti. |7| 
อนุชานามิ ภิกฺขเว ธูมํ กาตุนฺติ.  วฑฺฒมํสํ วุฏฺฐาติ. ภควโต เอตมตฺถํ อาโรเจสุํ.  อนุชานามิ ภิกฺขเว โลณสกฺขริกาย ฉินฺทิตุนฺติ.  วโณ น รุหติ. ภควโต เอตมตฺถํ อาโรเจสุํ.  อนุชานามิ ภิกฺขเว วณเตลนฺติ.  เตลํ คลติ.  ภควโต เอตมตฺถํ อาโรเจสุํ.  อนุชานามิ ภิกฺขเว วิกาสิกํ สพฺพํ วณปฏิกมฺมนฺติ.  ๒๖๘. เตน โข ปน สมเยน อญฺญตโร ภิกฺขุ อหินา ทฏฺโฐ โหติ.  ภควโต เอตมตฺถํ อาโรเจสุํ.  อนุชานามิ ภิกฺขเว จตฺตาริ มหาวิกฏานิ ทาตุํ คูถํ มุตฺตํ ฉาริกํ มตฺติกนฺติ.  อถ โข ภิกฺขูนํ เอตทโหสิ “อปฺปฏิคฺคหิตานิ นุ โข อุทาหุ ปฏิคฺคเหตพฺพานี”ติ. 
tena kho pana samayena sambahulā bhikkhū Kāsīsu vassaṃ vutthā Rājagahaṃ gacchantā bhagavantaṃ dassanāya antarā magge na labhiṃsu lūkhassa vā paṇītassa vā bhojanassa yāvadatthaṃ pāripūriṃ, bahuñ ca phalakhādaniyaṃ ahosi, kappiyakārako ca na ahosi.  atha kho te bhikkhū kilantarūpā yena Rājagahaṃ Veḷuvanaṃ Kalandakanivāpo yena bhagavā ten’ upasaṃkamiṃsu, upasaṃkamitvā bhagavantaṃ abhivādetvā ekamantaṃ nisīdiṃsu.  āciṇṇaṃ kho pan’ etaṃ buddhānaṃ bhagavantānaṃ āgantukehi bhikkhūhi saddhiṃ paṭisammodituṃ.  atha kho bhagavā te bhikkhū etad avoca: kacci bhikkhave khamanīyaṃ, kacci yāpanīyaṃ, kacci ’ttha appakilamathena addhānaṃ āgatā, kuto ca tumhe bhikkhave āgacchathā ’ti. |8| 
ภควโต เอตมตฺถํ อาโรเจสุํ.  อนุชานามิ ภิกฺขเว สติ กปฺปิยการเก ปฏิคฺคหาเปตุํ อสติ กปฺปิยการเก สามํ คเหตฺวา ปริภุญฺชิตุนฺติ.  เตน โข ปน สมเยน อญฺญตเรน ภิกฺขุนา วิสํ ปีตํ โหติ. ภควโต เอตมตฺถํ อาโรเจสุํ.  อนุชานามิ ภิกฺขเว คูถํ ปาเยตุนฺติ. 
khamanīyam bhagavā, idha mayaṃ bhante Kāsīsu vassaṃ vutthā Rājagahaṃ āgacchantā bhagavantaṃ dassanāya antarā magge na labhimhā lūkhassa vā paṇītassa vā bhojanassa yāvadatthaṃ pāripūriṃ, bahuñ ca phalakhādaniyaṃ ahosi, kappiyakārako ca na ahosi, tena mayaṃ kilantarūpā addhānaṃ āgatā ’ti.  atha kho bhagavā etasmiṃ nidāne dhammiṃ kathaṃ katvā bhikkhū āmantesi: anujānāmi bhikkhave yattha phalakhādaniyaṃ passati kappiyakārako ca na hoti, sāmaṃ gahetvā haritvā kappiyakārakaṃ passitvā bhūmiyaṃ nikkhipitvā paṭiggahāpetvā paribhuñjituṃ.  anujānāmi bhikkhave uggahitaṃ paṭiggahitun ti. |9| 
อถ โข ภิกฺขูนํ เอตทโหสิ “อปฺปฏิคฺคหิตํ นุ โข อุทาหุ ปฏิคฺคเหตพฺโพ”ติ? ภควโต เอตมตฺถํ อาโรเจสุํ.  อนุชานามิ ภิกฺขเว ยํ กโรนฺโต ปฏิคฺคณฺหาติ สฺเวว ปฏิคฺคโห กโต น ปุน ปฏิคฺคเหตพฺโพติ.  ๒๖๙. เตน โข ปน สมเยน อญฺญตรสฺส ภิกฺขุโน ฆรทินฺนกาพาโธ โหติ. ภควโต เอตมตฺถํ อาโรเจสุํ. 
||17|| 
อนุชานามิ ภิกฺขเว สีตาโลฬึ ปาเยตุนฺติ. 
tena kho pana samayena aññatarassa brāhmaṇassa navā ca tilā navañ ca madhuṃ uppannā honti.  atha kho tassa brāhmaṇassa etad ahosi: yaṃ nūnāhaṃ nave ca tile navañ ca madhuṃ buddhapamukhassa bhikkhusaṃghassa dadeyyan ti.  atha kho so brāhmaṇo yena bhagavā ten’ upasaṃkami, upasaṃkamitvā bhagavatā saddhiṃ sammodi.  sammodanīyaṃ kathaṃ sāraṇīyaṃ vītisāretvā ekamantaṃ aṭṭhāsi, ekamantaṃ ṭhito kho so brāhmaṇo bhagavantaṃ etad avoca: adhivāsetu me bhante bhavaṃ Gotamo svātanāya bhattaṃ saddhiṃ bhikkhusaṃghenā ’ti.  adhivāsesi bhagavā tuṇhi (213) bhāvena.  atha kho so brāhmaṇo bhagavato adhivāsanaṃ viditvā pakkāmi. |1| 
เตน โข ปน สมเยน อญฺญตโร ภิกฺขุ ทุฏฺฐคหณิโก โหติ. ภควโต เอตมตฺถํ อาโรเจสุํ.  อนุชานามิ ภิกฺขเว อามิสขารํ ปาเยตุนฺติ.  เตน โข ปน สมเยน อญฺญตรสฺส ภิกฺขุโน ปณฺฑุโรคาพาโธ โหติ. ภควโต เอตมตฺถํ อาโรเจสุํ  อนุชานามิ ภิกฺขเว มุตฺตหรีตกํ ปาเยตุนฺติ.  เตน โข ปน สมเยน อญฺญตรสฺส ภิกฺขุโน ฉวิโทสาพาโธ โหติ. ภควโต เอตมตฺถํ อาโรเจสุํ.  อนุชานามิ ภิกฺขเว คนฺธาเลปํ กาตุนฺติ. 
atha kho so brāhmaṇo tassā rattiyā accayena paṇītam khādaniyaṃ bhojaniyaṃ paṭiyādāpetvā bhagavato kālaṃ ārocāpesi: kālo bho Gotama, niṭṭhitaṃ bhattan ti.  atha kho bhagavā pubbaṇhasamayaṃ nivāsetvā pattacīvaraṃ ādāya yena tassa brāhmaṇassa nivesanaṃ ten’ upasaṃkami, upasaṃkamitvā paññatte āsane nisīdi saddhiṃ bhikkhusaṃghena.  atha kho so brāhmaṇo buddhapamukhaṃ bhikkhusaṃghaṃ paṇītena khādaniyena bhojaniyena sahatthā santappetvā sampavāretvā bhagavantaṃ bhuttāviṃ onītapattapāṇiṃ ekamantaṃ nisīdi.  ekamantaṃ nisinnaṃ kho taṃ brāhmaṇaṃ bhagavā dhammiyā kathāya sandassetvā samādapetvā samuttejetvā sampahaṃsetvā uṭṭhāyāsanā pakkāmi. |2| 
เตน โข ปน สมเยน อญฺญตโร ภิกฺขุ อภิสนฺนกาโย โหติ. ภควโต เอตมตฺถํ อาโรเจสุํ  อนุชานามิ ภิกฺขเว วิเรจนํ ปาตุนฺติ.  อจฺฉกญฺชิยา อตฺโถ โหติ. ภควโต เอตมตฺถํ อาโรเจสุํ.  อนุชานามิ ภิกฺขเว อจฺฉกญฺชินฺติ. 
atha kho tassa brāhmaṇassa acirapakkantassa bhagavato etad ahosi: yesaṃ kho mayā atthāya buddhapamukho bhikkhusaṃgho nimantito nave ca tile navañ ca madhuṃ dassāmīti, te mayā pamuṭṭhā dātuṃ.  yaṃ nūnāhaṃ nave ca tile navañ ca madhuṃ kolambehi ca ghaṭehi ca ārāmaṃ harāpeyyan ti.  atha kho so brāhmaṇo nave ca tile navañ ca madhuṃ kolambehi ca ghaṭehi ca ārāmaṃ āharāpetvā yena bhagavā ten’ upasaṃkami, upasaṃkamitvā ekamantaṃ aṭṭhāsi, ekamantaṃ ṭhito kho so brāhmaṇo bhagavantaṃ etad avoca: |3| 
อกฏยูเสน อตฺโถ โหติ. ภควโต เอตมตฺถํ อาโรเจสุํ.  อนุชานามิ ภิกฺขเว อกฏยูสนฺติ.  กฏากเฏน อตฺโถ โหติ. ภควโต เอตมตฺถํ อาโรเจสุํ. 
yesaṃ kho mayā bho Gotama atthāya buddhapamukho bhikkhusaṃgho nimantito nave ca tile navañ ca madhuṃ dassāmīti, te mayā pamuṭṭhā dātuṃ.  paṭigaṇhātu me bhavaṃ Gotamo nave ca tile navañ ca madhun ti.  tena hi brāhmaṇa bhikkhūnaṃ dehīti.  tena kho pana samayena bhikkhū dubbhikkhe appamattake pi pavārenti paṭisaṃkhāpi paṭikkhipanti, sabbo ca saṃgho pavārito hoti, bhikkhū kukkuccāyantā na paṭigaṇhanti.  paṭigaṇhatha bhikkhave paribhuñjatha.  anujānāmi bhikkhave tato nīhataṃ bhuttāvinā pavāritena anatirittaṃ paribhuñjitun ti. |4| 
อนุชานามิ ภิกฺขเว กฏากฏนฺติ.  ปฏิจฺฉาทนีเยน อตฺโถ โหติ. ภควโต เอตมตฺถํ อาโรเจสุํ.  อนุชานามิ ภิกฺขเว ปฏิจฺฉาทนียนฺติ. (มูลาทิเภสชฺชกถา นิฏฺฐิตา.)      (๑๖๒. ปิลินฺทวจฺฉวตฺถุ) ๒๗๐. เตน โข ปน สมเยน อายสฺมา ปิลินฺทวจฺโฉ ราชคเห ปพฺภารํ โสธาเปติ เลณํ กตฺตุกาโม. 
||18|| 
อถ โข ราชา มาคโธ เสนิโย พิมฺพิสาโร เยนายสฺมา ปิลินฺทวจฺโฉ เตนุปสงฺกมิ อุปสงฺกมิตฺวา อายสฺมนฺตํ ปิลินฺทวจฺฉํ อภิวาเทตฺวา เอกมนฺตํ นิสีทิ. 
tena kho pana samayena āyasmato Upanandassa Sakyaputtassa upaṭṭhākakulaṃ saṃghass’ atthāya khādaniyaṃ pāhesi: ayyassa Upanandassa dassetvā saṃghassa dātabban ti.  tena kho pana samayena āyasmā Upanando (214) Sakyaputto gāmaṃ piṇḍāya paviṭṭho hoti.  atha kho te manussā ārāmaṃ gantvā bhikkhū pucchiṃsu: kahaṃ bhante ayyo Upanando ’ti.  esāvuso āyasmā Upanando Sakyaputto gāmaṃ piṇḍāya paviṭṭho ’ti.  idaṃ bhante khādaniyaṃ ayyassa Upanandassa dassetvā saṃghassa dātabban ti.  bhagavato etam atthaṃ ārocesuṃ.  tena hi bhikkhave paṭiggahetvā nikkhipatha yāva Upanando āgacchatīti. |1| 
เอกมนฺตํ นิสินฺโน โข ราชา มาคโธ เสนิโย พิมฺพิสาโร อายสฺมนฺตํ ปิลินฺทวจฺฉํ เอตทโวจ “กึ ภนฺเต เถโร การาเปตี”ติ?  “ปพฺภารํ มหาราช โสธาเปมิ เลณํ กตฺตุกาโม”ติ.  “อตฺโถ ภนฺเต อยฺยสฺส อารามิเกนา”ติ?  “น โข มหาราช ภควตา อารามิโก อนุญฺญาโต”ติ.  “เตน หิ ภนฺเต ภควนฺตํ ปฏิปุจฺฉิตฺวา มม อาโรเจยฺยาถา”ติ.  ‘เอวํ มหาราชา’ติ โข อายสฺมา ปิลินฺทวจฺโฉ รญฺโญ มาคธสฺส เสนิยสฺส พิมฺพิสารสฺส ปจฺจสฺโสสิ.  อถ โข อายสฺมา ปิลินฺทวจฺโฉ ราชานํ มาคธํ เสนิยํ พิมฺพิสารํ ธมฺมิยา กถาย สนฺทสฺเสสิ สมาทเปสิ สมุตฺเตเชสิ สมฺปหํเสสิ. 
atha kho āyasmā Upanando Sakyaputto purebhattaṃ kulāni payirupāsitvā divā āgacchi.  tena kho pana samayena bhikkhū dubbhikkhe appamattake pi pavārenti paṭisaṃkhāpi paṭikkhipanti, sabbo ca saṃgho pavārito hoti, bhikkhū kukkuccāyantā na paṭigaṇhanti.  paṭigaṇhatha bhikkhave paribhuñjatha.  anujānāmi bhikkhave purebhattaṃ paṭiggahitaṃ bhuttāvinā pavāritena anatirittaṃ paribhuñjitun ti. |2| 
อถ โข ราชา มาคโธ เสนิโย พิมฺพิสาโร อายสฺมตา ปิลินฺทวจฺเฉน ธมฺมิยา กถาย สนฺทสฺสิโต สมาทปิโต สมุตฺเตชิโต สมฺปหํสิโต อุฏฺฐายาสนา อายสฺมนฺตํ ปิลินฺทวจฺฉํ อภิวาเทตฺวา ปทกฺขิณํ กตฺวา ปกฺกามิ.  อถ โข อายสฺมา ปิลินฺทวจฺโฉ ภควโต สนฺติเก ทูตํ ปาเหสิ “ราชา ภนฺเต มาคโธ เสนิโย พิมฺพิสาโร อารามิกํ ทาตุกาโม.  กถํ นุ โข ภนฺเต มยา ปฏิปชฺชิตพฺพ”นฺติ?  อถ โข ภควา เอตสฺมึ นิทาเน เอตสฺมึ ปกรเณ ธมฺมึ กถํ กตฺวา ภิกฺขู อามนฺเตสิ “อนุชานามิ ภิกฺขเว อารามิก”นฺติ. 
||19|| 
ทุติยมฺปิ โข ราชา มาคโธ เสนิโย พิมฺพิสาโร เยนายสฺมา ปิลินฺทวจฺโฉ เตนุปสงฺกมิ อุปสงฺกมิตฺวา อายสฺมนฺตํ ปิลินฺทวจฺฉํ อภิวาเทตฺวา เอกมนฺตํ นิสีทิ. 
atha kho bhagavā Rājagahe yathābhirantaṃ viharitvā yena Sāvatthi tena cārikaṃ pakkāmi.  anupubbena cārikaṃ caramāno yena Sāvatthi tad avasari.  tatra sudaṃ bhagavā Sāvatthiyaṃ viharati Jetavane Anāthapiṇḍikassa ārāme.  tena kho pana samayena āyasmato Sāriputtassa kāyaḍāhābādho hoti.  atha kho āyasmā Mahāmoggallāno yenāyasmā Sāriputto ten’ upasaṃkami, upasaṃkamitvā āyasmantaṃ Sāriputtaṃ etad avoca: pubbe te āvuso Sāriputta kāyaḍāhābādho kena phāsu hotīti.  bhisehi ca me āvuso muḷālikāhi cā ’ti.  atha kho āyasmā Mahāmoggallāno seyyathāpi nāma balavā puriso sammiñjitaṃ vā bāhaṃ pasāreyya pasāritaṃ vā bāhaṃ sammiñjeyya, evam eva Jetavane antarahito Mandākiniyā pokkharaṇiyā tīre pāturahosi. |1| 
เอกมนฺตํ นิสินฺโน โข ราชา มาคโธ เสนิโย พิมฺพิสาโร อายสฺมนฺตํ ปิลินฺทวจฺฉํ เอตทโวจ “อนุญฺญาโต ภนฺเต ภควตา อารามิโก”ติ?  “เอวํ มหาราชา”ติ.  “เตน หิ ภนฺเต อยฺยสฺส อารามิกํ ทมฺมี”ติ.  อถ โข ราชา มาคโธ เสนิโย พิมฺพิสาโร อายสฺมโต ปิลินฺทวจฺฉสฺส อารามิกํ ปฏิสฺสุตฺวา วิสฺสริตฺวา จิเรน สตึ ปฏิลภิตฺวา อญฺญตรํ สพฺพตฺถกํ มหามตฺตํ อามนฺเตสิ “โย มยา ภเณ อยฺยสฺส อารามิโก ปฏิสฺสุโต ทินฺโน โส อารามิโก”ติ?  “น โข เทว อยฺยสฺส อารามิโก ทินฺโน”ติ.  “กีว จิรํ นุ โข ภเณ อิโต หิ ตํ โหตี”ติ?  อถ โข โส มหามตฺโต รตฺติโย คเณตฺวา ราชานํ มาคธํ เสนิยํ พิมฺพิสารํ เอตทโวจ “ปญฺจ เทว รตฺติสตานี”ติ. 
addasa kho aññataro nāgo āyasmantaṃ Mahāmoggallānaṃ dūrato ’va āgacchantaṃ, disvāna āyasmantaṃ Mahāmoggallānaṃ etad avoca: etu kho bhante ayyo Mahāmoggallāno, svāgataṃ bhante ayyassa Mahāmoggallānassa, kena bhante ayyassa attho, kiṃ dammīti.  bhisehi ca me āvuso attho muḷālikāhi cā ’ti.  atha kho so nāgo aññataraṃ nāgaṃ āṇāpesi: tena hi bhaṇe ayyassa bhise ca muḷālikāyo ca yāvadatthaṃ dehīti.  atha kho so nāgo Mandākiniṃ pokkharaṇiṃ ogāhetvā soṇḍāya bhisañ ca muḷāliñ ca abbāhitvā suvi-(215)kkhālitaṃ vikkhāletvā bhaṇḍikaṃ bandhitvā yenāyasmā Mahāmoggallāno ten’ upasaṃkami. |2| 
เตน หิ ภเณ อยฺยสฺส ปญฺจ อารามิกสตานิ เทหีติ.  “เอวํ เทวา”ติ โข โส มหามตฺโต รญฺโญ มาคธสฺส เสนิยสฺส พิมฺพิสารสฺส ปฏิสฺสุตฺวา อายสฺมโต ปิลินฺทวจฺฉสฺส ปญฺจ อารามิกสตานิ ปาทาสิ ปาฏิเยกฺโก คาโม นิวิสิ.  ‘อารามิกคามโกติ’ปิ นํ อาหํสุ ‘ปิลินฺทคามโก’ติปิ นํ อาหํสุ.  ๒๗๑. เตน โข ปน สมเยน อายสฺมา ปิลินฺทวจฺโฉ ตสฺมึ คามเก กุลูปโก โหติ. 
atha kho āyasmā Mahāmoggallāno seyyathāpi nāma balavā puriso sammiñjitaṃ vā bāhaṃ pasāreyya pasāritaṃ vā bāhaṃ sammiñjeyya, evam eva Mandākiniyā pokkharaṇiyā tīre antarahito Jetavane pāturahosi, so pi kho nāgo Mandākiniyā pokkharaṇiyā tīre antarahito Jetavane pāturahosi.  atha kho so nāgo āyasmato Mahāmoggallānassa bhise ca muḷālikāyo ca paṭiggahāpetvā Jetavane antarahito Mandākiniyā pokkharaṇiyā tīre pāturahosi.  atha kho āyasmā Mahāmoggallāno āyasmato Sāriputtassa bhise ca muḷālikāyo ca upanāmesi.  atha kho āyasmato Sāriputtassa bhise ca muḷālikāyo ca paribhuttassa kāyaḍāhābādho paṭippassambhi.  bahū bhisā ca muḷālikāyo ca avasiṭṭhā honti. |3| 
อถ โข อายสฺมา ปิลินฺทวจฺโฉ ปุพฺพณฺหสมยํ นิวาเสตฺวา ปตฺตจีวรมาทาย ปิลินฺทคามํ ปิณฺฑาย ปาวิสิ.  เตน โข ปน สมเยน ตสฺมึ คามเก อุสฺสโว โหติ. ทารกา อลงฺกตา มาลากิตา กีฬนฺติ.  อถ โข อายสฺมา ปิลินฺทวจฺโฉ ปิลินฺทคามเก สปทานํ ปิณฺฑาย จรมาโน เยน อญฺญตรสฺส อารามิกสฺส นิเวสนํ เตนุปสงฺกมิ อุปสงฺกมิตฺวา ปญฺญตฺเต อาสเน นิสีทิ.  เตน โข ปน สมเยน ตสฺสา อารามิกินิยา ธีตา อญฺเญ ทารเก อลงฺกเต มาลากิเต ปสฺสิตฺวา โรทติ ‘มาลํ เม เทถ อลงฺการํ เม เทถา’ติ.  อถ โข อายสฺมา ปิลินฺทวจฺโฉ ตํ อารามิกินึ เอตทโวจ “กิสฺสายํ ทาริกา โรทตี”ติ? 
tena kho pana samayena bhikkhū dubbhikkhe appamattake pi pavārenti paṭisaṃkhāpi paṭikkhipanti, sabbo ca saṃgho pavārito hoti, bhikkhū kukkuccāyantā na paṭigaṇhanti.  paṭigaṇhatha bhikkhave paribhuñjatha.  anujānāmi bhikkhave vanaṭṭhaṃ pokkharaṭṭhaṃ bhuttāvinā pavāritena anatirittaṃ paribhuñjitun ti. |4| 
“อยํ ภนฺเต ทาริกา อญฺเญ ทารเก อลงฺกเต มาลากิเต ปสฺสิตฺวา โรทติ ‘มาลํ เม เทถ อลงฺการํ เม เทถา’ติ.  กุโต อมฺหากํ ทุคฺคตานํ มาลา กุโต อลงฺกาโร”ติ?  อถ โข อายสฺมา ปิลินฺทวจฺโฉ อญฺญตรํ ติณณฺฑุปกํ คเหตฺวา ตํ อารามิกินึ เอตทโวจ “หนฺทิมํ ติณณฺฑุปกํ ตสฺสา ทาริกาย สีเส ปฏิมุญฺจา”ติ. 
||20|| 
อถ โข สา อารามิกินี ตํ ติณณฺฑุปกํ คเหตฺวา ตสฺสา ทาริกาย สีเส ปฏิมุญฺจิ. 
tena kho pana samayena Sāvatthiyaṃ bahuṃ phalakhādaniyaṃ ussannaṃ hoti kappiyakārako ca na hoti.  bhikkhū kukkuccāyantā phalaṃ na paribhuñjanti.  bhagavato etam atthaṃ ārocesuṃ.  anujānāmi bhikkhave abījaṃ nibbattabījaṃ akatakappaṃ phalaṃ paribhuñjitun ti. |1| 
สา อโหสิ สุวณฺณมาลา อภิรูปา ทสฺสนียา ปาสาทิกา นตฺถิ ตาทิสา รญฺโญปิ อนฺเตปุเร สุวณฺณมาลา.  มนุสฺสา รญฺโญ มาคธสฺส เสนิยสฺส พิมฺพิสารสฺส อาโรเจสุํ “อมุกสฺส เทว อารามิกสฺส ฆเร สุวณฺณมาลา อภิรูปา ทสฺสนียา ปาสาทิกา นตฺถิ ตาทิสา เทวสฺสปิ อนฺเตปุเร สุวณฺณมาลา  กุโต ตสฺส ทุคฺคตสฺส?  นิสฺสํสยํ โจริกาย อาภตา”ติ. 
||21|| 
อถ โข ราชา มาคโธ เสนิโย พิมฺพิสาโร ตํ อารามิกกุลํ พนฺธาเปสิ. 
atha kho bhagavā Sāvatthiyaṃ yathābhirantaṃ viharitvā yena Rājagahaṃ tena cārikaṃ pakkāmi.  anupubbena cārikaṃ caramāno yena Rājagahaṃ tad avasari.  tatra sudaṃ bhagavā Rājagahe viharati Veḷuvane Kalandakanivāpe.  tena kho pana samayena aññatarassa bhikkhuno bhagandalābādho hoti.  Ākāsagotto vejjo satthakammaṃ karoti.  atha kho bhagavā senāsanacārikaṃ āhiṇḍanto yena tassa bhikkhuno vihāro ten’ upasaṃkami. |1| 
ทุติยมฺปิ โข อายสฺมา ปิลินฺทวจฺโฉ ปุพฺพณฺหสมยํ นิวาเสตฺวา ปตฺตจีวรมาทาย ปิลินฺทคามํ ปิณฺฑาย ปาวิสิ.  ปิลินฺทคามเก สปทานํ ปิณฺฑาย จรมาโน เยน ตสฺส อารามิกสฺส นิเวสนํ เตนุปสงฺกมิ อุปสงฺกมิตฺวา ปฏิวิสฺสเก ปุจฺฉิ “กหํ อิมํ อารามิกกุลํ คต”นฺติ?  “เอติสฺสา ภนฺเต สุวณฺณมาลาย การณา รญฺญา พนฺธาปิต”นฺติ.  อถ โข อายสฺมา ปิลินฺทวจฺโฉ เยน รญฺโญ มาคธสฺส เสนิยสฺส พิมฺพิสารสฺส นิเวสนํ เตนุปสงฺกมิ อุปสงฺกมิตฺวา ปญฺญตฺเต อาสเน นิสีทิ.  อถ โข ราชา มาคโธ เสนิโย พิมฺพิสาโร เยนายสฺมา ปิลินฺทวจฺโฉ เตนุปสงฺกมิ อุปสงฺกมิตฺวา อายสฺมนฺตํ ปิลินฺทวจฺฉํ อภิวาเทตฺวา เอกมนฺตํ นิสีทิ.  เอกมนฺตํ นิสินฺนํ โข ราชานํ มาคธํ เสนิยํ พิมฺพิสารํ อายสฺมา ปิลินฺทวจฺโฉ เอตทโวจ 
addasa kho Ākāsagotto vejjo bhagavantaṃ dūrato ’va āgacchantaṃ, disvāna bhagavantaṃ etad avoca: āgacchatu bhavaṃ Gotamo imassa bhikkhuno vaccamaggaṃ passatu seyyathāpi godhā (216) mukhan ti.  atha kho bhagavā mamaṃ khv’ āyaṃ moghapuriso uppaṇḍetīti tuṇhibhūto ’va paṭinivattitvā etasmiṃ nidāne etasmiṃ pakaraṇe bhikkhusaṃghaṃ sannipātāpetvā bhikkhū paṭipucchi: atthi kira bhikkhave amukasmiṃ vihāre bhikkhu gilāno ’ti.  atthi bhagavā ’ti.  kiṃ tassa bhikkhave bhikkhuno ābādho ’ti.  tassa bhante āyasmato bhagandalābādho, Ākāsagotto vejjo satthakammaṃ karotīti. |2| 
“กิสฺส มหาราช อารามิกกุลํ พนฺธาปิต”นฺติ?  “ตสฺส ภนฺเต อารามิกสฺส ฆเร สุวณฺณมาลา อภิรูปา ทสฺสนียา ปาสาทิกา นตฺถิ ตาทิสา อมฺหากมฺปิ อนฺเตปุเร สุวณฺณมาลา  กุโต ตสฺส ทุคฺคตสฺส?  นิสฺสํสยํ โจริกาย อาภตา”ติ.  อถ โข อายสฺมา ปิลินฺทวจฺโฉ รญฺโญ มาคธสฺส เสนิยสฺส พิมฺพิสารสฺส ปาสาทํ สุวณฺณนฺติ อธิมุจฺจิ โส อโหสิ สพฺพโสวณฺณมโย. 
vigarahi buddho bhagavā: ananucchaviyaṃ bhikkhave tassa moghapurisassa ananulomikaṃ appaṭirūpaṃ assāmaṇakaṃ akappiyaṃ akaraṇīyaṃ.  kathaṃ hi nāma so bhikkhave moghapuriso sambādhe satthakammaṃ kārāpessatīti.  sambādhe bhikkhave sukhumā chavi, duropayo vaṇo, dupparihāraṃ satthaṃ.  n’ etaṃ bhikkhave appasannānaṃ vā pasādāya.  vigarahitvā dhammiṃ kathaṃ katvā bhikkhū āmantesi: na bhikkhave sambādhe satthakammaṃ kārāpetabbaṃ.  yo kārāpeyya, āpatti thullaccayassā ’ti. |3| 
“อิทํ ปน เต มหาราช ตาว พหุํ สุวณฺณํ กุโต”ติ?  ‘อญฺญาตํ ภนฺเต อยฺยสฺเสเวโส อิทฺธานุภาโว’ติ ตํ อารามิกกุลํ มุญฺจาเปสิ.  มนุสฺสา “อยฺเยน กิร ปิลินฺทวจฺเฉน สราชิกาย ปริสาย อุตฺตริมนุสฺสธมฺมํ อิทฺธิปาฏิหาริยํ ทสฺสิต”นฺติ อตฺตมนา อภิปฺปสนฺนา อายสฺมโต ปิลินฺทวจฺฉสฺส ปญฺจ เภสชฺชานิ อภิหรึสุ เสยฺยถิทํ สปฺปิ๎ นวนีตํ เตลํ มธุํ ผาณิตํ.  ปกติยาปิ จ อายสฺมา ปิลินฺทวจฺโฉ ลาภี โหติ ปญฺจนฺนํ เภสชฺชานํ ลทฺธํ ลทฺธํ ปริสาย วิสฺสชฺเชติ.  ปริสา จสฺส โหติ พาหุลฺลิกา ลทฺธํ ลทฺธํ โกลมฺเพปิ ฆเฏปิ ปูเรตฺวา ปฏิสาเมติ ปริสฺสาวนานิปิ ถวิกาโยปิ ปูเรตฺวา วาตปาเนสุ ลคฺเคติ. ตานิ โอลีนวิลีนานิ ติฏฺฐนฺติ. อุนฺทูเรหิปิ วิหารา โอกิณฺณวิกิณฺณา โหนฺติ.  มนุสฺสา วิหารจาริกํ อาหิณฺฑนฺตา ปสฺสิตฺวา อุชฺฌายนฺติ ขิยฺยนฺติ วิปาเจนฺติ “อนฺโตโกฏฺฐาคาริกา อิเม สมณา สกฺยปุตฺติยา เสยฺยถาปิ ราชา มาคโธ เสนิโย พิมฺพิสาโร”ติ. 
tena kho pana samayena chabbaggiyā bhikkhū bhagavatā satthakammaṃ paṭikkhittan ti vatthikammaṃ kārāpenti.  ye te bhikkhū appicchā te ujjhāyanti khīyanti vipācenti: kathaṃ hi nāma chabbaggiyā bhikkhū vatthikammaṃ kārāpessantīti.  atha kho te bhikkhū bhagavato etam atthaṃ ārocesuṃ.  saccaṃ kira bhikkhave chabbaggiyā bhikkhū vatthikammaṃ kārāpentīti.  saccaṃ bhagavā.  vigarahitvā dhammiṃ kathaṃ katvā bhikkhū āmantesi: na bhikkhave sambādhassa sāmantā dvaṅgulā satthakammaṃ vā vatthikammaṃ vā kārāpetabbaṃ.  yo kārāpeyya, āpatti thullaccayassā ’ti. |4| 
อสฺโสสุํ โข ภิกฺขู เตสํ มนุสฺสานํ อุชฺฌายนฺตานํ ขิยฺยนฺตานํ วิปาเจนฺตานํ.  เย เต ภิกฺขู อปฺปิจฺฉา เต อุชฺฌายนฺติ ขิยฺยนฺติ วิปาเจนฺติ “กถญฺหิ นาม ภิกฺขู เอวรูปาย พาหุลฺลาย เจเตสฺสนฺตี”ติ.  อถ โข เต ภิกฺขู เต อเนกปริยาเยน วิครหิตฺวา ภควโต เอตมตฺถํ อาโรเจสุํฯเปฯ  “สจฺจํ กิร ภิกฺขเว ภิกฺขู เอวรูปาย พาหุลฺลาย เจเตนฺตี”ติ?  “สจฺจํ ภควาติฯเปฯ  วิครหิตฺวา ธมฺมึ กถํ กตฺวา ภิกฺขู อามนฺเตสิ “ยานิ โข ปน ตานิ คิลานานํ ภิกฺขูนํ ปฏิสายนียานิ เภสชฺชานิ เสยฺยถิทํ สปฺปิ นวนีตํ เตลํ มธุ ผาณิตํ ตานิ ปฏิคฺคเหตฺวา สตฺตาหปรมํ สนฺนิธิการกํ ปริภุญฺชิตพฺพานิ. ตํ อติกฺกามยโต ยถาธมฺโม กาเรตพฺโพ”ติ. (ปิลินฺทวจฺฉวตฺถุ นิฏฺฐิตํ.)   
||22|| 
 
atha kho bhagavā Rājagahe yathābhirantaṃ viharitvā yena Bārāṇasī tena cārikaṃ pakkāmi.  anupubbena cārikaṃ caramāno yena Bārāṇasī tad avasari.  tatra sudaṃ bhagavā Bārāṇasiyaṃ viharati Isipatane migadāye.  tena kho pana samayena Bārāṇasiyaṃ Suppiyo ca upāsako Suppiyā ca upāsikā ubhatopasannā honti dāyakā kārakā saṃghupaṭṭhākā.  atha kho Suppiyā upāsikā ārāmaṃ gantvā vihārena vihāraṃ pariveṇena pariveṇaṃ upasaṃkamitvā bhikkhū pucchati: ko bhante gilāno, kassa kiṃ āhariyyatū ’ti. |1| 
เภสชฺชานุญฺญาตภาณวาโร นิฏฺฐิโต ปฐโม.  (๑๖๓. คุฬาทิอนุชานนา) ๒๗๒. อถ โข ภควา สาวตฺถิยํ ยถาภิรนฺตํ วิหริตฺวา เยน ราชคหํ เตน จาริกํ ปกฺกามิ.  อทฺทสา โข อายสฺมา กงฺขาเรวโต อนฺตรามคฺเค คุฬกรณํ โอกฺกมิตฺวา คุเฬ ปิฏฺฐมฺปิ ฉาริกมฺปิ ปกฺขิปนฺเต ทิสฺวาน “อกปฺปิโย คุโฬ สามิโส น กปฺปติ คุโฬ วิกาเล ปริภุญฺชิตุ”นฺติ กุกฺกุจฺจายนฺโต สปริโส คุฬํ น ปริภุญฺชติ. เยปิสฺส โสตพฺพํ มญฺญนฺติ เตปิ คุฬํ น ปริภุญฺชนฺติ.  ภควโต เอตมตฺถํ อาโรเจสุํ.  กิมตฺถาย ภิกฺขเว คุเฬ ปิฏฺฐมฺปิ ฉาริกมฺปิ ปกฺขิปนฺตีติ? 
tena kho pana samayena aññatarena bhikkhunā (217) virecanaṃ pītaṃ hoti.  atha kho so bhikkhu Suppiyaṃ upāsikaṃ etad avoca: mayā kho bhagini virecanaṃ pītaṃ, attho me paṭicchādaniyenā ’ti.  suṭṭhu ayya āhariyissatīti gharaṃ gantvā antevāsiṃ āṇāpesi: gaccha bhaṇe pavattamaṃsaṃ jānāhīti.  evaṃ ayye ’ti kho so puriso Suppiyāya upāsikāya paṭisuṇitvā kevalakappaṃ Bārāṇasiṃ āhiṇḍanto na addasa pavattamaṃsaṃ.  atha kho so puriso yena Suppiyā upāsikā ten’ upasaṃkami, upasaṃkamitvā Suppiyaṃ upāsikaṃ etad avoca: n’ atth’ ayye pavattamaṃsaṃ, māghāto ajjā ’ti. |2| 
ถทฺธตฺถาย ภควาติ.  สเจ ภิกฺขเว ถทฺธตฺถาย คุเฬ ปิฏฺฐมฺปิ ฉาริกมฺปิ ปกฺขิปนฺติ โส จ คุโฬตฺเวว สงฺขํ คจฺฉติ. อนุชานามิ ภิกฺขเว ยถาสุขํ คุฬํ ปริภุญฺชิตุนฺติ.  อทฺทสา โข อายสฺมา กงฺขาเรวโต อนฺตรามคฺเค วจฺเจ มุคฺคํ ชาตํ ปสฺสิตฺวา “อกปฺปิยา มุคฺคา ปกฺกาปิ มุคฺคา ชายนฺตีติ” กุกฺกุจฺจายนฺโต สปริโส มุคฺคํ น ปริภุญฺชติ. เยปิสฺส โสตพฺพํ มญฺญนฺติ เตปิ มุคฺคํ น ปริภุญฺชนฺติ.  ภควโต เอตมตฺถํ อาโรเจสุํ.  สเจ ภิกฺขเว ปกฺกาปิ มุคฺคา ชายนฺติ อนุชานามิ ภิกฺขเว ยถาสุขํ มุคฺคํ ปริภุญฺชิตุนฺติ. 
atha kho Suppiyāya upāsikāya etad ahosi: tassa kho gilānassa bhikkhuno paṭicchādaniyaṃ alabhantassa ābādho vā abhivaḍḍhissati kālaṃkiriyā vā bhavissati, na kho me taṃ paṭirūpaṃ yāhaṃ paṭisuṇitvā na harāpeyyan ti potthanikaṃ gahetvā ūrumaṃsaṃ ukkantitvā dāsiyā adāsi: handa je imaṃ maṃsaṃ sampādetvā amukasmiṃ vihāre bhikkhu gilāno tassa dajjehi, yo ca maṃ pucchati gilānā ’ti paṭivedehīti uttarāsaṅgena ūruṃ veṭhetvā ovarakaṃ pavisitvā mañcake nipajji. |3| 
๒๗๓. เตน โข ปน สมเยน อญฺญตรสฺส ภิกฺขุโน อุทรวาตาพาโธ โหติ. โส โลณโสวีรกํ อปายิ. ตสฺส โส อุทรวาตาพาโธ ปฏิปฺปสฺสมฺภิ. 
atha kho Suppiyo upāsako gharaṃ gantvā dāsiṃ pucchi: kahaṃ Suppiyā ’ti.  esāyya ovarake nipannā ’ti.  atha kho Suppiyo upāsako yena Suppiyā upāsikā ten’ upasaṃkami, upasaṃkamitvā Suppiyaṃ upāsikaṃ etad avoca: kissa nipannāsīti.  gilān’ amhīti.  kin te ābādho ’ti.  atha kho Suppiyā upāsikā Suppiyassa upāsakassa etam atthaṃ ārocesi.  atha kho Suppiyo upāsako acchariyaṃ vata bho abbhutaṃ vata bho yāva saddhāyaṃ Suppiyā pasannā, yatra hi nāma attano pi maṃsāni pariccattāni, kim pana imāya aññaṃ kiñci adeyyaṃ bhavissatīti haṭṭho udaggo yena bhagavā ten’ upasaṃkami, upasaṃkamitvā bhagavantaṃ abhivādetvā ekamantaṃ nisīdi. |4| 
ภควโต เอตมตฺถํ อาโรเจสุํ  อนุชานามิ ภิกฺขเว คิลานสฺส โลณโสวีรกํ อคิลานสฺส อุทกสมฺภินฺนํ ปานปริโภเคน ปริภุญฺชิตุนฺติ. (คุฬาทิอนุชานนา นิฏฺฐิตา.)      (๑๖๔. อนฺโตวุฏฺฐาทิปฏิกฺเขปกถา) ๒๗๔. อถ โข ภควา อนุปุพฺเพน จาริกํ จรมาโน เยน ราชคหํ ตทวสริ.  ตตฺร สุทํ ภควา ราชคเห วิหรติ เวฬุวเน กลนฺทกนิวาเป.  เตน โข ปน สมเยน ภควโต อุทรวาตาพาโธ โหติ. 
ekamantaṃ nisinno kho Suppiyo upāsako bhagavantaṃ etad avoca: adhivāsetu me bhante bhagavā svātanāya bhattaṃ saddhiṃ bhikkhusaṃghenā ’ti.  adhivāsesi bhagavā tuṇhibhāvena.  atha kho Suppiyo upāsako bhagavato adhivāsanaṃ viditvā uṭṭhāyāsanā bhagavantaṃ abhivādetvā padakkhiṇaṃ katvā pakkāmi.  atha kho Suppiyo upāsako tassā rattiyā accayena paṇītaṃ khādaniyaṃ bhojaniyaṃ paṭiyādāpetvā bhagavato kālaṃ ārocāpesi: kālo bhante niṭṭhitaṃ bhattan ti.  atha kho bhagavā pubbaṇhasamayaṃ nivāsetvā pattacīvaraṃ ādāya yena (218) Suppiyassa upāsakassa nivesanaṃ ten’ upasaṃkami, upasaṃkamitvā paññatte āsane nisīdi saddhiṃ bhikkhusaṃghena. |5| 
อถ โข อายสฺมา อานนฺโท ‘ปุพฺเพปิ ภควโต อุทรวาตาพาโธ เตกฏุลยาคุยา ผาสุ โหตี’ติ สามํ ติลมฺปิ ตณฺฑุลมฺปิ มุคฺคมฺปิ วิญฺญาเปตฺวา อนฺโต วาเสตฺวา อนฺโต สามํ ปจิตฺวา ภควโต อุปนาเมสิ “ปิวตุ ภควา เตกฏุลยาคุ”นฺติ.  ชานนฺตาปิ ตถาคตา ปุจฺฉนฺติ ชานนฺตาปิ น ปุจฺฉนฺติ กาลํ วิทิตฺวา ปุจฺฉนฺติ กาลํ วิทิตฺวา น ปุจฺฉนฺติ อตฺถสํหิตํ ตถาคตา ปุจฺฉนฺติ โน อนตฺถสํหิตํ. อนตฺถสํหิเต เสตุฆาโต ตถาคตานํ.  ทฺวีหิ อากาเรหิ พุทฺธา ภควนฺโต ภิกฺขู ปฏิปุจฺฉนฺติ ธมฺมํ วา เทเสสฺสาม สาวกานํ วา สิกฺขาปทํ ปญฺญเปสฺสามาติ.  อถ โข ภควา อายสฺมนฺตํ อานนฺทํ อามนฺเตสิ “กุตายํ อานนฺท ยาคู”ติ?  อถ โข อายสฺมา อานนฺโท ภควโต เอตมตฺถํ อาโรเจสิ. 
atha kho Suppiyo upāsako yena bhagavā ten’ upasaṃkami, upasaṃkamitvā bhagavantaṃ abhivādetvā ekamantaṃ aṭṭhāsi.  ekamantaṃ ṭhitaṃ kho Suppiyaṃ upāsakaṃ bhagavā etad avoca: kahaṃ Suppiyā ’ti.  gilānā bhagavā ’ti.  tena hi āgacchatū ’ti.  na bhagavā ussahatīti.  tena hi pariggahetvāpi ānethā ’ti.  atha kho Suppiyo upāsako Suppiyaṃ upāsikaṃ pariggahetvā ānesi.  tassā saha dassanena bhagavato tāvamahā vaṇo rūḷho ahosi succhavi lomajāto. |6| 
วิครหิ พุทฺโธ ภควา ‘อนนุจฺฉวิกํ อานนฺท อนนุโลมิกํ อปฺปติรูปํ อสฺสามณกํ อกปฺปิยํ อกรณียํ.  กถญฺหิ นาม ตฺวํ อานนฺท เอวรูปาย พาหุลฺลาย เจเตสฺสสิ.  ยทปิ อานนฺท อนฺโต วุฏฺฐํ ตทปิ อกปฺปิยํ ยทปิ อนฺโต ปกฺกํ ตทปิ อกปฺปิยํ ยทปิ สามํ ปกฺกํ ตทปิ อกปฺปิยํ.  เนตํ อานนฺท อปฺปสนฺนานํ วา ปสาทายฯเปฯ  วิครหิตฺวา ธมฺมึ กถํ กตฺวา ภิกฺขู อามนฺเตสิ “น ภิกฺขเว อนฺโต วุฏฺฐํ อนฺโต ปกฺกํ สามํ ปกฺกํ ปริภุญฺชิตพฺพํ.  โย ปริภุญฺเชย อาปตฺติ ทุกฺกฏสฺส.  อนฺโต เจ ภิกฺขเว วุฏฺฐํ อนฺโต ปกฺกํ สามํ ปกฺกํ ตญฺเจ ปริภุญฺเชยฺย อาปตฺติ ติณฺณํ ทุกฺกฏานํ.  อนฺโต เจ ภิกฺขเว วุฏฺฐํ อนฺโต ปกฺกํ อญฺเญหิ ปกฺกํ ตญฺเจ ปริภุญฺเชยฺย อาปตฺติ ทฺวินฺนํ ทุกฺกฏานํ. 
atha kho Suppiyo ca upāsako Suppiyā ca upāsikā acchariyaṃ vata bho abbhutaṃ vata bho tathāgatassa mahiddhikatā mahānubhāvatā, yatra hi nāma saha dassanena bhagavato tāvamahā vaṇo rūḷho bhavissati succhavi lomajāto ’ti haṭṭhā udaggā buddhapamukhaṃ bhikkhusaṃghaṃ paṇītena khādaniyena bhojaniyena sahatthā santappetvā sampavāretvā bhagavantaṃ bhuttāviṃ onītapattapāṇiṃ ekamantaṃ nisīdiṃsu.  atha kho bhagavā Suppiyaṃ upāsakaṃ Suppiyañ ca upāsikaṃ dhammiyā kathāya sandassetvā samādapetvā samuttejetvā sampahaṃsetvā uṭṭhāyāsanā pakkāmi. |7| 
อนฺโต เจ ภิกฺขเว วุฏฺฐํ พหิ ปกฺกํ สามํ ปกฺกํ ตญฺเจ ปริภุญฺเชยฺย อาปตฺติ ทฺวินฺนํ ทุกฺกฏานํ.  พหิ เจ ภิกฺขเว วุฏฺฐํ อนฺโต ปกฺกํ สามํ ปกฺกํ ตญฺเจ ปริภุญฺเชยฺย อาปตฺติ ทฺวินฺนํ ทุกฺกฏานํ. 
atha kho bhagavā etasmiṃ nidāne etasmiṃ pakaraṇe bhikkhusaṃghaṃ sannipātāpetvā bhikkhū paṭipucchi: ko bhikkhave Suppiyaṃ upāsikaṃ maṃsaṃ viññāpesīti.  evaṃ vutte so bhikkhu bhagavantaṃ etad avoca: ahaṃ kho bhante Suppiyaṃ upāsikaṃ maṃsaṃ viññāpesin ti.  āhariyittha bhikkhū ’ti.  āhariyittha bhagavā ’ti.  paribhuñji tvaṃ bhikkhū ’ti.  paribhuñj’ āhaṃ bhagavā ’ti.  paṭivekkhi tvaṃ bhikkhū ’ti.  nāhaṃ bhagavā paṭivekkhin ti. |8| 
อนฺโต เจ ภิกฺขเว วุฏฺฐํ พหิ ปกฺกํ อญฺเญหิ ปกฺกํ ตญฺเจ ปริภุญฺเชยฺย อาปตฺติ ทุกฺกฏสฺส.  พหิ เจ ภิกฺขเว วุฏฺฐํ อนฺโต ปกฺกํ อญฺเญหิ ปกฺกํ ตญฺเจ ปริภุญฺเชยฺย อาปตฺติ ทุกฺกฏสฺส.  พหิ เจ ภิกฺขเว วุฏฺฐํ พหิ ปกฺกํ สามํ ปกฺกํ ตญฺเจ ปริภุญฺเชยฺย อาปตฺติ ทุกฺกฏสฺส.  พหิ เจ ภิกฺขเว วุฏฺฐํ พหิ ปกฺกํ อญฺเญหิ ปกฺกํ ตญฺเจ ปริภุญฺเชยฺย อนาปตฺตี”’ติ.  เตน โข ปน สมเยน ภิกฺขู “ภควตา สามํปาโก ปฏิกฺขิตฺโต”ติ ปุน ปาเก กุกฺกุจฺจายนฺติ.  ภควโต เอตมตฺถํ อาโรเจสุํ.  อนุชานามิ ภิกฺขเว ปุน ปากํ ปจิตุนฺติ.  เตน โข ปน สมเยน ราชคหํ ทุพฺภิกฺขํ โหติ. 
vigarahi buddho bhagavā: kathaṃ hi nāma tvaṃ moghapurisa appaṭivekkhitvā maṃsaṃ paribhuñjissasi.  {manussamaṃsaṃ} kho tayā moghapurisa paribhuttaṃ.  n’ etaṃ moghapurisa appasannānaṃ vā pasādāya.  vigarahitvā dhammiṃ kathaṃ katvā bhikkhū āmantesi: santi bhikkhave manussā saddhā pasannā, tehi attano pi maṃsāni pariccattāni.  na bhikkhave manussamaṃsaṃ paribhuñjitabbaṃ.  yo paribhuñjeyya, āpatti thullaccayassa.  na ca bhikkhave appaṭivekkhitvā maṃsaṃ paribhuñjitabbaṃ.  yo paribhuñjeyya, āpatti dukkaṭassā ’ti. |9| 
มนุสฺสา โลณมฺปิ เตลมฺปิ ตณฺฑุลมฺปิ ขาทนียมฺปิ อารามํ อาหรนฺติ. ตานิ ภิกฺขู พหิ วาเสนฺติ อุกฺกปิณฺฑกาปิ ขาทนฺติ โจราปิ หรนฺติ.  ภควโต เอตมตฺถํ อาโรเจสุํ.  อนุชานามิ ภิกฺขเว อนฺโต วาเสตุนฺติ.  อนฺโต วาเสตฺวา พหิ ปาเจนฺติ. ทมกา ปริวาเรนฺติ.  ภิกฺขู อวิสฺสฏฺฐา ปริภุญฺชนฺติ.  ภควโต เอตมตฺถํ อาโรเจสุํ.  อนุชานามิ ภิกฺขเว อนฺโต ปจิตุนฺติ.  ทุพฺภิกฺเข กปฺปิยการกา พหุตรํ หรนฺติ อปฺปตรํ ภิกฺขูนํ เทนฺติ. 
tena kho pana samayena rañño hatthī ma-(219)ranti.  manussā dubbhikkhe hatthimaṃsaṃ paribhuñjanti, bhikkhūnaṃ piṇḍāya carantānaṃ hatthimaṃsaṃ denti, bhikkhū hatthimaṃsaṃ paribhuñjanti.  manussā ujjhāyanti khīyanti vipācenti: kathaṃ hi nāma samaṇā Sakyaputtiyā hatthimaṃsaṃ paribhuñjissanti.  rājaṅgaṃ hatthī, sace rājā jāneyya, na nesaṃ attamano assā ’ti.  bhagavato etam atthaṃ ārocesuṃ.  na bhikkhave hatthimaṃsaṃ paribhuñjitabbaṃ.  yo paribhuñjeyya, āpatti dukkaṭassā ’ti. |10| 
ภควโต เอตมตฺถํ อาโรเจสุํ.  อนุชานามิ ภิกฺขเว สามํ ปจิตุํ.  อนุชานามิ ภิกฺขเว อนฺโต วุฏฺฐํ อนฺโต ปกฺกํ สามํ ปกฺกนฺติ. (อนฺโตวุฏฺฐาทิปฏิกฺเขปกถา นิฏฺฐิตา.)  (๑๖๕. อุคฺคหิตปฏิคฺคหณา) ๒๗๕. เตน โข ปน สมเยน สมฺพหุลา ภิกฺขู กาสีสุ วสฺสํวุฏฺฐา ราชคหํ คจฺฉนฺตา ภควนฺตํ ทสฺสนาย อนฺตรามคฺเค น ลภิ๎สุ ลูขสฺส วา ปณีตสฺส วา โภชนสฺส ยาวทตฺถํ ปาริปูรึ พหุญฺจ ผลขาทนียํ อโหสิ กปฺปิยการโก จ น อโหสิ.  อถ โข เต ภิกฺขู กิลนฺตรูปา เยน ราชคหํ เวฬุวนํ กลนฺทกนิวาโป เยน ภควา เตนุปสงฺกมึสุ อุปสงฺกมิตฺวา ภควนฺตํ อภิวาเทตฺวา เอกมนฺตํ นิสีทึสุ.  อาจิณฺณํ โข ปเนตํ พุทฺธานํ ภควนฺตานํ อาคนฺตุเกหิ ภิกฺขูหิ สทฺธึ ปฏิสมฺโมทิตุํ.  อถ โข ภควา เต ภิกฺขู เอตทโวจ “กจฺจิ ภิกฺขเว ขมนียํ กจฺจิ ยาปนียํ กจฺจิตฺถ อปฺปกิลมเถน อทฺธานํ อาคตา กุโต จ ตุมฺเห ภิกฺขเว อาคจฺฉถา”ติ? 
tena kho pana samayena rañño assā maranti.  manussā dubbhikkhe assamaṃsaṃ paribhuñjanti, bhikkhūnaṃ piṇḍāya carantānaṃ assamaṃsaṃ denti, bhikkhū assamaṃsaṃ paribhuñjanti.  manussā ujjhāyanti khīyanti vipācenti: kathaṃ hi nāma samaṇā Sakyaputtiyā assamaṃsaṃ paribhuñjissanti.  rājaṅgaṃ assā, sace rājā jāneyya, na nesaṃ attamano assā ’ti.  bhagavato etam atthaṃ ārocesuṃ.  na bhikkhave assamaṃsaṃ paribhuñjitabbaṃ.  yo paribhuñjeyya, āpatti dukkaṭassā ’ti. |11| 
“ขมนียํ ภควา ยาปนียํ ภควา. อิธ มยํ ภนฺเต กาสีสุ วสฺสํวุฏฺฐา ราชคหํ อาคจฺฉนฺตา ภควนฺตํ ทสฺสนาย อนฺตรามคฺเค น ลภิมฺหา ลูขสฺส วา ปณีตสฺส วา โภชนสฺส ยาวทตฺถํ ปาริปูรึ พหุญฺจ ผลขาทนียํ อโหสิ กปฺปิยการโก จ น อโหสิ เตน มยํ กิลนฺตรูปา อทฺธานํ อาคตา”ติ.  อถ โข ภควา เอตสฺมึ นิทาเน เอตสฺมึ ปกรเณ ธมฺมึ กถํ กตฺวา ภิกฺขู อามนฺเตสิ “อนุชานามิ ภิกฺขเว ยตฺถ ผลขาทนียํ ปสฺสติ กปฺปิยการโก จ น โหติ สามํ คเหตฺวา หริตฺวา กปฺปิยการเก ปสฺสิตฺวา ภูมิยํ นิกฺขิปิตฺวา ปฏิคฺคหาเปตฺวา ปริภุญฺชิตุํ.  อนุชานามิ ภิกฺขเว อุคฺคหิตํ ปฏิคฺคหิตุ”นฺติ.      ๒๗๖. เตน โข ปน สมเยน อญฺญตรสฺส พฺราหฺมณสฺส นวา จ ติลา นวญฺจ มธุ อุปฺปนฺนา โหนฺติ.  อถ โข ตสฺส พฺราหฺมณสฺส เอตทโหสิ “ยํนูนาหํ นเว จ ติเล นวญฺจ มธุํ พุทฺธปฺปมุขสฺส ภิกฺขุสงฺฆสฺส ทเทยฺย”นฺติ. 
tena kho pana samayena manussā dubbhikkhe sunakhamaṃsaṃ paribhuñjanti, bhikkhūnaṃ piṇḍāya carantānaṃ sunakhamaṃsaṃ denti, bhikkhū sunakhamaṃsaṃ paribhuñjanti.  manussā ujjhāyanti khīyanti vipācenti: kathaṃ hi nāma samaṇā Sakyaputtiyā sunakhamaṃsaṃ paribhuñjissanti, jeguccho sunakho paṭikkūlo ’ti.  bhagavato etam atthaṃ ārocesuṃ.  na bhikkhave sunakhamaṃsaṃ paribhuñjitabbaṃ.  yo paribhuñjeyya, āpatti dukkaṭassā ’ti. |12| 
อถ โข โส พฺราหฺมโณ เยน ภควา เตนุปสงฺกมิ อุปสงฺกมิตฺวา ภควตา สทฺธึ ปฏิสมฺโมทิ  สมฺโมทนียํ กถํ สารณียํ วีติสาเรตฺวา เอกมนฺตํ อฏฺฐาสิ. เอกมนฺตํ ฐิโต โข โส พฺราหฺมโณ ภควนฺตํ เอตทโวจ “อธิวาเสตุ เม ภวํ โคตโม สฺวาตนาย ภตฺตํ สทฺธึ ภิกฺขุสงฺเฆนา”ติ.  อธิวาเสสิ ภควา ตุณฺหีภาเวน  อถ โข โส พฺราหฺมโณ ภควโต อธิวาสนํ วิทิตฺวา ปกฺกามิ.  อถ โข โส พฺราหฺมโณ ตสฺสา รตฺติยา อจฺจเยน ปณีตํ ขาทนียํ โภชนียํ ปฏิยาทาเปตฺวา ภควโต กาลํ อาโรจาเปสิ “กาโล โภ โคตม นิฏฺฐิตํ ภตฺต”นฺติ. 
tena kho pana samayena manussā dubbhikkhe ahimaṃsaṃ paribhuñjanti, bhikkhūnaṃ piṇḍāya carantānaṃ ahimaṃsaṃ denti, bhikkhū ahimaṃsaṃ paribhuñjanti.  manussā ujjhāyanti khīyanti vipācenti: kathaṃ hi nāma samaṇā Sakyaputtiyā ahimaṃsaṃ paribhuñjissanti, jeguccho ahi paṭikkūlo ’ti.  Supasso pi nāgarājā yena bhagavā ten’ upasaṃkami, upasaṃkamitvā bhagavantaṃ abhivādetvā ekamantaṃ aṭṭhāsi.  ekamantaṃ ṭhito kho Supasso nāgarājā bhagavantaṃ etad avoca: santi bhante nāgā assaddhā appasannā, te appamattake pi bhikkhū viheṭheyyuṃ.  sādhu bhante ayyā ahimaṃsaṃ na paribhuñjeyyun ti.  atha kho bhagavā Supassaṃ nāgarājānaṃ dhammiyā kathāya sandassesi --la-- padakkhiṇaṃ katvā pakkāmi.  atha kho bhagavā etasmiṃ nidāne (220) dhammiṃ kathaṃ katvā bhikkhū āmantesi: na bhikkhave ahimaṃsaṃ paribhuñjitabbaṃ.  yo paribhuñjeyya, āpatti dukkaṭassā ’ti. |13| 
อถ โข ภควา ปุพฺพณฺหสมยํ นิวาเสตฺวา ปตฺตจีวรมาทาย เยน ตสฺส พฺราหฺมณสฺส นิเวสนํ เตนุปสงฺกมิ อุปสงฺกมิตฺวา ปญฺญตฺเต อาสเน นิสีทิ สทฺธึ ภิกฺขุสงฺเฆน.  อถ โข โส พฺราหฺมโณ พุทฺธปฺปมุขํ ภิกฺขุสงฺฆํ ปณีเตน ขาทนีเยน โภชนีเยน สหตฺถา สนฺตปฺเปตฺวา สมฺปวาเรตฺวา ภควนฺตํ ภุตฺตาวึ โอนีตปตฺตปาณึ เอกมนฺตํ นิสีทิ.  เอกมนฺตํ นิสินฺนํ โข ตํ พฺราหฺมณํ ภควา ธมฺมิยา กถาย สนฺทสฺเสตฺวา สมาทเปตฺวา สมุตฺเตเชตฺวา สมฺปหํเสตฺวา อุฏฺฐายาสนา ปกฺกามิ.  อถ โข ตสฺส พฺราหฺมณสฺส อจิรปกฺกนฺตสฺส ภควโต เอตทโหสิ “เยสํ โข มยา อตฺถาย พุทฺธปฺปมุโข ภิกฺขุสงฺโฆ นิมนฺติโต ‘นเว จ ติเล นวญฺจ มธุํ ทสฺสามี’ติ เต มยา ปมุฏฺฐา ทาตุํ.  ยํนูนาหํ นเว จ ติเล นวญฺจ มธุํ โกลมฺเพหิ จ ฆเฏหิ จ อารามํ หราเปยฺย”นฺติ.  อถ โข โส พฺราหฺมโณ นเว จ ติเล นวญฺจ มธุํ โกลมฺเพหิ จ ฆเฏหิ จ อารามํ หราเปตฺวา เยน ภควา เตนุปสงฺกมิ อุปสงฺกมิตฺวา เอกมนฺตํ อฏฺฐาสิ. เอกมนฺตํ ฐิโต โข โส พฺราหฺมโณ ภควนฺตํ เอตทโวจ  “เยสํ โข มยา โภ โคตม อตฺถาย พุทฺธปฺปมุโข ภิกฺขุสงฺโฆ นิมนฺติโต ‘นเว จ ติเล นวญฺจ มธุํ ทสฺสามี’ติ เต มยา ปมุฏฺฐา ทาตุํ.  ปฏิคฺคณฺหาตุ เม ภวํ โคตโม นเว จ ติเล นวญฺจ มธุ”นฺติ. 
tena kho pana samayena luddakā sīhaṃ hantvā maṃsaṃ paribhuñjanti, bhikkhūnaṃ piṇḍāya carantānaṃ sīhamaṃsaṃ denti.  bhikkhū sīhamaṃsaṃ paribhuñjitvā araññe viharanti, sīhā sīhamaṃsagandhena bhikkhū paripātenti.  bhagavato etam atthaṃ ārocesuṃ.  na bhikkhave sīhamaṃsaṃ paribhuñjitabbaṃ.  yo paribhuñjeyya, āpatti dukkaṭassā ’ti. |14| 
เตน หิ พฺราหฺมณ ภิกฺขูนํ เทหีติ  เตน โข ปน สมเยน ภิกฺขู ทุพฺภิกฺเข อปฺปมตฺตเกปิ ปวาเรนฺติ ปฏิสงฺขาปิ ปฏิกฺขิปนฺติ สพฺโพ จ สงฺโฆ ปวาริโต โหติ. ภิกฺขู กุกฺกุจฺจายนฺตา น ปฏิคฺคณฺหนฺติ.  ปฏิคฺคณฺหถ ภิกฺขเว ปริภุญฺชถ.  อนุชานามิ ภิกฺขเว ตโต นีหฏํ ภุตฺตาวินา ปวาริเตน อนติริตฺตํ ปริภุญฺชิตุนฺติ. (อุคฺคหิตปฏิคฺคหณา นิฏฺฐิตา.)   
tena kho pana samayena luddakā vyagghaṃ hantvā, dīpiṃ hantvā, acchaṃ hantvā, taracchaṃ hantvā maṃsaṃ paribhuñjanti, bhikkhūnaṃ piṇḍāya carantānaṃ taracchamaṃsaṃ denti.  bhikkhū taracchamaṃsaṃ paribhuñjitvā araññe viharanti, taracchā taracchamaṃsagandhena bhikkhū paripātenti.  bhagavato etam atthaṃ ārocesuṃ.  na bhikkhave taracchamaṃsaṃ paribhuñjitabbam.  yo paribhuñjeyya, āpatti dukkaṭassā ’ti. |15| 
  (๑๖๖. ปฏิคฺคหิตาทิอนุชานนา) ๒๗๗. เตน โข ปน สมเยน อายสฺมโต อุปนนฺทสฺส สกฺยปุตฺตสฺส อุปฏฺฐากกุลํ สงฺฆสฺสตฺถาย ขาทนียํ ปาเหสิ อยฺยสฺส อุปนนฺทสฺส ทสฺเสตฺวา สงฺฆสฺส ทาตพฺพนฺติ.  เตน โข ปน สมเยน อายสฺมา อุปนนฺโท สกฺยปุตฺโต คามํ ปิณฺฑาย ปวิฏฺโฐ โหติ  อถ โข เต มนุสฺสา อารามํ คนฺตฺวา ภิกฺขู ปุจฺฉึสุ “กหํ ภนฺเต อยฺโย อุปนนฺโท”ติ?  “เอสาวุโส อายสฺมา อุปนนฺโท สกฺยปุตฺโต คามํ ปิณฺฑาย ปวิฏฺโฐ”ติ. 
||23|| 
“อิทํ ภนฺเต ขาทนียํ อยฺยสฺส อุปนนฺทสฺส ทสฺเสตฺวา สงฺฆสฺส ทาตพฺพ”นฺติ. 
atha kho bhagavā Bārāṇasiyaṃ yathābhirantaṃ viharitvā yena Andhakavindaṃ tena cārikaṃ pakkāmi mahatā bhikkhusaṃghena saddhiṃ aḍḍhatelasehi bhikkhusatehi.  tena kho pana samayena jānapadā manussā bahuṃ loṇam pi telam pi taṇḍulam pi khadaniyam pi sakaṭesu āropetvā buddhapamukhassa bhikkhusaṃghassa piṭṭhito-piṭṭhito anubaddhā honti yadā paṭipāṭiṃ labhissāma tadā bhattaṃ karissāmā ’ti, pañcamattāni ca vighāsādasatāni.  atha kho bhagavā anupubbena cārikaṃ caramāno yena Andhakavindaṃ tad avasari. |1| 
ภควโต เอตมตฺถํ อาโรเจสุํ.  เตน หิ ภิกฺขเว ปฏิคฺคเหตฺวา นิกฺขิปถ ยาว อุปนนฺโท อาคจฺฉตีติ.  อถ โข อายสฺมา อุปนนฺโท สกฺยปุตฺโต ปุเรภตฺตํ กุลานิ ปยิรุปาสิตฺวา ทิวา อาคจฺฉติ. 
atha kho aññatarassa brāhmaṇassa paṭipāṭiṃ alabhantassa etad ahosi: atītāni kho me dve māsāni buddhapamukhaṃ bhikkhusaṃghaṃ anubaddhassa yadā paṭipāṭiṃ labhissāmi tadā bhattaṃ karissāmīti, na ca me paṭipāṭi labbhati, ahañ c’ amhi ekako, bahu ca me gharāvāsattho hāyati.  yaṃ nūnāhaṃ bhattaggaṃ olokeyyaṃ, yaṃ bhattagge na addasaṃ taṃ paṭiyādeyyan ti.  atha kho so brāhmaṇo bhattaggaṃ olokento dve nāddasa yāguñ ca madhugoḷakañ ca. |2| 
เตน โข ปน สมเยน ภิกฺขู ทุพฺภิกฺเข อปฺปมตฺตเกปิ ปวาเรนฺติ ปฏิสงฺขาปิ ปฏิกฺขิปนฺติ สพฺโพ จ สงฺโฆ ปวาริโต โหติ ภิกฺขู กุกฺกุจฺจายนฺตา น ปฏิคฺคณฺหนฺติ.  ปฏิคฺคณฺหถ ภิกฺขเว ปริภุญฺชถ.  อนุชานามิ ภิกฺขเว ปุเรภตฺตํ ปฏิคฺคหิตํ ภุตฺตาวินา ปวาริเตน อนติริตฺตํ ปริภุญฺชิตุนฺติ. 
atha kho so brāhmaṇo yenāyasmā Ānando ten’ upasaṃkami, upasaṃkamitvā āyasmantaṃ Ānandaṃ etad avoca: idha me bho Ānanda paṭipāṭiṃ alabhantassa etad ahosi: atītāni kho (221) me dve māsāni buddhapamukhaṃ bhikkhusaṃghaṃ anubaddhassa yadā paṭipāṭiṃ labhissāmi tadā bhattaṃ karissāmīti, na ca me paṭipāṭi labbhati, ahañ c’ amhi ekako, bahu ca me gharāvāsattho hāyati.  yaṃ nūnāhaṃ bhattaggaṃ olokeyyaṃ, yaṃ bhattagge na addasaṃ taṃ paṭiyādeyyan ti.  so kho ahaṃ bho Ānanda bhattaggaṃ olokento dve na addasaṃ yāguñ ca madhugoḷakañ ca.  sac’ āhaṃ bho Ānanda paṭiyādeyyaṃ yāguñ ca madhugoḷakañ ca, paṭigaṇheyya me bhavaṃ Gotamo ’ti.  tena hi brāhmaṇa bhagavantaṃ pucchissāmīti. |3| 
    ๒๗๘. อถ โข ภควา ราชคเห ยถาภิรนฺตํ วิหริตฺวา เยน สาวตฺถิ เตน จาริกํ ปกฺกามิ.  อนุปุพฺเพน จาริกํ จรมาโน เยน สาวตฺถิ ตทวสริ.  ตตฺร สุทํ ภควา สาวตฺถิยํ วิหรติ เชตวเน อนาถปิณฺฑิกสฺส อาราเม. 
atha kho āyasmā Ānando bhagavato etam atthaṃ ārocesi.  tena h’ Ānanda paṭiyādetū ’ti.  tena hi brāhmaṇa paṭiyādehīti.  atha kho so brāhmaṇo tassā rattiyā accayena pahūtaṃ yāguñ ca madhugoḷakañ ca paṭiyādāpetvā bhagavato upanāmesi: paṭigaṇhātu me bhavaṃ Gotamo yāguñ ca madhugoḷakañ cā ’ti.  tena hi brāhmaṇa bhikkhūnaṃ dehīti.  bhikkhū kukkuccāyantā na paṭigaṇhanti.  paṭigaṇhatha bhikkhave paribhuñjathā ’ti.  atha kho so brāhmaṇo buddhapamukhaṃ bhikkhusaṃghaṃ pahūtāya yāguyā ca madhugoḷakena ca sahatthā santappetvā sampavāretvā bhagavantaṃ dhotahatthaṃ onītapattapāṇiṃ ekamantaṃ nisīdi. |4| 
เตน โข ปน สมเยน อายสฺมโต สาริปุตฺตสฺส กายฑาหาพาโธ โหติ.  อถ โข อายสฺมา มหาโมคฺคลฺลาโน เยนายสฺมา สาริปุตฺโต เตนุปสงฺกมิ อุปสงฺกมิตฺวา อายสฺมนฺตํ สาริปุตฺตํ เอตทโวจ “ปุพฺเพ เต อาวุโส สาริปุตฺต กายฑาหาพาโธ เกน ผาสุ โหตี”ติ?  “ภิเสหิ จ เม อาวุโส มุฬาลิกาหิ จา”ติ.  อถ โข อายสฺมา มหาโมคฺคลฺลาโน เสยฺยถาปิ นาม พลวา ปุริโส สมฺมิญฺชิตํ วา พาหํ ปสาเรยฺย ปสาริตํ วา พาหํ สมิญฺเชยฺย เอวเมว เชตวเน อนฺตรหิโต มนฺทากินิยา โปกฺขรณิยา ตีเร ปาตุรโหสิ.  อทฺทสา โข อญฺญตโร นาโค อายสฺมนฺตํ มหาโมคฺคลฺลานํ ทูรโตว อาคจฺฉนฺตํ ทิสฺวาน อายสฺมนฺตํ มหาโมคฺคลฺลานํ เอตทโวจ “เอตุ โข ภนฺเต อยฺโย มหาโมคฺคลฺลาโน. สฺวาคตํ ภนฺเต อยฺยสฺส มหาโมคฺคลฺลานสฺส. เกน ภนฺเต อยฺยสฺส อตฺโถ กึ ทมฺมี”ติ?  “ภิเสหิ จ เม อาวุโส อตฺโถ มุฬาลิกาหิ จา”ติ.  อถ โข โส นาโค อญฺญตรํ นาคํ อาณาเปสิ “เตน หิ ภเณ อยฺยสฺส ภิเส จ มุฬาลิกาโย จ ยาวทตฺถํ เทหี”ติ.  อถ โข โส นาโค มนฺทากินึ โปกฺขรณึ โอคาเหตฺวา โสณฺฑาย ภิสญฺจ มุฬาลิกญฺจ อพฺพาหิตฺวา สุวิกฺขาลิตํ วิกฺขาเลตฺวา ภณฺฑิกํ พนฺธิตฺวา เยนายสฺมา มหาโมคฺคลฺลาโน เตนุปสงฺกมิ. 
ekamantaṃ nisinnaṃ kho taṃ brāhmaṇaṃ bhagavā etad avoca: das’ ime brāhmaṇa ānisaṃsā yāguyā, katame dasa.  yaguṃ dento āyuṃ deti, vaṇṇaṃ deti, sukhaṃ deti, balaṃ deti, paṭibhānaṃ deti, yāgu pītā khudaṃ paṭihanati, pipāsaṃ vinodeti, vātaṃ anulometi, vatthiṃ sodheti, āmāvasesaṃ pāceti.  ime kho brāhmaṇa dasānisaṃsā yāguyā ’ti. |5| 
อถ โข อายสฺมา มหาโมคฺคลฺลาโน เสยฺยถาปิ นาม พลวา ปุริโส สมิญฺชิตํ วา พาหํ ปสาเรยฺย ปสาริตํ วา พาหํ สมิญฺเชยฺย เอวเมว มนฺทากินิยา โปกฺขรณิยา ตีเร อนฺตรหิโต เชตวเน ปาตุรโหสิ. โสปิ โข นาโค มนฺทากินิยา โปกฺขรณิยา ตีเร อนฺตรหิโต เชตวเน ปาตุรโหสิ.  อถ โข โส นาโค อายสฺมโต มหาโมคฺคลฺลานสฺส ภิเส จ มุฬาลิกาโย จ ปฏิคฺคหาเปตฺวา เชตวเน อนฺตรหิโต มนฺทากินิยา โปกฺขรณิยา ตีเร ปาตุรโหสิ.  อถ โข อายสฺมา มหาโมคฺคลฺลาโน อายสฺมโต สาริปุตฺตสฺส ภิเส จ มุฬาลิกาโย จ อุปนาเมสิ. 
yo saññatānaṃ paradattabhojinaṃ kālena sakkaccaṃ dadāti yāguṃ das’ assa ṭhānāni {anuppavecchati:} āyuñ ca vaṇṇañ ca sukhaṃ balañ ca, | paṭibhānam assa {upajāyati} tato, khudaṃ pipāsañ ca vyapaneti vātaṃ, sodheti vatthiṃ, pariṇāmeti bhattaṃ.  bhesajjam etaṃ sugatena vaṇṇitaṃ. | tasmā hi yāguṃ alam eva dātum niccaṃ manussena sukhatthikena dibbāni vā patthayatā sukhāni manussasobhāgyataṃ icchatā vā ’ti. |6| 
อถ โข อายสฺมโต สาริปุตฺตสฺส ภิเส จ มุฬาลิกาโย จ ภุตฺตสฺส กายฑาหาพาโธ ปฏิปฺปสฺสมฺภิ.  พหู ภิสา จ มุฬาลิกาโย จ อวสิฏฺฐา โหนฺติ. 
(222) atha kho bhagavā taṃ brāhmaṇaṃ imāhi gāthāhi anumoditvā uṭṭhāyāsanā pakkāmi.  atha kho bhagavā etasmiṃ nidāne dhammiṃ kathaṃ katvā bhikkhū āmantesi: anujānāmi bhikkhave yāguñ ca madhugoḷakañ cā ’ti. |7| 
เตน โข ปน สมเยน ภิกฺขู ทุพฺภิกฺเข อปฺปมตฺตเกปิ ปวาเรนฺติ ปฏิสงฺขาปิ ปฏิกฺขิปนฺติ สพฺโพ จ สงฺโฆ ปวาริโต โหติ. ภิกฺขู กุกฺกุจฺจายนฺตา น ปฏิคฺคณฺหนฺติ.  ปฏิคฺคณฺหถ ภิกฺขเว ปริภุญฺชถ. 
||24|| 
อนุชานามิ ภิกฺขเว วนฏฺฐํ โปกฺขรฏฺฐํ ภุตฺตาวินา ปวาริเตน อนติริตฺตํ ปริภุญฺชิตุนฺติ. 
assosuṃ kho manussā: bhagavatā kira yāgu anuññātā madhugoḷakañ cā ’ti.  te kālass’ eva bhojjayāguṃ paṭiyādenti madhugoḷakañ ca.  bhikkhū kālass’ eva bhojjayāguyā dhātā madhugoḷakena ca bhattagge na cittarūpaṃ bhuñjanti.  tena kho pana samayena aññatarena taruṇapasannena mahāmattena svātanāya buddhapamukho bhikkhusaṃgho nimantito hoti.  atha kho tassa taruṇapasannassa mahāmattassa etad ahosi: yaṃ nūnāhaṃ aḍḍhatelasannaṃ bhikkhusatānaṃ aḍḍhatelasāni maṃsapātīsatāni paṭiyādeyyaṃ ekamekassa bhikkhuno ekamekaṃ maṃsapātiṃ upanāmeyyan ti. |1| 
    เตน โข ปน สมเยน สาวตฺถิยํ พหุํ ผลขาทนียํ อุปฺปนฺนํ โหติ กปฺปิยการโก จ น โหติ.  ภิกฺขู กุกฺกุจฺจายนฺตา ผลํ น ปริภุญฺชนฺติ.  ภควโต เอตมตฺถํ อาโรเจสุํ. 
atha kho so taruṇapasanno mahāmatto tassā rattiyā accayena paṇītaṃ khādaniyaṃ bhojaniyaṃ paṭiyādāpetvā aḍḍhatelasāni ca maṃsapātīsatāni bhagavato kālaṃ ārocāpesi: kālo bhante, niṭṭhitaṃ bhattan ti.  atha kho bhagavā pubbaṇhasamayaṃ nivāsetvā pattacīvaraṃ ādāya yena tassa taruṇapasannassa mahāmattassa nivesanaṃ ten’ upasaṃkami, upasaṃkamitvā paññatte āsane nisīdi saddhiṃ bhikkhusaṃghena. |2| 
อนุชานามิ ภิกฺขเว อพีชํ นิพฺพตฺตพีชํ อกตกปฺปํ ผลํ ปริภุญฺชิตุนฺติ. (ปฏิคฺคหิตาทิ อนุชานนา นิฏฺฐิตา.)   
atha kho so taruṇapasanno mahāmatto bhattagge bhikkhū parivisati.  bhikkhū evaṃ āhaṃsu: thokaṃ āvuso dehi thokaṃ āvuso dehīti.  mā kho tumhe bhante ayaṃ taruṇapasanno mahāmatto ’ti thokaṃ-thokaṃ paṭigaṇhatha.  bahuṃ me khādaniyaṃ bhojaniyaṃ paṭiyattaṃ aḍḍhatelasāni ca maṃsapātīsatāni, ekamekassa bhikkhuno ekamekaṃ maṃsapātiṃ upanāmessāmīti.  paṭigaṇhatha bhante yāvadatthan ti.  na kho mayaṃ āvuso etaṃkāraṇā thokaṃ-thokaṃ paṭigaṇhāma, api ca mayaṃ kālass’ eva bhojjayāguyā dhātā madhugoḷakena ca, tena mayaṃ thokaṃ-thokaṃ paṭigaṇhāmā ’ti. |3| 
  (๑๖๗. สตฺถกมฺมปฏิกฺเขปกถา) ๒๗๙. อถ โข ภควา สาวตฺถิยํ ยถาภิรนฺตํ วิหริตฺวา เยน ราชคหํ เตน จาริกํ ปกฺกามิ.  อนุปุพฺเพน จาริกํ จรมาโน เยน ราชคหํ ตทวสริ.  ตตฺร สุทํ ภควา ราชคเห วิหรติ เวฬุวเน กลนฺทกนิวาเป.  เตน โข ปน สมเยน อญฺญตรสฺส ภิกฺขุโน ภคนฺทลาพาโธ โหติ.  อากาสโคตฺโต เวชฺโช สตฺถกมฺมํ กโรติ. 
atha kho so taruṇapasanno mahāmatto ujjhāyati khīyati vipāceti: kathaṃ hi nāma bhaddantā mayā nimantitā aññassa bhojjayāguṃ paribhuñjissanti, na cāhaṃ na paṭibalo yāvadatthaṃ dātun ti kupito anattamano āsādanāpekkho bhikkhūnaṃ patte pūrento agamāsi bhuñjatha vā haratha vā ’ti.  atha kho so taruṇapasanno mahāmatto buddhapamukhaṃ bhikkhusaṃghaṃ pa-(223)ṇītena khādaniyena bhojaniyena sahatthā santappetvā sampavāretvā bhagavantaṃ bhuttāviṃ onītapattapāṇiṃ ekamantaṃ nisīdi.  ekamantaṃ nisinnaṃ kho taruṇapasannaṃ mahāmattaṃ bhagavā dhammiyā kathāya sandassetvā samādapetvā samuttejetvā sampahaṃsetvā uṭṭhāyāsanā pakkāmi. |4| 
อถ โข ภควา เสนาสนจาริกํ อาหิณฺฑนฺโต เยน ตสฺส ภิกฺขุโน วิหาโร เตนุปสงฺกมิ.  อทฺทสา โข อากาสโคตฺโต เวชฺโช ภควนฺตํ ทูรโตว อาคจฺฉนฺตํ ทิสฺวาน ภควนฺตํ เอตทโวจ “อาคจฺฉตุ ภวํ โคตโม อิมสฺส ภิกฺขุโน วจฺจมคฺคํ ปสฺสตุ เสยฺยถาปิ โคธามุข”นฺติ  อถ โข ภควา “โส มํ ขฺวายํ โมฆปุริโส อุปฺปณฺเฑตี”ติ ตโตว ปฏินิวตฺติตฺวา เอตสฺมึ นิทาเน เอตสฺมึ ปกรเณ ภิกฺขุสงฺฆํ สนฺนิปาตาเปตฺวา ภิกฺขู ปฏิปุจฺฉิ “อตฺถิ กิร ภิกฺขเว อมุกสฺมึ วิหาเร ภิกฺขุ คิลาโน”ติ? 
atha kho tassa taruṇapasannassa mahāmattassa acirapakkantassa bhagavato ahud eva kukkuccaṃ ahu vippaṭisāro: alābhā vata me, na vata me lābhā, dulladdhaṃ vata me, na vata me suladdhaṃ, yo ’haṃ kupito anattamano āsādanāpekkho bhikkhūnaṃ patte pūrento agamāsiṃ bhuñjatha vā haratha vā ’ti.  kiṃ nu kho mayā bahuṃ pasūtaṃ puññaṃ vā apuññaṃ vā ’ti.  atha kho so taruṇapasanno mahāmatto yena bhagavā ten’ upasaṃkami, upasaṃkamitvā bhagavantaṃ abhivādetvā ekamantaṃ nisīdi.  ekamantaṃ nisinno kho so taruṇapasanno mahāmatto bhagavantaṃ etad avoca: idha mayhaṃ bhante acirapakkantassa bhagavato ahud eva kukkuccaṃ ahu vippaṭisāro: alābhā vata me, na vata me lābhā, dulladdhaṃ vata me, na vata me suladdhaṃ, yo ’haṃ kupito anattamano āsādanāpekkho bhikkhūnaṃ patte pūrento agamāsiṃ bhuñjatha vā haratha vā ’ti.  kiṃ nu kho mayā bahuṃ pasūtaṃ puññaṃ vā apuññaṃ vā ’ti.  kiṃ nu kho mayā bhante bahuṃ pasūtaṃ puññaṃ vā apuññaṃ vā ’ti. |5| 
“อตฺถิ ภควา”ติ.  “กึ ตสฺส ภิกฺขเว ภิกฺขุโน อาพาโธ”ติ?  “ตสฺส ภนฺเต อายสฺมโต ภคนฺทลาพาโธ อากาสโคตฺโต เวชฺโช สตฺถกมฺมํ กโรตี”ติ.  วิครหิ พุทฺโธ ภควา “อนนุจฺฉวิกํ ภิกฺขเว ตสฺส โมฆปุริสสฺส อนนุโลมิกํ อปฺปติรูปํ อสฺสามณกํ อกปฺปิยํ อกรณียํ.  กถญฺหิ นาม โส ภิกฺขเว โมฆปุริโส สมฺพาเธ สตฺถกมฺมํ การาเปสฺสติ.  สมฺพาเธ ภิกฺขเว สุขุมา ฉวิ ทุโรปโย วโณ ทุปฺปริหารํ สตฺถํ. 
yadaggena tayā āvuso svātanāya buddhapamukho bhikkhusaṃgho nimantito, tadaggena te bahuṃ puññaṃ pasūtaṃ, yadaggena te ekamekena bhikkhunā ekamekaṃ sitthaṃ paṭiggahitaṃ, tadaggena te bahuṃ puññaṃ pasūtaṃ, saggā te āraddhā ’ti.  atha kho so taruṇapasanno mahāmatto lābhā kira me, suladdhaṃ kira me, bahuṃ kira mayā puññaṃ pasūtaṃ, saggā kira me āraddhā ’ti haṭṭho udaggo uṭṭhāyāsanā bhagavantaṃ abhivādetvā padakkhiṇaṃ katvā pakkāmi. |6| 
เนตํ ภิกฺขเว อปฺปสนฺนานํ วา ปสาทายฯเปฯ  วิครหิตฺวาฯเปฯ ธมฺมึ กถํ กตฺวา ภิกฺขู อามนฺเตสิ “น ภิกฺขเว สมฺพาเธ สตฺถกมฺมํ การาเปตพฺพํ. 
atha kho bhagavā etasmiṃ nidāne etasmiṃ pakaraṇe bhikkhusaṃghaṃ sannipātāpetvā bhikkhū paṭipucchi: saccaṃ kira bhikkhave bhikkhū aññatra nimantitā aññassa bhojjayāguṃ paribhuñjantīti.  saccaṃ bhagavā.  vigarahi buddho bhagavā: kathaṃ hi nāma te bhikkhave moghapurisā aññatra nimantitā aññassa bhojjayāguṃ paribhuñjissanti.  n’ etaṃ bhikkhave appasannānaṃ vā pasādāya.  vigarahitvā dhammiṃ kathaṃ katvā bhikkhū āmante-(224)si: na bhikkhave aññatra nimantitena aññassa bhojjayāgu paribhuñjitabbā.  yo paribhuñjeyya, yathādhammo kāretabbo ’ti. |7| 
โย การาเปยฺย อาปตฺติ ถุลฺลจฺจยสฺสา”ติ.  เตน โข ปน สมเยน ฉพฺพคฺคิยา ภิกฺขู ภควตา สตฺถกมฺมํ ปฏิกฺขิตฺตนฺติ วตฺถิกมฺมํ การาเปนฺติ.  เย เต ภิกฺขู อปฺปิจฺฉา เต อุชฺฌายนฺติ ขิยฺยนฺติ วิปาเจนฺติ “กถญฺหิ นาม ฉพฺพคฺคิยา ภิกฺขู วตฺถิกมฺมํ การาเปสฺสนฺตี”ติ.  อถ โข เต ภิกฺขู ภควโต เอตมตฺถํ อาโรเจสุํ.  “สจฺจํ กิร ภิกฺขเว ฉพฺพคฺคิยา ภิกฺขู วตฺถิกมฺมํ การาเปนฺตี”ติ?  “สจฺจํ ภควา”ติฯเปฯ 
||25|| 
วิครหิตฺวา ธมฺมึ กถํ กตฺวา ภิกฺขู อามนฺเตสิ “น ภิกฺขเว สมฺพาธสฺส สามนฺตา ทฺวงฺคุลา สตฺถกมฺมํ วา วตฺถิกมฺมํ วา การาเปตพฺพํ. 
atha kho bhagavā Andhakavinde yathābhirantaṃ viharitvā yena Rājagahaṃ tena cārikaṃ pakkāmi mahatā bhikkhusaṃghena saddhiṃ aḍḍhatelasehi bhikkhusatehi.  tena kho pana samayena Belaṭṭho Kaccāno Rājagahā Andhakavindaṃ addhānamaggapaṭipanno hoti pañcamattehi sakaṭasatehi sabbeh’ eva guḷakumbhapūrehi.  addasa kho bhagavā Belaṭṭhaṃ Kaccānaṃ dūrato ’va āgacchantaṃ, disvāna maggā okkamma aññatarasmiṃ rukkhamūle nisīdi. |1| 
โย การาเปยฺย อาปตฺติ ถุลฺลจฺจยสฺสา”ติ. (สตฺถกมฺมปฏิกฺเขปกถา นิฏฺฐิตา.)     
atha kho Belaṭṭho Kaccāno yena bhagavā ten’ upasaṃkami, upasaṃkamitvā bhagavantaṃ abhivādetvā ekamantaṃ aṭṭhāsi.  ekamantaṃ ṭhito kho Belaṭṭho Kaccāno bhagavantaṃ etad avoca: icchām’ ahaṃ bhante ekamekassa bhikkhuno ekamekaṃ guḷakumbhaṃ dātun ti.  tena hi tvaṃ Kaccāna ekaṃ yeva guḷakumbhaṃ āharā ’ti.  evaṃ bhante ’ti kho Belaṭṭho Kaccāno bhagavato paṭisuṇitvā ekaṃ yeva guḷakumbhaṃ ādāya yena bhagavā ten’ upasaṃkami, upasaṃkamitvā bhagavantaṃ etad avoca: āhaṭo bhante guḷakumbho, kathāhaṃ bhante paṭipajjāmīti.  tena hi tvaṃ Kaccāna bhikkhūnaṃ guḷaṃ dehīti. |2| 
(๑๖๘. มนุสฺสมํสปฏิกฺเขปกถา) ๒๘๐. อถ โข ภควา ราชคเห ยถาภิรนฺตํ วิหริตฺวา เยน พาราณสี เตน จาริกํ ปกฺกามิ.  อนุปุพฺเพน จาริกํ จรมาโน เยน พาราณสี ตทวสริ.  ตตฺร สุทํ ภควา พาราณสิยํ วิหรติ อิสิปตเน มิคทาเย.  เตน โข ปน สมเยน พาราณสิยํ สุปฺปิโย จ อุปาสโก สุปฺปิยา จ อุปาสิกา อุภโตปสนฺนา โหนฺติ ทายกา การกา สงฺฆุปฏฺฐากา.  อถ โข สุปฺปิยา อุปาสิกา อารามํ คนฺตฺวา วิหาเรน วิหารํ ปริเวเณน ปริเวณํ อุปสงฺกมิตฺวา ภิกฺขู ปุจฺฉติ “โก ภนฺเต คิลาโน กสฺส กึ อาหริยตู”ติ? 
evaṃ bhante ’ti kho Belaṭṭho Kaccāno bhagavato paṭisuṇitvā bhikkhūnaṃ guḷaṃ datvā bhagavantaṃ etad avoca: dinno bhante bhikkhūnaṃ guḷo bahu cāyaṃ guḷo avasiṭṭho, kathāhaṃ bhante paṭipajjāmīti.  tena hi tvaṃ Kaccāna bhikkhūnaṃ guḷaṃ yāvadatthaṃ dehīti.  evaṃ bhante ’ti kho Belaṭṭho Kaccāno bhagavato paṭisuṇitvā bhikkhūnaṃ guḷaṃ yāvadatthaṃ datvā bhagavantaṃ etad avoca: dinno bhante bhikkhūnaṃ guḷo yāvadattho bahu cāyaṃ guḷo avasiṭṭho, kathāhaṃ bhante paṭipajjāmīti.  tena hi tvaṃ Kaccāna bhikkhū guḷehi santappehīti.  evaṃ bhante ’ti kho Belaṭṭho Kaccāno bhagavato paṭisuṇitvā bhikkhū guḷehi santappesi.  ekacce bhikkhū patte pi pūresuṃ parissāvanāni pi thavikāyo pi pūresuṃ. |3| 
เตน โข ปน สมเยน อญฺญตเรน ภิกฺขุนา วิเรจนํ ปีตํ โหติ.  อถ โข โส ภิกฺขุ สุปฺปิยํ อุปาสิกํ เอตทโวจ “มยา โข ภคินิ วิเรจนํ ปีตํ. อตฺโถ เม ปฏิจฺฉาทนีเยนา”ติ.  “สุฏฺฐุ อยฺย อาหริยิสฺสตี”ติ ฆรํ คนฺตฺวา อนฺเตวาสึ อาณาเปสิ “คจฺฉ ภเณ ปวตฺตมํสํ ชานาหี”ติ.  เอวํ อยฺเยติ โข โส ปุริโส สุปฺปิยาย อุปาสิกาย ปฏิสฺสุณิตฺวา เกวลกปฺปํ พาราณสึ อาหิณฺฑนฺโต น อทฺทส ปวตฺตมํสํ.  อถ โข โส ปุริโส เยน สุปฺปิยา อุปาสิกา เตนุปสงฺกมิ อุปสงฺกมิตฺวา สุปฺปิยํ อุปาสิกํ เอตทโวจ “นตฺถยฺเย ปวตฺตมํสํ. มาฆาโต อชฺชา”ติ.  อถ โข สุปฺปิยาย อุปาสิกาย เอตทโหสิ “ตสฺส โข คิลานสฺส ภิกฺขุโน ปฏิจฺฉาทนียํ อลภนฺตสฺส อาพาโธ วา อภิวฑฺฒิสฺสติ กาลงฺกิริยา วา ภวิสฺสติ. น โข เมตํ ปติรูปํ ยาหํ ปฏิสฺสุณิตฺวา น หราเปยฺย”นฺติ. โปตฺถนิกํ คเหตฺวา อูรุมํสํ อุกฺกนฺติตฺวา ทาสิยา อทาสิ “หนฺท เช อิมํ มํสํ สมฺปาเทตฺวา อมุกสฺมึ วิหาเร ภิกฺขุ คิลาโน ตสฺส ทชฺชาหิ. โย จ มํ ปุจฺฉติ ‘คิลานา’ติ ปฏิเวเทหี”ติ. อุตฺตราสงฺเคน อูรุํ เวเฐตฺวา โอวรกํ ปวิสิตฺวา มญฺจเก นิปชฺชิ. 
atha kho Belaṭṭho Kaccāno bhikkhū guḷehi santappetvā bhagavantaṃ etad avoca: santappitā bhante bhikkhū guḷehi bahu cāyaṃ guḷo avasiṭṭho, kathāhaṃ bhante paṭipajjāmīti.  tena (225) hi tvaṃ Kaccāna vighāsādānaṃ guḷaṃ dehīti.  evaṃ bhante ’ti kho Belaṭṭho Kaccāno bhagavato paṭisuṇitvā vighāsādānaṃ guḷaṃ datvā bhagavantaṃ etad avoca: dinno bhante vighāsādānaṃ guḷo bahu cāyaṃ guḷo avasiṭṭho, kathāhaṃ bhante paṭipajjāmīti.  tena hi tvaṃ Kaccāna vighāsādānaṃ yāvadatthaṃ guḷaṃ dehīti. |4| 
อถ โข สุปฺปิโย อุปาสโก ฆรํ คนฺตฺวา ทาสึ ปุจฺฉิ “กหํ สุปฺปิยา”ติ?  “เอสายฺย โอวรเก นิปนฺนา”ติ.  อถ โข สุปฺปิโย อุปาสโก เยน สุปฺปิยา อุปาสิกา เตนุปสงฺกมิ อุปสงฺกมิตฺวา สุปฺปิยํ อุปาสิกํ เอตทโวจ “กิสฺส นิปนฺนาสี”ติ?  “คิลานามฺหี”ติ. 
evaṃ bhante ’ti kho Belaṭṭho Kaccāno bhagavato paṭisuṇitvā vighāsādānaṃ yāvadatthaṃ guḷaṃ datvā bhagavantaṃ etad avoca: dinno bhante vighāsādānaṃ guḷo yāvadattho bahu cāyaṃ guḷo avasiṭṭho, kathāhaṃ bhante paṭipajjāmīti.  tena hi tvaṃ Kaccāna vighāsāde guḷehi santappehīti.  evaṃ bhante ’ti kho Belaṭṭho Kaccāno bhagavato paṭisuṇitvā vighāsāde guḷehi santappesi.  ekacce vighāsādā kolambe pi ghaṭe pi pūresuṃ piṭakāni pi ucchaṅge pi pūresuṃ. |5| 
“กึ เต อาพาโธ”ติ?  อถ โข สุปฺปิยา อุปาสิกา สุปฺปิยสฺส อุปาสกสฺส เอตมตฺถํ อาโรเจสิ.  อถ โข สุปฺปิโย อุปาสโก อจฺฉริยํ วต โภ! อพฺภุตํ วต โภ! ยาว สทฺธายํ สุปฺปิยา ปสนฺนา ยตฺร หิ นาม อตฺตโนปิ มํสานิ ปริจฺจตฺตานิ! กิมฺปิมาย อญฺญํ กิญฺจิ อเทยฺยํ ภวิสฺสตีติ หฏฺโฐ อุทคฺโค เยน ภควา เตนุปสงฺกมิ อุปสงฺกมิตฺวา ภควนฺตํ อภิวาเทตฺวา เอกมนฺตํ นิสีทิ.  เอกมนฺตํ นิสินฺโน โข สุปฺปิโย อุปาสโก ภควนฺตํ เอตทโวจ “อธิวาเสตุ เม ภนฺเต ภควา สฺวาตนาย ภตฺตํ สทฺธึ ภิกฺขุสงฺเฆนา”ติ. 
atha kho Belaṭṭho Kaccāno vighāsāde guḷehi santappetvā bhagavantaṃ etad avoca: santappitā bhante vighāsādā guḷehi bahu cāyaṃ guḷo avasiṭṭho, kathāhaṃ bhante paṭipajjāmīti.  nāhaṃ taṃ Kaccāna passāmi sadevake loke samārake sabrahmake sassamaṇabrāhmaṇiyā pajāya sadevamanussāya yassa so guḷo paribhutto sammā pariṇāmaṃ gaccheyya aññatra tathāgatassa vā tathāgatasāvakassa vā.  tena hi tvaṃ Kaccāna taṃ guḷaṃ appaharite vā chaḍḍehi appāṇake vā udake opilāpehīti.  evaṃ bhante ’ti kho Belaṭṭho Kaccāno bhagavato paṭisuṇitvā taṃ guḷaṃ appāṇake udake opilāpesi. |6| 
อธิวาเสสิ ภควา ตุณฺหีภาเวน.  อถ โข สุปฺปิโย อุปาสโก ภควโต อธิวาสนํ วิทิตฺวา อุฏฺฐายาสนา ภควนฺตํ อภิวาเทตฺวา ปทกฺขิณํ กตฺวา ปกฺกามิ.  อถ โข สุปฺปิโย อุปาสโก ตสฺสา รตฺติยา อจฺจเยน ปณีตํ ขาทนียํ โภชนียํ ปฏิยาทาเปตฺวา ภควโต กาลํ อาโรจาเปสิ “กาโล ภนฺเต นิฏฺฐิตํ ภตฺต”นฺติ.  อถ โข ภควา ปุพฺพณฺหสมยํ นิวาเสตฺวา ปตฺตจีวรมาทาย เยน สุปฺปิยสฺส อุปาสกสฺส นิเวสนํ เตนุปสงฺกมิ อุปสงฺกมิตฺวา ปญฺญตฺเต อาสเน นิสีทิ สทฺธึ ภิกฺขุสงฺเฆน 
atha kho so guḷo udake pakkhitto cicciṭāyati ciṭiciṭāyati saṃdhūpāyati sampadhūpāyati.  seyyathāpi nāma phālo divasaṃ santatto udake pakkhitto cicciṭāyati ciṭiciṭāyati saṃdhūpāyati sampadhūpāyati, evam eva so guḷo udake pakkhitto cicciṭāyati ciṭiciṭāyati saṃdhūpāyati sampadhūpāyati.  atha kho Belaṭṭho Kaccāno saṃviggo lomahaṭṭhajāto yena bhagavā ten’ upasaṃkami, upasaṃkamitvā bhagavantaṃ abhivādetvā ekamantaṃ nisīdi. |7| 
อถ โข สุปฺปิโย อุปาสโก เยน ภควา เตนุปสงฺกมิ อุปสงฺกมิตฺวา ภควนฺตํ อภิวาเทตฺวา เอกมนฺตํ อฏฺฐาสิ.  เอกมนฺตํ ฐิตํ โข สุปฺปิยํ อุปาสกํ ภควา เอตทโวจ “กหํ สุปฺปิยา”ติ?  “คิลานา ภควา”ติ. 
ekamantaṃ nisinnassa kho Belaṭṭhassa Kaccānassa bhagavā anupubbikathaṃ kathesi seyyath’ īdaṃ: dānakathaṃ sīlakathaṃ saggakathaṃ kāmānaṃ ādīnavaṃ okāraṃ saṃkilesaṃ nekkhamme ānisaṃsaṃ pakāsesi.  yadā bhagavā aññāsi Belaṭṭhaṃ Kaccānaṃ kallacittaṃ muducittaṃ vinīvaraṇacittaṃ udaggacittaṃ pasannacittaṃ, atha yā buddhānaṃ sāmukkaṃsikā dhammadesanā taṃ pakāsesi --la-- evam eva Bela-(226)ṭṭhassa Kaccānassa tasmiṃ yeva āsane virajaṃ vītamalaṃ dhammacakkhuṃ udapādi yaṃ kiñci samudayadhammaṃ sabbaṃ taṃ nirodhadhamman ti. |8| 
“เตน หิ อาคจฺฉตู”ติ.  “น ภควา อุสฺสหตี”ติ. 
atha kho Belaṭṭho Kaccāno diṭṭhadhammo pattadhammo viditadhammo pariyogāḷhadhammo tiṇṇavicikiccho vigatakathaṃkatho vesārajjappatto aparappaccayo satthu sāsane bhagavantaṃ etad avoca: abhikkantaṃ bhante, abhikkantaṃ bhante, seyyathāpi bhante nikkujjitaṃ vā ukkujjeyya --la-- evam eva bhagavatā anekapariyāyena dhammo pakāsito.  es’ āhaṃ bhante bhagavantaṃ saraṇaṃ gacchāmi dhammañ ca bhikkhusaṃghañ ca, upāsakaṃ maṃ bhagavā dhāretu ajjatagge pāṇupetaṃ saraṇaṃ gatan ti. |9| 
“เตน หิ ปริคฺคเหตฺวาปิ อาเนถา”ติ.  อถ โข สุปฺปิโย อุปาสโก สุปฺปิยํ อุปาสิกํ ปริคฺคเหตฺวา อาเนสิ. 
||26|| 
ตสฺสา สห ทสฺสเนน ภควโต ตาว มหาวโณ รุฬโห อโหสิ สุจฺฉวิโลมชาโต. 
atha kho bhagavā anupubbena cārikaṃ caramāno yena Rājagahaṃ tad avasari.  tatra sudaṃ bhagavā Rājagahe viharati Veḷuvane Kalandakanivāpe.  tena kho pana samayena Rājagahe guḷo ussanno hoti.  bhikkhū gilānass’ eva bhagavatā guḷo anuññāto no agilānassā ’ti kukkuccāyantā guḷaṃ na bhuñjanti.  bhagavato etam atthaṃ ārocesuṃ.  anujānāmi bhikkhave gilānassa guḷaṃ, agilānassa guḷodakan ti. |1| 
อถ โข สุปฺปิโย จ อุปาสโก สุปฺปิยา จ อุปาสิกา “อจฺฉริยํ วต โภ! อพฺภุตํ วต โภ! ตถาคตสฺส มหิทฺธิกตา มหานุภาวตา ยตฺร หิ นาม สห ทสฺสเนน ภควโต ตาว มหาวโณ รุฬโห ภวิสฺสติ สุจฺฉวิโลมชาโต”ติ หฏฺฐา อุทคฺคา พุทฺธปฺปมุขํ ภิกฺขุสงฺฆํ ปณีเตน ขาทนีเยน โภชนีเยน สหตฺถา สนฺตปฺเปตฺวา สมฺปวาเรตฺวา ภควนฺตํ ภุตฺตาวึ โอนีตปตฺตปาณึ เอกมนฺตํ นิสีทึสุ.  อถ โข ภควา สุปฺปิยญฺจ อุปาสกํ สุปฺปิยญฺจ อุปาสิกํ ธมฺมิยา กถาย สนฺทสฺเสตฺวา สมาทเปตฺวา สมุตฺเตเชตฺวา สมฺปหํเสตฺวา อุฏฺฐายาสนา ปกฺกามิ.  อถ โข ภควา เอตสฺมึ นิทาเน เอตสฺมึ ปกรเณ ภิกฺขุสงฺฆํ สนฺนิปาตาเปตฺวา ภิกฺขู ปฏิปุจฺฉิ “โก ภิกฺขเว สุปฺปิยํ อุปาสิกํ มํสํ วิญฺญาเปสี”ติ?  เอวํ วุตฺเต โส ภิกฺขุ ภควนฺตํ เอตทโวจ “อหํ โข ภนฺเต สุปฺปิยํ อุปาสิกํ มํสํ วิญฺญาเปสิ”นฺติ.  “อาหริยิตฺถ ภิกฺขู”ติ?  “อาหริยิตฺถ ภควา”ติ. 
||27|| 
“ปริภุญฺชิ ตฺวํ ภิกฺขู”ติ? 
atha kho bhagavā Rājagahe yathābhirantaṃ viharitvā yena Pāṭaligāmo tena cārikaṃ pakkāmi mahatā bhikkhusaṃghena saddhiṃ aḍḍhatelasehi bhikkhusatehi.  atha kho bhagavā anupubbena cārikaṃ caramāno yena Pāṭaligāmo tad avasari.  assosuṃ kho Pāṭaligāmikā upāsakā: bhagavā kira Pāṭaligāmaṃ anuppatto ’ti.  atha kho Pāṭaligāmikā upāsakā yena bhagavā ten’ upasaṃkamiṃsu, upasaṃkamitvā bhagavantaṃ abhivādetvā ekamantaṃ nisīdiṃsu, ekamantaṃ nisinne kho Pāṭaligāmike upāsake bhagavā dhammiyā kathāya sandassesi samādapesi samuttejesi sampahaṃsesi. |1| 
“ปริภุญฺชามหํ ภควา”ติ.  “ปฏิเวกฺขิ ตฺวํ ภิกฺขู”ติ?  “นาหํ ภควา ปฏิเวกฺขิ”นฺติ.  วิครหิ พุทฺโธ ภควาฯเปฯ กถญฺหิ นาม ตฺวํ โมฆปุริส อปฺปฏิเวกฺขิตฺวา มํสํ ปริภุญฺชิสฺสสิ. 
atha kho Pāṭaligāmikā upāsakā bhagavatā dhammiyā kathāya sandassitā samādapitā samuttejitā sampahaṃsitā bhagavantaṃ etad avocuṃ: adhivāsetu no bhante bhagavā āvasathāgāraṃ saddhiṃ bhikkhusaṃghenā ’ti.  adhivāsesi bhagavā tuṇhibhāvena.  atha kho Pāṭaligāmikā upāsakā bhagavato adhivāsanaṃ viditvā uṭṭhāyāsanā bhagavantaṃ abhivādetvā (227) padakkhiṇaṃ katvā yena āvasathāgāraṃ ten’ upasaṃkamiṃsu, upasaṃkamitvā sabbasanthariṃ santhataṃ āvasathāgāraṃ santharitvā āsanāni paññāpetvā udakamaṇikaṃ patiṭṭhāpetvā telapadīpaṃ āropetvā yena bhagavā ten’ upasaṃkamiṃsu, upasaṃkamitvā bhagavantaṃ abhivādetvā ekamantaṃ aṭṭhaṃsu. |2| 
มนุสฺสมํสํ โข ตยา โมฆปุริส ปริภุตฺตํ.  เนตํ โมฆปุริส อปฺปสนฺนานํ วา ปสาทายฯเปฯ  วิครหิตฺวา ธมฺมึ กถํ กตฺวา ภิกฺขู อามนฺเตสิ “สนฺติ ภิกฺขเว มนุสฺสา สทฺธา ปสนฺนา เตหิ อตฺตโนปิ มํสานิ ปริจฺจตฺตานิ. 
ekamantaṃ ṭhitā kho Pāṭaligāmikā upāsakā bhagavantaṃ etad avocuṃ: sabbasanthariṃ santhataṃ bhante āvasathāgāraṃ, āsanāni paññattāni, udakamaṇiko patiṭṭhāpito, telapadīpo āropito, yassa dāni bhante bhagavā kālaṃ maññatīti.  atha kho bhagavā pubbaṇhasamayaṃ nivāsetvā pattacīvaraṃ ādāya saddhiṃ bhikkhusaṃghena yena āvasathāgāraṃ ten’ upasaṃkami, upasaṃkamitvā pāde pakkhāletvā āvasathāgāraṃ pavisitvā majjhimaṃ thambhaṃ nissāya puratthimābhimukho nisīdi.  bhikkhusaṃgho pi kho pāde pakkhāletvā āvasathāgāraṃ pavisitvā pacchimaṃ bhittiṃ nissāya puratthimābhimukho nisīdi bhagavantaṃ yeva purakkhatvā.  Pāṭaligāmikāpi kho upāsakā pāde pakkhāletvā āvasathāgāraṃ pavisitvā puratthimaṃ bhittiṃ nissāya pacchimābhimukhā nisīdiṃsu bhagavantaṃ yeva purakkhatvā. |3| 
น ภิกฺขเว มนุสฺสมํสํ ปริภุญฺชิตพฺพํ.  โย ปริภุญฺเชยฺย อาปตฺติ ถุลฺลจฺจยสฺส.  น จ ภิกฺขเว อปฺปฏิเวกฺขิตฺวา มํสํ ปริภุญฺชิตพฺพํ.  โย ปริภุญฺเชยฺย อาปตฺติ ทุกฺกฏสฺสา”ติ. (มนุสฺสมํสปฏิกฺเขปกถา นิฏฺฐิตา.) 
atha kho bhagavā Pāṭaligāmike upāsake āmantesi: pañc’ ime gahapatayo ādīnavā dussīlassa sīlavipattiyā.  katame pañca.  idha gahapatayo dussīlo sīlavipanno pamādādhikaraṇaṃ mahatiṃ bhogajāniṃ nigacchati, ayaṃ paṭhamo ādīnavo dussīlassa sīlavipattiyā.  puna ca paraṃ gahapatayo dussīlassa sīlavipannassa pāpako kittisaddo abbhuggacchati, ayaṃ dutiyo ādīnavo dussīlassa sīlavipattiyā.  puna ca paraṃ gahapatayo dussīlo sīlavipanno yañ ñad eva parisaṃ upasaṃkamati yadi khattiyaparisaṃ yadi brāhmaṇaparisaṃ yadi gahapatiparisaṃ yadi samaṇaparisaṃ avisārado upasaṃkamati maṅkubhūto, ayaṃ tatiyo ādīnavo dussīlassa sīlavipattiyā.  puna ca paraṃ gahapatayo dussīlo sīlavipanno sammūḷho kālaṃ karoti, ayaṃ catuttho ādīnavo dussīlassa sīlavipattiyā.  puna ca paraṃ gahapatayo dussīlo sīlavipanno kāyassa bhedā paraṃ maraṇā apāyaṃ duggatiṃ vinipātaṃ nirayaṃ upapajjati, ayaṃ pañcamo ādīnavo dussīlassa sīlavipattiyā.  ime kho gahapatayo pañca ādīnavā dussīlassa sīlavipattiyā. |4| 
(๑๖๙. หตฺถิมํสาทิปฏิกฺเขปกถา) ๒๘๑. เตน โข ปน สมเยน รญฺโญ หตฺถี มรนฺติ  มนุสฺสา ทุพฺภิกฺเข หตฺถิมํสํ ปริภุญฺชนฺติ ภิกฺขูนํ ปิณฺฑาย จรนฺตานํ หตฺถิมํสํ เทนฺติ. ภิกฺขู หตฺถิมํสํ ปริภุญฺชนฺติ.  มนุสฺสา อุชฺฌายนฺติ ขิยฺยนฺติ วิปาเจนฺติ “กถญฺหิ นาม สมณา สกฺยปุตฺติยา หตฺถิมํสํ ปริภุญฺชิสฺสนฺติ.  ราชงฺคํ หตฺถี สเจ ราชา ชาเนยฺย น เนสํ อตฺตมโน อสฺสา”ติ.  ภควโต เอตมตฺถํ อาโรเจสุํ.  น ภิกฺขเว หตฺถิมํสํ ปริภุญฺชิตพฺพํ.  โย ปริภุญฺเชยฺย อาปตฺติ ทุกฺกฏสฺสาติ.  เตน โข ปน สมเยน รญฺโญ อสฺสา มรนฺติ. 
pañc’ ime gahapatayo ānisaṃsā sīlavato sīlasampadāya.  (228) katame pañca.  idha gahapatayo sīlavā sīlasampanno appamādādhikaraṇaṃ mahantaṃ bhogakkhandhaṃ adhigacchati, ayaṃ paṭhamo ānisaṃso sīlavato sīlasampadāya.  puna ca paraṃ gahapatayo sīlavato sīlasampannassa kalyāṇo kittisaddo abbhuggacchati, ayaṃ dutiyo ānisaṃso sīlavato sīlasampadāya.  puna ca paraṃ gahapatayo sīlavā sīlasampanno yañ ñad eva parisaṃ upasaṃkamati yadi khattiyaparisaṃ yadi brāhmaṇaparisaṃ yadi gahapatiparisaṃ yadi samaṇaparisaṃ visārado upasaṃkamati amaṅkubhūto, ayaṃ tatiyo ānisaṃso sīlavato sīlasampadāya.  puna ca paraṃ gahapatayo sīlavā sīlasampanno asammūḷho kālaṃ karoti, ayaṃ catuttho ānisaṃso sīlavato sīlasampadāya.  puna ca paraṃ gahapatayo sīlavā sīlasampanno kāyassa bhedā paraṃ maraṇā sugatiṃ saggaṃ lokaṃ upapajjati, ayaṃ pañcamo ānisaṃso sīlavato sīlasampadāya.  ime kho gahapatayo pañca ānisaṃsā sīlavato sīlasampadāyā ’ti. |5| 
มนุสฺสา ทุพฺภิกฺเข อสฺสมํสํ ปริภุญฺชนฺติ ภิกฺขูนํ ปิณฺฑาย จรนฺตานํ อสฺสมํสํ เทนฺติ. ภิกฺขู อสฺสมํสํ ปริภุญฺชนฺติ.  มนุสฺสา อุชฺฌายนฺติ ขิยฺยนฺติ วิปาเจนฺติ “กถญฺหิ นาม สมณา สกฺยปุตฺติยา อสฺสมํสํ ปริภุญฺชิสฺสนฺติ.  ราชงฺคํ อสฺสา สเจ ราชา ชาเนยฺย น เนสํ อตฺตมโน อสฺสา”ติ.  ภควโต เอตมตฺถํ อาโรเจสุํ.  น ภิกฺขเว อสฺสมํสํ ปริภุญฺชิตพฺพํ.  โย ปริภุญฺเชยฺย อาปตฺติ ทุกฺกฏสฺสาติ.  เตน โข ปน สมเยน มนุสฺสา ทุพฺภิกฺเข สุนขมํสํ ปริภุญฺชนฺติ ภิกฺขูนํ ปิณฺฑาย จรนฺตานํ สุนขมํสํ เทนฺติ. ภิกฺขู สุนขมํสํ ปริภุญฺชนฺติ.  มนุสฺสา อุชฺฌายนฺติ ขิยฺยนฺติ วิปาเจนฺติ “กถญฺหิ นาม สมณา สกฺยปุตฺติยา สุนขมํสํ ปริภุญฺชิสฺสนฺติ เชคุจฺโฉ สุนโข ปฏิกูโล”ติ. 
atha kho bhagavā Pāṭaligāmike upāsake bahud eva rattiṃ dhammiyā kathāya sandassetvā samādapetvā samuttejetvā sampahaṃsetvā uyyojesi: abhikkantā kho gahapatayo ratti, yassa dāni kālaṃ maññathā ’ti.  evaṃ bhante ’ti kho Pāṭaligāmikā upāsakā bhagavato paṭisuṇitvā uṭṭhāyāsanā bhagavantaṃ abhivādetvā padakkhiṇaṃ katvā pakkamiṃsu. |6| 
ภควโต เอตมตฺถํ อาโรเจสุํ.  น ภิกฺขเว สุนขมํสํ ปริภุญฺชิตพฺพํ. 
atha kho bhagavā acirapakkantesu Pāṭaligāmikesu upāsakesu suññāgāraṃ pāvisi.  tena kho pana samayena Sunidhavassakārā Magadhamahāmattā Pāṭaligāme nagaraṃ māpenti Vajjīnaṃ paṭibāhāya.  addasa kho bhagavā rattiyā paccūsasamayaṃ paccuṭṭhāya dibbena cakkhunā visuddhena atikkantamānusakena sambahulā devatāyo Pāṭaligāme vatthūni parigaṇhantiyo.  yasmiṃ padese mahesakkhā devatā vatthūni parigaṇhanti, mahesakkhānaṃ tattha rājūnaṃ rājamahāmattānaṃ cittāni namanti nivesanāni māpetuṃ, yasmiṃ padese majjhimā devatā vatthūni parigaṇhanti, majjhimānaṃ tattha rājūnaṃ rājamahāmattānaṃ cittāni namanti nivesanāni māpetuṃ, yasmiṃ padese nīcā devatā vatthūni parigaṇhanti, nīcānaṃ tattha rājūnaṃ rājamahāmattānaṃ cittāni namanti nivesanāni māpetuṃ. |7| 
โย ปริภุญฺเชยฺย อาปตฺติ ทุกฺกฏสฺสาติ.  เตน โข ปน สมเยน มนุสฺสา ทุพฺภิกฺเข อหิมํสํ ปริภุญฺชนฺติ ภิกฺขูนํ ปิณฺฑาย จรนฺตานํ อหิมํสํ เทนฺติ. ภิกฺขู อหิมํสํ ปริภุญฺชนฺติ.  มนุสฺสา อุชฺฌายนฺติ ขิยฺยนฺติ วิปาเจนฺติ “กถญฺหิ นาม สมณา สกฺยปุตฺติยา อหิมํสํ ปริภุญฺชิสฺสนฺติ เชคุจฺโฉ อหิ ปฏิกูโล”ติ.  สุปสฺโสปิ นาคราชา เยน ภควา เตนุปสงฺกมิ อุปสงฺกมิตฺวา ภควนฺตํ อภิวาเทตฺวา เอกมนฺตํ อฏฺฐาสิ. 
atha kho bhagavā āyasmantaṃ Ānandaṃ āmantesi: ke nu kho te Ānanda Pāṭaligāme nagaraṃ māpentīti.  Sunidhavassakā-(229)rā bhante Magadhamahāmattā Pāṭaligāme nagaraṃ māpenti Vajjīnaṃ paṭibāhāyā ’ti.  seyyathāpi Ānanda devehi Tāvatiṃsehi saddhiṃ mantetvā evam eva kho Ānanda Sunidhavassakārā Magadhamahāmattā Pāṭaligāme nagaraṃ māpenti Vajjīnaṃ paṭibāhāya.  idhāhaṃ Ānanda rattiyā paccūsasamayaṃ paccuṭṭhāya addasaṃ dibbena cakkhunā visuddhena atikkantamānusakena sambahulā devatāyo ... nīcānaṃ tattha rājūnaṃ rājamahāmattānaṃ cittāni namanti nivesanāni māpetuṃ.  yāvatā Ānanda ariyaṃ āyatanaṃ yāvatā vaṇippatho idaṃ agganagaraṃ bhavissati Pāṭaliputtaṃ puṭabhedanaṃ.  Pāṭaliputtassa kho Ānanda tayo antarāyā bhavissanti, aggito vā udakato vā abbhantarato vā mithubhedā ’ti. |8| 
เอกมนฺตํ ฐิโต โข สุปสฺโส นาคราชา ภควนฺตํ เอตทโวจ “สนฺติ ภนฺเต นาคา อสฺสทฺธา อปฺปสนฺนา. เต อปฺปมตฺตเกหิปิ ภิกฺขู วิเหเฐยฺยุํ.  สาธุ ภนฺเต อยฺยา อหิมํสํ น ปริภุญฺเชยฺยุ”นฺติ.  อถ โข ภควา สุปสฺสํ นาคราชานํ ธมฺมิยา กถาย สนฺทสฺเสสิฯเปฯ ปทกฺขิณํ กตฺวา ปกฺกามิ.  อถ โข ภควา เอตสฺมึ นิทาเน เอตสฺมึ ปกรเณ ธมฺมึ กถํ กตฺวา ภิกฺขู อามนฺเตสิ “น ภิกฺขเว อหิมํสํ ปริภุญฺชิตพฺพํ.  โย ปริภุญฺเชยฺย อาปตฺติ ทุกฺกฏสฺสา”ติ.  เตน โข ปน สมเยน ลุทฺทกา สีหํ หนฺตฺวา สีหมํสํ ปริภุญฺชนฺติ ภิกฺขูนํ ปิณฺฑาย จรนฺตานํ สีหมํสํ เทนฺติ. 
atha kho Sunidhavassakārā Magadhamahāmattā yena bhagavā ten’ upasaṃkamiṃsu, upasaṃkamitvā bhagavatā saddhiṃ sammodiṃsu, sammodanīyaṃ kathaṃ sāraṇīyaṃ vītisāretvā ekamantaṃ aṭṭhaṃsu, ekamantaṃ ṭhitā kho Sunidhavassakārā Magadhamahāmattā bhagavantaṃ etad avocuṃ: adhivāsetu no bhavaṃ Gotamo ajjatanāya bhattaṃ saddhiṃ bhikkhusaṃghenā ’ti.  adhivāsesi bhagavā tuṇhibhāvena.  atha kho Sunidhavassakārā Magadhamahāmattā bhagavato adhivāsanaṃ viditvā pakkamiṃsu. |9| 
ภิกฺขู สีหมํสํ ปริภุญฺชิตฺวา อรญฺเญ วิหรนฺติ. สีหา สีหมํสคนฺเธน ภิกฺขู ปริปาเตนฺติ.  ภควโต เอตมตฺถํ อาโรเจสุํ.  น ภิกฺขเว สีหมํสํ ปริภุญฺชิตพฺพํ. 
atha kho Sunidhavassakārā Magadhamahāmattā paṇītaṃ khādaniyaṃ bhojaniyaṃ paṭiyādāpetvā bhagavato kālaṃ ārocāpesuṃ: kālo bho Gotama, niṭṭhitaṃ bhattan ti.  atha kho bhagavā pubbaṇhasamayaṃ nivāsetvā pattacīvaraṃ ādāya yena Sunidhavassakārānaṃ Magadhamahāmattānaṃ parivesanā ten’ upasaṃkami, upasaṃkamitvā paññatte āsane nisīdi saddhiṃ bhikkhusaṃghena.  atha kho Sunidhavassakārā Magadhamahāmattā buddhapamukhaṃ bhikkhusaṃghaṃ paṇītena khādaniyena bhojaniyena sahatthā santappetvā sampavāretvā bhagavantaṃ bhuttāviṃ onītapattapāṇiṃ ekamantaṃ nisīdiṃsu, ekamantaṃ nisinne kho Sunidhavassakāre Magadhamahāmatte bhagavā imāhi gāthāhi anumodi: |10| 
โย ปริภุญฺเชยฺย อาปตฺติ ทุกฺกฏสฺสาติ.  เตน โข ปน สมเยน ลุทฺทกา พฺยคฺฆํ หนฺตฺวาฯเปฯ ทีปิ๎ หนฺตฺวาฯเปฯ อจฺฉํ หนฺตฺวาฯเปฯ ตรจฺฉํ หนฺตฺวา ตรจฺฉมํสํ ปริภุญฺชนฺติ ภิกฺขูนํ ปิณฺฑาย จรนฺตานํ ตรจฺฉมํสํ เทนฺติ.  ภิกฺขู ตรจฺฉมํสํ ปริภุญฺชิตฺวา อรญฺเญ วิหรนฺติ. ตรจฺฉา ตรจฺฉมํสคนฺเธน ภิกฺขู ปริปาเตนฺติ. 
yasmiṃ padese kappeti vāsaṃ paṇḍitajātiyo, sīlavantettha bhojetvā saññate brahmacariye | yā tattha devatā āsuṃ tāsaṃ dakkhiṇam ādise, tā pūjitā pūjayanti, mānitā mānayanti naṃ, | (230) tato naṃ anukampanti mātā puttaṃ va orasaṃ.  devatānukampito poso sadā bhadrāni passatīti.  atha kho bhagavā Sunidhavassakāre Magadhamahāmatte imāhi gāthāhi anumoditvā uṭṭhāyāsanā pakkāmi. |11| 
ภควโต เอตมตฺถํ อาโรเจสุํ.  น ภิกฺขเว ตรจฺฉมํสํ ปริภุญฺชิตพฺพํ.  โย ปริภุญฺเชยฺย อาปตฺติ ทุกฺกฏสฺสาติ. (หตฺถิมํสาทิปฏิกฺเขปกถา นิฏฺฐิตา. สุปฺปิยภาณวาโร นิฏฺฐิโต ทุติโย.) 
tena kho pana samayena Sunidhavassakārā Magadhamahāmattā bhagavantaṃ piṭṭhito-piṭṭhito anubaddhā honti, yen’ ajja samaṇo Gotamo dvārena nikkhamissati taṃ Gotamadvāraṃ nāma bhavissati, yena titthena Gaṅgaṃ nadiṃ uttarissati taṃ Gotamatitthaṃ nāma bhavissatīti.  atha kho bhagavā yena dvārena nikkhami taṃ Gotamadvāraṃ nāma ahosi.  atha kho bhagavā yena Gaṅgā nadī ten’ upasaṃkami.  tena kho pana samayena Gaṅgā nadī pūrā hoti samatitthikā kākapeyyā.  manussā aññe nāvaṃ pariyesanti aññe uḷumpaṃ pariyesanti aññe kullaṃ bandhanti orā pāraṃ gantukāmā. |12| 
    (๑๗๐. ยาคุมธุโคฬกานุชานนา) ๒๘๒. อถ โข ภควา พาราณสิยํ ยถาภิรนฺตํ วิหริตฺวา เยน อนฺธกวินฺทํ เตน จาริกํ ปกฺกามิ มหตา ภิกฺขุสงฺเฆน สทฺธึ อฑฺฒเตลเสหิ ภิกฺขุสเตหิ.  เตน โข ปน สมเยน ชานปทา มนุสฺสา พหุํ โลณมฺปิ เตลมฺปิ ตณฺฑุลมฺปิ ขาทนียมฺปิ สกเฏสุ อาโรเปตฺวา พุทฺธปฺปมุขสฺส ภิกฺขุสงฺฆสฺส ปิฏฺฐิโต ปิฏฺฐิโต อนุพนฺธา โหนฺติ ยทา ปฏิปาฏึ ลภิสฺสาม ตทา ภตฺตํ กริสฺสามาติ ปญฺจมตฺตานิ จ วิฆาสาทสตานิ.  อถ โข ภควา อนุปุพฺเพน จาริกํ จรมาโน เยน อนฺธกวินฺทํ ตทวสริ. 
addasa kho bhagavā te manusse aññe nāvaṃ pariyesante aññe uḷumpaṃ pariyesante aññe kullaṃ bandhante orā pāraṃ gantukāme, disvāna seyyathāpi nāma balavā puriso sammiñjitaṃ vā bāhaṃ pasāreyya pasāritaṃ vā bāhaṃ sammiñjeyya, evam eva Gaṅgāya nadiyā orimatīre antarahito pārimatīre paccuṭṭhāsi saddhiṃ bhikkhusaṃghena.  atha kho bhagavā etam atthaṃ viditvā tāyaṃ velāyaṃ imaṃ udānaṃ udānesi: ye taranti aṇṇavaṃ saraṃ setuṃ katvāna vissajja pallalāni, kullaṃ hi jano bandhati, tiṇṇā medhāvino janā ’ti. |13| 
อถ โข อญฺญตรสฺส พฺราหฺมณสฺส ปฏิปาฏึ อลภนฺตสฺส เอตทโหสิ “อตีตานิ โข เม ทฺเว มาสานิ พุทฺธปฺปมุขํ ภิกฺขุสงฺฆํ อนุพนฺธนฺตสฺส ‘ยทา ปฏิปาฏึ ลภิสฺสามิ ตทา ภตฺตํ กริสฺสามี’ติ น จ เม ปฏิปาฏิ ลพฺภติ อหญฺจมฺหิ เอกตฺตโก พหุ จ เม ฆราวาสตฺโถ หายติ.  ยํนูนาหํ ภตฺตคฺคํ โอโลเกยฺยํ ยํ ภตฺตคฺเค นาสฺส ตํ ปฏิยาเทยฺย”นฺติ. 
||28|| 
อถ โข โส พฺราหฺมโณ ภตฺตคฺคํ โอโลเกนฺโต ทฺเว นาทฺทส ยาคุญฺจ มธุโคฬกญฺจ 
atha kho bhagavā yena Koṭigāmo ten’ upasaṃkami.  tatra sudaṃ bhagavā Koṭigāme viharati.  tatra kho bhagavā bhikkhū āmantesi: catunnaṃ bhikkhave ariyasaccānaṃ ananubodhā appaṭivedhā evam idaṃ dīgham addhānaṃ sandhāvitaṃ saṃsaritaṃ mamañ c’ eva tumhākañ ca.  katamesaṃ catunnaṃ.  dukkhassa bhikkhave ariyasaccassa ananubodhā appaṭivedhā evam idaṃ dīghaṃ addhānaṃ sandhāvitaṃ saṃsaritaṃ mamañ c’ eva tumhākañ ca.  dukkhasamudayassa ariyasaccassa, dukkhanirodhassa ariyasaccassa, dukkhanirodhagāminipaṭipadāariyasaccassa ananubodhā appaṭivedhā evam idaṃ dīgham addhānaṃ sandhāvitaṃ saṃsaritaṃ mamañ c’ eva tumhākañ ca. |1| 
อถ โข โส พฺราหฺมโณ เยนายสฺมา อานนฺโท เตนุปสงฺกมิ อุปสงฺกมิตฺวา อายสฺมนฺตํ อานนฺทํ เอตทโวจ “อิธ เม โภ อานนฺท ปฏิปาฏึ อลภนฺตสฺส เอตทโหสิ ‘อตีตานิ โข เม ทฺเว มาสานิ พุทฺธปฺปมุขํ ภิกฺขุสงฺฆํ อนุพนฺธนฺตสฺส ยทา ปฏิปาฏึ ลภิสฺสามิ ตทา ภตฺตํ กริสฺสามีติ. น จ เม ปฏิปาฏิ ลพฺภติ อหญฺจมฺหิ เอกตฺตโก พหุ จ เม ฆราวาสตฺโถ หายติ.  ยํนูนาหํ ภตฺตคฺคํ โอโลเกยฺยํ ยํ ภตฺตคฺเค นาสฺส ตํ ปฏิยาเทยฺย’นฺติ.  โส โข อหํ โภ อานนฺท ภตฺตคฺคํ โอโลเกนฺโต ทฺเว นาทฺทสํ ยาคุญฺจ มธุโคฬกญฺจ.  สจาหํ โภ อานนฺท ปฏิยาเทยฺยํ ยาคุญฺจ มธุโคฬกญฺจ ปฏิคฺคณฺเหยฺย เม ภวํ โคตโม”ติ?  “เตน หิ พฺราหฺมณ ภควนฺตํ ปฏิปุจฺฉิสฺสามี”ติ.  อถ โข อายสฺมา อานนฺโท ภควโต เอตมตฺถํ อาโรเจสิ. 
tayidaṃ bhikkhave dukkhaṃ ariya-(231)saccaṃ anubuddhaṃ paṭividdhaṃ, dukkhasamudayaṃ ariyasaccaṃ anubuddhaṃ paṭividdhaṃ, dukkhanirodhaṃ ariyasaccaṃ anubuddhaṃ paṭividdhaṃ, dukkhanirodhagāminī {paṭipadā} ariyasaccaṃ anubuddhaṃ paṭividdhaṃ, ucchinnā bhavataṇhā, khīṇā bhavanetti, n’ atthi dāni punabbhavo ’ti.  catunnaṃ ariyasaccānaṃ yathābhūtaṃ adassanā saṃsitaṃ dīgham addhānaṃ tāsu-tāsv eva jātisu. | tāni etāni diṭṭhāni, bhavanetti samūhatā, ucchinnaṃ mūlaṃ dukkhassa, n’ atthi dāni punabbhavo ’ti. |2| 
เตน หานนฺท ปฏิยาเทตูติ.  เตน หิ พฺราหฺมณ ปฏิยาเทหีติ. 
||29|| 
อถ โข โส พฺราหฺมโณ ตสฺสา รตฺติยา อจฺจเยน ปหูตํ ยาคุญฺจ มธุโคฬกญฺจ ปฏิยาทาเปตฺวา ภควโต อุปนาเมสิ ปฏิคฺคณฺหาตุ เม ภวํ โคตโม ยาคุญฺจ มธุโคฬกญฺจาติ. 
assosi kho Ambapālī gaṇikā: bhagavā kira Koṭigāmaṃ anuppatto ’ti.  atha kho Ambapālī gaṇikā bhadrāni -bhadrāni yānāni yojāpetvā bhadraṃ yānaṃ abhirūhitvā bhadrehi-bhadrehi yānehi Vesāliyā niyyāsi bhagavantaṃ dassanāya.  yāvatikā yānassa bhūmi yānena gantvā yānā paccorohitvā pattikā ’va yena bhagavā ten’ upasaṃkami, upasaṃkamitvā bhagavantaṃ abhivādetvā ekamantaṃ nisīdi. |1| 
เตน หิ พฺราหฺมณ ภิกฺขูนํ เทหีติ.  ภิกฺขู กุกฺกุจฺจายนฺตา น ปฏิคฺคณฺหนฺติ.  ปฏิคฺคณฺหถ ภิกฺขเว ปริภุญฺชถาติ. 
ekamantaṃ nisinnaṃ kho Ambapāliṃ gaṇikaṃ bhagavā dhammiyā kathāya sandassesi samādapesi samuttejesi sampahaṃsesi.  atha kho Ambapālī gaṇikā bhagavatā dhammiyā kathāya sandassitā samādapitā samuttejitā sampahaṃsitā bhagavantaṃ etad avoca: adhivāsetu me bhante bhagavā svātanāya bhattaṃ saddhiṃ bhikkhusaṃghenā ’ti.  adhivāsesi bhagavā tuṇhibhāvena.  atha kho Ambapālī gaṇikā bhagavato adhivāsanaṃ viditvā uṭṭhāyāsanā bhagavantaṃ abhivādetvā padakkhiṇaṃ katvā pakkāmi. |2| 
อถ โข โส พฺราหฺมโณ พุทฺธปฺปมุขํ ภิกฺขุสงฺฆํ ปหูตาย ยาคุยา จ มธุโคฬเกน จ สหตฺถา สนฺตปฺเปตฺวา สมฺปวาเรตฺวา ภควนฺตํ โธตหตฺถํ โอนีตปตฺตปาณึ เอกมนฺตํ นิสีทิ.  เอกมนฺตํ นิสินฺนํ โข ตํ พฺราหฺมณํ ภควา เอตทโวจ “ทสยิเม พฺราหฺมณ อานิสํสา ยาคุยา. กตเม ทส?  ยาคุํ เทนฺโต อายุํ เทติ วณฺณํ เทติ สุขํ เทติ พลํ เทติ ปฏิภานํ เทติ ยาคุ ปีตา ขุทฺทํ ปฏิหนติ ปิปาสํ วิเนติ วาตํ อนุโลเมติ วตฺถึ โสเธติ อามาวเสสํ ปาเจติ  อิเม โข พฺราหฺมณ ทสานิสํสา ยาคุยา”ติ. 
assosuṃ kho Vesālikā Licchavī: bhagavā kira Koṭigāmaṃ anuppatto ’ti.  atha kho Vesālikā Licchavī bhadrāni-bhadrāni yānāni yojāpetvā bhadraṃ-bhadraṃ yānaṃ abhirūhitvā bhadrehi-bhadrehi yānehi Vesāliyā niyyāsuṃ bhagavantaṃ dassanāya.  appekacce Licchavī nīlā honti nīlavaṇṇā nīlavatthā nīlālaṃkārā, appekacce Licchavī pītā honti pītavaṇṇā pītavatthā pītālaṃkārā, appekacce Licchavī lohitakā honti lohitvaṇṇā lohitavatthā lohitālaṃkārā, appekacce Licchavī odātā honti odātavaṇṇā odātavatthā odātālaṃkārā.  atha kho Ambapālī gaṇikā daharānaṃ-daharānaṃ Licchavīnaṃ īsāya īsaṃ yugena yugaṃ cakkena cakkaṃ akkhena akkhaṃ paṭivaṭṭesi. |3| 
โย สญฺญตานํ ปรทตฺตโภชินํ. กาเลน สกฺกจฺจ ททาติ ยาคุํ. ทสสฺส ฐานานิ อนุปฺปเวจฺฉติ. อายุญฺจ วณฺณญฺจ สุขํ พลญฺจฯ ปฏิภานมสฺส อุปชายเต ตโต. ขุทฺทํ ปิปาสญฺจ พฺยปเนติ วาตํ. โสเธติ วตฺถึ ปริณาเมติ ภุตฺตํ.  เภสชฺชเมตํ สุคเตน วณฺณิตํฯ ตสฺมา หิ ยาคุํ อลเมว ทาตุํ. นิจฺจํ มนุสฺเสน สุขตฺถิเกน. ทิพฺพานิ วา ปตฺถยตา สุขานิ. มนุสฺสโสภคฺยตมิจฺฉตา วาติฯ  อถ โข ภควา ตํ พฺราหฺมณํ อิมาหิ คาถาหิ อนุโมทิตฺวา อุฏฺฐายาสนา ปกฺกามิ.  อถ โข ภควา เอตสฺมึ นิทาเน เอตสฺมึ ปกรเณ ธมฺมึ กถํ กตฺวา ภิกฺขู อามนฺเตสิ “อนุชานามิ ภิกฺขเว ยาคุญฺจ มธุโคฬกญฺจา”ติ. (ยาคุมธุโคฬกานุชานนา นิฏฺฐิตา.) 
(232) atha kho te Licchavī Ambapāliṃ gaṇikaṃ etad avocuṃ: kissa je Ambapāli daharānaṃ-daharānaṃ Licchavīnaṃ īsāya īsaṃ yugena yugaṃ cakkena cakkaṃ akkhena akkhaṃ paṭivaṭṭesīti.  tathā hi pana mayā ayyaputtā svātanāya buddhapamukho bhikkhusaṃgho nimantito ’ti.  dehi je Ambapāli amhākaṃ etaṃ bhattaṃ satasahassenā ’ti.  sace pi ayyaputtā Vesāliṃ sāhāraṃ dajjeyyātha, n’ eva dajjāhaṃ taṃ bhattan ti.  atha kho te Licchavī aṅgulī poṭhesuṃ: jit’ amhā vata bho ambakāya, parājit’ amhā vata bho ambakāyā ’ti. |4| 
    (๑๗๑. ตรุณปสนฺนมหามตฺตวตฺถุ) ๒๘๓. อสฺโสสุํ โข มนุสฺสา ภควตา กิร ยาคุ อนุญฺญาตา มธุโคฬกญฺจาติ.  เต กาลสฺเสว โภชฺชยาคุํ ปฏิยาเทนฺติ มธุโคฬกญฺจ.  ภิกฺขู กาลสฺเสว โภชฺชยาคุยา ธาตา มธุโคฬเกน จ ภตฺตคฺเค น จิตฺตรูปํ ปริภุญฺชนฺติ. 
atha kho te Licchavī yena bhagavā ten’ upasaṃkamiṃsu.  addasa kho bhagavā te Licchavī dūrato ’va āgacchante, disvāna bhikkhū āmantesi: yehi bhikkhave bhikkhūhi devā Tāvatiṃsā adiṭṭhapubbā, oloketha bhikkhave Licchaviparisaṃ apaloketha bhikkhave Licchaviparisaṃ upasaṃharatha bhikkhave Licchaviparisaṃ Tāvatiṃsaparisan ti.  atha kho te Licchavī yāvatikā yānassa bhūmi yānena gantvā yānā paccorohitvā pattikā ’va yena bhagavā ten’ upasaṃkamiṃsu, upasaṃkamitvā bhagavantaṃ abhivādetvā ekamantaṃ nisīdiṃsu.  ekamantaṃ nisinne kho te Licchavī bhagavā dhammiyā kathāya sandassesi samādapesi samuttejesi sampahaṃsesi.  atha kho te Licchavī bhagavatā dhammiyā kathāya sandassitā samādapitā samuttejitā sampahaṃsitā bhagavantaṃ etad avocuṃ: adhivāsetu no bhante bhagavā svātanāya bhattaṃ saddhiṃ bhikkhusaṃghenā ’ti.  adhivuttho ’mhi Licchavī svātanāya Ambapāliyā gaṇikāya bhattan ti.  atha kho te Licchavī aṅgulī poṭhesuṃ: jit’ amhā vata kho ambakāya, parājit’ amhā vata bho ambakāyā ’ti.  atha kho te Licchavī bhagavato bhāsitaṃ abhinanditvā anumoditvā uṭṭhāyāsanā bhagavantaṃ abhivādetvā padakkhiṇaṃ katvā pakkamiṃsu. |5| 
เตน โข ปน สมเยน อญฺญตเรน ตรุณปสนฺเนน มหามตฺเตน สฺวาตนาย พุทฺธปฺปมุโข ภิกฺขุสงฺโฆ นิมนฺติโต โหติ.  อถ โข ตสฺส ตรุณปสนฺนสฺส มหามตฺตสฺส เอตทโหสิ “ยํนูนาหํ อฑฺฒเตลสนฺนํ ภิกฺขุสตานํ อฑฺฒเตลสานิ มํสปาติสตานิ ปฏิยาเทยฺยํ เอกเมกสฺส ภิกฺขุโน เอกเมกํ มํสปาตึ อุปนาเมยฺย”นฺติ.  อถ โข โส ตรุณปสนฺโน มหามตฺโต ตสฺสา รตฺติยา อจฺจเยน ปณีตํ ขาทนียํ โภชนียํ ปฏิยาทาเปตฺวา อฑฺฒเตลสานิ จ มํสปาติสตานิ ภควโต กาลํ อาโรจาเปสิ “กาโล ภนฺเต นิฏฺฐิตํ ภตฺต”นฺติ.  อถ โข ภควา ปุพฺพณฺหสมยํ นิวาเสตฺวา ปตฺตจีวรมาทาย เยน ตสฺส ตรุณปสนฺนสฺส มหามตฺตสฺส นิเวสนํ เตนุปสงฺกมิ อุปสงฺกมิตฺวา ปญฺญตฺเต อาสเน นิสีทิ สทฺธึ ภิกฺขุสงฺเฆน.  อถ โข โส ตรุณปสนฺโน มหามตฺโต ภตฺตคฺเค ภิกฺขู ปริวิสติ.  ภิกฺขู เอวมาหํสุ “โถกํ อาวุโส เทหิ โถกํ อาวุโส เทหี”ติ.  “มา โข ตุมฺเห ภนฺเต ‘อยํ ตรุณปสนฺโน มหามตฺโต’ติ โถกํ โถกํ ปฏิคฺคณฺหถ.  พหุํ เม ขาทนียํ โภชนียํ ปฏิยตฺตํ อฑฺฒเตลสานิ จ มํสปาติสตานิ. เอกเมกสฺส ภิกฺขุโน เอกเมกํ มํสปาตึ อุปนาเมสฺสามีติ. 
atha kho bhagavā Koṭigāme yathābhirantaṃ viharitvā yena Nātikā ten’ upasaṃkami.  tatra sudaṃ bhagavā Ñātike viharati Giñjakāvasathe.  atha kho Ambapālī gaṇikā tassā rattiyā accayena sake ārāme paṇītaṃ khādaniyaṃ bhojaniyaṃ paṭiyādāpetvā bhagavato kālaṃ ārocāpesi: kālo bhante, niṭṭhitaṃ bhattan ti.  atha kho bhagavā pubbaṇhasamayaṃ nivāsetvā pattacīvaram ādāya yena Ambapāliyā gaṇikāya parivesanā ten’ upasaṃkami, upasaṃkamitvā paññatte āsane nisīdi saddhiṃ bhikkhu (233) saṃghena.  atha kho Ambapālī gaṇikā buddhapamukhaṃ bhikkhusaṃghaṃ paṇītena khādaniyena bhojaniyena sahatthā santappetvā sampavāretvā bhagavantaṃ bhuttāviṃ onītapattapāṇiṃ ekamantaṃ nisīdi.  ekamantaṃ nisinnā kho Ambapālī gaṇikā bhagavantaṃ etad avoca: imāhaṃ bhante Ambapālivanaṃ buddhapamukhassa bhikkhusaṃghassa dammīti.  paṭiggahesi bhagavā ārāmaṃ.  atha kho bhagavā Ambapāliṃ gaṇikaṃ dhammiyā kathāya sandassetvā ... sampahaṃsetvā uṭṭhāyāsanā yena Mahāvanaṃ ten’ upasaṃkami.  tatra sudaṃ bhagavā Vesāliyaṃ viharati Mahāvane Kūṭāgārasālāyaṃ. |6| 
ปฏิคฺคณฺหถ ภนฺเต ยาวทตฺถ”นฺติ.  “น โข มยํ อาวุโส เอตํการณา โถกํ โถกํ ปฏิคฺคณฺหาม อปิ จ มยํ กาลสฺเสว โภชฺชยาคุยา ธาตา มธุโคฬเกน จ. เตน มยํ โถกํ โถกํ ปฏิคฺคณฺหามา”ติ.  อถ โข โส ตรุณปสนฺโน มหามตฺโต อุชฺฌายติ ขิยฺยติ วิปาเจติ “กถญฺหิ นาม ภทนฺตา มยา นิมนฺติตา อญฺญสฺส โภชฺชยาคุํ ปริภุญฺชิสฺสนฺติ น จาหํ ปฏิพโล ยาวทตฺถํ ทาตุ”นฺติ กุปิโต อนตฺตมโน อาสาทนาเปกฺโข ภิกฺขูนํ ปตฺเต ปูเรนฺโต อคมาสิ ภุญฺชถ วา หรถ วาติ.  อถ โข โส ตรุณปสนฺโน มหามตฺโต พุทฺธปฺปมุขํ ภิกฺขุสงฺฆํ ปณีเตน ขาทนีเยน โภชนีเยน สหตฺถา สนฺตปฺเปตฺวา สมฺปวาเรตฺวา ภควนฺตํ ภุตฺตาวึ โอนีตปตฺตปาณึ เอกมนฺตํ นิสีทิ.  เอกมนฺตํ นิสินฺนํ โข ตํ ตรุณปสนฺนํ มหามตฺตํ ภควา ธมฺมิยา กถาย สนฺทสฺเสตฺวา สมาทเปตฺวา สมุตฺเตเชตฺวา สมฺปหํเสตฺวา อุฏฺฐายาสนา ปกฺกามิ.  อถ โข ตสฺส ตรุณปสนฺนสฺส มหามตฺตสฺส อจิรปกฺกนฺตสฺส ภควโต อหุเทว กุกฺกุจฺจํ อหุ วิปฺปฏิสาโร “อลาภา วต เม น วต เม ลาภา ทุลฺลทฺธํ วต เม น วต เม สุลทฺธํ โยหํ กุปิโต อนตฺตมโน อาสาทนาเปกฺโข ภิกฺขูนํ ปตฺเต ปูเรนฺโต อคมาสึ ‘ภุญฺชถ วา หรถ วา’ติ.  กึ นุ โข มยา พหุํ ปสุตํ ปุญฺญํ วา อปุญฺญํ วา”ติ?  อถ โข โส ตรุณปสนฺโน มหามตฺโต เยน ภควา เตนุปสงฺกมิ อุปสงฺกมิตฺวา ภควนฺตํ อภิวาเทตฺวา เอกมนฺตํ นิสีทิ.  เอกมนฺตํ นิสินฺโน โข โส ตรุณปสนฺโน มหามตฺโต ภควนฺตํ เอตทโวจ “อิธ มยฺหํ ภนฺเต อจิรปกฺกนฺตสฺส ภควโต อหุเทว กุกฺกุจฺจํ อหุ วิปฺปฏิสาโร ‘อลาภา วต เม น วต เม ลาภา ทุลฺลทฺธํ วต เม น วต เม สุลทฺธํ โยหํ กุปิโต อนตฺตมโน อาสาทนาเปกฺโข ภิกฺขูนํ ปตฺเต ปูเรนฺโต อคมาสึ ภุญฺชถ วา หรถ วาติ. 
||30|| 
กึ นุ โข มยา พหุํ ปสุตํ ปุญฺญํ วา อปุญฺญํ วา’ติ. 
Licchavibhāṇavāraṃ niṭṭhitaṃ. 
กึ นุ โข มยา ภนฺเต พหุํ ปสุตํ ปุญฺญํ วา อปุญฺญํ วา”ติ? 
tena kho pana samayena abhiññātā-abhiññātā Licchavī santhāgāre sannisinnā sannipatitā anekapariyāyena buddhassa vaṇṇaṃ bhāsanti, dhammassa vaṇṇaṃ bhāsanti, saṃghassa vaṇṇaṃ bhāsanti.  tena kho pana samayena Sīho senāpati nigaṇṭhasāvako tassaṃ parisāyaṃ nisinno hoti.  atha kho Sīhassa senāpatissa etad ahosi: nissaṃsayaṃ kho so bhagavā arahaṃ sammāsambuddho bhavissati, tathā h’ ime abhiññātā -abhiññātā Licchavī santhāgāre sannisinnā sannipatitā anekapariyāyena buddhassa vaṇṇaṃ bhāsanti, dhammassa vaṇṇaṃ bhāsanti, saṃghassa vaṇṇaṃ bhāsanti.  yaṃ nūnāhaṃ taṃ bhagavantaṃ dassanāya upasaṃkameyyaṃ arahantaṃ sammāsambuddhan ti. |1| 
“ยทคฺเคน ตยา อาวุโส สฺวาตนาย พุทฺธปฺปมุโข ภิกฺขุสงฺโฆ นิมนฺติโต ตทคฺเคน เต พหุํ ปุญฺญํ ปสุตํ. ยทคฺเคน เต เอกเมเกน ภิกฺขุนา เอกเมกํ สิตฺถํ ปฏิคฺคหิตํ ตทคฺเคน เต พหุํ ปุญฺญํ ปสุตํ สคฺคา เต อารทฺธา”ติ.  อถ โข โส ตรุณปสนฺโน มหามตฺโต “ลาภา กิร เม สุลทฺธํ กิร เม พหุํ กิร มยา ปุญฺญํ ปสุตํ สคฺคา กิร เม อารทฺธา”ติ หฏฺโฐ อุทคฺโค อุฏฺฐายาสนา ภควนฺตํ อภิวาเทตฺวา ปทกฺขิณํ กตฺวา ปกฺกามิ.  อถ โข ภควา เอตสฺมึ นิทาเน เอตสฺมึ ปกรเณ ภิกฺขุสงฺฆํ สนฺนิปาตาเปตฺวา ภิกฺขู ปฏิปุจฺฉิ “สจฺจํ กิร ภิกฺขเว ภิกฺขู อญฺญตฺร นิมนฺติตา อญฺญสฺส โภชฺชยาคุํ ปริภุญฺชนฺตี”ติ?  “สจฺจํ ภควา”ติ. 
atha kho Sīho senāpati yena nigaṇṭho Nātaputto ten’ upasaṃkami, upasaṃkamitvā nigaṇṭhaṃ Nātaputtaṃ etad avoca: icchām’ ahaṃ bhante samaṇaṃ Gotamaṃ dassanāya upasaṃkamitun ti.  kiṃ pana tvaṃ Sīha kiriyavādo samāno akiriyavādaṃ samaṇaṃ Gotamaṃ dassanāya upasaṃkamissasi.  samaṇo hi Sīha Gotamo akiriyavādo akiriyāya dhammaṃ deseti tena ca sāvake vinetīti.  atha kho Sīhassa senāpatissa yo ahosi gamikābhisaṃkhāro bhagavantaṃ dassanāya so paṭippassambhi. |2| 
วิครหิ พุทฺโธ ภควาฯเปฯ กถญฺหิ นาม เต ภิกฺขเว โมฆปุริสา อญฺญตฺร นิมนฺติตา อญฺญสฺส โภชฺชยาคุํ ปริภุญฺชิสฺสนฺติ.  เนตํ ภิกฺขเว อปฺปสนฺนานํ วา ปสาทายฯเปฯ  วิครหิตฺวา ธมฺมึ กถํ กตฺวา ภิกฺขู อามนฺเตสิ “น ภิกฺขเว อญฺญตฺร นิมนฺติเตน อญฺญสฺส โภชฺชยาคุ ปริภุญฺชิตพฺพา.  โย ปริภุญฺเชยฺย ยถาธมฺโม กาเรตพฺโพ”ติ. (ตรุณปสนฺนมหามตฺตวตฺถุ นิฏฺฐิตํ.) 
dutiyam pi kho abhiññātā-abhiññātā Licchavī santhāgāre sannisinnā sannipatitā anekapariyāyena buddhassa vaṇṇaṃ bhāsanti, dhammassa vaṇṇaṃ bhāsanti, saṃghassa vaṇṇaṃ bhāsanti.  dutiyam pi kho Sīhassa senāpatissa etad ahosi: nissaṃsayaṃ ... sammāsambuddhan ti.  dutiyam pi kho Sīho senāpati (234) yena nigaṇṭho Nātaputto ... vineti.  dutiyam pi kho Sīhassa senāpatissa ... paṭippassambhi.  tatiyam pi kho abhiññātā ... vaṇṇaṃ bhāsanti.  tatiyam pi kho Sīhassa senāpatissa etad ahosi: nissaṃsayaṃ ... saṃghassa vaṇṇaṃ bhāsanti.  kiṃ hi me karissanti nigaṇṭhā apalokitā vā anapalokitvā vā.  yaṃ nūnāhaṃ anapaloketvā ’va nigaṇṭhe taṃ bhagavantaṃ dassanāya upasaṃkameyyaṃ arahantaṃ sammāsambuddhan ti. |3| 
    (๑๗๒. เพลฏฺฐกจฺจานวตฺถุ) ๒๘๔. อถ โข ภควา อนฺธกวินฺเท ยถาภิรนฺตํ วิหริตฺวา เยน ราชคหํ เตน จาริกํ ปกฺกามิ มหตา ภิกฺขุสงฺเฆน สทฺธึ อฑฺฒเตลเสหิ ภิกฺขุสเตหิ.  เตน โข ปน สมเยน เพลฏฺโฐ กจฺจาโน ราชคหา อนฺธกวินฺทํ อทฺธานมคฺคปฺปฏิปนฺโน โหติ ปญฺจมตฺเตหิ สกฏสเตหิ สพฺเพเหว คุฬกุมฺภปูเรหิ.  อทฺทสา โข ภควา เพลฏฺฐํ กจฺจานํ ทูรโตว อาคจฺฉนฺตํ ทิสฺวาน มคฺคา โอกฺกมฺม อญฺญตรสฺมึ รุกฺขมูเล นิสีทิ.  อถ โข เพลฏฺโฐ กจฺจาโน เยน ภควา เตนุปสงฺกมิ อุปสงฺกมิตฺวา ภควนฺตํ อภิวาเทตฺวา เอกมนฺตํ อฏฺฐาสิ.  เอกมนฺตํ ฐิโต โข เพลฏฺโฐ กจฺจาโน ภควนฺตํ เอตทโวจ “อิจฺฉามหํ ภนฺเต เอกเมกสฺส ภิกฺขุโน เอกเมกํ คุฬกุมฺภํ ทาตุ”นฺติ.  “เตน หิ ตฺวํ กจฺจาน เอกํเยว คุฬกุมฺภํ อาหรา”ติ. 
atha kho Sīho senāpati pañcahi rathasatehi divādivassa Vesāliyā niyyāsi bhagavantaṃ dassanāya.  yāvatikā yānassa bhūmi yānena gantvā yānā paccorohitvā pattiko ’va yena bhagavā ten’ upasaṃkami, upasaṃkamitvā bhagavantaṃ abhivādetvā ekamantaṃ nisīdi.  ekamantaṃ nisinno kho Sīho senāpati bhagavantaṃ etad avoca: sutaṃ metaṃ bhante: akiriyavādo samaṇo Gotamo, akiriyāya dhammaṃ deseti tena ca sāvake vinetīti.  ye te bhante evam āhaṃsu: akiriyavādo samaṇo Gotamo, akiriyāya dhammaṃ deseti tena ca sāvake vinetīti, kacci te bhante bhagavato vuttavādī na ca bhagavantaṃ abhūtena abbhācikkhanti dhammassa ca anudhammaṃ vyākaronti.  na ca koci sahadhammiko vādānuvādo gārayhaṭṭhānaṃ āgacchati, anabbhakkhātukāmā hi mayaṃ bhante bhagavantan ti. |4| 
“เอวํ ภนฺเต”ติ โข เพลฏฺโฐ กจฺจาโน ภควโต ปฏิสฺสุณิตฺวา เอกํเยว คุฬกุมฺภํ อาทาย เยน ภควา เตนุปสงฺกมิ อุปสงฺกมิตฺวา ภควนฺตํ เอตทโวจ “อาภโต ภนฺเต คุฬกุมฺโภ กถาหํ ภนฺเต ปฏิปชฺชามี”ติ?  “เตน หิ ตฺวํ กจฺจาน ภิกฺขูนํ คุฬํ เทหี”ติ.  “เอวํ ภนฺเต”ติ โข เพลฏฺโฐ กจฺจาโน ภควโต ปฏิสฺสุณิตฺวา ภิกฺขูนํ คุฬํ ทตฺวา ภควนฺตํ เอตทโวจ “ทินฺโน ภนฺเต ภิกฺขูนํ คุโฬ พหุ จายํ คุโฬ อวสิฏฺโฐ. กถาหํ ภนฺเต ปฏิปชฺชามี”ติ?  “เตน หิ ตฺวํ กจฺจาน ภิกฺขูนํ คุฬํ ยาวทตฺถํ เทหี”ติ.  “เอวํ ภนฺเต”ติ โข เพลฏฺโฐ กจฺจาโน ภควโต ปฏิสฺสุณิตฺวา ภิกฺขูนํ คุฬํ ยาวทตฺถํ ทตฺวา ภควนฺตํ เอตทโวจ “ทินฺโน ภนฺเต ภิกฺขูนํ คุโฬ ยาวทตฺโถ พหุ จายํ คุโฬ อวสิฏฺโฐ. กถาหํ ภนฺเต ปฏิปชฺชามี”ติ? 
atthi Sīha pariyāyo yena maṃ pariyāyena sammā vadamāno vadeyya: akiriyavādo samaṇo Gotamo, akiriyāya dhammaṃ deseti tena ca sāvake vinetīti.  atthi Sīha pariyāyo yena maṃ pariyāyena sammā vadamāno vadeyya: kiriyavādo samaṇo {Gotamo,} kiriyāya ... vinetīti.  atthi Sīha pariyāyo yena maṃ ... vadeyya: ucchedavādo samaṇo Gotamo, ucchedāya ... vinetīti.  atthi Sīha pariyāyo yena maṃ ... vadeyya: jegucchī samaṇo Gotamo, jegucchitāya ... vinetīti.  atthi Sīha pariyāyo yena maṃ ... vadeyya: venayiko samaṇo Gotamo, vinayāya ... vinetīti.  atthi Sīha pariyāyo yena maṃ ... vadeyya: tapassī samaṇo Gotamo, tapassitāya ... vinetīti.  atthi Sīha pariyāyo yena maṃ ... vadeyya: apagabbho samaṇo Gotamo, apagabbhatāya ... vinetīti.  atthi Sīha pariyāyo yena maṃ ... vadeyya: assattho samaṇo Gotamo, assāsāya ... vinetīti. |5| 
“เตน หิ ตฺวํ กจฺจาน ภิกฺขู คุเฬหิ สนฺตปฺเปหี”ติ.  “เอวํ ภนฺเต”ติ โข เพลฏฺโฐ กจฺจาโน ภควโต ปฏิสฺสุณิตฺวา ภิกฺขู คุเฬหิ สนฺตปฺเปสิ.  เอกจฺเจ ภิกฺขู ปตฺเตปิ ปูเรสุํ ปริสฺสาวนานิปิ ถวิกาโยปิ ปูเรสุํ.  อถ โข เพลฏฺโฐ กจฺจาโน ภิกฺขู คุเฬหิ สนฺตปฺเปตฺวา ภควนฺตํ เอตทโวจ “สนฺตปฺปิตา ภนฺเต ภิกฺขู คุเฬหิ พหุ จายํ คุโฬ อวสิฏฺโฐ. กถาหํ ภนฺเต ปฏิปชฺชามี”ติ?  “เตน หิ ตฺวํ กจฺจาน วิฆาสาทานํ คุฬํ เทหี”ติ.  “เอวํ ภนฺเต”ติ โข เพลฏฺโฐ กจฺจาโน ภควโต ปฏิสฺสุณิตฺวา วิฆาสาทานํ คุฬํ ทตฺวา ภควนฺตํ เอตทโวจ “ทินฺโน ภนฺเต วิฆาสาทานํ คุโฬ พหุ จายํ คุโฬ อวสิฏฺโฐ. กถาหํ ภนฺเต ปฏิปชฺชามี”ติ?  “เตน หิ ตฺวํ กจฺจาน วิฆาสาทานํ คุฬํ ยาวทตฺถํ เทหี”ติ.  “เอวํ ภนฺเต”ติ โข เพลฏฺโฐ กจฺจาโน ภควโต ปฏิสฺสุณิตฺวา วิฆาสาทานํ คุฬํ ยาวทตฺถํ ทตฺวา ภควนฺตํ เอตทโวจ “ทินฺโน ภนฺเต วิฆาสาทานํ คุโฬ ยาวทตฺโถ พหุ จายํ คุโฬ อวสิฏฺโฐ. กถาหํ ภนฺเต ปฏิปชฺชามี”ติ? 
katamo ca Sīha pariyāyo yena maṃ pariyāyena sammā vadamāno vadeyya: akiriyavādo samaṇo Gotamo, akiriyāya dhammaṃ (235) deseti tena ca sāvake vinetīti.  ahaṃ hi Sīha akiriyaṃ vadāmi kāyaduccaritassa vacīduccaritassa manoduccaritassa anekavihitānaṃ pāpakānaṃ akusalānaṃ dhammānaṃ akiriyaṃ vadāmi.  ayaṃ kho Sīha pariyāyo yena maṃ ... vadeyya: akiriyavādo samaṇo Gotamo, akiriyāya ... vinetīti.  katamo ca Sīha pariyāyo yena maṃ ... vadeyya: kiriyavādo samaṇo Gotamo, kiriyāya ... vinetīti.  ahaṃ hi Sīha kiriyaṃ vadāmi kāyasucaritassa vacīsucaritassa manosucaritassa anekavihitānaṃ kusalānaṃ dhammānaṃ kiriyaṃ vadāmi.  ayaṃ kho Sīha pariyāyo yena maṃ ... vadeyya: kiriyavādo samaṇo Gotamo, kiriyāya ... vinetīti. |6| 
“เตน หิ ตฺวํ กจฺจาน วิฆาสาเท คุเฬหิ สนฺตปฺเปหี”ติ.  “เอวํ ภนฺเต”ติ โข เพลฏฺโฐ กจฺจาโน ภควโต ปฏิสฺสุณิตฺวา วิฆาสาเท คุเฬหิ สนฺตปฺเปสิ.  เอกจฺเจ วิฆาสาทา โกลมฺเพปิ ฆเฏปิ ปูเรสุํ ปิฏกานิปิ อุจฺฉงฺเคปิ ปูเรสุํ.  อถ โข เพลฏฺโฐ กจฺจาโน วิฆาสาเท คุเฬหิ สนฺตปฺเปตฺวา ภควนฺตํ เอตทโวจ “สนฺตปฺปิตา ภนฺเต วิฆาสาทา คุเฬหิ พหุ จายํ คุโฬ อวสิฏฺโฐ. กถาหํ ภนฺเต ปฏิปชฺชามี”ติ?  “นาหํ ตํ กจฺจาน ปสฺสามิ สเทวเก โลเก สมารเก สพฺรหฺมเก สสฺสมณพฺราหฺมณิยา ปชาย สเทวมนุสฺสาย ยสฺส โส คุโฬ ปริภุตฺโต สมฺมา ปริณามํ คจฺเฉยฺย อญฺญตฺร ตถาคตสฺส วา ตถาคตสาวกสฺส วา.  เตน หิ ตฺวํ กจฺจาน ตํ คุฬํ อปฺปหริเต วา ฉฑฺเฑหิ อปฺปาณเก วา อุทเก โอปิลาเปหี”ติ. 
katamo ca Sīha pariyāyo yena maṃ ... vadeyya: ucchedavādo samaṇo Gotamo, ucchedāya ... vinetīti.  ahaṃ hi Sīha ucchedaṃ vadāmi rāgassa dosassa mohassa anekavihitānaṃ pāpakānaṃ akusalānaṃ dhammānaṃ ucchedaṃ vadāmi.  ayaṃ kho Sīha pariyāyo yena maṃ ... vadeyya: ucchedavādo samaṇo {Gotamo,} ucchedāya ... vinetīti.  katamo ca Sīha pariyāyo yena maṃ ... vadeyya: jegucchī samaṇo Gotamo, jegucchitāya ... vinetīti.  ahaṃ hi Sīha jigucchāmi kāyaduccaritena vacīduccaritena manoduccaritena anekavihitānaṃ pāpakānaṃ akusalānaṃ dhammānaṃ samāpattiyā jegucchitāya dhammaṃ desemi.  ayaṃ kho Sīha pariyāyo yena maṃ ... vadeyya: jegucchī samaṇo Gotamo, jegucchitāya ... vinetīti. |7| 
“เอวํ ภนฺเต”ติ โข เพลฏฺโฐ กจฺจาโน ภควโต ปฏิสฺสุณิตฺวา ตํ คุฬํ อปฺปาณเก อุทเก โอปิลาเปติ.  อถ โข โส คุโฬ อุทเก ปกฺขิตฺโต จิจฺจิฏายติ จิฏิจิฏายติ ปธูปายติ สมฺปธูปายติ.  เสยฺยถาปิ นาม ผาโล ทิวสํสนฺตตฺโต อุทเก ปกฺขิตฺโต จิจฺจิฏายติ จิฏิจิฏายติ ปธูปายติ สมฺปธูปายติ เอวเมว โส คุโฬ อุทเก ปกฺขิตฺโต จิจฺจิฏายติ จิฏิจิฏายติ ปธูปายติ สมฺปธูปายติ.  อถ โข เพลฏฺโฐ กจฺจาโน สํวิคฺโค โลมหฏฺฐชาโต เยน ภควา เตนุปสงฺกมิ อุปสงฺกมิตฺวา ภควนฺตํ อภิวาเทตฺวา เอกมนฺตํ นิสีทิ.  เอกมนฺตํ นิสินฺนสฺส โข เพลฏฺฐสฺส กจฺจานสฺส ภควา อนุปุพฺพิ๎ กถํ กเถสิ เสยฺยถิทํ “ทานกถํ สีลกถํ สคฺคกถํ กามานํ อาทีนวํ โอการํ สํกิเลสํ เนกฺขมฺเม อานิสํสํ ปกาเสสิ.  ยทา ภควา อญฺญาสิ เพลฏฺฐํ กจฺจานํ กลฺลจิตฺตํ มุทุจิตฺตํ วินีวรณจิตฺตํ อุทคฺคจิตฺตํ ปสนฺนจิตฺตํ อถ ยา พุทฺธานํ สามุกฺกํสิกา ธมฺมเทสนา ตํ ปกาเสสิฯเปฯ เอวเมว เพลฏฺฐสฺส กจฺจานสฺส ตสฺมึเยว อาสเน วิรชํ วีตมลํ ธมฺมจกฺขุํ อุทปาทิ ยํ กิญฺจิ สมุทยธมฺมํ สพฺพํ ตํ นิโรธธมฺมนฺติ. 
katamo ca Sīha pariyāyo yena maṃ ... vadeyya: venayiko samaṇo Gotamo, vinayāya ... vinetīti.  ahaṃ hi Sīha vinayāya dhammaṃ desemi rāgassa dosassa mohassa anekavihitānaṃ pāpakānaṃ akusalānaṃ dhammānaṃ vinayāya dhammaṃ desemi.  ayaṃ kho Sīha pariyāyo yena maṃ ... vadeyya: venayiko samaṇo Gotamo, vinayāya ... vinetīti.  katamo ca Sīha pariyāyo yena maṃ ... vadeyya: tapassī samaṇo Gotamo, tapassitāya ... vinetīti.  tapanīy’ āhaṃ Sīha pāpake akusale dhamme vadāmi kāyaduccaritaṃ vacīduccaritaṃ manoduccaritaṃ.  yassa kho Sīha tapanīyā pāpakā akusalā dhammā pahīnā ucchinnamūlā tālā vatthukatā anabhāvaṃ gatā āyatiṃ anuppādadhammā taṃ ahaṃ tapassīti vadāmi.  tathāgatassa kho Sīha tapanīyā pāpakā akusalā dhammā ... anuppādadhammā.  ayaṃ kho Sīha pariyāyo yena maṃ ... vadeyya: tapassī samaṇo (236) Gotamo, tapassitāya ... vinetīti. |8| 
อถ โข เพลฏฺโฐ กจฺจาโน ทิฏฺฐธมฺโม ปตฺตธมฺโม วิทิตธมฺโม ปริโยคาฬฺหธมฺโม ติณฺณวิจิกิจฺโฉ วิคตกถํกโถ เวสารชฺชปฺปตฺโต อปรปฺปจฺจโย สตฺถุสาสเน ภควนฺตํ เอตทโวจ “อภิกฺกนฺตํ ภนฺเต. อภิกฺกนฺตํ ภนฺเต. เสยฺยถาปิ ภนฺเต นิกฺกุชฺชิตํ วา อุกฺกุชฺเชยฺยฯเปฯ เอวเมวํ โข ภควตา อเนกปริยาเยน ธมฺโม ปกาสิโต.  เอสาหํ ภนฺเต ภควนฺตํ สรณํ คจฺฉามิ ธมฺมญฺจ ภิกฺขุสงฺฆญฺจ. อุปาสกํ มํ ภควา ธาเรตุ อชฺชตคฺเค ปาณุเปตํ สรณคต”นฺติ.      อถ โข ภควา อนุปุพฺเพน จาริกํ จรมาโน เยน ราชคหํ ตทวสริ.  ตตฺร สุทํ ภควา ราชคเห วิหรติ เวฬุวเน กลนฺทกนิวาเป.  เตน โข ปน สมเยน ราชคเห คุโฬ อุสฺสนฺโน โหติ.  ภิกฺขู คิลานสฺเสว ภควตา คุโฬ อนุญฺญาโต โน อคิลานสฺสาติ กุกฺกุจฺจายนฺตา คุฬํ น ภุญฺชนฺติ. 
katamo ca Sīha pariyāyo yena maṃ ... vadeyya: apagabbho samaṇo Gotamo, apagabbhatāya ... vinetīti.  yassa kho Sīha āyatiṃ gabbhaseyyā punabbhavābhinibbatti pahīnā ucchinnamūlā tālā vatthukatā anabhāvaṃ gatā āyatiṃ anuppādadhammā, tam ahaṃ apagabbho ’ti vadāmi.  tathāgatassa kho Sīha āyatiṃ gabbhaseyyā ... anuppādadhammā.  ayaṃ kho Sīha pariyāyo yena maṃ ... vadeyya: apagabbho samaṇo Gotamo, apagabbhatāya ... vinetīti.  katamo ca Sīha pariyāyo yena maṃ ... vadeyya: assattho samaṇo Gotamo, assāsāya ... vinetīti.  ahaṃ hi Sīha assattho paramena assāsena assāsāya ca dhammaṃ desemi tena ca sāvake vinemi.  ayaṃ kho Sīha pariyāyo yena maṃ ... vadeyya: assattho samaṇo Gotamo, assāsāya dhammaṃ deseti tena ca sāvake vinetīti. |9| 
ภควโต เอตมตฺถํ อาโรเจสุํ.  อนุชานามิ ภิกฺขเว คิลานสฺส คุฬํ อคิลานสฺส คุโฬทกนฺติ. (เพลฏฺฐกจฺจานวตฺถุ นิฏฺฐิตํ.)      (๗๓. ปาฏลิคามวตฺถุ) ๒๘๕. อถ โข ภควา ราชคเห ยถาภิรนฺตํ วิหริตฺวา เยน ปาฏลิคาโม เตน จาริกํ ปกฺกามิ มหตา ภิกฺขุสงฺเฆน สทฺธึ อฑฺฒเตลเสหิ ภิกฺขุสเตหิ.  อถ โข ภควา อนุปุพฺเพน จาริกํ จรมาโน เยน ปาฏลิคาโม ตทวสริ.  อสฺโสสุํ โข ปาฏลิคามิกา อุปาสกา “ภควา กิร ปาฏลิคามํ อนุปฺปตฺโต”ติ. 
evaṃ vutte Sīho senāpati bhagavantaṃ etad avoca: abhikkantaṃ bhante --la-- upāsakaṃ maṃ bhagavā dhāretu ajjatagge pāṇupetaṃ saraṇaṃ gatan ti.  anuvijjakāraṃ kho Sīha karohi, anuvijjakāro tumhādisānaṃ ñātamanussānaṃ sādhu hotīti.  iminā p’ āhaṃ bhante bhagavato bhiyyosomattāya attamano abhiraddho yaṃ maṃ bhagavā evam āha: anuvijjakāraṃ kho Sīha karohi, anuvijjakāro tumhādisānaṃ ñātamanussānaṃ sādhu hotīti.  mamaṃ hi bhante aññatitthiyā sāvakaṃ labhitvā kevalakappaṃ Vesāliṃ patākaṃ parihareyyuṃ Sīho amhākaṃ senāpati sāvakattaṃ upagato ’ti.  atha ca pana maṃ bhagavā evam āha: anuvijjakāraṃ kho Sīha karohi, anuvijjakāro tumhādisānaṃ ñātamanussānaṃ sādhu hotīti.  es’ āhaṃ bhante dutiyam pi bhagavantaṃ saraṇaṃ gacchāmi dhammañ ca bhikkhusaṃghañ ca, upāsakaṃ maṃ bhagavā dhāretu ajjatagge pāṇupetaṃ saraṇaṃ gatan ti. |10| 
อถ โข ปาฏลิคามิกา อุปาสกา เยน ภควา เตนุปสงฺกมึสุ อุปสงฺกมิตฺวา ภควนฺตํ อภิวาเทตฺวา เอกมนฺตํ นิสีทึสุ. เอกมนฺตํ นิสินฺเน โข ปาฏลิคามิเก อุปาสเก ภควา ธมฺมิยา กถาย สนฺทสฺเสสิ สมาทเปสิ สมุตฺเตเชสิ สมฺปหํเสสิ.  อถ โข ปาฏลิคามิกา อุปาสกา ภควตา ธมฺมิยา กถาย สนฺทสฺสิตา สมาทปิตา สมุตฺเตชิตา สมฺปหํสิตา ภควนฺตํ เอตทโวจุํ “อธิวาเสตุ โน ภนฺเต ภควา อาวสถาคารํ สทฺธึ ภิกฺขุสงฺเฆนา”ติ.  อธิวาเสสิ ภควา ตุณฺหีภาเวน.  อถ โข ปาฏลิคามิกา อุปาสกา ภควโต อธิวาสนํ วิทิตฺวา อุฏฺฐายาสนา ภควนฺตํ อภิวาเทตฺวา ปทกฺขิณํ กตฺวา เยน อาวสถาคารํ เตนุปสงฺกมึสุ อุปสงฺกมิตฺวา สพฺพสนฺถรึ อาวสถาคารํ สนฺถริตฺวา อาสนานิ ปญฺญเปตฺวา อุทกมณิกํ ปติฏฺฐาเปตฺวา เตลปทีปํ อาโรเปตฺวา เยน ภควา เตนุปสงฺกมึสุ อุปสงฺกมิตฺวา ภควนฺตํ อภิวาเทตฺวา เอกมนฺตํ อฏฺฐํสุ.  เอกมนฺตํ ฐิตา โข ปาฏลิคามิกา อุปาสกา ภควนฺตํ เอตทโวจุํ “สพฺพสนฺถริสนฺถตํ ภนฺเต อาวสถาคารํ. อาสนานิ ปญฺญตฺตานิ. อุทกมณิโก ปติฏฺฐาปิโต. เตลปทีโป อาโรปิโต. ยสฺสทานิ ภนฺเต ภควา กาลํ มญฺญตี”ติ.  อถ โข ภควา นิวาเสตฺวา ปตฺตจีวรมาทาย สทฺธึ ภิกฺขุสงฺเฆน เยน อาวสถาคารํ เตนุปสงฺกมิ อุปสงฺกมิตฺวา ปาเท ปกฺขาเลตฺวา อาวสถาคารํ ปวิสิตฺวา มชฺฌิมํ ถมฺภํ นิสฺสาย ปุรตฺถาภิมุโข นิสีทิ. 
dīgharattaṃ kho te Sīha nigaṇṭhānaṃ opānabhūtaṃ kulaṃ yena nesaṃ upagatānaṃ piṇḍapātaṃ dātabbaṃ maññeyyāsīti.  iminā p’ āhaṃ bhante bhagavato bhiyyosomattāya attamano abhiraddho yaṃ maṃ bhagavā evam āha: dīgharattaṃ kho te Sīha nigaṇṭhānaṃ opānabhūtaṃ kulaṃ yena nesaṃ upagatānaṃ piṇḍapātaṃ dātabbaṃ maññeyyāsīti.  sutaṃ metaṃ bhante: samaṇo Gotamo evam āha: mayham eva dānaṃ dātabbaṃ, na aññesaṃ dānaṃ dātabbaṃ, mayham eva sāvakānaṃ dānaṃ dātabbaṃ, na aññesaṃ sāvakānaṃ dānaṃ dā-(237)tabbaṃ, mayham eva dinnaṃ mahapphalaṃ, na aññesaṃ dinnaṃ mahapphalaṃ, mayham eva sāvakānaṃ dinnaṃ mahapphalaṃ, na aññesaṃ sāvakānaṃ dinnaṃ mahapphalan ti.  atha ca pana maṃ bhagavā nigaṇṭhesu pi dāne samādapeti.  api ca bhante mayam ettha kālaṃ jānissāma.  es’ āhaṃ bhante tatiyam pi bhagavantaṃ saraṇaṃ gacchāmi ... saraṇaṃ gatan ti. |11| 
ภิกฺขุสงฺโฆปิ โข ปาเท ปกฺขาเลตฺวา อาวสถาคารํ ปวิสิตฺวา ปจฺฉิมํ ภิตฺตึ นิสฺสาย ปุรตฺถาภิมุโข นิสีทิ ภควนฺตํเยว ปุรกฺขตฺวา.  ปาฏลิคามิกาปิ โข อุปาสกา ปาเท ปกฺขาเลตฺวา อาวสถาคารํ ปวิสิตฺวา ปุรตฺถิมํ ภิตฺตึ นิสฺสาย ปจฺฉิมาภิมุขา นิสีทึสุ ภควนฺตํเยว ปุรกฺขตฺวา.  อถ โข ภควา ปาฏลิคามิเก อุปาสเก อามนฺเตสิ คหปตโย อาทีนวา ทุสฺสีลสฺส สีลวิปตฺติยา.  กตเม ปญฺจ?  อิธ คหปตโย ทุสฺสีโล สีลวิปนฺโน ปมาทาธิกรณํ มหตึ โภคชานึ นิคจฺฉติ. อยํ ปฐโม อาทีนโว ทุสฺสีลสฺส สีลวิปตฺติยา.  ปุน จปรํ คหปตโย ทุสฺสีลสฺส สีลวิปนฺนสฺส ปาปโก กิตฺติสทฺโท อพฺภุคฺคจฺฉติ. อยํ ทุติโย อาทีนโว ทุสฺสีลสฺส สีลวิปตฺติยา. 
atha kho bhagavā Sīhassa senāpatissa anupubbikathaṃ kathesi seyyath’ īdaṃ: dānakathaṃ -- la -aparappaccayo satthu sāsane bhagavantaṃ etad avoca: adhivāsetu me bhante bhagavā svātanāya bhattaṃ saddhiṃ bhikkhusaṃghenā ’ti.  adhivāsesi bhagavā tuṇhibhāvena.  atha kho Sīho senāpati bhagavato adhivāsanaṃ viditvā uṭṭhāyāsanā bhagavantaṃ abhivādetvā padakkhiṇaṃ katvā pakkāmi.  atha kho Sīho senāpati aññataraṃ purisaṃ āṇāpesi: gaccha bhaṇe pavattamaṃsaṃ jānāhīti.  atha kho Sīho senāpati tassā rattiyā accayena paṇītaṃ khādaniyaṃ bhojaniyaṃ paṭiyādāpetvā bhagavato kālaṃ ārocāpesi: kālo bhante, niṭṭhitaṃ bhattan ti.  atha kho bhagavā pubbaṇhasamayaṃ nivāsetvā pattacīvaraṃ ādāya yena Sīhassa senāpatissa nivesanaṃ ten’ upasaṃkami, upasaṃkamitvā paññatte āsane nisīdi saddhiṃ bhikkhusaṃghena. |12| 
ปุน จปรํ คหปตโย ทุสฺสีโล สีลวิปนฺโน ยญฺญเทว ปริสํ อุปสงฺกมติ ยทิ ขตฺติยปริสํ ยทิ พฺราหฺมณปริสํ ยทิ คหปติปริสํ ยทิ สมณปริสํ อวิสารโท อุปสงฺกมติ มงฺกุภูโต. อยํ ตติโย อาทีนโว ทุสฺสีลสฺส สีลวิปตฺติยา.  ปุน จปรํ คหปตโย ทุสฺสีโล สีลวิปนฺโน สมฺมูฬฺโห กาลํกโรติ. อยํ จตุตฺโถ อาทีนโว ทุสฺสีลสฺส สีลวิปตฺติยา.  ปุน จปรํ คหปตโย ทุสฺสีโล สีลวิปนฺโน กายสฺส เภทา ปรํ มรณา อปายํ ทุคฺคตึ วินิปาตํ นิรยํ อุปปชฺชติ. อยํ ปญฺจโม อาทีนโว ทุสฺสีลสฺส สีลวิปตฺติยา.  อิเม โข คหปตโย ปญฺจ อาทีนวา ทุสฺสีลสฺส สีลวิปตฺติยา.  “ปญฺจิเม คหปตโย อานิสํสา สีลวโต สีลสมฺปทาย.  กตเม ปญฺจ? 
tena kho pana samayena sambahulā nigaṇṭhā Vesāliyaṃ rathiyāya rathiyaṃ siṅghāṭakena siṅghāṭakaṃ bāhā paggayha kandanti: ajja Sīhena senāpatinā thullaṃ pasuṃ vadhitvā samaṇassa Gotamassa bhattaṃ kataṃ, taṃ samaṇo Gotamo jānaṃ uddissakataṃ maṃsaṃ paribhuñjati paṭiccakamman ti.  atha kho aññataro puriso yena Sīho senāpati ten’ {upasaṃkami}, upasaṃkamitvā Sīhassa senāpatissa upakaṇṇake ārocesi: yagghe bhante jāneyyāsi, ete sambahulā nigaṇṭhā Vesāliyaṃ rathiyāya rathiyaṃ siṅghāṭakena siṅghāṭakaṃ bāhā paggayha kandanti: ajja ... uddissakataṃ maṃsaṃ paribhuñjati paṭiccakamman ti.  alaṃ ayyo dīgharattam pi te āyasmantā avaṇṇakāmā buddhassa avaṇṇakāmā dhammassa avaṇṇakāmā saṃghassa, na ca pana te āyasmantā jīranti taṃ bhagavantaṃ asatā tucchā musā ’va abhūtena abbhācikkhantā, na ca mayaṃ jīvitahetu pi sañcicca pāṇaṃ jīvitā voropeyyāmā ’ti. |13| 
อิธ คหปตโย สีลวา สีลสมฺปนฺโน อปฺปมาทาธิกรณํ มหนฺตํ โภคกฺขนฺธํ อธิคจฺฉติ. อยํ ปฐโม อานิสํโส สีลวโต สีลสมฺปทาย  ปุน จปรํ คหปตโย สีลวโต สีลสมฺปนฺนสฺส กลฺยาโณ กิตฺติสทฺโท อพฺภุคฺคจฺฉติ. อยํ ทุติโย อานิสํโส สีลวโต สีลสมฺปทาย.  ปุน จปรํ คหปตโย สีลวา สีลสมฺปนฺโน ยญฺญเทว ปริสํ อุปสงฺกมติ ยทิ ขตฺติยปริสํ ยทิ พฺราหฺมณปริสํ ยทิ คหปติปริสํ ยทิ สมณปริสํ วิสารโท อุปสงฺกมติ อมงฺกุภูโต. อยํ ตติโย อานิสํโส สีลวโต สีลสมฺปทาย. 
atha kho Sīho senāpati buddhapamukhaṃ bhikkhusaṃghaṃ paṇītena khādaniyena bhojaniyena sahatthā santa-(238)ppetvā sampavāretvā bhagavantaṃ bhuttāviṃ onītapattapāṇiṃ ekamantaṃ nisīdi, ekamantaṃ nisinnaṃ kho Sīhaṃ senāpatiṃ bhagavā dhammiyā kathāya sandassetvā ... sampahaṃsetvā uṭṭhāyāsanā pakkāmi.  atha kho bhagavā etasmiṃ nidāne dhammiṃ kathaṃ katvā bhikkhū āmantesi: na bhikkhave jānaṃ uddissakataṃ maṃsaṃ paribhuñjitabbam.  yo paribhuñjeyya, āpatti dukkaṭassa.  anujānāmi bhikkhave tikoṭiparisuddhaṃ macchamaṃsaṃ adiṭṭhaṃ asutaṃ aparisaṅkitan ti. |14| 
ปุน จปรํ คหปตโย สีลวา สีลสมฺปนฺโน อสมฺมูฬฺโห กาลํกโรติ. อยํ จตุตฺโถ อานิสํโส สีลวโต สีลสมฺปทาย.  ปุน จปรํ คหปตโย สีลวา สีลสมฺปนฺโน กายสฺส เภทา ปรํ มรณา สุคตึ สคฺคํ โลกํ อุปปชฺชติ. อยํ ปญฺจโม อานิสํโส สีลวโต สีลสมฺปทาย.  อิเม โข คหปตโย ปญฺจ อานิสํสา สีลวโต สีลสมฺปทายาติ.  อถ โข ภควา ปาฏลิคามิเก อุปาสเก พหุเทว รตฺตึ ธมฺมิยา กถาย สนฺทสฺเสตฺวา สมาทเปตฺวา สมุตฺเตเชตฺวา สมฺปหํเสตฺวา อุยฺโยเชสิ “อภิกฺกนฺตา โข คหปตโย รตฺติ. ยสฺสทานิ ตุมฺเห กาลํ มญฺญถา”ติ. 
||31|| 
“เอวํ ภนฺเต”ติ โข ปาฏลิคามิกา อุปาสกา ภควโต ปฏิสฺสุณิตฺวา อุฏฺฐายาสนา ภควนฺตํ อภิวาเทตฺวา ปทกฺขิณํ กตฺวา ปกฺกมึสุ. 
tena kho pana samayena Vesālī subhikkhā hoti susassā sulabhapiṇḍā sukarā uñchena paggahena yāpetuṃ.  atha kho bhagavato rahogatassa paṭisallīnassa evaṃ cetaso parivitakko udapādi: yāni tāni mayā bhikkhūnaṃ anuññātāni dubbhikkhe dussasse dullabhapiṇḍe anto vutthaṃ anto pakkaṃ sāmaṃ pakkaṃ uggahitapaṭiggahitakaṃ tato nīhataṃ purebhattaṃ paṭiggahitaṃ vanaṭṭhaṃ pokkharaṭṭhaṃ, ajjāpi nu kho tāni bhikkhū paribhuñjantīti.  atha kho bhagavā sāyaṇhasamayaṃ paṭisallānā vuṭṭhito āyasmantaṃ Ānandaṃ āmantesi: yāni tāni Ānanda mayā bhikkhūnaṃ anuññātāni ... paribhuñjantīti.  paribhuñjanti bhagavā ’ti. |1| 
อถ โข ภควา อจิรปกฺกนฺเตสุ ปาฏลิคามิเกสุ อุปาสเกสุ สุญฺญาคารํ ปาวิสิ. (ปาฏลิคามวตฺถุ นิฏฺฐิตํ.)  (๑๗๔. สุนิธวสฺสการวตฺถุ) ๒๘๖. เตน โข ปน สมเยน สุนิธวสฺสการา มคธมหามตฺตา ปาฏลิคาเม นครํ มาเปนฺติ วชฺชีนํ ปฏิพาหาย.  อทฺทสา โข ภควา รตฺติยา ปจฺจูสสมยํ ปจฺจุฏฺฐาย ทิพฺเพน จกฺขุนา วิสุทฺเธน อติกฺกนฺตมานุสเกน สมฺพหุลา เทวตาโย ปาฏลิคาเม วตฺถูนิ ปริคฺคณฺหนฺติโย.  ยสฺมึ ปเทเส มเหสกฺขา เทวตา วตฺถูนิ ปริคฺคณฺหนฺติ มเหสกฺขานํ ตตฺถ ราชูนํ ราชมหามตฺตานํ จิตฺตานิ นมนฺติ นิเวสนานิ มาเปตุํ. ยสฺมึ ปเทเส มชฺฌิมา เทวตา วตฺถูนิ ปริคฺคณฺหนฺติ มชฺฌิมานํ ตตฺถ ราชูนํ ราชมหามตฺตานํ จิตฺตานิ นมนฺติ นิเวสนานิ มาเปตุํ. ยสฺมึ ปเทเส นีจา เทวตา วตฺถูนิ ปริคฺคณฺหนฺติ นีจานํ ตตฺถ ราชูนํ ราชมหามตฺตานํ จิตฺตานิ นมนฺติ นิเวสนานิ มาเปตุํ. 
atha kho bhagavā etasmiṃ nidāne etasmiṃ pakaraṇe dhammiṃ kathaṃ katvā bhikkhū āmantesi: yāni tāni bhikkhave mayā bhikkhūnaṃ anuññātāni dubbhikkhe dussasse dullabhapiṇḍe anto vutthaṃ anto pakkaṃ sāmaṃ pakkaṃ uggahitapaṭiggahitakaṃ tato nīhataṃ purebhattaṃ paṭiggahitaṃ vanaṭṭhaṃ pokkharaṭṭhaṃ, tān’ āhaṃ ajjatagge paṭikkhipāmi.  na bhikkhave anto vutthaṃ anto pakkaṃ sāmaṃ pakkaṃ uggahitapaṭiggahitakaṃ paribhuñjitabbaṃ.  yo paribhuñjeyya, āpatti dukkaṭassa.  na ca bhikkhave tato nīhataṃ purebhattaṃ paṭiggahitaṃ vanaṭṭhaṃ pokkharaṭṭhaṃ bhuttāvinā pavāritena anatirittaṃ paribhuñjitabbaṃ.  yo paribhuñjeyya, yathādhammo kāretabbo ’ti. |2| 
อถ โข ภควา อายสฺมนฺตํ อานนฺทํ อามนฺเตสิ “เก นุ โข เต อานนฺท ปาฏลิคาเม นครํ มาเปนฺตี”ติ?  “สุนิธวสฺสการา ภนฺเต มคธมหามตฺตา ปาฏลิคาเม นครํ มาเปนฺติ วชฺชีนํ ปฏิพาหายา”ติ.  เสยฺยถาปิ อานนฺท เทเวหิ ตาวตึเสหิ สทฺธึ มนฺเตตฺวา เอวเมว โข อานนฺท สุนิธวสฺสการา มคธมหามตฺตา ปาฏลิคาเม นครํ มาเปนฺติ วชฺชีนํ ปฏิพาหาย.  อิธาหํ อานนฺท รตฺติยา ปจฺจูสสมยํ ปจฺจุฏฺฐาย อทฺทสํ ทิพฺเพน จกฺขุนา วิสุทฺเธน อติกฺกนฺตมานุสเกน สมฺพหุลา เทวตาโย ปาฏลิคาเม วตฺถูนิ ปริคฺคณฺหนฺติโย. ยสฺมึ ปเทเส มเหสกฺขา เทวตา วตฺถูนิ ปริคฺคณฺหนฺติ มเหสกฺขานํ ตตฺถ ราชูนํ ราชมหามตฺตานํ จิตฺตานิ นมนฺติ นิเวสนานิ มาเปตุํ. ยสฺมึ ปเทเส มชฺฌิมา เทวตา วตฺถูนิ ปริคฺคณฺหนฺติ มชฺฌิมานํ ตตฺถ ราชูนํ ราชมหามตฺตานํ จิตฺตานิ นมนฺติ นิเวสนานิ มาเปตุํ. ยสฺมึ ปเทเส นีจา เทวตา วตฺถูนิ ปริคฺคณฺหนฺติ นีจานํ ตตฺถ ราชูนํ ราชมหามตฺตานํ จิตฺตานิ นมนฺติ นิเวสนานิ มาเปตุํ.  ยาวตา อานนฺท อริยํ อายตนํ ยาวตา วณิปฺปโถ อิทํ อคฺคนครํ ภวิสฺสติ ปาฏลิปุตฺตํ ปุฏเภทนํ. 
||32|| 
ปาฏลิปุตฺตสฺส โข อานนฺท ตโย อนฺตรายา ภวิสฺสนฺติ อคฺคิโต วา อุทกโต วา อพฺภนฺตรโต วา มิถุเภทาติ. 
tena kho pana samayena jānapadā manussā bahuṃ loṇam pi telam pi taṇḍulam pi khādaniyam pi sakaṭesu āropetvā bahārāmakoṭṭhake sakaṭaparivaṭṭaṃ karitvā acchanti yadā {paṭipāṭiṃ} labhissāma tadā bhattaṃ karissāmā ’ti, mahā ca (239) megho uggato hoti.  atha kho te manussā yenāyasmā Ānando ten’ upasaṃkamiṃsu, upasaṃkamitvā āyasmantaṃ Ānandaṃ etad avocuṃ: idha bhante Ānanda bahuṃ loṇam pi telam pi taṇḍulam pi khādaniyam pi sakaṭesu āropetvā tiṭṭhanti mahā ca megho uggato.  kathaṃ nu kho bhante Ānanda paṭipajjitabban ti.  atha kho āyasmā Ānando bhagavato etam atthaṃ ārocesi. |1| 
อถ โข สุนิธวสฺสการา มคธมหามตฺตา เยน ภควา เตนุปสงฺกมึสุ อุปสงฺกมิตฺวา ภควตา สทฺธึ สมฺโมทึสุ สมฺโมทนียํ กถํ สารณียํ วีติสาเรตฺวา เอกมนฺตํ อฏฺฐํสุ. เอกมนฺตํ ฐิตา โข สุนิธวสฺสการา มคธมหามตฺตา ภควนฺตํ เอตทโวจุํ “อธิวาเสตุ โน ภวํ โคตโม อชฺชตนาย ภตฺตํ สทฺธึ ภิกฺขุสงฺเฆนา”ติ.  อธิวาเสสิ ภควา ตุณฺหีภาเวน.  อถ โข สุนิธวสฺสการา มคธมหามตฺตา ภควโต อธิวาสนํ วิทิตฺวา ปกฺกมึสุ.  อถ โข สุนิธวสฺสการา มคธมหามตฺตา ปณีตํ ขาทนียํ โภชนียํ ปฏิยาทาเปตฺวา ภควโต กาลํ อาโรจาเปสุํ “กาโล โภ โคตม นิฏฺฐิตํ ภตฺต”นฺติ. 
tena h’ Ānanda saṃgho paccantimaṃ vihāraṃ kappiyabhūmiṃ sammannitvā tattha vāsetu yaṃ saṃgho ākaṅkhati vihāraṃ vā aḍḍhayogaṃ vā pāsādaṃ vā hammiyaṃ vā guhaṃ vā.  evañ ca pana bhikkhave sammannitabbo: vyattena bhikkhunā paṭibalena saṃgho ñāpetabbo: suṇātu me bhante saṃgho.  yadi saṃghassa pattakallaṃ, saṃgho itthannāmaṃ vihāraṃ kappiyabhūmiṃ sammanneyya.  esā ñatti.  suṇātu me bhante saṃgho.  saṃgho itthannāmaṃ vihāraṃ kappiyabhūmiṃ sammannati.  yassāyasmato khamati itthannāmassa vihārassa kappiyabhūmiyā sammuti, so tuṇh’ assa, yassa na kkhamati, so bhāseyya.  sammato saṃghena itthannāmo vihāro kappiyabhūmi.  khamati saṃghassa, tasmā tuṇhī, evaṃ etaṃ dhārayāmīti. |2| 
อถ โข ภควา ปุพฺพณฺหสมยํ นิวาเสตฺวา ปตฺตจีวรมาทาย เยน สุนิธวสฺสการานํ มคธมหามตฺตานํ ปริเวสนา เตนุปสงฺกมิ อุปสงฺกมิตฺวา ปญฺญตฺเต อาสเน นิสีทิ สทฺธึ ภิกฺขุสงฺเฆน  อถ โข สุนิธวสฺสการา มคธมหามตฺตา พุทฺธปฺปมุขํ ภิกฺขุสงฺฆํ ปณีเตน ขาทนีเยน โภชนีเยน สหตฺถา สนฺตปฺเปตฺวา สมฺปวาเรตฺวา ภควนฺตํ ภุตฺตาวึ โอนีตปตฺตปาณึ เอกมนฺตํ นิสีทึสุ. เอกมนฺตํ นิสินฺเน โข สุนิธวสฺสกาเร มคธมหามตฺเต ภควา อิมาหิ คาถาหิ อนุโมทิ  “ยสฺมึ ปเทเส กปฺเปติ วาสํ ปณฺฑิตชาติโย. สีลวนฺเตตฺถ โภเชตฺวา สญฺญเต พฺรหฺมจารโย ฯ “ยา ตตฺถ เทวตา อาสุํ ตาสํ ทกฺขิณมาทิเส. ตา ปูชิตา ปูชยนฺติ มานิตา มานยนฺติ นํฯ “ตโต นํ อนุกมฺปนฺติ มาตา ปุตฺตํว โอรสํ.  เทวตานุกมฺปิโต โปโส สทา ภทฺรานิ ปสฺสตี”ติฯ  อถ โข ภควา สุนิธวสฺสกาเร มคธมหามตฺเต อิมาหิ คาถาหิ อนุโมทิตฺวา อุฏฺฐายาสนา ปกฺกามิ.  เตน โข ปน สมเยน สุนิธวสฺสการา มคธมหามตฺตา ภควนฺตํ ปิฏฺฐิโต ปิฏฺฐิโต อนุพนฺธา โหนฺติ “เยนชฺช สมโณ โคตโม ทฺวาเรน นิกฺขมิสฺสติ ตํ โคตมทฺวารํ นาม ภวิสฺสติ เยน ติตฺเถน คงฺคํ นทึ อุตฺตริสฺสติ ตํ โคตมติตฺถํ นาม ภวิสฺสตี”ติ.  อถ โข ภควา เยน ทฺวาเรน นิกฺขมิ ตํ โคตมทฺวารํ นาม อโหสิ.  อถ โข ภควา เยน คงฺคา นที เตนุปสงฺกมิ.  เตน โข ปน สมเยน คงฺคา นที ปูรา โหติ สมติตฺติกา กากเปยฺยา. 
tena kho pana samayena manussā tatth’ eva sammutiyā kappiyabhūmiyā yāguyo pacanti bhattāni pacanti sūpāni sampādenti maṃsāni koṭṭenti kaṭṭhāni phālenti.  assosi kho bhagavā rattiyā paccūsasamayaṃ paccuṭṭhāya uccāsaddaṃ mahāsaddaṃ kākoravasaddaṃ, sutvāna āyasmantaṃ Ānandaṃ āmantesi: kiṃ nu kho so Ānanda uccāsaddo mahāsaddo kākoravasaddo ’ti. |3| 
มนุสฺสา อญฺเญ นาวํ ปริเยสนฺติ อญฺเญ อุฬุมฺปํ ปริเยสนฺติ อญฺเญ กุลฺลํ พนฺธนฺติ โอรา ปารํ คนฺตุกามา.  อทฺทสา โข ภควา เต มนุสฺเส อญฺเญ นาวํ ปริเยสนฺเต อญฺเญ อุฬุมฺปํ ปริเยสนฺเต อญฺเญ กุลฺลํ พนฺธนฺเต โอรา ปารํ คนฺตุกาเม ทิสฺวาน เสยฺยถาปิ นาม พลวา ปุริโส สมิญฺชิตํ วา พาหํ ปสาเรยฺย ปสาริตํ วา พาหํ สมิญฺเชยฺย เอวเมว โข คงฺคาย นทิยา โอริมตีเร อนฺตรหิโต ปาริมตีเร ปจฺจุฏฺฐาสิ สทฺธึ ภิกฺขุสงฺเฆน. 
etarahi bhante manussā tatth’ eva sammutiyā kappiyabhūmiyā yāguyo pacanti bhattāni pacanti sūpāni sampādenti maṃsāni koṭṭenti kaṭṭhāni phālenti, so eso bhagavā uccāsaddo mahāsaddo kākoravasaddo ’ti.  atha kho bhagavā etasmiṃ nidāne dhammiṃ kathaṃ katvā bhikkhū āmantesi: na bhikkhave sammutī kappiyabhūmiparibhuñjitabbā.  yo paribhuñjeyya, āpatti dukkaṭassa.  anujānāmi bhikkhave tisso kappiyabhūmiyo ussāvanantikaṃ gonisādikaṃ gahapatin ti. |4| 
อถ โข ภควา เอตมตฺถํ วิทิตฺวา ตายํ เวลายํ อิมํ อุทานํ อุทาเนสิ “เย ตรนฺติ อณฺณวํ สรํ. เสตุํ กตฺวาน วิสชฺช ปลฺลลานิ. กุลฺลญฺหิ ชโน พนฺธติ. ติณฺณา เมธาวิโน ชนา”ติฯ (สุนิธวสฺสการวตฺถุ นิฏฺฐิตํ.)      (๑๗๕. โกฏิคาเม สจฺจกถา) ๒๘๗. อถ โข ภควา เยน โกฏิคาโม เตนุปสงฺกมิ. 
tena kho pana samayena āyasmā Yasojo gilāno hoti, tass’ atthāya bhesajjāni āhariyyanti, tāni bhikkhū bahi ṭṭhapenti.  ukkapiṇḍakāpi khādanti corāpi haranti.  bhagavato etam atthaṃ ārocesuṃ.  anujānāmi bhikkhave sammutiṃ kappiyabhūmiṃ pa-(240)ribhuñjituṃ.  anujānāmi bhikkhave catasso kappiyabhūmiyo ussāvanantikaṃ gonisādikaṃ gahapatiṃ sammutin ti. |5| 
ตตฺร สุทํ ภควา โกฏิคาเม วิหรติ.  ตตฺร โข ภควา ภิกฺขู อามนฺเตสิ “จตุนฺนํ ภิกฺขเว อริยสจฺจานํ อนนุโพธา อปฺปฏิเวธา เอวมิทํ ทีฆมทฺธานํ สนฺธาวิตํ สํสริตํ มมญฺเจว ตุมฺหากญฺจ.  กตเมสํ จตุนฺนํ?  ทุกฺขสฺส ภิกฺขเว อริยสจฺจสฺส อนนุโพธา อปฺปฏิเวธา เอวมิทํ ทีฆมทฺธานํ สนฺธาวิตํ สํสริตํ มมญฺเจว ตุมฺหากญฺจ.  ทุกฺขสมุทยสฺส อริยสจฺจสฺสฯเปฯ ทุกฺขนิโรธสฺส อริยสจฺจสฺสฯเปฯ ทุกฺขนิโรธคามินิยา ปฏิปทาย อริยสจฺจสฺส อนนุโพธา อปฺปฏิเวธา เอวมิทํ ทีฆมทฺธานํ สนฺธาวิตํ สํสริตํ มมญฺเจว ตุมฺหากญฺจ. 
||33|| 
ตยิทํ ภิกฺขเว ทุกฺขํ อริยสจฺจํ อนุพุทฺธํ ปฏิวิทฺธํ ทุกฺขสมุทยํ อริยสจฺจํ อนุพุทฺธํ ปฏิวิทฺธํ ทุกฺขนิโรธํ อริยสจฺจํ อนุพุทฺธํ ปฏิวิทฺธํ ทุกฺขนิโรธคามินี ปฏิปทา อริยสจฺจํ อนุพุทฺธํ ปฏิวิทฺธํ อุจฺฉินฺนา ภวตณฺหา ขีณา ภวเนตฺติ นตฺถิทานิ ปุนพฺภโว”ติ. 
catuvīsatibhāṇavāraṃ niṭṭhitaṃ. 
จตุนฺนํ อริยสจฺจานํ ยถาภูตํ อทสฺสนา. สํสิตํ ทีฆมทฺธานํ ตาสุ ตาสฺเวว ชาติสุฯ ตานิ เอตานิ ทิฏฺฐานิ ภวเนตฺติ สมูหตา. อุจฺฉินฺนํ มูลํ ทุกฺขสฺส นตฺถิทานิ ปุนพฺภโวติฯ (โกฏิคาเม สจฺจกถา นิฏฺฐิตา.) 
tena kho pana samayena Bhaddiyanagare Meṇḍako gahapati paṭivasati, tassa evarūpo iddhānubhāvo hoti: sīsaṃ nahāyitvā dhaññāgāraṃ sammajjāpetvā bahidvāre ’va nisīdati, antalikkhā dhaññassa dhārā opatitvā dhaññāgāraṃ pūreti.  bhariyāya evarūpo iddhānubhāvo hoti: ekañ ñeva āḷhakathālikaṃ upanisīditvā ekañ ca sūpavyañjanakaṃ dāsakammakaraporisaṃ bhattena parivisati, na tāva taṃ khīyati yāva sā na vuṭṭhāti.  puttassa evarūpo iddhānubhāvo hoti: ekañ ñeva sahassatthavikaṃ gahetvā dāsakammakaraporisassa chammāsikaṃ vetanaṃ deti, na tāva taṃ khīyati yāv’ assa hatthagatā. |1| 
    (๑๗๖. อมฺพปาลีวตฺถุ) ๒๘๘. อสฺโสสิ โข อมฺพปาลี คณิกา ภควา กิร โกฏิคามํ อนุปฺปตฺโตติ. 
suṇisāya evarūpo iddhānubhāvo hoti: ekañ ñeva catudoṇikaṃ piṭakaṃ upanisīditvā dāsakammakaraporisassa chammāsikaṃ bhattaṃ deti, na tāva taṃ khīyati yāva sā na vuṭṭhāti.  dāsassa evarūpo iddhānubhāvo hoti: ekena naṅgalena kasantassa satta sītāyo gacchanti. |2| 
อถ โข อมฺพปาลี คณิกา ภทฺรานิ ภทฺรานิ ยานานิ โยชาเปตฺวา ภทฺรํ ภทฺรํ ยานํ อภิรุหิตฺวา ภทฺเรหิ ภทฺเรหิ ยาเนหิ เวสาลิยา นิยฺยาสิ ภควนฺตํ ทสฺสนาย.  ยาวติกา ยานสฺส ภูมิ ยาเนน คนฺตฺวา ยานา ปจฺโจโรหิตฺวา ปตฺติกาว เยน ภควา เตนุปสงฺกมิ อุปสงฺกมิตฺวา ภควนฺตํ อภิวาเทตฺวา เอกมนฺตํ นิสีทิ. 
assosi kho rājā Māgadho Seniyo Bimbisāro: amhākaṃ kira vijite Bhaddiyanagare Meṇḍako gahapati paṭivasati, tassa evarūpo iddhānubhāvo: sīsaṃ nahāyitvā dhaññāgāraṃ sammajjāpetvā bahidvāre nisīdati, antalikkhā dhaññassa dhārā opatitvā dhaññāgāraṃ pūreti.  bhariyāya evarūpo iddhānubhāvo: ekañ ñeva āḷhakathālikaṃ upanisīditvā ekañ ca sūpavyañjanakaṃ dāsakammakaraporisaṃ bhattena parivisati, na tāva taṃ khīyati yāva sā na vuṭṭhāti.  puttassa evarūpo iddhānubhāvo: ekañ ñeva sahassatthavikaṃ gahetvā dāsakammakaraporisassa chammāsikaṃ vetanaṃ deti, na tāva taṃ khīyati yāv’ assa hatthagatā. |3| 
เอกมนฺตํ นิสินฺนํ โข อมฺพปาลึ คณิกํ ภควา ธมฺมิยา กถาย สนฺทสฺเสสิ สมาทเปสิ สมุตฺเตเชสิ สมฺปหํเสสิ.  อถ โข อมฺพปาลี คณิกา ภควตา ธมฺมิยา กถาย สนฺทสฺสิตา สมาทปิตา สมุตฺเตชิตา สมฺปหํสิตา ภควนฺตํ เอตทโวจ “อธิวาเสตุ เม ภนฺเต ภควา สฺวาตนาย ภตฺตํ สทฺธึ ภิกฺขุสงฺเฆนา”ติ.  อธิวาเสสิ ภควา ตุณฺหีภาเวน. 
suṇisāya evarūpo iddhānubhāvo: ekañ ñeva catudoṇikaṃ piṭakaṃ upanisīditvā dāsakammakaraporisassa chammāsikaṃ bhattaṃ deti, na tāva taṃ khīyati yāva sā na vuṭṭhāti.  dāsassa evarūpo iddhānubhāvo: ekena naṅgalena kasantassa satta sītāyo gacchantīti. |4| 
อถ โข อมฺพปาลี คณิกา ภควโต อธิวาสนํ วิทิตฺวา อุฏฺฐายาสนา ภควนฺตํ อภิวาเทตฺวา ปทกฺขิณํ กตฺวา ปกฺกามิ. (อมฺพปาลีวตฺถุ นิฏฺฐิตํ.)  (๑๗๗. ลิจฺฉวีวตฺถุ) ๒๘๙. อสฺโสสุํ โข เวสาลิกา ลิจฺฉวี ภควา กิร โกฏิคามํ อนุปฺปตฺโตติ. 
atha kho rājā Māgadho Seniyo Bimbisāro aññataraṃ sabbatthakaṃ mahāmattaṃ āmantesi: amhākaṃ kira bhaṇe vijite Bhaddiyanagare Meṇḍako gahapati paṭivasati, tassa evarūpo iddhā-(241)nubhāvo: sīsaṃ ... satta sītāyo gacchanti.  gaccha bhaṇe jānāhi, yathā mayā sāmaṃ diṭṭho evaṃ tava diṭṭho bhavissatīti.  evaṃ devā ’ti kho so mahāmatto rañño Māgadhassa Seniyassa Bimbisārassa paṭisuṇitvā caturaṅginiyā senāya yena Bhaddiyaṃ tena pāyāsi. |5| 
อถ โข เวสาลิกา ลิจฺฉวี ภทฺรานิ ภทฺรานิ ยานานิ โยชาเปตฺวา ภทฺรํ ภทฺรํ ยานํ อภิรุหิตฺวา ภทฺเรหิ ภทฺเรหิ ยาเนหิ เวสาลิยา นิยฺยาสุํ ภควนฺตํ ทสฺสนาย.  อปฺเปกจฺเจ ลิจฺฉวี นีลา โหนฺติ นีลวณฺณา นีลวตฺถา นีลาลงฺการา อปฺเปกจฺเจ ลิจฺฉวี ปีตา โหนฺติ ปีตวณฺณา ปีตวตฺถา ปีตาลงฺการา อปฺเปกจฺเจ ลิจฺฉวี โลหิตา โหนฺติ โลหิตวณฺณา โลหิตวตฺถา โลหิตาลงฺการา อปฺเปกจฺเจ ลิจฺฉวี โอทาตา โหนฺติ โอทาตวณฺณา โอทาตวตฺถา โอทาตาลงฺการา.  อถ โข อมฺพปาลี คณิกา ทหรานํ ทหรานํ ลิจฺฉวีนํ อีสาย อีสํ ยุเคน ยุคํ จกฺเกน จกฺกํ อกฺเขน อกฺขํ ปฏิวฏฺเฏสิ. 
anupubbena yena Bhaddiyaṃ yena Meṇḍako gahapati ten’ upasaṃkami, upasaṃkamitvā Meṇḍakaṃ gahapatiṃ etad avoca: ahaṃ hi gahapati raññā āṇatto: amhākaṃ kira bhaṇe vijite ... diṭṭho bhavissatīti.  passāma te gahapati iddhānubhāvan ti.  atha kho Meṇḍako gahapati sīsaṃ nahāyitvā dhaññāgāraṃ sammajjāpetvā bahidvāre nisīdi, antalikkhā dhaññassa dhārā opatitvā dhaññāgāraṃ pūresi.  diṭṭho te gahapati iddhānubhāvo, bhariyāya te iddhānubhāvaṃ passissāmā ’ti. |6| 
อถ โข เต ลิจฺฉวี อมฺพปาลึ คณิกํ เอตทโวจุํ “กิสฺส เช อมฺพปาลิ ทหรานํ ทหรานํ ลิจฺฉวีนํ อีสาย อีสํ ยุเคน ยุคํ จกฺเกน จกฺกํ อกฺเขน อกฺขํ ปฏิวฏฺเฏสี”ติ?  “ตถา หิ ปน มยา อยฺยปุตฺตา สฺวาตนาย พุทฺธปฺปมุโข ภิกฺขุสงฺโฆ นิมนฺติโต”ติ.  “เทหิ เช อมฺพปาลิ อมฺหากํ เอตํ ภตฺตํ สตสหสฺเสนา”ติ.  “สเจปิ เม อยฺยปุตฺตา เวสาลึ สาหารํ ทชฺเชยฺยาถ เนว ทชฺชาหํ ตํ ภตฺต”นฺติ. 
atha kho Meṇḍako gahapati bhariyaṃ āṇāpesi: tena hi caturaṅginiṃ senaṃ bhattena parivisāhīti.  atha kho Meṇḍakassa gahapatissa bhariyā ekañ ñeva āḷhakathālikaṃ upanisīditvā ekañ ca sūpavyañjanakaṃ caturaṅginiṃ senaṃ bhattena parivisi, na tāva taṃ khīyati yāva sā na vuṭṭhāti.  diṭṭho te gahapati bhariyāya pi iddhānubhāvo, puttassa te iddhānubhāvaṃ passissāmā ’ti. |7| 
อถ โข เต ลิจฺฉวี องฺคุลึ โผเฏสุํ “ชิตมฺหา วต โภ อมฺพกาย ปราชิตมฺห วต โภ อมฺพกายา”ติ.  อถ โข เต ลิจฺฉวี เยน ภควา เตนุปสงฺกมึสุ.  อทฺทสา โข ภควา เต ลิจฺฉวี ทูรโตว อาคจฺฉนฺเต ทิสฺวาน ภิกฺขู อามนฺเตสิ “เยหิ ภิกฺขเว ภิกฺขูหิ เทวา ตาวตึสา อทิฏฺฐปุพฺพา โอโลเกถ ภิกฺขเว ลิจฺฉวีปริสํ อปโลเกถ ภิกฺขเว ลิจฺฉวีปริสํ อุปสํหรถ ภิกฺขเว ลิจฺฉวีปริสํ ตาวตึสปริส”นฺติ. 
atha kho Meṇḍako gahapati puttaṃ āṇāpesi: tena hi tāta caturaṅginiyā senāya chammāsikaṃ vetanaṃ dehīti.  atha kho Meṇḍakassa gahapatissa putto ekañ ñeva sahassatthavikaṃ gahetvā caturaṅginiyā senāya chammāsikaṃ vetanaṃ adāsi, na tāva taṃ khīyati yāv’ assa hatthagatā.  diṭṭho te gahapati puttassa pi iddhānubhavo, suṇisāya te iddhānubhāvaṃ passissāmā ’ti. |8| 
อถ โข เต ลิจฺฉวี ยาวติกา ยานสฺส ภูมิ ยาเนน คนฺตฺวา ยานา ปจฺโจโรหิตฺวา ปตฺติกาว เยน ภควา เตนุปสงฺกมึสุ อุปสงฺกมิตฺวา ภควนฺตํ อภิวาเทตฺวา เอกมนฺตํ นิสีทึสุ.  เอกมนฺตํ นิสินฺเน โข เต ลิจฺฉวี ภควา ธมฺมิยา กถาย สนฺทสฺเสสิ สมาทเปสิ สมุตฺเตเชสิ สมฺปหํเสสิ.  อถ โข เต ลิจฺฉวี ภควตา ธมฺมิยา กถาย สนฺทสฺสิตา สมาทปิตา สมุตฺเตชิตา สมฺปหํสิตา ภควนฺตํ เอตทโวจุํ “อธิวาเสตุ โน ภนฺเต ภควา สฺวาตนาย ภตฺตํ สทฺธึ ภิกฺขุสงฺเฆนา”ติ. 
atha kho Meṇḍako gahapati suṇisaṃ āṇāpesi: tena hi caturaṅginiyā senāya chammāsikaṃ bhattaṃ dehīti.  atha kho Meṇḍakassa gahapatissa suṇisā ekañ ñeva catudoṇikaṃ piṭakaṃ upanisīditvā caturaṅginiyā senāya chammāsikaṃ bhattaṃ adāsi, na tāva taṃ khīyati yāva sā na vuṭṭhāti.  diṭṭho te gahapati suṇisāya pi iddhānubhāvo, dāsassa te iddhānubhāvaṃ passissāmā ’ti.  mayhaṃ kho sāmi dāsassa iddhānubhāvo khette passitabbo ’ti.  alaṃ gahapati diṭṭho te dāsassa pi iddhānubhāvo ’ti.  atha kho so mahāmatto caturaṅginiyā senāya punad eva Rājagahaṃ paccāgacchi, yena rājā Māgadho Seniyo Bimbisāro ten’ upasaṃkami, upasaṃkamitvā rañño Māgadhassa Seniyassa Bimbisārassa etam atthaṃ ārocesi. |9| 
“อธิวุฏฺโฐมฺหิ ลิจฺฉวี สฺวาตนาย อมฺพปาลิยา คณิกาย ภตฺต”นฺติ.  อถ โข เต ลิจฺฉวี องฺคุลึ โผเฏสุํ “ชิตมฺห วต โภ อมฺพกาย ปราชิตมฺห วต โภ อมฺพกายา”ติ.  อถ โข เต ลิจฺฉวี ภควโต ภาสิตํ อภินนฺทิตฺวา อนุโมทิตฺวา อุฏฺฐายาสนา ภควนฺตํ อภิวาเทตฺวา ปทกฺขิณํ กตฺวา ปกฺกมึสุ.  อถ โข ภควา โกฏิคาเม ยถาภิรนฺตํ วิหริตฺวา เยน นาติกา เตนุปสงฺกมิ.  ตตฺร สุทํ ภควา นาติเก วิหรติ คิญฺชกาวสเถ.  อถ โข อมฺพปาลี คณิกา ตสฺสา รตฺติยา อจฺจเยน สเก อาราเม ปณีตํ ขาทนียํ โภชนียํ ปฏิยาทาเปตฺวา ภควโต กาลํ อาโรจาเปสิ “กาโล ภนฺเต นิฏฺฐิตํ ภตฺต”นฺติ. 
(242) atha kho bhagavā Vesāliyaṃ yathābhirantaṃ viharitvā yena Bhaddiyaṃ tena cārikaṃ pakkāmi mahatā bhikkhusaṃghena saddhiṃ aḍḍhatelasehi bhikkhusatehi.  atha kho bhagavā anupubbena cārikaṃ caramāno yena Bhaddiyaṃ tad avasari.  tatra sudaṃ bhagavā Bhaddiye viharati Jātiyāvane. |10| 
อถ โข ภควา ปุพฺพณฺหสมยํ นิวาเสตฺวา ปตฺตจีวรมาทาย เยน อมฺพปาลิยา คณิกาย ปริเวสนา เตนุปสงฺกมิ อุปสงฺกมิตฺวา ปญฺญตฺเต อาสเน นิสีทิ สทฺธึ ภิกฺขุสงฺเฆน  อถ โข อมฺพปาลี คณิกา พุทฺธปฺปมุขํ ภิกฺขุสงฺฆํ ปณีเตน ขาทนีเยน โภชนีเยน สหตฺถา สนฺตปฺเปตฺวา สมฺปวาเรตฺวา ภควนฺตํ ภุตฺตาวึ โอนีตปตฺตปาณึ เอกมนฺตํ นิสีทิ.  เอกมนฺตํ นิสินฺนา โข อมฺพปาลี คณิกา ภควนฺตํ เอตทโวจ “อิมาหํ ภนฺเต อมฺพวนํ พุทฺธปฺปมุขสฺส ภิกฺขุสงฺฆสฺส ทมฺมี”ติ. 
assosi kho Meṇḍako gahapati: samaṇo khalu bho Gotamo Sakyaputto Sakyakulā pabbajito Bhaddiyaṃ anuppatto Bhaddiye viharati Jātiyāvane.  taṃ kho pana bhagavantaṃ Gotamaṃ evaṃ kalyāṇo kittisaddo abbhuggato iti pi so bhagavā arahaṃ sammāsambuddho vijjācaraṇasampanno sugato lokavidū anuttaro purisadammasārathi satthā devamanussānaṃ buddho bhagavā, so imaṃ lokaṃ sadevakaṃ samārakaṃ sabrahmakaṃ sassamaṇabrāhmaṇiṃ pajaṃ sadevamanussaṃ sayaṃ abhiññā sacchikatvā pavedeti, so dhammaṃ deseti ādikalyāṇaṃ majjhe kalyāṇaṃ pariyosānakalyāṇaṃ satthaṃ savyañjanaṃ kevalaparipuṇṇaṃ parisuddhaṃ brahmacariyaṃ pakāseti.  sādhu kho pana tathārūpānaṃ arahataṃ dassanaṃ hotīti. |11| 
ปฏิคฺคเหสิ ภควา อารามํ.  อถ โข ภควา อมฺพปาลึ คณิกํ ธมฺมิยา กถาย สนฺทสฺเสตฺวา สมาทเปตฺวา สมุตฺเตเชตฺวา สมฺปหํเสตฺวา อุฏฺฐายาสนา เยน มหาวนํ เตนุปสงฺกมิ.  ตตฺร สุทํ ภควา เวสาลิยํ วิหรติ มหาวเน กูฏาคารสาลายํ. (ลิจฺฉวีวตฺถุ นิฏฺฐิตํ.) 
atha kho Meṇḍako gahapati bhadrāni-bhadrāni yānāni yojāpetvā bhadraṃ yānaṃ abhirūhitvā bhadrehi-bhadrehi yānehi Bhaddiyā niyyāsi bhagavantaṃ dassanāya.  addasaṃsu kho sambahulā titthiyā Meṇḍakaṃ gahapatiṃ dūrato ’va āgacchantaṃ, disvāna Meṇḍakaṃ gahapatiṃ etad avocuṃ: kahaṃ tvaṃ gahapati gacchasīti.  gacchām’ ahaṃ bhante bhagavantaṃ samaṇaṃ Gotamaṃ dassanāyā ’ti.  kiṃ pana tvaṃ gahapati kiriyavādo samāno akiriyavādaṃ samaṇaṃ Gotamaṃ dassanāya upasaṃkamissasi, samaṇo hi gahapati Gotamo akiriyavādo akiriyāya dhammaṃ deseti tena ca sāvake vinetīti. |12| 
    ลิจฺฉวิภาณวาโร นิฏฺฐิโต ตติโย.  (๑๗๘. สีหเสนาปติวตฺถุ) ๒๙๐. เตน โข ปน สมเยน อภิญฺญาตา อภิญฺญาตา ลิจฺฉวี สนฺธาคาเร สนฺนิสินฺนา สนฺนิปติตา อเนกปริยาเยน พุทฺธสฺส วณฺณํ ภาสนฺติ ธมฺมสฺส วณฺณํ ภาสนฺติ สงฺฆสฺส วณฺณํ ภาสนฺติ. 
atha kho Meṇḍakassa gahapatissa etad ahosi: nissaṃsayaṃ kho so bhagavā arahaṃ sammāsambuddho bhavissati yathā yime titthiyā usuyyantīti, yāvatikā yānassa bhūmi yānena gantvā yānā paccorohitvā pattiko ’va yena bhagavā ten’ upasaṃkami, upasaṃkamitvā bhagavantaṃ abhivādetvā ekamantaṃ nisīdi.  ekamantaṃ nisinnassa kho Meṇḍakassa gahapatissa bhagavā anupubbikathaṃ kathesi seyyath’ īdaṃ: dānakathaṃ --la-- aparappaccayo satthu sāsane bhagavantaṃ etad avoca: abhikkantaṃ bhante --gha-- upāsakaṃ maṃ bhagavā dhāretu ajjatagge pāṇupetaṃ saraṇaṃ (243) gatan ti, adhivāsetu ca me bhante bhagavā svātanāya bhattaṃ saddhiṃ bhikkhusaṃghenā ’ti.  adhivāsesi bhagavā tuṇhibhāvena. |13| 
เตน โข ปน สมเยน สีโห เสนาปติ นิคณฺฐสาวโก ตสฺสํ ปริสายํ นิสินฺโน โหติ.  อถ โข สีหสฺส เสนาปติสฺส เอตทโหสิ “นิสฺสํสยํ โข โส ภควา อรหํ สมฺมาสมฺพุทฺโธ ภวิสฺสติ ตถา หิเม อภิญฺญาตา อภิญฺญาตา ลิจฺฉวี สนฺถาคาเร สนฺนิสินฺนา สนฺนิปติตา อเนกปริยาเยน พุทฺธสฺส วณฺณํ ภาสนฺติ ธมฺมสฺส วณฺณํ ภาสนฺติ สงฺฆสฺส วณฺณํ ภาสนฺติ.  ยํนูนาหํ ตํ ภควนฺตํ ทสฺสนาย อุปสงฺกเมยฺยํ อรหนฺตํ สมฺมาสมฺพุทฺธ”นฺติ. 
atha kho Meṇḍako gahapati bhagavato adhivāsanaṃ viditvā uṭṭhāyāsanā bhagavantaṃ abhivādetvā padakkhiṇaṃ katvā pakkāmi.  atha kho Meṇḍako gahapati tassā rattiyā accayena paṇītaṃ khādaniyaṃ bhojaniyaṃ paṭiyādāpetvā bhagavato kālaṃ ārocāpesi: kālo bhante, niṭṭhitaṃ bhattan ti.  atha kho bhagavā pubbaṇhasamayaṃ nivāsetvā pattacīvaraṃ ādāya yena Meṇḍakassa gahapatissa nivesanaṃ ten’ upasaṃkami, upasaṃkamitvā paññatte āsane nisīdi saddhiṃ bhikkhusaṃghena. |14| 
อถ โข สีโห เสนาปติ เยน นิคณฺโฐ นาฏปุตฺโต เตนุปสงฺกมิ อุปสงฺกมิตฺวา นิคณฺฐํ นาฏปุตฺตํ เอตทโวจ “อิจฺฉามหํ ภนฺเต สมณํ โคตมํ ทสฺสนาย อุปสงฺกมิตุ”นฺติ.  “กึ ปน ตฺวํ สีห กิริยวาโท สมาโน อกิริยวาทํ สมณํ โคตมํ ทสฺสนาย อุปสงฺกมิสฺสสิ?  สมโณ หิ สีห โคตโม อกิริยวาโท อกิริยาย ธมฺมํ เทเสติ เตน จ สาวเก วิเนตี”ติ. 
atha kho Meṇḍakassa gahapatissa bhariyā ca putto ca suṇisā ca dāso ca yena bhagavā ten’ upasaṃkamiṃsu, upasaṃkamitvā bhagavantaṃ abhivādetvā ekamantaṃ nisīdiṃsu.  tesaṃ bhagavā anupubbikathaṃ kathesi --la-- aparappaccayā satthu sāsane bhagavantaṃ etad avocuṃ:--gha-- ete mayaṃ bhante bhagavantaṃ saraṇaṃ gacchāma dhammañ ca bhikkhusaṃghañ ca, upāsake no bhagavā dhāretu ajjatagge pāṇupete saraṇaṃ gate ’ti. |15| 
อถ โข สีหสฺส เสนาปติสฺส โย อโหสิ คมิกาภิสงฺขาโร ภควนฺตํ ทสฺสนาย โส ปฏิปฺปสฺสมฺภิ.  ทุติยมฺปิ โข อภิญฺญาตา อภิญฺญาตา ลิจฺฉวี สนฺธาคาเร สนฺนิสินฺนา สนฺนิปติตา อเนกปริยาเนน พุทฺธสฺส วณฺณํ ภาสนฺติ ธมฺมสฺส วณฺณํ ภาสนฺติ สงฺฆสฺส วณฺณํ ภาสนฺติ. 
atha kho Meṇḍako gahapati buddhapamukhaṃ bhikkhusaṃghaṃ paṇītena khādaniyena bhojaniyena sahatthā santappetvā sampavāretvā bhagavantaṃ bhuttāviṃ onītapattapāṇiṃ ekamantaṃ nisīdi.  ekamantaṃ nisinno kho Meṇḍako gahapati bhagavantaṃ etad avoca: yāva bhante bhagavā Bhaddiye viharati, tāva ahaṃ buddhapamukhassa bhikkhusaṃghassa dhuvabhattenā ’ti.  atha kho bhagavā Meṇḍakaṃ gahapatiṃ dhammiyā kathāya sandassetvā ... sampahaṃsetvā uṭṭhāyāsanā pakkāmi. |16| 
ทุติยมฺปิ โข สีหสฺส เสนาปติสฺส เอตทโหสิ “นิสฺสํสยํ โข โส ภควา อรหํ สมฺมาสมฺพุทฺโธ ภวิสฺสติ ตถา หิเม อภิญฺญาตา อภิญฺญาตา ลิจฺฉวี สนฺธาคาเร สนฺนิสินฺนา สนฺนิปติตา อเนกปริยาเยน พุทฺธสฺส วณฺณํ ภาสนฺติ ธมฺมสฺส วณฺณํ ภาสนฺติ สงฺฆสฺส วณฺณํ ภาสนฺติ. ยํนูนาหํ ตํ ภควนฺตํ ทสฺสนาย อุปสงฺกเมยฺยํ อรหนฺตํ สมฺมาสมฺพุทฺธ”นฺติ.  ทุติยมฺปิ โข สีโห เสนาปติ เยน นิคณฺโฐ นาฏปุตฺโต เตนุปสงฺกมิ อุปสงฺกมิตฺวา นิคณฺฐํ นาฏปุตฺตํ เอตทโวจ “อิจฺฉามหํ ภนฺเต สมณํ โคตมํ ทสฺสนาย อุปสงฺกมิตุ”นฺติ. “กึ ปน ตฺวํ สีห กิริยวาโท สมาโน อกิริยวาทํ สมณํ โคตมํ ทสฺสนาย อุปสงฺกมิสฺสสิ? สมโณ หิ สีห โคตโม อกิริยวาโท อกิริยาย ธมฺมํ เทเสติ เตน จ สาวเก วิเนตี”ติ.  ทุติยมฺปิ โข สีหสฺส เสนาปติสฺส โย อโหสิ คมิกาภิสงฺขาโร ภควนฺตํ ทสฺสนาย โส ปฏิปฺปสฺสมฺภิ. 
atha kho bhagavā Bhaddiye yathābhirantaṃ viharitvā Meṇḍakaṃ gahapatiṃ anāpucchā yena Aṅguttarāpo tena cārikaṃ pakkāmi mahatā bhikkhusaṃghena saddhiṃ aḍḍhatelasehi bhikkhusatehi.  assosi kho Meṇḍako gahapati: bhagavā kira yena Aṅguttarāpo tena cārikaṃ pakkanto mahatā ... bhikkhusatehīti.  atha kho Meṇḍako gahapati dāse ca kammakare ca āṇāpesi: tena hi bhaṇe bahuṃ loṇam pi telam pi taṇḍulam pi khādaniyam pi sakaṭesu āropetvā āgacchatha, aḍḍhatelasāni ca gopālakasatāni aḍḍhatelasāni dhenusatāni ādāya āgacchantu, yattha bhagavantaṃ passissāma tattha taruṇena khīrena bhojessāmā ’ti. |17| 
ตติยมฺปิ โข อภิญฺญาตา อภิญฺญาตา ลิจฺฉวี สนฺธาคาเร สนฺนิสินฺนา สนฺนิปติตา อเนกปริยาเยน พุทฺธสฺส วณฺณํ ภาสนฺติ ธมฺมสฺส วณฺณํ ภาสนฺติ สงฺฆสฺส วณฺณํ ภาสนฺติ.  ตติยมฺปิ โข สีหสฺส เสนาปติสฺส เอตทโหสิ “นิสฺสํสยํ โข โส ภควา อรหํ สมฺมาสมฺพุทฺโธ ภวิสฺสติ ตถา หิเม อภิญฺญาตา อภิญฺญาตา ลิจฺฉวี สนฺธาคาเร สนฺนิสินฺนา สนฺนิปติตา อเนกปริยาเยน พุทฺธสฺส วณฺณํ ภาสนฺติ ธมฺมสฺส วณฺณํ ภาสนฺติ สงฺฆสฺส วณฺณํ ภาสนฺติ.  กิญฺหิ เม กริสฺสนฺติ นิคณฺฐา อปโลกิตา วา อนปโลกิตา วา? 
atha kho Meṇḍako (244) gahapati bhagavantaṃ antarā magge kantāre sambhāvesi.  atha kho Meṇḍako gahapati yena bhagavā ten’ upasaṃkami, upasaṃkamitvā bhagavantaṃ abhivādetvā ekamantaṃ aṭṭhāsi.  ekamantaṃ ṭhito kho Meṇḍako gahapati bhagavantaṃ etad avoca: adhivāsetu me bhante bhagavā svātanāya bhattaṃ saddhiṃ bhikkhusaṃghenā ’ti.  adhivāsesi bhagavā tuṇhibhāvena.  atha kho Meṇḍako gahapati bhagavato adhivāsanaṃ viditvā bhagavantaṃ abhivādetvā padakkhiṇaṃ katvā pakkāmi.  atha kho Meṇḍako gahapati tassā rattiyā accayena paṇītaṃ khādaniyaṃ bhojaniyaṃ paṭiyādāpetvā bhagavato kālaṃ ārocāpesi: kālo bhante, niṭṭhitaṃ bhattan ti. |18| 
ยํนูนาหํ อนปโลเกตฺวาว นิคณฺเฐ ตํ ภควนฺตํ ทสฺสนาย อุปสงฺกเมยฺยํ อรหนฺตํ สมฺมาสมฺพุทฺธ”นฺติ.  อถ โข สีโห เสนาปติ ปญฺจหิ รถสเตหิ ทิวา ทิวสฺส เวสาลิยา นิยฺยาสิ ภควนฺตํ ทสฺสนาย.  ยาวติกา ยานสฺส ภูมิ ยาเนน คนฺตฺวา ยานา ปจฺโจโรหิตฺวา ปตฺติโกว เยน ภควา เตนุปสงฺกมิ อุปสงฺกมิตฺวา ภควนฺตํ อภิวาเทตฺวา เอกมนฺตํ นิสีทิ.  เอกมนฺตํ นิสินฺโน โข สีโห เสนาปติ ภควนฺตํ เอตทโวจ “สุตํ เม ตํ ภนฺเต ‘อกิริยวาโท สมโณ โคตโม อกิริยาย ธมฺมํ เทเสติ เตน จ สาวเก วิเนตี’ติ.  เย เต ภนฺเต เอวมาหํสุ ‘อกิริยวาโท สมโณ โคตโม อกิริยาย ธมฺมํ เทเสติ เตน จ สาวเก วิเนตี’ติ. กจฺจิ เต ภนฺเต ภควโต วุตฺตวาทิโน น จ ภควนฺตํ อภูเตน อพฺภาจิกฺขนฺติ ธมฺมสฺส จานุธมฺมํ พฺยากโรนฺติ  น จ โกจิ สหธมฺมิโก วาทานุวาโท คารยฺหํ ฐานํ อาคจฺฉติ? อนพฺภกฺขาตุกามา หิ มยํ ภนฺเต ภควนฺต”นฺติ. 
atha kho bhagavā pubbaṇhasamayaṃ nivāsetvā pattacīvaraṃ ādāya yena Meṇḍakassa gahapatissa parivesanā ten’ upasaṃkami, upasaṃkamitvā paññatte āsane nisīdi saddhiṃ bhikkhusaṃghena.  atha kho Meṇḍako gahapati aḍḍhatelasāni gopālakasatāni āṇāpesi: tena hi bhaṇe ekamekaṃ dhenuṃ gahetvā ekamekassa bhikkhuno upatiṭṭhatha taruṇena khīrena bhojessāmā ’ti.  atha kho Meṇḍako gahapati buddhapamukhaṃ bhikkhusaṃghaṃ paṇītena khādaniyena bhojaniyena sahatthā santappesi sampavāresi taruṇena ca khīrena.  bhikkhū kukkuccāyantā khīraṃ na paṭigaṇhanti.  paṭigaṇhatha bhikkhave paribhuñjathā ’ti. |19| 
๒๙๑. “อตฺถิ สีห ปริยาโย เยน มํ ปริยาเยน สมฺมา วทมาโน วเทยฺย อกิริยวาโท สมโณ โคตโม อกิริยาย ธมฺมํ เทเสติ เตน จ สาวเก วิเนตีติ.  อตฺถิ สีห ปริยาโย เยน มํ ปริยาเยน สมฺมา วทมาโน วเทยฺย กิริยวาโท สมโณ โคตโม กิริยาย ธมฺมํ เทเสติ เตน จ สาวเก วิเนตีติ.  อตฺถิ สีห ปริยาโย เยน มํ ปริยาเยน สมฺมา วทมาโน วเทยฺย อุจฺเฉทวาโท สมโณ โคตโม อุจฺเฉทาย ธมฺมํ เทเสติ เตน จ สาวเก วิเนตีติ.  อตฺถิ สีห ปริยาโย เยน มํ ปริยาเยน สมฺมา วทมาโน วเทยฺย เชคุจฺฉี สมโณ โคตโม เชคุจฺฉิตาย ธมฺมํ เทเสติ เตน จ สาวเก วิเนตีติ.  อตฺถิ สีห ปริยาโย เยน มํ ปริยาเยน สมฺมา วทมาโน วเทยฺย เวนยิโก สมโณ โคตโม วินยาย ธมฺมํ เทเสติ เตน จ สาวเก วิเนตีติ. 
atha kho Meṇḍako gahapati buddhapamukhaṃ bhikkhusaṃghaṃ paṇītena khādaniyena bhojaniyena sahatthā santappetvā sampavāretvā taruṇena ca khīrena bhagavantaṃ bhuttāviṃ onītapattapāṇiṃ ekamantaṃ nisīdi.  ekamantaṃ nisinno kho Meṇḍako gahapati bhagavantaṃ etad avoca: santi bhante maggā kantārā appodakā appabhakkhā na sukarā apātheyyena gantuṃ.  sādhu bhante bhagavā bhikkhūnaṃ pātheyyaṃ anujānātū ’ti.  atha kho bhagavā Meṇḍakaṃ gahapatiṃ dhammiyā kathāya sandassetvā ... sampahaṃsetvā uṭṭhāyāsanā pakkāmi. |20| 
อตฺถิ สีห ปริยาโย เยน มํ ปริยาเยน สมฺมา วทมาโน วเทยฺย ตปสฺสี สมโณ โคตโม ตปสฺสิตาย ธมฺมํ เทเสติ เตน จ สาวเก วิเนตีติ.  อตฺถิ สีห ปริยาโย เยน มํ ปริยาเยน สมฺมา วทมาโน วเทยฺย อปคพฺโภ สมโณ โคตโม อปคพฺภตาย ธมฺมํ เทเสติ เตน จ สาวเก วิเนตีติ.  อตฺถิ สีห ปริยาโย เยน มํ ปริยาเยน สมฺมา วทมาโน วเทยฺย อสฺสตฺโถ สมโณ โคตโม อสฺสาสาย ธมฺมํ เทเสติ เตน จ สาวเก วิเนตีติ.  ๒๙๒. “กตโม จ สีห ปริยาโย เยน มํ ปริยาเยน สมฺมา วทมาโน วเทยฺย อกิริยวาโท สมโณ โคตโม อกิริยาย ธมฺมํ เทเสติ เตน จ สาวเก วิเนตีติ? 
atha kho bhagavā etasmiṃ nidāne dhammiṃ kathaṃ katvā bhikkhū āmantesi: anujānāmi bhikkhave pañca gorase khīraṃ dadhiṃ takkaṃ navanītaṃ sappiṃ.  santi bhikkhave maggā kantārā appodakā appabhakkhā na sukarā apātheyyena gantuṃ.  anujānāmi bhikkhave pātheyyaṃ pariyesituṃ, taṇḍulo taṇḍulatthikena, muggo muggatthikena, māso māsatthikena, loṇaṃ loṇatthi (245) kena, guḷo guḷatthikena, telaṃ telatthikena, sappi sappitthikena.  santi bhikkhave manussā saddhā pasannā, te kappiyakārakānaṃ hatthe hiraññaṃ upanikkhipanti iminā ayyassa yaṃ kappiyaṃ taṃ dethā ’ti.  anujānāmi bhikkhave yaṃ tato kappiyaṃ taṃ sādituṃ.  na tv evāhaṃ bhikkhave kenaci pariyāyena jātarūparajataṃ sāditabbaṃ pariyesitabban ti vadāmīti. |21| 
อหญฺหิ สีห อกิริยํ วทามิ กายทุจฺจริตสฺส วจีทุจฺจริตสฺส มโนทุจฺจริตสฺส อเนกวิหิตานํ ปาปกานํ อกุสลานํ ธมฺมานํ อกิริยํ วทามิ.  อยํ โข สีห ปริยาโย เยน มํ ปริยาเยน สมฺมา วทมาโน วเทยฺย อกิริยวาโท สมโณ โคตโม อกิริยาย ธมฺมํ เทเสติ เตน จ สาวเก วิเนตีติ.  “กตโม จ สีห ปริยาโย เยน มํ ปริยาเยน สมฺมา วทมาโน วเทยฺย กิริยวาโท สมโณ โคตโม กิริยาย ธมฺมํ เทเสติ เตน จ สาวเก วิเนตีติ?  อหญฺหิ สีห กิริยํ วทามิ กายสุจริตสฺส วจีสุจริตสฺส มโนสุจริตสฺส อเนกวิหิตานํ กุสลานํ ธมฺมานํ กิริยํ วทามิ.  อยํ โข สีห ปริยาโย เยน มํ ปริยาเยน สมฺมา วทมาโน วเทยฺย กิริยวาโท สมโณ โคตโม กิริยาย ธมฺมํ เทเสติ เตน จ สาวเก วิเนตีติ.  “กตโม จ สีห ปริยาโย เยน มํ ปริยาเยน สมฺมา วทมาโน วเทยฺย อุจฺเฉทวาโท สมโณ โคตโม อุจฺเฉทาย ธมฺมํ เทเสติ เตน จ สาวเก วิเนตีติ? 
||34|| 
อหญฺหิ สีห อุจฺเฉทํ วทามิ ราคสฺส โทสสฺส โมหสฺส อเนกวิหิตานํ ปาปกานํ อกุสลานํ ธมฺมานํ อุจฺเฉทํ วทามิ. 
atha kho bhagavā anupubbena cārikaṃ caramāno yena Āpaṇaṃ tad avasari.  assosi kho Keniyo jaṭilo: samaṇo khalu bho Gotamo Sakyaputto Sakyakulā pabbajito Āpaṇaṃ anuppatto Āpaṇe viharati.  taṃ kho pana bhagavantaṃ Gotamaṃ evaṃ kalyāṇo kittisaddo abbhuggato --la-- sādhu kho pana tathārūpānaṃ arahataṃ dassanaṃ hotīti.  atha kho Keniyassa jaṭilassa etad ahosi: kiṃ nu kho ahaṃ samaṇassa Gotamassa harāpeyyan ti. |1| 
อยํ โข สีห ปริยาโย เยน มํ ปริยาเยน สมฺมา วทมาโน วเทยฺย อุจฺเฉทวาโท สมโณ โคตโม อุจฺเฉทาย ธมฺมํ เทเสติ เตน จ สาวเก วิเนตีติ.  “กตโม จ สีห ปริยาโย เยน มํ ปริยาเยน สมฺมา วทมาโน วเทยฺย เชคุจฺฉี สมโณ โคตโม เชคุจฺฉิตาย ธมฺมํ เทเสติ เตน จ สาวเก วิเนตีติ?  อหญฺหิ สีห ชิคุจฺฉามิ กายทุจฺจริเตน วจีทุจฺจริเตน มโนทุจฺจริเตน อเนกวิหิตานํ ปาปกานํ อกุสลานํ ธมฺมานํ สมาปตฺติยา ชิคุจฺฉามิ.  อยํ โข สีห ปริยาโย เยน มํ ปริยาเยน สมฺมา วทมาโน วเทยฺย เชคุจฺฉี สมโณ โคตโม เชคุจฺฉิตาย ธมฺมํ เทเสติ เตน จ สาวเก วิเนตีติ. 
atha kho Keniyassa jaṭilassa etad ahosi: ye pi kho te brāhmaṇānaṃ pubbakā isayo mantānaṃ kattāro mantānaṃ pavattāro yesam idaṃ etarahi brāhmaṇā porāṇaṃ mantapadaṃ gītaṃ pavuttaṃ samihitaṃ tad anugāyanti tad anubhāsanti bhāsitaṃ anubhāsanti vācitam anuvācenti, seyyath’ īdaṃ: Aṭṭhako Vāmako Vāmadevo Vessāmitto Yamataggi Aṅgiraso Bhāradvājo Vāseṭṭho Kassapo Bhagu, rattūparatā viratā vikālabhojanā, te evarūpāni pānāni sādiyiṃsu, |2| 
“กตโม จ สีห ปริยาโย เยน มํ ปริยาเยน สมฺมา วทมาโน วเทยฺย เวนยิโก สมโณ โคตโม วินยาย ธมฺมํ เทเสติ เตน จ สาวเก วิเนตีติ? 
samaṇo pi Gotamo rattūparato virato vikālabhojanā, arahati samaṇo pi Gotamo evarūpāni pānāni saditun ti, pahūtaṃ pānaṃ paṭiyādāpetvā kājehi gāhāpetvā yena bhagavā ten’ {upasaṃkami,} upasaṃkamitvā bhagavatā saddhiṃ sammodi, sammodanīyaṃ kathaṃ sāraṇīyaṃ vītisāretvā ekamantaṃ aṭṭhāsi.  ekamantaṃ ṭhito kho Keniyo jaṭilo bhagavantaṃ etad avoca: paṭigaṇhātu me bhavaṃ Gotamo pānan ti.  tena hi Keniya bhikkhūnaṃ dehīti.  bhikkhū kukkuccāyantā na paṭigaṇhanti.  paṭigaṇhatha bhikkhave paribhuñjathā ’ti. |3| 
อหญฺหิ สีห วินยาย ธมฺมํ เทเสมิ ราคสฺส โทสสฺส โมหสฺส อเนกวิหิตานํ ปาปกานํ อกุสลานํ ธมฺมานํ วินยาย ธมฺมํ เทเสมิ.  อยํ โข สีห ปริยาโย เยน มํ ปริยาเยน สมฺมา วทมาโน วเทยฺย เวนยิโก สมโณ โคตโม วินยาย ธมฺมํ เทเสติ เตน จ สาวเก วิเนตีติ.  “กตโม จ สีห ปริยาโย เยน มํ ปริยาเยน สมฺมา วทมาโน วเทยฺย ตปสฺสี สมโณ โคตโม ตปสฺสิตาย ธมฺมํ เทเสติ เตน จ สาวเก วิเนตีติ?  ตปนียาหํ สีห ปาปเก อกุสเล ธมฺเม วทามิ กายทุจฺจริตํ วจีทุจฺจริตํ มโนทุจฺจริตํ.  ยสฺส โข สีห ตปนียา ปาปกา อกุสลา ธมฺมา ปหีนา อุจฺฉินฺนมูลา ตาลาวตฺถุกตา อนภาวงฺกตา อายตึ อนุปฺปาทธมฺมา ตมหํ ตปสฺสีติ วทามิ. 
atha kho Keniyo jaṭilo buddhapamukhaṃ bhikkhusaṃghaṃ pahūtehi pānehi sahatthā santappetvā sampavāretvā bhagavantaṃ dhotahatthaṃ onītapattapāṇiṃ ekamantaṃ nisīdi.  ekamantaṃ nisinnaṃ kho Keniyaṃ jaṭilaṃ bhagavā dhammiyā kathāya sandassesi ... sampahaṃsesi.  atha (246) kho Keniyo jaṭilo bhagavatā dhammiyā kathāya sandassito ... sampahaṃsito bhagavantaṃ etad avoca: adhivāsetu me bhavaṃ Gotamo svātanāya bhattaṃ saddhiṃ bhikkhusaṃghenā ’ti. |4| 
ตถาคตสฺส โข สีห ตปนียา ปาปกา อกุสลา ธมฺมา ปหีนา อุจฺฉีนฺนมูลา ตาลาวตฺถุกตา อนภาวํกตา อายตึ อนุปฺปาทธมฺมา.  อยํ โข สีห ปริยาโย เยน มํ ปริยาเยน สมฺมา วทมาโน วเทยฺย “ตปสฺสี สมโณ โคตโม ตปสฺสิตาย ธมฺมํ เทเสติ เตน จ สาวเก วิเนตี”ติ.  “กตโม จ สีห ปริยาโย เยน มํ ปริยาเยน สมฺมา วทมาโน วเทยฺย อปคพฺโภ สมโณ โคตโม อปคพฺภตาย ธมฺมํ เทเสติ เตน จ สาวเก วิเนตีติ? 
mahā kho Keniya bhikkhusaṃgho aḍḍhatelasāni bhikkhusatāni tvañ ca brāhmaṇesu abhippasanno ’ti.  dutiyam pi kho Keniyo jaṭilo bhagavantaṃ etad avoca: kiñ cāpi bho Gotama mahā bhikkhusaṃgho aḍḍhatelasāni bhikkhusatāni ahañ ca brāhmaṇesu abhippasanno.  adhivāsetu me ... bhikkhusaṃghenā ’ti.  mahā kho ... abhippasanno ’ti.  tatiyam pi kho Keniyo jaṭilo bhagavantaṃ etad avoca: kiñ cāpi ... saddhiṃ bhikkhusaṃghenā ’ti.  adhivāsesi bhagavā tuṇhibhāvena.  atha kho Keniyo jaṭilo bhagavato adhivāsanaṃ viditvā uṭṭhāyāsanā pakkāmi. |5| 
ยสฺส โข สีห อายตึ คพฺภเสยฺยา ปุนพฺภวาภินิพฺพตฺติ ปหีนา อุจฺฉินฺนมูลา ตาลาวตฺถุกตา อนภาวํกตา อายตึ อนุปฺปาทธมฺมา ตมหํ อปคพฺโภติ วทามิ.  ตถาคตสฺส โข สีห อายตึ คพฺภเสยฺยา ปุนพฺภวาภินิพฺพตฺติ ปหีนา อุจฺฉินฺนมูลา ตาลาวตฺถุกตา อนภาวํกตา อายตึ อนุปฺปาทธมฺมา.  อยํ โข สีห ปริยาโย เยน มํ ปริยาเยน สมฺมา วทมาโน วเทยฺย อปคพฺโภ สมโณ โคตโม อปคพฺภตาย ธมฺมํ เทเสติ เตน จ สาวเก วิเนตีติ.  “กตโม จ สีห ปริยาโย เยน มํ ปริยาเยน สมฺมา วทมาโน วเทยฺย อสฺสตฺโถ สมโณ โคตโม อสฺสาสาย ธมฺมํ เทเสติ เตน จ สาวเก วิเนตีติ?  อหญฺหิ สีห อสฺสตฺโถ ปรเมน อสฺสาเสน อสฺสาสาย ธมฺมํ เทเสมิ เตน จ สาวเก วิเนมิ.  อยํ โข สีห ปริยาโย เยน มํ ปริยาเยน สมฺมา วทมาโน วเทยฺย อสฺสตฺโถ สมโณ โคตโม อสฺสาสาย ธมฺมํ เทเสติ เตน จ สาวเก วิเนตี”ติ.  ๒๙๓. เอวํ วุตฺเต สีโห เสนาปติ ภควนฺตํ เอตทโวจ “อภิกฺกนฺตํ ภนฺเตฯเปฯ อุปาสกํ มํ ภควา ธาเรตุ อชฺชตคฺเค ปาณุเปตํ สรณํ คต”นฺติ. 
atha kho bhagavā etasmiṃ nidāne dhammiṃ kathaṃ katvā bhikkhū āmantesi: anujānāmi bhikkhave aṭṭha pānāni: ambapānaṃ jambupānaṃ {cocapānaṃ} mocapānaṃ madhup. muddikāp. sālukap. phārusakapānaṃ.  anujānāmi bhikkhave sabbaṃ phalarasaṃ ṭhapetvā dhaññaphalarasaṃ.  anujānāmi bhikkhave sabbaṃ pattarasaṃ ṭhapetvā ḍākarasaṃ.  anujānāmi bhikkhave sabbaṃ puppharasaṃ ṭhapetvā madhukapuppharasaṃ.  anujānāmi bhikkhave ucchurasan ti. |6| 
“อนุวิจฺจการํ โข สีห กโรหิ อนุวิจฺจกาโร ตุมฺหาทิสานํ ญาตมนุสฺสานํ สาธุ โหตี”ติ.  “อิมินาปาหํ ภนฺเต ภควโต ภิยฺโยโสมตฺตาย อตฺตมโน อภิรทฺโธ ยํ มํ ภควา เอวมาห ‘อนุวิจฺจการํ โข สีห กโรหิ อนุวิจฺจกาโร ตุมฺหาทิสานํ ญาตมนุสฺสานํ สาธุ โหตี’ติ.  มมญฺหิ ภนฺเต อญฺญติตฺถิยา สาวกํ ลภิตฺวา เกวลกปฺปํ เวสาลึ ปฏากํ ปริหเรยฺยุํ ‘สีโห โข อมฺหากํ เสนาปติ สาวกตฺตํ อุปคโต’ติ.  อถ จ ปน มํ ภควา เอวมาห ‘อนุวิจฺจการํ โข สีห กโรหิ อนุวิจฺจกาโร ตุมฺหาทิสานํ ญาตมนุสฺสานํ สาธุ โหตี’ติ.  เอสาหํ ภนฺเต ทุติยมฺปิ ภควนฺตํ สรณํ คจฺฉามิ ธมฺมญฺจ ภิกฺขุสงฺฆญฺจ. อุปาสกํ มํ ภควา ธาเรตุ อชฺชตคฺเค ปาณุเปตํ สรณํ คต”นฺติ. 
atha kho Keniyo jaṭilo tassā rattiyā accayena sake assame paṇītaṃ khādaniyaṃ bhojaniyaṃ paṭiyādāpetvā bhagavato kālaṃ ārocāpesi: kālo bho Gotama, niṭṭhitaṃ bhattan ti.  atha kho bhagavā pubbaṇhasamayaṃ nivāsetvā pattacīvaraṃ ādāya yena Keniyassa jaṭilassa assamo ten’ upasaṃkami, upasaṃkamitvā paññatte āsane nisīdi saddhiṃ bhikkhusaṃghena.  atha kho Keniyo jaṭilo buddhapamukhaṃ bhikkhusaṃghaṃ paṇītena khādaniyena bhojaniyena sahatthā santappetvā sampavāretvā bhagavantaṃ bhuttāviṃ onītapattapāṇiṃ ekamantaṃ nisīdi. |7| 
“ทีฆรตฺตํ โข เต สีห นิคณฺฐานํ โอปานภูตํ กุลํ เยน เนสํ อุปคตานํ ปิณฺฑกํ ทาตพฺพํ มญฺเญยฺยาสี”ติ.  “อิมินาปาหํ ภนฺเต ภควโต ภิยฺโยโสมตฺตาย อตฺตมโน อภิรทฺโธ ยํ มํ ภควา เอวมาห ‘ทีฆรตฺตํ โข เต สีห นิคณฺฐานํ โอปานภูตํ กุลํ เยน เนสํ อุปคตานํ ปิณฺฑกํ ทาตพฺพํ มญฺเญยฺยาสี’ติ.  สุตํ เม ตํ ภนฺเต สมโณ โคตโม เอวมาห ‘มยฺหเมว ทานํ ทาตพฺพํ น อญฺเญสํ ทานํ ทาตพฺพํ มยฺหเมว สาวกานํ ทานํ ทาตพฺพํ น อญฺเญสํ สาวกานํ ทานํ ทาตพฺพํ มยฺหเมว ทินฺนํ มหปฺผลํ น อญฺเญสํ ทินฺนํ มหปฺผลํ มยฺหเมว สาวกานํ ทินฺนํ มหปฺผลํ น อญฺเญสํ สาวกานํ ทินฺนํ มหปฺผล’นฺติ. 
ekamantaṃ nisinnaṃ kho Keniyaṃ jaṭilaṃ bhagavā imāhi gāthāhi anumodi: aggihuttamukhā yaññā, sāvitthī chandaso mukhaṃ, rājā mukhaṃ manussānaṃ, nadīnaṃ sāgaro mukhaṃ, | nakkhattānaṃ mukhaṃ cando, ādicco tapataṃ mukhaṃ, puññaṃ ākaṅkhamānānaṃ saṃgho ve jayataṃ mukhan ti.  atha kho bhagavā Keniyaṃ jaṭilaṃ imāhi gāthāhi anumoditvā uṭṭhāyāsanā pakkāmi. |8| 
อถ จ ปน มํ ภควา นิคณฺเฐสุปิ ทาเน สมาทเปติ.  อปิ จ ภนฺเต มยเมตฺถ กาลํ ชานิสฺสาม. 
||35|| 
เอสาหํ ภนฺเต ตติยมฺปิ ภควนฺตํ สรณํ คจฺฉามิ ธมฺมญฺจ ภิกฺขุสงฺฆญฺจ. อุปาสกํ มํ ภควา ธาเรตุ อชฺชตคฺเค ปาณุเปตํ สรณํ คต”นฺติ. 
(247) atha kho bhagavā Āpaṇe yathābhirantaṃ viharitvā yena Kusinārā tena cārikaṃ pakkāmi mahatā bhikkhusaṃghena saddhiṃ aḍḍhatelasehi bhikkhusatehi.  assosuṃ kho Kosinārakā Mallā: bhagavā kira Kusināraṃ {āgacchati} mahatā bhikkhusaṃghena saddhiṃ aḍḍhatelasehi bhikkhusatehīti.  te saṃgaraṃ akaṃsu: yo bhagavato paccuggamanaṃ na karissati pañca satāni daṇḍo ’ti.  tena kho pana samayena Rojo Mallo āyasmato Ānandassa sahāyo hoti.  atha kho bhagavā anupubbena cārikaṃ caramāno yena Kusinārā tad avasari. |1| 
อถ โข ภควา สีหสฺส เสนาปติสฺส อนุปุพฺพิ๎ กถํ กเถสิ เสยฺยถิทํ ทานกถํฯเปฯ อปรปฺปจฺจโย สตฺถุสาสเน ภควนฺตํ เอตทโวจ “อธิวาเสตุ เม ภนฺเต ภควา สฺวาตนาย ภตฺตํ สทฺธึ ภิกฺขุสงฺเฆนา”ติ.  อธิวาเสสิ ภควา ตุณฺหีภาเวน.  อถ โข สีโห เสนาปติ ภควโต อธิวาสนํ วิทิตฺวา อุฏฺฐายาสนา ภควนฺตํ อภิวาเทตฺวา ปทกฺขิณํ กตฺวา ปกฺกามิ.  ๒๙๔. อถ โข สีโห เสนาปติ อญฺญตรํ ปุริสํ อาณาเปสิ “คจฺฉ ภเณ ปวตฺตมํสํ ชานาหี”ติ.  อถ โข สีโห เสนาปติ ตสฺสา รตฺติยา อจฺจเยน ปณีตํ ขาทนียํ โภชนียํ ปฏิยาทาเปตฺวา ภควโต กาลํ อาโรจาเปสิ “กาโล ภนฺเต นิฏฺฐิตํ ภตฺต”นฺติ. 
atha kho Kosinārakā Mallā bhagavato paccuggamanaṃ akaṃsu.  atha kho Rojo Mallo bhagavato paccuggamanaṃ karitvā yenāyasmā Ānando ten’ upasaṃkami, upasaṃkamitvā āyasmantam Ānandaṃ abhivādetvā ekamantaṃ aṭṭhāsi.  ekamantaṃ ṭhitaṃ kho Rojaṃ Mallaṃ āyasmā Ānando etad avoca: uḷāraṃ kho te idaṃ āvuso Roja yaṃ tvaṃ bhagavato paccuggamanaṃ akāsīti.  nāhaṃ bhante Ānanda bahukato buddhena vā dhammena vā saṃghena vā, api ca ñātīhi saṃgaro kato yo bhagavato paccuggamanaṃ na karissati pañca satāni daṇḍo ’ti.  sa kho ahaṃ bhante Ānanda ñātīnaṃ daṇḍabhayā evāhaṃ bhagavato paccuggamanaṃ akāsin ti.  atha kho āyasmā Ānando anattamano ahosi: kathaṃ hi nāma Rojo Mallo evaṃ vakkhatīti. |2| 
อถ โข ภควา ปุพฺพณฺหสมยํ นิวาเสตฺวา ปตฺตจีวรมาทาย เยน สีหสฺส เสนาปติสฺส นิเวสนํ เตนุปสงฺกมิ อุปสงฺกมิตฺวา ปญฺญตฺเต อาสเน นิสีทิ สทฺธึ ภิกฺขุสงฺเฆน.  เตน โข ปน สมเยน สมฺพหุลา นิคณฺฐา เวสาลิยํ รถิกาย รถิกํ สิงฺฆาฏเกน สิงฺฆาฏกํ พาหา ปคฺคยฺห กนฺทนฺติ “อชฺช สีเหน เสนาปตินา ถูลํ ปสุํ วธิตฺวา สมณสฺส โคตมสฺส ภตฺตํ กตํ ตํ สมโณ โคตโม ชานํ อุทฺทิสฺสกตํ มํสํ ปริภุญฺชติ ปฏิจฺจกมฺม”นฺติ.  อถ โข อญฺญตโร ปุริโส เยน สีโห เสนาปติ เตนุปสงฺกมิ อุปสงฺกมิตฺวา สีหสฺส เสนาปติสฺส อุปกณฺณเก อาโรเจสิ “ยคฺเฆ ภนฺเต ชาเนยฺยาสิ เอเต สมฺพหุลา นิคณฺฐา เวสาลิยํ รถิกาย รถิกํ สิงฺฆาฏเกน สิงฺฆาฏกํ พาหา ปคฺคยฺห กนฺทนฺติ ‘อชฺช สีเหน เสนาปตินา ถูลํ ปสุํ วธิตฺวา สมณสฺส โคตมสฺส ภตฺตํ กตํ ตํ สมโณ โคตโม ชานํ อุทฺทิสฺสกตํ มํสํ ปริภุญฺชติ ปฏิจฺจกมฺม”’นฺติ.  “อลํ อยฺโย ทีฆรตฺตมฺปิ เต อายสฺมนฺตา อวณฺณกามา พุทฺธสฺส อวณฺณกามา ธมฺมสฺส อวณฺณกามา สงฺฆสฺส น จ ปน เต อายสฺมนฺตา ชิริทนฺติ ตํ ภควนฺตํ อสตา ตุจฺฉา มุสา อภูเตน อพฺภาจิกฺขนฺตา น จ มยํ ชีวิตเหตุปิ สญฺจิจฺจ ปาณํ ชีวิตา โวโรเปยฺยามา”ติ.  อถ โข สีโห เสนาปติ พุทฺธปฺปมุขํ ภิกฺขุสงฺฆํ ปณีเตน ขาทนีเยน โภชนีเยน สหตฺถา สนฺตปฺเปตฺวา สมฺปวาเรตฺวา ภควนฺตํ ภุตฺตาวึ โอนีตปตฺตปาณึ เอกมนฺตํ นิสีทิ. เอกมนฺตํ นิสินฺนํ โข สีหํ เสนาปตึ ภควา ธมฺมิยา กถาย สนฺทสฺเสตฺวา สมาทเปตฺวา สมุตฺเตเชตฺวา สมฺปหํเสตฺวา อุฏฺฐายาสนา ปกฺกามิ.  อถ โข ภควา เอตสฺมึ นิทาเน เอตสฺมึ ปกรเณ ธมฺมึ กถํ กตฺวา ภิกฺขู อามนฺเตสิ “น ภิกฺขเว ชา นํ อุทฺทิสฺสกตํ มํสํ ปริภุญฺชิตพฺพํ. 
atha kho āyasmā Ānando yena bhagavā ten’ upasaṃkami, upasaṃkamitvā bhagavantaṃ abhivādetvā ekamantaṃ nisīdi.  ekamantaṃ nisinno kho āyasmā Ānando bhagavantaṃ etad avoca: ayaṃ bhante Rojo Mallo abhiññāto ñātamanusso.  mahiddhiyo kho pana evarūpānaṃ ñātamanussānaṃ imasmiṃ dhammavinaye pasādo.  sādhu bhante bhagavā tathā karotu yathā Rojo Mallo imasmiṃ dhammavinaye pasīdeyyā ’ti.  na kho taṃ Ānanda dukkaraṃ tathāgatena yathā Rojo Mallo imasmiṃ dhammavinaye pasīdeyyā ’ti. |3| 
โย ปริภุญฺเชยฺย อาปตฺติ ทุกฺกฏสฺส.  อนุชานามิ ภิกฺขเว ติโกฏิปริสุทฺธํ มจฺฉมํสํ อทิฏฺฐํ อสฺสุตํ อปริสงฺกิต”นฺติ. (สีหเสนาปติวตฺถุ นิฏฺฐิตํ.)      (๑๗๙. กปฺปิยภูมิอนุชานนา) ๒๙๕. เตน โข ปน สมเยน เวสาลี สุภิกฺขา โหติ สุสสฺสา สุลภปิณฺฑา สุกรา อุญฺเฉน ปคฺคเหน ยาเปตุํ. 
atha kho bhagavā Rojaṃ Mallaṃ mettena cittena pharitvā uṭṭhāyāsanā vihāraṃ pāvisi.  atha kho Rojo Mallo bhagavatā mettena cittena phuṭṭho seyyathāpi nāma gāvī taruṇavacchā evam eva vihārena vihāraṃ pariveṇena pariveṇaṃ upasaṃkamitvā bhikkhū pucchati: kahaṃ nu kho bhante etarahi so bhagavā viharati arahaṃ sammāsambuddho, dassanakāmā hi mayaṃ taṃ bhagavantaṃ arahantaṃ sammāsambuddhan ti.  es’ āvuso Roja-(248)vihāro saṃvutadvāro, tena appasaddo upasaṃkamitvā ataramāno ālindaṃ pavisitvā ukkāsitvā aggaḷaṃ ākoṭehi, vivarissati te bhagavā dvāran ti. |4| 
อถ โข ภควโต รโหคตสฺส ปฏิสลฺลีนสฺส เอวํ เจตโส ปริวิตกฺโก อุทปาทิ “ยานิ ตานิ มยา ภิกฺขูนํ อนุญฺญาตานิ ทุพฺภิกฺเข ทุสฺสสฺเส ทุลฺลภปิณฺเฑ อนฺโต วุฏฺฐํ อนฺโต ปกฺกํ สามํ ปกฺกํ อุคฺคหิตปฏิคฺคหิตกํ ตโต นีหฏํ ปุเรภตฺตํ ปฏิคฺคหิตํ วนฏฺฐํ โปกฺขรฏฺฐํ อชฺชาปิ นุ โข ตานิ ภิกฺขู ปริภุญฺชนฺตี”ติ.  อถ โข ภควา สายนฺหสมยํ ปฏิสลฺลานา วุฏฺฐิโต อายสฺมนฺตํ อานนฺทํ อามนฺเตสิ “ยานิ ตานิ อานนฺท มยา ภิกฺขูนํ อนุญฺญาตานิ ทุพฺภิกฺเข ทุสฺสสฺเส ทุลฺลภปิณฺเฑ อนฺโต วุฏฺฐํ อนฺโต ปกฺกํ สามํ ปกฺกํ อุคฺคหิตปฏิคฺคหิตกํ ตโต นีหฏํ ปุเรภตฺตํ ปฏิคฺคหิตํ วนฏฺฐํ โปกฺขรฏฺฐํ อชฺชาปิ นุ โข ตานิ ภิกฺขู ปริภุญฺชนฺตี”ติ?  “ปริภุญฺชนฺติ ภควา”ติ. 
atha kho Rojo Mallo yena so vihāro saṃvutadvāro tena appasaddo upasaṃkamitvā ataramāno ālindaṃ pavisitvā ukkāsitvā aggaḷaṃ ākoṭesi, vivari bhagavā dvāraṃ.  atha kho Rojo Mallo vihāraṃ pavisitvā bhagavantaṃ abhivādetvā ekamantaṃ nisīdi.  ekamantaṃ nisinnassa kho Rojassa Mallassa bhagavā anupubbikathaṃ kathesi seyyath’ īdaṃ: dānakathaṃ --la-- aparappaccayo satthu sāsane bhagavantaṃ etad avoca: sādhu bhante ayyā mamañ ñeva paṭigaṇheyyuṃ cīvarapiṇḍapātasenāsanagilānapaccayabhesajjaparikkhāraṃ no aññesan ti.  yesaṃ kho Roja sekhena ñāṇena sekhena dassanena dhammo diṭṭho seyyathāpi tayā tesam pi evaṃ hoti: aho nūna ayyā amhākañ ñeva paṭigaṇheyyuṃ cīvarapiṇḍapātasenāsanagilānapaccayabhesajjaparikkhāraṃ no aññesan ti.  tena hi Roja tava c’ eva paṭigaṇhissanti aññesañ cā ’ti. |5| 
อถ โข ภควา เอตสฺมึ นิทาเน เอตสฺมึ ปกรเณ ธมฺมึ กถํ กตฺวา ภิกฺขู อามนฺเตสิ “ยานิ ตานิ ภิกฺขเว มยา ภิกฺขูนํ อนุญฺญาตานิ ทุพฺภิกฺเข ทุสฺสสฺเส ทุลฺลภปิณฺเฑ อนฺโต วุฏฺฐํ อนฺโต ปกฺกํ สามํ ปกฺกํ อุคฺคหิตปฏิคฺคหิตกํ ตโต นีหฏํ ปุเรภตฺตํ ปฏิคฺคหิตํ วนฏฺฐํ โปกฺขรฏฺฐํ ตานาหํ อชฺชตคฺเค ปฏิกฺขิปามิ.  น ภิกฺขเว อนฺโต วุฏฺฐํ อนฺโต ปกฺกํ สามํ ปกฺกํ อุคฺคหิตปฏิคฺคหิตกํ ปริภุญฺชิตพฺพํ.  โย ปริภุญฺเชยฺย อาปตฺติ ทุกฺกฏสฺส.  น จ ภิกฺขเว ตโต นีหฏํ ปุเรภตฺตํ ปฏิคฺคหิตํ วนฏฺฐํ โปกฺขรฏฺฐํ ภุตฺตาวินา ปวาริเตน อนติริตฺตํ ปริภุญฺชิตพฺพํ.  โย ปริภุญฺเชยฺย ยถาธมฺโม กาเรตพฺโพ”ติ. 
tena kho pana samayena Kusinārāyaṃ paṇītānaṃ bhattānaṃ bhattapaṭipāṭi adhiṭṭhitā hoti.  atha kho Rojassa Mallassa paṭipāṭiṃ alabhantassa etad ahosi: yaṃ nūnāhaṃ bhattaggaṃ olokeyyaṃ, yaṃ bhattagge nāddasaṃ taṃ paṭiyādeyyan ti.  atha kho Rojo Mallo bhattaggaṃ olokento dve nāddasa ḍākañ ca piṭṭhakhādaniyañ ca.  atha kho Rojo Mallo yenāyasmā Ānando ten’ upasaṃkami, upasaṃkamitvā āyasmantaṃ Ānandaṃ etad avoca: idha me bhante Ānanda paṭipāṭiṃ alabhantassa etad ahosi: yaṃ nūnāhaṃ bhattaggaṃ olokeyyaṃ, yaṃ bhattagge nāddasaṃ taṃ paṭiyādeyyan ti.  so kho ahaṃ bhante Ānanda bhattaggaṃ olokento dve nāddasaṃ ḍākañ ca piṭṭhakhādaniyañ ca.  sac’ āhaṃ bhante Ānanda paṭiyādeyyaṃ ḍākañ ca piṭṭhakhādaniyañ ca, paṭigaṇheyya me bhagavā ’ti.  tena hi Roja bhagavantaṃ paṭipucchissāmīti. |6| 
    เตน โข ปน สมเยน ชานปทา มนุสฺสา พหุํ โลณมฺปิ เตลมฺปิ ตณฺฑุลมฺปิ ขาทนียมฺปิ สกเฏสุ อาโรเปตฺวา พหารามโกฏฺฐเก สกฏปริวฏฺฏํ กริตฺวา อจฺฉนฺติ ยทา ปฏิปาฏึ ลภิสฺสาม ตทา ภตฺตํ กริสฺสามาติ. มหา จ เมโฆ อุคฺคโต โหติ.  อถ โข เต มนุสฺสา เยนายสฺมา อานนฺโท เตนุปสงฺกมึสุ อุปสงฺกมิตฺวา อายสฺมนฺตํ อานนฺทํ เอตทโวจุํ “อิธ ภนฺเต อานนฺท พหุํ โลณมฺปิ เตลมฺปิ ตณฺฑุลมฺปิ ขาทนียมฺปิ สกเฏสุ อาโรปิตา ติฏฺฐนฺติ มหา จ เมโฆ อุคฺคโต  กถํ นุ โข ภนฺเต อานนฺท ปฏิปชฺชิตพฺพ”นฺติ?  อถ โข อายสฺมา อานนฺโท ภควโต เอตมตฺถํ อาโรเจสิ.  “เตน หานนฺท สงฺโฆ ปจฺจนฺติมํ วิหารํ กปฺปิยภูมึ สมฺมนฺนิตฺวา ตตฺถ วาเสตุ ยํ สงฺโฆ อากงฺขติ วิหารํ วา อฑฺฒโยคํ วา ปาสาทํ วา หมฺมิยํ วา คุหํ วา. 
atha kho āyasmā Ānando bhagavato etam atthaṃ ārocesi.  tena h’ Ānanda paṭiyādetū ’ti.  tena hi Roja paṭiyādehīti.  atha kho Rojo Mallo tassā rattiyā accayena pahūtaṃ ḍākañ ca piṭṭhakhādaniyañ ca paṭiyādāpetvā bhagavato upanāmesi paṭigaṇhātu me bhante bhagavā ḍākañ ca piṭṭhakhādaniyañ cā ’ti.  tena hi Roja bhikkhūnaṃ dehīti.  bhikkhū kukkuccāyantā na pa-(249)ṭigaṇhanti.  paṭigaṇhatha bhikkhave paribhuñjathā.’ti |7| 
เอวญฺจ ปน ภิกฺขเว สมฺมนฺนิตพฺพา. พฺยตฺเตน ภิกฺขุนา ปฏิพเลน สงฺโฆ ญาเปตพฺโพ “สุณาตุ เม ภนฺเต สงฺโฆ.  ยทิ สงฺฆสฺส ปตฺตกลฺลํ สงฺโฆ อิตฺถนฺนามํ วิหารํ กปฺปิยภูมึ สมฺมนฺเนยฺย  เอสา ญตฺติ.  “สุณาตุ เม ภนฺเต สงฺโฆ.  สงฺโฆ อิตฺถนฺนามํ วิหารํ กปฺปิยภูมึ สมฺมนฺนติ  ยสฺสายสฺมโต ขมติ อิตฺถนฺนามสฺส วิหารสฺส กปฺปิยภูมิยา สมฺมุติ โส ตุณฺหสฺส ยสฺส นกฺขมติ โส ภาเสยฺย.  “สมฺมโต สงฺเฆน อิตฺถนฺนาโม วิหาโร กปฺปิยภูมิ. 
atha kho Rojo Mallo buddhapamukhaṃ bhikkhusaṃghaṃ pahūtehi ḍākehi ca piṭṭhakhādaniyehi ca sahatthā santappetvā sampavāretvā bhagavantaṃ dhotahatthaṃ onītapattapāṇiṃ ekamantaṃ nisīdi.  ekamantaṃ nisinnaṃ kho Rojaṃ Mallaṃ bhagavā dhammiyā kathāya sandassetvā ... sampahaṃsetvā uṭṭhāyāsanā pakkāmi.  atha kho bhagavā etasmiṃ nidāne dhammiṃ kathaṃ katvā bhikkhū āmantesi: anujānāmi bhikkhave sabbañ ca ḍākam sabbañ ca piṭṭhakhādaniyan ti. |8| 
ขมติ สงฺฆสฺส ตสฺมา ตุณฺหี เอวเมตํ ธารยามี”ติ.  เตน โข ปน สมเยน มนุสฺสา ตตฺเถว สมฺมุติยา กปฺปิยภูมิยา ยาคุโย ปจนฺติ ภตฺตานิ ปจนฺติ สูปานิ สมฺปาเทนฺติ มํสานิ โกฏฺเฏนฺติ กฏฺฐานิ ผาเลนฺติ.  อสฺโสสิ โข ภควา รตฺติยา ปจฺจูสสมยํ ปจฺจุฏฺฐาย อุจฺจาสทฺทํ มหาสทฺทํ กาโกรวสทฺทํ สุตฺวาน อายสฺมนฺตํ อานนฺทํ อามนฺเตสิ “กึ นุ โข โส อานนฺท อุจฺจาสทฺโท มหาสทฺโท กาโกรวสทฺโท”ติ? 
||36|| 
“เอตรหิ ภนฺเต มนุสฺสา ตตฺเถว สมฺมุติยา กปฺปิยภูมิยา ยาคุโย ปจนฺติ ภตฺตานิ ปจนฺติ สูปานิ สมฺปาเทนฺติ มํสานิ โกฏฺเฏนฺติ กฏฺฐานิ ผาเลนฺติ. โส เอโส ภควา อุจฺจาสทฺโท มหาสทฺโท กาโกรวสทฺโท”ติ. 
atha kho bhagavā Kusinārāyaṃ yathābhirantaṃ viharitvā yena Ātumā tena cārikaṃ pakkāmi mahatā bhikkhusaṃghena saddhiṃ aḍḍhatelasehi bhikkhusatehi.  tena kho pana samayena aññataro vuḍḍhapabbajito Ātumāyaṃ paṭivasati nahāpitapubbo, tassa dve dārakā honti mañjukā paṭibhāneyyakā dakkhā pariyodātasippā sake ācariyake nahāpitakamme. |1| 
อถ โข ภควา เอตสฺมึ นิทาเน เอตสฺมึ ปกรเณ ธมฺมึ กถํ กตฺวา ภิกฺขู อามนฺเตสิ “น ภิกฺขเว สมฺมุติ กปฺปิยภูมิ ปริภุญฺชิตพฺพา.  โย ปริภุญฺเชยฺย อาปตฺติ ทุกฺกฏสฺส. 
assosi kho so vuḍḍhapabbajito: bhagavā kira Ātumaṃ āgacchati mahatā bhikkhusaṃghena saddhiṃ aḍḍhatelasehi bhikkhusatehīti.  atha kho so vuḍḍhapabbajito te dārake etad avoca: bhagavā kira tāta Ātumaṃ āgacchati mahatā bhikkhusaṃghena saddhiṃ aḍḍhatelasehi bhikkhusatehi.  gacchatha tumhe tāta khurabhaṇḍaṃ ādāya nāḷiyāvāpakena anugharakaṃ-anugharakaṃ āhiṇḍatha loṇam pi telam pi taṇḍulam pi khādaniyam pi saṃharatha, bhagavato āgatassa yāgupānaṃ karissāmā ’ti. |2| 
อนุชานามิ ภิกฺขเว ติสฺโส กปฺปิยภูมิโย อุสฺสาวนนฺติกํ โคนิสาทิกํ คหปติ”นฺติ.  เตน โข ปน สมเยน อายสฺมา ยโสโช คิลาโน โหติ. ตสฺสตฺถาย เภสชฺชานิ อาหริยนฺติ. ตานิ ภิกฺขู พหิ วาเสนฺติ.  อุกฺกปิณฺฑิกาปิ ขาทนฺติ โจราปิ หรนฺติ. 
evaṃ tātā ’ti kho te dārakā tassa vuḍḍhapabbajitassa paṭisuṇitvā khurabhaṇḍaṃ ādāya nāḷiyāvāpakena anugharakaṃ-anugharakaṃ āhiṇḍanti loṇam pi telam pi taṇḍulam pi khādaniyam pi saṃharantā.  manussā te dārake mañjuke paṭibhāneyyake passitvā ye pi na kārāpetukāmā te pi kārāpenti kārāpetvāpi bahuṃ denti.  atha kho te dārakā bahuṃ loṇam pi telam pi taṇḍulam pi khādaniyam pi saṃhariṃsu. |3| 
ภควโต เอตมตฺถํ อาโรเจสุํ.  อนุชานามิ ภิกฺขเว สมฺมุตึ กปฺปิยภูมึ ปริภุญฺชิตุํ  อนุชานามิ ภิกฺขเว จตสฺโส กปฺปิยภูมิโย อุสฺสาวนนฺติกํ โคนิสาทิกํ คหปตึ สมฺมุตินฺติ. (กปฺปิยภูมิอนุชานนา นิฏฺฐิตา.) 
atha kho bhagavā anupubbena cārikaṃ caramāno yena Ātumā tad avasari.  tatra sudaṃ bhagavā Ātumāyaṃ viharati Bhūsāgāre.  atha kho so vuḍḍhapabbajito tassā rattiyā accayena pahūtaṃ yāguṃ paṭiyādāpetvā bhagavato upanāmesi paṭigaṇhātu me bhante bhagavā yāgun ti.  jā-(250)nantāpi tathāgatā pucchanti --la-- sāvakānaṃ vā sikkhāpadaṃ paññāpessāmā ’ti.  atha kho bhagavā taṃ vuḍḍhapabbajitaṃ etad avoca: kut’ āyaṃ bhikkhu yāgū ’ti.  atha kho so vuḍḍhapabbajito bhagavato etam atthaṃ ārocesi. |4| 
    สีหภาณวาโร นิฏฺฐิโต จตุตฺโถ.  (๑๘๐. เมณฺฑกคหปติวตฺถุ) ๒๙๖. เตน โข ปน สมเยน ภทฺทิยนคเร เมณฺฑโก คหปติ ปฏิวสติ. ตสฺส เอวรูโป อิทฺธานุภาโว โหติ สีสํ นหายิตฺวา ธญฺญาคารํ สมฺมชฺชาเปตฺวา พหิทฺวาเร นิสีทติ อนฺตลิกฺขา ธญฺญสฺส ธารา โอปติตฺวา ธญฺญาคารํ ปูเรติ.  ภริยาย เอวรูโป อิทฺธานุภาโว โหติ เอกํเยว อาฬฺหกถาลิกํ อุปนิสีทิตฺวา เอกญฺจ สูปภิญฺชนกํ ทาสกมฺมกรโปริสํ ภตฺเตน ปริวิสติ น ตาว ตํ ขิยฺยติ ยาว สา น วุฏฺฐาติ.  ปุตฺตสฺส เอวรูโป อิทฺธานุภาโว โหติ เอกํเยว สหสฺสถวิกํ คเหตฺวา ทาสกมฺมกรโปริสสฺส ฉมาสิกํ เวตนํ เทติ น ตาว ตํ ขิยฺยติ ยาวสฺส หตฺถคตา. 
vigarahi buddho bhagavā: ananucchaviyaṃ moghapurisa ananulomikaṃ appaṭirūpaṃ assāmaṇakaṃ akappiyaṃ akaraṇīyaṃ.  kathaṃ hi nāma tvaṃ moghapurisa pabbajito akappiye samādapessasi.  n’ etaṃ moghapurisa appasannānaṃ vā pasādāya.  vigarahitvā dhammiṃ kathaṃ katvā bhikkhū āmantesi: na bhikkhave pabbajitena akappiye samādapetabbaṃ.  yo samādapeyya, āpatti dukkaṭassa.  na ca bhikkhave nahāpitapubbena khurabhaṇḍaṃ pariharitabbaṃ.  yo parihareyya, āpatti dukkaṭassā ’ti. |5| 
สุณิสาย เอวรูโป อิทฺธานุภาโว โหติ เอกํเยว จตุโทณิกํ ปิฏกํ อุปนิสีทิตฺวา ทาสกมฺมกรโปริสสฺส ฉมาสิกํ ภตฺตํ เทติ น ตาว ตํ ขิยฺยติ ยาว สา น วุฏฺฐาติ.  ทาสสฺส เอวรูโป อิทฺธานุภาโว โหติ เอเกน นงฺคเลน กสนฺตสฺส สตฺต สีตาโย คจฺฉนฺติ.  อสฺโสสิ โข ราชา มาคโธ เสนิโย พิมฺพิสาโร “อมฺหากํ กิร วิชิเต ภทฺทิยนคเร เมณฺฑโก คหปติ ปฏิวสติ. ตสฺส เอวรูโป อิทฺธานุภาโว สีสํ นหายิตฺวา ธญฺญาคารํ สมฺมชฺชาเปตฺวา พหิทฺวาเร นิสีทติ อนฺตลิกฺขา ธญฺญสฺส ธารา โอปติตฺวา ธญฺญาคารํ ปูเรติ.  ภริยาย เอวรูโป อิทฺธานุภาโว เอกํเยว อาฬฺหกถาลิกํ อุปนิสีทิตฺวา เอกญฺจ สูปภิญฺชนกํ ทาสกมฺมกรโปริสํ ภตฺเตน ปริวิสติ น ตาว ตํ ขิยฺยติ ยาว สา น วุฏฺฐาติ.  ปุตฺตสฺส เอวรูโป อิทฺธานุภาโว เอกํเยว สหสฺสถวิกํ คเหตฺวา ทาสกมฺมกรโปริสสฺส ฉมาสิกํ เวตนํ เทติ น ตาว ตํ ขิยฺยติ ยาวสฺส หตฺถคตา.  สุณิสาย เอวรูโป อิทฺธานุภาโว เอกํเยว จตุโทณิกํ ปิฏกํ อุปนิสีทิตฺวา ทาสกมฺมกรโปริสสฺส ฉมาสิกํ ภตฺตํ เทติ น ตาว ตํ ขิยฺยติ ยาว สา น วุฏฺฐาติ.  ทาสสฺส เอวรูโป อิทฺธานุภาโว เอเกน นงฺคเลน กสนฺตสฺส สตฺต สีตาโย คจฺฉนฺตี”ติ. 
||37|| 
อถ โข ราชา มาคโธ เสนิโย พิมฺพิสาโร อญฺญตรํ สพฺพตฺถกํ มหามตฺตํ อามนฺเตสิ “อมฺหากํ กิร ภเณ วิชิเต ภทฺทิยนคเร เมณฺฑโก คหปติ ปฏิวสติ. ตสฺส เอวรูโป อิทฺธานุภาโว สีสํ นหายิตฺวา ธญฺญาคารํ สมฺมชฺชาเปตฺวา พหิทฺวาเร นิสีทติ อนฺตลิกฺขา ธญฺญสฺส ธารา โอปติตฺวา ธญฺญาคารํ ปูเรติ. ภริยายฯเปฯ ปุตฺตสฺส… สุณิสาย… ทาสสฺส เอวรูโป อิทฺธานุภาโว เอเกน นงฺคเลน กสนฺตสฺส สตฺต สีตาโย คจฺฉนฺตีติ. 
atha kho bhagavā Ātumāyaṃ yathābhirantaṃ viharitvā yena Sāvatthi tena cārikaṃ pakkāmi.  anupubbena cārikaṃ caramāno yena Sāvatthi tad avasari.  tatra sudaṃ bhagavā Sāvatthiyaṃ viharati Jetavane Anāthapiṇḍikassa ārāme.  tena kho pana samayena Sāvatthiyaṃ bahuṃ phalakhādaniyaṃ ussannaṃ hoti.  atha kho bhikkhūnaṃ etad ahosi: kiṃ nu kho bhagavatā phalakhādaniyaṃ anuññātaṃ kiṃ ananuññātan ti.  bhagavato etam atthaṃ ārocesuṃ.  anujānāmi bhikkhave sabbaṃ phalakhādaniyan ti. |1| 
คจฺฉ ภเณ ชานาหิ. ยถา มยา สามํ ทิฏฺโฐ เอวํ ตว ทิฏฺโฐ ภวิสฺสตี”ติ.  ๒๙๗. เอวํ เทวาติ โข โส มหามตฺโต รญฺโญ มาคธสฺส เสนิยสฺส พิมฺพิสารสฺส ปฏิสฺสุณิตฺวา จตุรงฺคินิยา เสนาย เยน ภทฺทิยํ เตน ปายาสิ.  อนุปุพฺเพน เยน ภทฺทิยํ เยน เมณฺฑโก คหปติ เตนุปสงฺกมิ อุปสงฺกมิตฺวา เมณฺฑกํ คหปตึ เอตทโวจ “อหญฺหิ คหปติ รญฺญา อาณตฺโต ‘อมฺหากํ กิร ภเณ วิชิเต ภทฺทิยนคเร เมณฺฑโก คหปติ ปฏิวสติ ตสฺส เอวรูโป อิทฺธานุภาโว สีสํ นหายิตฺวาฯเปฯ ภริยาย… ปุตฺตสฺส… สุณิสาย… ทาสสฺส เอวรูโป อิทฺธานุภาโว เอเกน นงฺคเลน กสนฺตสฺส สตฺต สีตาโย คจฺฉนฺตี’ติ คจฺฉ ภเณ ชานาหิ. ยถา มยา สามํ ทิฏฺโฐ เอวํ ตว ทิฏฺโฐ ภวิสฺสตี’ติ.  ปสฺสาม เต คหปติ อิทฺธานุภาว”นฺติ.  อถ โข เมณฺฑโก คหปติ สีสํ นหายิตฺวา ธญฺญาคารํ สมฺมชฺชาเปตฺวา พหิทฺวาเร นิสีทิ อนฺตลิกฺขา ธญฺญสฺส ธารา โอปติตฺวา ธญฺญาคารํ ปูเรสิ.  “ทิฏฺโฐ เต คหปติ อิทฺธานุภาโว. ภริยาย เต อิทฺธานุภาวํ ปสฺสิสฺสามา”ติ.  อถ โข เมณฺฑโก คหปติ ภริยํ อาณาเปสิ “เตน หิ จตุรงฺคินึ เสนํ ภตฺเตน ปริวิสา”ติ. 
||38|| 
อถ โข เมณฺฑกสฺส คหปติสฺส ภริยา เอกํเยว อาฬฺหกถาลิกํ อุปนิสีทิตฺวา เอกญฺจ สูปภิญฺชนกํ จตุรงฺคินึ เสนํ ภตฺเตน ปริวิสิ น ตาว ตํ ขิยฺยติ ยาว สา น วุฏฺฐาติ. 
tena kho pana samayena saṃghikāni bījāni puggalikāya bhūmiyā ropiyanti, puggalikāni bījāni saṃghikāya bhūmiyā ropiyanti.  bhagavato etam atthaṃ ārocesuṃ.  saṃghikāni bhikkhave bījāni puggalikāya bhūmiyā ropitāni bhāgaṃ datvā paribhuñjitabbāni, puggalikāni bījāni saṃghikāya bhūmiyā ropitāni bhāgaṃ datvā paribhuñjitabbānīti. |1| 
“ทิฏฺโฐ เต คหปติ ภริยายปิ อิทฺธานุภาโว. ปุตฺตสฺส เต อิทฺธานุภาวํ ปสฺสิสฺสามา”ติ.  อถ โข เมณฺฑโก คหปติ ปุตฺตํ อาณาเปสิ “เตน หิ จตุรงฺคินิยา เสนาย ฉมาสิกํ เวตนํ เทหี”ติ  อถ โข เมณฺฑกสฺส คหปติสฺส ปุตฺโต เอกํเยว สหสฺสถวิกํ คเหตฺวา จตุรงฺคินิยา เสนาย ฉมาสิกํ เวตนํ อทาสิ น ตาว ตํ ขิยฺยติ ยาวสฺส หตฺถคตา. 
||39|| 
“ทิฏฺโฐ เต คหปติ ปุตฺตสฺสปิ อิทฺธานุภาโว. สุณิสาย เต อิทฺธานุภาวํ ปสฺสิสฺสามา”ติ. 
tena kho pana samayena bhikkhūnaṃ kismiñci-kismiñci ṭhāne kukkuccaṃ uppajjati: kiṃ nu kho bhagavatā anuññātaṃ kiṃ ananuññātan ti.  bhagavato etam atthaṃ ārocesuṃ.  yaṃ bhikkhave mayā idaṃ na kappatīti appaṭikkhittaṃ, tañ ce akappiyaṃ anulometi kappiyaṃ paṭibāhati, taṃ vo na kappati.  yaṃ bhikkhave mayā idaṃ na kappatīti appa-(251)ṭikkhittaṃ, {tañ} ce kappiyaṃ anulometi akappiyaṃ paṭibāhati, taṃ vo kappati.  yañ ca bhikkhave mayā idaṃ kappatīti ananuññātaṃ, tañ ce akappiyaṃ anulometi kappiyaṃ paṭibāhati, taṃ vo na kappati.  yaṃ bhikkhave mayā idaṃ kappatīti ananuññātaṃ, tañ ce kappiyaṃ anulometi akappiyaṃ paṭibāhati, taṃ vo kappatīti. |1| 
อถ โข เมณฺฑโก คหปติ สุณิสํ อาณาเปสิ “เตน หิ จตุรงฺคินิยา เสนาย ฉมาสิกํ ภตฺตํ เทหี”ติ.  อถ โข เมณฺฑกสฺส คหปติสฺส สุณิสา เอกํเยว จตุโทณิกํ ปิฏกํ อุปนิสีทิตฺวา จตุรงฺคินิยา เสนาย ฉมาสิกํ ภตฺตํ อทาสิ น ตาว ตํ ขิยฺยติ ยาว สา น วุฏฺฐาติ.  “ทิฏฺโฐ เต คหปติ สุณิสายปิ อิทฺธานุภาโว. ทาสสฺส เต อิทฺธานุภาวํ ปสฺสิสฺสามา”ติ.  “มยฺหํ โข สามิ ทาสสฺส อิทฺธานุภาโว เขตฺเต ปสฺสิตพฺโพ”ติ.  “อลํ คหปติ ทิฏฺโฐ เต ทาสสฺสปิ อิทฺธานุภาโว”ติ.  อถ โข โส มหามตฺโต จตุรงฺคินิยา เสนาย ปุนเทว ราชคหํ ปจฺจาคญฺฉิ. เยน ราชา มาคโธ เสนิโย พิมฺพิสาโร เตนุปสงฺกมิ อุปสงฺกมิตฺวา รญฺโญ มาคธสฺส เสนิยสฺส พิมฺพิสารสฺส เอตมตฺถํ อาโรเจสิ. 
atha kho bhikkhūnaṃ etad ahosi: kappati nu kho yāvakālikena yāmakālikaṃ na nu kho kappati.  kappati nu kho yāvakālikena sattāhakālikaṃ na nu kho kappati.  kappati nu kho yāvakālikena yāvajīvikaṃ na nu kho kappati.  kappati nu kho yāmakālikena sattāhakālikaṃ na nu kho kappati.  kappati nu kho yāmakālikena yāvajīvikaṃ na nu kho kappati.  kappati nu kho sattāhakālikena yāvajīvikaṃ na nu kho kappatīti.  bhagavato etam atthaṃ ārocesuṃ. |2| 
๒๙๘. อถ โข ภควา เวสาลิยํ ยถาภิรนฺตํ วิหริตฺวา เยน ภทฺทิยํ เตน จาริกํ ปกฺกามิ มหตา ภิกฺขุสงฺเฆน สทฺธึ อฑฺฒเตลเสหิ ภิกฺขุสเตหิ.  อถ โข ภควา อนุปุพฺเพน จาริกํ จรมาโน เยน ภทฺทิยํ ตทวสริ.  ตตฺร สุทํ ภควา ภทฺทิเย วิหรติ ชาติยา วเน.  อสฺโสสิ โข เมณฺฑโก คหปติ “สมโณ ขลุ โภ โคตโม สกฺยปุตฺโต สกฺยกุลา ปพฺพชิโต ภทฺทิยํ อนุปฺปตฺโต ภทฺทิเย วิหรติ ชาติยา วเน.  ตํ โข ปน ภควนฺตํ โคตมํ เอวํ กลฺยาโณ กิตฺติสทฺโท อพฺภุคฺคโต ‘อิติปิ โส ภควา อรหํ สมฺมาสมฺพุทฺโธ วิชฺชาจรณสมฺปนฺโน สุคโต โลกวิทู อนุตฺตโร ปุริสทมฺมสารถิ สตฺถา เทวมนุสฺสานํ พุทฺโธ ภควา’. โส อิมํ โลกํ สเทวกํ สมารกํ สพฺรหฺมกํ สสฺสมณพฺราหฺมณึ ปชํ สเทวมนุสฺสํ สยํ อภิญฺญา สจฺฉิกตฺวา ปเวเทติ. โส ธมฺมํ เทเสติ อาทิกลฺยาณํ มชฺเฌกลฺยาณํ ปริโยสานกลฺยาณํ สาตฺถํ สพฺยญฺชนํ เกวลปริปุณฺณํ ปริสุทฺธํ พฺรหฺมจริยํ ปกาเสติ.  สาธุ โข ปน ตถารูปานํ อรหตํ ทสฺสนํ โหตี”ติ.  อถ โข เมณฺฑโก คหปติ ภทฺรานิ ภทฺรานิ ยานานิ โยชาเปตฺวา ภทฺรํ ภทฺรํ ยานํ อภิรุหิตฺวา ภทฺเรหิ ภทฺเรหิ ยาเนหิ ภทฺทิยา นิยฺยาสิ ภควนฺตํ ทสฺสนาย. 
yāvakālikena bhikkhave yāmakālikaṃ tadahu paṭiggahitaṃ kāle kappati vikāle na kappati.  yāvakālikena bhikkhave sattāhakālikaṃ tadahu paṭiggahitaṃ kāle kappati vikāle na kappati.  yāvakālikena bhikkhave yāvajīvikaṃ tadahu paṭiggahitaṃ kāle kappati vikāle na kappati.  yāmakālikena bhikkhave sattāhakālikaṃ t.p.yāme kappati yāmātikkante na kappati.yāmakālikena bhikkhave yāvajīvikaṃ t.p.yāme kappati yāmātikkante na kappati.  sattāhakālikena bhikkhave yāvajīvikaṃ sattāhaṃ kappati sattāhātikkante na kappatīti. |3| 
อทฺทสํสุ โข สมฺพหุลา ติตฺถิยา เมณฺฑกํ คหปตึ ทูรโตว อาคจฺฉนฺตํ ทิสฺวาน เมณฺฑกํ คหปตึ เอตทโวจุํ “กหํ ตฺวํ คหปติ คจฺฉสี”ติ?  “คจฺฉามหํ ภนฺเต ภควนฺตํ สมณํ โคตมํ ทสฺสนายา”ติ.  “กึ ปน ตฺวํ คหปติ กิริยวาโท สมาโน อกิริยวาทํ สมณํ โคตมํ ทสฺสนาย อุปสงฺกมิสฺสสิ? สมโณ หิ คหปติ โคตโม อกิริยวาโท อกิริยาย ธมฺมํ เทเสติ เตน จ สาวเก วิเนตี”ติ.  อถ โข เมณฺฑกสฺส คหปติสฺส เอตทโหสิ “นิสฺสํสยํ โข โส ภควา อรหํ สมฺมาสมฺพุทฺโธ ภวิสฺสติ ยถยิเม ติตฺถิยา อุสูยนฺตี”ติ. ยาวติกา ยานสฺส ภูมิ ยาเนน คนฺตฺวา ยานา ปจฺโจโรหิตฺวา ปตฺติโกว เยน ภควา เตนุปสงฺกมิ อุปสงฺกมิตฺวา ภควนฺตํ อภิวาเทตฺวา เอกมนฺตํ นิสีทิ.  เอกมนฺตํ นิสินฺนสฺส โข เมณฺฑกสฺส คหปติสฺส ภควา อนุปุพฺพิ๎ กถํ กเถสิ เสยฺยถิทํ ทานกถํฯเปฯ อปรปฺปจฺจโย สตฺถุสาสเน ภควนฺตํ เอตทโวจ “อภิกฺกนฺตํ ภนฺเตฯเปฯ อุปาสกํ มํ ภควา ธาเรตุ อชฺชตคฺเค ปาณุเปตํ สรณํ คตํ อธิวาเสตุ จ เม ภนฺเต ภควา สฺวาตนาย ภตฺตํ สทฺธึ ภิกฺขุสงฺเฆนา”ติ. 
||40|| 
อธิวาเสสิ ภควา ตุณฺหีภาเวน. 
bhesajjakkhandhakaṃ chaṭṭhaṃ. 
อถ โข เมณฺฑโก คหปติ ภควโต อธิวาสนํ วิทิตฺวา อุฏฺฐายาสนา ภควนฺตํ อภิวาเทตฺวา ปทกฺขิณํ กตฺวา ปกฺกามิ. 
imamhi khandhake vatthuṃ ekasataṃ chavatthuṃ.  tassa uddānaṃ: sāradike, vikāle pi, vasaṃ, mūle, piṭṭhehi ca, kasāvehi, paṇṇa-phalaṃ, jatu-loṇaṃ, chakanaṃ ca, |  cuṇṇaṃ, cālinī, {maṃsañ} ca, añjanaṃ, upapisanaṃ, añjanī, ucca-parutā, salākā, salākodhani, |  thavikaṃ, bandhakaṃ, suttaṃ, muddhani telaṃ, natthu ca, natthukaraṇī, dhūmañ ca, nettañ, cā,’pidhānaṃ, thavi, |  telapākesu, majjañ ca, atikkhitta-abbhañjanaṃ, tumbaṃ, sedaṃ, sambhārañ ca, mahā-bhaṅgodakaṃ tathā, |  dakakoṭṭhaṃ, lohitañ ca, visāṇaṃ, pādabbhañjanaṃ, 5 pajjaṃ, satthaṃ, kasāvañ ca, tilakakka-kabaḷikaṃ, |  (252) colaṃ, sāsapakuṭṭañ ca, dhūma-sakkharikāya ca, vaṇatelaṃ, vikāsikaṃ, vikatañ ca, paṭiggahaṃ, |  gūthaṃ, karonto, loḷiñ ca, khāraṃ, muttaharītakī, gandhā, virecanañ c’ eva, acchā,’kaṭa-kaṭākaṭaṃ, |  paṭicchādani-pabbhārā, ārāmi, sattahena ca, guḷaṃ, muggaṃ, sovīrañ ca, sāmapākā, punā pace, |  punānuññāsi, dubbhikkhe, phalañ ca, tila-khādani, purebhattaṃ, kāyaḍāho, nibbattañ ca, bhagandalaṃ, |  vatthikammañ ca, Suppi ca, manussamaṃsam eva ca, 10 hatthi, assā,sunakho ca, ahi, sīha-vyaggha-dīpikaṃ, |  accha-taracchamaṃsañ ca, paṭipāṭi ca, yāgu ca, taruṇaṃ aññatra, guḷaṃ, Sunidh’-āvasathāgāraṃ, |  Ambapālī ca, Licchavī, Gaṅgā, Koṭi saccakathā, uddissakataṃ, subhikkhaṃ punad eva paṭikkhipi, |  megho, Yasojo, Meṇḍako ca, gorasaṃ pātheyyakena ca, Keni, ambo, jambu, coca-moca-madhu,muddikā, sālukaṃ, |  phārusakā, ḍāka-piṭṭhaṃ, Ātumāyaṃ nahāpito, Sāvatthiyaṃ phala-bījaṃ, kasmiṃ ṭhāne ca, kāliko ’ti. 
อถ โข เมณฺฑโก คหปติ ตสฺสา รตฺติยา อจฺจเยน ปณีตํ ขาทนียํ โภชนียํ ปฏิยาทาเปตฺวา ภควโต กาลํ อาโรจาเปสิ “กาโล ภนฺเต นิฏฺฐิตํ ภตฺต”นฺติ.  อถ โข ภควา ปุพฺพณฺหสมยํ นิวาเสตฺวา ปตฺตจีวรมาทาย เยน เมณฺฑกสฺส คหปติสฺส นิเวสนํ เตนุปสงฺกมิ อุปสงฺกมิตฺวา ปญฺญตฺเต อาสเน นิสีทิ สทฺธึ ภิกฺขุสงฺเฆน.  อถ โข เมณฺฑกสฺส คหปติสฺส ภริยา จ ปุตฺโต จ สุณิสา จ ทาโส จ เยน ภควา เตนุปสงฺกมึสุ อุปสงฺกมิตฺวา ภควนฺตํ อภิวาเทตฺวา เอกมนฺตํ นิสีทึสุ.  เตสํ ภควา อนุปุพฺพิ๎ กถํ กเถสิ เสยฺยถิทํ ทานกถํฯเปฯ อปรปฺปจฺจยา สตฺถุสาสเน ภควนฺตํ เอตทโวจุํ “อภิกฺกนฺตํ ภนฺเตฯเปฯ เอเต มยํ ภนฺเต ภควนฺตํ สรณํ คจฺฉาม ธมฺมญฺจ ภิกฺขุสงฺฆญฺจ. อุปาสเก โน ภควา ธาเรตุ อชฺชตคฺเค ปาณุเปเต สรณํ คเต”ติ.  อถ โข เมณฺฑโก คหปติ พุทฺธปฺปมุขํ ภิกฺขุสงฺฆํ ปณีเตน ขาทนีเยน โภชนีเยน สหตฺถา สนฺตปฺเปตฺวา สมฺปวาเรตฺวา ภควนฺตํ ภุตฺตาวึ โอนีตปตฺตปาณึ เอกมนฺตํ นิสีทิ.  เอกมนฺตํ นิสินฺโน โข เมณฺฑโก คหปติ ภควนฺตํ เอตทโวจ “ยาว ภนฺเต ภควา ภทฺทิเย วิหรติ ตาว อหํ พุทฺธปฺปมุขสฺส ภิกฺขุสงฺฆสฺส ธุวภตฺเตนา”ติ.  อถ โข ภควา เมณฺฑกํ คหปตึ ธมฺมิยา กถาย สนฺทสฺเสตฺวา สมาทเปตฺวา สมุตฺเตเชตฺวา สมฺปหํเสตฺวา อุฏฺฐายาสนา ปกฺกามิ. (เมณฺฑกคหปติวตฺถ นิฏฺฐิตํ.)  (๑๘๑. ปญฺจโครสาทิอนุชานนา) ๒๙๙. อถ โข ภควา ภทฺทิเย ยถาภิรนฺตํ วิหริตฺวา เมณฺฑกํ คหปตึ อนาปุจฺฉา เยน องฺคุตฺตราโป เตน จาริกํ ปกฺกามิ มหตา ภิกฺขุสงฺเฆน สทฺธึ อฑฺฒเตลเสหิ ภิกฺขุสเตหิ.  อสฺโสสิ โข เมณฺฑโก คหปติ “ภควา กิร เยน องฺคุตฺตราโป เตน จาริกํ ปกฺกนฺโต มหตา ภิกฺขุสงฺเฆน สทฺธึ อฑฺฒเตลเสหิ ภิกฺขุสเตหี”ติ.  อถ โข เมณฺฑโก คหปติ ทาเส จ กมฺมกเร จ อาณาเปสิ “เตน หิ ภเณ พหุํ โลณมฺปิ เตลมฺปิ ตณฺฑุลมฺปิ ขาทนียมฺปิ สกเฏสุ อาโรเปตฺวา อาคจฺฉถ อฑฺฒเตลสานิ จ โคปาลกสตานิ อฑฺฒเตลสานิ จ เธนุสตานิ อาทาย อาคจฺฉนฺตุ ยตฺถ ภควนฺตํ ปสฺสิสฺสาม ตตฺถ ตรุเณน ขีเรน โภเชสฺสามา”ติ.  อถ โข เมณฺฑโก คหปติ ภควนฺตํ อนฺตรามคฺเค กนฺตาเร สมฺภาเวสิ.  อถ โข เมณฺฑโก คหปติ เยน ภควา เตนุปสงฺกมิ อุปสงฺกมิตฺวา ภควนฺตํ อภิวาเทตฺวา เอกมนฺตํ อฏฺฐาสิ.  เอกมนฺตํ ฐิโต โข เมณฺฑโก คหปติ ภควนฺตํ เอตทโวจ “อธิวาเสตุ เม ภนฺเต ภควา สฺวาตนาย ภตฺตํ สทฺธึ ภิกฺขุสงฺเฆนา”ติ.  อธิวาเสสิ ภควา ตุณฺหีภาเวน.  อถ โข เมณฺฑโก คหปติ ภควโต อธิวาสนํ วิทิตฺวา ภควนฺตํ อภิวาเทตฺวา ปทกฺขิณํ กตฺวา ปกฺกามิ. 
(253) Tena samayena buddho bhagavā Sāvatthiyaṃ viharati Jetavane Anāthapiṇḍikassa ārāme.  tena kho pana samayena tiṃsamattā Pāṭheyyakā bhikkhū sabbe āraññakā sabbe piṇḍapātikā sabbe paṃsukūlikā sabbe tecīvarikā Sāvatthiṃ gacchantā bhagavantaṃ dassanāya upakaṭṭhāya vassūpanāyikāya nāsakkhiṃsu Sāvatthiyaṃ vassūpanāyikaṃ sambhāvetuṃ, antarā magge Sākete vassaṃ upagacchiṃsu.  te ukkaṇṭhitarūpā vassaṃ vasiṃsu: āsanneva no bhagavā viharati ito chasu yojanesu na ca mayaṃ labhāma bhagavantaṃ dassanāyā ’ti.  atha kho te bhikkhū vassaṃ vutthā temāsaccayena katāya pavāraṇāya deve vassante udakasaṃgahe udakacikkhalle okapuṇṇehi cīvarehi kilantarūpā yena Sāvatthi Jetavanaṃ Anāthapiṇḍikassa ārāmo yena bhagavā ten’ upasaṃkamiṃsu, upasaṃkamitvā bhagavantaṃ abhivādetvā ekamantaṃ nisīdiṃsu. |1| 
อถ โข เมณฺฑโก คหปติ ตสฺสา รตฺติยา อจฺจเยน ปณีตํ ขาทนียํ โภชนียํ ปฏิยาทาเปตฺวา ภควโต กาลํ อาโรจาเปสิ “กาโล ภนฺเต นิฏฺฐิตํ ภตฺต”นฺติ.  อถ โข ภควา ปุพฺพณฺหสมยํ นิวาเสตฺวา ปตฺตจีวรมาทาย เยน เมณฺฑกสฺส คหปติสฺส ปริเวสนา เตนุปสงฺกมิ อุปสงฺกมิตฺวา ปญฺญตฺเต อาสเน นิสีทิ สทฺธึ ภิกฺขุสงฺเฆน.  อถ โข เมณฺฑโก คหปติ อฑฺฒเตลสานิ โคปาลกสตานิ อาณาเปสิ “เตนหิ ภเณ เอกเมกํ เธนุํ คเหตฺวา เอกเมกสฺส ภิกฺขุโน อุปติฏฺฐถ ตรุเณน ขีเรน โภเชสฺสามา”ติ.  อถ โข เมณฺฑโก คหปติ พุทฺธปฺปมุขํ ภิกฺขุสงฺฆํ ปณีเตน ขาทนีเยน โภชนีเยน สหตฺถา สนฺตปฺเปสิ สมฺปวาเรสิ ตรุเณน จ ขีเรน. 
āciṇṇaṃ kho pan’ etaṃ buddhānaṃ bhagavantānaṃ āgantukehi bhikkhūhi saddhiṃ paṭisammodituṃ.  atha kho bhagavā te bhikkhū etad avoca: kacci bhikkhave khamanīyaṃ, kacci yāpanīyaṃ, kacci samaggā sammodamānā avivadamānā phāsukaṃ vassaṃ vasittha na ca piṇḍakena kilamitthā ’ti.  khamanīyaṃ bhagavā, yāpanīyaṃ bhagavā, samaggā ca mayaṃ bhante sammodamānā avivadamānā vassaṃ vasimhā na ca piṇḍakena kilamimhā.  idha mayaṃ bhante tiṃsamattā Pāṭheyyakā bhikkhū Sāvatthiṃ āgacchantā bhagavantaṃ dassanāya upakaṭṭhāya vassūpanāyikāya nāsakkhimhā Sāvatthiyaṃ vassūpanāyikaṃ sambhāvetuṃ, antarā magge Sākete vassaṃ upagacchimhā.  te mayaṃ bhante ukkaṇṭhitarūpā vassaṃ va (254) simhā: āsanneva no bhagavā viharati ito chasu yojanesu na ca mayaṃ labhāma bhagavantaṃ dassanāyā ’ti.  atha kho mayaṃ bhante vassaṃ vutthā temāsaccayena katāya pavāraṇāya deve vassante udakasaṃgahe udakacikkhalle okapuṇṇehi cīvarehi kilantarūpā addhānaṃ āgatā ’ti. |2| 
ภิกฺขู กุกฺกุจฺจายนฺตา ขีรํ น ปฏิคฺคณฺหนฺติ.  ปฏิคฺคณฺหถ ภิกฺขเว ปริภุญฺชถาติ.  อถ โข เมณฺฑโก คหปติ พุทฺธปฺปมุขํ ภิกฺขุสงฺฆํ ปณีเตน ขาทนีเยน โภชนีเยน สหตฺถา สนฺตปฺเปตฺวา สมฺปวาเรตฺวา ตรุเณน จ ขีเรน ภควนฺตํ ภุตฺตาวึ โอนีตปตฺตปาณึ เอกมนฺตํ นิสีทิ.  เอกมนฺตํ นิสินฺโน โข เมณฺฑโก คหปติ ภควนฺตํ เอตทโวจ “สนฺติ ภนฺเต มคฺคา กนฺตารา อปฺโปทกา อปฺปภกฺขา น สุกรา อปาเถยฺเยน คนฺตุํ.  สาธุ ภนฺเต ภควา ภิกฺขูนํ ปาเถยฺยํ อนุชานาตู”ติ.  อถ โข ภควา เมณฺฑกํ คหปตึ ธมฺมิยา กถาย สนฺทสฺเสตฺวา สมาทเปตฺวา สมุตฺเตเชตฺวา สมฺปหํเสตฺวา อุฏฺฐายาสนา ปกฺกามิ. 
atha kho bhagavā etasmiṃ nidāne dhammiṃ kathaṃ katvā bhikkhū āmantesi: anujānāmi bhikkhave vassaṃ vutthānaṃ bhikkhūnaṃ kaṭhinaṃ attharituṃ.  atthatakaṭhinānaṃ vo bhikkhave pañca kappissanti anāmantacāro asamādānacāro gaṇabhojanaṃ yāvadatthacīvaraṃ yo ca tattha cīvaruppādo so nesaṃ bhavissati.  atthatakaṭhinānaṃ vo bhikkhave imāni pañca kappissanti.  evañ ca pana bhikkhave kaṭhinaṃ attharitabbaṃ: |3| 
อถ โข ภควา เอตสฺมึ นิทาเน เอตสฺมึ ปกรเณ ธมฺมึ กถํ กตฺวา ภิกฺขู อามนฺเตสิ “อนุชานามิ ภิกฺขเว ปญฺจ โครเส ขีรํ ทธึ ตกฺกํ นวนีตํ สปฺปิ๎.  สนฺติ ภิกฺขเว มคฺคา กนฺตารา อปฺโปทกา อปฺปภกฺขา น สุกรา อปาเถยฺเยน คนฺตุํ.  อนุชานามิ ภิกฺขเว ปาเถยฺยํ ปริเยสิตุํ ตณฺฑุโล ตณฺฑุลตฺถิเกน มุคฺโค มุคฺคตฺถิเกน มาโส มาสตฺถิเกน โลณํ โลณตฺถิเกน คุโฬ คุฬตฺถิเกน เตลํ เตลตฺถิเกน สปฺปิ สปฺปิตฺถิเกน.  สนฺติ ภิกฺขเว มนุสฺสา สทฺธา ปสนฺนา เต กปฺปิยการกานํ หตฺเถ หิรญฺญํ อุปนิกฺขิปนฺติ ‘อิมินา อยฺยสฺส ยํ กปฺปิยํ ตํ เทถา’ติ. 
vyattena bhikkhunā paṭibalena saṃgho ñāpetabbo: suṇātu me bhante saṃgho.  idaṃ saṃghassa kaṭhinadussaṃ uppannaṃ.  yadi saṃghassa pattakallaṃ, saṃgho imaṃ kaṭhinadussaṃ itthannāmassa bhikkhuno dadeyya kaṭhinaṃ attharituṃ.  esā ñatti.  suṇātu me bhante saṃgho.  idaṃ saṃghassa kaṭhinadussaṃ uppannaṃ.  saṃgho imaṃ kaṭhinadussaṃ itthannāmassa bhikkhuno deti kaṭhinaṃ attharituṃ.  yassāyasmato khamati imassa kaṭhinadussassa itthannāmassa bhikkhuno dānaṃ kaṭhinaṃ attharituṃ so tuṇh’ assa.  yassa na kkhamati so bhāseyya.  dinnaṃ idaṃ saṃghena kaṭhinadussaṃ itthannāmassa bhikkhuno kaṭhinaṃ attharituṃ.  khamati saṃghassa, tasmā tuṇhī, evaṃ etaṃ dhārayāmīti. |4| 
อนุชานามิ ภิกฺขเว ยํ ตโต กปฺปิยํ ตํ สาทิตุํ  น ตฺเววาหํ ภิกฺขเว เกนจิ ปริยาเยน ชาตรูปรชตํ สาทิตพฺพํ ปริเยสิตพฺพนฺติ วทามี”ติ. (ปญฺจโครสาทิอนุชานนา นิฏฺฐิตา.)      (๑๘๒. เกณิยชฏิลวตฺถุ) ๓๐๐. อถ โข ภควา อนุปุพฺเพน จาริกํ จรมาโน เยน อาปณํ ตทวสริ.  อสฺโสสิ โข เกณิโย ชฏิโล “สมโณ ขลุ โภ โคตโม สกฺยปุตฺโต สกฺยกุลา ปพฺพชิโต อาปณํ อนุปฺปตฺโต  ตํ โข ปน ภวนฺตํ โคตมํ เอวํ กลฺยาโณ กิตฺติสทฺโท อพฺภุคฺคโตฯเปฯ สาธุ โข ปน ตถารูปานํ อรหตํ ทสฺสนํ โหตี”ติ.  อถ โข เกณิยสฺส ชฏิลสฺส เอตทโหสิ “กึ นุ โข อหํ สมณสฺส โคตมสฺส หราเปยฺย”นฺติ.  อถ โข เกณิยสฺส ชฏิลสฺส เอตทโหสิ “เยปิ โข เต พฺราหฺมณานํ ปุพฺพกา อิสโย มนฺตานํ กตฺตาโร มนฺตานํ ปวตฺตาโร เยสมิทํ เอตรหิ พฺราหฺมณา โปราณํ มนฺตปทํ คีตํ ปวุตฺตํ สมิหิตํ ตทนุคายนฺติ ตทนุภาสนฺติ ภาสิตมนุภาสนฺติ วาจิตมนุวาเจนฺติ เสยฺยถิทํ อฏฺฐโก วามโก วามเทโว เวสฺสามิตฺโต ยมตคฺคิ องฺคีรโส ภารทฺวาโช วาเสฏฺโฐ กสฺสโป ภคุ รตฺตูปรตา วิรตา วิกาลโภชนา เต เอวรูปานิ ปานานิ สาทิยิ๎สุ.  สมโณปิ โคตโม รตฺตูปรโต วิรโต วิกาลโภชนา อรหติ สมโณปิ โคตโม เอวรูปานิ ปานานิ สาทิยิตุ”นฺติ ปหูตํ ปานํ ปฏิยาทาเปตฺวา กาเชหิ คาหาเปตฺวา เยน ภควา เตนุปสงฺกมิ อุปสงฺกมิตฺวา ภควตา สทฺธึ สมฺโมทิ สมฺโมทนียํ กถํ สารณียํ วีติสาเรตฺวา เอกมนฺตํ อฏฺฐาสิ.  เอกมนฺตํ ฐิโต โข เกณิโย ชฏิโล ภควนฺตํ เอตทโวจ “ปฏิคฺคณฺหาตุ เม ภวํ โคตโม ปาน”นฺติ. 
evaṃ kho bhikkhave atthataṃ hoti kaṭhinaṃ, evaṃ anatthataṃ.  kathañ ca bhikkhave anatthataṃ hoti kaṭhinaṃ.  na ullikhitamattena atthataṃ hoti kaṭhinaṃ, na dhovanamattena atthataṃ hoti kaṭhinaṃ, na cīvaravicāraṇamattena atth.h.kaṭh., na cchedanamattena atth.h.k., na bandhanamattena atth.h.k., na ovaṭṭikakaraṇamattena atth.h.k., na kaṇḍusakaraṇamattena atth.h.k., na daḷhikammakaraṇamattena atth.h.k., na anuvātakaraṇamattena atth.h.k., na paribhaṇḍakaraṇamattena atth.h.k., na ovaddheyyakaraṇamattena atth.h.k., na kambalamaddanamattena atth.h.k., na nimittakatena atth.h.k., na parikathākatena atth.h.k., na kukkukatena atth.h.k., na sannidhikatena atth.h.k., na nissaggiyena atth.h.k., na akappakatena atth.h.k., na aññatra saṃghāṭiya atth.h.k., (255) na aññatra uttarāsaṅgena atth.h.k., na aññatra antaravāsakena atth.h.k., na aññatra pañcakena vā atirekapañcakena vā tadah’ eva sañchinnena samaṇḍalīkatena atth.h.k., na aññatra puggalassa atthārā atth.h.kaṭhinaṃ.  sammā c’ eva atthataṃ hoti kaṭhinaṃ tañ ce nissīmaṭṭho anumodati evam pi anatthataṃ hoti kaṭhinaṃ.  evaṃ kho bhikkhave anatthataṃ hoti kaṭhinaṃ. |5| 
เตน หิ เกณิย ภิกฺขูนํ เทหีติ. (อถ โข เกณิโย ชฏิโล ภิกฺขูนํ เทติ.)  ภิกฺขู กุกฺกุจฺจายนฺตา น ปฏิคฺคณฺหนฺติ.  ปฏิคฺคณฺหถ ภิกฺขเว ปริภุญฺชถาติ.  อถ โข เกณิโย ชฏิโล พุทฺธปฺปมุขํ ภิกฺขุสงฺฆํ ปหูเตหิ ปาเนหิ สหตฺถา สนฺตปฺเปตฺวา สมฺปวาเรตฺวา ภควนฺตํ โธตหตฺถํ โอนีตปตฺตปาณึ เอกมนฺตํ นิสีทิ.  เอกมนฺตํ นิสินฺนํ โข เกณิยํ ชฏิลํ ภควา ธมฺมิยา กถาย สนฺทสฺเสสิ สมาทเปสิ สมุตฺเตเชสิ สมฺปหํเสสิ. 
kathañ ca bhikkhave atthataṃ hoti kaṭhinaṃ.  ahatena atthataṃ hoti kaṭhinaṃ, ahatakappena atth.h.k., pilotikāya atth.h.k., paṃsukūlena atth.h.k., pāpaṇikena atth.h.k., animittakatena atth.h.k., aparikathākatena atth.h.k., akukkukatena atth.h.k., asannidhikatena atth.h.k., anissaggiyena atth.h.k., kappakatena atth.h.k., saṃghāṭiyā atth.h.k., uttarāsaṅgena atth.h.k., antaravāsakena atth.h.k., pañcakena vā atirekapañcakena vā tadah’ eva sañchinnena samaṇḍalīkatena atth.h.k., puggalassa atthārā atth.h.k., sammā c’ eva atthataṃ hoti kaṭhinaṃ tañ ce sīmaṭṭho anumodati evam pi atthataṃ hoti kaṭhinaṃ.  evaṃ kho bhikkhave atthataṃ hoti kaṭhinaṃ. |6| 
อถ โข เกณิโย ชฏิโล ภควตา ธมฺมิยา กถาย สนฺทสฺสิโต สมาทปิโต สมุตฺเตชิโต สมฺปหํสิโต ภควนฺตํ เอตทโวจ “อธิวาเสตุ เม ภวํ โคตโม สฺวาตนาย ภตฺตํ สทฺธึ ภิกฺขุสงฺเฆนา”ติ.  มหา โข เกณิย ภิกฺขุสงฺโฆ อฑฺฒเตลสานิ ภิกฺขุสตานิ ตฺวญฺจ พฺราหฺมเณสุ อภิปฺปสนฺโนติ.  ทุติยมฺปิ โข เกณิโย ชฏิโล ภควนฺตํ เอตทโวจ “กิญฺจาปิ โข โภ โคตม มหา ภิกฺขุสงฺโฆ อฑฺฒเตลสานิ ภิกฺขุสตานิ อหญฺจ พฺราหฺมเณสุ อภิปฺปสนฺโน 
kathañ ca bhikkhave ubbhataṃ hoti kaṭhinaṃ.  aṭṭh’ imā bhikkhave mātikā kaṭhinassa ubbhārāya pakkamanantikā niṭṭhānantikā sanniṭṭhānantikā nāsanantikā savanantikā āsāvacchedikā sīmātikkantikā sahubbhārā ’ti. |7| 
อธิวาเสตุ เม ภวํ โคตโม สฺวาตนาย ภตฺตํ สทฺธึ ภิกฺขุสงฺเฆนา”ติ.  มหา โข เกณิย ภิกฺขุสงฺโฆ อฑฺฒเตลสานิ ภิกฺขุสตานิ ตฺวญฺจ พฺราหฺมเณสุ อภิปฺปสนฺโนติ 
||1|| 
ตติยมฺปิ โข เกณิโย ชฏิโล ภควนฺตํ เอตทโวจ “กิญฺจาปิ โข โภ โคตม มหา ภิกฺขุสงฺโฆ อฑฺฒเตลสานิ ภิกฺขุสตานิ อหญฺจ พฺราหฺมเณสุ อภิปฺปสนฺโน อธิวาเสตุ ภวํ โคตโม สฺวาตนาย ภตฺตํ สทฺธึ ภิกฺขุสงฺเฆนา”ติ. 
bhikkhu atthatakaṭhino katacīvaraṃ ādāya pakkamati na paccessan ti.  tassa bhikkhuno pakkamanantiko kaṭhinuddhāro.  bhikkhu atthatakaṭhino cīvaraṃ ādāya pakkamati, tassa bahisīmagatassa evaṃ hoti: idh’ ev’ imaṃ cīvaraṃ kāressaṃ na paccessan ti, so taṃ cīvaraṃ kāreti.  tassa bhikkhuno niṭṭhānantiko kaṭhinuddhāro.  bhikkhu atthatakaṭhino cīvaraṃ ādāya pakkamati, tassa bahisīmagatassa evaṃ hoti: n’ ev’ imaṃ cīvaraṃ kāressaṃ na paccessan ti.  tassa bhikkhuno sanniṭṭhānantiko kaṭhinuddhāro.  bhikkhu atthatakaṭhino cīvaraṃ ādāya pakkamati, tassa bahisīmagatassa evaṃ hoti: idh’ ev’ imaṃ cīvaraṃ kāressaṃ na paccessan ti, so taṃ cīvaraṃ kāreti, tassa taṃ cīvaraṃ kayiramānaṃ nassati.  tassa bhikkhuno nāsanantiko kaṭhinuddhāro. |1| 
อธิวาเสสิ ภควา ตุณฺหีภาเวน.  อถ โข เกณิโย ชฏิโล ภควโต อธิวาสนํ วิทิตฺวา อุฏฺฐายาสนา ปกฺกามิ.  อถ โข ภควา เอตสฺมึ นิทาเน เอตสฺมึ ปกรเณ ธมฺมึ กถํ กตฺวา ภิกฺขู อามนฺเตสิ “อนุชานามิ ภิกฺขเว อฏฺฐ ปานานิ อมฺพปานํ ชมฺพุปานํ โจจปานํ โมจปานํ มธูกปานํ มุทฺทิกปานํ สาลูกปานํ ผารุสกปานํ.  อนุชานามิ ภิกฺขเว สพฺพํ ผลรสํ ฐเปตฺวา ธญฺญผลรสํ.  อนุชานามิ ภิกฺขเว สพฺพํ ปตฺตรสํ ฐเปตฺวา ฑากรสํ.  อนุชานามิ ภิกฺขเว สพฺพํ ปุปฺผรสํ ฐเปตฺวา มธูกปุปฺผรสํ.  อนุชานามิ ภิกฺขเว อุจฺฉุรส”นฺติ.  อถ โข เกณิโย ชฏิโล ตสฺสา รตฺติยา อจฺจเยน สเก อสฺสเม ปณีตํ ขาทนียํ โภชนียํ ปฏิยาทาเปตฺวา ภควโต กาลํ อาโรจาเปสิ “กาโล โภ โคตม นิฏฺฐิตํ ภตฺต”นฺติ. 
bhikkhu atthatakaṭhino cīvaraṃ ādāya pakkamati paccessan ti, so bahisīmagato taṃ cīvaraṃ kāreti, so katacīvaro suṇāti: (256) ubbhataṃ kira tasmiṃ āvāse kaṭhinan ti.  tassa bhikkhuno savanantiko kaṭhinuddhāro.  bhikkhu atthatakaṭhino cīvaraṃ ādāya pakkamati paccessan ti, so bahisīmagato taṃ cīvaraṃ kāreti, so katacīvaro paccessaṃ paccessan ti bahiddhā kaṭhinuddhāraṃ vītināmeti.  tassa bhikkhuno sīmātikkantiko kaṭhinuddhāro.  bhikkhu atthatakaṭhino cīvaraṃ ādāya pakkamati paccessan ti, so bahisīmagato taṃ cīvaraṃ kāreti, so katacīvaro paccessaṃ paccessan ti sambhuṇāti kaṭhinuddhāraṃ.  tassa bhikkhuno saha bhikkhūhi kaṭhinuddhāro. |2| 
อถ โข ภควา ปุพฺพณฺหสมยํ นิวาเสตฺวา ปตฺตจีวรมาทาย เยน เกณิยสฺส ชฏิลสฺส อสฺสโม เตนุปสงฺกมิ อุปสงฺกมิตฺวา ปญฺญตฺเต อาสเน นิสีทิ สทฺธึ ภิกฺขุสงฺเฆน.  อถ โข เกณิโย ชฏิโล พุทฺธปฺปมุขํ ภิกฺขุสงฺฆํ ปณีเตน ขาทนีเยน โภชนีเยน สหตฺถา สนฺตปฺเปตฺวา สมฺปวาเรตฺวา ภควนฺตํ ภุตฺตาวึ โอนีตปตฺตปาณึ เอกมนฺตํ นิสีทิ.  เอกมนฺตํ นิสินฺนํ โข เกณิยํ ชฏิลํ ภควา อิมาหิ คาถาหิ อนุโมทิ “อคฺคิหุตฺตมุขา ยญฺญา สาวิตฺตี ฉนฺทโส มุขํ. ราชา มุขํ มนุสฺสานํ นทีนํ สาคโร มุขํฯ “นกฺขตฺตานํ มุขํ จนฺโท อาทิจฺโจ ตปตํ มุขํ. ปุญฺญํ อากงฺขมานานํ สงฺโฆ เว ยชตํ มุข”นฺติฯ  อถ โข ภควา เกณิยํ ชฏิลํ อิมาหิ คาถาหิ อนุโมทิตฺวา อุฏฺฐายาสนา ปกฺกามิ. (เกณิยชฏิลวตฺถุ นิฏฺฐิตํ.)     
||2|| 
(๑๘๓. โรชมลฺลวตฺถุ) ๓๐๑. อถ โข ภควา อาปเณ ยถาภิรนฺตํ วิหริตฺวา เยน กุสินารา เตน จาริกํ ปกฺกามิ มหตา ภิกฺขุสงฺเฆน สทฺธึ อฑฺฒเตลเสหิ ภิกฺขุสเตหิ. 
ādāyasattakaṃ niṭṭhitaṃ.  bhikkhu atthatakaṭhino katacīvaraṃ samādāya pakkamati na paccessan ti.  tassa bhikkhuno pakkamanantiko kaṭhinuddhāro.  bhikkhu atthatakaṭhino cīvaraṃ samādāya pakkamati, tassa bahisīmagatassa evaṃ hoti: idh’ ev’ imaṃ cīvaraṃ kāressaṃ na paccessan ti, so taṃ cīvaraṃ kāreti.  tassa bhikkhuno niṭṭhānantiko kaṭhinuddhāro.  bhikkhu atthatakaṭhino cīvaraṃ samādāya pakkamati, tassa bahisīmagatassa evaṃ hoti: n’ ev’ imaṃ cīvaraṃ kāressaṃ na paccessan ti.  tassa bhikkhuno sanniṭṭhānantiko kaṭhinuddhāro.  bhikkhu atthatakaṭhino cīvaraṃ samādāya pakkamati, tassa bahisīmagatassa evaṃ hoti: idh’ ev’ imaṃ cīvaraṃ kāressaṃ na paccessan ti, so taṃ cīvaraṃ kāreti.  tassa taṃ cīvaraṃ kayiramānaṃ nassati.  tassa bhikkhuno nāsanantiko kaṭhinuddhāro. |1| 
อสฺโสสุํ โข โกสินารกา มลฺลา “ภควา กิร กุสินารํ อาคจฺฉติ มหตา ภิกฺขุสงฺเฆน สทฺธึ อฑฺฒเตลเสหิ ภิกฺขุสเตหี”ติ.  เต สงฺครํ อกํสุ “โย ภควโต ปจฺจุคฺคมนํ น กริสฺสติ ปญฺจสตานิสฺส ทณฺโฑ”ติ.  เตน โข ปน สมเยน โรโช มลฺโล อายสฺมโต อานนฺทสฺส สหาโย โหติ.  อถ โข ภควา อนุปุพฺเพน จาริกํ จรมาโน เยน กุสินารา ตทวสริ.  อถ โข โกสินารกา มลฺลา ภควโต ปจฺจุคฺคมนํ อกํสุ.  อถ โข โรโช มลฺโล ภควโต ปจฺจุคฺคมนํ กริตฺวา เยนายสฺมา อานนฺโท เตนุปสงฺกมิ อุปสงฺกมิตฺวา อายสฺมนฺตํ อานนฺทํ อภิวาเทตฺวา เอกมนฺตํ อฏฺฐาสิ.  เอกมนฺตํ ฐิตํ โข โรชํ มลฺลํ อายสฺมา อานนฺโท เอตทโวจ “อุฬารํ โข เต อิทํ อาวุโส โรช ยํ ตฺวํ ภควโต ปจฺจุคฺคมนํ อกาสี”ติ.  “นาหํ ภนฺเต อานนฺท พหุกโต พุทฺเธ วา ธมฺเม วา สงฺเฆ วา อปิ จ ญาตีหิ สงฺคโร กโต ‘โย ภควโต ปจฺจุคฺคมนํ น กริสฺสติ ปญฺจสตานิสฺส ทณฺโฑ”’ติ  โส โข อหํ ภนฺเต อานนฺท ญาตีนํ ทณฺฑภยา เอวาหํ ภควโต ปจฺจุคฺคมนํ อกาสินฺติ.  อถ โข อายสฺมา อานนฺโท อนตฺตมโน อโหสิ’กถญฺหิ นาม โรโช มลฺโล เอวํ วกฺขตี’ติ? 
bhikkhu atthatakaṭhino cīvaraṃ samādāya pakkamati paccessan ti, so bahisīmagato taṃ cīvaraṃ kāreti, so katacīvaro suṇāti: ubbhataṃ kira tasmiṃ āvāse kaṭhinan ti.  tassa bhikkhuno savanantiko kaṭhinuddhāro.  bhikkhu atthatakaṭhino cīvaraṃ samādāya pakkamati paccessan ti, so bahisīmagato taṃ cīvaraṃ kāreti, so katacīvaro paccessaṃ paccessan ti bahiddhā kaṭhinuddhāraṃ vītināmeti.  tassa bhikkhuno sīmātikkantiko kaṭhinuddhāro.  bhikkhu atthatakaṭhino cīvaraṃ samādāya pakkamati paccessan ti, so bahisīmagato taṃ cīvaraṃ kāreti, so katacīvaro paccessaṃ paccessan ti sambhuṇāti kaṭhinuddhāraṃ.  tassa bhikkhuno saha bhikkhūhi kaṭhinuddhāro. |2| 
อถ โข อายสฺมา อานนฺโท เยน ภควา เตนุปสงฺกมิ อุปสงฺกมิตฺวา ภควนฺตํ อภิวาเทตฺวา เอกมนฺตํ นิสีทิ.  เอกมนฺตํ นิสินฺโน โข อายสฺมา อานนฺโท ภควนฺตํ เอตทโวจ “อยํ ภนฺเต โรโช มลฺโล อภิญฺญาโต ญาตมนุสฺโส.  มหตฺถิโก โข ปน เอวรูปานํ ญาตมนุสฺสานํ อิมสฺมึ ธมฺมวินเย ปสาโท.  สาธุ ภนฺเต ภควา ตถา กโรตุ ยถา โรโช มลฺโล อิมสฺมึ ธมฺมวินเย ปสีเทยฺยา”ติ.  “น โข ตํ อานนฺท ทุกฺกรํ ตถาคเตน ยถา โรโช มลฺโล อิมสฺมึ ธมฺมวินเย ปสีเทยฺยา”ติ.  อถ โข ภควา โรชํ มลฺลํ เมตฺเตน จิตฺเตน ผริตฺวา อุฏฺฐายาสนา วิหารํ ปาวิสิ. 
||3|| 
อถ โข โรโช มลฺโล ภควโต เมตฺเตน จิตฺเตน ผุฏฺโฐ เสยฺยถาปิ นาม คาวึ ตรุณวจฺโฉ เอวเมว วิหาเรน วิหารํ ปริเวเณน ปริเวณํ อุปสงฺกมิตฺวา ภิกฺขู ปุจฺฉติ “กหํ นุ โข ภนฺเต เอตรหิ โส ภควา วิหรติ อรหํ สมฺมาสมฺพุทฺโธ ทสฺสนกามา หิ มยํ ตํ ภควนฺตํ อรหนฺตํ สมฺมาสมฺพุทฺธ”นฺติ. 
samādāyasattakaṃ niṭṭhitaṃ. 
“เอสาวุโส โรช วิหาโร สํวุตทฺวาโร เตน อปฺปสทฺโท อุปสงฺกมิตฺวา อตรมาโน อาฬินฺทํ ปวิสิตฺวา อุกฺกาสิตฺวา อคฺคฬํ อาโกเฏหิ วิวริสฺสติ เต ภควา ทฺวาร”นฺติ. 
(257) bhikkhu atthatakaṭhino vippakatacīvaraṃ ādāya pakkamati, tassa bahisīmagatassa evaṃ hoti: idh’ ev’ imaṃ cīvaraṃ kāressaṃ na paccessan ti, so taṃ cīvaraṃ kāreti.  tassa bhikkhuno niṭṭhānantiko ... (= ch.2; read vippakatacīvaraṃ ādāya instead of cīvaraṃ ādāya; the pakkamanantiko kaṭhinuddhāro is omitted.) ... saha bhikkhūhi kaṭhinuddhāro. |1| 
อถ โข โรโช มลฺโล เยน โส วิหาโร สํวุตทฺวาโร เตน อปฺปสทฺโท อุปสงฺกมิตฺวา อตรมาโน อาฬินฺทํ ปวิสิตฺวา อุกฺกาสิตฺวา อคฺคฬํ อาโกเฏสิ. วิวริ ภควา ทฺวารํ.  อถ โข โรโช มลฺโล วิหารํ ปวิสิตฺวา ภควนฺตํ อภิวาเทตฺวา เอกมนฺตํ นิสีทิ. 
||4|| 
เอกมนฺตํ นิสินฺนสฺส โข โรชสฺส มลฺลสฺส ภควา อนุปุพฺพิ๎ กถํ กเถสิ เสยฺยถิทํ ทานกถํฯเปฯ อปรปฺปจฺจโย สตฺถุสาสเน ภควนฺตํ เอตทโวจ “สาธุ ภนฺเต อยฺยา มมญฺเญว ปฏิคฺคณฺเหยฺยุํ จีวรปิณฺฑปาตเสนาสนคิลานปฺปจฺจยเภสชฺชปริกฺขารํ โน อญฺเญส”นฺติ. 
ādāyachakkaṃ niṭṭhitaṃ.  bhikkhu atthatakaṭhino vippakatacīvaraṃ samādāya pakkamati, tassa bahisīmagatassa evaṃ hoti: idh’ ev’ imaṃ cīvaraṃ kāressaṃ na paccessan ti, so taṃ cīvaraṃ kāreti.  tassa bhikkhuno niṭṭhānantiko ... (= ch.3; read vippakatacīvaraṃ samādāya instead of cīvaraṃ samādāya; the pakkamanantiko kaṭhinuddhāro is omitted.) ... saha bhikkhūhi kaṭhinuddhāro. |1| 
“เยสํ โข โรช เสกฺเขน ญาเณน เสกฺเขน ทสฺสเนน ธมฺโม ทิฏฺโฐ เสยฺยถาปิ ตยา เตสมฺปิ เอวํ โหติ ‘อโห นูน อยฺยา อมฺหากญฺเญว ปฏิคฺคณฺเหยฺยุํ จีวรปิณฺฑปาตเสนาสนคิลานปฺปจฺจยเภสชฺชปริกฺขารํ โน อญฺเญส’นฺติ.  เตน หิ โรช ตว เจว ปฏิคฺคหิสฺสนฺติ อญฺเญสญฺจา”ติ.  ๓๐๒. เตน โข ปน สมเยน กุสินารายํ ปณีตานํ ภตฺตานํ ภตฺตปฏิปาฏิ อฏฺฐิตา โหติ. 
||5|| 
อถ โข โรชสฺส มลฺลสฺส ปฏิปาฏึ อลภนฺตสฺส เอตทโหสิ “ยํนูนาหํ ภตฺตคฺคํ โอโลเกยฺยํ ยํ ภตฺตคฺเค นาสฺส ตํ ปฏิยาเทยฺย”นฺติ. 
samādāyachakkaṃ.  bhikkhu atthatakaṭhino cīvaraṃ ādāya pakkamati, tassa bahisīmagatassa evaṃ hoti: idh’ ev’ imaṃ cīvaraṃ kāressaṃ na paccessan ti, so taṃ cīvaraṃ kāreti.  tassa bhikkhuno niṭṭhānantiko kaṭhinuddhāro.  bhikkhu atthatakaṭhino cīvaraṃ ādāya pakkamati, tassa bahisīmagatassa evaṃ hoti: n’ ev’ imaṃ cīvaraṃ kāressaṃ na paccessan ti.  tassa bhikkhuno sanniṭṭhānantiko kaṭhinuddhāro.  bhikkhu atthatakaṭhino cīvaraṃ ādāya pakkamati, tassa bahisīmagatassa evaṃ hoti: idh’ ev’ imaṃ cīvaraṃ kāressaṃ na paccessan ti, so taṃ cīvaraṃ kāreti.  tassa taṃ cīvaraṃ kayiramānaṃ nassati.  tassa bhikkhuno nāsanantiko kaṭhinuddhāro. |1| 
อถ โข โรโช มลฺโล ภตฺตคฺคํ โอโลเกนฺโต ทฺเว นาทฺทส ฑากญฺจ ปิฏฺฐขาทนียญฺจ.  อถ โข โรโช มลฺโล เยนายสฺมา อานนฺโท เตนุปสงฺกมิ อุปสงฺกมิตฺวา อายสฺมนฺตํ อานนฺทํ เอตทโวจ “อิธ เม ภนฺเต อานนฺท ปฏิปาฏึ อลภนฺตสฺส เอตทโหสิ ‘ยํนูนาหํ ภตฺตคฺคํ โอโลเกยฺยํ ยํ ภตฺตคฺเค นาสฺส ตํ ปฏิยาเทยฺย’นฺติ.  โส โข อหํ ภนฺเต อานนฺท ภตฺตคฺคํ โอโลเกนฺโต ทฺเว นาทฺทสํ ฑากญฺจ ปิฏฺฐขาทนียญฺจ.  สจาหํ ภนฺเต อานนฺท ปฏิยาเทยฺยํ ฑากญฺจ ปิฏฺฐขาทนียญฺจ ปฏิคฺคณฺเหยฺย เม ภควา”ติ?  “เตน หิ โรช ภควนฺตํ ปฏิปุจฺฉิสฺสามี”ติ.  อถ โข อายสฺมา อานนฺโท ภควโต เอตมตฺถํ อาโรเจสิ.  “เตน หานนฺท ปฏิยาเทตู”ติ.  “เตน หิ โรช ปฏิยาเทหี”ติ. 
bhikkhu atthatakaṭhino cīvaraṃ ādāya pakkamati na paccessan ti, tassa bahisīmagatassa evaṃ hoti: idh’ ev’ imaṃ cīvaraṃ kāressan ti, so taṃ cīvaraṃ kāreti.  tassa bhikkhuno niṭṭhānantiko kaṭhinuddhāro.  bhikkhu atthatakaṭhino cīvaraṃ ādāya pakkamati na paccessan ti, tassa bahisīmagatassa evaṃ hoti: n’ ev’ imaṃ cīvaraṃ kāressan ti.  tassa bhikkhuno sanniṭṭhānantiko kaṭhinuddhāro.  bhikkhu atthatakaṭhino cīvaraṃ ādāya pakkamati na paccessan ti, tassa bahisīmagatassa evaṃ hoti: idh’ ev’ imaṃ cīvaraṃ kāressan-(258)ti, so taṃ cīvaraṃ kāreti, tassa taṃ cīvaraṃ kayiramānaṃ nassati.  tassa bhikkhuno nāsanantiko kaṭhinuddhāro. |2| 
อถ โข โรโช มลฺโล ตสฺสา รตฺติยา อจฺจเยน ปหูตํ ฑากญฺจ ปิฏฺฐขาทนียญฺจ ปฏิยาทาเปตฺวา ภควโต อุปนาเมสิ “ปฏิคฺคณฺหาตุ เม ภนฺเต ภควา ฑากญฺจ ปิฏฺฐขาทนียญฺจา”ติ.  “เตน หิ โรช ภิกฺขูนํ เทหี”ติ. (อถ โข โรโช มลฺโล ภิกฺขูนํ เทติ.)  ภิกฺขู กุกฺกุจฺจายนฺตา น ปฏิคฺคณฺหนฺติ  “ปฏิคฺคณฺหถ ภิกฺขเว ปริภุญฺชถา”ติ.  อถ โข โรโช มลฺโล พุทฺธปฺปมุขํ ภิกฺขุสงฺฆํ ปหูเตหิ ฑาเกหิ จ ปิฏฺฐขาทนีเยหิ จ สหตฺถา สนฺตปฺเปตฺวา สมฺปวาเรตฺวา ภควนฺตํ โธตหตฺถํ โอนีตปตฺตปาณึ เอกมนฺตํ นิสีทิ.  เอกมนฺตํ นิสินฺนํ โข โรชํ มลฺลํ ภควา ธมฺมิยา กถาย สนฺทสฺเสตฺวา สมาทเปตฺวา สมุตฺเตเชตฺวา สมฺปหํเสตฺวา อุฏฺฐายาสนา ปกฺกามิ. 
bhikkhu atthatakaṭhino cīvaraṃ ādāya pakkamati anadhiṭṭhitena, n’ ev’ assa hoti paccessan ti, na pan’ assa hoti na paccessan ti, tassa bahisīmagatassa evaṃ hoti: idh’ ev’ imaṃ cīvaraṃ kāressaṃ na paccessan ti, so taṃ cīvaraṃ kāreti.  tassa bhikkhuno niṭṭhānantiko kaṭhinuddhāro.  bhikkhu atthatakaṭhino cīvaraṃ ādāya pakkamati anadhiṭṭhitena, n’ ev’ assa hoti paccessan ti, na pan’ assa hoti na paccessan ti, tassa bahisīmagatassa evaṃ hoti: n’ ev’ imaṃ cīvaraṃ kāressaṃ na paccessan ti.  tassa bhikkhuno sanniṭṭhānantiko kaṭhinuddhāro.  bhikkhu atthatakaṭhino cīvaraṃ ādāya pakkamati anadhiṭṭhitena, n’ ev’ assa hoti paccessan ti, na pan’ assa hoti na paccessan ti, tassa bahisīmagatassa evaṃ hoti: idh’ ev’ imaṃ cīvaraṃ kāressaṃ na paccessan ti, so taṃ cīvaraṃ kāreti, tassa taṃ cīvaraṃ kayiramānaṃ nassati.  tassa bhikkhuno nāsanantiko kaṭhinuddhāro. |3| 
อถ โข ภควา เอตสฺมึ นิทาเน เอตสฺมึ ปกรเณ ธมฺมึ กถํ กตฺวา ภิกฺขู อามนฺเตสิ “อนุชานามิ ภิกฺขเว สพฺพญฺจ ฑากํ สพฺพญฺจ ปิฏฺฐขาทนีย”นฺติ. (โรชมลฺลวตฺถุ นิฏฺฐิตํ.)      (๑๘๔. วุฑฺฒปพฺพชิตวตฺถุ) ๓๐๓. อถ โข ภควา กุสินารายํ ยถาภิรนฺตํ วิหริตฺวา เยน อาตุมา เตน จาริกํ ปกฺกามิ มหตา ภิกฺขุสงฺเฆน สทฺธึ อฑฺฒเตลเสหิ ภิกฺขุสเตหิ.  เตน โข ปน สมเยน อญฺญตโร วุฑฺฒปพฺพชิโต อาตุมายํ ปฏิวสติ นหาปิตปุพฺโพ. ตสฺส ทฺเว ทารกา โหนฺติ มญฺชุกา ปฏิภาเนยฺยกา ทกฺขา ปริโยทาตสิปฺปา สเก อาจริยเก นหาปิตกมฺเม.  อสฺโสสิ โข โส วุฑฺฒปพฺพชิโต “ภควา กิร อาตุมํ อาคจฺฉติ มหตา ภิกฺขุสงฺเฆน สทฺธึ อฑฺฒเตลเสหิ ภิกฺขุสเตหี”ติ. 
bhikkhu atthatakaṭhino cīvaraṃ ādāya pakkamati paccessan ti, tassa bahisīmagatassa evaṃ hoti: idh’ ev’ imaṃ cīvaraṃ kāressaṃ na paccessan ti, so taṃ cīvaraṃ kāreti.  tassa bhikkhuno niṭṭhānantiko kaṭhinuddhāro.  bhikkhu atthatakaṭhino cīvaraṃ ādāya pakkamati paccessan ti, tassa bahisīmagatassa evaṃ hoti: n’ ev’ imaṃ cīvaraṃ kāressaṃ na paccessan ti.  tassa bhikkhuno sanniṭṭhānantiko kaṭhinuddhāro.  bhikkhu atthatakaṭhino cīvaraṃ ādāya pakkamati paccessan ti, tassa bahisīmagatassa evaṃ hoti: idh’ ev’ imaṃ cīvaraṃ kāressaṃ na paccessan ti, so taṃ cīvaraṃ kāreti, tassa taṃ cīvaraṃ kayiramānaṃ nassati.  tassa bhikkhuno nāsanantiko kaṭhinuddhāro.  bhikkhu atthatakaṭhino cīvaraṃ ādāya pakkamati paccessan ti, so bahisīmagato taṃ cīvaraṃ kāreti, so katacīvaro suṇāti: ubbhataṃ kira tasmiṃ āvāse kaṭhinan ti.  tassa bhikkhuno savanantiko kaṭhinuddhāro.  bhikkhu atthatakaṭhino cīvaraṃ ādāya pakkamati paccessan ti, so bahisīmagato taṃ cīvaraṃ kāreti, so katacīvaro paccessaṃ paccessan ti bahiddhā kaṭhinuddhāraṃ vītināmeti.  tassa bhikkhuno sīmātikkantiko kaṭhinuddhāro.  bhikkhu atthatakaṭhino cīvaraṃ ādāya pakkamati paccessan ti, so bahisīmagato taṃ cīvaraṃ kāreti, so katacīvaro paccessaṃ paccessan ti sambhu-(259)ṇāti kaṭhinuddhāraṃ.  tassa bhikkhuno saha bhikkhūhi kaṭhinuddhāro. |4| 
อถ โข โส วุฑฺฒปพฺพชิโต เต ทารเก เอตทโวจ “ภควา กิร ตาตา อาตุมํ อาคจฺฉติ มหตา ภิกฺขุสงฺเฆน สทฺธึ อฑฺฒเตลเสหิ ภิกฺขุสเตหิ.  คจฺฉถ ตุมฺเห ตาตา ขุรภณฺฑํ อาทาย นาฬิยาวาปเกน อนุฆรกํ อนุฆรกํ อาหิณฺฑถ โลณมฺปิ เตลมฺปิ ตณฺฑุลมฺปิ ขาทนียมฺปิ สํหรถ ภควโต อาคตสฺส ยาคุปานํ กริสฺสามา”ติ.  “เอวํ ตาตา”ติ โข เต ทารกา ตสฺส วุฑฺฒปพฺพชิตสฺส ปฏิสฺสุณิตฺวา ขุรภณฺฑํ อาทาย นาฬิยาวาปเกน อนุฆรกํ อนุฆรกํ อาหิณฺฑนฺติ โลณมฺปิ เตลมฺปิ ตณฺฑุลมฺปิ ขาทนียมฺปิ สํหรนฺตา.  มนุสฺสา เต ทารเก มญฺชุเก ปฏิภาเนยฺยเก ปสฺสิตฺวา เยปิ น การาเปตุกามา เตปิ การาเปนฺติ การาเปตฺวาปิ พหุํ เทนฺติ.  อถ โข เต ทารกา พหุํ โลณมฺปิ เตลมฺปิ ตณฺฑุลมฺปิ ขาทนียมฺปิ สํหรึสุ.  อถ โข ภควา อนุปุพฺเพน จาริกํ จรมาโน เยน อาตุมา ตทวสริ.  ตตฺร สุทํ ภควา อาตุมายํ วิหรติ ภุสาคาเร.  อถ โข โส วุฑฺฒปพฺพชิโต ตสฺสา รตฺติยา อจฺจเยน ปหูตํ ยาคุํ ปฏิยาทาเปตฺวา ภควโต อุปนาเมสิ “ปฏิคฺคณฺหาตุ เม ภนฺเต ภควา ยาคุ”นฺติ.  ชานนฺตาปิ ตถาคตา ปุจฺฉนฺติฯเปฯ สาวกานํ วา สิกฺขาปทํ ปญฺญเปสฺสามาติ.  อถ โข ภควา ตํ วุฑฺฒปพฺพชิตํ เอตทโวจ “กุตายํ ภิกฺขุ ยาคู”ติ?  อถ โข โส วุฑฺฒปพฺพชิโต ภควโต เอตมตฺถํ อาโรเจสิ.  วิครหิ พุทฺโธ ภควา “อนนุจฺฉวิกํ โมฆปุริส อนนุโลมิกํ อปฺปติรูปํ อสฺสามณกํ อกปฺปิยํ อกรณียํ. 
||6|| 
กถญฺหิ นาม ตฺวํ โมฆปุริส ปพฺพชิโต อกปฺปิเย สมาทเปสฺสสิ. 
bhikkhu atthatakaṭhino cīvaraṃ samādāya pakkamati --pa-- ādāyapakkamanavārasadisaṃ evaṃ vitthāretabbaṃ --la-- bhikkhu atthatakaṭhino vippakatacīvaraṃ ādāya pakkamati --la-- samādāyapakkamanavārasadisaṃ evaṃ vitthāretabbaṃ --la-- bhikkhu atthatakaṭhino vippakatacīvaraṃ samādāya pakkamati ... (= ch.6; read vippakatacīvaraṃ samādāya instead of cīvaraṃ ādāya.) ... saha bhikkhūhi kaṭhinuddhāro. ||1| 
เนตํ โมฆปุริส อปฺปสนฺนานํ วา ปสาทายฯเปฯ 
||7|| 
วิครหิตฺวา ธมฺมึ กถํ กตฺวา ภิกฺขู อามนฺเตสิ ‘น ภิกฺขเว ปพฺพชิเตน อกปฺปิเย สมาทเปตพฺพํ 
ādāyabhāṇavāraṃ niṭṭhitaṃ.  bhikkhu atthatakaṭhino cīvarāsāya pakkamati, so bahisīmagato taṃ cīvarāsaṃ payirupāsati anāsāya labhati āsāya na labhati, tassa evaṃ hoti: idh’ ev’ imaṃ cīvaraṃ kāressaṃ na paccessan ti, so taṃ cīvaraṃ kāreti.  tassa bhikkhuno niṭṭhānantiko kaṭhinuddhāro.  bhikkhu atthatakaṭhino cīvarāsāya ... tassa evaṃ hoti: n’ ev’ imaṃ cīvaraṃ kāressaṃ na paccessan ti.  tassa bhikkhuno sanniṭṭhānantiko kaṭhinuddhāro....tassa evaṃ hoti: idh’ ev’ imaṃ cīvaraṃ kāressaṃ na paccessan ti, so taṃ cīvaraṃ kāreti, tassa taṃ cīvaraṃ kayiramānaṃ nassati.  tassa bhikkhuno nāsanantiko kaṭhinuddhāro.  bhikkhu atthatakaṭhino cīvarāsāya pakkamati, tassa bahisīmagatassa evaṃ hoti: idh’ ev’ imaṃ cīvarāsaṃ payirupāsissaṃ na paccessan ti, so taṃ cīvarāsaṃ payirupāsati, tassa sā cīvarāsā upacchijjati.  tassa bhikkhuno āsāvacchediko kaṭhinuddhāro. |1| 
โย สมาทเปยฺย อาปตฺติ ทุกฺกฏสฺส.  น จ ภิกฺขเว นหาปิตปุพฺเพน ขุรภณฺฑํ ปริหริตพฺพํ.  โย ปริหเรยฺย อาปตฺติ ทุกฺกฏสฺสา”’ติ.      อถ โข ภควา อาตุมายํ ยถาภิรนฺตํ วิหริตฺวา เยน สาวตฺถิ เตน จาริกํ ปกฺกามิ.  อนุปุพฺเพน จาริกํ จรมาโน เยน สาวตฺถิ ตทวสริ.  ตตฺร สุทํ ภควา สาวตฺถิยํ วิหรติ เชตวเน อนาถปิณฺฑิกสฺส อาราเม. 
bhikkhu atthatakaṭhino cīvarāsāya pakkamati na paccessan ti, so bahisīmagato taṃ cīvarāsaṃ payirupāsati anāsāya labhati āsāya na labhati, tassa evaṃ hoti: idh’ ev’ imaṃ cīvaraṃ kāressan ti, so taṃ cīvaraṃ kāreti.  tassa bhikkhuno niṭṭhānantiko kaṭhinuddhāro.  bhikkhu atthatakaṭhino ... tassa evaṃ hoti: n’ ev’ imaṃ cīvaraṃ kāressan ti.  tassa bhikkhuno sanniṭṭhānantiko kaṭhinuddhāro ... tassa evaṃ hoti: idh’ ev’ imaṃ cīvaraṃ kāressan ti, so taṃ cīvaraṃ kāreti, tassa taṃ cīvaraṃ kayiramānaṃ nassati.  tassa bhikkhuno nāsanantiko kaṭhinuddhāro.  bhikkhu atthatakaṭhino cīvarāsāya pakkamati na paccessan ti, tassa bahisī-(260)magatassa evaṃ hoti: idh’ ev’ imaṃ cīvarāsaṃ payirupāsissan ti, so taṃ cīvarāsaṃ payirupāsati, tassa sā cīvarāsā upacchijjati.  tassa bhikkhuno āsāvacchediko kaṭhinuddhāro. |2| 
เตน โข ปน สมเยน สาวตฺถิยํ พหุํ ผลขาทนียํ อุปฺปนฺนํ โหติ.  อถ โข ภิกฺขูนํ เอตทโหสิ “กึ นุ โข ภควตา ผลขาทนียํ อนุญฺญาตํ กึ อนนุญฺญาต”นฺติ?  ภควโต เอตมตฺถํ อาโรเจสุํ.  “อนุชานามิ ภิกฺขเว สพฺพํ ผลขาทนีย”นฺติ.      ๓๐๔. เตน โข ปน สมเยน สงฺฆิกานิ พีชานิ ปุคฺคลิกาย ภูมิยา โรปิยนฺติ ปุคฺคลิกานิ พีชานิ สงฺฆิกาย ภูมิยา โรปิยนฺติ. 
bhikkhu atthatakaṭhino cīvarāsāya pakkamati anadhiṭṭhitena, n’ ev’ assa hoti paccessan ti, na pan’ assa hoti na paccessan ti, so bahisīmagato taṃ cīvarāsaṃ payirupāsati anāsāya labhati āsāya na labhati, tassa evaṃ hoti: idh’ ev’ imaṃ cīvaraṃ kāressaṃ na paccessan ti, so taṃ cīvaraṃ kāreti.  tassa bhikkhuno niṭṭhānantiko kaṭhinuddhāro ... tassa evaṃ hoti: n’ ev’ imaṃ cīvaraṃ kāressaṃ na paccessan ti.  tassa bhikkhuno sanniṭṭhānantiko kaṭhinuddhāro ... tassa evaṃ hoti: idh’ ev’ imaṃ cīvaraṃ kāressaṃ na paccessan ti, so taṃ cīvaraṃ kāreti, tassa taṃ cīvaraṃ kayiramānaṃ nassati.  tassa bhikkhuno nāsanantiko kaṭhinuddhāro.  bhikkhu atthatakaṭhino cīvarāsāya pakkamati anadhiṭṭhitena, n’ ev’ assa hoti paccessan ti, na pan’ assa hoti na paccessan ti, tassa bahisīmagatassa evaṃ hoti: idh’ ev’ imaṃ cīvarāsaṃ payirupāsissaṃ na paccessan ti, so taṃ cīvarāsaṃ payirupāsati, tassa sā cīvarāsā upacchijjati.  tassa bhikkhuno āsāvacchediko kaṭhinuddhāro. |3| 
ภควโต เอตมตฺถํ อาโรเจสุํ.  สงฺฆิกานิ ภิกฺขเว พีชานิ ปุคฺคลิกาย ภูมิยา โรปิตานิ ภาคํ ทตฺวา ปริภุญฺชิตพฺพานิ. ปุคฺคลิกานิ พีชานิ สงฺฆิกาย ภูมิยา โรปิตานิ ภาคํ ทตฺวา ปริภุญฺชิตพฺพานีติ. (วุฑฺฒปพฺพชิตวตฺถุ นิฏฺฐิตํ.)      (๑๘๕. จตุมหาปเทสกถา) ๓๐๕. เตน โข ปน สมเยน ภิกฺขูนํ กิสฺมิญฺจิ กิสฺมิญฺจิ ฐาเน กุกฺกุจฺจํ อุปฺปชฺชติ “กึ นุ โข ภควตา อนุญฺญาตํ กึ อนนุญฺญาต”นฺติ?  ภควโต เอตมตฺถํ อาโรเจสุํ. 
||8|| 
“ยํ ภิกฺขเว มยา ‘อิทํ น กปฺปตี’ติ อปฺปฏิกฺขิตฺตํ ตญฺเจ อกปฺปิยํ อนุโลเมติ กปฺปิยํ ปฏิพาหติ ตํ โว น กปฺปติ. 
anāsādoḷasakaṃ niṭṭhitaṃ.  bhikkhu atthatakaṭhino cīvarāsāya pakkamati paccessan ti, so bahisīmagato taṃ cīvarāsaṃ payirupāsati āsāya labhati anāsāya na labhati, tassa evaṃ hoti: idh’ ev’ imaṃ cīvaraṃ kāressaṃ na paccessan ti, so taṃ cīvaraṃ kāreti.  tassa bhikkhuno niṭṭhānantiko kaṭhinuddhāro ... tassa evaṃ hoti: n’ ev’ imaṃ cīvaraṃ kāressan na paccessan ti.  tassa bhikkhuno sanniṭṭhānantiko kaṭhinuddhāro ... tassa evaṃ hoti: idh’ ev’ imaṃ cīvaraṃ kāressaṃ na paccessan ti, so taṃ cīvaraṃ kāreti, tassa taṃ cīvaraṃ kayiramānaṃ nassati.  tassa bhikkhuno nāsanantiko kaṭhinuddhāro.  bhikkhu atthatakaṭhino cīvarāsāya pakkamati paccessan ti, tassa bahisīmagatassa evaṃ hoti: idh’ ev’ imaṃ cīvarāsaṃ payirupāsissaṃ na paccessan ti, so taṃ cīvarāsaṃ payirupāsati, tassa sā cīvarāsā upacchijjati.  tassa bhikkhuno āsāvacchediko kaṭhinuddhāro. |1| 
ยํ ภิกฺขเว มยา ‘อิทํ น กปฺปตี’ติ อปฺปฏิกฺขิตฺตํ ตญฺเจ กปฺปิยํ อนุโลเมติ อกปฺปิยํ ปฏิพาหติ ตํ โว กปฺปติ.  ยํ ภิกฺขเว มยา ‘อิทํ กปฺปตี’ติ อนนุญฺญาตํ ตญฺเจ อกปฺปิยํ อนุโลเมติ กปฺปิยํ ปฏิพาหติ ตํ โว น กปฺปติ.  ยํ ภิกฺขเว มยา ‘อิทํ กปฺปตี’ติ อนนุญฺญาตํ ตญฺเจ กปฺปิยํ อนุโลเมติ อกปฺปิยํ ปฏิพาหติ ตํ โว กปฺปตี”ติ.  อถ โข ภิกฺขูนํ เอตทโหสิ “กปฺปติ นุ โข ยาวกาลิเกน ยามกาลิกํ น นุ โข กปฺปติ?  กปฺปติ นุ โข ยาวกาลิเกน สตฺตาหกาลิกํ น นุ โข กปฺปติ?  กปฺปติ นุ โข ยาวกาลิเกน ยาวชีวิกํ น นุ โข กปฺปติ?  กปฺปติ นุ โข ยามกาลิเกน สตฺตาหกาลิกํ น นุ โข กปฺปติ? 
bhikkhu atthatakaṭhino cīvarāsāya pakkamati paccessan ti, so bahisīmagato suṇāti: ubbhataṃ (261) kira tasmiṃ āvāse kaṭhinanti, tassa evaṃ hoti: yato tasmiṃ āvāse ubbhataṃ kaṭhinaṃ idh’ ev’ imaṃ cīvarāsaṃ payirupāsissan ti, so taṃ cīvarāsaṃ payirupāsati āsāya labhati anāsāya na labhati, tassa evaṃ hoti: idh’ ev’ imaṃ cīvaraṃ kāressaṃ na paccessan ti, so taṃ cīvaraṃ kāreti.  tassa bhikkhuno niṭṭhānantiko kaṭhinuddhāro ... tassa evaṃ hoti: n’ ev’ imaṃ cīvaraṃ kāressaṃ na paccessan ti.  tassa bhikkhuno sanniṭṭhānantiko kaṭhinuddhāro ... tassa evaṃ hoti: idh’ ev’ imaṃ cīvaraṃ kāressaṃ na paccessan ti, so taṃ cīvaraṃ kāreti, tassa taṃ cīvaraṃ kayiramānaṃ nassati.  tassa bhikkhuno nāsanantiko kaṭhinuddhāro.  bhikkhu atthatakaṭhino cīvarāsāya pakkamati paccessan ti, so bahisīmagato suṇāti: ubbhataṃ kira tasmiṃ āvāse kaṭhinan ti, tassa evaṃ hoti: yato tasmiṃ āvāse ubbhataṃ kaṭhinaṃ idh’ ev’ imaṃ cīvarāsaṃ payirupāsissaṃ na paccessan ti, so taṃ cīvarāsaṃ payirupāsati, tassa sā cīvarāsā upacchijjati.  tassa bhikkhuno āsāvacchediko kaṭhinuddhāro. |2| 
กปฺปติ นุ โข ยามกาลิเกน ยาวชีวิกํ น นุ โข กปฺปติ?  กปฺปติ นุ โข สตฺตาหกาลิเกน ยาวชีวิกํ น นุ โข กปฺปตี”ติ?  ภควโต เอตมตฺถํ อาโรเจสุํ.  “ยาวกาลิเกน ภิกฺขเว ยามกาลิกํ ตทหุ ปฏิคฺคหิตํ กาเล กปฺปติ วิกาเล น กปฺปติ.  ยาวกาลิเกน ภิกฺขเว สตฺตาหกาลิกํ ตทหุ ปฏิคฺคหิตํ กาเล กปฺปติ วิกาเล น กปฺปติ.  ยาวกาลิเกน ภิกฺขเว ยาวชีวิกํ ตทหุ ปฏิคฺคหิตํ กาเล กปฺปติ วิกาเล น กปฺปติ. 
bhikkhu atthatakaṭhino cīvarāsāya pakkamati paccessan ti, so bahisīmagato taṃ cīvarāsaṃ payirupāsati āsāya labhati anāsāya na labhati, so taṃ cīvaraṃ kāreti, so katacīvaro suṇāti: ubbhataṃ kira tasmiṃ āvāse kaṭhinan ti.  tassa bhikkhuno savanantiko kaṭhinuddhāro.  bhikkhu atthatakaṭhino cīvarāsāya pakkamati paccessan ti, tassa bahisīmagatassa evaṃ hoti: idh’ ev’ imaṃ cīvarāsaṃ payirupāsissaṃ na paccessan ti, so taṃ cīvarāsaṃ payirupāsati, tassa sā cīvarāsā upacchijjati.  tassa bhikkhuno āsāvacchediko kaṭhinuddhāro.  bhikkhu atthatakaṭhino cīvarāsāya pakkamati paccessan ti, so bahisīmagato taṃ cīvarāsaṃ payirupāsati āsāya labhati anāsāya na labhati, so taṃ cīvaraṃ kāreti, so katacīvaro paccessaṃ paccessan ti bahiddhā kaṭhinuddhāraṃ vītināmeti.  tassa bhikkhuno sīmātikkantiko kaṭhinuddhāro.  bhikkhu atthatakaṭhino cīvarāsāya pakkamati paccessan ti, so bahisīmagato taṃ cīvarāsaṃ payirupāsati āsāya labhati anāsāya na labhati, so taṃ cīvaraṃ kāreti, so katacīvaro paccessaṃ paccessan ti sambhuṇāti kaṭhinuddhāraṃ.  tassa bhikkhuno saha bhikkhūhi kaṭhinuddhāro. |3| 
ยามกาลิเกน ภิกฺขเว สตฺตาหกาลิกํ ตทหุ ปฏิคฺคหิตํ ยาเม กปฺปติ ยามาติกฺกนฺเต น กปฺปติ. ยามกาลิเกน ภิกฺขเว ยาวชีวิกํ ตทหุ ปฏิคฺคหิตํ ยาเม กปฺปติ ยามาติกฺกนฺเต น กปฺปติ.  สตฺตาหกาลิเกน ภิกฺขเว ยาวชีวิกํ ปฏิคฺคหิตํ สตฺตาหํ กปฺปติ สตฺตาหาติกฺกนฺเต น กปฺปตี”ติ. (จตุมหาปเทสกถา นิฏฺฐิตา.)      เภสชฺชกฺขนฺธโก ฉฏฺโฐ.    (๑๘๖. ตสฺสุทฺทานํ) สารทิเก วิกาเลปิ วสํ มูเล ปิฏฺเฐหิ จ. กสาเวหิ ปณฺณํ ผลํ ชตุ โลณํ ฉกณญฺจฯ  จุณฺณํ จาลินิ มํสญฺจ อญฺชนํ อุปปิสนี. อญฺชนี อุจฺจาปารุตา สลากา สลากฐานึ ฯ 
||9|| 
ถวิกํสพทฺธกํ สุตฺตํ มุทฺธนิเตลนตฺถุ จ. นตฺถุกรณี ธูมญฺจ เนตฺตญฺจาปิธนตฺถวิฯ 
āsādoḷasakaṃ niṭṭhitaṃ. 
เตลปาเกสุ มชฺชญฺจ อติกฺขิตฺตํ อพฺภญฺชนํ. ตุมฺพํ เสทํ สมฺภารญฺจ มหา ภงฺโคทกํ ตถาฯ 
(262) bhikkhu atthatakaṭhino kenacid eva karaṇīyena pakkamati, tassa bahisīmagatassa cīvarāsā uppajjati, so taṃ cīvarāsaṃ payirupāsati anāsāya labhati āsāya na labhati, tassa evaṃ hoti: idh’ ev’ imaṃ cīvaraṃ kāressaṃ na paccessan ti, so taṃ cīvaraṃ kāreti.  tassa bhikkhuno niṭṭhānantiko kaṭhinuddhāro ... tassa evaṃ hoti: n’ ev’ imaṃ cīvaraṃ kāressaṃ na paccessan ti.  tassa bhikkhuno sanniṭṭhānantiko kaṭhinuddhāro ... tassa evaṃ hoti: idh’ ev’ imaṃ cīvaraṃ kāressaṃ na paccessan ti, so taṃ cīvaraṃ kāreti, tassa taṃ cīvaraṃ kayiramānaṃ nassati.  tassa bhikkhuno nāsanantiko kaṭhinuddhāro.  bhikkhu atthatakaṭhino kenacid eva karaṇīyena pakkamati, tassa bahisīmagatassa cīvarāsā uppajjati, tassa evaṃ hoti: idh’ ev’ imaṃ cīvarāsaṃ payirupāsissaṃ na paccessan ti, so taṃ cīvarāsaṃ payirupāsati, tassa sā cīvarāsā upacchijjati.  tassa bhikkhuno āsāvacchediko kaṭhinuddhāro. |1| 
ทกโกฏฺฐํ โลหิตญฺจ วิสาณํ ปาทพฺภญฺชนํ. ปชฺชํ สตฺถํ กสาวญฺจ ติลกกฺกํ กพฬิกํฯ  โจฬํ สาสปกุฏฺฏญฺจ ธูม สกฺขริกาย จ. วณเตลํ วิกาสิกํ วิกฏญฺจ ปฏิคฺคหํฯ  คูถํ กโรนฺโต โลฬิญฺจ ขารํ มุตฺตหรีตกํ. คนฺธา วิเรจนญฺเจว อจฺฉากฏํ กฏากฏํฯ  ปฏิจฺฉาทนิ ปพฺภารา อาราม สตฺตาเหน จ. คุฬํ มุคฺคํ โสวีรญฺจ สามํปากา ปุนาปเจฯ  ปุนานุญฺญาสิ ทุพฺภิกฺเข ผลญฺจ ติลขาทนี. ปุเรภตฺตํ กายฑาโห นิพฺพตฺตญฺจ ภคนฺทลํฯ  วตฺถิกมฺมญฺจ สุปฺปิญฺจ มนุสฺสมํสเมว จ. หตฺถิอสฺสา สุนโข จ อหิ สีหญฺจ ทีปิกํ ฯ 
bhikkhu atthatakaṭhino kenacid eva karaṇīyena pakkamati na paccessan ti, tassa bahisīmagatassa cīvarāsā uppajjati, so taṃ cīvarāsaṃ payirupāsati anāsāya labhati āsāya na labhati, tassa evaṃ hoti: idh’ ev’ imaṃ cīvaraṃ kāressan ti, so taṃ cīvaraṃ kāreti, tassa bhikkhuno niṭṭhānantiko kaṭhinuddhāro ... tassa evaṃ hoti: n’ ev’ imaṃ cīvaraṃ kāressan ti.  tassa bhikkhuno sanniṭṭhānantiko kaṭhinuddhāro ... tassa evaṃ hoti: idh’ ev’ imaṃ cīvaraṃ kāressan ti, so taṃ cīvaraṃ kāreti, tassa taṃ cīvaraṃ kayiramānaṃ nassati.  tassa bhikkhuno nāsanantiko kaṭhinuddhāro.  bhikkhu atthatakaṭhino kenacid eva karaṇīyena pakkamati na paccessan ti, tassa bahisīmagatassa cīvarāsā uppajjati, tassa evaṃ hoti: idh’ ev’ imaṃ cīvarāsaṃ payirupāsissan ti, so taṃ cīvarāsaṃ payirupāsati, tassa sā cīvarāsā upacchijjati.  tassa bhikkhuno āsāvacchediko kaṭhinuddhāro. |2| 
อจฺฉตรจฺฉมํสญฺจ ปฏิปาฏิ จ ยาคุ จ. ตรุณํ อญฺญตฺร คุฬํ สุนิธาวสถาคารํฯ  คงฺคา โกฏิสจฺจกถา อมฺพปาลี จ ลิจฺฉวี. อุทฺทิสฺส กตํ สุภิกฺขํ ปุนเทว ปฏิกฺขิปิฯ  เมโฆ ยโส เมณฺฑโก จ โครสํ ปาเถยฺยเกน จ. เกณิ อมฺโพ ชมฺพุ โจจ โมจมธุมุทฺทิกสาลุกํฯ  ผารุสกา ฑากปิฏฺฐํ อาตุมายํ นหาปิโต. สาวตฺถิยํ ผลํ พีชํ กิสฺมึ ฐาเน จ กาลิเกติฯ (อิมมฺหิ ขนฺธเก วตฺถู เอกสตํ ฉวตฺถุ.) (เภสชฺชกฺขนฺธโก นิฏฺฐิโต.)  (๗. กถินกฺขนฺธโก ๑๘๗. กถินานุชานนา) ๓๐๖. เตน สมเยน พุทฺโธ ภควา สาวตฺถิยํ วิหรติ เชตวเน อนาถปิณฺฑิกสฺส อาราเม. 
bhikkhu atthatakaṭhino kenacid eva karaṇīyena pakkamati anadhiṭṭhitena, n’ ev’ assa hoti paccessan ti, na pan’ assa hoti na paccessan ti, tassa bahisīmagatassa cīvarāsā uppajjati, so taṃ cīvarāsaṃ payirupāsati anāsāya labhati āsāya na labhati, tassa evaṃ hoti: idh’ ev’ imaṃ cīvaraṃ kāressaṃ na paccessan ti, so taṃ cīvaraṃ kāreti.  tassa bhikkhuno niṭṭhānantiko kaṭhinuddhāro ... tassa evaṃ hoti: n’ ev’ imaṃ cīvaraṃ kāressaṃ na paccessan ti.  tassa bhikkhuno sanni-(263)ṭṭhānantiko kaṭhinuddhāro ... tassa evaṃ hoti: idh’ ev’ imaṃ cīvaraṃ kāressaṃ na paccessan ti, so taṃ cīvaraṃ kāreti, tassa taṃ cīvaraṃ kayiramānaṃ nassati.  tassa bhikkhuno nāsanantiko kaṭhinuddhāro.  bhikkhu atthatakaṭhino kenacid eva karaṇīyena pakkamati anadhiṭṭhitena, n’ ev’ assa hoti paccessan ti, na pan’ assa hoti na paccessan ti, tassa bahisīmagatassa cīvarāsā uppajjati, tassa evaṃ hoti: idh’ ev’ imaṃ cīvarāsaṃ payirupāsissaṃ na paccessan ti, so taṃ cīvarāsaṃ payirupāsati, tassa sā cīvarāsā upacchijjati.  tassa bhikkhuno āsāvacchediko kaṭhinuddhāro. |3| 
เตน โข ปน สมเยน ตึสมตฺตา ปาเวยฺยกา ภิกฺขู สพฺเพ อารญฺญิกา สพฺเพ ปิณฺฑปาติกา สพฺเพ ปํสุกูลิกา สพฺเพ เตจีวริกา สาวตฺถึ อาคจฺฉนฺตา ภควนฺตํ ทสฺสนาย อุปกฏฺฐาย วสฺสูปนายิกาย นาสกฺขิ๎สุ สาวตฺถิยํ วสฺสูปนายิกํ สมฺภาเวตุํ อนฺตรามคฺเค สาเกเต วสฺสํ อุปคจฺฉึสุ.  เต อุกฺกณฺฐิตรูปา วสฺสํ วสึสุ อาสนฺเนว โน ภควา วิหรติ อิโต ฉสุ โยชเนสุ น จ มยํ ลภาม ภควนฺตํ ทสฺสนายาติ.  อถ โข เต ภิกฺขู วสฺสํวุฏฺฐา เตมาสจฺจเยน กตาย ปวารณาย เทเว วสฺสนฺเต อุทกสงฺคเห อุทกจิกฺขลฺเล โอกปุณฺเณหิ จีวเรหิ กิลนฺตรูปา เยน สาวตฺถิ เชตวนํ อนาถปิณฺฑิกสฺส อาราโม เยน ภควา เตนุปสงฺกมึสุ อุปสงฺกมิตฺวา ภควนฺตํ อภิวาเทตฺวา เอกมนฺตํ นิสีทึสุ.  อาจิณฺณํ โข ปเนตํ พุทฺธานํ ภควนฺตานํ อาคนฺตุเกหิ ภิกฺขูหิ สทฺธึ ปฏิสมฺโมทิตุํ.  อถ โข ภควา เต ภิกฺขู เอตทโวจ “กจฺจิ ภิกฺขเว ขมนียํ กจฺจิ ยาปนียํ กจฺจิ สมคฺคา สมฺโมทมานา อวิวทมานา ผาสุกํ วสฺสํ วสิตฺถ น จ ปิณฺฑเกน กิลมิตฺถา”ติ?  “ขมนียํ ภควา ยาปนียํ ภควา สมคฺคา จ มยํ ภนฺเต สมฺโมทมานา อวิวทมานา วสฺสํ วสิมฺหา น จ ปิณฺฑเกน กิลมิมฺหา 
||10|| 
อิธ มยํ ภนฺเต ตึสมตฺตา ปาเวยฺยกา ภิกฺขู สาวตฺถึ อาคจฺฉนฺตา ภควนฺตํ ทสฺสนาย อุปกฏฺฐาย วสฺสูปนายิกาย นาสกฺขิมฺหา สาวตฺถิยํ วสฺสูปนายิกํ สมฺภาเวตุํ อนฺตรามคฺเค สาเกเต วสฺสํ อุปคจฺฉิมฺหา. 
karaṇīyadoḷasakaṃ niṭṭhitaṃ. 
เต มยํ ภนฺเต อุกฺกณฺฐิตรูปา วสฺสํ วสิมฺหา ‘อาสนฺเนว โน ภควา วิหรติ อิโต ฉสุ โยชเนสุ น จ มยํ ลภาม ภควนฺตํ ทสฺสนายา’ติ. 
bhikkhu atthatakaṭhino disaṃgamiko pakkamati cīvarapaṭivisaṃ apacinayamāno, tam enaṃ disaṃgataṃ bhikkhū pucchanti: kahaṃ tvaṃ āvuso vassaṃ vuttho kattha ca te cīvarapaṭiviso ’ti.  so evaṃ vadeti: amukasmiṃ āvāse vassaṃ vuttho ’mhi tattha ca me cīvarapaṭiviso ti.  te evaṃ vadanti: gacchāvuso taṃ cīvaraṃ āhara, mayan te idha cīvaraṃ karissāmā ’ti.  so taṃ āvāsaṃ gantvā bhikkhū pucchati: kahaṃ me āvuso cīvarapaṭiviso ’ti.  te evaṃ vadanti: ayan te āvuso cīvarapaṭiviso, kahaṃ gamissasīti.  so evaṃ vadeti: amukaṃ nāma āvāsaṃ gamissāmi tattha me bhikkhū cīvaraṃ karissantīti.  te evaṃ vadanti: alaṃ āvuso mā agamāsi, mayan te idha cīvaraṃ karissāmā ’ti: tassa evaṃ hoti: idh’ ev’ imaṃ cīvaraṃ kāressaṃ na paccessan ti, so taṃ cīvaraṃ kāreti.  tassa bhikkhuno niṭṭhānantiko kaṭhinuddhāro.  bhikkhu atthatakaṭhino disaṃgamiko pakkamati --la-- tassa bhikkhuno sanniṭṭhānantiko kaṭhinuddhāro.  bhikkhu atthatakaṭhino disaṃgamiko pakkamati --la-- tassa bhikkhuno nāsanantiko kaṭhinuddhāro. |1| 
อถ โข มยํ ภนฺเต วสฺสํวุฏฺฐา เตมาสจฺจเยน กตาย ปวารณาย เทเว วสฺสนฺเต อุทกสงฺคเห อุทกจิกฺขลฺเล โอกปุณฺเณหิ จีวเรหิ กิลนฺตรูปา อทฺธานํ อาคตาติ.  อถ โข ภควา เอตสฺมึ นิทาเน เอตสฺมึ ปกรเณ ธมฺมึ กถํ กตฺวา ภิกฺขู อามนฺเตสิ “อนุชานามิ ภิกฺขเว วสฺสํวุฏฺฐานํ ภิกฺขูนํ กถินํ อตฺถริตุํ.  อตฺถตกถินานํ โว ภิกฺขเว ปญฺจ กปฺปิสฺสนฺติ อนามนฺตจาโร อสมาทานจาโร คณโภชนํ ยาวทตฺถจีวรํ โย จ ตตฺถ จีวรุปฺปาโท โส เนสํ ภวิสฺสตีติ.  อตฺถตกถินานํ โว ภิกฺขเว อิมานิ ปญฺจ กปฺปิสฺสนฺติ.  เอวญฺจ ปน ภิกฺขเว กถินํ อตฺถริตพฺพํ.  พฺยตฺเตน ภิกฺขุนา ปฏิพเลน สงฺโฆ ญาเปตพฺโพ  ๓๐๗. “สุณาตุ เม ภนฺเต สงฺโฆ.  อิทํ สงฺฆสฺส กถินทุสฺสํ อุปฺปนฺนํ. ยทิ สงฺฆสฺส ปตฺตกลฺลํ สงฺโฆ อิมํ กถินทุสฺสํ อิตฺถนฺนามสฺส ภิกฺขุโน ทเทยฺย กถินํ อตฺถริตุํ.  เอสา ญตฺติ.  “สุณาตุ เม ภนฺเต สงฺโฆ. 
bhikkhu atthatakaṭhino disaṃgamiko pakkamati cīvarapaṭivisaṃ apacinayamāno ... ayan te āvuso cīvarapaṭiviso ’ti.  so taṃ cīvaraṃ ādāya taṃ āvāsaṃ gacchati, tam enaṃ antarā magge bhikkhū pucchanti: āvuso kahaṃ gamissasīti.  so evaṃ vadeti: amukaṃ nāma āvāsaṃ gamissāmi, tattha me bhikkhū cīvaraṃ karissantīti.  te evaṃ vadanti: alaṃ āvuso mā agamāsi, mayan te idha cīvaraṃ karissāmā ’ti.  tassa evaṃ hoti: idh’ ev’ imaṃ cīvaraṃ kāressaṃ na paccessan ti, so taṃ cīvaraṃ kāreti.  (264) tassa bhikkhuno niṭṭhānantiko kaṭhinuddhāro ... tassa evaṃ hoti: n’ ev’ imaṃ cīvaraṃ kāressaṃ na paccessan ti.  tassa bhikkhuno sanniṭṭhānantiko kaṭhinuddhāro ... idh’ ev’ imaṃ cīvaraṃ kāressaṃ na paccessan ti, so taṃ cīvaraṃ kāreti, tassa taṃ cīvaram kayiramānaṃ nassati.  tassa bhikkhuno nāsanantiko kaṭhinuddhāro. |2| 
อิทํ สงฺฆสฺส กถินทุสฺสํ อุปฺปนฺนํ.  สงฺโฆ อิมํ กถินทุสฺสํ อิตฺถนฺนามสฺส ภิกฺขุโน เทติ กถินํ อตฺถริตุํ.  ยสฺสายสฺมโต ขมติ อิมสฺส กถินทุสฺสสฺส อิตฺถนฺนามสฺส ภิกฺขุโน ทานํ กถินํ อตฺถริตุํ โส ตุณฺหสฺส  ยสฺส นกฺขมติ โส ภาเสยฺย.  “ทินฺนํ อิทํ สงฺเฆน กถินทุสฺสํ อิตฺถนฺนามสฺส ภิกฺขุโน กถินํ อตฺถริตุํ.  ขมติ สงฺฆสฺส ตสฺมา ตุณฺหี เอวเมตํ ธารยามี”ติ.  ๓๐๘. “เอวํ โข ภิกฺขเว อตฺถตํ โหติ กถินํ เอวํ อนตฺถตํ.  กถญฺจ ปน ภิกฺขเว อนตฺถตํ โหติ กถินํ? 
bhikkhu atthatakaṭhino disaṃgamiko pakkamati cīvaraṃ apacinayamāno ... ayan te āvuso cīvarapaṭiviso ’ti.  so taṃ cīvaraṃ ādāya taṃ āvāsaṃ gacchati, tassa taṃ āvāsaṃ gacchantassa evaṃ hoti: idh’ ev’ imaṃ cīvaraṃ kāressaṃ na paccessan ti, so taṃ cīvaraṃ kāreti.  tassa bhikkhuno niṭṭhānantiko kaṭhinuddhāro ... n’ ev’ imaṃ cīvaraṃ kāressaṃ na paccessan ti.  tassa bhikkhuno sanniṭṭhānantiko kaṭhinuddhāro ... idh’ ev’ imaṃ cīvaraṃ kāressaṃ na paccessan ti, so taṃ cīvaraṃ kāreti, tassa taṃ cīvaraṃ kayiramānaṃ nassati.  tassa bhikkhuno nāsanantiko kaṭhinuddhāro. |3| 
น อุลฺลิขิตมตฺเตน อตฺถตํ โหติ กถินํ น โธวนมตฺเตน อตฺถตํ โหติ กถินํ น จีวรวิจารณมตฺเตน อตฺถตํ โหติ กถินํ น เฉทนมตฺเตน อตฺถตํ โหติ กถินํ น พนฺธนมตฺเตน อตฺถตํ โหติ กถินํ น โอวฏฺฏิยกรณมตฺเตน อตฺถตํ โหติ กถินํ น กณฺฑุสกรณมตฺเตน อตฺถตํ โหติ กถินํ น ทฬฺหีกมฺมกรณมตฺเตน อตฺถตํ โหติ กถินํ น อนุวาตกรณมตฺเตน อตฺถตํ โหติ กถินํ น ปริภณฺฑกรณมตฺเตน อตฺถตํ โหติ กถินํ น โอวทฺเธยฺยกรณมตฺเตน อตฺถตํ โหติ กถินํ น กมฺพลมทฺทนมตฺเตน อตฺถตํ โหติ กถินํ น นิมิตฺตกเตน อตฺถตํ โหติ กถินํ น ปริกถากเตน อตฺถตํ โหติ กถินํ น กุกฺกุกเตน อตฺถตํ โหติ กถินํ น สนฺนิธิกเตน อตฺถตํ โหติ กถินํ น นิสฺสคฺคิเยน อตฺถตํ โหติ กถินํ น อกปฺปกเตน อตฺถตํ โหติ กถินํ น อญฺญตฺร สงฺฆาฏิยา อตฺถตํ โหติ กถินํ น อญฺญตฺร อุตฺตราสงฺเคน อตฺถตํ โหติ กถินํ น อญฺญตฺร อนฺตรวาสเกน อตฺถตํ โหติ กถินํ น อญฺญตฺร ปญฺจเกน วา อติเรกปญฺจเกน วา ตทเหว สญฺฉินฺเนน สมณฺฑลีกเตน อตฺถตํ โหติ กถินํ น อญฺญตฺร ปุคฺคลสฺส อตฺถารา อตฺถตํ โหติ กถินํ  สมฺมา เจว อตฺถตํ โหติ กถินํ ตญฺเจ นิสฺสีมฏฺโฐ อนุโมทติ เอวมฺปิ อนตฺถตํ โหติ กถินํ.  เอวํ โข ภิกฺขเว อนตฺถตํ โหติ กถินํ.  ๓๐๙. “กถญฺจ ภิกฺขเว อตฺถตํ โหติ กถินํ?  อหเตน อตฺถตํ โหติ กถินํ อหตกปฺเปน อตฺถตํ โหติ กถินํ ปิโลติกาย อตฺถตํ โหติ กถินํ ปํสุกูเลน อตฺถตํ โหติ กถินํ ปาปณิเกน อตฺถตํ โหติ กถินํ อนิมิตฺตกเตน อตฺถตํ โหติ กถินํ อปริกถากเตน อตฺถตํ โหติ กถินํ อกุกฺกุกเตน อตฺถตํ โหติ กถินํ อสนฺนิธิกเตน อตฺถตํ โหติ กถินํ อนิสฺสคฺคิเยน อตฺถตํ โหติ กถินํ กปฺปกเตน อตฺถตํ โหติ กถินํ สงฺฆาฏิยา อตฺถตํ โหติ กถินํ อุตฺตราสงฺเคน อตฺถตํ โหติ กถินํ อนฺตรวาสเกน อตฺถตํ โหติ กถินํ ปญฺจเกน วา อติเรกปญฺจเกน วา ตทเหว สญฺฉินฺเนน สมณฺฑลีกเตน อตฺถตํ โหติ กถินํ ปุคฺคลสฺส อตฺถารา อตฺถตํ โหติ กถินํ สมฺมา เจ อตฺถตํ โหติ กถินํ ตญฺเจ สีมฏฺโฐ อนุโมทติ เอวมฺปิ อตฺถตํ โหติ กถินํ 
||11|| 
เอวํ โข ภิกฺขเว อตฺถตํ โหติ กถินํ. 
apacinanavakaṃ niṭṭhitaṃ. 
๓๑๐. “กถญฺจ ภิกฺขเว อุพฺภตํ โหติ กถินํ? 
bhikkhu atthatakaṭhino phāsuvihāriko cīvaraṃ ādāya pakkamati amukaṃ nāma āvāsaṃ gamissāmi, tattha me phāsu bhavissati vasissāmi, no ce me phāsu bhavissati amukaṃ nāma āvāsaṃ gamissāmi, tattha me phāsu bhavissati vasissāmi, no ce me phāsu bhavissati amukaṃ nāma āvāsaṃ gamissāmi, tattha me phāsu bhavissati vasissāmi, no ce me phāsu bhavissati paccessan ti.  tassa bahisīmagatassa evaṃ hoti: idh’ ev’ imaṃ cīvaraṃ kāressaṃ na paccessan ti, so taṃ cīvaraṃ kāreti.  tassa bhikkhuno niṭṭhānantiko kaṭhinuddhāro.  bhikkhu atthatakaṭhino phāsuvihāriko ... paccessan ti.  tassa bahisīmagatassa evaṃ hoti: n’ ev’ imaṃ cīvaraṃ kāressaṃ na paccessan ti.  tassa bhikkhuno sanniṭṭhānantiko kaṭhinuddhāro.  bhikkhu atthatakaṭhino phāsuvihāriko ... paccessan ti.  tassa bahisīmagatassa evaṃ hoti: idh’ ev’ imaṃ cīvaraṃ kāressaṃ na paccessan ti, so taṃ cīvaraṃ kāreti, tassa taṃ cīvaraṃ kayiramānaṃ nassati.  tassa bhikkhuno nāsanantiko kaṭhinuddhāro.  bhikkhu atthatakaṭhino phāsuvihāriko ... paccessan ti.  so bahisīmagato taṃ cīvaraṃ kāreti, so katacīvaro paccessaṃ paccessan ti bahiddhā kaṭhinuddhāraṃ vītināmeti.  tassa bhikkhuno sī-(265)mātikkantiko kaṭhinuddhāro.  bhikkhu atthatakaṭhino phāsuvihāriko ... paccessan ti.  so bahisīmagato taṃ cīvaraṃ kāreti, so katacīvaro paccessaṃ paccessan ti sambhuṇāti kaṭhinuddhāraṃ.  tassa bhikkhuno saha bhikkhūhi kaṭhinuddhāro. |1| 
อฏฺฐิมา ภิกฺขเว มาติกา กถินสฺส อุพฺภาราย ปกฺกมนนฺติกา นิฏฺฐานนฺติกา สนฺนิฏฺฐานนฺติกา นาสนนฺติกา สวนนฺติกา อาสาวจฺเฉทิกา สีมาติกฺกนฺติกา สหุพฺภารา”ติ. (กถินานุชานนา นิฏฺฐิตา.)      (๑๘๘. อาทายสตฺตกํ) ๓๑๑. ภิกฺขุ อตฺถตกถิโน กตจีวรํ อาทาย ปกฺกมติ “น ปจฺเจสฺส”นฺติ.  ตสฺส ภิกฺขุโน ปกฺกมนนฺติโก กถินุทฺธาโร.  ภิกฺขุ อตฺถตกถิโน จีวรํ อาทาย ปกฺกมติ. ตสฺส พหิสีมคตสฺส เอวํ โหติ “อิเธวิมํ จีวรํ กาเรสฺสํ น ปจฺเจสฺส”นฺติ. โส ตํ จีวรํ กาเรติ.  ตสฺส ภิกฺขุโน นิฏฺฐานนฺติโก กถินุทฺธาโร.  ภิกฺขุ อตฺถตกถิโน จีวรํ อาทาย ปกฺกมติ. ตสฺส พหิสีมคตสฺส เอวํ โหติ “เนวิมํ จีวรํ กาเรสฺสํ น ปจฺเจสฺส”นฺติ.  ตสฺส ภิกฺขุโน สนฺนิฏฺฐานนฺติโก กถินุทฺธาโร.  ภิกฺขุ อตฺถตกถิโน จีวรํ อาทาย ปกฺกมติ. ตสฺส พหิสีมคตสฺส เอวํ โหติ “อิเธวิมํ จีวรํ กาเรสฺสํ น ปจฺเจสฺส”นฺติ. โส ตํ จีวรํ กาเรติ. ตสฺส ตํ จีวรํ กยิรมานํ นสฺสติ.  ตสฺส ภิกฺขุโน นาสนนฺติโก กถินุทฺธาโร.  ภิกฺขุ อตฺถตกถิโน จีวรํ อาทาย ปกฺกมติ “ปจฺเจสฺส”นฺติ. โส พหิสีมคโต ตํ จีวรํ กาเรติ. โส กตจีวโร สุณาติ “อุพฺภตํ กิร ตสฺมึ อาวาเส กถิน”นฺติ.  ตสฺส ภิกฺขุโน สวนนฺติโก กถินุทฺธาโร.  ภิกฺขุ อตฺถตกถิโน จีวรํ อาทาย ปกฺกมติ “ปจฺเจสฺส”นฺติ โส พหิสีมคโต ตํ จีวรํ กาเรติ. โส กตจีวโร “ปจฺเจสฺสํ ปจฺเจสฺส”นฺติ พหิทฺธา กถินุทฺธารํ วีตินาเมติ.  ตสฺส ภิกฺขุโน สีมาติกฺกนฺติโก กถินุทฺธาโร. 
||12|| 
ภิกฺขุ อตฺถตกถิโน จีวรํ อาทาย ปกฺกมติ “ปจฺเจสฺส”นฺติ. โส พหิสีมคโต ตํ จีวรํ กาเรติ. โส กตจีวโร “ปจฺเจสฺสํ ปจฺเจสฺส”นฺติ สมฺภุณาติ กถินุทฺธารํ. 
phāsuvihārapañcakaṃ niṭṭhitaṃ. 
ตสฺส ภิกฺขุโน สห ภิกฺขูหิ กถินุทฺธาโร. 
dve ’me bhikkhave kaṭhinassa palibodhā dve apalibodhā.  katame ca bhikkhave dve kaṭhinassa palibodhā.  āvāsapalibodho ca cīvarapalibodho ca.  kathañ ca bhikkhave āvāsapalibodho hoti.  idha bhikkhave bhikkhu vassati vātasmiṃ āvāse sāpekkho vā pakkamati paccessan ti.  evaṃ kho bhikkhave āvāsapalibodho hoti.  kathañ ca bhikkhave cīvarapalibodho hoti.  idha bhikkhave bhikkhuno cīvaraṃ akataṃ vā hoti vippakataṃ vā cīvarāsā vā anupacchinnā.  evaṃ kho bhikkhave cīvarapalibodho hoti.  ime kho bhikkhave dve kaṭhinassa palibodhā. |1| 
    อาทายสตฺตกํ นิฏฺฐิตํ.  (๑๘๙. สมาทายสตฺตกํ) ๓๑๒. ภิกฺขุ อตฺถตกถิโน กตจีวรํ สมาทาย ปกฺกมติ “น ปจฺเจสฺส”นฺติ.  ตสฺส ภิกฺขุโน ปกฺกมนนฺติโก กถินุทฺธาโร.  ภิกฺขุ อตฺถตกถิโน จีวรํ สมาทาย ปกฺกมติ. ตสฺส พหิสีมคตสฺส เอวํ โหติ “อิเธวิมํ จีวรํ กาเรสฺสํ น ปจฺเจสฺส”นฺติ. โส ตํ จีวรํ กาเรติ.  ตสฺส ภิกฺขุโน นิฏฺฐานนฺติโก กถินุทฺธาโร.  ภิกฺขุ อตฺถตกถิโน จีวรํ สมาทาย ปกฺกมติ. ตสฺส พหิสีมคตสฺส เอวํ โหติ “อิเธวิมํ จีวรํ กาเรสฺสํ น ปจฺเจสฺส”นฺติ.  ตสฺส ภิกฺขุโน สนฺนิฏฺฐานนฺติโก กถินุทฺธาโร.  ภิกฺขุ อตฺถตกถิโน จีวรํ สมาทาย ปกฺกมติ. ตสฺส พหิสีมคตสฺส เอวํ โหติ “อิเธวิมํ จีวรํ กาเรสฺสํ น ปจฺเจสฺส”นฺติ. โส ตํ จีวรํ กาเรติ. 
katame ca bhikkhave dve kaṭhinassa apalibodhā.  āvāsāpalibodho hoti.  idha bhikkhave kathañ ca bhikkhave āvāsāpalibodho hoti.  idha bhikkhave bhikkhu pakkamati tamhā āvāsā cattena vantena muttena anape kkhena na paccessan ti.  evaṃ kho bhikkhave āvāsaapalibodho hoti.  kathañ ca bhikkhave cīvarāpalibodho hoti.  idha bhikkhave bhikkhuno cīvaraṃ kataṃ vā hoti naṭṭhaṃ vā vinaṭṭhaṃ vā daḍḍhaṃ vā cīvarāsā vā upacchinnā.  evaṃ kho bhikkhave cīvarāpalibodho hoti.  ime kho bhikkhave dve kaṭhinassa apalibodhā ’ti. |2| 
ตสฺส ตํ จีวรํ กยิรมานํ นสฺสติ.  ตสฺส ภิกฺขุโน นาสนนฺติโก กถินุทฺธาโร.  ภิกฺขุ อตฺถตกถิโน จีวรํ สมาทาย ปกฺกมติ “ปจฺเจสฺส”นฺติ. โส พหิสีมคโต ตํ จีวรํ กาเรติ. โส กตจีวโร สุณาติ “อุพฺภตํ กิร ตสฺมึ อาวาเส กถิน”นฺติ.  ตสฺส ภิกฺขุโน สวนนฺติโก กถินุทฺธาโร.  ภิกฺขุ อตฺถตกถิโน จีวรํ สมาทาย ปกฺกมติ “ปจฺเจสฺส”นฺติ. โส พหิสีมคโต ตํ จีวรํ กาเรติ. โส กตจีวโร “ปจฺเจสฺสํ ปจฺเจสฺส”นฺติ พหิทฺธา กถินุทฺธารํ วีตินาเมติ.  ตสฺส ภิกฺขุโน สีมาติกฺกนฺติโก กถินุทฺธาโร.  ภิกฺขุ อตฺถตกถิโน จีวรํ สมาทาย ปกฺกมติ “ปจฺเจสฺส”นฺติ. โส พหิสีมคโต ตํ จีวรํ กาเรติ. โส กตจีวโร “ปจฺเจสฺสํ ปจฺเจสฺส”นฺติ สมฺภุณาติ กถินุทฺธารํ.  ตสฺส ภิกฺขุโน สห ภิกฺขูหิ กถินุทฺธาโร.   
||13|| 
 
kaṭhinakkhandhakaṃ sattamaṃ. 
สมาทายสตฺตกํ นิฏฺฐิตํ. 
imamhi khandhake vatthu doḷasa, peyyālamukhāni ekasataṃ aṭṭhārasa.  tassa uddānaṃ: tiṃsa Pāṭheyyakā bhikkhū Sāket’ ukkaṇṭhitā vasuṃ vassaṃ vutth’ okapuṇṇehi agamuṃ jinadassanaṃ. |  idaṃ vatthuṃ kaṭhinassa, kappiyan ti ca pañcakā: anāmantā asamācārā tath’ eva gaṇabhojanaṃ |  yāvadatthañ ca uppādo atthatānaṃ bhavissati. ñatti ev’ atthatañ c’ eva, evañ c’ eva anatthataṃ. |  ullikhi dhovanā c’ eva vicāraṇaṃ ca chedanaṃ bandhan’ ovaṭṭi kaṇḍu ca daḷhikamm’-ānuvātikā |  (266) paribhaṇḍaṃ ovaṭṭeyyaṃ maddanā nimitta-kathā kukku sannidhi nissaggi n’ akapp’ aññatra te tayo |  aññatra pañcātireke sañchinnena samaṇḍalī na aññatra puggalā, sammā nissīmaṭṭho anumodati, |  kaṭhinaṃ anatthataṃ hoti evaṃ buddhena desitaṃ. ahat’-ākappa-piloti-paṃsu-pāpaṇikāya ca |  animitt’-āparikathā akukku asannidhi ca anissaggi kappakate tathā ticīvarena ca |  pañcake vātireke vā chinna-samaṇḍalīkate puggalass’ atthārā, sammā sīmaṭṭho anumodati. |  evaṃ kaṭhinattharaṇaṃ. ubbhārass’ aṭṭha mātikā: pakkamananti niṭṭhānaṃ sanniṭṭhānañ ca nāsanaṃ |  savanaṃ āsāvacchedi sīmā saubbhār’ aṭṭhamī. katacīvaram ādāya na paccessan ti gacchati, |  tassa taṃ kaṭhinuddhāro hoti pakkamanantiko. ādāya cīvaraṃ yāti nissīme idha cintayi |  kāressaṃ na paccessan ti niṭṭhāne kaṭhinuddhāro. ādāya nissīmaṃ n’ eva na paccessan timānaso |  tassa taṃ kaṭhinuddhāro sanniṭṭhānantiko bhave. ādāya cīvaraṃ yāti nissīme idha cintayi |  kāressaṃ na paccessan ti kayiraṃ tassa nassati, tassa taṃ kaṭhinuddhāro bhavati nāsanantiko. |  ādāya yāti paccessaṃ bahi kāreti cīvaraṃ cīvarakato suṇāti ubbhataṃ kaṭhinaṃ tahiṃ, |  tassa taṃ kaṭhinuddhāro bhavati savanantiko. ādāya yāti paccessaṃ bahi kāreti cīvaraṃ |  katacīvaro bahiddhā nāmeti kaṭhinuddhāraṃ, tassa taṃ kaṭhinuddhāro sīmātikkantiko bhave. |  ādāya yāti paccessaṃ bahi kāreti cīvaraṃ katacīvaro paccessaṃ sambhoti kaṭhinuddhāraṃ, |  tassa taṃ kaṭhinuddhāro saha bhikkhūhi jāyati. ādāya samādāya ca sattasattavidhi gati. |  pakkamanantikā n’ atthi chaccā vippakatā gati. ādāya nissīmagataṃ kāressaṃ iti jāyati |  niṭṭhānaṃ sanniṭṭhānañ ca nāsanañ ca ime tayo. ādāya na paccessan ti bahisīme karomiti |  niṭṭhānaṃ sanniṭṭhānam pi nāsanam pi idaṃ tayo. anadhiṭṭhitena n’ ev’ assa heṭṭhā {tīṇi} nayā vidhi. |  (267) ādāya yāti paccessaṃ bahisīme karomiti na paccessan ti kāreti, niṭṭhāne kaṭhinuddhāro |  sanniṭṭhānaṃ nāsanañ ca savana-sīmātikkamā saha bhikkhūhi jāyetha, evaṃ pannarasaṃ gati. |  samādāya, vippakatā, samādāya punā tathā, ime te caturo vārā sabbe pannarasa vidhi. |  anāsāya ca, āsāya, karaṇīyo ca te tayo, nayato taṃ vijāneyya tayo dvādasa-dvādasa. |  apacinanā nav’ ettha, phāsu pañcavidhā tahiṃ, palibodh’-āpalibodhā, uddānaṃ nayato katan ti. 
(๑๙๐. อาทายฉกฺกํ) ๓๑๓. ภิกฺขุ อตฺถตกถิโน วิปฺปกตจีวรํ อาทาย ปกฺกมติ. ตสฺส พหิสีมคตสฺส เอวํ โหติ “อิเธวิมํ จีวรํ กาเรสฺสํ น ปจฺเจสฺส”นฺติ. โส ตํ จีวรํ กาเรติ.  ตสฺส ภิกฺขุโน นิฏฺฐานนฺติโก กถินุทฺธาโร. ภิกฺขุ อตฺถตกถิโน วิปฺปกตจีวรํ อาทาย ปกฺกมติ. ตสฺส พหิสีมคตสฺส เอวํ โหติ “เนวิมํ จีวรํ กาเรสฺสํ น ปจฺเจสฺส”นฺติ. ตสฺส ภิกฺขุโน สนฺนิฏฺฐานนฺติโก กถินุทฺธาโร. ภิกฺขุ อตฺถตกถิโน วิปฺปกตจีวรํ อาทาย ปกฺกมติ. ตสฺส พหิสีมคตสฺส เอวํ โหติ “อิเธวิมํ จีวรํ กาเรสฺสํ น ปจฺเจสฺส”นฺติ. โส ตํ จีวรํ กาเรติ. ตสฺสํ ตํ จีวรํ กยิรมานํ นสฺสติ. ตสฺส ภิกฺขุโน นาสนนฺติโก กถินุทฺธาโร. ภิกฺขุ อตฺถตกถิโน วิปฺปกตจีวรํ อาทาย ปกฺกมติ “ปจฺเจสฺส”นฺติ. โส พหิสีมคโต ตํ จีวรํ กาเรติ. โส กตจีวโร สุณาติ “อุพฺภตํ กิร ตสฺมึ อาวาเส กถิน”นฺติ. ตสฺส ภิกฺขุโน สวนนฺติโก กถินุทฺธาโร. ภิกฺขุ อตฺถตกถิโน วิปฺปกตจีวรํ อาทาย ปกฺกมติ “ปจฺเจสฺส”นฺติ. โส พหิสีมคโต ตํ จีวรํ กาเรติ. โส กตจีวโร “ปจฺเจสฺสํ ปจฺเจสฺส”นฺติ พหิทฺธา กถินุทฺธารํ วีตินาเมติ. ตสฺส ภิกฺขุโน สีมาติกฺกนฺติโก กถินุทฺธาโร. ภิกฺขุ อตฺถตกถิโน วิปฺปกตจีวรํ อาทาย ปกฺกมติ “ปจฺเจสฺส”นฺติ. โส พหิสีมคโต ตํ จีวรํ กาเรติ. โส กตจีวโร “ปจฺเจสฺสํ ปจฺเจสฺส”นฺติ สมฺภุณาติ กถินุทฺธารํ. ตสฺส ภิกฺขุโน สห ภิกฺขูหิ กถินุทฺธาโร.      อาทายฉกฺกํ นิฏฺฐิตํ.  (๑๙๑. สมาทายฉกฺกํ) ๓๑๔. ภิกฺขุ อตฺถตกถิโน วิปฺปกตจีวรํ สมาทาย ปกฺกมติ. ตสฺส พหิสีมคตสฺส เอวํ โหติ “อิเธวิมํ จีวรํ กาเรสฺสํ น ปจฺเจสฺส”นฺติ. โส ตํ จีวรํ กาเรติ.  ตสฺส ภิกฺขุโน นิฏฺฐานนฺติโก กถินุทฺธาโร. ภิกฺขุ อตฺถตกถิโน วิปฺปกตจีวรํ สมาทาย ปกฺกมติ. ตสฺส พหิสีมคตสฺส เอวํ โหติ “เนวิมํ จีวรํ กาเรสฺสํ น ปจฺเจสฺส”นฺติ. ตสฺส ภิกฺขุโน สนฺนิฏฺฐานนฺติโก กถินุทฺธาโร. ภิกฺขุ อตฺถตกถิโน วิปฺปกตจีวรํ สมาทาย ปกฺกมติ. ตสฺส พหิสีมคตสฺส เอวํ โหติ “อิเธวิมํ จีวรํ กาเรสฺสํ น ปจฺเจสฺส”นฺติ. โส ตํ จีวรํ กาเรติ. ตสฺส ตํ จีวรํ กยิรมานํ นสฺสติ. ตสฺส ภิกฺขุโน นาสนนฺติโก กถินุทฺธาโร. ภิกฺขุ อตฺถตกถิโน วิปฺปกตจีวรํ สมาทาย ปกฺกมติ “ปจฺเจสฺส”นฺติ. โส พหิสีมคโต ตํ จีวรํ กาเรติ. โส กตจีวโร สุณาติ “อุพฺภตํ กิร ตสฺมึ อาวาเส กถิน”นฺติ. ตสฺส ภิกฺขุโน สวนนฺติโก กถินุทฺธาโร. ภิกฺขุ อตฺถตกถิโน วิปฺปกตจีวรํ สมาทาย ปกฺกมติ “ปจฺเจสฺส”นฺติ. โส พหิสีมคโต ตํ จีวรํ กาเรติ. โส กตจีวโร “ปจฺเจสฺสํ ปจฺเจสฺส”นฺติ พหิทฺธา กถินุทฺธารํ วีตินาเมติ. ตสฺส ภิกฺขุโน สีมาติกฺกนฺติโก กถินุทฺธาโร. ภิกฺขุ อตฺถตกถิโน วิปฺปกตจีวรํ สมาทาย ปกฺกมติ “ปจฺเจสฺส”นฺติ. โส พหิสีมคโต ตํ จีวรํ กาเรติ. โส กตจีวโร “ปจฺเจสฺสํ ปจฺเจสฺส”นฺติ สมฺภุณาติ กถินุทฺธารํ. ตสฺส ภิกฺขุโน สห ภิกฺขูหิ กถินุทฺธาโร.      สมาทายฉกฺกํ นิฏฺฐิตํ.  (๑๙๒. อาทายปนฺนรสกํ) ๓๑๕. ภิกฺขุ อตฺถตกถิโน จีวรํ อาทาย ปกฺกมติ. ตสฺส พหิสีมคตสฺส เอวํ โหติ “อิเธวิมํ จีวรํ กาเรสฺสํ น ปจฺเจสฺส”นฺติ. โส ตํ จีวรํ กาเรติ.  ตสฺส ภิกฺขุโน นิฏฺฐานนฺติโก กถินุทฺธาโร.  ภิกฺขุ อตฺถตกถิโน จีวรํ อาทาย ปกฺกมติ. ตสฺส พหิสีมคตสฺส เอวํ โหติ “เนวิมํ จีวรํ กาเรสฺสํ น ปจฺเจสฺส”นฺติ.  ตสฺส ภิกฺขุโน สนฺนิฏฺฐานนฺติโก กถินุทฺธาโร.  ภิกฺขุ อตฺถตกถิโน จีวรํ อาทาย ปกฺกมติ. ตสฺส พหิสีมคตสฺส เอวํ โหติ “อิเธวิมํ จีวรํ กาเรสฺสํ น ปจฺเจสฺส”นฺติ. โส ตํ จีวรํ กาเรติ.  ตสฺส ตํ จีวรํ กยิรมานํ นสฺสติ.  ตสฺส ภิกฺขุโน นาสนนฺติโก กถินุทฺธาโร. (ติกํ.)  ภิกฺขุ อตฺถตกถิโน จีวรํ อาทาย ปกฺกมติ “น ปจฺเจสฺส”นฺติ. ตสฺส พหิสีมคตสฺส เอวํ โหติ “อิเธวิมํ จีวรํ กาเรสฺส”นฺติ. โส ตํ จีวรํ กาเรติ.  ตสฺส ภิกฺขุโน นิฏฺฐานนฺติโก กถินุทฺธาโร.  ภิกฺขุ อตฺถตกถิโน จีวรํ อาทาย ปกฺกมติ “น ปจฺเจสฺส”นฺติ. ตสฺส พหิสีมคตสฺส เอวํ โหติ “เนวิมํ จีวรํ กาเรสฺส”นฺติ.  ตสฺส ภิกฺขุโน สนฺนิฏฺฐานนฺติโก กถินุทฺธาโร.  ภิกฺขุ อตฺถตกถิโน จีวรํ อาทาย ปกฺกมติ “น ปจฺเจสฺส”นฺติ. ตสฺส พหิสีมคตสฺส เอวํ โหติ “อิเธวิมํ จีวรํ กาเรสฺส”นฺติ โส ตํ จีวรํ กาเรติ. ตสฺส ตํ จีวรํ กยิรมานํ นสฺสติ.  ตสฺส ภิกฺขุโน นาสนนฺติโก กถินุทฺธาโร. (ติกํ.)  ภิกฺขุ อตฺถตกถิโน จีวรํ อาทาย ปกฺกมติ อนธิฏฺฐิเตน เนวสฺส โหติ “ปจฺเจสฺส”นฺติ น ปนสฺส โหติ “น ปจฺเจสฺส”นฺติ. ตสฺส พหิสีมคตสฺส เอวํ โหติ “อิเธวิมํ จีวรํ กาเรสฺสํ น ปจฺเจสฺส”นฺติ. โส ตํ จีวรํ กาเรติ.  ตสฺส ภิกฺขุโน นิฏฺฐานนฺติโก กถินุทฺธาโร.  ภิกฺขุ อตฺถตกถิโน จีวรํ อาทาย ปกฺกมติ อนธิฏฺฐิเตน เนวสฺส โหติ “ปจฺเจสฺส”นฺติ น ปนสฺส โหติ “น ปจฺเจสฺส”นฺติ. ตสฺส พหิสีมคตสฺส เอวํ โหติ “เนวิมํ จีวรํ กาเรสฺสํ น ปจฺเจสฺส”นฺติ.  ตสฺส ภิกฺขุโน สนฺนิฏฺฐานนฺติโก กถินุทฺธาโร.  ภิกฺขุ อตฺถตกถิโน จีวรํ อาทาย ปกฺกมติ อนธิฏฺฐิเตน เนวสฺส โหติ “ปจฺเจสฺส”นฺติ น ปนสฺส โหติ “น ปจฺเจสฺส”นฺติ ตสฺส พหิสีมคตสฺส เอวํ โหติ “อิเธวิมํ จีวรํ กาเรสฺสํ น ปจฺเจสฺส”นฺติ. โส ตํ จีวรํ กาเรติ. ตสฺส ตํ จีวรํ กยิรมานํ นสฺสติ.  ตสฺส ภิกฺขุโน นาสนนฺติโก กถินุทฺธาโร. (ติกํ.) 
(268) Tena samayena buddho bhagavā Rājagahe viharati Veḷuvane Kalandakanivāpe.  tena kho pana samayena Vesālī iddhā c’ eva hoti phītā ca bahujanā ākiṇṇamanussā subhikkhā ca, satta ca pāsādasahassāni satta ca pāsādasatāni satta ca pāsādā satta ca kūṭāgārasahassāni satta ca kūṭāgārasatāni satta ca kūṭāgārāni satta ca ārāmasahassāni sata ca ārāmasatāni satta ca ārāmā satta ca pokkharaṇīsahassāni sata ca pokkharaṇīsatāni satta ca pokkharaṇiyo.  Ambapālikā gaṇikā abhirūpā hoti dassanīyā pāsādikā paramāya vaṇṇapokkharatāya samannāgatā padakkhiṇā nacce ca gīte ca vādite ca abhisaṭā atthikānaṃ-atthikānaṃ manussānaṃ paññāsāya ca rattiṃ gacchati tāya ca Vesālī bhiyyosomattāya upasobhati. |1| 
ภิกฺขุ อตฺถตกถิโน จีวรํ อาทาย ปกฺกมติ “ปจฺเจสฺส”นฺติ. ตสฺส พหิสีมคตสฺส เอวํ โหติ “อิเธวิมํ จีวรํ กาเรสฺสํ น ปจฺเจสฺส”นฺติ. โส ตํ จีวรํ กาเรติ.  ตสฺส ภิกฺขุโน นิฏฺฐานนฺติโก กถินุทฺธาโร.  ภิกฺขุ อตฺถตกถิโน จีวรํ อาทาย ปกฺกมติ “ปจฺเจสฺส”นฺติ. ตสฺส พหิสีมคตสฺส เอวํ โหติ “เนวิมํ จีวรํ กาเรสฺสํ น ปจฺเจสฺส”นฺติ. 
atha kho Rājagahako negamo Vesāliṃ agamāsi kenacid eva karaṇīyena.  addasa kho Rājagahako negamo Vesāliṃ iddhaṃ ca phītaṃ ca bahujanaṃ ākiṇṇamanussaṃ subhikkhaṃ ca satta ca pāsādasahassāni ... satta ca pokkharaṇiyo Ambapāliṃ ca gaṇikaṃ abhirūpaṃ dassanīyaṃ pāsādikaṃ ... upasobhitan ti.  atha kho Rājagahako negamo Vesāliyaṃ taṃ karaṇīyaṃ tīretvā punad eva Rājagahaṃ paccāgacchi, yena rājā Māgadho Seniyo Bimbisāro ten’ upasaṃkami, upasaṃkamitvā rājānaṃ Māgadhaṃ Seniyaṃ Bimbisāraṃ etad avoca: Vesālī deva iddhā ca phītā ca ... upasobhati.  sādhu deva mayam pi gaṇikaṃ vuṭṭhāpeyyāmā ’ti.  tena hi bhaṇe tādisiṃ kumāriṃ jānāhi yaṃ tumhe gaṇikaṃ vuṭṭhāpeyyāthā ’ti. |2| 
ตสฺส ภิกฺขุโน สนฺนิฏฺฐานนฺติโก กถินุทฺธาโร.  ภิกฺขุ อตฺถตกถิโน จีวรํ อาทาย ปกฺกมติ “ปจฺเจสฺส”นฺติ. ตสฺส พหิสีมคตสฺส เอวํ โหติ “อิเธวิมํ จีวรํ กาเรสฺสํ น ปจฺเจสฺส”นฺติ. โส ตํ จีวรํ กาเรติ. ตสฺส ตํ จีวรํ กยิรมานํ นสฺสติ.  ตสฺส ภิกฺขุโน นาสนนฺติโก กถินุทฺธาโร.  ภิกฺขุ อตฺถตกถิโน จีวรํ อาทาย ปกฺกมติ “ปจฺเจสฺส”นฺติ. โส พหิสีมคโต ตํ จีวรํ กาเรติ. โส กตจีวโร สุณาติ “อุพฺภตํ กิร ตสฺมึ อาวาเส กถิน”นฺติ.  ตสฺส ภิกฺขุโน สวนนฺติโก กถินุทฺธาโร. 
tena kho pana samayena Rājagahe Sālavatī nāma kumārī abhirūpā hoti dassanīyā pāsādikā paramāya vaṇṇapokkharatāya samannāgatā.  atha kho Rājagahako negamo Sālavatiṃ kumāriṃ (269) gaṇikaṃ vuṭṭhāpesi.  atha kho Sālavatī gaṇikā na cirass’ eva padakkhiṇā ahosi nacce ca gīte ca vādite ca abhisaṭā atthikānaṃ-atthikānaṃ manussānaṃ paṭisatena ca rattiṃ gacchati.  atha kho Sālavatī gaṇikā na cirass’ eva gabbhinī ahosi.  atha kho Sālavatiyā gaṇikāya etad ahosi: itthi kho gabbhinī purisānaṃ amanāpā.  sace maṃ koci jānissati Sālavatī gaṇikā gabbhinīti sabbo me sakkāro parihāyissati.  yaṃ nūnāhaṃ gilānā ’ti paṭivedeyyan ti.  atha kho Sālavatī gaṇikā dovārikaṃ āṇāpesi: mā bhaṇe dovārika koci puriso pāvisi, yo ca maṃ pucchati gilānā ’ti paṭivedehīti.  evaṃ ayye ’ti kho so dovāriko Sālavatiyā gaṇikāya paccassosi. |3| 
ภิกฺขุ อตฺถตกถิโน จีวรํ อาทาย ปกฺกมติ “ปจฺเจสฺส”นฺติ. โส พหิสีมคโต ตํ จีวรํ กาเรติ. โส กตจีวโร “ปจฺเจสฺสํ ปจฺเจสฺส”นฺติ พหิทฺธา กถินุทฺธารํ วีตินาเมติ.  ตสฺส ภิกฺขุโน สีมาติกฺกนฺติโก กถินุทฺธาโร.  ภิกฺขุ อตฺถตกถิโน จีวรํ อาทาย ปกฺกมติ “ปจฺเจสฺส”นฺติ. โส พหิสีมคโต ตํ จีวรํ กาเรติ. โส กตจีวโร “ปจฺเจสฺสํ ปจฺเจสฺส”นฺติ สมฺภุณาติ กถินุทฺธารํ.  ตสฺส ภิกฺขุโน สห ภิกฺขูหิ กถินุทฺธาโร. (ฉกฺกํ.)(อาทายปนฺนรสกํ นิฏฺฐิตํ.)      (๑๙๓. สมาทายปนฺนรสกาทิ) ๓๑๖. ภิกฺขุ อตฺถตกถิโน จีวรํ สมาทาย ปกฺกมติฯเปฯ. (อาทายวารสทิสํ ๐๓๓๙เอวํ วิตฺถาเรตพฺพํ.) ภิกฺขุ อตฺถตกถิโน วิปฺปกตจีวรํ อาทาย ปกฺกมติ. ตสฺส พหิสีมคตสฺส เอวํ โหติ “อิเธวิมํ จีวรํ กาเรสฺสํ น ปจฺเจสฺส”นฺติ. โส ตํ จีวรํ กาเรติ. ตสฺส ภิกฺขุโน นิฏฺฐานนฺติโก กถินุทฺธาโรฯเปฯ. (สมาทายวารสทิสํ เอวํ วิตฺถาเรตพฺพํ.) สมาทายปนฺนรสกาทิ นิฏฺฐิตา. ๑๙๔. วิปฺปกตสมาทายปนฺนรสกํ ๓๑๗. ภิกฺขุ อตฺถตกถิโน วิปฺปกตจีวรํ สมาทาย ปกฺกมติ. ตสฺส พหิสีมคตสฺส เอวํ โหติ “อิเธวิมํ จีวรํ กาเรสฺสํ น ปจฺเจสฺส”นฺติ. โส ตํ จีวรํ กาเรติ. ตสฺส ภิกฺขุโน นิฏฺฐานนฺติโก กถินุทฺธาโร. ภิกฺขุ อตฺถตกถิโน วิปฺปกตจีวรํ สมาทาย ปกฺกมติ. ตสฺส พหิสีมคตสฺส เอวํ โหติ “เนวิมํ จีวรํ กาเรสฺสํ น ปจฺเจสฺส”นฺติ. ตสฺส ภิกฺขุโน สนฺนิฏฺฐานนฺติโก กถินุทฺธาโร. ภิกฺขุ อตฺถตกถิโน วิปฺปกตจีวรํ สมาทาย ปกฺกมติ. ตสฺส พหิสีมคตสฺส เอวํ โหติ “อิเธวิมํ จีวรํ กาเรสฺสํ น ปจฺเจสฺส”นฺติ. โส ตํ จีวรํ กาเรติ. ตสฺส ตํ จีวรํ กยิรมานํ นสฺสติ. ตสฺส ภิกฺขุโน นาสนนฺติโก กถินุทฺธาโร. ติกํ. ภิกฺขุ อตฺถตกถิโน วิปฺปกตจีวรํ สมาทาย ปกฺกมติ “น ปจฺเจสฺส”นฺติ. ตสฺส พหิสีมคตสฺส เอวํ โหติ “อิเธวิมํ จีวรํ กาเรสฺส”นฺติ. โส ตํ จีวรํ กาเรติ. ตสฺส ภิกฺขุโน นิฏฺฐานนฺติโก กถินุทฺธาโร. ภิกฺขุ อตฺถตกถิโน วิปฺปกตจีวรํ สมาทาย ปกฺกมติ “น ปจฺเจสฺส”นฺติ. ตสฺส พหิสีมคตสฺส เอวํ โหติ “เนวิมํ จีวรํ กาเรสฺส”นฺติ. ตสฺส ภิกฺขุโน สนฺนิฏฺฐานนฺติโก กถินุทฺธาโร. ภิกฺขุ อตฺถตกถิโน วิปฺปกตจีวรํ สมาทาย ปกฺกมติ “น ปจฺเจสฺส”นฺติ. ตสฺส พหิสีมคตสฺส เอวํ โหติ “อิเธวิมํ จีวรํ กาเรสฺส”นฺติ. โส ตํ จีวรํ กาเรติ. ตสฺส ตํ จีวรํ กยิรมานํ นสฺสติ. ตสฺส ภิกฺขุโน นาสนนฺติโก กถินุทฺธาโร. ติกํ. ภิกฺขุ อตฺถตกถิโน วิปฺปกตจีวรํ สมาทาย ปกฺกมติ อนธิฏฺฐิเตน เนวสฺส โหติ “ปจฺเจสฺส”นฺติ น ปนสฺส โหติ “น ปจฺเจสฺส”นฺติ. ตสฺส พหิสีมคตสฺส เอวํ โหติ “อิเธวิมํ จีวรํ กาเรสฺสํ น ปจฺเจสฺส”นฺติ. โส ตํ จีวรํ กาเรติ. ตสฺส ภิกฺขุโน นิฏฺฐานนฺติโก กถินุทฺธาโร. ภิกฺขุ อตฺถตกถิโน วิปฺปกตจีวรํ สมาทาย ปกฺกมติ อนธิฏฺฐิเตน เนวสฺส โหติ “ปจฺเจสฺส”นฺติ น ปนสฺส โหติ “น ปจฺเจสฺส”นฺติ. ตสฺส พหิสีมคตสฺส เอวํ โหติ “เนวิมํ จีวรํ กาเรสฺสํ น ปจฺเจสฺส”นฺติ. ตสฺส ภิกฺขุโน สนฺนิฏฺฐานนฺติโก กถินุทฺธาโร. ภิกฺขุ อตฺถตกถิโน วิปฺปกตจีวรํ สมาทาย ปกฺกมติ อนธิฏฺฐิเตน เนวสฺส โหติ “ปจฺเจสฺส”นฺติ น ปนสฺส โหติ “น ปจฺเจสฺส”นฺติ. ตสฺส พหิสีมคตสฺส เอวํ โหติ “อิเธวิมํ จีวรํ กาเรสฺสํ น ปจฺเจสฺส”นฺติ. โส ตํ จีวรํ กาเรติ. ตสฺส ตํ จีวรํ กยิรมานํ นสฺสติ. ตสฺส ภิกฺขุโน นาสนนฺติโก กถินุทฺธาโร. ติกํ. ภิกฺขุ อตฺถตกถิโน วิปฺปกตจีวรํ สมาทาย ปกฺกมติ “ปจฺเจสฺส”นฺติ. ตสฺส พหิสีมคตสฺส เอวํ โหติ “อิเธวิมํ จีวรํ กาเรสฺสํ น ปจฺเจสฺส”นฺติ. โส ตํ จีวรํ กาเรติ. ตสฺส ภิกฺขุโน นิฏฺฐานนฺติโก กถินุทฺธาโร. ภิกฺขุ อตฺถตกถิโน วิปฺปกตจีวรํ สมาทาย ปกฺกมติ “ปจฺเจสฺส”นฺติ. ตสฺส พหิสีมคตสฺส เอวํ โหติ “เนวิมํ จีวรํ กาเรสฺสํ น ปจฺเจสฺส”นฺติ. ตสฺส ภิกฺขุโน สนฺนิฏฺฐานนฺติโก กถินุทฺธาโร. ภิกฺขุ อตฺถตกถิโน วิปฺปกตจีวรํ สมาทาย ปกฺกมติ “ปจฺเจสฺส”นฺติ. ตสฺส พหิสีมคตสฺส เอวํ โหติ “อิเธวิมํ จีวรํ กาเรสฺสํ น ปจฺเจสฺส”นฺติ โส ตํ จีวรํ กาเรติ. ตสฺส ตํ จีวรํ กยิรมานํ นสฺสติ. ตสฺส ภิกฺขุโน นาสนนฺติโก กถินุทฺธาโร. ภิกฺขุ อตฺถตกถิโน วิปฺปกตจีวรํ สมาทาย ปกฺกมติ “ปจฺเจสฺส”นฺติ. โส พหิสีมคโต ตํ จีวรํ กาเรติ. โส กตจีวโร สุณาติ “อุพฺภตํ กิร ตสฺมึ อาวาเส กถิน”นฺติ. ตสฺส ภิกฺขุโน สวนนฺติโก กถินุทฺธาโร. ภิกฺขุ อตฺถตกถิโน วิปฺปกตจีวรํ สมาทาย ปกฺกมติ “ปจฺเจสฺส”นฺติ. โส พหิสีมคโต ตํ จีวรํ กาเรติ. โส กตจีวโร “ปจฺเจสฺสํ ปจฺเจสฺส”นฺติ พหิทฺธา กถินุทฺธารํ วีตินาเมติ. ตสฺส ภิกฺขุโน สีมาติกฺกนฺติโก กถินุทฺธาโร. ภิกฺขุ อตฺถตกถิโน วิปฺปกตจีวรํ สมาทาย ปกฺกมติ “ปจฺเจสฺส”นฺติ. โส พหิสีมคโต ตํ จีวรํ กาเรติ. โส กตจีวโร “ปจฺเจสฺสํ ปจฺเจสฺส”นฺติ สมฺภุณาติ กถินุทฺธารํ. ตสฺส ภิกฺขุโน สห ภิกฺขูหิ กถินุทฺธาโร.(ฉกฺกํ.)     
atha kho Sālavatī gaṇikā tassa gabbhassa paripākaṃ anvāya puttaṃ vijāyi.  atha kho Sālavatī gaṇikā dāsiṃ āṇāpesi: handa je imaṃ dārakaṃ kattarasuppe pakkhipitvā nīharitvā saṃkārakūṭe chaḍḍehīti.  evaṃ ayye ’ti kho sā dāsī Sālavatiyā gaṇikāya paṭisuṇitvā taṃ dārakaṃ kattarasuppe pakkhipitvā nīharitvā saṃkārakūṭe chaḍḍesi.  tena kho pana samayena Abhayo nāma rājakumāro kālass’ eva rājupaṭṭhānaṃ gacchanto addasa taṃ dārakaṃ kākehi samparikiṇṇaṃ, disvāna manusse pucchi kiṃ etaṃ bhaṇe kākehi samparikiṇṇan ti.  dārako devā ’ti.  jīvati bhaṇe ’ti.  jīvati devā ’ti.  tena hi bhaṇe taṃ dārakaṃ amhākaṃ antepuraṃ netvā dhātīnaṃ detha posetun ti.  evaṃ devā ’ti kho te manussā Abhayassa rājakumārassa paṭisuṇitvā taṃ dārakaṃ Abhayassa rājakumārassa antepuraṃ netvā dhātīnaṃ adaṃsu posethā ’ti.  tassa jīvatīti Jīvako ’ti nāmaṃ akaṃsu, kumārena posāpito ’ti Komārabhacco ’ti nāmaṃ akaṃsu. |4| 
วิปฺปกตสมาทายปนฺนรสกํ นิฏฺฐิตํ.  (อาทายภาณวาโร. ๑๙๕. อนาสาโทฬสกํ) ๓๑๘. ภิกฺขุ อตฺถตกถิโน จีวราสาย ปกฺกมติ. โส พหิสีมคโต ตํ จีวราสํ ปยิรุปาสติ. อนาสาย ลภติ อาสาย น ลภติ. ตสฺส เอวํ โหติ “อิเธวิมํ จีวรํ กาเรสฺสํ น ปจฺเจสฺส”นฺติ. โส ตํ จีวรํ กาเรติ.  ตสฺส ภิกฺขุโน นิฏฺฐานนฺติโก กถินุทฺธาโร.  ภิกฺขุ อตฺถตกถิโน จีวราสาย ปกฺกมติ. โส พหิสีมคโต ตํ จีวราสํ ปยิรุปาสติ. อนาสาย ลภติ อาสาย น ลภติ. ตสฺส เอวํ โหติ “เนวิมํ จีวรํ กาเรสฺสํ น ปจฺเจสฺส”นฺติ.  ตสฺส ภิกฺขุโน สนฺนิฏฺฐานนฺติโก กถินุทฺธาโร. ภิกฺขุ อตฺถตกถิโน จีวราสาย ปกฺกมติ. โส พหิสีมคโต ตํ จีวราสํ ปยิรุปาสติ. อนาสาย ลภติ อาสาย น ลภติ. ตสฺส เอวํ โหติ “อิเธวิมํ จีวรํ กาเรสฺสํ น ปจฺเจสฺส”นฺติ. โส ตํ จีวรํ กาเรติ.  ตสฺส ตํ จีวรํ กยิรมานํ นสฺสติ. ตสฺส ภิกฺขุโน นาสนนฺติโก กถินุทฺธาโร.  ภิกฺขุ อตฺถตกถิโน จีวราสาย ปกฺกมติ. ตสฺส พหิสีมคตสฺส เอวํ โหติ “อิเธวิมํ จีวราสํ ปยิรุปาสิสฺสํ น ปจฺเจสฺส”นฺติ. โส ตํ จีวราสํ ปยิรุปาสติ. ตสฺส สา จีวราสา อุปจฺฉิชฺชติ  ตสฺส ภิกฺขุโน อาสาวจฺเฉทิโก กถินุทฺธาโร.  ภิกฺขุ อตฺถตกถิโน จีวราสาย ปกฺกมติ “น ปจฺเจสฺส”นฺติ. โส พหิสีมคโต ตํ จีวราสํ ปยิรุปาสติ. อนาสาย ลภติ อาสาย น ลภติ. ตสฺส เอวํ โหติ “อิเธวิมํ จีวรํ กาเรสฺส”นฺติ. โส ตํ จีวรํ กาเรติ.  ตสฺส ภิกฺขุโน นิฏฺฐานนฺติโก กถินุทฺธาโร. 
atha kho Jīvako Komārabhacco na cirass’ eva viññutaṃ pāpuṇi.  atha kho Jīvako Komārabhacco yena Abhayo rājakumāro ten’ upasaṃkami, upasaṃkamitvā Abhayaṃ rājakumāraṃ etad avoca: kā me deva mātā ko pitā ’ti.  aham pi kho te bhaṇe Jīvaka mātaraṃ na jānāmi, api cāhaṃ te pitā, mayāpi posāpito ’ti.  atha kho Jīvakassa Komārabhaccassa etad ahosi: imāni kho rājakulāni na sukarāni asippena upajīvituṃ.  yaṃ nūnāhaṃ sippaṃ sikkheyyan ti.  tena kho pana samayena Takkasilāyaṃ disāpāmokkho vejjo paṭivasati. |5| 
ภิกฺขุ อตฺถตกถิโน จีวราสาย ปกฺกมติ “น ปจฺเจสฺส”นฺติ. โส พหิสีมคโต ตํ จีวราสํ ปยิรุปาสติ. อนาสาย ลภติ อาสาย น ลภติ. ตสฺส เอวํ โหติ “เนวิมํ จีวรํ กาเรสฺส”นฺติ.  ตสฺส ภิกฺขุโน สนฺนิฏฺฐานนฺติโก กถินุทฺธาโร. ภิกฺขุ อตฺถตกถิโน จีวราสาย ปกฺกมติ “น ปจฺเจสฺส”นฺติ. โส พหิสีมคโต ตํ จีวราสํ ปยิรุปาสติ. อนาสาย ลภติ อาสาย น ลภติ. ตสฺส เอวํ โหติ “อิเธวิมํ จีวรํ กาเรสฺส”นฺติ. โส ตํ จีวรํ กาเรติ. ตสฺส ตํ จีวรํ กยิรมานํ นสฺสติ.  ตสฺส ภิกฺขุโน นาสนนฺติโก กถินุทฺธาโร.  ภิกฺขุ อตฺถตกถิโน จีวราสาย ปกฺกมติ “น ปจฺเจสฺส”นฺติ. ตสฺส พหิสีมคตสฺส เอวํ โหติ “อิเธวิมํ จีวราสํ ปยิรุปาสิสฺส”นฺติ. โส ตํ จีวราสํ ปยิรุปาสติ ตสฺส สา จีวราสา อุปจฺฉิชฺชติ.  ตสฺส ภิกฺขุโน อาสาวจฺเฉทิโก กถินุทฺธาโร.  ภิกฺขุ อตฺถตกถิโน จีวราสาย ปกฺกมติ อนธิฏฺฐิเตน เนวสฺส โหติ “ปจฺเจสฺสนฺติ น ปนสฺส โหติ “น ปจฺเจสฺส”นฺติ. โส พหิสีมคโต ตํ จีวราสํ ปยิรุปาสติ. อนาสาย ลภติ อาสาย น ลภติ. ตสฺส เอวํ โหติ “อิเธวิมํ จีวรํ กาเรสฺสํ น ปจฺเจสฺส”นฺติ. โส ตํ จีวรํ กาเรติ. 
atha kho Jīvako Komārabhacco Abhayaṃ rājakumāraṃ anāpucchā yena Takkasilā (270) tena pakkāmi, anupubbena yena Takkasilā yena so vejjo ten’ upasaṃkami, upasaṃkamitvā taṃ vejjaṃ etad avoca: icchām’ ahaṃ ācariya sippaṃ sikkhitun ti.  tena hi bhaṇe Jīvaka sikkhassū ’ti.  atha kho Jīvako Komārabhacco bahuṃ ca gaṇhāti lahuṃ ca gaṇhāti suṭṭhuṃ ca upadhāreti gahitaṃ c’ assa na pamussati.  atha kho Jīvakassa Komārabhaccassa sattannaṃ vassānaṃ accayena etad ahosi: ahaṃ kho bahuṃ ca gaṇhāmi lahuṃ ca gaṇhāmi suṭṭhuṃ ca upadhāremi gahitaṃ ca me na pamussati satta ca me vassāni adhīyantassa na yimassa sippassa anto paññāyati, kadā imassa sippassa anto paññāyissatīti. |6| 
ตสฺส ภิกฺขุโน นิฏฺฐานนฺติโก กถินุทฺธาโร. ภิกฺขุ อตฺถตกถิโน จีวราสาย ปกฺกมติ อนธิฏฺฐิเตน เนวสฺส โหติ “ปจฺเจสฺส”นฺติ น ปนสฺส โหติ “น ปจฺเจสฺส”นฺติ. โส พหิสีมคโต ตํ จีวราสํ ปยิรุปาสติ. อนาสาย ลภติ อาสาย น ลภติ. ตสฺส เอวํ โหติ “เนวิมํ จีวรํ กาเรสฺสํ น ปจฺเจสฺส”นฺติ.  ตสฺส ภิกฺขุโน สนฺนิฏฺฐานนฺติโก กถินุทฺธาโร. ภิกฺขุ อตฺถตกถิโน จีวราสาย ปกฺกมติ อนธิฏฺฐิเตน เนวสฺส โหติ “ปจฺเจสฺส”นฺติ น ปนสฺส โหติ “น ปจฺเจสฺส”นฺติ. โส พหิสีมคโต ตํ จีวราสํ ปยิรุปาสติ. อนาสาย ลภติ อาสาย น ลภติ. ตสฺส เอวํ โหติ “อิเธวิมํ จีวรํ กาเรสฺสํ น ปจฺเจสฺส”นฺติ. โส ตํ จีวรํ กาเรติ. ตสฺส ตํ จีวรํ กยิรมานํ นสฺสติ.  ตสฺส ภิกฺขุโน นาสนนฺติโก กถินุทฺธาโร.  ภิกฺขุ อตฺถตกถิโน จีวราสาย ปกฺกมติ อนธิฏฺฐิเตน เนวสฺส โหติ “ปจฺเจสฺส”นฺติ น ปนสฺส โหติ “น ปจฺเจสฺส”นฺติ. ตสฺส พหิสีมคตสฺส เอวํ โหติ “อิเธวิมํ จีวราสํ ปยิรุปาสิสฺสํ น ปจฺเจสฺส”นฺติ. โส ตํ จีวราสํ ปยิรุปาสติ. ตสฺส สา จีวราสา อุปจฺฉิชฺชติ. 
atha kho Jīvako Komārabhacco yena so vejjo ten’ upasaṃkami, upasaṃkamitvā taṃ vejjaṃ etad avoca: ahaṃ kho ācariya bahuṃ ca gaṇhāmi lahuṃ ca gaṇhāmi suṭṭhuṃ ca upadhāremi gahitaṃ ca me na pamussati satta ca me vassāni adhīyantassa na yimassa sippassa anto paññāyati, kadā imassa sippassa anto paññāyissatīti.  tena hi bhaṇe Jīvaka khanittiṃ ādāya Takkasilāya samantā yojanaṃ āhiṇḍanto yaṃ kiñci abhesajjaṃ passeyyāsi taṃ āharā ’ti.  evaṃ ācariyā ’ti kho Jīvako Komārabhacco tassa vejjassa paṭisuṇitvā khanittiṃ ādāya Takkasilāya samantā yojanaṃ āhiṇḍanto na kiñci abhesajjaṃ addasa.  atha kho Jīvako Komārabhacco yena so vejjo ten’ upasaṃkami, upasaṃkamitvā taṃ vejjaṃ etad avoca: āhiṇḍanto ’mhi ācariya Takkasilāya samantā yojanaṃ, na kiñci abhesajjaṃ addasan ti.  sikkhito ’si bhaṇe Jīvaka, alan te ettakaṃ jīvikāyā ’ti Jīvakassa Komārabhaccassa parittaṃ pātheyyaṃ pādāsi. |7| 
ตสฺส ภิกฺขุโน อาสาวจฺเฉทิโก กถินุทฺธาโร.      อนาสาโทฬสกํ นิฏฺฐิตํ.  (๑๙๖. อาสาโทฬสกํ) ๓๑๙. ภิกฺขุ อตฺถตกถิโน จีวราสาย ปกฺกมติ “ปจฺเจสฺส”นฺติ. โส พหิสีมคโต ตํ จีวราสํ ปยิรุปาสติ. อาสาย ลภติ อนาสาย น ลภติ. ตสฺส เอวํ โหติ “อิเธวิมํ จีวรํ กาเรสฺสํ น ปจฺเจสฺส”นฺติ. โส ตํ จีวรํ กาเรติ. 
atha kho Jīvako Komārabhacco taṃ parittaṃ pātheyyaṃ ādāya yena Rājagahaṃ tena pakkāmi.  atha kho Jīvakassa Komārabhaccassa taṃ parittaṃ pātheyyaṃ antarā magge Sākete parikkhayaṃ agamāsi.  atha kho Jīvakassa Komārabhaccassa etad ahosi: ime kho maggā kantārā appodakā appabhakkhā na sukarā apātheyyena gantuṃ, yaṃ nūnāhaṃ pātheyyaṃ pariyeseyyan ti.  tena kho pana samayena Sākete seṭṭhibhariyāya sattavassiko sīsābādho hoti, bahū mahantā -mahantā disāpāmokkhā vejjā āgantvā nāsakkhiṃsu ārogaṃ kātuṃ, bahuṃ hiraññaṃ ādāya agamaṃsu.  atha kho Jīvako Komārabhacco Sāketaṃ pavisitvā manusse pucchi: ko bhaṇe gilāno kaṃ tikicchāmīti.  etissā ācariya seṭṭhibhariyāya (271) sattavassiko sīsābādho, gaccha ācariya seṭṭhibhariyaṃ tikicchāhīti. |8| 
ตสฺส ภิกฺขุโน นิฏฺฐานนฺติโก กถินุทฺธาโร. ภิกฺขุ อตฺถตกถิโน จีวราสาย ปกฺกมติ “ปจฺเจสฺส”นฺติ. โส พหิสีมคโต ตํ จีวราสํ ปยิรุปาสติ. อาสาย ลภติ อนาสาย น ลภติ. ตสฺส เอวํ โหติ “เนวิมํ จีวรํ กาเรสฺสํ น ปจฺเจสฺส”นฺติ.  ตสฺส ภิกฺขุโน สนฺนิฏฺฐานนฺติโก กถินุทฺธาโร. ภิกฺขุ อตฺถตกถิโน จีวราสาย ปกฺกมติ “ปจฺเจสฺส”นฺติ. โส พหิสีมคโต ตํ จีวราสํ ปยิรุปาสติ. อาสาย ลภติ อนาสาย น ลภติ. ตสฺส เอวํ โหติ “อิเธวิมํ จีวรํ กาเรสฺสํ น ปจฺเจสฺส”นฺติ. โส ตํ จีวรํ กาเรติ. ตสฺส ตํ จีวรํ กยิรมานํ นสฺสติ.  ตสฺส ภิกฺขุโน นาสนนฺติโก กถินุทฺธาโร.  ภิกฺขุ อตฺถตกถิโน จีวราสาย ปกฺกมติ “ปจฺเจสฺส”นฺติ. ตสฺส พหิสีมคตสฺส เอวํ โหติ “อิเธวิมํ จีวราสํ ปยิรุปาสิสฺสํ น ปจฺเจสฺส”นฺติ. โส ตํ จีวราสํ ปยิรุปาสติ. ตสฺส สา จีวราสา อุปจฺฉิชฺชติ.  ตสฺส ภิกฺขุโน อาสาวจฺเฉทิโก กถินุทฺธาโร.  ภิกฺขุ อตฺถตกถิโน จีวราสาย ปกฺกมติ “ปจฺเจสฺส”นฺติ. โส พหิสีมคโต สุณาติ “อุพฺภตํ กิร ตสฺมึ อาวาเส กถิน”นฺติ. ตสฺส เอวํ โหติ “ยโต ตสฺมึ อาวาเส อุพฺภตํ กถินํ อิเธวิมํ จีวราสํ ปยิรุปาสิสฺส”นฺติ. โส ตํ จีวราสํ ปยิรุปาสติ. อาสาย ลภติ อนาสาย น ลภติ. ตสฺส เอวํ โหติ “อิเธวิมํ จีวรํ กาเรสฺสํ น ปจฺเจสฺส”นฺติ. โส ตํ จีวรํ กาเรติ. 
atha kho Jīvako Komārabhacco yena seṭṭhissa gahapatissa nivesanaṃ ten’ upasaṃkami, upasaṃkamitvā dovārikaṃ āṇāpesi: gaccha bhaṇe dovārika, seṭṭhibhariyāya pāvada, vejjo ayye āgato so taṃ daṭṭhukāmo ’ti.  evaṃ ācariyā ’ti kho so dovāriko Jīvakassa Komārabhaccassa paṭisuṇitvā yena {seṭṭhibhariyā} ten’ upasaṃkami, upasaṃkamitvā seṭṭhibhariyaṃ etad avoca: vejjo ayye āgato so taṃ daṭṭhukāmo ’ti.  kīdiso bhaṇe dovārika vejjo ’ti.  daharako ayye ’ti.  alaṃ bhaṇe dovārika, kiṃ me daharako vejjo karissati.  bahū mahantā-mahantā disāpāmokkhā vejjā āgantvā nāsakkhiṃsu ārogaṃ kātuṃ, bahuṃ hiraññaṃ ādāya agamaṃsū ’ti. |9| 
ตสฺส ภิกฺขุโน นิฏฺฐานนฺติโก กถินุทฺธาโร. ภิกฺขุ อตฺถตกถิโน จีวราสาย ปกฺกมติ “ปจฺเจสฺส”นฺติ. โส พหิสีมคโต สุณาติ “อุพฺภตํ กิร ตสฺมึ อาวาเส กถิน”นฺติ. ตสฺส เอวํ โหติ “ยโต ตสฺมึ อาวาเส อุพฺภตํ กถินํ อิเธวิมํ จีวราสํ ปยิรุปาสิสฺส”นฺติ. โส ตํ จีวราสํ ปยิรุปาสติ. อาสาย ลภติ อนาสาย น ลภติ. ตสฺส เอวํ โหติ “เนวิมํ จีวรํ กาเรสฺสํ น ปจฺเจสฺส”นฺติ.  ตสฺส ภิกฺขุโน สนฺนิฏฺฐานนฺติโก กถินุทฺธาโร. ภิกฺขุ อตฺถตกถิโน จีวราสาย ปกฺกมติ “ปจฺเจสฺส”นฺติ. โส พหิสีมคโต สุณาติ “อุพฺภตํ กิร ตสฺมึ อาวาเส กถิน”นฺติ. ตสฺส เอวํ โหติ “ยโต ตสฺมึ อาวาเส อุพฺภตํ กถินํ อิเธวิมํ จีวราสํ ปยิรุปาสิสฺส”นฺติ. โส ตํ จีวราสํ ปยิรุปาสติ. อาสาย ลภติ อนาสาย น ลภติ. ตสฺส เอวํ โหติ “อิเธวิมํ จีวรํ กาเรสฺสํ น ปจฺเจสฺส”นฺติ. โส ตํ จีวรํ กาเรติ. ตสฺส ตํ จีวรํ กยิรมานํ นสฺสติ.  ตสฺส ภิกฺขุโน นาสนนฺติโก กถินุทฺธาโร.  ภิกฺขุ อตฺถตกถิโน จีวราสาย ปกฺกมติ “ปจฺเจสฺส”นฺติ. โส พหิสีมคโต สุณาติ “อุพฺภตํ กิร ตสฺมึ อาวาเส กถิน”นฺติ. ตสฺส เอวํ โหติ “ยโต ตสฺมึ อาวาเส อุพฺภตํ กถินํ อิเธวิมํ จีวราสํ ปยิรุปาสิสฺสํ น ปจฺเจสฺส”นฺติ. โส ตํ จีวราสํ ปยิรุปาสติ. ตสฺส สา จีวราสา อุปจฺฉิชฺชติ.  ตสฺส ภิกฺขุโน อาสาวจฺเฉทิโก กถินุทฺธาโร.  ภิกฺขุ อตฺถตกถิโน จีวราสาย ปกฺกมติ “ปจฺเจสฺส”นฺติ. โส พหิสีมคโต ตํ จีวราสํ ปยิรุปาสติ. อาสาย ลภติ อนาสาย น ลภติ. โส ตํ จีวรํ กาเรติ. โส กตจีวโร สุณาติ “อุพฺภตํ กิร ตสฺมึ อาวาเส กถิน”นฺติ. 
atha kho so dovāriko yena Jīvako Komārabhacco ten’ upasaṃkami, upasaṃkamitvā Jīvakaṃ Komārabhaccaṃ etad avoca: seṭṭhibhariyā ācariya evaṃ āha: alaṃ bhaṇe dovārika ... agamaṃsū ’ti.  gaccha bhaṇe dovārika, seṭṭhibhariyāya pāvada: vejjo ayye evaṃ āha: mā kir’ ayye pure kiñci adāsi, yadā ārogā ahosi, tadā yaṃ iccheyyāsi taṃ dajjeyyāsīti.  evaṃ ācariyā ’ti kho so dovāriko Jīvakassa Komārabhaccassa paṭisuṇitvā yena seṭṭhibhariyā ten’ upasaṃkami, upasaṃkamitvā seṭṭhibhariyaṃ etad avoca: vejjo ayye evaṃ āha ... taṃ dajjeyyāsīti.  tena hi bhaṇe dovārika vejjo āgacchatū ’ti.  evaṃ ayye ’ti kho so dovāriko seṭṭhibhariyāya paṭisuṇitvā yena Jīvako Komārabhacco ten’ upasaṃkami, upasaṃkamitvā Jīvakaṃ Komārabhaccaṃ etad avoca: seṭṭhibhariyā taṃ ācariya pakkosatīti. |10| 
ตสฺส ภิกฺขุโน สวนนฺติโก กถินุทฺธาโร.  ภิกฺขุ อตฺถตกถิโน จีวราสาย ปกฺกมติ “ปจฺเจสฺส”นฺติ. ตสฺส พหิสีมคตสฺส เอวํ โหติ “อิเธวิมํ จีวราสํ ปยิรุปาสิสฺสํ น ปจฺเจสฺส”นฺติ. โส ตํ จีวราสํ ปยิรุปาสติ. ตสฺส สา จีวราสา อุปจฺฉิชฺชติ.  ตสฺส ภิกฺขุโน อาสาวจฺเฉทิโก กถินุทฺธาโร.  ภิกฺขุ อตฺถตกถิโน จีวราสาย ปกฺกมติ “ปจฺเจสฺส”นฺติ. โส พหิสีมคโต ตํ จีวราสํ ปยิรุปาสติ. อาสาย ลภติ อนาสาย น ลภติ. โส ตํ จีวรํ กาเรติ. โส กตจีวโร “ปจฺเจสฺสํ ปจฺเจสฺส”นฺติ พหิทฺธา กถินุทฺธารํ วีตินาเมติ.  ตสฺส ภิกฺขุโน สีมาติกฺกนฺติโก กถินุทฺธาโร. 
atha kho Jīvako Komārabhacco yena seṭṭhibhariyā ten’ upasaṃkami, upasaṃkamitvā seṭṭhibhariyāya vikāraṃ sallakkhetvā seṭṭhibhariyaṃ etad avoca: pasatena ayye sappinā attho ’ti.  atha kho seṭṭhibhariyā Jīvakassa Komārabhaccassa pasataṃ sappiṃ dāpesi.  atha kho Jīvako Komārabhacco taṃ pasataṃ sappiṃ nānābhesajjehi nippacitvā seṭṭhibhariyaṃ mañcake uttānaṃ nipajjāpetvā natthuto adāsi.  atha kho taṃ sappi natthuto dinnaṃ mukhato uggacchi.  atha kho seṭṭhibhariyā paṭiggahe nuṭṭhuhitvā dāsiṃ āṇāpesi: handa je imaṃ sappiṃ picunā gaṇhāhīti. |11| 
ภิกฺขุ อตฺถตกถิโน จีวราสาย ปกฺกมติ “ปจฺเจสฺส”นฺติ. โส พหิสีมคโต ตํ จีวราสํ ปยิรุปาสติ. อาสาย ลภติ อนาสาย น ลภติ. โส ตํ จีวรํ กาเรติ. โส กตจีวโร “ปจฺเจสฺสํ ปจฺเจสฺส”นฺติ สมฺภุณาติ กถินุทฺธารํ.  ตสฺส ภิกฺขุโน สห ภิกฺขูหิ กถินุทฺธาโร.      อาสาโทฬสกํ นิฏฺฐิตํ. 
atha kho Jīvakassa Komārabhaccassa etad ahosi: acchariyaṃ yāva lūkhāyaṃ gharaṇī yatra hi nāma imaṃ chaḍḍanīyadhammaṃ sappiṃ picunā gāhāpessati, bahu-(272)kāni ca me mahagghāni-mahagghāni bhesajjāni upagatāni, kim pi m’ āyaṃ kiñci deyyadhammaṃ dassatīti.  atha kho seṭṭhibhariyā Jīvakassa Komārabhaccassa vikāraṃ sallakkhetvā Jīvakaṃ Komārabhaccaṃ etad avoca: kissa tvaṃ ācariya vimano ’sīti.  idha me etad ahosi: acchariyaṃ yāva ... dassatīti.  mayaṃ kho ācariya agārikā nāma upajānām’ etassa saṃyamassa, varaṃ etaṃ sappi dāsānaṃ vā kammakarānaṃ vā pādabbhañjanaṃ vā padīpakaraṇe vā āsittaṃ.  mā tvaṃ ācariya vimano ahosi, na te deyyadhammo hāyissatīti. |12| 
(๑๙๗. กรณียโทฬสกํ) ๓๒๐. ภิกฺขุ อตฺถตกถิโน เกนจิเทว กรณีเยน ปกฺกมติ. ตสฺส พหิสีมคตสฺส จีวราสา อุปฺปชฺชติ. โส ตํ จีวราสํ ปยิรุปาสติ. อนาสาย ลภติ อาสาย น ลภติ. ตสฺส เอวํ โหติ “อิเธวิมํ จีวรํ กาเรสฺสํ น ปจฺเจสฺส”นฺติ. โส ตํ จีวรํ กาเรติ.  ตสฺส ภิกฺขุโน นิฏฺฐานนฺติโก กถินุทฺธาโร. ภิกฺขุ อตฺถตกถิโน เกนจิเทว กรณีเยน ปกฺกมติ. ตสฺส พหิสีมคตสฺส จีวราสา อุปฺปชฺชติ. โส ตํ จีวราสํ ปยิรุปาสติ. อนาสาย ลภติ อาสาย น ลภติ. ตสฺส เอวํ โหติ “เนวิมํ จีวรํ กาเรสฺสํ น ปจฺเจสฺส”นฺติ.  ตสฺส ภิกฺขุโน สนฺนิฏฺฐานนฺติโก กถินุทฺธาโร. ภิกฺขุ อตฺถตกถิโน เกนจิเทว กรณีเยน ปกฺกมติ. ตสฺส พหิสีมคตสฺส จีวราสา อุปฺปชฺชติ. โส ตํ จีวราสํ ปยิรุปาสติ. อนาสาย ลภติ อาสาย น ลภติ. ตสฺส เอวํ โหติ “อิเธวิมํ จีวรํ กาเรสฺสํ น ปจฺเจสฺส”นฺติ. โส ตํ จีวรํ กาเรติ. ตสฺส ตํ จีวรํ กยิรมานํ นสฺสติ.  ตสฺส ภิกฺขุโน นาสนนฺติโก กถินุทฺธาโร.  ภิกฺขุ อตฺถตกถิโน เกนจิเทว กรณีเยน ปกฺกมติ. ตสฺส พหิสีมคตสฺส จีวราสา อุปฺปชฺชติ. ตสฺส เอวํ โหติ “อิเธวิมํ จีวราสํ ปยิรุปาสิสฺสํ น ปจฺเจสฺส”นฺติ. โส ตํ จีวราสํ ปยิรุปาสติ. ตสฺส สา จีวราสา อุปจฺฉิชฺชติ. 
atha kho Jīvako Komārabhacco seṭṭhibhariyāya sattavassikaṃ sīsābādhaṃ eken’ eva natthukammena apakaḍḍhi.  atha kho seṭṭhibhariyā ārogā samānā Jīvakassa Komārabhaccassa cattāri sahassāni pādāsi, putto mātā me ārogā ṭhitā ’ti cattāri sahassāni pādāsi, suṇisā sassū me ārogā ṭhitā ’ti cattāri sahassāni pādāsi, seṭṭhi gahapati bhariyā me ārogā ṭhitā ’ti cattāri sahassāni pādāsi dāsaṃ ca dāsiṃ ca assarathaṃ ca.  atha kho Jīvako Komārabhacco tāni soḷasa sahassāni ādāya dāsaṃ ca dāsiṃ ca assarathaṃ ca yena Rājagahaṃ tena pakkāmi, anupubbena yena Rājagahaṃ yena Abhayo rājakumāro ten’ upasaṃkami, upasaṃkamitvā Abhayaṃ rājakumāraṃ etad avoca: idaṃ me deva paṭhamakammaṃ soḷasa sahassāni dāso ca dāsī ca assaratho ca, paṭigaṇhātu me devo posāvanikan ti.  alaṃ bhaṇe Jīvaka tuyh’ eva hotu, amhākañ ñeva antepure nivesanaṃ māpehīti.  evaṃ devā ’ti kho Jīvako Komārabhacco Abhayassa rājakumārassa paṭisuṇitvā Abhayassa rājakumārassa antepure nivesanaṃ māpesi. |13| 
ตสฺส ภิกฺขุโน อาสาวจฺเฉทิโก กถินุทฺธาโร.  ภิกฺขุ อตฺถตกถิโน เกนจิเทว กรณีเยน ปกฺกมติ “น ปจฺเจสฺส”นฺติ. ตสฺส พหิสีมคตสฺส จีวราสา อุปฺปชฺชติ. โส ตํ จีวราสํ ปยิรุปาสติ. อนาสาย ลภติ อาสาย น ลภติ. ตสฺส เอวํ โหติ “อิเธวิมํ จีวรํ กาเรสฺส”นฺติ. โส ตํ จีวรํ กาเรติ. ตสฺส ภิกฺขุโน นิฏฺฐานนฺติโก กถินุทฺธาโร. ภิกฺขุ อตฺถตกถิโน เกนจิเทว กรณีเยน ปกฺกมติ “น ปจฺเจสฺส”นฺติ. ตสฺส พหิสีมคตสฺส จีวราสา อุปฺปชฺชติ. โส ตํ จีวราสํ ปยิรุปาสติ. อนาสาย ลภติ อาสาย น ลภติ. ตสฺส เอวํ โหติ “เนวิมํ จีวรํ กาเรสฺส”นฺติ.  ตสฺส ภิกฺขุโน สนฺนิฏฺฐานนฺติโก กถินุทฺธาโร. ภิกฺขุ อตฺถตกถิโน เกนจิเทว กรณีเยน ปกฺกมติ “น ปจฺเจสฺส”นฺติ. ตสฺส พหิสีมคตสฺส จีวราสา อุปฺปชฺชติ. โส ตํ จีวราสํ ปยิรุปาสติ. อนาสาย ลภติ อาสาย น ลภติ. ตสฺส เอวํ โหติ “อิเธวิมํ จีวรํ กาเรสฺส”นฺติ. โส ตํ จีวรํ กาเรติ. ตสฺส ตํ จีวรํ กยิรมานํ นสฺสติ.  ตสฺส ภิกฺขุโน นาสนนฺติโก กถินุทฺธาโร.  ภิกฺขุ อตฺถตกถิโน เกนจิเทว กรณีเยน ปกฺกมติ “น ปจฺเจสฺส”นฺติ. ตสฺส พหิสีมคตสฺส จีวราสา อุปฺปชฺชติ. ตสฺส เอวํ โหติ “อิเธวิมํ จีวราสํ ปยิรุปาสิสฺส”นฺติ. โส ตํ จีวราสํ ปยิรุปาสติ. ตสฺส สา จีวราสา อุปจฺฉิชฺชติ. 
tena kho pana samayena rañño Māgadhassa Seniyassa Bimbisārassa bhagandalābādho hoti, sāṭakā lohitena makkhiyanti.  deviyo disvā uppaṇḍenti utunī dāni devo, pupphaṃ devassa uppannaṃ, na cirass’ eva devo vijāyissatīti.  tena rājā maṅku hoti.  atha kho rājā Māgadho Seniyo Bimbisāro Abhayaṃ rājakumāraṃ etad avoca: mayhaṃ kho bhaṇe Abhaya tādiso ābādho: sāṭakā lohitena makkhiyanti, deviyo maṃ disvā uppaṇḍenti ... vijāyissatīti.  iṅgha bhaṇe Abhaya tādisaṃ vejjaṃ jānāhi yo maṃ tikiccheyyā ’ti.  ayaṃ deva amhākaṃ Jīvako vejjo taruṇo bhadrako, so devaṃ tikicchissatīti.  tena hi bhaṇe Abhaya (273) Jīvakaṃ vejjaṃ āṇāpehi, so maṃ tikicchissatīti. |14| 
ตสฺส ภิกฺขุโน อาสาวจฺเฉทิโก กถินุทฺธาโร.  ภิกฺขุ อตฺถตกถิโน เกนจิเทว กรณีเยน ปกฺกมติ อนธิฏฺฐิเตน เนวสฺส โหติ “ปจฺเจสฺส”นฺติ น ปนสฺส โหติ “น ปจฺเจสฺส”นฺติ. ตสฺส พหิสีมคตสฺส จีวราสา อุปฺปชฺชติ. โส ตํ จีวราสํ ปยิรุปาสติ. อนาสาย ลภติ อาสาย น ลภติ. ตสฺส เอวํ โหติ “อิเธวิมํ จีวรํ กาเรสฺสํ น ปจฺเจสฺส”นฺติ. โส ตํ จีวรํ กาเรติ.  ตสฺส ภิกฺขุโน นิฏฺฐานนฺติโก กถินุทฺธาโร. ภิกฺขุ อตฺถตกถิโน เกนจิเทว กรณีเยน ปกฺกมติ อนธิฏฺฐิเตน เนวสฺส โหติ “ปจฺเจสฺส”นฺติ น ปนสฺส โหติ “น ปจฺเจสฺส”นฺติ. ตสฺส พหิสีมคตสฺส จีวราสา อุปฺปชฺชติ. โส ตํ จีวราสํ ปยิรุปาสติ. อนาสาย ลภติ อาสาย น ลภติ. ตสฺส เอวํ โหติ “เนวิมํ จีวรํ กาเรสฺสํ น ปจฺเจสฺส”นฺติ.  ตสฺส ภิกฺขุโน สนฺนิฏฺฐานนฺติโก กถินุทฺธาโร. ภิกฺขุ อตฺถตกถิโน เกนจิเทว กรณีเยน ปกฺกมติ อนธิฏฺฐิเตน เนวสฺส โหติ “ปจฺเจสฺส”นฺติ น ปนสฺส โหติ “น ปจฺเจสฺส”นฺติ. ตสฺส พหิสีมคตสฺส จีวราสา อุปฺปชฺชติ. โส ตํ จีวราสํ ปยิรุปาสติ. อนาสาย ลภติ อาสาย น ลภติ. ตสฺส เอวํ โหติ “อิเธวิมํ จีวรํ กาเรสฺสํ น ปจฺเจสฺส”นฺติ. โส ตํ จีวรํ กาเรติ. ตสฺส ตํ จีวรํ กยิรมานํ นสฺสติ.  ตสฺส ภิกฺขุโน นาสนนฺติโก กถินุทฺธาโร.  ภิกฺขุ อตฺถตกถิโน เกนจิเทว กรณีเยน ปกฺกมติ อนธิฏฺฐิเตน เนวสฺส โหติ “ปจฺเจสฺส”นฺติ น ปนสฺส โหติ “น ปจฺเจสฺส”นฺติ. ตสฺส พหิสีมคตสฺส จีวราสา อุปฺปชฺชติ. ตสฺส เอวํ โหติ “อิเธวิมํ จีวราสํ ปยิรุปาสิสฺสํ น ปจฺเจสฺส”นฺติ. โส ตํ จีวราสํ ปยิรุปาสติ. ตสฺส สา จีวราสา อุปจฺฉิชฺชติ.  ตสฺส ภิกฺขุโน อาสาวจฺเฉทิโก กถินุทฺธาโร. 
atha kho Abhayo rājakumāro Jīvakaṃ Komārabhaccaṃ āṇāpesi: gaccha bhaṇe Jīvaka rājānaṃ tikicchāhīti.  evaṃ devā ’ti kho Jīvako Komārabhacco Abhayassa rājakumārassa paṭisuṇitvā nakhena bhesajjaṃ ādāya yena rājā Māgadho Seniyo Bimbisāro ten’ upasaṃkami, upasaṃkamitvā rājānaṃ Māgadhaṃ Seniyaṃ Bimbisāraṃ etad avoca: ābādhaṃ deva passāmā ’ti.  atha kho Jīvako Komārabhacco rañño Māgadhassa Seniyassa Bimbisārassa bhagandalābādhaṃ eken’ eva ālepena apakaḍḍhi.  atha kho rājā Māgadho Seniyo Bimbisāro ārogo samāno pañca itthisatāni sabbālaṃkāraṃ bhūsāpetvā omuñcāpetvā puñjaṃ kārāpetvā Jīvakaṃ Komārabhaccaṃ etad avoca: etaṃ bhaṇe Jīvaka pañcannaṃ itthisatānaṃ sabbālaṃkāraṃ tuyhaṃ hotū ’ti.  alaṃ deva adhikāraṃ me devo saratū ’ti.  tena hi bhaṇe Jīvaka maṃ upaṭṭhaha itthāgāraṃ ca buddhapamukhaṃ bhikkhusaṃghaṃ cā ’ti.  evaṃ devā ’ti kho Jīvako Komārabhacco rañño Māgadhassa Seniyassa Bimbisārassa paccassosi. |15| 
    กรณียโทฬสกํ นิฏฺฐิตํ.  (๑๙๘. อปวิลายนนวกํ) ๓๒๑. ภิกฺขุ อตฺถตกถิโน ทิสํคมิโก ปกฺกมติ จีวรปฏิวีสํ อปวิลายมาโน. ตเมนํ ทิสงฺคตํ ภิกฺขู ปุจฺฉนฺติ “กหํ ตฺวํ อาวุโส วสฺสํวุฏฺโฐ กตฺถ จ เต จีวรปฏิวีโส”ติ?  โส เอวํ วเทติ “อมุกสฺมึ อาวาเส วสฺสํวุฏฺโฐมฺหิ. ตตฺถ จ เม จีวรปฏิวีโส”ติ.  เต เอวํ วทนฺติ “คจฺฉาวุโส ตํ จีวรํ อาหร มยํ เต อิธ จีวรํ กริสฺสามา”ติ.  โส ตํ อาวาสํ คนฺตฺวา ภิกฺขู ปุจฺฉติ “กหํ เม อาวุโส จีวรปฏิวีโส”ติ? 
tena kho pana samayena Rājagahakassa seṭṭhissa sattavassiko sīsābādho hoti, bahū mahantā-mahantā disāpāmokkhā vejjā āgantvā nāsakkhiṃsu ārogaṃ kātuṃ, bahuṃ hiraññaṃ ādāya agamaṃsu.  api ca vejjehi paccakkhāto hoti, ekacce vejjā evaṃ āhaṃsu: pañcamaṃ divasaṃ seṭṭhi gahapati kālaṃ karissatīti, ekacce vejjā evaṃ āhaṃsu: sattamaṃ divasaṃ seṭṭhi gahapati kālaṃ karissatīti.  atha kho Rājagahakassa negamassa etad ahosi: ayaṃ kho seṭṭhi gahapati bahūpakāro rañño c’ eva negamassa ca, api ca vejjehi paccakkhāto, ekacce vejjā evaṃ āhaṃsu: pañcamaṃ divasaṃ seṭṭhi gahapati kālaṃ karissatīti, ekacce vejjā evaṃ āhaṃsu: sattamaṃ divasaṃ seṭṭhi gahapati kālaṃ karissatīti, ayaṃ ca rañño Jīvako vejjo taruṇo bhadrako, yaṃ nūna mayaṃ rājānaṃ Jīvakaṃ vejjaṃ yāceyyāma seṭṭhiṃ gahapatiṃ tikicchitun ti. |16| 
เต เอวํ วทนฺติ “อยํ เต อาวุโส จีวรปฏิวีโส กหํ คมิสฺสสี”ติ?  โส เอวํ วเทติ “อมุกํ นาม อาวาสํ คมิสฺสามิ ตตฺถ เม ภิกฺขู จีวรํ กริสฺสนฺตี”ติ.  เต เอวํ วทนฺติ “อลํ อาวุโส มา อคมาสิ. มยํ เต อิธ จีวรํ กริสฺสามา”ติ. ตสฺส เอวํ โหติ “อิเธวิมํ จีวรํ กาเรสฺสํ น ปจฺเจสฺส”นฺติ. โส ตํ จีวรํ กาเรติ. 
atha kho Rājagahako negamo yena rājā Māgadho Seniyo Bimbisāro ten’ upasaṃkami, upasaṃkamitvā rājānaṃ Māgadhaṃ Seniyaṃ Bimbisāraṃ etad avoca: ayaṃ deva seṭṭhi gahapati bahūpakāro devassa c’ eva negamassa ca, api ca vejjehi paccakkhāto ... karissatīti.  sādhu devo Jīvakaṃ vejjaṃ āṇāpetu seṭṭhiṃ gahapatiṃ (274) tikicchitun ti.  atha kho rājā Māgadho Seniyo Bimbisāro Jīvakaṃ Komārabhaccaṃ āṇāpesi: gaccha bhaṇe Jīvaka seṭṭhiṃ gahapatiṃ tikicchāhīti.  evaṃ devā ’ti kho Jīvako Komārabhacco rañño Māgadhassa Seniyassa Bimbisārassa paṭisuṇitvā yena seṭṭhi gahapati ten’ upasaṃkami, upasaṃkamitvā seṭṭhissa gahapatissa vikāraṃ sallakkhetvā seṭṭhiṃ gahapatiṃ etad avoca: sac’ āhaṃ taṃ gahapati ārogāpeyyaṃ kiṃ me assa deyyadhammo ’ti.  sabbaṃ sāpateyyaṃ ca te ācariya hotu ahaṃ ca te dāso ’ti. |17| 
ตสฺส ภิกฺขุโน นิฏฺฐานนฺติโก กถินุทฺธาโร.  ภิกฺขุ อตฺถตกถิโน ทิสํคมิโก ปกฺกมติฯเปฯ “เนวิมํ จีวรํ กาเรสฺสํ น ปจฺเจสฺส”นฺติ. ตสฺส ภิกฺขุโน สนฺนิฏฺฐานนฺติโก กถินุทฺธาโร.  ภิกฺขุ อตฺถตกถิโน ทิสํคมิโก ปกฺกมติฯเปฯ “อิเธวิมํ จีวรํ กาเรสฺสํ น ปจฺเจสฺส”นฺติ. โส ตํ จีวรํ กาเรติ. ตสฺส ตํ จีวรํ กยิรมานํ นสฺสติ. ตสฺส ภิกฺขุโน นาสนนฺติโก กถินุทฺธาโร.  ๓๒๒. ภิกฺขุ อตฺถตกถิโน ทิสํคมิโก ปกฺกมติ จีวรปฏิวีสํ อปวิลายมาโน. ตเมนํ ทิสํคตํ ภิกฺขู ปุจฺฉนฺติ “กหํ ตฺวํ อาวุโส วสฺสํวุฏฺโฐ กตฺถ จ เต จีวรปฏิวีโส”ติ? โส เอวํ วเทติ “อมุกสฺมึ อาวาเส วสฺสํวุฏฺโฐมฺหิ ตตฺถ จ เม จีวรปฏิวีโส”ติ. เต เอวํ วทนฺติ “คจฺฉาวุโส ตํ จีวรํ อาหร มยํ เต อิธ จีวรํ กริสฺสามา”ติ. โส ตํ อาวาสํ คนฺตฺวา ภิกฺขู ปุจฺฉติ “กหํ เม อาวุโส จีวรปฏิวีโส”ติ? เต เอวํ วทนฺติ “อยํ เต อาวุโส จีวรปฏิวีโส”ติ.  โส ตํ จีวรํ อาทาย ตํ อาวาสํ คจฺฉติ. ตเมนํ อนฺตรามคฺเค ภิกฺขู ปุจฺฉนฺติ “อาวุโส กหํ คมิสฺสสี”ติ? 
sakkhissasi pana tvaṃ gahapati ekena passena satta māse nipajjitun ti.  sakkom’ ahaṃ ācariya ekena passena satta māse nipajjitun ti.  sakkhissasi pana tvaṃ gahapati dutiyena passena satta māse nipajjitun ti.  sakkom’ ahaṃ ācariya dutiyena passena satta māse nipajjitun ti.  sakkhissasi pana tvaṃ gahapati uttāno satta māse nipajjitun ti.  sakkom’ ahaṃ ācariya uttāno satta māse nipajjitun ti.  atha kho Jīvako Komārabhacco seṭṭhiṃ gahapatiṃ mañcake nipajjāpetvā mañcake sambandhitvā sīsacchaviṃ upphāletvā sibbiniṃ vināmetvā dve pāṇake nīharitvā janassa dassesi: passath’ ayyo ime dve pāṇake ekaṃ khuddakaṃ ekaṃ mahallakaṃ.  ye te ācariyā evaṃ āhaṃsu: pañcamaṃ divasaṃ seṭṭhi gahapati kālaṃ karissatīti teh’ āyaṃ mahallako pāṇako diṭṭho, pañcamaṃ divasaṃ seṭṭhissa gahapatissa matthaluṅgaṃ pariyādiyissati, matthaluṅgassa pariyādānā seṭṭhi gahapati kālaṃ karissati, sudiṭṭho tehi ācariyehi.  ye te ācariyā evaṃ āhaṃsu: sattamaṃ divasaṃ seṭṭhi gahapati kālaṃ karissatīti teh’ āyaṃ khuddako pāṇako diṭṭho, sattamaṃ divasaṃ seṭṭhissa gahapatissa matthaluṅgaṃ pariyādiyissati, matthaluṅgassa pariyādānā seṭṭhi gahapati kālaṃ karissati, sudiṭṭho tehi ācariyehīti, sibbiniṃ sampaṭipādetvā sīsacchaviṃ sibbetvā ālepaṃ adāsi. |18| 
โส เอวํ วเทติ “อมุกํ นาม อาวาสํ คมิสฺสามิ ตตฺถ เม ภิกฺขู จีวรํ กริสฺสนฺตี”ติ.  เต เอวํ วทนฺติ “อลํ อาวุโส มา อคมาสิ มยํ เต อิธ จีวรํ กริสฺสามา”ติ.  ตสฺส เอวํ โหติ “อิเธวิมํ จีวรํ กาเรสฺสํ น ปจฺเจสฺส”นฺติ. โส ตํ จีวรํ กาเรติ.  ตสฺส ภิกฺขุโน นิฏฺฐานนฺติโก กถินุทฺธาโร. ภิกฺขุ อตฺถตกถิโน ทิสํคมิโก ปกฺกมติ จีวรปฏิวีสํ อปวิลายมาโน. ตเมนํ ทิสํคตํ ภิกฺขู ปุจฺฉนฺติ “กหํ ตฺวํ อาวุโส วสฺสํวุฏฺโฐ กตฺถ จ เต จีวรปฏิวีโส”ติ? โส เอวํ วเทติ “อมุกสฺมึ อาวาเส วสฺสํวุฏฺโฐมฺหิ ตตฺถ จ เม จีวรปฏิวีโส”ติ. เต เอวํ วทนฺติ “คจฺฉาวุโส ตํ จีวรํ อาหร มยํ เต อิธ จีวรํ กริสฺสามา”ติ. โส ตํ อาวาสํ คนฺตฺวา ภิกฺขู ปุจฺฉติ “กหํ เม อาวุโส จีวรปฏิวีโส”ติ? เต เอวํ วทนฺติ “อยํ เต อาวุโส จีวรปฏิวีโส”ติ. โส ตํ จีวรํ อาทาย ตํ อาวาสํ คจฺฉติ. ตเมนํ อนฺตรามคฺเค ภิกฺขู ปุจฺฉนฺติ “อาวุโส กหํ คมิสฺสสี”ติ? โส เอวํ วเทติ “อมุกํ นาม อาวาสํ คมิสฺสามิ ตตฺถ เม ภิกฺขู จีวรํ กริสฺสนฺตี”ติ. เต เอวํ วทนฺติ “อลํ อาวุโส มา อคมาสิ มยํ เต อิธ จีวรํ กริสฺสามา”ติ. ตสฺส เอวํ โหติ “เนวิมํ จีวรํ กาเรสฺสํ น ปจฺเจสฺส”นฺติ.  ตสฺส ภิกฺขุโน สนฺนิฏฺฐานนฺติโก กถินุทฺธาโร. ภิกฺขุ อตฺถตกถิโน ทิสํคมิโก ปกฺกมติฯเปฯ “อิเธวิมํ จีวรํ กาเรสฺสํ น ปจฺเจสฺส”นฺติ โส ตํ จีวรํ กาเรติ. ตสฺส ตํ จีวรํ กยิรมานํ นสฺสติ.  ตสฺส ภิกฺขุโน นาสนนฺติโก กถินุทฺธาโร.  ๓๒๓. ภิกฺขุ อตฺถตกถิโน ทิสํคมิโก ปกฺกมติ จีวรปฏิวีสํ อปวิลายมาโน. ตเมนํ ทิสํคตํ ภิกฺขู ปุจฺฉนฺติ “กหํ ตฺวํ อาวุโส วสฺสํวุฏฺโฐ กตฺถ จ เต จีวรปฏิวีโส”ติ? โส เอวํ วเทติ “อมุกสฺมึ อาวาเส วสฺสํวุฏฺโฐมฺหิ ตตฺถ จ เม จีวรปฏิวีโส”ติ. เต เอวํ วทนฺติ “คจฺฉาวุโส ตํ จีวรํ อาหร มยํ เต อิธ จีวรํ กริสฺสามา”ติ. โส ตํ อาวาสํ คนฺตฺวา ภิกฺขู ปุจฺฉติ “กหํ เม อาวุโส จีวรปฏิวีโส”ติ? เต เอวํ วทนฺติ “อยํ เต อาวุโส จีวรปฏิวีโส”ติ.  โส ตํ จีวรํ อาทาย ตํ อาวาสํ คจฺฉติ. ตสฺส ตํ อาวาสํ คตสฺส เอวํ โหติ “อิเธวิมํ จีวรํ กาเรสฺสํ น ปจฺเจสฺส”นฺติ. โส ตํ จีวรํ กาเรติ.  ตสฺส ภิกฺขุโน นิฏฺฐานนฺติโก กถินุทฺธาโร. ภิกฺขุ อตฺถตกถิโน ทิสํคมิโก ปกฺกมติฯเปฯ “เนวิมํ จีวรํ กาเรสฺสํ น ปจฺเจสฺส”นฺติ. 
atha kho seṭṭhi gahapati sattāhassa accayena Jīvakaṃ Komārabhaccaṃ etad avoca: nāhaṃ ācariya sakkomi ekena passena satta māse nipajjitun ti.  nanu me tvaṃ gahapati paṭisuṇi sakkom’ ahaṃ ācariya ekena passena satta māse nipajjitun ti.  saccāhaṃ ācariya paṭisuṇiṃ, ap’ āhaṃ marissāmi, nāhaṃ sakkomi ekena passena satta māse nipajjitun ti.  tena hi tvaṃ gahapati dutiyena passena satta māse nipajjāhīti.  atha kho seṭṭhi gahapati sattāhassa accayena Jīvakaṃ Komārabhaccaṃ etad (275) avoca: nāhaṃ ācariya sakkomi dutiyena passena satta māse nipajjitun ti.  nanu me tvaṃ gahapati paṭisuṇi sakkom’ ahaṃ ācariya dutiyena passena satta māse nipajjitun ti.  saccāhaṃ ācariya paṭisuṇiṃ, ap’ āhaṃ marissāmi, nāhaṃ ācariya sakkomi dutiyena passena satta māse nipajjitun ti.  tena hi tvaṃ gahapati uttāno satta māse nipajjāhīti.  atha kho seṭṭhi gahapati sattāhassa accayena Jīvakaṃ Komārabhaccaṃ etad evoca: nāhaṃ ācariya sakkomi uttāno satta māse nipajjitun ti.  nanu me tvaṃ gahapati paṭisuṇi sakkom’ ahaṃ ācariya uttāno satta māse nipajjitun ti.  saccāhaṃ ācariya paṭisuṇiṃ, ap’ āhaṃ marissāmi, nāhaṃ sakkomi uttāno satta māse nipajjitun ti. |19| 
ตสฺส ภิกฺขุโน สนฺนิฏฺฐานนฺติโก กถินุทฺธาโร. ภิกฺขุ อตฺถตกถิโน ทิสํคมิโก ปกฺกมติฯเปฯ “อิเธวิมํ จีวรํ กาเรสฺสํ น ปจฺเจสฺส”นฺติ. โส ตํ จีวรํ กาเรติ. ตสฺส ตํ จีวรํ กยิรมานํ นสฺสติ.  ตสฺส ภิกฺขุโน นาสนนฺติโก กถินุทฺธาโร.      อปวิลายนนวกํ นิฏฺฐิตํ.  (๑๙๙. ผาสุวิหารปญฺจกํ) ๓๒๔. ภิกฺขุ อตฺถตกถิโน ผาสุวิหาริโก จีวรํ อาทาย ปกฺกมติ “อมุกํ นาม อาวาสํ คมิสฺสามิ ตตฺถ เม ผาสุ ภวิสฺสติ วสิสฺสามิ โน เจ เม ผาสุ ภวิสฺสติ อมุกํ นาม อาวาสํ คมิสฺสามิ ตตฺถ เม ผาสุ ภวิสฺสติ วสิสฺสามิ โน เจ เม ผาสุ ภวิสฺสติ อมุกํ นาม อาวาสํ คมิสฺสามิ ตตฺถ เม ผาสุ ภวิสฺสติ วสิสฺสามิ โน เจ เม ผาสุ ภวิสฺสติ ปจฺเจสฺส”นฺติ.  ตสฺส พหิสีมคตสฺส เอวํ โหติ “อิเธวิมํ จีวรํ กาเรสฺสํ น ปจฺเจสฺส”นฺติ. โส ตํ จีวรํ กาเรติ.  ตสฺส ภิกฺขุโน นิฏฺฐานนฺติโก กถินุทฺธาโร.  ภิกฺขุ อตฺถตกถิโน ผาสุวิหาริโก จีวรํ อาทาย ปกฺกมติ “อมุกํ นาม อาวาสํ คมิสฺสามิ ตตฺถ เม ผาสุ ภวิสฺสติ วสิสฺสามิ โน เจ เม ผาสุ ภวิสฺสติ อมุกํ นาม อาวาสํ คมิสฺสามิ ตตฺถ เม ผาสุ ภวิสฺสติ วสิสฺสามิ โน เจ เม ผาสุ ภวิสฺสติ อมุกํ นาม อาวาสํ คมิสฺสามิ ตตฺถ เม ผาสุ ภวิสฺสติ วสิสฺสามิ โน เจ เม ผาสุ ภวิสฺสติ ปจฺเจสฺส”นฺติ.  ตสฺส พหิสีมคตสฺส เอวํ โหติ “เนวิมํ จีวรํ กาเรสฺสํ น ปจฺเจสฺส”นฺติ.  ตสฺส ภิกฺขุโน สนฺนิฏฺฐานนฺติโก กถินุทฺธาโร. 
ahaṃ ce taṃ gahapati na vadeyyaṃ ettakam pi tvaṃ na nipajjeyyāsi, api ca paṭigacc’ eva mayā ñāto tīhi sattāhehi seṭṭhi gahapati ārogo bhavissatīti.  uṭṭhehi gahapati ārogo ’si, jānāhi kiṃ me deyyadhammo ’ti.  sabbaṃ sāpateyyaṃ ca te ācariya hotu ahaṃ ca te dāso ’ti.  alaṃ gahapati mā me tvaṃ sabbaṃ sāpateyyaṃ adāsi mā ca me dāso, rañño satasahassaṃ dehi mayhaṃ satasahassan ti.  atha kho seṭṭhi gahapati ārogo samāno rañño satasahassaṃ adāsi Jīvakassa Komārabhaccassa satasahassaṃ. |20| 
ภิกฺขุ อตฺถตกถิโน ผาสุวิหาริโก จีวรํ อาทาย ปกฺกมติ “อมุกํ นาม อาวาสํ คมิสฺสามิ ตตฺถ เม ผาสุ ภวิสฺสติ วสิสฺสามิ โน เจ เม ผาสุ ภวิสฺสติ อมุกํ นาม อาวาสํ คมิสฺสามิ ตตฺถ เม ผาสุ ภวิสฺสติ วสิสฺสามิ โน เจ เม ผาสุ ภวิสฺสติ อมุกํ นาม อาวาสํ คมิสฺสามิ ตตฺถ เม ผาสุ ภวิสฺสติ วสิสฺสามิ โน เจ เม ผาสุ ภวิสฺสติ ปจฺเจสฺส”นฺติ.  ตสฺส พหิสีมคตสฺส เอวํ โหติ “อิเธวิมํ จีวรํ กาเรสฺสํ น ปจฺเจสฺส”นฺติ. โส ตํ จีวรํ กาเรติ. ตสฺส ตํ จีวรํ กยิรมานํ นสฺสติ.  ตสฺส ภิกฺขุโน นาสนนฺติโก กถินุทฺธาโร.  ภิกฺขุ อตฺถตกถิโน ผาสุวิหาริโก จีวรํ อาทาย ปกฺกมติ “อมุกํ นาม อาวาสํ คมิสฺสามิ ตตฺถ เม ผาสุ ภวิสฺสติ วสิสฺสามิ โน เจ เม ผาสุ ภวิสฺสติ อมุกํ นาม อาวาสํ คมิสฺสามิ ตตฺถ เม ผาสุ ภวิสฺสติ วสิสฺสามิ โน เจ เม ผาสุ ภวิสฺสติ อมุกํ นาม อาวาสํ คมิสฺสามิ ตตฺถ เม ผาสุ ภวิสฺสติ วสิสฺสามิ โน เจ เม ผาสุ ภวิสฺสติ ปจฺเจสฺส”นฺติ.  โส พหิสีมคโต ตํ จีวรํ กาเรติ. โส กตจีวโร “ปจฺเจสฺสํ ปจฺเจสฺส”นฺติ พหิทฺธา กถินุทฺธารํ วีตินาเมติ. 
tena kho pana samayena Bārāṇaseyyakassa seṭṭhiputtassa mokkhacikāya kīḷantassa antagaṇṭhābādho hoti yena yāgu pi pītā na sammāpariṇāmaṃ gacchati bhattam pi bhuttaṃ na sammāpariṇāmaṃ gacchati uccāro pi passāvo pi na paguṇo.  so tena kiso hoti lūkho dubbaṇṇo uppaṇḍuppaṇḍukajāto dhamanisanthatagatto.  atha kho Bārāṇaseyyakassa seṭṭhissa etad ahosi: mayhaṃ kho puttassa kīdiso ābādho.  yāgu pi pītā na sammāpariṇāmaṃ gacchati bhattam pi bhuttaṃ na sammāpariṇāmaṃ gacchati uccāro pi passāvo pi na paguṇo, so tena kiso lūkho dubbaṇṇo uppaṇḍuppaṇḍukajāto dhamanisanthatagatto.  yaṃ nūnāhaṃ Rājagahaṃ gantvā rājānaṃ Jīvakaṃ vejjaṃ yāceyyaṃ puttaṃ me tikicchitun ti.  atha kho Bārāṇaseyyako seṭṭhi Rājagahaṃ gantvā yena rājā Māgadho Seniyo Bimbisāro ten’ upasaṃkami, upasaṃkamitvā rājānaṃ Māgadhaṃ Seniyaṃ Bimbisāraṃ etad avoca: mayhaṃ kho deva puttassa tādiso ābādho: yāgu pi ... dhamanisanthatagatto.  sādhu devo Jīvakaṃ (276) vejjaṃ āṇāpetu puttaṃ me tikicchitun ti. |21| 
ตสฺส ภิกฺขุโน สีมาติกฺกนฺติโก กถินุทฺธาโร.  ภิกฺขุ อตฺถตกถิโน ผาสุวิหาริโก จีวรํ อาทาย ปกฺกมติ “อมุกํ นาม อาวาสํ คมิสฺสามิ ตตฺถ เม ผาสุ ภวิสฺสติ วสิสฺสามิ โน เจ เม ผาสุ ภวิสฺสติ อมุกํ นาม อาวาสํ คมิสฺสามิ ตตฺถ เม ผาสุ ภวิสฺสติ วสิสฺสามิ โน เจ เม ผาสุ ภวิสฺสติ อมุกํ นาม อาวาสํ คมิสฺสามิ ตตฺถ เม ผาสุ ภวิสฺสติ วสิสฺสามิ โน เจ เม ผาสุ ภวิสฺสติ ปจฺเจสฺส”นฺติ.  โส พหิสีมคโต ตํ จีวรํ กาเรติ. โส กตจีวโร “ปจฺเจสฺสํ ปจฺเจสฺส”นฺติ สมฺภุณาติ กถินุทฺธารํ.  ตสฺส ภิกฺขุโน สห ภิกฺขูหิ กถินุทฺธาโร.      ผาสุวิหารปญฺจกํ นิฏฺฐิตํ. 
atha kho rājā Māgadho Seniyo Bimbisāro Jīvakaṃ Komārabhaccaṃ āṇāpesi: gaccha bhaṇe Jīvaka Bārāṇasiṃ gantvā Bārāṇaseyyakaṃ seṭṭhiputtaṃ tikicchāhīti.  evaṃ devā ’ti kho Jīvako Komārabhacco rañño Māgadhassa Seniyassa Bimbisārassa paṭisuṇitvā Bārāṇasiṃ gantvā yena Bārāṇaseyyako seṭṭhiputto ten’ upasaṃkami, upasaṃkamitvā Bārāṇaseyyakassa seṭṭhiputtassa vikāraṃ sallakkhetvā janaṃ ussāretvā tirokaraṇiyaṃ parikkhipitvā thambhe ubbandhitvā bhariyaṃ purato ṭhapetvā udaracchaviṃ upphāletvā antagaṇṭhiṃ nīharitvā bhariyāya dassesi passa te sāmikassa ābādhaṃ, iminā yāgu pi pītā na sammāpariṇāmaṃ gacchati bhattam pi bhuttaṃ na sammāpariṇāmaṃ gacchati uccāro pi passāvo pi na paguṇo, imināyaṃ kiso lūkho dubbaṇṇo uppaṇḍuppaṇḍukajāto dhamanisanthatagatto ’ti, antagaṇṭhiṃ viniveṭhetvā antāni paṭipavesetvā udaracchaviṃ sibbetvā ālepaṃ adāsi.  atha kho Bārāṇaseyyako seṭṭhiputto na cirass’ eva ārogo ahosi.  atha kho Bārāṇaseyyako seṭṭhi putto me ārogo ṭhito ’ti Jīvakassa Komārabhaccassa soḷasa sahassāni pādāsi.  atha kho Jīvako Komārabhacco tāni soḷasa sahassāni ādāya punad eva Rājagahaṃ paccāgacchi. |22| 
(๒๐๐. ปลิโพธาปลิโพธกถา) ๓๒๕. ทฺเวเม ภิกฺขเว กถินสฺส ปลิโพธา ทฺเว อปลิโพธา.  กตเม จ ภิกฺขเว ทฺเว กถินสฺส ปลิโพธา?  อาวาสปลิโพโธ จ จีวรปลิโพโธ จ.  กถญฺจ ภิกฺขเว อาวาสปลิโพโธ โหติ?  อิธ ภิกฺขเว ภิกฺขุ วสติ วา ตสฺมึ อาวาเส สาเปกฺโข วา ปกฺกมติ “ปจฺเจสฺส”นฺติ. 
tena kho pana samayena rañño Pajjotassa paṇḍurogābādho hoti.  bahū mahantā-mahantā disāpāmokkhā vejjā āgantvā nāsakkhiṃsu ārogaṃ kātuṃ, bahuṃ hiraññaṃ ādāya agamaṃsu.  atha kho rājā Pajjoto rañño Māgadhassa Seniyassa Bimbisārassa santike dūtaṃ pāhesi: mayhaṃ kho tādiso ābādho, sādhu devo Jīvakaṃ vejjaṃ āṇāpetu, so maṃ tikicchissatīti.  atha kho rājā Māgadho Seniyo Bimbisāro Jīvakaṃ Komārabhaccaṃ āṇāpesi: gaccha bhaṇe Jīvaka Ujjeniṃ gantvā rājānaṃ Pajjotaṃ tikicchāhīti.  evaṃ devā ’ti kho Jīvako Komārabhacco rañño Māgadhassa Seniyassa Bimbisārassa paṭisuṇitvā Ujjeniṃ gantvā yena rājā Pajjoto ten’ upasaṃkami, upasaṃkamitvā rañño Pajjotassa vikāraṃ sallakkhetvā rājānaṃ Pajjotaṃ etad avoca: |23| 
เอวํ โข ภิกฺขเว อาวาสปลิโพโธ โหติ.  กถญฺจ ภิกฺขเว จีวรปลิโพโธ โหติ?  อิธ ภิกฺขเว ภิกฺขุโน จีวรํ อกตํ วา โหติ วิปฺปกตํ วา จีวราสา วา อนุปจฺฉินฺนา.  เอวํ โข ภิกฺขเว จีวรปลิโพโธ โหติ.  อิเม โข ภิกฺขเว ทฺเว กถินสฺส ปลิโพธา. 
sappiṃ deva nippacissāmi, taṃ devo pivissatīti.  alaṃ bhaṇe Jīvaka yaṃ te sakkā vinā sappinā ārogaṃ kātuṃ taṃ karohi, jegucchaṃ me sappi paṭikkūlan ti.  atha kho Jīvakassa Komārabhaccassa etad (277) ahosi: imassa kho rañño tādiso ābādho na sakkā vinā sappinā ārogaṃ kātuṃ.  yaṃ nūnāhaṃ sappiṃ nippaceyyaṃ kasāvavaṇṇaṃ kasāvagandhaṃ kasāvarasan ti.  atha kho Jīvako Komārabhacco nānābhesajjehi sappiṃ nippaci kasāvavaṇṇaṃ kasāvagandhaṃ kasāvarasaṃ.  atha kho Jīvakassa Komārabhaccassa etad ahosi: imassa kho rañño sappi pītaṃ pariṇāmentaṃ uddekaṃ dassati.  caṇḍ’ āyaṃ rājā ghātāpeyyāsi maṃ.  yaṃ nūnāhaṃ paṭigacc’ eva āpuccheyyan ti.  atha kho Jīvako Komārabhacco yena rājā Pajjoto ten’ upasaṃkami, upasaṃkamitvā rājānaṃ Pajjotaṃ etad avoca: |24| 
กตเม จ ภิกฺขเว ทฺเว กถินสฺส อปลิโพธา?  อาวาสอปลิโพโธ จ จีวรอปลิโพโธ จ.  กถญฺจ ภิกฺขเว อาวาสอปลิโพโธ โหติ?  อิธ ภิกฺขเว ภิกฺขุ ปกฺกมติ ตมฺหา อาวาสา จตฺเตน วนฺเตน มุตฺเตน อนเปกฺโข “น ปจฺเจสฺส”นฺติ.  เอวํ โข ภิกฺขเว อาวาสอปลิโพโธ โหติ.  กถญฺจ ภิกฺขเว จีวรอปลิโพโธ โหติ?  อิธ ภิกฺขเว ภิกฺขุโน จีวรํ กตํ วา โหติ นฏฺฐํ วา วินฏฺฐํ วา ทฑฺฒํ วา จีวราสา วา อุปจฺฉินฺนา.  เอวํ โข ภิกฺขเว จีวรอปลิโพโธ โหติ.  อิเม โข ภิกฺขเว ทฺเว กถินสฺส อปลิโพธาติ. (ปลิโพธาปลิโพธกถา นิฏฺฐิตา.) 
mayaṃ kho deva vejjā nāma tādisena muhuttena mūlāni uddharāma bhesajjāni saṃharāma.  sādhu devo vāhanāgāresu ca dvāresu ca āṇāpetu: yena vāhanena Jīvako icchati tena vāhanena gacchatu, yena dvārena icchati tena dvārena gacchatu, yaṃ kālaṃ icchati taṃ kālaṃ gacchatu, yaṃ kālaṃ icchati taṃ kālaṃ pavisatū ’ti.  atha kho rājā Pajjoto vāhanāgāresu ca dvāresu ca āṇāpesi: yena vāhanena Jīvako icchati tena vāhanena gacchatu, yena dvārena icchati tena dvārena gacchatu, yaṃ kālaṃ icchati taṃ kālaṃ gacchatu, yaṃ kālaṃ icchati taṃ kālaṃ pavisatū ’ti.  tena kho pana samayena rañño Pajjotassa Bhaddavatikā nāma hatthinikā paññāsayojanikā hoti.  atha kho Jīvako Komārabhacco rañño Pajjotassa sappiṃ upanāmesi kasāvaṃ devo pivatū ’ti.  atha kho Jīvako Komārabhacco rājānaṃ Pajjotaṃ sappiṃ pāyetvā hatthisālaṃ gantvā Bhaddavatikāya hatthinikāya nagaramhā nippati. |25| 
    กถินกฺขนฺธโก นิฏฺฐิโต สตฺตโม.    ๒๐๑. ตสฺสุทฺทานํ ตึส ปาเวยฺยกา ภิกฺขู สาเกตุกฺกณฺฐิตา วสุํ. วสฺสํวุฏฺโฐกปุณฺเณหิ อคมุํ ชินทสฺสนํฯ  อิทํ วตฺถุ กถินสฺส กปฺปิสฺสนฺติ จ ปญฺจกา. อนามนฺตา อสมาจารา ตเถว คณโภชนํฯ 
atha kho rañño Pajjotassa taṃ sappi pītaṃ pariṇāmentaṃ uddekaṃ adāsi.  atha kho rājā Pajjoto manusse etad avoca: duṭṭhena bhaṇe Jīvakena sappiṃ pāyito ’mhi.  tena hi bhaṇe Jīvakaṃ vejjaṃ vicinathā ’ti.  Bhaddavatikāya deva hatthinikāya nagaramhā nippatito ’ti.  tena kho pana samayena rañño Pajjotassa Kāko nāma dāso saṭṭhiyojaniko hoti amanussena paṭicca jāto.  atha kho rājā Pajjoto Kākaṃ dāsam āṇāpesi: gaccha bhaṇe Kāka Jīvakaṃ vejjaṃ nivattehi rājā taṃ ācariya nivattāpetīti.  ete kho bhaṇe Kāka vejjā nāma bahumāyā, mā c’ assa kiñci paṭiggahesīti. |26| 
ยาวทตฺถญฺจ อุปฺปาโท อตฺถตานํ ภวิสฺสติ. ญตฺติ เอวตฺถตญฺเจว เอวญฺเจว อนตฺถตํฯ  อุลฺลิขิ โธวนา เจว วิจารณญฺจ เฉทนํ. พนฺธโน วฏฺฏิ กณฺฑุส ทฬฺหีกมฺมานุวาติกาฯ  ปริภณฺฑํ โอวทฺเธยฺยํ มทฺทนา นิมิตฺตํ กถา. กุกฺกุ สนฺนิธิ นิสฺสคฺคิ น กปฺปญฺญตฺร เต ตโยฯ  อญฺญตฺร ปญฺจาติเรเก สญฺฉินฺเนน สมณฺฑลี. นาญฺญตฺร ปุคฺคลา สมฺมา นิสฺสีมฏฺโฐนุโมทติฯ  กถินานตฺถตํ โหติ เอวํ พุทฺเธน เทสิตํ. อหตากปฺปปิโลติ ปํสุ ปาปณิกาย จฯ  อนิมิตฺตาปริกถา อกุกฺกุ จ อสนฺนิธิ. อนิสฺสคฺคิ กปฺปกเต ตถา ติจีวเรน จฯ  ปญฺจเก วาติเรเก วา ฉินฺเน สมณฺฑลีกเต. ปุคฺคลสฺสตฺถารา สมฺมา สีมฏฺโฐ อนุโมทติฯ 
atha kho Kāko dāso Jīvakaṃ Komārabhaccaṃ antarā magge Kosambiyaṃ sambhāvesi pātarāsaṃ karontaṃ.  atha kho Kāko dāso Jīvakaṃ Komārabhaccaṃ etad (278) avoca: rājā taṃ ācariya nivattāpetīti.  āgamehi bhaṇe Kāka yāva bhuñjāma, handa bhaṇe Kāka bhuñjassū ’ti.  alaṃ ācariya raññ’ amhi āṇatto: ete kho bhaṇe Kāka vejjā nāma bahumāyā mā c’ assa kiñci paṭiggahesīti.  tena kho pana samayena Jīvako Komārabhacco nakhena bhesajjaṃ olumpetvā āmalakaṃ ca khādati pāniyaṃ ca pivati.  atha kho Jīvako Komārabhacco Kākaṃ dāsaṃ etad avoca: handa bhaṇe Kāka āmalakaṃ ca khāda pāniyaṃ ca pivassū ’ti. |27| 
เอวํ กถินตฺถรณํ อุพฺภารสฺสฏฺฐมาติกา. ปกฺกมนนฺติ นิฏฺฐานํ สนฺนิฏฺฐานญฺจ นาสนํฯ  สวนํ อาสาวจฺเฉทิ สีมา สหุพฺภารฏฺฐมี. กตจีวรมาทาย “น ปจฺเจสฺส”นฺติ คจฺฉติฯ  ตสฺส ตํ กถินุทฺธาราเอ โหติ ปกฺกมนนฺติโก. อาทาย จีวรํ ยาติ นิสฺสีเม อิทํ จินฺตยิฯ  “กาเรสฺสํ น ปจฺเจสฺส”นฺติ นิฏฺฐาเน กถินุทฺธาโร. อาทาย นิสฺสีมํ เนว “น ปจฺเจสฺส”นฺติ มานโสฯ  ตสฺส ตํ กถินุทฺธาโร สนฺนิฏฺฐานนฺติโก ภเว. อาทาย จีวรํ ยาติ นิสฺสีเม อิทํ จินฺตยิฯ  “กาเรสฺสํ น ปจฺเจสฺส”นฺติ กยิรํ ตสฺส นสฺสติ. ตสฺส ตํ กถินุทฺธาโร ภวติ นาสนนฺติโกฯ 
atha kho Kāko dāso ayaṃ kho vejjo āmalakaṃ ca khādati pāniyaṃ ca pivati, na arahati kiñci pāpakaṃ hotun ti upaḍḍhāmalakaṃ ca khādi pāniyaṃ ca apāyi.  tassa taṃ upaḍḍhāmalakaṃ khādayitaṃ tatth’ eva nicchāresi.  atha kho Kāko dāso Jīvakaṃ Komārabhaccaṃ etad avoca: atthi me ācariya jīvitan ti.  mā bhaṇe Kāka bhāyi, tvaṃ c’ eva ārogo bhavissasi, rājā ca caṇḍo, so rājā ghātāpeyyāsi maṃ, tenāhaṃ na nivattāmīti Bhaddavatikaṃ hatthinikaṃ Kākassa niyyādetvā yena Rājagahaṃ tena pakkāmi, anupubbena yena Rājagahaṃ yena rājā Māgadho Seniyo Bimbisāro ten’ upasaṃkami, upasaṃkamitvā rañño Māgadhassa Seniyassa Bimbisārassa etam atthaṃ ārocesi.  suṭṭhu bhaṇe Jīvaka akāsi yam pi na nivatto, caṇḍo so rājā ghātāpeyyāsi tan ti. |28| 
อาทาย ยาติ “ปจฺเจสฺสํ” พหิ กาเรติ จีวรํ. กตจีวโร สุณาติ อุพฺภตํ กถินํ ตหึฯ  ตสฺส ตํ กถินุทฺธาโร ภวติ สวนนฺติโก. อาทาย ยาติ “ปจฺเจสฺสํ” พหิ กาเรติ จีวรํฯ  กตจีวโร พหิทฺธา นาเมติ กถินุทฺธารํ. ตสฺส ตํ กถินุทฺธาโร สีมาติกฺกนฺติโก ภเวฯ  อาทาย ยาติ “ปจฺเจสฺสํ” พหิ กาเรติ จีวรํ. กตจีวโร ปจฺเจสฺสํ สมฺโภติ กถินุทฺธารํฯ  ตสฺส ตํ กถินุทฺธาโร สห ภิกฺขูหิ ชายติ. อาทาย จ สมาทาย สตฺต-สตฺตวิธา คติฯ 
atha kho rājā Pajjoto ārogo samāno Jīvakassa Komārabhaccassa santike dūtaṃ pāhesi, āgacchatu Jīvako varaṃ dassāmīti.  alaṃ ayyo adhikāraṃ me devo saratū ’ti.  tena kho pana samayena rañño Pajjotassa Siveyyakaṃ dussayugaṃ uppannaṃ hoti bahunnaṃ dussānaṃ bahunnaṃ dussayugānaṃ bahunnaṃ dussayugasatānaṃ bahunnaṃ dussayugasahassānaṃ bahunnaṃ dussayugasatasahassānaṃ aggaṃ ca seṭṭhaṃ ca mokkhaṃ ca uttamaṃ ca pavaraṃ ca.  atha kho rājā Pajjoto taṃ Siveyyakaṃ dussayugaṃ Jīvakassa Komārabhaccassa pāhesi.  atha kho Jīvakassa Komārabhaccassa etad ahosi: idaṃ kho me Siveyyakaṃ dussayugaṃ raññā Pajjotena pahitaṃ bahunnaṃ dussānaṃ ... pavaraṃ ca, na yimaṃ añño koci paccārahati aññatra tena bhagavatā arahatā sammāsambuddhena raññā vā Māgadhena Seniyena Bimbisārenā ’ti.ḥ |29| 
ปกฺกมนนฺติกา นตฺถิ ฉกฺเก วิปฺปกเต คติ. อาทาย นิสฺสีมคตํ กาเรสฺสํ อิติ ชายติฯ  นิฏฺฐานํ สนฺนิฏฺฐานญฺจ นาสนญฺจ อิเม ตโย. อาทาย “น ปจฺเจสฺส”นฺติ พหิสีเม กโรมิติฯ  นิฏฺฐานํ สนฺนิฏฺฐานมฺปิ นาสนมฺปิ อิทํ ตโย. อนธิฏฺฐิเตน เนวสฺส เหฏฺฐา ตีณิ นยาวิธิฯ  อาทาย ยาติ ปจฺเจสฺสํ พหิสีเม กโรมิติ. “น ปจฺเจสฺส”นฺติ กาเรติ นิฏฺฐาเน กถินุทฺธาโรฯ  สนฺนิฏฺฐานํ นาสนญฺจ สวนสีมาติกฺกมา. สห ภิกฺขูหิ ชาเยถ เอวํ ปนฺนรสํ คติฯ 
tena kho pana samayena bhagavato kāyo dosābhisanno hoti.  atha kho bhagavā āyasmantaṃ Ānandaṃ āmantesi: (279) dosābhisanno kho Ānanda tathāgatassa kāyo, icchati tathāgato virecanaṃ pātun ti.  atha kho āyasmā Ānando yena Jīvako Komārabhacco ten’ upasaṃkami, upasaṃkamitvā Jīvakaṃ Komārabhaccaṃ etad avoca: dosābhisanno kho āvuso Jīvaka tathāgatassa kāyo, icchati tathāgato virecanaṃ pātun ti.  tena hi bhante Ānanda bhagavato kāyaṃ katipāhaṃ sinehethā ’ti.  atha kho āyasmā Ānando bhagavato kāyaṃ katipāhaṃ sinehetvā yena Jīvako Komārabhacco ten’ upasaṃkami, upasaṃkamitvā Jīvakaṃ Komārabhaccaṃ etad avoca: siniddho kho āvuso Jīvaka tathāgatassa kāyo, yassa dāni kālaṃ maññasīti. |30| 
สมาทาย วิปฺปกตา สมาทาย ปุนา ตถา. อิเม เต จตุโร วารา สพฺเพ ปนฺนรสวิธิฯ  อนาสาย จ อาสาย กรณีโย จ เต ตโย. นยโต ตํ วิชาเนยฺย ตโย ทฺวาทส ทฺวาทสฯ  อปวิลานา นเวตฺถ ผาสุ ปญฺจวิธา ตหึ. ปลิโพธาปลิโพธา อุทฺทานํ นยโต กตนฺติฯ (อิมมฺหิ ขนฺธเก วตฺถู โทฬสกเปยฺยาลมุขานิ เอกสตํ อฏฺฐารส.)(กถินกฺขนฺธโก นิฏฺฐิโต.)  (๘. จีวรกฺขนฺธโก ๒๐๒. ชีวกวตฺถุ) ๓๒๖. เตน สมเยน พุทฺโธ ภควา ราชคเห วิหรติ เวฬุวเน กลนฺทกนิวาเป.  เตน โข ปน สมเยน เวสาลี อิทฺธา เจว โหติ ผิตา จ พหุชนา จ อากิณฺณมนุสฺสา จ สุภิกฺขา จ สตฺต จ ปาสาทสหสฺสานิ สตฺต จ ปาสาทสตานิ สตฺต จ ปาสาทา สตฺต จ กูฏาคารสหสฺสานิ สตฺต จ กูฏาคารสตานิ สตฺต จ กูฏาคารานิ สตฺต จ อารามสหสฺสานิ สตฺต จ อารามสตานิ สตฺต จ อารามา สตฺต จ โปกฺขรณีสหสฺสานิ สตฺต จ โปกฺขรณีสตานิ สตฺต จ โปกฺขรณิโย 
atha kho Jīvakassa Komārabhaccassa etad ahosi: na kho me taṃ paṭirūpaṃ yo ’haṃ bhagavato oḷārikaṃ virecanaṃ dadeyyan ti, tīṇi uppalahatthāni nānābhesajjehi paribhāvetvā yena bhagavā ten’ upasaṃkami, upasaṃkamitvā ekaṃ uppalahatthaṃ bhagavato upanāmesi imaṃ bhante bhagavā paṭhamaṃ uppalahatthaṃ upasiṅghatu, idaṃ bhagavantaṃ dasakkhattuṃ virecessatīti.  dutiyam pi uppalahatthaṃ bhagavato upanāmesi imaṃ bhante bhagavā dutiyaṃ uppalahatthaṃ upasiṅghatu, idaṃ bhagavantaṃ dasakkhattuṃ virecessatīti.  tatiyam pi uppalahatthaṃ bhagavato upanāmesi imaṃ bhante bhagavā tatiyaṃ uppalahatthaṃ upasiṅghatu, idaṃ bhagavantaṃ dasakkhattuṃ virecessatīti, evaṃ bhagavato samatiṃsāya virecanaṃ bhavissatīti.  atha kho Jīvako Komārabhacco bhagavato samatiṃsāya virecanaṃ datvā bhagavantaṃ abhivādetvā padakkhiṇaṃ katvā pakkāmi. |31| 
อมฺพปาลี จ คณิกา อภิรูปา โหติ ทสฺสนียา ปาสาทิกา ปรมาย วณฺณโปกฺขรตาย สมนฺนาคตา ปทกฺขิณา นจฺเจ จ คีเต จ วาทิเต จ อภิสฏา อตฺถิกานํ อตฺถิกานํ มนุสฺสานํ ปญฺญาสาย จ รตฺตึ คจฺฉติ ตาย จ เวสาลี ภิยฺโยโสมตฺตาย อุปโสภติ.  อถ โข ราชคหโก เนคโม เวสาลึ อคมาสิ เกนจิเทว กรณีเยน.  อทฺทสา โข ราชคหโก เนคโม เวสาลึ อิทฺธญฺเจว ผิตญฺจ พหุชนญฺจ อากิณฺณมนุสฺสญฺจ สุภิกฺขญฺจ สตฺต จ ปาสาทสหสฺสานิ สตฺต จ ปาสาทสตานิ สตฺต จ ปาสาเท สตฺต จ กูฏาคารสหสฺสานิ สตฺต จ กูฏาคารสตานิ สตฺต จ กูฏาคารานิ สตฺต จ อารามสหสฺสานิ สตฺต จ อารามสตานิ สตฺต จ อาราเม สตฺต จ โปกฺขรณีสหสฺสานิ สตฺต จ โปกฺขรณีสตานิ สตฺต จ โปกฺขรณิโย อมฺพปาลิญฺจ คณิกํ อภิรูปํ ทสฺสนียํ ปาสาทิกํ ปรมาย วณฺณโปกฺขรตาย สมนฺนาคตํ ปทกฺขิณํ นจฺเจ จ คีเต จ วาทิเต จ อภิสฏํ อตฺถิกานํ อตฺถิกานํ มนุสฺสานํ ปญฺญาสาย จ รตฺตึ คจฺฉนฺตึ ตาย จ เวสาลึ ภิยฺโยโสมตฺตาย อุปโสภนฺตึ.  ๓๒๗. อถ โข ราชคหโก เนคโม เวสาลิยํ ตํ กรณียํ ตีเรตฺวา ปุนเทว ราชคหํ ปจฺจาคญฺฉิ. เยน ราชา มาคโธ เสนิโย พิมฺพิสาโร เตนุปสงฺกมิ อุปสงฺกมิตฺวา ราชานํ มาคธํ เสนิยํ พิมฺพิสารํ เอตทโวจ “เวสาลี เทว อิทฺธา เจว ผิตา จ พหุชนา จ อากิณฺณมนุสฺสา จ สุภิกฺขา จ สตฺต จ ปาสาทสหสฺสานิฯเปฯ ตาย จ เวสาลี ภิยฺโยโสมตฺตาย อุปโสภติ. 
atha kho Jīvakassa Komārabhaccassa bahi dvārakoṭṭhakā nikkhantassa etad ahosi: mayā kho bhagavato samatiṃsāya virecanaṃ dinnaṃ.  dosābhisanno tathāgatassa kāyo, na bhagavantaṃ samatiṃsakkhattuṃ virecessati, ekūnatiṃsakkhattuṃ bhagavantaṃ virecessati, api ca bhagavā viritto nahāyissati, nahātaṃ bhagavantaṃ sakiṃ virecessati, evaṃ bhagavato samatiṃsāya virecanaṃ bhavissatīti.  atha kho bhagavā Jīvakassa Komārabhaccassa cetasā cetoparivitakkaṃ aññāya āyasmantaṃ Ānandaṃ āmantesi: idhānanda Jīvakassa Komārabhaccassa bahi dvārakoṭṭhakā nikkhantassa etad ahosi: mayā kho bhagavato ... bhavissatīti.  tena h’ Ānanda uṇhodakaṃ paṭiyādethā ’ti.  evaṃ bhante ’ti kho āyasmā Ānando bhagavato paṭisuṇitvā uṇho-(280)dakaṃ paṭiyādesi. |32| 
สาธุ เทว มยมฺปิ คณิกํ วุฏฺฐาเปสฺสามา”ติ.  “เตน หิ ภเณ ตาทิสึ กุมารึ ชานาถ ยํ ตุมฺเห คณิกํ วุฏฺฐาเปยฺยาถา”ติ.  เตน โข ปน สมเยน ราชคเห สาลวตี นาม กุมารี อภิรูปา โหติ ทสฺสนียา ปาสาทิกา ปรมาย วณฺณโปกฺขรตาย สมนฺนาคตา.  อถ โข ราชคหโก เนคโม สาลวตึ กุมารึ คณิกํ วุฏฺฐาเปสิ.  อถ โข สาลวตี คณิกา นจิรสฺเสว ปทกฺขิณา อโหสิ นจฺเจ จ คีเต จ วาทิเต จ อภิสฏา อตฺถิกานํ อตฺถิกานํ มนุสฺสานํ ปฏิสเตน จ รตฺตึ คจฺฉติ. 
atha kho Jīvako Komārabhacco yena bhagavā ten’ upasaṃkami, upasaṃkamitvā bhagavantaṃ abhivādetvā ekamantaṃ nisīdi, ekamantaṃ nisinno kho Jīvako Komārabhacco bhagavantaṃ etad avoca: viritto bhante bhagavā ’ti.  viritto ’mhi Jīvakā ’ti.  idha mayhaṃ bhante bahi dvārakoṭṭhakā nikkhantassa etad ahosi: mayā kho bhagavato ... bhavissatīti.  nahāyatu bhante bhagavā, nahāyatu sugato ’ti.  atha kho bhagavā uṇhodakaṃ nahāyi, nahātaṃ bhagavantaṃ sakiṃ virecesi, evaṃ bhagavato samatiṃsāya virecanaṃ ahosi.  atha kho Jīvako Komārabhacco bhagavantaṃ etad avoca: yāva bhante bhagavato kāyo pakatatto hoti, alaṃ yūsapiṇḍapātenā ’ti.  atha kho bhagavato kāyo na cirass’ eva pakatatto ahosi. |33| 
อถ โข สาลวตี คณิกา นจิรสฺเสว คพฺภินี อโหสิ.  อถ โข สาลวติยา คณิกาย เอตทโหสิ “อิตฺถี โข คพฺภินี ปุริสานํ อมนาปา.  สเจ มํ โกจิ ชานิสฺสติ สาลวตี คณิกา คพฺภินีติ สพฺโพ เม สกฺกาโร ภญฺชิสฺสติ.  ยํนูนาหํ คิลานํ ปฏิเวเทยฺย”นฺติ.  อถ โข สาลวตี คณิกา โทวาริกํ อาณาเปสิ “มา ภเณ โทวาริก โกจิ ปุริโส ปาวิสิ. โย จ มํ ปุจฺฉติ ‘คิลานา’ติ ปฏิเวเทหี”ติ.  “เอวํ อยฺเย”ติ โข โส โทวาริโก สาลวติยา คณิกาย ปจฺจสฺโสสิ.  อถ โข สาลวตี คณิกา ตสฺส คพฺภสฺส ปริปากมนฺวาย ปุตฺตํ วิชายิ. 
atha kho Jīvako Komārabhacco taṃ Siveyyakaṃ dussayugaṃ ādāya yena bhagavā ten’ upasaṃkami, upasaṃkamitvā bhagavantaṃ abhivādetvā ekamantaṃ nisīdi.  ekamantaṃ nisinno kho Jīvako Komārabhacco bhagavantaṃ etad avoca: ekāhaṃ bhante bhagavantaṃ varaṃ yācāmīti.  atikkantavarā kho Jīvaka tathāgatā ’ti.  yaṃ ca bhante kappati yaṃ ca anavajjan ti.  vadehi Jīvakā ’ti.  bhagavā bhante paṃsukūliko bhikkhusaṃgho ca.  idaṃ me bhante Siveyyakaṃ dussayugaṃ raññā Pajjotena pahitaṃ bahunnaṃ dussānaṃ bahunnaṃ dussayugānaṃ bahunnaṃ dussayugasatānaṃ bahunnaṃ dussayugasahassānaṃ bahunnaṃ dussayugasatasahassānaṃ aggaṃ ca seṭṭhaṃ ca mokkhaṃ ca uttamaṃ ca pavaraṃ ca.  paṭigaṇhātu me bhante bhagavā Siveyyakaṃ dussayugaṃ bhikkhusaṃghassa ca gahapaticīvaraṃ anujānātū ’ti.  paṭiggahesi bhagavā Siveyyakaṃ dussayugaṃ.  atha kho bhagavā Jīvakam Komārabhaccaṃ dhammiyā kathāya sandassesi samādapesi samuttejesi sampahaṃsesi.  atha kho Jīvako Komārabhacco bhagavatā dhammiyā kathāya sandassito samādapito samuttejito sampahaṃsito uṭṭhāyāsanā bhagavantaṃ abhivādetvā padakkhiṇaṃ katvā pakkāmi. |34| 
อถ โข สาลวตี คณิกา ทาสึ อาณาเปสิ “หนฺท เช อิมํ ทารกํ กตฺตรสุปฺเป ปกฺขิปิตฺวา นีหริตฺวา สงฺการกูเฏ ฉฑฺเฑหี”ติ.  “เอวํ อยฺเย”ติ โข สา ทาสี สาลวติยา คณิกาย ปฏิสฺสุตฺวา ตํ ทารกํ กตฺตรสุปฺเป ปกฺขิปิตฺวา นีหริตฺวา สงฺการกูเฏ ฉฑฺเฑสิ.  ๓๒๘. เตน โข ปน สมเยน อภโย นาม ราชกุมาโร กาลสฺเสว ราชุปฏฺฐานํ คจฺฉนฺโต อทฺทส ตํ ทารกํ กาเกหิ สมฺปริกิณฺณํ ทิสฺวาน มนุสฺเส ปุจฺฉิ “กึ เอตํ ภเณ กาเกหิ สมฺปริกิณฺณ”นฺติ?  “ทารโก เทวา”ติ.  “ชีวติ ภเณ”ติ?  “ชีวติ เทวา”ติ.  “เตน หิ ภเณ ตํ ทารกํ อมฺหากํ อนฺเตปุรํ เนตฺวา ธาตีนํ เทถ โปเสตุ”นฺติ.  “เอวํ เทวา”ติ โข เต มนุสฺสา อภยสฺส ราชกุมารสฺส ปฏิสฺสุตฺวา ตํ ทารกํ อภยสฺส ราชกุมารสฺส อนฺเตปุรํ เนตฺวา ธาตีนํ อทํสุ “โปเสถา”ติ.  ตสฺส ชีวตีติ ‘ชีวโก’ติ นามํ อกํสุ. กุมาเรน โปสาปิโตติ ‘โกมารภจฺโจ’ติ นามํ อกํสุ.  อถ โข ชีวโก โกมารภจฺโจ นจิรสฺเสว วิญฺญุตํ ปาปุณิ.  อถ โข ชีวโก โกมารภจฺโจ เยน อภโย ราชกุมาโร เตนุปสงฺกมิ อุปสงฺกมิตฺวา อภยํ ราชกุมารํ เอตทโวจ “กา เม เทว มาตา โก ปิตา”ติ? 
atha kho bhagavā etasmiṃ nidāne dhammiṃ kathaṃ katvā bhikkhū āmantesi: anujānāmi bhikkhave gahapaticīvaraṃ.  yo icchati paṃsukūliko hotu, yo icchati gahapaticīvaraṃ sādiyatu.  itarītarena p’ āhaṃ bhikkhave santuṭṭhiṃ vaṇṇemīti.  assosuṃ kho Rājagahe manussā bhagavatā (281) kira bhikkhūnaṃ gahapaticīvaraṃ anuññātan ti, te ca manussā haṭṭhā ahesuṃ udaggā, idāni kho mayaṃ dānāni dassāma puññāni karissāma yato bhagavatā bhikkhūnaṃ gahapaticīvaraṃ anuññātan ti, ekāhen’ eva Rājagahe bahūni cīvarasahassāni uppajjiṃsu.  assosuṃ kho jānapadā manussā bhagavatā kira bhikkhūnaṃ gahapaticīvaraṃ anuññātan ti, te ca manussā haṭṭhā ahesuṃ udaggā, idāni kho mayaṃ dānāni dassāma puññāni karissāma yato bhagavatā bhikkhūnaṃ gahapaticīvaraṃ anuññātan ti, janapade pi ekāhen’ eva bahūni cīvarasahassāni uppajjiṃsu. |35| 
“อหมฺปิ โข เต ภเณ ชีวก มาตรํ น ชานามิ อปิ จาหํ เต ปิตา มยาสิ โปสาปิโต”ติ.  อถ โข ชีวกสฺส โกมารภจฺจสฺส เอตทโหสิ “อิมานิ โข ราชกุลานิ น สุกรานิ อสิปฺเปน อุปชีวิตุํ.  ยํนูนาหํ สิปฺปํ สิกฺเขยฺย”นฺติ.  ๓๒๙. เตน โข ปน สมเยน ตกฺกสิลายํ ทิสาปาโมกฺโข เวชฺโช ปฏิวสติ.  อถ โข ชีวโก โกมารภจฺโจ อภยํ ราชกุมารํ อนาปุจฺฉา เยน ตกฺกสิลา เตน ปกฺกามิ. อนุปุพฺเพน เยน ตกฺกสิลา เยน เวชฺโช เตนุปสงฺกมิ อุปสงฺกมิตฺวา ตํ เวชฺชํ เอตทโวจ “อิจฺฉามหํ อาจริย สิปฺปํ สิกฺขิตุ”นฺติ. 
tena kho pana samayena saṃghassa pāvāro uppanno hoti.  bhagavato etam atthaṃ ārocesuṃ.  anujānāmi bhikkhave pāvāran ti.  koseyyapāvāro uppanno hoti.  anujānāmi bhikkhave koseyyapāvāran ti.  kojavaṃ uppannaṃ hoti.  anujānāmi bhikkhave kojavan ti. |36| 
“เตน หิ ภเณ ชีวก สิกฺขสฺสู”ติ.  อถ โข ชีวโก โกมารภจฺโจ พหุญฺจ คณฺหาติ ลหุญฺจ คณฺหาติ สุฏฺฐุ จ อุปธาเรติ คหิตญฺจสฺส น สมฺมุสฺสติ.  อถ โข ชีวกสฺส โกมารภจฺจสฺส สตฺตนฺนํ วสฺสานํ อจฺจเยน เอตทโหสิ “อหํ โข พหุญฺจ คณฺหามิ ลหุญฺจ คณฺหามิ สุฏฺฐุ จ อุปธาเรมิ คหิตญฺจ เม น สมฺมุสฺสติ สตฺต จ เม วสฺสานิ อธียนฺตสฺส นยิมสฺส สิปฺปสฺส อนฺโต ปญฺญายติ. กทา อิมสฺส สิปฺปสฺส อนฺโต ปญฺญายิสฺสตี”ติ.  อถ โข ชีวโก โกมารภจฺโจ เยน โส เวชฺโช เตนุปสงฺกมิ อุปสงฺกมิตฺวา ตํ เวชฺชํ เอตทโวจ “อหํ โข อาจริย พหุญฺจ คณฺหามิ ลหุญฺจ คณฺหามิ สุฏฺฐุ จ อุปธาเรมิ คหิตญฺจ เม น สมฺมุสฺสติ สตฺต จ เม วสฺสานิ อธียนฺตสฺส นยิมสฺส สิปฺปสฺส อนฺโต ปญฺญายติ. กทา อิมสฺส สิปฺปสฺส อนฺโต ปญฺญายิสฺสตี”ติ?  “เตน หิ ภเณ ชีวก ขณิตฺตึ อาทาย ตกฺกสิลาย สมนฺตา โยชนํ อาหิณฺฑิตฺวา ยํ กิญฺจิ อเภสชฺชํ ปสฺเสยฺยาสิ ตํ อาหรา”ติ.  “เอวํ อาจริยา”ติ โข ชีวโก โกมารภจฺโจ ตสฺส เวชฺชสฺส ปฏิสฺสุตฺวา ขณิตฺตึ อาทาย ตกฺกสิลาย สมนฺตา โยชนํ อาหิณฺฑนฺโต น กิญฺจิ อเภสชฺชํ อทฺทส.  อถ โข ชีวโก โกมารภจฺโจ เยน โส เวชฺโช เตนุปสงฺกมิ อุปสงฺกมิตฺวา ตํ เวชฺชํ เอตทโวจ “อาหิณฺฑนฺโตมฺหิ อาจริย ตกฺกสิลาย สมนฺตา โยชนํ น กิญฺจิ อเภสชฺชํ อทฺทส”นฺติ. 
||1|| 
“สุสิกฺขิโตสิ ภเณ ชีวก. อลํ เต เอตฺตกํ ชีวิกายา”ติ ชีวกสฺส โกมารภจฺจสฺส ปริตฺตํ ปาเถยฺยํ ปาทาสิ. 
paṭhamakabhāṇavāraṃ niṭṭhitaṃ. 
อถ โข ชีวโก โกมารภจฺโจ ตํ ปริตฺตํ ปาเถยฺยํ อาทาย เยน ราชคหํ เตน ปกฺกามิ. 
tena kho pana samayena Kāsikarājā Jīvakassa Komārabhaccassa aḍḍhakāsikaṃ kambalaṃ pāhesi upaḍḍhakāsinaṃ khamamānaṃ.  atha kho Jīvako Komārabhacco taṃ aḍḍhakāsikaṃ kambalaṃ ādāya yena bhagavā ten’ upasaṃkami, upasaṃkamitvā bhagavantaṃ abhivādetvā ekamantaṃ nisīdi.  ekamantaṃ nisinno kho Jīvako Komārabhacco bhagavantaṃ etad avoca: ayaṃ me bhante aḍḍhakāsiko kambalo Kāsiraññā pahito upaḍḍhakāsinaṃ khamamāno.  paṭigaṇhātu me bhante bhagavā kambalaṃ yaṃ mama assa dīgharattaṃ hitāya sukhāyā ’ti.  paṭiggahesi bhagavā kambalaṃ.  atha kho bhagavā Jīvakaṃ Komārabhaccaṃ dhammiyā kathāya sandassesi --la-- padakkhiṇaṃ katvā pakkāmi.  atha kho bhagavā etasmiṃ nidāne dhammiṃ kathaṃ katvā bhikkhū āmantesi: anujānāmi bhikkhave kambalan ti. |1| 
อถ โข ชีวกสฺส โกมารภจฺจสฺส ตํ ปริตฺตํ ปาเถยฺยํ อนฺตรามคฺเค สาเกเต ปริกฺขยํ อคมาสิ.  อถ โข ชีวกสฺส โกมารภจฺจสฺส เอตทโหสิ “อิเม โข มคฺคา กนฺตารา อปฺโปทกา อปฺปภกฺขา น สุกรา อปาเถยฺเยน คนฺตุํ. ยํนูนาหํ ปาเถยฺยํ ปริเยเสยฺย”นฺติ. (ชีวกวตฺถุ นิฏฺฐิตํ.)  (๒๐๓. เสฏฺฐิภริยาวตฺถุ) ๓๓๐. เตน โข ปน สมเยน สาเกเต เสฏฺฐิภริยาย สตฺตวสฺสิโก สีสาพาโธ โหติ. พหู มหนฺตา มหนฺตา ทิสาปาโมกฺขา เวชฺชา อาคนฺตฺวา นาสกฺขิ๎สุ อโรคํ กาตุํ. พหุํ หิรญฺญํ อาทาย อคมํสุ.  อถ โข ชีวโก โกมารภจฺโจ สาเกตํ ปวิสิตฺวา มนุสฺเส ปุจฺฉิ “โก ภเณ คิลาโน กํ ติกิจฺฉามี”ติ?  “เอติสฺสา อาจริย เสฏฺฐิภริยาย สตฺตวสฺสิโก สีสาพาโธ คจฺฉ อาจริย เสฏฺฐิภริยํ ติกิจฺฉาหี”ติ.  อถ โข ชีวโก โกมารภจฺโจ เยน เสฏฺฐิสฺส คหปติสฺส นิเวสนํ เตนุปสงฺกมิ อุปสงฺกมิตฺวา โทวาริกํ อาณาเปสิ “คจฺฉ ภเณ โทวาริก เสฏฺฐิภริยาย ปาวท ‘เวชฺโช อยฺเย อาคโต โส ตํ ทฏฺฐุกาโม”’ติ.  “เอวํ อาจริยา”ติ โข โส โทวาริโก ชีวกสฺส โกมารภจฺจสฺส ปฏิสฺสุตฺวา เยน เสฏฺฐิภริยา เตนุปสงฺกมิ อุปสงฺกมิตฺวา เสฏฺฐิภริยํ เอตทโวจ “เวชฺโช อยฺเย อาคโต โส ตํ ทฏฺฐุกาโม”ติ. 
||2|| 
“กีทิโส ภเณ โทวาริก เวชฺโช”ติ? 
tena kho pana samayena saṃghassa uccāvacāni cīvarāni uppajjanti.  atha kho bhikkhūnaṃ etad ahosi: kiṃ nu kho bhagavatā cīvaraṃ anuññātaṃ kiṃ ananuññātan ti bhagavato etam atthaṃ ārocesuṃ.  anujānāmi bhikkhave cha cīvarāni khomaṃ kappāsikaṃ koseyyaṃ kambalaṃ sāṇaṃ bhaṅgan ti. |1| 
“ทหรโก อยฺเย”ติ.  “อลํ ภเณ โทวาริก กึ เม ทหรโก เวชฺโช กริสฺสติ?  พหู มหนฺตา มหนฺตา ทิสาปาโมกฺขา เวชฺชา อาคนฺตฺวา นาสกฺขิ๎สุ อโรคํ กาตุํ. พหุํ หิรญฺญํ อาทาย อคมํสู”ติ. 
tena kho pana samayena te bhikkhū gaha-(282)paticīvaraṃ sādiyanti, te kukkuccāyantā paṃsukūlaṃ na sādiyanti ekaṃ yeva bhagavatā cīvaraṃ anuññātaṃ na dve ’ti.  bhagavato etam atthaṃ ārocesuṃ.  anujānāmi bhikkhave gahapaticīvaraṃ sādiyantena paṃsukūlam pi sādituṃ, tadubhayena p’ āhaṃ bhikkhave santuṭṭhiṃ vaṇṇemīti. |2| 
อถ โข โส โทวาริโก เยน ชีวโก โกมารภจฺโจ เตนุปสงฺกมิ อุปสงฺกมิตฺวา ชีวกํ โกมารภจฺจํ เอตทโวจ “เสฏฺฐิภริยา อาจริย เอวมาห ‘อลํ ภเณ โทวาริก กึ เม ทหรโก เวชฺโช กริสฺสติ? พหู มหนฺตา มหนฺตา ทิสาปาโมกฺขา เวชฺชา อาคนฺตฺวา นาสกฺขิ๎สุ อโรคํ กาตุํ. พหุํ หิรญฺญํ อาทาย อคมํสู”’ติ.  “คจฺฉ ภเณ โทวาริก เสฏฺฐิภริยาย ปาวท ‘เวชฺโช อยฺเย เอวมาห มา กิร อยฺเย ปุเร กิญฺจิ อทาสิ. ยทา อโรคา อโหสิ ตทา ยํ อิจฺเฉยฺยาสิ ตํ ทชฺเชยฺยาสี”’ติ.  “เอวํ อาจริยา”ติ โข โส โทวาริโก ชีวกสฺส โกมารภจฺจสฺส ปฏิสฺสุตฺวา เยน เสฏฺฐิภริยา เตนุปสงฺกมิ อุปสงฺกมิตฺวา เสฏฺฐิภริยํ เอตทโวจ “เวชฺโช อยฺเย เอวมาห ‘มา กิร อยฺเย ปุเร กิญฺจิ อทาสิ. ยทา อโรคา อโหสิ ตทา ยํ อิจฺเฉยฺยาสิ ตํ ทชฺเชยฺยาสี”’ติ. 
|3| 
“เตน หิ ภเณ โทวาริก เวชฺโช อาคจฺฉตู”ติ. 
tena kho pana samayena sambahulā bhikkhū Kosalesu janapadesu addhānamaggapaṭipannā honti.  ekacce bhikkhū susānaṃ okkamiṃsu paṃsukūlāya, ekacce bhikkhū nāgamesuṃ.  ye te bhikkhū susānaṃ okkamiṃsu paṃsukūlāya te paṃsukūlāni labhiṃsu, ye te bhikkhū nāgamesuṃ te evaṃ āhaṃsu: amhākam pi āvuso bhāgaṃ dethā ’ti.  te evaṃ āhaṃsu: na mayaṃ āvuso tumhākaṃ bhāgaṃ dassāma, kissa tumhe nāgamitthā ’ti.  bhagavato etam atthaṃ ārocesuṃ.  anujānāmi bhikkhave nāgamentānaṃ nākāmā bhāgaṃ dātun ti. |1| 
“เอวํ อยฺเย”ติ โข โส โทวาริโก เสฏฺฐิภริยาย ปฏิสฺสุตฺวา เยน ชีวโก โกมารภจฺโจ เตนุปสงฺกมิ อุปสงฺกมิตฺวา ชีวกํ โกมารภจฺจํ เอตทโวจ “เสฏฺฐิภริยา ตํ อาจริย ปกฺโกสตี”ติ  อถ โข ชีวโก โกมารภจฺโจ เยน เสฏฺฐิภริยา เตนุปสงฺกมิ อุปสงฺกมิตฺวา เสฏฺฐิภริยาย วิการํ สลฺลกฺเขตฺวา เสฏฺฐิภริยํ เอตทโวจ “ปสเตน อยฺเย สปฺปินา อตฺโถ”ติ  อถ โข เสฏฺฐิภริยา ชีวกสฺส โกมารภจฺจสฺส ปสตํ สปฺปิ๎ ทาเปสิ.  อถ โข ชีวโก โกมารภจฺโจ ตํ ปสตํ สปฺปิ๎ นานาเภสชฺเชหิ นิปฺปจิตฺวา เสฏฺฐิภริยํ มญฺจเก อุตฺตานํ นิปาเตตฺวา นตฺถุโต อทาสิ.  อถ โข ตํ สปฺปิ๎ นตฺถุโต ทินฺนํ มุขโต อุคฺคญฺฉิ.  อถ โข เสฏฺฐิภริยา ปฏิคฺคเห นิฏฺฐุภิตฺวา ทาสึ อาณาเปสิ “หนฺท เช อิมํ สปฺปิ๎ ปิจุนา คณฺหาหี”ติ. 
tena kho pana samayena sambahulā bhikkhū Kosalesu janapadesu addhānamaggapaṭipannā honti.  ekacce bhikkhū susānaṃ okkamiṃsu paṃsukūlāya, ekacce bhikkhū āgamesuṃ.  ye te bhikkhū susānaṃ okkamiṃsu paṃsukūlāya te paṃsukūlāni labhiṃsu, ye te bhikkhū āgamesuṃ te evaṃ āhaṃsu: amhākam pi āvuso bhāgaṃ dethā ’ti.  te evaṃ āhaṃsu: na mayaṃ āvuso tumhākaṃ bhāgaṃ dassāma, kissa tumhe na okkamitthā ’ti.  bhagavato etam atthaṃ ārocesuṃ.  anujānāmi bhikkhave āgamentānaṃ akāmā bhāgaṃ dātun ti. |2| 
อถ โข ชีวกสฺส โกมารภจฺจสฺส เอตทโหสิ “อจฺฉริยํ ยาว ลูขายํ ฆรณี ยตฺร หิ นาม อิมํ ฉฑฺฑนียธมฺมํ สปฺปิ๎ ปิจุนา คาหาเปสฺสติ. พหุกานิ จ เม มหคฺฆานิ เภสชฺชานิ อุปคตานิ. กิมฺปิ มายํ กิญฺจิ เทยฺยธมฺมํ ทสฺสตี”ติ.  อถ โข เสฏฺฐิภริยา ชีวกสฺส โกมารภจฺจสฺส วิการํ สลฺลกฺเขตฺวา ชีวกํ โกมารภจฺจํ เอตทโวจ “กิสฺส ตฺวํ อาจริย วิมโนสี”ติ?  อิธ เม เอตทโหสิ “อจฺฉริยํ ยาว ลูขายํ ธรณี ยตฺร หิ นาม อิมํ ฉฑฺฑนียธมฺมํ สปฺปิ๎ ปิจุนา คาหาเปสฺสติ. พหุกานิ จ เม มหคฺฆานิ สชฺชานิ อุปคตานิ. กิมฺปิ มายํ กิญฺจิ เทยฺยธมฺมํ ทสฺสตี”ติ.  “มยํ โข อาจริย อาคาริกา นาม อุปชานาเมตสฺส สํยมสฺส. วรเมตํ สปฺปิ ทาสานํ วา กมฺมกรานํ วา ปาทพฺภญฺชนํ วา ปทีปกรเณ วา อาสิตฺตํ.  มา โข ตฺวํ อาจริย วิมโน อโหสิ. น เต เทยฺยธมฺโม หายิสฺสตี”ติ.  อถ โข ชีวโก โกมารภจฺโจ เสฏฺฐิภริยาย สตฺตวสฺสิกํ สีสาพาธํ เอเกเนว นตฺถุกมฺเมน อปกฑฺฒิ. 
tena kho pana samayena sambahulā bhikkhū Kosalesu janapadesu addhānamaggapaṭipannā honti.  ekacce bhikkhū paṭhamaṃ susānaṃ okkamiṃsu paṃsukūlāya, ekacce bhikkhū pacchā okkamiṃsu.  ye te bhikkhū paṭhamaṃ susānaṃ okkamiṃsu paṃsukūlāya te paṃsukūlāni labhiṃsu, ye te bhikkhū pacchā okkamiṃsu te na labhiṃsu, te evaṃ āhaṃsu: amhākam pi āvuso bhāgaṃ dethā ’ti.  te evaṃ āhaṃsu: na mayaṃ āvuso tumhākaṃ bhāgaṃ dassāma, kissa tumhe pacchā okkamitthā ’ti.  bhagavato etam atthaṃ ārocesuṃ.  anujānāmi bhikkhave pacchā okkantānaṃ nākāmā bhāgaṃ dātun ti. |3| 
อถ โข เสฏฺฐิภริยา อโรคา สมานา ชีวกสฺส โกมารภจฺจสฺส จตฺตาริ สหสฺสานิ ปาทาสิ. ปุตฺโต มาตา เม อโรคา ฐิตาติ จตฺตาริ สหสฺสานิ ปาทาสิ. สุณิสา สสฺสุ เม อโรคา ฐิตาติ จตฺตาริ สหสฺสานิ ปาทาสิ. เสฏฺฐิ คหปติ ภริยา เม อโรคา ฐิตาติ จตฺตาริ สหสฺสานิ ปาทาสิ ทาสญฺจ ทาสิญฺจ อสฺสรถญฺจ.  อถ โข ชีวโก โกมารภจฺโจ ตานิ โสฬสสหสฺสานิ อาทาย ทาสญฺจ ทาสิญฺจ อสฺสรถญฺจ เยน ราชคหํ เตน ปกฺกามิ. อนุปุพฺเพน เยน ราชคหํ เยน อภโย ราชกุมาโร เตนุปสงฺกมิ อุปสงฺกมิตฺวา อภยํ ราชกุมารํ เอตทโวจ “อิทํ เม เทว ปฐมกมฺมํ โสฬสสหสฺสานิ ทาโส จ ทาสี จ อสฺสรโถ จ. ปฏิคฺคณฺหาตุ เม เทโว โปสาวนิก”นฺติ.  “อลํ ภเณ ชีวก ตุยฺหเมว โหตุ. อมฺหากญฺเญว อนฺเตปุเร นิเวสนํ มาเปหี”ติ.  “เอวํ เทวา”ติ โข ชีวโก โกมารภจฺโจ อภยสฺส ราชกุมารสฺส ปฏิสฺสุตฺวา อภยสฺส ราชกุมารสฺส อนฺเตปุเร นิเวสนํ มาเปสิ. (เสฏฺฐิภริยาวตฺถุ นิฏฺฐิตํ.)  (๒๐๔. พิมฺพิสารราชวตฺถุ) ๓๓๑. เตน โข ปน สมเยน รญฺโญ มาคธสฺส เสนิยสฺส พิมฺพิสารสฺส ภคนฺทลาพาโธ โหติ. สาฏกา โลหิเตน มกฺขิยนฺติ.  เทวิโย ทิสฺวา อุปฺปณฺเฑนฺติ “อุตุนี ทานิ เทโว ปุปฺผํ เทวสฺส อุปฺปนฺนํ น จิรํ เทโว วิชายิสฺสตี”ติ. 
tena kho pana samayena sambahulā bhikkhū Kosalesu janapadesu addhānamaggapaṭipannā honti.  te sadisā susānaṃ okkamiṃsu paṃsukūlāya, ekacce bhikkhū paṃsukūlāni labhiṃsu, ekacce bhikkhū na (283) labhiṃsu.  ye te bhikkhū na labhiṃsu te evaṃ āhaṃsu: amhākam pi āvuso bhāgaṃ dethā ’ti.  te evaṃ āhaṃsu: na mayaṃ āvuso tumhākaṃ bhāgaṃ dassāma, kissa tumhe na labhitthā ’ti.  bhagavato etam atthaṃ ārocesuṃ.  anujānāmi bhikkhave sadisānaṃ okkantānaṃ akāmā bhāgaṃ dātun ti. |4| 
เตน ราชา มงฺกุ โหติ  อถ โข ราชา มาคโธ เสนิโย พิมฺพิสาโร อภยํ ราชกุมารํ เอตทโวจ “มยฺหํ โข ภเณ อภย ตาทิโส อาพาโธ สาฏกา โลหิเตน มกฺขิยนฺติ เทวิโย มํ ทิสฺวา อุปฺปณฺเฑนฺติ ‘อุตุนี ทานิ เทโว ปุปฺผํ เทวสฺส อุปฺปนฺนํ น จิรํ เทโว วิชายิสฺสตี’ติ.  อิงฺฆ ภเณ อภย ตาทิสํ เวชฺชํ ชานาหิ โย มํ ติกิจฺเฉยฺยา”ติ.  “อยํ เทว อมฺหากํ ชีวโก เวชฺโช ตรุโณ ภทฺรโก. โส เทวํ ติกิจฺฉิสฺสตี”ติ.  “เตน หิ ภเณ อภย ชีวกํ เวชฺชํ อาณาเปหิ โส มํ ติกิจฺฉิสฺสตี”ติ.  อถ โข อภโย ราชกุมาโร ชีวกํ โกมารภจฺจํ อาณาเปสิ “คจฺฉ ภเณ ชีวก ราชานํ ติกิจฺฉาหี”ติ. 
tena kho pana samayena sambahulā bhikkhū Kosalesu janapadesu addhānamaggapaṭipannā honti.  te katikaṃ katvā susānaṃ okkamiṃsu paṃsukūlāya, ekacce bhikkhū paṃsukūlāni labhiṃsu, ekacce bhikkhū na labhiṃsu.  ye te bhikkhū na labhiṃsu te evaṃ āhaṃsu: amhākam pi āvuso bhāgaṃ dethā ’ti.  te evaṃ āhaṃsu: na mayaṃ āvuso tumhākaṃ bhāgaṃ dassāma, kissa tumhe na labhitthā ’ti.  bhagavato etam atthaṃ ārocesuṃ.  anujānāmi bhikkhave katikaṃ katvā okkantānaṃ akāmā bhāgaṃ dātun ti. |5| 
“เอวํ เทวา”ติ โข ชีวโก โกมารภจฺโจ อภยสฺส ราชกุมารสฺส ปฏิสฺสุตฺวา นเขน เภสชฺชํ อาทาย เยน ราชา มาคโธ เสนิโย พิมฺพิสาโร เตนุปสงฺกมิ อุปสงฺกมิตฺวา ราชานํ มาคธํ เสนิยํ พิมฺพิสารํ เอตทโวจ “อาพาธํ เต เทว ปสฺสามา”ติ.  อถ โข ชีวโก โกมารภจฺโจ รญฺโญ มาคธสฺส เสนิยสฺส พิมฺพิสารสฺส ภคนฺทลาพาธํ เอเกเนว อาเลเปน อปกฑฺฒิ.  อถ โข ราชา มาคโธ เสนิโย พิมฺพิสาโร อโรโค สมาโน ปญฺจ อิตฺถิสตานิ สพฺพาลงฺการํ ภูสาเปตฺวา โอมุญฺจาเปตฺวา ปุญฺชํ การาเปตฺวา ชีวกํ โกมารภจฺจํ เอตทโวจ “เอตํ ภเณ ชีวก ปญฺจนฺนํ อิตฺถิสตานํ สพฺพาลงฺการํ ตุยฺหํ โหตู”ติ.  “อลํ เทว อธิการํ เม เทโว สรตู”ติ.  “เตน หิ ภเณ ชีวก มํ อุปฏฺฐห อิตฺถาคารญฺจ พุทฺธปฺปมุขญฺจ ภิกฺขุสงฺฆ”นฺติ.  “เอวํ เทวา”ติ โข ชีวโก โกมารภจฺโจ รญฺโญ มาคธสฺส เสนิยสฺส พิมฺพิสารสฺส ปจฺจสฺโสสิ. (พิมฺพิสารราชวตฺถุ นิฏฺฐิตํ.) 
||4|| 
(๒๐๕. ราชคหเสฏฺฐิวตฺถุ) ๓๓๒. เตน โข ปน สมเยน ราชคหกสฺส เสฏฺฐิสฺส สตฺตวสฺสิโก สีสาพาโธ โหติ. พหู มหนฺตา มหนฺตา ทิสาปาโมกฺขา เวชฺชา อาคนฺตฺวา นาสกฺขิ๎สุ อโรคํ กาตุํ. พหุํ หิรญฺญํ อาทาย อคมํสุ. 
tena kho pana samayena manussā cīvaraṃ ādāya ārāmaṃ āgacchanti, te paṭiggāhakaṃ alabhamānā paṭiharanti, cīvaraṃ parittaṃ uppajjati.  bhagavato etam atthaṃ ārocesuṃ.  anujānāmi bhikkhave pañcah’ aṅgehi samannāgataṃ bhikkhuṃ cīvarapaṭiggāhakaṃ sammannituṃ: yo na chandāgatiṃ gaccheyya, na dosāgatiṃ gaccheyya, na mohāgatiṃ gaccheyya, na bhayāgatiṃ gaccheyya, gahitāgahitaṃ ca jāneyya. |1| 
อปิ จ เวชฺเชหิ ปจฺจกฺขาโต โหติ. เอกจฺเจ เวชฺชา เอวมาหํสุ “ปญฺจมํ ทิวสํ เสฏฺฐิ คหปติ กาลํ กริสฺสตี”ติ. เอกจฺเจ เวชฺชา เอวมาหํสุ “สตฺตมํ ทิวสํ เสฏฺฐิ คหปติ กาลํ กริสฺสตี”ติ.  อถ โข ราชคหกสฺส เนคมสฺส เอตทโหสิ “อยํ โข เสฏฺฐิ คหปติ พหูปกาโร รญฺโญ เจว เนคมสฺส จ. อปิ จ เวชฺเชหิ ปจฺจกฺขาโต. เอกจฺเจ เวชฺชา เอวมาหํสุ ‘ปญฺจมํ ทิวสํ เสฏฺฐิ คหปติ กาลํ กริสฺสตี’ติ. เอกจฺเจ เวชฺชา เอวมาหํสุ ‘สตฺตมํ ทิวสํ เสฏฺฐิ คหปติ กาลํ กริสฺสตี’ติ. อยญฺจ รญฺโญ ชีวโก เวชฺโช ตรุโณ ภทฺรโก. ยํนูน มยํ ราชานํ ชีวกํ เวชฺชํ ยาเจยฺยาม เสฏฺฐึ คหปตึ ติกิจฺฉิตุ”นฺติ.  อถ โข ราชคหโก เนคโม เยน ราชา มาคโธ เสนิโย พิมฺพิสาโร เตนุปสงฺกมิ อุปสงฺกมิตฺวา ราชานํ มาคธํ เสนิยํ พิมฺพิสารํ เอตทโวจ “อยํ เทว เสฏฺฐิ คหปติ พหูปกาโร เทวสฺส เจว เนคมสฺส จ อปิ จ เวชฺเชหิ ปจฺจกฺขาโต. เอกจฺเจ เวชฺชา เอวมาหํสุ ปญฺจมํ ทิวสํ เสฏฺฐิ คหปติ กาลํ กริสฺสตีติ. เอกจฺเจ เวชฺชา เอวมาหํสุ สตฺตมํ ทิวสํ เสฏฺฐิ คหปติ กาลํ กริสฺสตีติ. 
evaṃ ca pana bhikkhave sammannitabbo: paṭhamaṃ bhikkhu yācitabbo, yācitvā vyattena bhikkhunā paṭibalena saṃgho ñāpetabbo: suṇātu me bhante saṃgho.  yadi saṃghassa pattakallaṃ saṃgho itthannāmaṃ bhikkhuṃ cīvarapaṭiggāhakaṃ sammanneyya.  esā ñatti.  suṇātu me bhante saṃgho.  saṃgho itthannāmaṃ bhikkhuṃ cīvarapaṭiggāhakaṃ sammannati.  yassāyasmato khamati itthannāmassa bhikkhuno cīvarapaṭiggāhakassa sammuti, so tuṇh’ assa, yassa na kkhamati so bhāseyya.  sammato saṃghena itthannāmo bhikkhu cīvarapaṭiggāhako.  khamati saṃghassa, tasmā tuṇhī, evaṃ etaṃ dhārayāmīti. |2| 
สาธุ เทโว ชีวกํ เวชฺชํ อาณาเปตุ เสฏฺฐึ คหปตึ ติกิจฺฉิตุ”นฺติ  อถ โข ราชา มาคโธ เสนิโย พิมฺพิสาโร ชีวกํ โกมารภจฺจํ อาณาเปสิ “คจฺฉ ภเณ ชีวก เสฏฺฐึ คหปตึ ติกิจฺฉาหี”ติ.  “เอวํ เทวา”ติ โข ชีวโก โกมารภจฺโจ รญฺโญ มาคธสฺส เสนิยสฺส พิมฺพิสารสฺส ปฏิสฺสุตฺวา เยน เสฏฺฐิ คหปติ เตนุปสงฺกมิ อุปสงฺกมิตฺวา เสฏฺฐิสฺส คหปติสฺส วิการํ สลฺลกฺเขตฺวา เสฏฺฐึ คหปตึ เอตทโวจ “สเจ ตฺวํ คหปติ อโรโค ภเวยฺยาสิ กึ เม อสฺส เทยฺยธมฺโม”ติ?  “สพฺพํ สาปเตยฺยญฺจ เต อาจริย โหตุ อหญฺจ เต ทาโส”ติ.  “สกฺขิสฺสสิ ปน ตฺวํ คหปติ เอเกน ปสฺเสน สตฺตมาเส นิปชฺชิตุ”นฺติ?  “สกฺโกมหํ อาจริย เอเกน ปสฺเสน สตฺตมาเส นิปชฺชิตุ”นฺติ.  “สกฺขิสฺสสิ ปน ตฺวํ คหปติ ทุติเยน ปสฺเสน สตฺตมาเส นิปชฺชิตุ”นฺติ?  “สกฺโกมหํ อาจริย ทุติเยน ปสฺเสน สตฺตมาเส นิปชฺชิตุ”นฺติ 
||5|| 
“สกฺขิสฺสสิ ปน ตฺวํ คหปติ อุตฺตาโน สตฺตมาเส นิปชฺชิตุ”นฺติ? 
tena kho pana samayena cīvarapaṭiggāhakā bhikkhū cīvaraṃ paṭiggahetvā tatth’ eva ujjhitvā pakkamanti, cīvaraṃ nassati.  bhagavato etam atthaṃ ārocesuṃ.  anujānāmi (284) bhikkhave pañcah’ aṅgehi samannāgataṃ bhikkhuṃ cīvaranidāhakaṃ sammannituṃ: yo na chandāgatiṃ gaccheyya ... na bhayāgatiṃ gaccheyya nihitānihitaṃ ca jāneyya. |1| 
“สกฺโกมหํ อาจริย อุตฺตาโน สตฺตมาเส นิปชฺชิตุ”นฺติ.  อถ โข ชีวโก โกมารภจฺโจ เสฏฺฐึ คหปตึ มญฺจเก นิปาเตตฺวา มญฺจเก สมฺพนฺธิตฺวา สีสจฺฉวึ อุปฺปาเฏตฺวา สิพฺพินึ วินาเมตฺวา ทฺเว ปาณเก นีหริตฺวา มหาชนสฺส ทสฺเสสิ “ปสฺสถยฺเย อิเม ทฺเว ปาณเก เอกํ ขุทฺทกํ เอกํ มหลฺลกํ.  เย เต อาจริยา เอวมาหํสุ ปญฺจมํ ทิวสํ เสฏฺฐิ คหปติ กาลํ กริสฺสตีติ เตหายํ มหลฺลโก ปาณโก ทิฏฺโฐ. ปญฺจมํ ทิวสํ เสฏฺฐิสฺส คหปติสฺส มตฺถลุงฺคํ ปริยาทิยิสฺสติ. มตฺถลุงฺคสฺส ปริยาทานา เสฏฺฐิ คหปติ กาลํ กริสฺสติ. สุทิฏฺโฐ เตหิ อาจริเยหิ. 
evaṃ ca pana bhikkhave sammannitabbo: paṭhamaṃ bhikkhu yācitabbo, yācitvā vyattena bhikkhunā paṭibalena saṃgho ñāpetabbo: suṇātu me bhante saṃgho.  yadi saṃghassa pattakallaṃ saṃgho itthannāmaṃ bhikkhuṃ cīvaranidāhakaṃ sammanneyya.  esā ñatti.  suṇātu me bhante saṃgho.  saṃgho itthannāmaṃ bhikkhuṃ cīvaranidāhakaṃ sammannati.  yassāyasmato khamati itthannāmassa bhikkhuno cīvaranidāhakassa sammuti so tuṇh’ assa, yassa na kkhamati so bhāseyya.  sammato saṃghena itthannāmo bhikkhu cīvaranidāhako.  khamati saṃghassa, tasmā tuṇhī, evaṃ etaṃ dhārayāmīti. |2| 
เย เต อาจริยา เอวมาหํสุ สตฺตมํ ทิวสํ เสฏฺฐิ คหปติ กาลํ กริสฺสตีติ เตหายํ ขุทฺทโก ปาณโก ทิฏฺโฐ. สตฺตมํ ทิวสํ เสฏฺฐิสฺส คหปติสฺส มตฺถลุงฺคํ ปริยาทิยิสฺสติ. มตฺถลุงฺคสฺส ปริยาทานา เสฏฺฐิ คหปติ กาลํ กริสฺสติ. สุทิฏฺโฐ เตหิ อาจริเยหี”ติ. สิพฺพินึ สมฺปฏิปาเฏตฺวา สีสจฺฉวึ สิพฺพิตฺวา อาเลปํ อทาสิ.  อถ โข เสฏฺฐิ คหปติ สตฺตาหสฺส อจฺจเยน ชีวกํ โกมารภจฺจํ เอตทโวจ “นาหํ อาจริย สกฺโกมิ เอเกน ปสฺเสน สตฺตมาเส นิปชฺชิตุ”นฺติ.  “นนุ เม ตฺวํ คหปติ ปฏิสฺสุณิ สกฺโกมหํ อาจริย เอเกน ปสฺเสน สตฺตมาเส นิปชฺชิตุ”นฺติ?  “สจฺจาหํ อาจริย ปฏิสฺสุณึ อปาหํ มริสฺสามิ นาหํ สกฺโกมิ เอเกน ปสฺเสน สตฺตมาเส นิปชฺชิตุ”นฺติ.  “เตน หิ ตฺวํ คหปติ ทุติเยน ปสฺเสน สตฺตมาเส นิปชฺชาหี”ติ.  อถ โข เสฏฺฐิ คหปติ สตฺตาหสฺส อจฺจเยน ชีวกํ โกมารภจฺจํ เอตทโวจ “นาหํ อาจริย สกฺโกมิ ทุติเยน ปสฺเสน สตฺตมาเส นิปชฺชิตุ”นฺติ.  “นนุ เม ตฺวํ คหปติ ปฏิสฺสุณิ สกฺโกมหํ อาจริย ทุติเยน ปสฺเสน สตฺตมาเส นิปชฺชิตุ”นฺติ?  “สจฺจาหํ อาจริย ปฏิสฺสุณึ อปาหํ มริสฺสามิ นาหํ อาจริย สกฺโกมิ ทุติเยน ปสฺเสน สตฺตมาเส นิปชฺชิตุ”นฺติ. 
||6|| 
“เตน หิ ตฺวํ คหปติ อุตฺตาโน สตฺตมาเส นิปชฺชาหี”ติ. 
tena kho pana samayena cīvaranidāhakā bhikkhū maṇḍape pi rukkhamūle pi nimbakose pi cīvaraṃ nidahanti, undurehi pi upacikāhi pi khajjanti.  bhagavato etam atthaṃ ārocesuṃ.  anujānāmi bhikkhave bhaṇḍāgāraṃ sammannituṃ yaṃ saṃgho ākaṅkhati vihāraṃ vā aḍḍhayogaṃ vā pāsādaṃ vā hammiyaṃ vā guhaṃ vā. |1| 
อถ โข เสฏฺฐิ คหปติ สตฺตาหสฺส อจฺจเยน ชีวกํ โกมารภจฺจํ เอตทโวจ “นาหํ อาจริย สกฺโกมิ อุตฺตาโน สตฺตมาเส นิปชฺชิตุ”นฺติ.  “นนุ เม ตฺวํ คหปติ ปฏิสฺสุณิ สกฺโกมหํ อาจริย อุตฺตาโน สตฺตมาเส นิปชฺชิตุ”นฺติ?  “สจฺจาหํ อาจริย ปฏิสฺสุณึ อปาหํ มริสฺสามิ นาหํ สกฺโกมิ อุตฺตาโน สตฺตมาเส นิปชฺชิตุ”นฺติ. 
evaṃ ca pana bhikkhave sammannitabbo: vyattena bhikkhunā paṭibalena saṃgho ñāpetabbo: suṇātu me bhante saṃgho.  yadi saṃghassa pattakallaṃ saṃgho itthannāmaṃ vihāraṃ bhaṇḍāgāraṃ sammanneyya.  esā ñatti.  suṇātu me bhante saṃgho.  saṃgho itthannāmaṃ vihāraṃ bhaṇḍāgāraṃ sammannati.  yassāyasmato khamati itthannāmassa vihārassa bhaṇḍāgārassa sammuti so tuṇh’ assa, yassa na kkhamati so bhāseyya.  sammato saṃghena itthannāmo vihāro bhaṇḍāgāraṃ.  khamati saṃghassa, tasmā tuṇhī, evaṃ etaṃ dhārayāmīti. |2| 
“อหํ เจ ตํ คหปติ น วเทยฺยํ เอตฺตกมฺปิ ตฺวํ น นิปชฺเชยฺยาสิ อปิ จ ปฏิกจฺเจว มยา ญาโต ตีหิ สตฺตาเหหิ เสฏฺฐิ คหปติ อโรโค ภวิสฺสตีติ.  อุฏฺเฐหิ คหปติ อโรโคสิ. ชานาสิ กึ เม เทยฺยธมฺโม”ติ?  “สพฺพํ สาปเตยฺยญฺจ เต อาจริย โหตุ อหญฺจ เต ทาโส”ติ.  “อลํ คหปติ มา เม ตฺวํ สพฺพํ สาปเตยฺยํ อทาสิ มา จ เม ทาโส. รญฺโญ สตสหสฺสํ เทหิ มยฺหํ สตสหสฺส”นฺติ.  อถ โข เสฏฺฐิ คหปติ อโรโค สมาโน รญฺโญ สตสหสฺสํ อทาสิ ชีวกสฺส โกมารภจฺจสฺส สตสหสฺสํ. (ราชคหเสฏฺฐิวตฺถุ นิฏฺฐิตํ.)  (๒๐๖. เสฏฺฐิปุตฺตวตฺถุ) ๓๓๓. เตน โข ปน สมเยน พาราณเสยฺยกสฺส เสฏฺฐิปุตฺตสฺส โมกฺขจิกาย กีฬนฺตสฺส อนฺตคณฺฐาพาโธ โหติ เยน ยาคุปิ ปีตา น สมฺมา ปริณามํ คจฺฉติ ภตฺตมฺปิ ภุตฺตํ น สมฺมา ปริณามํ คจฺฉติ อุจฺจาโรปิ ปสฺสาโวปิ น ปคุโณ.  โส เตน กิโส โหติ ลูโข ทุพฺพณฺโณ อุปฺปณฺฑุปฺปณฺฑุกชาโต ธมนิสนฺถตคตฺโต.  อถ โข พาราณเสยฺยกสฺส เสฏฺฐิสฺส เอตทโหสิ “มยฺหํ โข ปุตฺตสฺส ตาทิโส อาพาโธ 
||7|| 
(เยน) ยาคุปิ ปีตา น สมฺมา ปริณามํ คจฺฉติ ภตฺตมฺปิ ภุตฺตํ น สมฺมา ปริณามํ คจฺฉติ อุจฺจาโรปิ ปสฺสาโวปิ น ปคุโณ. โส เตน กิโส ลูโข ทุพฺพณฺโณ อุปฺปณฺฑุปฺปณฺฑุกชาโต ธมนิสนฺถตคตฺโต. 
tena kho pana samayena saṃghassa bhaṇḍāgāre cīvaraṃ aguttaṃ hoti.  bhagavato etam atthaṃ ārocesuṃ.  anujānāmi bhikkhave pañcah’ aṅgehi samannāgataṃ bhikkhuṃ bhaṇḍāgārikaṃ sammannituṃ: yo na chandāgatiṃ gaccheyya ... na bhayāgatiṃ gaccheyya guttāguttaṃ ca jāneyya.  evaṃ ca pana bhikkhave sammannitabbo -- la -sammato saṃghena itthannāmo bhikkhu bhaṇḍāgāriko.  (285) khamati saṃghassa, tasmā tuṇhī, evaṃ etaṃ dhārayāmīti. |1| 
ยํนูนาหํ ราชคหํ คนฺตฺวา ราชานํ ชีวกํ เวชฺชํ ยาเจยฺยํ ปุตฺตํ เม ติกิจฺฉิตุ”นฺติ.  อถ โข พาราณเสยฺยโก เสฏฺฐิ ราชคหํ คนฺตฺวา เยน ราชา มาคโธ เสนิโย พิมฺพิสาโร เตนุปสงฺกมิ อุปสงฺกมิตฺวา ราชานํ มาคธํ เสนิยํ พิมฺพิสารํ เอตทโวจ “มยฺหํ โข เทว ปุตฺตสฺส ตาทิโส อาพาโธ เยน ยาคุปิ ปีตา น สมฺมา ปริณามํ คจฺฉติ ภตฺตมฺปิ ภุตฺตํ น สมฺมา ปริณามํ คจฺฉติ อุจฺจาโรปิ ปสฺสาโวปิ น ปคุโณ. โส เตน กิโส ลูโข ทุพฺพณฺโณ อุปฺปณฺฑุปฺปณฺฑุกชาโต ธมนิสนฺถตคตฺโต.  สาธุ เทโว ชีวกํ เวชฺชํ อาณาเปตุ ปุตฺตํ เม ติกิจฺฉิตุ”นฺติ.  อถ โข ราชา มาคโธ เสนิโย พิมฺพิสาโร ชีวกํ โกมารภจฺจํ อาณาเปสิ “คจฺฉ ภเณ ชีวก พาราณสึ คนฺตฺวา พาราณเสยฺยกํ เสฏฺฐิปุตฺตํ ติกิจฺฉาหี”ติ.  “เอวํ เทวา”ติ โข ชีวโก โกมารภจฺโจ รญฺโญ มาคธสฺส เสนิยสฺส พิมฺพิสารสฺส ปฏิสฺสุตฺวา พาราณสึ คนฺตฺวา เยน พาราณเสยฺยโก เสฏฺฐิปุตฺโต เตนุปสงฺกมิ อุปสงฺกมิตฺวา พาราณเสยฺยกสฺส เสฏฺฐิปุตฺตสฺส วิการํ สลฺลกฺเขตฺวา ชนํ อุสฺสาเรตฺวา ติโรกรณิยํ ปริกฺขิปิตฺวา ถมฺเภ อุพฺพนฺธิตฺวา ภริยํ ปุรโต ฐเปตฺวา อุทรจฺฉวึ อุปฺปาเฏตฺวา อนฺตคณฺฐึ นีหริตฺวา ภริยาย ทสฺเสสิ “ปสฺส เต สามิกสฺส อาพาธํ อิมินา ยาคุปิ ปีตา น สมฺมา ปริณามํ คจฺฉติ ภตฺตมฺปิ ภุตฺตํ น สมฺมา ปริณามํ คจฺฉติ อุจฺจาโรปิ ปสฺสาโวปิ น ปคุโณ อิมินายํ กิโส ลูโข ทุพฺพณฺโณ อุปฺปณฺฑุปฺปณฺฑุกชาโต ธมนิสนฺถตคตฺโต”ติ. อนฺตคณฺฐึ วินิเวเฐตฺวา อนฺตานิ ปฏิปเวเสตฺวา อุทรจฺฉวึ สิพฺพิตฺวา อาเลปํ อทาสิ. 
tena kho pana samayena chabbaggiyā bhikkhū bhaṇḍāgārikaṃ vuṭṭhāpenti.  bhagavato etam atthaṃ ārocesuṃ.  na bhikkhave bhaṇḍāgāriko vuṭṭhāpetabbo.  yo vuṭṭhāpeyya, āpatti dukkaṭassā ’ti. |2| 
อถ โข พาราณเสยฺยโก เสฏฺฐิปุตฺโต นจิรสฺเสว อโรโค อโหสิ.  อถ โข พาราณเสยฺยโก เสฏฺฐิ ‘ปุตฺโต เม อโรโค ฐิโต’ติ ชีวกสฺส โกมารภจฺจสฺส โสฬสสหสฺสานิ ปาทาสิ.  อถ โข ชีวโก โกมารภจฺโจ ตานิ โสฬสสหสฺสานิ อาทาย ปุนเทว ราชคหํ ปจฺจาคญฺฉิ (เสฏฺฐิปุตฺตวตฺถุ นิฏฺฐิตํ.)  (๒๐๗. ปชฺโชตราชวตฺถุ) ๓๓๔. เตน โข ปน สมเยน รญฺโญ ปชฺโชตสฺส ปณฺฑุโรคาพาโธ โหติ. 
||8|| 
พหู มหนฺตา มหนฺตา ทิสาปาโมกฺขา เวชฺชา อาคนฺตฺวา นาสกฺขิ๎สุ อโรคํ กาตุํ. พหุํ หิรญฺญํ อาทาย อคมํสุ. 
tena kho pana samayena saṃghassa bhaṇḍāgāre cīvaraṃ ussannaṃ hoti.  bhagavato etam atthaṃ ārocesuṃ.  anujānāmi bhikkhave sammukhībhūtena saṃghena bhājetun ti.  tena kho pana samayena sabbo saṃgho cīvaraṃ bhājento kolāhalaṃ akāsi.  bhagavato etam atthaṃ ārocesuṃ.  anujānāmi bhikkhave pañcah’ aṅgehi samannāgataṃ bhikkhuṃ cīvarabhājakaṃ sammannituṃ yo na chandāgatiṃ gaccheyya ... na bhayāgatiṃ gaccheyya bhājitābhājitaṃ ca jāneyya.  evaṃ ca pana bhikkhave sammannitabbo -- la -sammato saṃghena itthannāmo bhikkhu cīvarabhājako.  khamati saṃghassa, tasmā tuṇhī, evam etaṃ dhārayāmīti. |1| 
อถ โข ราชา ปชฺโชโต รญฺโญ มาคธสฺส เสนิยสฺส พิมฺพิสารสฺส สนฺติเก ทูตํ ปาเหสิ “มยฺหํ โข ตาทิโส อาพาโธ สาธุ เทโว ชีวกํ เวชฺชํ อาณาเปตุ โส มํ ติกิจฺฉิสฺสตี”ติ.  อถ โข ราชา มาคโธ เสนิโย พิมฺพิสาโร ชีวกํ โกมารภจฺจํ อาณาเปสิ “คจฺฉ ภเณ ชีวก อุชฺเชนึ คนฺตฺวา ราชานํ ปชฺโชตํ ติกิจฺฉาหี”ติ.  “เอวํ เทวา”ติ โข ชีวโก โกมารภจฺโจ รญฺโญ มาคธสฺส เสนิยสฺส พิมฺพิสารสฺส ปฏิสฺสุตฺวา อุชฺเชนึ คนฺตฺวา เยน ราชา ปชฺโชโต เตนุปสงฺกมิ อุปสงฺกมิตฺวา รญฺโญ ปชฺโชตสฺส วิการํ สลฺลกฺเขตฺวา ราชานํ ปชฺโชตํ เอตทโวจ  “สปฺปิ๎ เทหิ สปฺปิ๎ เทว นิปฺปจิสฺสามิ. ตํ เทโว ปิวิสฺสตี”ติ.  “อลํ ภเณ ชีวก ยํ เต สกฺกา วินา สปฺปินา อโรคํ กาตุํ ตํ กโรหิ. เชคุจฺฉํ เม สปฺปิ ปฏิกูล”นฺติ.  อถ โข ชีวกสฺส โกมารภจฺจสฺส เอตทโหสิ “อิมสฺส โข รญฺโญ ตาทิโส อาพาโธ น สกฺกา วินา สปฺปินา อโรคํ กาตุํ.  ยํนูนาหํ สปฺปิ๎ นิปฺปเจยฺยํ กสาววณฺณํ กสาวคนฺธํ กสาวรส”นฺติ.  อถ โข ชีวโก โกมารภจฺโจ นานาเภสชฺเชหิ สปฺปิ๎ นิปฺปจิ กสาววณฺณํ กสาวคนฺธํ กสาวรสํ. 
atha kho cīvarabhājakānaṃ bhikkhūnaṃ etad ahosi: kathaṃ nu kho cīvaraṃ bhājetabban ti.  bhagavato etam atthaṃ ārocesuṃ.  anujānāmi bhikkhave paṭhamaṃ uccinitvā tulayitvā vaṇṇāvaṇṇaṃ katvā bhikkhū gaṇetvā vaggaṃ bandhitvā cīvarapaṭivisaṃ ṭhapetun ti.  atha kho cīvarabhājakānaṃ bhikkhūnaṃ etad ahosi: kathaṃ nu kho sāmaṇerānaṃ cīvarapaṭiviso dātabbo ’ti.  bhagavato etam atthaṃ ārocesuṃ.  anujānāmi bhikkhave sāmaṇerānaṃ upaḍḍhapaṭivisaṃ dātun ti. |2| 
อถ โข ชีวกสฺส โกมารภจฺจสฺส เอตทโหสิ “อิมสฺส โข รญฺโญ สปฺปิ ปีตํ ปริณาเมนฺตํ อุทฺเทกํ ทสฺสติ.  จณฺโฑยํ ราชา ฆาตาเปยฺยาปิ มํ.  ยํนูนาหํ ปฏิกจฺเจว อาปุจฺเฉยฺย”นฺติ.  อถ โข ชีวโก โกมารภจฺโจ เยน ราชา ปชฺโชโต เตนุปสงฺกมิ อุปสงฺกมิตฺวา ราชานํ ปชฺโชตํ เอตทโวจ  “มยํ โข เทว เวชฺชา นาม ตาทิเสน มุหุตฺเตน มูลานิ อุทฺธราม เภสชฺชานิ สํหราม.  สาธุ เทโว วาหนาคาเรสุ จ ทฺวาเรสุ จ อาณาเปตุ เยน วาหเนน ชีวโก อิจฺฉติ เตน วาหเนน คจฺฉตุ เยน ทฺวาเรน อิจฺฉติ เตน ทฺวาเรน คจฺฉตุ ยํ กาลํ อิจฺฉติ ตํ กาลํ คจฺฉตุ ยํ กาลํ อิจฺฉติ ตํ กาลํ ปวิสตู”ติ. 
tena kho pana samayena aññataro bhikkhu sakena bhāgena uttaritukāmo hoti.  bhagavato etam atthaṃ ārocesuṃ.  anujānāmi bhikkhave uttarantassa sakaṃ bhāgaṃ dātun ti.  tena kho pana samayena aññataro bhikkhu atirekabhāgena uttaritukāmo hoti.  bhagavato etam atthaṃ ārocesuṃ.  anujānāmi bhikkhave anukkhepe dinne atirekabhāgaṃ dātun ti. |3| 
อถ โข ราชา ปชฺโชโต วาหนาคาเรสุ จ ทฺวาเรสุ จ อาณาเปสิ “เยน วาหเนน ชีวโก อิจฺฉติ เตน วาหเนน คจฺฉตุ เยน ทฺวาเรน อิจฺฉติ เตน ทฺวาเรน คจฺฉตุ ยํ กาลํ อิจฺฉติ ตํ กาลํ คจฺฉตุ ยํ กาลํ อิจฺฉติ ตํ กาลํ ปวิสตู”ติ.  เตน โข ปน สมเยน รญฺโญ ปชฺโชตสฺส ภทฺทวติกา นาม หตฺถินิกา ปญฺญาสโยชนิกา โหติ.  อถ โข ชีวโก โกมารภจฺโจ รญฺโญ ปชฺโชตสฺส สปฺปิ๎ อุปนาเมสิ “กสาวํ เทโว ปิวตู”ติ.  อถ โข ชีวโก โกมารภจฺโจ ราชานํ ปชฺโชตํ สปฺปิ๎ ปาเยตฺวา หตฺถิสาลํ คนฺตฺวา ภทฺทวติกาย หตฺถินิกาย นครมฺหา นิปฺปติ  อถ โข รญฺโญ ปชฺโชตสฺส ตํ สปฺปิ ปีตํ ปริณาเมนฺตํ อุทฺเทกํ อทาสิ.  อถ โข ราชา ปชฺโชโต มนุสฺเส เอตทโวจ “ทุฏฺเฐน ภเณ ชีวเกน สปฺปิ๎ ปายิโตมฺหิ. 
atha kho cīvarabhājakānaṃ bhikkhūnaṃ etad ahosi: kathaṃ nu kho cīvarapaṭiviso dātabbo āgatapaṭipāṭiyā nu kho udāhu yathāvuḍḍhan ti.  bhagavato etam atthaṃ ārocesuṃ.  anujānāmi bhikkhave vikalake tosetvā kusapātaṃ kātun ti. |4| 
เตน หิ ภเณ ชีวกํ เวชฺชํ วิจินถา”ติ.  “ภทฺทวติกาย เทว หตฺถินิกาย นครมฺหา นิปฺปติโต”ติ.  เตน โข ปน สมเยน รญฺโญ ปชฺโชตสฺส กาโก นาม ทาโส สฏฺฐิโยชนิโก โหติ อมนุสฺเสน ปฏิจฺจ ชาโต. 
||9|| 
อถ โข ราชา ปชฺโชโต กากํ ทาสํ อาณาเปสิ “คจฺฉ ภเณ กาก ชีวกํ เวชฺชํ นิวตฺเตหิ ราชา ตํ อาจริย นิวตฺตาเปตีติ. 
tena kho pana samayena bhikkhū chakanena pi paṇḍu-(286)mattikāya pi cīvaraṃ rajanti, cīvaraṃ dubbaṇṇaṃ hoti.  bhagavato etam atthaṃ ārocesuṃ.  anujānāmi bhikkhave cha rajanāni mūlarajanaṃ khandharajanaṃ tacarajanaṃ pattarajanaṃ puppharajanaṃ phalarajanan ti. |1| 
เอเต โข ภเณ กาก เวชฺชา นาม พหุมายา. มา จสฺส กิญฺจิ ปฏิคฺคเหสี”ติ.  อถ โข กาโก ทาโส ชีวกํ โกมารภจฺจํ อนฺตรามคฺเค โกสมฺพิยํ สมฺภาเวสิ ปาตราสํ กโรนฺตํ.  อถ โข กาโก ทาโส ชีวกํ โกมารภจฺจํ เอตทโวจ “ราชา ตํ อาจริย นิวตฺตาเปตี”ติ. 
tena kho pana samayena bhikkhū sītunnakāya cīvaraṃ rajanti, cīvaraṃ duggandhaṃ hoti.  bhagavato etam atthaṃ ārocesuṃ.  anujānāmi bhikkhave rajanaṃ pacituṃ cullarajanakumbhin ti.  rajanaṃ uttariyati.  anujānāmi bhikkhave uttarāḷumpaṃ bandhitun ti.  tena kho pana samayena bhikkhū na jānanti rajanaṃ pakkaṃ vā apakkaṃ vā.  bhagavato etam atthaṃ ārocesuṃ.  anujānāmi bhikkhave udake vā nakhapiṭṭhikāya vā thevakaṃ dātun ti. |2| 
“อาคเมหิ ภเณ กาก ยาว ภุญฺชาม. หนฺท ภเณ กาก ภุญฺชสฺสู”ติ.  “อลํ อาจริย รญฺญามฺหิ อาณตฺโต เอเต โข ภเณ กาก เวชฺชา นาม พหุมายา มา จสฺส กิญฺจิ ปฏิคฺคเหสี”ติ.  เตน โข ปน สมเยน ชีวโก โกมารภจฺโจ นเขน เภสชฺชํ โอลุมฺเปตฺวา อามลกญฺจ ขาทติ ปานียญฺจ ปิวติ.  อถ โข ชีวโก โกมารภจฺโจ กากํ ทาสํ เอตทโวจ “หนฺท ภเณ กาก อามลกญฺจ ขาท ปานียญฺจ ปิวสฺสู”ติ.  อถ โข กาโก ทาโส อยํ โข เวชฺโช อามลกญฺจ ขาทติ ปานียญฺจ ปิวติ น อรหติ กิญฺจิ ปาปกํ โหตุนฺติ อุปฑฺฒามลกญฺจ ขาทิ ปานียญฺจ อปายิ.  ตสฺส ตํ อุปฑฺฒามลกํ ขาทิตํ ตตฺเถว นิจฺฉาเรสิ.  อถ โข กาโก ทาโส ชีวกํ โกมารภจฺจํ เอตทโวจ “อตฺถิ เม อาจริย ชีวิต”นฺติ?  “มา ภเณ กาก ภายิ ตฺวํ เจว อโรโค ภวิสฺสสิ ราชา จ. จณฺโฑ โส ราชา ฆาตาเปยฺยาปิ มํ เตนาหํ น นิวตฺตามี”ติ ภทฺทวติกํ หตฺถินิกํ กากสฺส นิยฺยาเทตฺวา เยน ราชคหํ เตน ปกฺกามิ. อนุปุพฺเพน เยน ราชา มาคโธ เสนิโย พิมฺพิสาโร เตนุปสงฺกมิ อุปสงฺกมิตฺวา รญฺโญ มาคธสฺส เสนิยสฺส พิมฺพิสารสฺส เอตมตฺถํ อาโรเจสิ. 
tena kho pana samayena bhikkhū rajanaṃ oropentā kumbhiṃ āvajjanti, kumbhī bhijjati.  bhagavato etam atthaṃ ārocesuṃ.  anujānāmi bhikkhave rajanauḷuṅkaṃ daṇḍakathālikan ti.  tena kho pana samayena bhikkhūnaṃ rajanabhājanaṃ na saṃvijjati.  bhagavato etam atthaṃ ārocesuṃ.  anujānāmi bhikkhave rajanakolambaṃ rajanaghaṭan ti.  tena kho pana samayena bhikkhū pātiyāpi patte pi cīvaraṃ sammaddanti, cīvaraṃ paribhijjati.  bhagavato etam atthaṃ ārocesuṃ.  anujānāmi bhikkhave rajanadoṇikan ti. |3| 
“สุฏฺฐุ ภเณ ชีวก อกาสิ ยมฺปิ น นิวตฺโต จณฺโฑ โส ราชา ฆาตาเปยฺยาปิ ต”นฺติ.  อถ โข ราชา ปชฺโชโต อโรโค สมาโน ชีวกสฺส โกมารภจฺจสฺส สนฺติเก ทูตํ ปาเหสิ “อาคจฺฉตุ ชีวโก วรํ ทสฺสามี”ติ.  “อลํ อยฺโย อธิการํ เม เทโว สรตู”ติ. (ปชฺโชตราชวตฺถุ นิฏฺฐิตํ.)  (๒๐๘. สิเวยฺยกทุสฺสยุคกถา) ๓๓๕. เตน โข ปน สมเยน รญฺโญ ปชฺโชตสฺส สิเวยฺยกํ ทุสฺสยุคํ อุปฺปนฺนํ โหติ พหูนํ ทุสฺสานํ พหูนํ ทุสฺสยุคานํ พหูนํ ทุสฺสยุคสตานํ พหูนํ ทุสฺสยุคสหสฺสานํ พหูนํ ทุสฺสยุคสตสหสฺสานํ อคฺคญฺจ เสฏฺฐญฺจ โมกฺขญฺจ อุตฺตมญฺจ ปวรญฺจ.  อถ โข ราชา ปชฺโชโต ตํ สิเวยฺยกํ ทุสฺสยุคํ ชีวกสฺส โกมารภจฺจสฺส ปาเหสิ.  อถ โข ชีวกสฺส โกมารภจฺจสฺส เอตทโหสิ “อิทํ โข เม สิเวยฺยกํ ทุสฺสยุคํ รญฺญา ปชฺโชเตน ปหิตํ พหูนํ ทุสฺสานํ พหูนํ ทุสฺสยุคานํ พหูนํ ทุสฺสยุคสตานํ พหูนํ ทุสฺสยุคสหสฺสานํ พหูนํ ทุสฺสยุคสตสหสฺสานํ อคฺคญฺจ เสฏฺฐญฺจ โมกฺขญฺจ อุตฺตมญฺจ ปวรญฺจ. นยิทํ อญฺโญ โกจิ ปจฺจารหติ อญฺญตฺร เตน ภควตา อรหตา สมฺมาสมฺพุทฺเธน รญฺญา วา มาคเธน เสนิเยน พิมฺพิสาเรนา”ติ. (สิเวยฺยกทุสฺสยุคกถา นิฏฺฐิตา.)  (๒๐๙. สมตฺตึสวิเรจนกถา) ๓๓๖. เตน โข ปน สมเยน ภควโต กาโย โทสาภิสนฺโน โหติ.  อถ โข ภควา อายสฺมนฺตํ อานนฺทํ อามนฺเตสิ “โทสาภิสนฺโน โข อานนฺท ตถาคตสฺส กาโย. อิจฺฉติ ตถาคโต วิเรจนํ ปาตุ”นฺติ.  อถ โข อายสฺมา อานนฺโท เยน ชีวโก โกมารภจฺโจ เตนุปสงฺกมิ อุปสงฺกมิตฺวา ชีวกํ โกมารภจฺจํ เอตทโวจ “โทสาภิสนฺโน โข อาวุโส ชีวก ตถาคตสฺส กาโย. อิจฺฉติ ตถาคโต วิเรจนํ ปาตุ”นฺติ. 
||10|| 
“เตน หิ ภนฺเต อานนฺท ภควโต กายํ กติปาหํ สิเนเหถา”ติ. 
tena kho pana samayena bhikkhū chamāya cīvaraṃ pattharanti, cīvaraṃ paṃsukitaṃ hoti.  bhagavato etam atthaṃ ārocesuṃ.  anujānāmi bhikkhave tiṇasanthārakan ti.  tiṇasanthārako upacikāhi khajjati.  bhagavato etam atthaṃ ārocesuṃ.  anujānāmi bhikkhave cīvaravaṃsaṃ cīvararajjun ti.  majjhena laggenti, rajanaṃ ubhato galati.  bhagavato etam atthaṃ ārocesuṃ.  anujānāmi bhikkhave kaṇṇe bandhitun ti.  kaṇṇo jirati.  bhagavato etam atthaṃ ārocesuṃ.  anujānāmi bhikkhave kaṇṇasuttakan ti.  rajanaṃ ekato galati.  bhagavato etam atthaṃ ārocesuṃ.  anujānāmi bhikkhave samparivattakaṃ-samparivattakaṃ rajetuṃ na ca acchinne theve pakkamitun ti. |1| 
อถ โข อายสฺมา อานนฺโท ภควโต กายํ กติปาหํ สิเนเหตฺวา เยน ชีวโก โกมารภจฺโจ เตนุปสงฺกมิ อุปสงฺกมิตฺวา ชีวกํ โกมารภจฺจํ เอตทโวจ “สินิทฺโธ โข อาวุโส ชีวก ตถาคตสฺส กาโย. ยสฺส ทานิ กาลํ มญฺญสี”ติ.  อถ โข ชีวกสฺส โกมารภจฺจสฺส เอตทโหสิ “น โข เมตํ ปติรูปํ โยหํ ภควโต โอฬาริกํ วิเรจนํ ทเทยฺย”นฺติ. ตีณิ อุปฺปลหตฺถานิ นานาเภสชฺเชหิ ปริภาเวตฺวา เยน ภควา เตนุปสงฺกมิ อุปสงฺกมิตฺวา เอกํ อุปฺปลหตฺถํ ภควโต อุปนาเมสิ “อิมํ ภนฺเต ภควา ปฐมํ อุปฺปลหตฺถํ อุปสิงฺฆตุ. อิทํ ภควนฺตํ ทสกฺขตฺตุํ วิเรเจสฺสตี”ติ.  ทุติยํ อุปฺปลหตฺถํ ภควโต อุปนาเมสิ “อิมํ ภนฺเต ภควา ทุติยํ อุปฺปลหตฺถํ อุปสิงฺฆตุ. อิทํ ภควนฺตํ ทสกฺขตฺตุํ วิเรเจสฺสตี”ติ.  ตติยํ อุปฺปลหตฺถํ ภควโต อุปนาเมสิ “อิมํ ภนฺเต ภควา ตติยํ อุปฺปลหตฺถํ อุปสิงฺฆตุ. อิทํ ภควนฺตํ ทสกฺขตฺตุํ วิเรเจสฺสตี”ติ เอวํ ภควโต สมตฺตึสาย วิเรจนํ ภวิสฺสตีติ.  อถ โข ชีวโก โกมารภจฺโจ ภควโต สมตฺตึสาย วิเรจนํ ทตฺวา ภควนฺตํ อภิวาเทตฺวา ปทกฺขิณํ กตฺวา ปกฺกามิ.  อถ โข ชีวกสฺส โกมารภจฺจสฺส พหิ ทฺวารโกฏฺฐกา นิกฺขนฺตสฺส เอตทโหสิ “มยา โข ภควโต สมตฺตึสาย วิเรจนํ ทินฺนํ.  โทสาภิสนฺโน ตถาคตสฺส กาโย น ภควนฺตํ สมตฺตึสกฺขตฺตุํ วิเรเจสฺสติ เอกูนตฺตึสกฺขตฺตุํ ภควนฺตํ วิเรเจสฺสติ. อปิ จ ภควา วิริตฺโต นหายิสฺสติ. นหาตํ ภควนฺตํ สกึ วิเรเจสฺสติ. เอวํ ภควโต สมตฺตึสาย วิเรจนํ ภวิสฺสตี”ติ.  อถ โข ภควา ชีวกสฺส โกมารภจฺจสฺส เจตสา เจโตปริวิตกฺกมญฺญาย อายสฺมนฺตํ อานนฺทํ อามนฺเตสิ “อิธานนฺท ชีวกสฺส โกมารภจฺจสฺส พหิ ทฺวารโกฏฺฐกา นิกฺขนฺตสฺส เอตทโหสิ ‘มยา โข ภควโต สมตฺตึสาย วิเรจนํ ทินฺนํ. โทสาภิสนฺโน ตถาคตสฺส กาโย. น ภควนฺตํ สมตึสกฺขตฺตุํ วิเรเจสฺสติ เอกูนตึสกฺขตฺตุํ ภควนฺตํ วิเรเจสฺสติ. อปิ จ ภควา วิริตฺโต นหายิสฺสติ. นหาตํ ภควนฺตํ สกึ วิเรเจสฺสติ. เอวํ ภควโต สมตฺตึสาย วิเรจนํ ภวิสฺสตี’ติ.  เตน หานนฺท อุณฺโหทกํ ปฏิยาเทหี”ติ.  “เอวํ ภนฺเต”ติ โข อายสฺมา อานนฺโท ภควโต ปฏิสฺสุณิตฺวา อุณฺโหทกํ ปฏิยาเทสิ.  อถ โข ชีวโก โกมารภจฺโจ เยน ภควา เตนุปสงฺกมิ อุปสงฺกมิตฺวา ภควนฺตํ อภิวาเทตฺวา เอกมนฺตํ นิสีทิ. เอกมนฺตํ นิสินฺโน โข ชีวโก โกมารภจฺโจ ภควนฺตํ เอตทโวจ “วิริตฺโต ภนฺเต ภควา”ติ?  “วิริตฺโตมฺหิ ชีวกา”ติ.  อิธ มยฺหํ ภนฺเต พหิ ทฺวารโกฏฺฐกา นิกฺขนฺตสฺส เอตทโหสิ “มยา โข ภควโต สมตฺตึสาย วิเรจนํ ทินฺนํ. โทสาภิสนฺโน ตถาคตสฺส กาโย. น ภควนฺตํ สมตฺตึสกฺขตฺตุํ วิเรเจสฺสติ เอกูนตฺตึสกฺขตฺตุํ ภควนฺตํ วิเรเจสฺสติ. อปิ จ ภควา วิริตฺโต นหายิสฺสติ. นหาตํ ภควนฺตํ สกึ วิเรเจสฺสติ. เอวํ ภควโต สมตฺตึสาย วิเรจนํ ภวิสฺสตี”ติ.  นหายตุ ภนฺเต ภควา นหายตุ สุคโตติ.  อถ โข ภควา อุณฺโหทกํ นหายิ. นหาตํ ภควนฺตํ สกึ วิเรเจสิ. เอวํ ภควโต สมตฺตึสาย วิเรจนํ อโหสิ. 
tena kho pana samayena cīvaraṃ patthinnaṃ hoti.  bhagavato etam atthaṃ ārocesuṃ.  anujānāmi bhikkhave udake osāretun ti.  tena kho pana samayena cīvaraṃ pharusaṃ hoti.  bhagavato etam atthaṃ ārocesuṃ.  anujānāmi bhikkhave pāṇinā āko (287) ṭetun ti.  tena kho pana samayena bhikkhū acchinnakāni dhārenti dantakāsāvāni.  manussā ujjhāyanti khīyanti vipācenti: seyyathāpi nāma gihikāmabhogino ’ti.  bhagavato etam atthaṃ ārocesuṃ.  na bhikkhave acchinnakāni cīvarāni dhāretabbāni.  yo dhāreyya, āpatti dukkaṭassā ’ti. |2| 
อถ โข ชีวโก โกมารภจฺโจ ภควนฺตํ (p๒) เอตทโวจ “ยาว ภนฺเต ภควโต กาโย ปกตตฺโต โหติ อลํ ยูสปิณฺฑปาเตนา”ติ. (สมตฺตึสวิเรจนกถา นิฏฺฐิตา.)  (๒๑๐. วรยาจนากถา) ๓๓๗. อถ โข ภควโต กาโย นจิรสฺเสว ปกตตฺโต อโหสิ.  อถ โข ชีวโก โกมารภจฺโจ ตํ สิเวยฺยกํ ทุสฺสยุคํ อาทาย เยน ภควา เตนุปสงฺกมิ อุปสงฺกมิตฺวา ภควนฺตํ อภิวาเทตฺวา เอกมนฺตํ นิสีทิ.  เอกมนฺตํ นิสินฺโน โข ชีวโก โกมารภจฺโจ ภควนฺตํ เอตทโวจ “เอกาหํ ภนฺเต ภควนฺตํ วรํ ยาจามี”ติ.  “อติกฺกนฺตวรา โข ชีวก ตถาคตา”ติ.  “ยญฺจ ภนฺเต กปฺปติ ยญฺจ อนวชฺช”นฺติ.  “วเทหิ ชีวกา”ติ.  “ภควา ภนฺเต ปํสุกูลิโก ภิกฺขุสงฺโฆ จ.  อิทํ เม ภนฺเต สิเวยฺยกํ ทุสฺสยุคํ รญฺญา ปชฺโชเตน ปหิตํ พหูนํ ทุสฺสานํ พหูนํ ทุสฺสยุคานํ พหูนํ ทุสฺสยุคสตานํ พหูนํ ทุสฺสยุคสหสฺสานํ พหูนํ ทุสฺสยุคสตสหสฺสานํ อคฺคญฺจ เสฏฺฐญฺจ โมกฺขญฺจ อุตฺตมญฺจ ปวรญฺจ.  ปฏิคฺคณฺหาตุ เม ภนฺเต ภควา สิเวยฺยกํ ทุสฺสยุคํ ภิกฺขุสงฺฆสฺส จ คหปติจีวรํ อนุชานาตู”ติ.  ปฏิคฺคเหสิ ภควา สิเวยฺยกํ ทุสฺสยุคํ. 
||11|| 
อถ โข ภควา ชีวกํ โกมารภจฺจํ ธมฺมิยา กถาย สนฺทสฺเสสิ สมาทเปสิ สมุตฺเตเชสิ สมฺปหํเสสิ. 
atha kho bhagavā Rājagahe yathābhirantaṃ viharitvā yena Dakkhiṇāgiri tena cārikaṃ pakkāmi.  addasa kho bhagavā Magadhakhettaṃ accibandhaṃ pālibandhaṃ mariyādabandhaṃ siṅghāṭakabandhaṃ, disvāna āyasmantaṃ Ānandaṃ āmantesi: passasi no tvaṃ Ānanda Magadhakhettaṃ accibandhaṃ ... siṅghāṭakabandhan ti.  evaṃ bhante.  ussahasi tvaṃ Ānanda bhikkhūnaṃ evarūpāni cīvarāni saṃvidahitun ti.  ussahāmi bhagavā ’ti.  atha kho bhagavā Dakkhiṇāgirismiṃ yathābhirantaṃ viharitvā punad eva Rājagahaṃ paccāgacchi.  atha kho āyasmā Ānando sambahulānaṃ bhikkhūnaṃ cīvarāni saṃvidahitvā yena bhagavā ten’ upasaṃkami, upasaṃkamitvā bhagavantaṃ etad avoca: passatu me bhante bhagavā cīvarāni saṃvidahitānīti. |1| 
อถ โข ชีวโก โกมารภจฺโจ ภควตา ธมฺมิยา กถาย สนฺทสฺสิโต สมาทปิโต สมุตฺเตชิโต สมฺปหํสิโต อุฏฺฐายาสนา ภควนฺตํ อภิวาเทตฺวา ปทกฺขิณํ กตฺวา ปกฺกามิ.  อถ โข ภควา เอตสฺมึ นิทาเน เอตสฺมึ ปกรเณ ธมฺมึ กถํ กตฺวา ภิกฺขู อามนฺเตสิ “อนุชานามิ ภิกฺขเว คหปติจีวรํ.  โย อิจฺฉติ ปํสุกูลิโก โหตุ. โย อิจฺฉติ คหปติจีวรํ สาทิยตุ.  อิตรีตเรนปาหํ ภิกฺขเว สนฺตุฏฺฐึ วณฺเณมี”ติ.  อสฺโสสุํ โข ราชคเห มนุสฺสา “ภควตา กิร ภิกฺขูนํ คหปติจีวรํ อนุญฺญาต”นฺติ. เต จ มนุสฺสา หฏฺฐา อเหสุํ อุทคฺคา “อิทานิ โข มยํ ทานานิ ทสฺสาม ปุญฺญานิ กริสฺสาม ยโต ภควตา ภิกฺขูนํ คหปติจีวรํ อนุญฺญาต”นฺติ. เอกาเหเนว ราชคเห พหูนิ จีวรสหสฺสานิ อุปฺปชฺชึสุ.  อสฺโสสุํ โข ชานปทา มนุสฺสา “ภควตา กิร ภิกฺขูนํ คหปติจีวรํ อนุญฺญาต”นฺติ. เต จ มนุสฺสา หฏฺฐา อเหสุํ อุทคฺคา “อิทานิ โข มยํ ทานานิ ทสฺสาม ปุญฺญานิ กริสฺสาม ยโต ภควตา ภิกฺขูนํ คหปติจีวรํ อนุญฺญาต”นฺติ. ชนปเทปิ เอกาเหเนว พหูนิ จีวรสหสฺสานิ อุปฺปชฺชึสุ.  เตน โข ปน สมเยน สงฺฆสฺส ปาวาโร อุปฺปนฺโน โหติ. 
atha kho bhagavā etasmiṃ nidāne dhammikathaṃ katvā bhikkhū āmantesi: paṇḍito bhikkhave Ānando, mahāpañño bhikkhave Ānando, yatra hi nāma mayā saṃkhittena bhāsitassa vitthārena atthaṃ ājānissati, kusim pi nāma karissati aḍḍhakusim pi nāma karissati maṇḍalam pi n.k.aḍḍhamaṇḍalam pi n.k.vivaṭṭam pi n.k.anuvivaṭṭam pi n.k.gīveyyakam pi n.k.jaṅgheyyakam pi n.k.bāhantam pi n.k. chinnakaṃ ca bhavissati sattalūkhaṃ samaṇasāruppaṃ paccatthikānaṃ ca anabhijjhitaṃ.  anujānāmi bhikkhave chinnakaṃ saṃghāṭiṃ chinnakaṃ uttarāsaṅgaṃ chinnakaṃ antaravāsakan ti. |2| 
ภควโต เอตมตฺถํ อาโรเจสุํ.  อนุชานามิ ภิกฺขเว ปาวารนฺติ. 
||12|| 
โกเสยฺยปาวาโร อุปฺปนฺโน โหติ. ภควโต เอตมตฺถํ อาโรเจสุํ. 
atha kho bhagavā Rājagahe yathābhirantaṃ viharitvā yena Vesālī tena cārikaṃ pakkāmi.  addasa kho bhagavā antarā ca Rājagahaṃ antarā ca Vesāliṃ addhānamaggapaṭipanno sambahule bhikkhū cīvarehi ubbhaṇḍite sīse pi cīvarabhisiṃ karitvā khandhe pi cīvarabhisiṃ karitvā kaṭiyāpi cīvarabhisiṃ karitvā āgacchante, disvāna bhagavato etad ahosi: atilahuṃ kho ime moghapurisā cīvare bāhullāya (288) āvattā, yaṃ nūnāhaṃ bhikkhūnaṃ cīvare sīmaṃ bandheyyaṃ mariyādaṃ ṭhapeyyan ti. |1| 
อนุชานามิ ภิกฺขเว โกเสยฺยปาวารนฺติ.  โกชวํ อุปฺปนฺนํ โหติ. ภควโต เอตมตฺถํ อาโรเจสุํ. 
atha kho bhagavā anupubbena cārikaṃ caramāno yena Vesālī tad avasari.  tatra sudaṃ bhagavā Vesāliyaṃ viharati Gotamake cetiye.  tena kho pana samayena bhagavā sītāsu hemantikāsu rattīsu antaraṭṭhakāsu himapātasamaye rattiṃ ajjhokāse ekacīvaro nisīdi, na bhagavantaṃ sītaṃ ahosi.  nikkhante paṭhame yāme sītaṃ bhagavantaṃ ahosi.  dutiyaṃ bhagavā cīvaraṃ pārupi, na bhagavantaṃ sītaṃ ahosi.  nikkhante majjhime yāme sītaṃ bhagavantaṃ ahosi.  tatiyaṃ bhagavā cīvaraṃ pārupi, na bhagavantaṃ sītaṃ ahosi.  nikkhante pacchime yāme uddhate aruṇe nandimukhiyā rattiyā sītaṃ bhagavantaṃ ahosi.  catutthaṃ bhagavā cīvaraṃ pārupi, na bhagavantaṃ sītaṃ ahosi. |2| 
อนุชานามิ ภิกฺขเว โกชวนฺติ. (วรยาจนากถา นิฏฺฐิตา.)      ปฐมภาณวาโร นิฏฺฐิโต.  (๒๑๑. กมฺพลานุชานนาทิกถา) ๓๓๘. เตน โข ปน สมเยน กาสิราชา ชีวกสฺส โกมารภจฺจสฺส อฑฺฒกาสิกํ กมฺพลํ ปาเหสิ อุปฑฺฒกาสินํ ขมมานํ.  อถ โข ชีวโก โกมารภจฺโจ ตํ อฑฺฒกาสิกํ กมฺพลํ อาทาย เยน ภควา เตนุปสงฺกมิ อุปสงฺกมิตฺวา ภควนฺตํ อภิวาเทตฺวา เอกมนฺตํ นิสีทิ.  เอกมนฺตํ นิสินฺโน โข ชีวโก โกมารภจฺโจ ภควนฺตํ เอตทโวจ “อยํ เม ภนฺเต อฑฺฒกาสิโก กมฺพโล กาสิรญฺญา ปหิโต อุปฑฺฒกาสินํ ขมมาโน.  ปฏิคฺคณฺหาตุ เม ภนฺเต ภควา กมฺพลํ ยํ มมสฺส ทีฆรตฺตํ หิตาย สุขายา”ติ.  ปฏิคฺคเหสิ ภควา กมฺพลํ. 
atha kho bhagavato etad ahosi: ye pi kho te kulaputtā imasmiṃ dhammavinaye sītālukā sītabhīrukā te pi sakkonti ticīvarena yāpetuṃ.  yaṃ nūnāhaṃ bhikkhūnaṃ cīvare sīmaṃ bandheyyaṃ mariyādaṃ ṭhapeyyaṃ ticīvaraṃ anujāneyyan ti.  atha kho bhagavā etasmiṃ nidāne dhammiṃ kathaṃ katvā bhikkhū āmantesi: |3| 
อถ โข ภควา ชีวกํ โกมารภจฺจํ ธมฺมิยา กถาย สนฺทสฺเสสิฯเปฯ ปทกฺขิณํ กตฺวา ปกฺกามิ.  อถ โข ภควา เอตสฺมึ นิทาเน เอตสฺมึ ปกรเณ ธมฺมึ กถํ กตฺวา ภิกฺขู อามนฺเตสิ “อนุชานามิ ภิกฺขเว กมฺพล”นฺติ.   
idhāhaṃ bhikkhave antarā ca Rājagahaṃ antarā ca Vesāliṃ addhānamaggapaṭipanno addasaṃ sambahule bhikkhū cīvarehi ubbhaṇḍite sīse pi cīvarabhisiṃ karitvā khandhe pi cīvarabhisiṃ karitvā kaṭiyāpi cīvarabhisiṃ karitvā āgacchante, disvāna me etad ahosi: atilahuṃ kho ime moghapurisā cīvare bahullāya āvattā, yaṃ nūnāhaṃ bhikkhūnaṃ cīvare sīmaṃ bandheyyaṃ mariyādaṃ ṭhapeyyan ti. |4| 
 
idhāhaṃ bhikkhave sītāsu hemantikāsu rattīsu antaraṭṭhakāsu himapātasamaye rattiṃ ajjhokāse ekacīvaro nisīdiṃ, na maṃ sītaṃ ahosi.  nikkhante paṭhame yāme sītaṃ maṃ ahosi.  dutiyāhaṃ cīvaraṃ pārupiṃ na maṃ sītaṃ ahosi.  nikkhante majjhime yāme sītaṃ maṃ ahosi.  tatiyāhaṃ cīvaraṃ pārupiṃ, na maṃ sītaṃ ahosi.  nikkhante pacchime yāme uddhate aruṇe nandimukhiyā rattiyā sītaṃ maṃ ahosi.  catutthāhaṃ cīvaraṃ pārupiṃ, na maṃ sītaṃ ahosi.  tassa mayhaṃ bhikkhave etad ahosi: ye pi kho te kulaputtā imasmiṃ dhammavinaye sītālukā sītabhīrukā te pi sakkonti ticīvarena yāpetuṃ.  yaṃ nūnāhaṃ bhikkhūnaṃ cīvare sīmaṃ bandheyyaṃ mariyādaṃ ṭhape-(289)yyaṃ ticīvaraṃ anujāneyyan ti.  anujānāmi bhikkhave ticīvaraṃ diguṇaṃ saṃghāṭiṃ ekacciyaṃ uttarāsaṅgaṃ ekacciyaṃ antaravāsakan ti. |5| 
๓๓๙. เตน โข ปน สมเยน สงฺฆสฺส อุจฺจาวจานิ จีวรานิ อุปฺปนฺนานิ โหนฺติ.  อถ โข ภิกฺขูนํ เอตทโหสิ “กึ นุ โข ภควตา จีวรํ อนุญฺญาตํ กึ อนนุญฺญาต”นฺติ? ภควโต เอตมตฺถํ อาโรเจสุํ.  อนุชานามิ ภิกฺขเว ฉ จีวรานิ โขมํ กปฺปาสิกํ โกเสยฺยํ กมฺพลํ สาณํ ภงฺคนฺติ.  ๓๔๐. เตน โข ปน สมเยน เย เต ภิกฺขู คหปติจีวรํ สาทิยนฺติ เต กุกฺกุจฺจายนฺตา ปํสุกูลํ น สาทิยนฺติ เอกํเยว ภควตา จีวรํ อนุญฺญาตํ น ทฺเวติ.  ภควโต เอตมตฺถํ อาโรเจสุํ.  อนุชานามิ ภิกฺขเว คหปติจีวรํ สาทิยนฺเตน ปํสุกูลมฺปิ สาทิยิตุํ ตทุภเยนปาหํ ภิกฺขเว สนฺตุฏฺฐึ วณฺเณมีติ. (กมฺพลานุชานนาทิกถา นิฏฺฐิตา.)      (๒๑๒. ปํสุกูลปริเยสนกถา) ๓๔๑. เตน โข ปน สมเยน สมฺพหุลา ภิกฺขู โกสเลสุ ชนปเท อทฺธานมคฺคปฺปฏิปนฺนา โหนฺติ.  เอกจฺเจ ภิกฺขู สุสานํ โอกฺกมึสุ ปํสุกูลาย เอกจฺเจ ภิกฺขู นาคเมสุํ. 
tena kho pana samayena chabbaggiyā bhikkhū bhagavatā ticīvaraṃ anuññātan ti aññen’ eva ticīvarena gāmaṃ pavisanti, aññena ticīvarena ārāme acchanti, aññena ticīvarena nahānaṃ otaranti.  ye te bhikkhū appicchā te ujjhāyanti khīyanti vipācenti: kathaṃ hi nāma chabbaggiyā bhikkhū atirekacīvaraṃ dhāressantīti.  atha kho te bhikkhū bhagavato etam atthaṃ ārocesuṃ.  atha kho bhagavā etasmiṃ nidāne dhammiṃ kathaṃ katvā bhikkhū āmantesi: na bhikkhave atirekacīvaraṃ dhāretabbaṃ.  yo dhāreyya, yathādhammo kāretabbo ’ti. |6| 
เย เต ภิกฺขู สุสานํ โอกฺกมึสุ ปํสุกูลาย เต ปํสุกูลานิ ลภิ๎สุ. เย เต ภิกฺขู นาคเมสุํ เต เอวมาหํสุ “อมฺหากมฺปิ อาวุโส ภาคํ เทถา”ติ.  เต เอวมาหํสุ “น มยํ อาวุโส ตุมฺหากํ ภาคํ ทสฺสาม. กิสฺส ตุมฺเห นาคมิตฺถา”ติ?  ภควโต เอตมตฺถํ อาโรเจสุํ.  อนุชานามิ ภิกฺขเว นาคเมนฺตานํ นากามา ภาคํ ทาตุนฺติ.  เตน โข ปน สมเยน สมฺพหุลา ภิกฺขู โกสเลสุ ชนปเท อทฺธานมคฺคปฺปฏิปนฺนา โหนฺติ. 
tena kho pana samayena āyasmato Ānandassa atirekacīvaraṃ uppannaṃ hoti āyasmā ca Ānando taṃ cīvaraṃ āyasmato Sāriputtassa dātukāmo hoti āyasmā ca Sāriputto Sākete viharati.  atha kho āyasmato Ānandassa etad ahosi: bhagavatā paññattaṃ na atirekacīvaraṃ dhāretabban ti, idaṃ ca me atirekacīvaraṃ uppannaṃ ahaṃ ca imaṃ cīvaraṃ āyasmato Sāriputtassa dātukāmo āyasmā ca Sāriputto Sākete viharati.  kathaṃ nu kho mayā paṭipajjitabban ti.  atha kho āyasmā Ānando bhagavato etam atthaṃ ārocesi: kīvaciraṃ panānanda Sāriputto āgacchissatīti.  navamaṃ vā bhagavā divasaṃ dasamaṃ vā ’ti.  atha kho bhagavā etasmiṃ nidāne dhammiṃ kathaṃ katvā bhikkhū āmantesi: anujānāmi bhikkhave dasāhaparamaṃ atirekacīvaraṃ dhāretun ti. |7| 
เอกจฺเจ ภิกฺขู สุสานํ โอกฺกมึสุ ปํสุกูลาย เอกจฺเจ ภิกฺขู อาคเมสุํ.  เย เต ภิกฺขู สุสานํ โอกฺกมึสุ ปํสุกูลาย เต ปํสุกูลานิ ลภิ๎สุ. เย เต ภิกฺขู อาคเมสุํ เต เอวมาหํสุ “อมฺหากมฺปิ อาวุโส ภาคํ เทถา”ติ.  เต เอวมาหํสุ “น มยํ อาวุโส ตุมฺหากํ ภาคํ ทสฺสาม. กิสฺส ตุมฺเห น โอกฺกมิตฺถา”ติ?  ภควโต เอตมตฺถํ อาโรเจสุํ.  อนุชานามิ ภิกฺขเว อาคเมนฺตานํ อกามา ภาคํ ทาตุนฺติ.  เตน โข ปน สมเยน สมฺพหุลา ภิกฺขู โกสเลสุ ชนปเท อทฺธานมคฺคปฺปฏิปนฺนา โหนฺติ. 
tena kho pana samayena bhikkhūnaṃ atirekacīvaraṃ uppajjati.  atha kho bhikkhūnaṃ etad ahosi: kathaṃ nu kho atirekacīvare paṭipajjitabban ti.  bhagavato etam atthaṃ ārocesuṃ.  anujānāmi bhikkhave atirekacīvaraṃ vikappetun ti. |8| 
เอกจฺเจ ภิกฺขู ปฐมํ สุสานํ โอกฺกมึสุ ปํสุกูลาย เอกจฺเจ ภิกฺขู ปจฺฉา โอกฺกมึสุ.  เย เต ภิกฺขู ปฐมํ สุสานํ โอกฺกมึสุ ปํสุกูลาย เต ปํสุกูลานิ ลภิ๎สุ. เย เต ภิกฺขู ปจฺฉา โอกฺกมึสุ เต น ลภิ๎สุ. เต เอวมาหํสุ “อมฺหากมฺปิ อาวุโส ภาคํ เทถา”ติ.  เต เอวมาหํสุ “น มยํ อาวุโส ตุมฺหากํ ภาคํ ทสฺสาม. กิสฺส ตุมฺเห ปจฺฉา โอกฺกมิตฺถา”ติ?  ภควโต เอตมตฺถํ อาโรเจสุํ. 
||13|| 
อนุชานามิ ภิกฺขเว ปจฺฉา โอกฺกนฺตานํ นากามา ภาคํ ทาตุนฺติ. 
atha kho bhagavā Vesāliyaṃ yathābhirantaṃ viharitvā yena Bārāṇasī tena cārikaṃ pakkāmi.  anupubbena cārikaṃ caramāno yena Bārāṇasī tad avasari.  tatra sudaṃ bhagavā Bārāṇasiyaṃ viharati Isipatane migadāye.  tena kho pana samayena aññatarassa bhikkhuno antaravāsako chiddo hoti.  atha kho tassa bhikkhuno etad ahosi: bhagavatā ticīvaraṃ anuññātaṃ diguṇā saṃghāṭī ekacciyo uttarā (290) saṅgo ekacciyo antaravāsako, ayaṃ ca me antaravāsako chiddo.  yaṃ nūnāhaṃ aggaḷaṃ acchupeyyaṃ samantato dupattaṃ bhavissati majjhe ekacciyan ti. |1| 
เตน โข ปน สมเยน สมฺพหุลา ภิกฺขู โกสเลสุ ชนปเท อทฺธานมคฺคปฺปฏิปนฺนา โหนฺติ.  เต สทิสา สุสานํ โอกฺกมึสุ ปํสุกูลาย. เอกจฺเจ ภิกฺขู ปํสุกูลานิ ลภิ๎สุ เอกจฺเจ ภิกฺขู น ลภิ๎สุ  เย เต ภิกฺขู น ลภิ๎สุ เต เอวมาหํสุ “อมฺหากมฺปิ อาวุโส ภาคํ เทถา”ติ.  เต เอวมาหํสุ “น มยํ อาวุโส ตุมฺหากํ ภาคํ ทสฺสาม. กิสฺส ตุมฺเห น ลภิตฺถา”ติ?  ภควโต เอตมตฺถํ อาโรเจสุํ.  อนุชานามิ ภิกฺขเว สทิสานํ โอกฺกนฺตานํ อกามา ภาคํ ทาตุนฺติ. 
atha kho so bhikkhu aggaḷam acchupesi.  addasa kho bhagavā senāsanacārikaṃ āhiṇḍanto taṃ bhikkhuṃ aggaḷaṃ acchupentaṃ, disvāna yena so bhikkhu ten’ upasaṃkami, upasaṃkamitvā tam bhikkhuṃ etad avoca: kiṃ tvaṃ bhikkhu karosīti.  aggaḷam bhagavā acchupemīti.  sādhu sādhu bhikkhu, sādhu kho tvaṃ bhikkhu aggaḷaṃ acchupesīti.  atha kho bhagavā etasmiṃ nidāne dhammiṃ kathaṃ katvā bhikkhū āmantesi: anujānāmi bhikkhave ahatānaṃ dussānaṃ ahatakappānaṃ diguṇaṃ saṃghāṭiṃ ekacciyaṃ uttarāsaṅgaṃ ekacciyaṃ antaravāsakaṃ, utuddhaṭānaṃ dussānaṃ catuguṇaṃ saṃghāṭiṃ diguṇaṃ uttarāsaṅgaṃ diguṇaṃ antaravāsakaṃ.  paṃsukūle yāvadatthaṃ pāpaṇike ussāho karaṇīyo.  anujānāmi bhikkhave aggaḷaṃ tunnaṃ ovaṭṭikaṃ kaṇḍusakaṃ daḷhikamman ti. |2| 
เตน โข ปน สมเยน สมฺพหุลา ภิกฺขู โกสเลสุ ชนปเท อทฺธานมคฺคปฺปฏิปนฺนา โหนฺติ.  เต กติกํ กตฺวา สุสานํ โอกฺกมึสุ ปํสุกูลาย. เอกจฺเจ ภิกฺขู ปํสุกูลานิ ลภิ๎สุ เอกจฺเจ ภิกฺขู น ลภิ๎สุ.  เย เต ภิกฺขู น ลภิ๎สุ เต เอวมาหํสุ “อมฺหากมฺปิ อาวุโส ภาคํ เทถา”ติ.  เต เอวมาหํสุ “น มยํ อาวุโส ตุมฺหากํ ภาคํ ทสฺสาม. กิสฺส ตุมฺเห น ลภิตฺถา”ติ?  ภควโต เอตมตฺถํ อาโรเจสุํ.  อนุชานามิ ภิกฺขเว กติกํ กตฺวา โอกฺกนฺตานํ อกามา ภาคํ ทาตุนฺติ. (ปํสุกูลปริเยสนกถา นิฏฺฐิตา.)   
||14|| 
 
atha kho bhagavā Bārāṇasiyaṃ yathābhirantaṃ viharitvā yena Sāvatthi tena cārikaṃ pakkāmi.  anupubbena cārikaṃ caramāno yena Sāvatthi tad avasari.  tatra sudaṃ bhagavā Sāvatthiyaṃ viharati Jetavane Anāthapiṇḍikassa ārāme.  atha kho Visākhā Migāramātā yena bhagavā ten’ upasaṃkami, upasaṃkamitvā bhagavantaṃ abhivādetvā ekamantaṃ nisīdi.  ekamantaṃ nisinnaṃ kho Visākhaṃ Migāramātaraṃ bhagavā dhammiyā kathāya sandassesi ... sampahaṃsesi.  atha kho Visākhā Migāramātā bhagavatā dhammiyā kathāya sandassitā ... sampahaṃsitā bhagavantaṃ etad avoca: adhivāsetu me bhante bhagavā svātanāya bhattaṃ saddhiṃ bhikkhusaṃghenā ’ti.  adhivāsesi bhagavā tuṇhibhāvena.  atha kho Visākhā Migāramātā bhagavato adhivāsanaṃ viditvā uṭṭhāyāsanā bhagavantaṃ abhivādetvā padakkhiṇaṃ katvā pakkāmi. |1| 
(๒๑๓. จีวรปฏิคฺคาหกสมฺมุติกถา) ๓๔๒. เตน โข ปน สมเยน มนุสฺสา จีวรํ อาทาย อารามํ อาคจฺฉนฺติ. เต ปฏิคฺคาหกํ อลภมานา ปฏิหรนฺติ. จีวรํ ปริตฺตํ อุปฺปชฺชติ.  ภควโต เอตมตฺถํ อาโรเจสุํ.  อนุชานามิ ภิกฺขเว ปญฺจหงฺเคหิ สมนฺนาคตํ ภิกฺขุํ จีวรปฏิคฺคาหกํ สมฺมนฺนิตุํ โย น ฉนฺทาคตึ คจฺเฉยฺย น โทสาคตึ คจฺเฉยฺย น โมหาคตึ คจฺเฉยฺย น ภยาคตึ คจฺเฉยฺย คหิตาคหิตญฺจ ชาเนยฺย.  เอวญฺจ ปน ภิกฺขเว สมฺมนฺนิตพฺโพ. ปฐมํ ภิกฺขุ ยาจิตพฺโพ ยาจิตฺวา พฺยตฺเตน ภิกฺขุนา ปฏิพเลน สงฺโฆ ญาเปตพฺโพ “สุณาตุ เม ภนฺเต สงฺโฆ.  ยทิ สงฺฆสฺส ปตฺตกลฺลํ สงฺโฆ อิตฺถนฺนามํ ภิกฺขุํ จีวรปฏิคฺคาหกํ สมฺมนฺเนยฺย.  เอสา ญตฺติ.  “สุณาตุ (p๖) เม ภนฺเต สงฺโฆ.  สงฺโฆ อิตฺถนฺนามํ ภิกฺขุํ จีวรปฏิคฺคาหกํ สมฺมนฺนติ. 
tena kho pana samayena tassā rattiyā accayena cātuddīpiko mahāmegho pāvassi.  atha kho bhagavā bhikkhū āmantesi: yathā bhikkhave Jetavane vassati evaṃ catūsu dīpesu vassati, ovassāpetha bhikkhave kāyaṃ, ayaṃ pacchimako cātuddīpiko mahāmegho ’ti.  evaṃ bhante ’ti kho te bhikkhū bhagavato (291) paṭisuṇitvā nikkhittacīvarā kāyaṃ ovassāpenti. |2| 
ยสฺสายสฺมโต ขมติ อิตฺถนฺนามสฺส ภิกฺขุโน จีวรปฏิคฺคาหกสฺส สมฺมุติ โส ตุณฺหสฺส ยสฺส นกฺขมติ โส ภาเสยฺย.  “สมฺมโต สงฺเฆน อิตฺถนฺนาโม ภิกฺขุ จีวรปฏิคฺคาหโก.  ขมติ สงฺฆสฺส ตสฺมา ตุณฺหี เอวเมตํ ธารยามี”ติ. 
atha kho Visākhā Migāramātā paṇītaṃ khādaniyaṃ bhojaniyaṃ paṭiyādāpetvā dāsiṃ āṇāpesi: gaccha je ārāmaṃ gantvā kālaṃ ārocehi kālo bhante niṭṭhitaṃ bhattan ti.  evaṃ ayye ’ti kho sā dāsī Visākhāya Migāramātuyā paṭisuṇitvā ārāmaṃ gantvā addasa bhikkhū nikkhittacīvare kāyaṃ ovassāpente, disvāna n’ atthi ārāme bhikkhū, ājīvakā kāyaṃ ovassāpentīti yena Visākhā Migāramātā ten’ upasaṃkami, upasaṃkamitvā Visākhaṃ Migāramātaraṃ etad avoca: n’ atth’ ayye ārāme bhikkhū, ājīvakā kāyaṃ ovassāpentīti.  atha kho Visākhāya Migāramātuyā paṇḍitāya viyattāya medhāviniyā etad ahosi: nissaṃsayaṃ kho ayyā nikkhittacīvarā kāyaṃ ovassāpentīti, sāyaṃ bālā maññittha n’ atthi ārāme bhikkhū, ājāvakā kāyaṃ ovassāpentīti, dāsiṃ āṇāpesi: gaccha je ārāmaṃ gantvā kālaṃ ārocehi kālo bhante niṭṭhitaṃ bhattan ti. |3| 
    เตน โข ปน สมเยน จีวรปฏิคฺคาหกา ภิกฺขู จีวรํ ปฏิคฺคเหตฺวา ตตฺเถว อุชฺฌิตฺวา ปกฺกมนฺติ. จีวรํ นสฺสติ. 
atha kho te bhikkhū gattāni sītikaritvā kallakāyā cīvarāni gahetvā yathāvihāraṃ pavisiṃsu.  atha kho sā dāsī ārāmaṃ gantvā bhikkhū apassantī n’ atthi ārāme bhikkhū, suñño ārāmo ’ti yena Visākhā Migāramātā ten’ upasaṃkami, upasaṃkamitvā Visākhaṃ Migāramātaraṃ etad avoca: n’ atth’ ayye ārāme bhikkhū, suñño ārāmo ’ti.  atha kho Visākhāya Migāramātuyā paṇḍitāya viyattāya medhāviniyā etad ahosi: nissaṃsayaṃ kho ayyā gattāni sītikaritvā kallakāyā cīvarāni gahetvā yathāvihāraṃ paviṭṭhā, sāyaṃ bālā maññittha n’ atthi ārāme bhikkhū, suñño ārāmo ’ti dāsiṃ āṇāpesi: gaccha je ārāmaṃ gantvā kālaṃ ārocehi kālo bhante niṭṭhitaṃ bhattan ti. |4| 
ภควโต เอตมตฺถํ อาโรเจสุํ.  อนุชานามิ ภิกฺขเว ปญฺจหงฺเคหิ สมนฺนาคตํ ภิกฺขุํ จีวรนิทหกํ สมฺมนฺนิตุํ โย น ฉนฺทาคตึ คจฺเฉยฺย น โทสาคตึ คจฺเฉยฺย น โมหาคตึ คจฺเฉยฺย น ภยาคตึ คจฺเฉยฺย นิหิตานิหิตญฺจ ชาเนยฺย.  เอวญฺจ ปน ภิกฺขเว สมฺมนฺนิตพฺโพ. ปฐมํ ภิกฺขุ ยาจิตพฺโพ ยาจิตฺวา พฺยตฺเตน ภิกฺขุนา ปฏิพเลน สงฺโฆ ญาเปตพฺโพ “สุณาตุ เม ภนฺเต สงฺโฆ. 
atha kho bhagavā bhikkhū āmantesi: sannahatha bhikkhave pattacīvaraṃ, kālo bhattassā ’ti.  evaṃ bhante ti kho te bhikkhū bhagavato paccassosuṃ.  atha kho bhagavā pubbaṇhasamayaṃ nivāsetvā pattacīvaraṃ ādāya seyyathāpi nāma balavā puriso sammiñjitaṃ vā bāhaṃ pasāreyya pasāritaṃ vā bāhaṃ sammiñjeyya evam eva Jetavane antarahito Visākhāya Migāramātuyā koṭṭhake pāturahosi.  nisīdi bhagavā paññatte āsane saddhiṃ bhikkhusaṃghena. |5| 
ยทิ สงฺฆสฺส ปตฺตกลฺลํ สงฺโฆ อิตฺถนฺนามํ ภิกฺขุํ จีวรนิทหกํ สมฺมนฺเนยฺย.  เอสา ญตฺติ.  “สุณาตุ เม ภนฺเต สงฺโฆ.  สงฺโฆ อิตฺถนฺนามํ ภิกฺขุํ จีวรนิทหกํ สมฺมนฺนติ. 
atha kho Visākhā Migāramātā acchariyaṃ vata bho abbhutaṃ vata bho tathāgatassa mahiddhikatā mahānubhāvatā, yatra hi nāma jannukamattesu pi oghesu pavattamānesu kaṭimattesu pi oghesu pavattamānesu na hi (292) nāma ekabhikkhussa pi pādā vā cīvarāni vā allāni bhavissantīti haṭṭhā udaggā buddhapamukhaṃ bhikkhusaṃghaṃ paṇītena khādaniyena bhojaniyena sahatthā santappetvā sampavāretvā bhagavantaṃ bhuttāviṃ onītapattapāṇiṃ ekamantaṃ nisīdi.  ekamantaṃ nisinnā kho Visākhā Migāramātā bhagavantam etad avoca: aṭṭhāhaṃ bhante bhagavantaṃ varāni yācāmīti.  atikkantavarā kho Visākhe tathāgatā ’ti.  yāni ca bhante kappiyāni yāni ca anavajjānīti.  vadehi Visākhe ’ti. |6| 
ยสฺสายสฺมโต ขมติ อิตฺถนฺนามสฺส ภิกฺขุโน จีวรนิทหกสฺส สมฺมุติ โส ตุณฺหสฺส ยสฺส นกฺขมติ โส ภาเสยฺย.  “สมฺมโต สงฺเฆน อิตฺถนฺนาโม ภิกฺขุ จีวรนิทหโก.  ขมติ สงฺฆสฺส ตสฺมา ตุณฺหี เอวเมตํ ธารยามี”ติ. ( จีวรปฏิคฺคาหกสมฺมุติกถา นิฏฺฐิตา.)     
icchām’ ahaṃ bhante saṃghassa yāvajīvaṃ vassikasāṭikaṃ dātuṃ, āgantukabhattaṃ dātuṃ, gamikabhattaṃ dātuṃ, gilānabhattaṃ dātuṃ, gilānupaṭṭhākabhattaṃ dātuṃ, gilānabhesajjaṃ dātuṃ, dhuvayāguṃ dātuṃ, bhikkhunīsaṃghassa udakasāṭikaṃ dātun ti.  kiṃ pana tvaṃ Visākhe atthavasaṃ sampassamānā tathāgataṃ aṭṭha varāni yācasīti.  idhāhaṃ bhante dāsiṃ āṇāpesiṃ: gaccha je ārāmaṃ gantvā kālaṃ ārocehi kālo bhante niṭṭhitaṃ bhattan ti, atha kho sā bhante dāsī ārāmaṃ gantvā addasa bhikkhū nikkhittacīvare kāyaṃ ovassāpente, disvāna n’ atthi ārāme bhikkhū, ājīvakā kāyaṃ ovassāpentīti yenāhaṃ ten’ upasaṃkami, upasaṃkamitvā maṃ etad avoca n’ atth’ ayye ārāme bhikkhū, ājīvakā kāyaṃ ovassāpentīti.  asuci bhante naggiyaṃ paṭikkūlaṃ.  imāhaṃ bhante atthavasaṃ sampassamānā icchāmi saṃghassa yāvajīvaṃ vassikasāṭikaṃ dātuṃ. |7| 
(๒๑๔. ภณฺฑาคารสมฺมุติอาทิกถา) ๓๔๓. เตน โข ปน สมเยน จีวรนิทหโก ภิกฺขุ มณฺฑเปปิ รุกฺขมูเลปิ นิพฺพโกเสปิ จีวรํ นิทหติ อุนฺทูเรหิปิ อุปจิกาหิปิ ขชฺชนฺติ.  ภควโต เอตมตฺถํ อาโรเจสุํ.  อนุชานามิ ภิกฺขเว ภณฺฑาคารํ สมฺมนฺนิตุํ ยํ สงฺโฆ อากงฺขติ วิหารํ วา อฑฺฒโยคํ วา ปาสาทํ วา หมฺมิยํ วา คุหํ วา.  เอวญฺจ ปน ภิกฺขเว สมฺมนฺนิตพฺโพ. พฺยตฺเตน ภิกฺขุนา ปฏิพเลน สงฺโฆ ญาเปตพฺโพ “สุณาตุ เม ภนฺเต สงฺโฆ.  ยทิ สงฺฆสฺส ปตฺตกลฺลํ สงฺโฆ อิตฺถนฺนามํ วิหารํ ภณฺฑาคารํ สมฺมนฺเนยฺย. 
puna ca paraṃ bhante āgantuko bhikkhu na vīthikusalo na gocarakusalo kilanto piṇḍāya carati.  so me āgantukabhattaṃ bhuñjitvā vīthikusalo gocarakusalo akilanto piṇḍāya carissati.  imāhaṃ bhante atthavasaṃ sampassamānā icchāmi saṃghassa yāvajīvaṃ āgantukabhattaṃ dātuṃ.  puna ca paraṃ bhante gamiko bhikkhu attano bhattaṃ pariyesamāno satthā vā vihāyissati, yattha vā vāsaṃ gantukāmo bhavissati tattha vikāle upagacchissati kilanto addhānaṃ gamissati.  so me gamikabhattaṃ bhuñjitvā satthā na vihāyissati, yattha vāsaṃ gantukāmo bhavissati tattha kālena upagacchissati akilanto addhānaṃ gamissati.  imāhaṃ bhante atthavasaṃ sampassamānā icchāmi saṃghassa yāvajīvaṃ gamikabhattaṃ dātuṃ. |8| 
เอสา ญตฺติ.  “สุณาตุ เม ภนฺเต สงฺโฆ.  สงฺโฆ อิตฺถนฺนามํ วิหารํ ภณฺฑาคารํ สมฺมนฺนติ.  ยสฺสายสฺมโต ขมติ อิตฺถนฺนามสฺส วิหารสฺส ภณฺฑาคารสฺส สมฺมุติ โส ตุณฺหสฺส ยสฺส (p๗) นกฺขมติ โส ภาเสยฺย.  “สมฺมโต สงฺเฆน อิตฺถนฺนาโม วิหาโร ภณฺฑาคารํ.  ขมติ สงฺฆสฺส ตสฺมา ตุณฺหี เอวเมตํ ธารยามี”ติ. 
puna ca paraṃ bhante gilānassa bhikkhuno sappāyāni bhojanāni alabhantassa ābādho vā abhivaḍḍhissati kālaṃkiriyā vā bhavissati.  tassa me gilānabhattaṃ bhuttassa (293) ābādho na abhivaḍḍhissati kālaṃkiriyā na bhavissati.  imāhaṃ bhante atthavasaṃ sampassamānā icchāmi saṃghassa yāvajīvaṃ gilānabhattaṃ dātuṃ.  puna ca paraṃ bhante gilānupaṭṭhāko bhikkhu attano bhattaṃ pariyesamāno gilānassa ussūre bhattaṃ nīharissati bhattacchedaṃ karissati.  so me gilānupaṭṭhākabhattaṃ bhuñjitvā gilānassa kālena bhattaṃ nīharissati bhattacchedaṃ na karissati.  imāhaṃ bhante atthavasaṃ sampassamānā icchāmi saṃghassa yāvajīvaṃ gilānupaṭṭhākabhattaṃ dātuṃ. |9| 
    เตน โข ปน สมเยน สงฺฆสฺส ภณฺฑาคาเร จีวรํ อคุตฺตํ โหติ.  ภควโต เอตมตฺถํ อาโรเจสุํ.  อนุชานามิ ภิกฺขเว ปญฺจหงฺเคหิ สมนฺนาคตํ ภิกฺขุํ ภณฺฑาคาริกํ สมฺมนฺนิตุํ โย น ฉนฺทาคตึ คจฺเฉยฺย น โทสาคตึ คจฺเฉยฺย น โมหาคตึ คจฺเฉยฺย น ภยาคตึ คจฺเฉยฺย คุตฺตาคุตฺตญฺจ ชาเนยฺย.  เอวญฺจ ปน ภิกฺขเว สมฺมนฺนิตพฺโพ. ปฐมํ ภิกฺขุ ยาจิตพฺโพ ยาจิตฺวา พฺยตฺเตน ภิกฺขุนา ปฏิพเลน สงฺโฆ ญาเปตพฺโพ “สุณาตุ เม ภนฺเต สงฺโฆ. ยทิ สงฺฆสฺส ปตฺตกลฺลํ สงฺโฆ อิตฺถนฺนามํ ภิกฺขุํ ภณฺฑาคาริกํ สมฺมนฺเนยฺย. เอสา ญตฺติ. “สุณาตุ เม ภนฺเต สงฺโฆ. สงฺโฆ อิตฺถนฺนามํ ภิกฺขุํ ภณฺฑาคาริกํ สมฺมนฺนติ. ยสฺสายสฺมโต ขมติ อิตฺถนฺนามสฺส ภิกฺขุโน ภณฺฑาคาริกสฺส สมฺมุติ โส ตุณฺหสฺส ยสฺส นกฺขมติ โส ภาเสยฺย. “สมฺมโต สงฺเฆน อิตฺถนฺนาโม ภิกฺขุ ภณฺฑาคาริโก. 
puna ca paraṃ bhante gilānassa bhikkhuno sappāyāni bhesajjāni alabhantassa ābādho vā abhivaḍḍhissati kālaṃkiriyā vā bhavissati.  tassa me gilānabhesajjaṃ paribhuttassa ābādho na abhivaḍḍhissati kālaṃkiriyā na bhavissati.  imāhaṃ bhante atthavasaṃ sampassamānā icchāmi saṃghassa yāvajīvaṃ gilānabhesajjaṃ dātuṃ.  puna ca paraṃ bhante bhagavatā Andhakavinde dasānisaṃse sampassamānena yāgu anuññātā.  ty āhaṃ bhante ānisaṃse sampassamānā icchāmi saṃghassa yāvajīvaṃ dhuvayāguṃ dātuṃ. |10| 
ขมติ สงฺฆสฺส ตสฺมา ตุณฺหี เอวเมตํ ธารยามี”ติ.  เตน โข ปน สมเยน ฉพฺพคฺคิยา ภิกฺขู ภณฺฑาคาริกํ วุฏฺฐาเปนฺติ.  ภควโต เอตมตฺถํ อาโรเจสุํ.  น ภิกฺขเว ภณฺฑาคาริโก วุฏฺฐาเปตพฺโพ.  โย วุฏฺฐาเปยฺย อาปตฺติ ทุกฺกฏสฺสาติ. 
idha bhante bhikkhuniyo Aciravatiyā nadiyā vesiyāhi saddhiṃ naggā ekatitthe nahāyanti.  tā bhante vesiyā bhikkhuniyo uppaṇḍesuṃ: kiṃ nu kho nāma tumhākaṃ ayye daharānaṃ brahmacariyaṃ ciṇṇena, nanu nāma kāmā paribhuñjitabbā, yadā jiṇṇā bhavissanti tadā brahmacariyaṃ carissatha, evaṃ tumhākaṃ ubho antā pariggahitā bhavissantīti.  tā bhante bhikkhuniyo vesiyāhi uppaṇḍiyamānā maṅkū ahesuṃ.  asuci bhante mātugāmassa naggiyaṃ jegucchaṃ paṭikkūlaṃ.  imāhaṃ bhante atthavasaṃ sampassamānā icchāmi bhikkhunīsaṃghassa yāvajīvaṃ udakasāṭikaṃ dātun ti. |11| 
    เตน โข ปน สมเยน สงฺฆสฺส ภณฺฑาคาเร จีวรํ อุสฺสนฺนํ โหติ.  ภควโต เอตมตฺถํ อาโรเจสุํ.  อนุชานามิ ภิกฺขเว สมฺมุขีภูเตน สงฺเฆน ภาเชตุนฺติ. 
kiṃ pana tvaṃ Visākhe ānisaṃsam sampassamānā tathāgataṃ aṭṭha varāni yācasīti.  idha bhante disāsu vassaṃ vutthā bhikkhū Sāvatthiṃ āgacchissanti bhagavantaṃ dassanāya, te bhagavantaṃ upasaṃkamitvā pucchissanti: itthannāmo bhante bhikkhu kālaṃkato, tassa kā gati ko abhisamparāyo ’ti.  taṃ bhagavā vyākarissati sotāpattiphale vā sakadāgāmiphale vā anāgāmiphale vā arahattaphale vā.  ty āhaṃ upasaṃkamitvā pucchissāmi: āgatapubbā nu kho bhante tena ayyena Sāvatthīti. |12| 
เตน โข ปน สมเยน สงฺโฆ จีวรํ ภาเชนฺโต โกลาหลํ อกาสิ.  ภควโต เอตมตฺถํ อาโรเจสุํ.  อนุชานามิ ภิกฺขเว ปญฺจหงฺเคหิ สมนฺนาคตํ ภิกฺขุํ จีวรภาชกํ สมฺมนฺนิตุํ โย น ฉนฺทาคตึ คจฺเฉยฺย น โทสาคตึ คจฺเฉยฺย น โมหาคตึ คจฺเฉยฺย น ภยาคตึ คจฺเฉยฺย ภาชิตาภาชิตญฺจ ชาเนยฺย.  เอวญฺจ ปน ภิกฺขเว สมฺมนฺนิตพฺโพ. ปฐมํ ภิกฺขุ ยาจิตพฺโพ ยาจิตฺวา พฺยตฺเตน ภิกฺขุนา ปฏิพเลน สงฺโฆ ญาเปตพฺโพ “สุณาตุ เม ภนฺเต สงฺโฆ. ยทิ สงฺฆสฺส ปตฺตกลฺลํ สงฺโฆ อิตฺถนฺนามํ ภิกฺขุํ จีวรภาชกํ สมฺมนฺเนยฺย. เอสา ญตฺติ. “สุณาตุ เม ภนฺเต สงฺโฆ. สงฺโฆ อิตฺถนฺนามํ ภิกฺขุํ จีวรภาชกํ สมฺมนฺนติ. ยสฺสายสฺมโต ขมติ อิตฺถนฺนามสฺส ภิกฺขุโน จีวรภาชกสฺส สมฺมุติ โส ตุณฺหสฺส ยสฺส นกฺขมติ โส ภาเสยฺย. “สมฺมโต สงฺเฆน อิตฺถนฺนาโม ภิกฺขุ จีวรภาชโก. 
sace ’me vakkhanti āgatapubbā tena bhikkhunā Sāvatthīti, (294) niṭṭhaṃ ettha gacchissāmi nissaṃsayaṃ paribhuttaṃ tena ayyena vassikasāṭikā vā āgantukabhattaṃ vā gamikabhattaṃ vā gilānabhattaṃ vā gilānupaṭṭhākabhattaṃ vā gilānabhesajjaṃ vā dhuvayāgu vā ’ti.  tassā me tad anussarantiyā pāmujjaṃ jāyissati, pamuditāya pīti jāyissati, pītimanāya kāyo passambhissati, passaddhakāyā sukhaṃ vedayissāmi, sukhiniyā cittaṃ samādhiyissati, sā me bhavissati indriyabhāvanā balabhāvanā bojjhaṅgabhāvanā.  imāhaṃ bhante ānisaṃsaṃ sampassamānā tathāgataṃ aṭṭha varāni yācāmīti. |13| 
ขมติ สงฺฆสฺส ตสฺมา ตุณฺหี เอวเมตํ ธารยามี”ติ.  อถ โข จีวรภาชกานํ ภิกฺขูนํ เอตทโหสิ “กถํ นุ โข จีวรํ ภาเชตพฺพ”นฺติ?  ภควโต เอตมตฺถํ อาโรเจสุํ. 
sādhu sādhu Visākhe, sādhu kho tvaṃ Visākhe imaṃ ānisaṃsaṃ sampassamānā tathāgataṃ aṭṭha varāni yācasi.  anujānāmi te Visākhe aṭṭha varānīti.  atha kho bhagavā Visākhaṃ Migāramātaraṃ imāhi gāthāhi anumodi: yā annapānaṃ atipamoditā sīlūpapannā sugatassa sāvikā dadāti dānaṃ abhibhuyya maccheraṃ sovaggikaṃ sokanudaṃ sukhāvahaṃ, | dibbaṃ sā labhate āyuṃ āgamma maggaṃ virajaṃ anaṅganaṃ, sā puññakāmā sukhinī anāmayā saggamhi kāyamhi ciraṃ pamodatīti.  atha kho bhagavā Visākhaṃ Migāramātaraṃ imāhi gāthāhi anumoditvā uṭṭhāyāsanā pakkāmi. |14| 
อนุชานามิ ภิกฺขเว ปฐมํ อุจฺจินิตฺวา ตุลยิตฺวา วณฺณาวณฺณํ กตฺวา ภิกฺขู คเณตฺวา วคฺคํ พนฺธิตฺวา จีวรปฏิวีสํ ฐเปตุนฺติ.  อถ โข จีวรภาชกานํ ภิกฺขูนํ เอตทโหสิ “กถํ นุ โข สามเณรานํ จีวรปฏิวีโส ทาตพฺโพ”ติ?  ภควโต เอตมตฺถํ อาโรเจสุํ.  อนุชานามิ ภิกฺขเว สามเณรานํ อุปฑฺฒปฏิวีสํ ทาตุนฺติ. 
atha kho bhagavā etasmiṃ nidāne dhammiṃ kathaṃ katvā bhikkhū āmantesi: anujānāmi bhikkhave vassikasāṭikaṃ āgantukabhattaṃ gamikabhattaṃ gilānabhattaṃ gilānupaṭṭhākabhattaṃ gilānabhesajjaṃ dhuvayāguṃ bhikkhunīsaṃghassa udakasāṭikan ti. |15| 
เตน โข ปน สมเยน อญฺญตโร ภิกฺขุ สเกน ภาเคน อุตฺตริตุกาโม โหติ. 
||15|| 
ภควโต เอตมตฺถํ อาโรเจสุํ. 
Visākhābhāṇavāraṃ. 
อนุชานามิ ภิกฺขเว อุตฺตรนฺตสฺส สกํ ภาคํ ทาตุนฺติ. 
tena kho pana samayena bhikkhū paṇītāni bhojanāni bhuñjitvā muṭṭhassatī asampajānā niddaṃ okkamenti, tesaṃ muṭṭhassatīnaṃ asampajānānaṃ niddaṃ okkamantānaṃ supinantena asuci muccati, senāsanaṃ asucinā makkhiyati.  atha kho bhagavā āyasmatā Ānandena pacchāsamaṇena senāsanacārikaṃ āhiṇḍanto addasa senāsanaṃ asucinā makkhitaṃ, disvāna āyasmantaṃ Ānandaṃ āmantesi: kiṃ etaṃ Ānanda senāsanaṃ makkhitan ti.  etarahi bhante bhikkhū paṇītāni (295) bhojanāni bhuñjitvā muṭṭhassatī asampajānā niddaṃ okkamenti, tesaṃ ... asuci muccati, tayidaṃ bhagavā senāsanaṃ asucinā makkhitan ti. |1| 
เตน โข ปน สมเยน อญฺญตโร ภิกฺขุ อติเรกภาเคน อุตฺตริตุกาโม โหติ.  ภควโต เอตมตฺถํ อาโรเจสุํ.  อนุชานามิ ภิกฺขเว อนุกฺเขเป ทินฺเน อติเรกภาคํ ทาตุนฺติ. 
evam etaṃ Ānanda evam etaṃ Ānanda, muccati hi Ānanda muṭṭhassatīnaṃ asampajānānaṃ niddaṃ okkamantānaṃ supinantena asuci.  ye te Ānanda bhikkhū upaṭṭhitasatī sampajānā niddaṃ okkamenti tesaṃ asuci na muccati, ye pi te Ānanda puthujjanā kāmesu vītarāgā tesam pi asuci na muccati.  aṭṭhānam etaṃ Ānanda anavakāso yaṃ arahato asuci mucceyyā ’ti.  atha kho bhagavā etasmiṃ nidāne dhammiṃ kathaṃ katvā bhikkhū āmantesi: idhāhaṃ bhikkhave Ānandena pacchāsamaṇena senāsanacārikaṃ āhiṇḍanto addasaṃ senāsanaṃ asucinā makkhitaṃ, disvāna Ānandaṃ āmantesiṃ: kiṃ etaṃ Ānanda ... (= 1,2) ... arahato asuci mucceyyā ’ti. |2| 
อถ โข จีวรภาชกานํ ภิกฺขูนํ เอตทโหสิ “กถํ นุ โข จีวรปฏิวีโส ทาตพฺโพ อาคตปฏิปาฏิยา นุ โข อุทาหุ ยถาวุฑฺฒ”นฺติ?  ภควโต เอตมตฺถํ อาโรเจสุํ.  อนุชานามิ ภิกฺขเว วิกลเก โตเสตฺวา กุสปาตํ กาตุนฺติ. (ภณฺฑาคารสมฺมุติอาทิกถา นิฏฺฐิตา.)   
pañc’ ime bhikkhave ādīnavā muṭṭhassatissa asampajānassa niddaṃ okkamayato: dukkhaṃ supati, dukkhaṃ paṭibujjhati, pāpakaṃ supinaṃ passati, devatā na rakkhanti, asuci muccati.  ime kho bhikkhave pañca ādīnavā muṭṭhassatissa asampajānassa niddaṃ okkamayato.  pañc’ ime bhikkhave ānisaṃsā upaṭṭhitasatissa sampajānassa niddaṃ okkamayato: sukhaṃ supati, sukhaṃ paṭibujjhati, na pāpakaṃ supinaṃ passati, devatā rakkhanti, asuci na muccati.  ime kho bhikkhave pañca ānisaṃsā upaṭṭhitasatissa sampajānassa niddaṃ okkamayato.  anujānāmi bhikkhave kāyaguttiyā cīvaraguttiyā senāsanaguttiyā nisīdanan ti. |3| 
  (๒๑๕. จีวรรชนกถา) ๓๔๔. เตน โข ปน สมเยน ภิกฺขู ฉกเณนปิ ปณฺฑุมตฺติกายปิ จีวรํ รชนฺติ. จีวรํ ทุพฺพณฺณํ โหติ.  ภควโต เอตมตฺถํ อาโรเจสุํ.  อนุชานามิ ภิกฺขเว ฉ รชนานิ มูลรชนํ ขนฺธรชนํ ตจรชนํ ปตฺตรชนํ ปุปฺผรชนํ ผลรชนนฺติ.  เตน โข ปน สมเยน ภิกฺขู สีตุทกาย จีวรํ รชนฺติ. จีวรํ ทุคฺคนฺธํ โหติ. 
tena kho pana samayena atikhuddakaṃ nisīdanaṃ na sabbaṃ senāsanaṃ gopeti.  bhagavato etam atthaṃ ārocesuṃ.  anujānāmi bhikkhave yāvamahantaṃ paccattharaṇaṃ ākaṅkhati tāvamahantaṃ paccattharaṇaṃ kātun ti. |4| 
ภควโต เอตมตฺถํ อาโรเจสุํ.  อนุชานามิ ภิกฺขเว รชนํ ปจิตุํ จุลฺลํ รชนกุมฺภินฺติ.  รชนํ อุตฺตริยติ. (ภควโต เอตมตฺถํ อาโรเจสุํ.) 
||16|| 
อนุชานามิ ภิกฺขเว อุตฺตราฬุมฺปํ พนฺธิตุนฺติ. 
tena kho pana samayena āyasmato Ānandassa upajjhāyassa āyasmato Belaṭṭhasīsassa thullakacchābādho hoti.  tassa lasikāya cīvarāni kāye lagganti, tāni bhikkhū udakena temetvā-temetvā apakaḍḍhanti.  addasa kho bhagavā senāsanacārikaṃ āhiṇḍanto te bhikkhū tāni cīvarāni udakena temetvā-temetvā apakaḍḍhante, disvāna yena te bhikkhū ten’ upasaṃkami, upasaṃkamitvā te bhikkhū etad avoca: kiṃ imassa bhikkhave bhikkhuno ābādho ’ti.  imassa bhante (296) āyasmato thullakacchābādho, lasikāya cīvarāni kāye lagganti, tāni mayaṃ udakena temetvā-temetvā apakaḍḍhāmā ’ti.  atha kho bhagavā etasmiṃ nidāne dhammiṃ kathaṃ katvā bhikkhū āmantesi: anujānāmi bhikkhave yassa kaṇḍu vā piḷakā vā assāvo vā thullakacchu vā ābādho kaṇḍupaṭicchādin ti. |1| 
เตน โข ปน สมเยน ภิกฺขู น ชานนฺติ รชนํ ปกฺกํ วา อปกฺกํ วา.  ภควโต เอตมตฺถํ อาโรเจสุํ.  อนุชานามิ ภิกฺขเว อุทเก วา นขปิฏฺฐิกาย วา เถวกํ ทาตุนฺติ.  เตน โข ปน สมเยน ภิกฺขู รชนํ โอโรเปนฺตา กุมฺภิ๎ อาวิญฺฉนฺติ. กุมฺภี ภิชฺชติ.  ภควโต เอตมตฺถํ อาโรเจสุํ. 
||17|| 
อนุชานามิ ภิกฺขเว รชนุฬุงฺกํ ทณฺฑกถาลกนฺติ. 
atha kho Visākhā Migāramātā mukhapuñchanacolakaṃ ādāya yena bhagavā ten’ upasaṃkami, upasaṃkamitvā bhagavantaṃ abhivādetvā ekamantaṃ nisīdi, ekamantaṃ nisinnā kho Visākhā Migāramātā bhagavantaṃ etad avoca: paṭigaṇhātu me bhante bhagavā mukhapuñchanacolakaṃ yaṃ mama assa dīgharattaṃ hitāya sukhāyā ’ti.  paṭiggahesi bhagavā mukhapuñchanacolakaṃ.  atha kho bhagavā Visākhaṃ Migāramātaraṃ dhammiyā kathāya sandassesi ... sampahaṃsesi.  atha kho Visākhā Migāramātā bhagavatā dhammiyā kathāya sandassitā ... sampahaṃsitā uṭṭhāyāsanā bhagavantaṃ abhivādetvā padakkhiṇaṃ katvā pakkāmi.  atha kho bhagavā etasmiṃ nidāne dhammiṃ kathaṃ katvā bhikkhū āmantesi: anujānāmi bhikkhave mukhapuñchanacolakan ti. |1| 
เตน โข ปน สมเยน ภิกฺขูนํ รชนภาชนํ น สํวิชฺชติ.  ภควโต เอตมตฺถํ อาโรเจสุํ.  อนุชานามิ ภิกฺขเว รชนโกลมฺพํ รชนฆฏนฺติ.  เตน โข ปน สมเยน ภิกฺขู ปาติยาปิ ปตฺเตปิ จีวรํ โอมทฺทนฺติ. จีวรํ ปริภิชฺชติ.  ภควโต เอตมตฺถํ อาโรเจสุํ. 
||18|| 
อนุชานามิ ภิกฺขเว รชนโทณิกนฺติ. 
tena kho pana samayena Rojo Mallo āyasmato Ānandassa sahāyo hoti.  Rojassa Mallassa khomapilotikā āyasmato Ānandassa hatthe nikkhittā hoti āyasmato ca Ānandassa khomapilotikāya attho hoti.  bhagavato etam atthaṃ ārocesuṃ.  anujānāmi bhikkhave pañcah’ aṅgehi samannāgatassa vissāsaṃ gahetuṃ: sandiṭṭho ca hoti sambhatto ca ālapito ca jīvati ca jānāti gahite me attamano bhavissatīti.  anujānāmi bhikkhave imehi pañcah’ aṅgehi samannāgatassa vissāsaṃ gahetun ti. |1| 
    เตน โข ปน สมเยน ภิกฺขู ฉมาย จีวรํ ปตฺถรนฺติ. จีวรํ ปํสุกิตํ โหติ.  ภควโต เอตมตฺถํ อาโรเจสุํ.  อนุชานามิ ภิกฺขเว ติณสนฺถารกนฺติ. 
||19|| 
ติณสนฺถารโก อุปจิกาหิ ขชฺชติ. 
tena kho pana samayena bhikkhūnaṃ paripuṇṇaṃ hoti ticīvaraṃ attho ca hoti parissāvanehi pi thavikāhi pi.  bhagavato etam atthaṃ ārocesuṃ.  anujānāmi bhikkhave parikkhāracolakan ti. |1| 
ภควโต เอตมตฺถํ อาโรเจสุํ.  อนุชานามิ ภิกฺขเว จีวรวํสํ จีวรรชฺชุนฺติ.  มชฺเฌน ลคฺเคนฺติ. รชนํ อุภโต คลติ. 
atha kho bhikkhūnaṃ etad ahosi: yāni tāni bhagavatā anuññātāni ticīvaran ti vā vassikasāṭikā ’ti vā nisīdanan ti vā paccattharaṇan ti vā kaṇḍupa (297) ṭicchādīti vā mukhapuñchanacolakan ti vā parikkhāracolakan ti vā, sabbāni tāni adhiṭṭhātabbāni nu kho udāhu vikappetabbānīti.  bhagavato etam atthaṃ ārocesuṃ.  anujānāmi bhikkhave ticīvaraṃ adhiṭṭhātuṃ na vikappetuṃ, vassikasāṭikaṃ vassānaṃ cātumāsaṃ adhiṭṭhātuṃ tato paraṃ vikappetuṃ, nisīdanaṃ adhiṭṭhātuṃ na vikappetuṃ, paccattharaṇaṃ adhiṭṭhātuṃ na vikappetuṃ, kaṇḍupaṭicchādiṃ yāva ābādhā adhiṭṭhātuṃ tato paraṃ vikappetuṃ, mukhapuñchanacolakaṃ adhiṭṭhātuṃ na vikappetuṃ, parikkhāracolakaṃ adhiṭṭhātuṃ na vikappetun ti. |2| 
ภควโต เอตมตฺถํ อาโรเจสุํ.  อนุชานามิ ภิกฺขเว กณฺเณ พนฺธิตุนฺติ.  กณฺโณ ชีรติ. 
||20|| 
ภควโต เอตมตฺถํ อาโรเจสุํ. 
atha kho bhikkhūnaṃ etad ahosi: kittakaṃ pacchimaṃ nu kho cīvaraṃ vikappetabban ti.  bhagavato etam atthaṃ ārocesuṃ.  anujānāmi bhikkhave āyāmena aṭṭhaṅgulaṃ sugataṅgulena caturaṅgulaṃ vitthataṃ pacchimaṃ cīvaraṃ vikappetun ti.  tena kho pana samayena āyasmato Mahākassapassa paṃsukūlakato garuko hoti.  bhagavato etam atthaṃ ārocesuṃ.  anujānāmi bhikkhave suttalūkhaṃ kātun ti.  vikaṇṇo hoti.  bhagavato etam atthaṃ ārocesuṃ.  anujānāmi bhikkhave vikaṇṇaṃ uddharitun ti.  suttā okiriyanti.  bhagavato etam atthaṃ ārocesuṃ.  anujānāmi bhikkhave anuvātaṃ paribhaṇḍaṃ āropetun ti.  tena kho pana samayena saṃghāṭiyā pattā lujjanti.  bhagavato etam atthaṃ ārocesuṃ.  anujānāmi bhikkhave aṭṭhapadakaṃ kātun ti. |1| 
อนุชานามิ ภิกฺขเว กณฺณสุตฺตกนฺติ.  รชนํ เอกโต คลติ.  ภควโต เอตมตฺถํ อาโรเจสุํ.  อนุชานามิ ภิกฺขเว สมฺปริวตฺตกํ สมฺปริวตฺตกํ รเชตุํ น จ อจฺฉินฺเน เถเว ปกฺกมิตุนฺติ.  เตน โข ปน สมเยน จีวรํ ปตฺถินฺนํ โหติ.  ภควโต เอตมตฺถํ อาโรเจสุํ.  อนุชานามิ ภิกฺขเว อุทเก โอสาเรตุนฺติ.  เตน โข ปน สมเยน จีวรํ ผรุสํ โหติ.  ภควโต เอตมตฺถํ อาโรเจสุํ.  อนุชานามิ ภิกฺขเว ปาณินา อาโกเฏตุนฺติ  เตน โข ปน สมเยน ภิกฺขู อจฺฉินฺนกานิ จีวรานิ ธาเรนฺติ ทนฺตกาสาวานิ.  มนุสฺสา อุชฺฌายนฺติ ขิยฺยนฺติ วิปาเจนฺติ เสยฺยถาปิ นาม คิหี กามโภคิโนติ.  ภควโต เอตมตฺถํ อาโรเจสุํ.  น ภิกฺขเว อจฺฉินฺนกานิ จีวรานิ ธาเรตพฺพานิ.  โย ธาเรยฺย อาปตฺติ ทุกฺกฏสฺสาติ. (จีวรรชนกถา นิฏฺฐิตา.) 
tena kho pana samayena aññatarassa bhikkhuno ticīvare kayiramāne sabbaṃ chinnakaṃ na ppahoti.  anujānāmi bhikkhave dve chinnakāni ekaṃ acchinnakan ti.  dve chinnakāni ekaṃ achinnakaṃ na ppahoti.  anujānāmi bhikkhave dve acchinnakāni ekaṃ chinnakan ti.  dve acchinnakāni ekaṃ chinnakaṃ na ppahoti.  anujānāmi bhikkhave anvādhikam pi āropetuṃ.  na ca bhikkhave sabbaṃ acchinnakaṃ dhāretabbaṃ.  yo dhāreyya, āpatti dukkaṭassā ’ti. |2| 
    (๒๑๖. ฉินฺนกจีวรานุชานนา) ๓๔๕. อถ โข ภควา ราชคเห ยถาภิรนฺตํ วิหริตฺวา เยน ทกฺขิณาคิริ เตน จาริกํ ปกฺกามิ.  อทฺทสา โข ภควา มคธเขตฺตํ อจฺฉิพทฺธํ ปาฬิพทฺธํ มริยาทพทฺธํ สิงฺฆาฏกพทฺธํ ทิสฺวาน อายสฺมนฺตํ อานนฺทํ อามนฺเตสิ “ปสฺสสิ โน ตฺวํ อานนฺท มคธเขตฺตํ อจฺฉิพทฺธํ ปาฬิพทฺธํ มริยาทพทฺธํ สิงฺฆาฏกพทฺธ”นฺติ?  “เอวํ ภนฺเต”ติ.  “อุสฺสหสิ ตฺวํ อานนฺท ภิกฺขูนํ เอวรูปานิ จีวรานิ สํวิทหิตุ”นฺติ?  “อุสฺสหามิ ภควา”ติ.  อถ โข ภควา ทกฺขิณาคิริสฺมึ ยถาภิรนฺตํ วิหริตฺวา ปุนเทว ราชคหํ ปจฺจาคญฺฉิ. 
||21|| 
อถ โข อายสฺมา อานนฺโท สมฺพหุลานํ ภิกฺขูนํ จีวรานิ สํวิทหิตฺวา เยน ภควา เตนุปสงฺกมิ อุปสงฺกมิตฺวา ภควนฺตํ เอตทโวจ “ปสฺสตุ เม ภนฺเต ภควา จีวรานิ สํวิทหิตานี”ติ. 
tena kho pana samayena aññatarassa bhikkhuno bahuṃ cīvaraṃ uppannaṃ hoti so ca taṃ cīvaraṃ mātāpitunnaṃ dātukāmo hoti.  bhagavato etam atthaṃ ārocesuṃ.  mātāpitaro hi kho bhikkhave dadamāne kiṃ vadeyyāma.  anujā-(298)nāmi bhikkhave mātāpitunnaṃ dātuṃ.  na ca bhikkhave saddhādeyyaṃ vinipātetabbaṃ.  yo vinipāteyya, āpatti dukkaṭassā ’ti. |1| 
อถ โข ภควา เอตสฺมึ นิทาเน เอตสฺมึ ปกรเณ ธมฺมึ กถํ กตฺวา ภิกฺขู อามนฺเตสิ “ปณฺฑิโต ภิกฺขเว อานนฺโท มหาปญฺโญ ภิกฺขเว อานนฺโท ยตฺร หิ นาม มยา สํขิตฺเตน ภาสิตสฺส วิตฺถาเรน อตฺถํ อาชานิสฺสติ กุสิมฺปิ นาม กริสฺสติ อฑฺฒกุสิมฺปิ นาม กริสฺสติ มณฺฑลมฺปิ นาม กริสฺสติ อฑฺฒมณฺฑลมฺปิ นาม กริสฺสติ วิวฏฺฏมฺปิ นาม กริสฺสติ อนุวิวฏฺฏมฺปิ นาม กริสฺสติ คีเวยฺยกมฺปิ นาม กริสฺสติ ชงฺเฆยฺยกมฺปิ นาม กริสฺสติ พาหนฺตมฺปิ นาม กริสฺสติ ฉินฺนกํ ภวิสฺสติ สตฺถลูขํ สมณสารุปฺปํ ปจฺจตฺถิกานญฺจ อนภิจฺฉิตํ.  อนุชานามิ ภิกฺขเว ฉินฺนกํ สงฺฆาฏึ ฉินฺนกํ อุตฺตราสงฺคํ ฉินฺนกํ อนฺตรวาสก”นฺติ. (ฉินฺนกจีวรานุชานนา นิฏฺฐิตา.)      (๒๑๗. ติจีวรานุชานนา) ๓๔๖. อถ โข ภควา ราชคเห ยถาภิรนฺตํ วิหริตฺวา เยน เวสาลี เตน จาริกํ ปกฺกามิ.  อทฺทส โข ภควา อนฺตรา จ ราชคหํ อนฺตรา จ เวสาลึ อทฺธานมคฺคปฺปฏิปนฺโน สมฺพหุเล ภิกฺขู จีวเรหิ อุพฺภณฺฑิเต สีเสปิ จีวรภิสึ กริตฺวา ขนฺเธปิ จีวรภิสึ กริตฺวา กฏิยาปิ จีวรภิสึ กริตฺวา อาคจฺฉนฺเต ทิสฺวาน ภควโต เอตทโหสิ “อติลหุํ โข อิเม โมฆปุริสา จีวเร พาหุลฺลาย อาวตฺตา ยํนูนาหํ ภิกฺขูนํ จีวเร สีมํ พนฺเธยฺยํ มริยาทํ ฐเปยฺย”นฺติ. 
||22|| 
อถ โข ภควา อนุปุพฺเพน จาริกํ จรมาโน เยน เวสาลี ตทวสริ. 
tena kho pana samayena aññataro bhikkhu Andhavane cīvaraṃ nikkhipitvā santaruttarena gāmaṃ piṇḍāya pāvisi.  corā taṃ cīvaraṃ avahariṃsu.  so bhikkhu duccolo hoti lūkhacīvaro.  bhikkhū evaṃ āhaṃsu: kissa tvaṃ āvuso duccolo lūkhacīvaro ’ti.  idhāhaṃ āvuso Andhavane cīvaraṃ nikkhipitvā santaruttarena gāmaṃ piṇḍāya pāvisiṃ, corā taṃ cīvaraṃ avahariṃsu, tenāhaṃ duccolo lūkhacīvaro ’ti.  bhagavato etam atthaṃ ārocesuṃ.  na bhikkhave santaruttarena gāmo pavisitabbo.  yo paviseyya, āpatti dukkaṭassā ’ti. |1| 
ตตฺร สุทํ ภควา เวสาลิยํ วิหรติ โคตมเก เจติเย.  เตน โข ปน สมเยน ภควา สีตาสุ เหมนฺติกาสุ รตฺตีสุ อนฺตรฏฺฐกาสุ หิมปาตสมเย รตฺตึ อชฺโฌกาเส เอกจีวโร นิสีทิ. น ภควนฺตํ สีตํ อโหสิ.  นิกฺขนฺเต ปฐเม ยาเม สีตํ ภควนฺตํ อโหสิ.  ทุติยํ ภควา จีวรํ ปารุปิ. น ภควนฺตํ สีตํ อโหสิ.  นิกฺขนฺเต มชฺฌิเม ยาเม สีตํ ภควนฺตํ อโหสิ.  ตติยํ ภควา จีวรํ ปารุปิ. น ภควนฺตํ สีตํ อโหสิ.  นิกฺขนฺเต ปจฺฉิเม ยาเม อุทฺธสฺเต อรุเณ นนฺทิมุขิยา รตฺติยา สีตํ ภควนฺตํ อโหสิ.  จตุตฺถํ ภควา จีวรํ ปารุปิ. น ภควนฺตํ สีตํ อโหสิ. 
tena kho pana samayena āyasmā Ānando asatiyā santaruttarena gāmaṃ piṇḍāya pāvisi.  bhikkhū āyasmantaṃ Ānandaṃ etad avocuṃ: nanu kho āvuso Ānanda bhagavatā paññattaṃ na santaruttarena gāmo pavisitabbo ’ti.  kissa tvaṃ āvuso santaruttarena gāmaṃ paviṭṭho ’ti.  saccaṃ āvuso bhagavatā paññattaṃ na santaruttarena gāmo pavisitabbo ’ti, api cāhaṃ asatiyā paviṭṭho ’ti.  bhagavato etam atthaṃ ārocesuṃ. |2| 
อถ โข ภควโต เอตทโหสิ “เยปิ โข เต กุลปุตฺตา อิมสฺมึ ธมฺมวินเย สีตาลุกา สีตภีรุกา เตปิ สกฺโกนฺติ ติจีวเรน ยาเปตุํ.  ยํนูนาหํ ภิกฺขูนํ จีวเร สีมํ พนฺเธยฺยํ มริยาทํ ฐเปยฺยํ ติจีวรํ อนุชาเนยฺย”นฺติ.  อถ โข ภควา เอตสฺมึ นิทาเน เอตสฺมึ ปกรเณ ธมฺมึ กถํ กตฺวา ภิกฺขู อามนฺเตสิ  “อิธาหํ ภิกฺขเว อนฺตรา จ ราชคหํ อนฺตรา จ เวสาลึ อทฺธานมคฺคปฺปฏิปนฺโน อทฺทสํ สมฺพหุเล ภิกฺขู จีวเรหิ อุพฺภณฺฑิเต สีเสปิ จีวรภิสึ กริตฺวา ขนฺเธปิ จีวรภิสึ กริตฺวา กฏิยาปิ จีวรภิสึ กริตฺวา อาคจฺฉนฺเต ทิสฺวาน เม เอตทโหสิ ‘อติลหุํ โข อิเม โมฆปุริสา จีวเร พาหุลฺลาย อาวตฺตา. ยํนูนาหํ ภิกฺขูนํ จีวเร สีมํ พนฺเธยฺยํ มริยาทํ ฐเปยฺย’นฺติ.  อิธาหํ ภิกฺขเว สีตาสุ เหมนฺติกาสุ รตฺตีสุ อนฺตรฏฺฐกาสุ หิมปาตสมเย รตฺตึ อชฺโฌกาเส เอกจีวโร นิสีทึ. น มํ สีตํ อโหสิ. 
pañc’ ime bhikkhave paccayā saṃghāṭiyā nikkhepāya: gilāno vā hoti, vassikasaṃketaṃ vā hoti, nadīpāraṃ gantuṃ vā hoti, aggaḷagutti vihāro vā hoti, atthatakaṭhinaṃ vā hoti.  ime kho bhikkhave pañca paccayā saṃghāṭiyā nikkhepāya.  pañc’ ime bhikkhave paccayā uttarāsaṅgassa antaravāsakassa nikkhepāya: gilāno vā ... atthatakaṭhinaṃ vā hoti.  ime kho bhikkhave pañca paccayā uttarāsaṅgassa antaravāsakassa nikkhepāya.  pañc’ ime bhikkhave paccayā vassikasāṭikāya nikkhepāya: gilāno vā hoti, nissīmaṃ gantuṃ vā hoti, nadīpāraṃ gantuṃ vā hoti, aggaḷagutti vihāro vā hoti, vassikasāṭikā akatā vā hoti vippakatā vā.  ime kho bhikkhave pañca paccayā vassikasāṭikāya nikkhepāyā ’ti. |3| 
นิกฺขนฺเต ปฐเม ยาเม สีตํ มํ อโหสิ.  ทุติยาหํ จีวรํ ปารุปิ๎. น มํ สีตํ อโหสิ.  นิกฺขนฺเต มชฺฌิเม ยาเม สีตํ มํ อโหสิ.  ตติยาหํ จีวรํ ปารุปิ๎. น มํ สีตํ อโหสิ.  นิกฺขนฺเต ปจฺฉิเม ยาเม อุทฺธสฺเต อรุเณ นนฺทิมุขิยา รตฺติยา สีตํ มํ อโหสิ.  จตุตฺถาหํ จีวรํ ปารุปิ๎. น มํ สีตํ อโหสิ. 
||23|| 
ตสฺส มยฺหํ ภิกฺขเว เอตทโหสิ “เยปิ โข เต กุลปุตฺตา อิมสฺมึ ธมฺมวินเย สีตาลุกา สีตภีรุกา เตปิ สกฺโกนฺติ ติจีวเรน ยาเปตุํ. 
tena kho pana samayena aññataro bhikkhu eko vassaṃ vasi.  tattha manussā saṃghassa demā ’ti cīvarāni adaṃsu.  atha kho tassa bhikkhuno etad ahosi: bhagavatā paññattaṃ catuvaggo pacchimo saṃgho ’ti, ahaṃ c’ amhi ekako, ime ca (299) manussā saṃghassa demā ’ti cīvarāni adaṃsu.  yaṃ nūnāhaṃ imāni saṃghikāni cīvarāni Sāvatthiṃ hareyyan ti.  atha kho so bhikkhu tāni cīvarāni ādāya Sāvatthiṃ gantvā bhagavato etam atthaṃ ārocesi.  tuyh’ eva bhikkhu tāni cīvarāni yāva kaṭhinassa ubbhārāyā ’ti. |1| 
ยํนูนาหํ ภิกฺขูนํ จีวเร สีมํ พนฺเธยฺยํ มริยาทํ ฐเปยฺยํ ติจีวรํ อนุชาเนยฺย’นฺติ.  อนุชานามิ ภิกฺขเว ติจีวรํ ทิคุณํ สงฺฆาฏึ เอกจฺจิยํ อุตฺตราสงฺคํ เอกจฺจิยํ อนฺตรวาสก”นฺติ. (ติจีวรานุชานนา นิฏฺฐิตา.)  (๒๑๘. อติเรกจีวรกถา) ๓๔๗. เตน โข ปน สมเยน ฉพฺพคฺคิยา ภิกฺขู ภควตา ติจีวรํ อนุญฺญาตนฺติ อญฺเญเนว ติจีวเรน คามํ ปวิสนฺติ อญฺเญน ติจีวเรน อาราเม อจฺฉนฺติ อญฺเญน ติจีวเรน นหานํ โอตรนฺติ.  เย เต ภิกฺขู อปฺปิจฺฉา เต อุชฺฌายนฺติ ขิยฺยนฺติ วิปาเจนฺติ “กถญฺหิ นาม ฉพฺพคฺคิยา ภิกฺขู อติเรกจีวรํ ธาเรสฺสนฺตี”ติ.  อถ โข เต ภิกฺขู ภควโต เอตมตฺถํ อาโรเจสุํ.  อถ โข ภควา เอตสฺมึ นิทาเน เอตสฺมึ ปกรเณ ธมฺมึ กถํ กตฺวา ภิกฺขู อามนฺเตสิ “น ภิกฺขเว อติเรกจีวรํ ธาเรตพฺพํ. 
idha pana bhikkhave bhikkhu eko vassaṃ vasati.  tattha manussā saṃghassa demā ’ti cīvarāni denti.  anujānāmi bhikkhave tass’ eva tāni cīvarāni yāva kaṭhinassa ubbhārāyā ’ti. |2| 
โย ธาเรยฺย ยถาธมฺโม กาเรตพฺโพ”ติ.  เตน โข ปน สมเยน อายสฺมโต อานนฺทสฺส อติเรกจีวรํ อุปฺปนฺนํ โหติ. อายสฺมา จ อานนฺโท ตํ จีวรํ อายสฺมโต สาริปุตฺตสฺส ทาตุกาโม โหติ. อายสฺมา จ สาริปุตฺโต สาเกเต วิหรติ.  อถ โข อายสฺมโต อานนฺทสฺส เอตทโหสิ “ภควตา สิกฺขาปทํ ปญฺญตฺตํ ‘น อติเรกจีวรํ ธาเรตพฺพ’นฺติ. อิทญฺจ เม อติเรกจีวรํ อุปฺปนฺนํ อหญฺจิมํ จีวรํ อายสฺมโต สาริปุตฺตสฺส ทาตุกาโม. อายสฺมา จ สาริปุตฺโต สาเกเต วิหรติ. 
tena kho pana samayena aññataro bhikkhu utukālaṃ eko vasi.  tattha manussā saṃghassa demā ’ti cīvarāni adaṃsu.  atha kho tassa bhikkhuno etad ahosi: bhagavatā paññattaṃ catuvaggo pacchimo saṃgho ’ti, ahaṃ c’ amhi ekako, ime ca manussā saṃghassa demā ’ti cīvarāni adaṃsu.  yaṃ nūnāhaṃ imāni saṃghikāni cīvarāni Sāvatthiṃ hareyyan ti.  atha kho so bhikkhū tāni cīvarāni ādāya Sāvatthiṃ gantvā bhikkhūnaṃ etam atthaṃ ārocesi.  bhikkhū bhagavato etam atthaṃ ārocesuṃ.  anujānāmi bhikkhave sammukhībhūtena saṃghena bhājetuṃ. |3| 
กถํ นุ โข มยา ปฏิปชฺชิตพฺพ”นฺติ?  ภควโต เอตมตฺถํ อาโรเจสิ. “กีวจิรํ ปนานนฺท สาริปุตฺโต อาคจฺฉิสฺสตี”ติ?  “นวมํ วา ภควา ทิวสํ ทสมํ วา”ติ.  อถ โข ภควา เอตสฺมึ นิทาเน เอตสฺมึ ปกรเณ ธมฺมึ กถํ กตฺวา ภิกฺขู อามนฺเตสิ “อนุชานามิ ภิกฺขเว ทสาหปรมํ อติเรกจีวรํ ธาเรตุ”นฺติ.  เตน โข ปน สมเยน ภิกฺขูนํ อติเรกจีวรํ อุปฺปนฺนํ โหติ.  อถ โข ภิกฺขูนํ เอตทโหสิ “กถํ นุ โข อมฺเหหิ อติเรกจีวเร ปฏิปชฺชิตพฺพ”นฺติ?  ภควโต เอตมตฺถํ อาโรเจสุํ. 
idha pana bhikkhave bhikkhu utukālaṃ eko vasati.  tattha manussā saṃghassa demā ’ti cīvarāni denti.  anujānāmi bhikkhave tena bhikkhunā tāni cīvarāni adhiṭṭhātuṃ mayh’ imāni cīvarānīti.  tassa ce bhikkhave bhikkhuno taṃ cīvaraṃ anadhiṭṭhitena añño bhikkhu āgacchati, samako dātabbo bhāgo.  tehi ce bhikkhave bhikkhūhi taṃ cīvaraṃ bhājiyamāne apātite kuse añño bhikkhu āgacchati, samako dātabbo bhāgo.  tehi ce bhikkhave bhikkhūhi taṃ cīvaraṃ bhājiyamāne pātite kuse añño bhikkhu āgacchati, nākāmā dātabbo bhāgo ’ti. |4| 
อนุชานามิ ภิกฺขเว อติเรกจีวรํ วิกปฺเปตุนฺติ.      ๓๔๘. อถ โข ภควา เวสาลิยํ ยถาภิรนฺตํ วิหริตฺวา เยน พาราณสี เตน จาริกํ ปกฺกามิ.  อนุปุพฺเพน จาริกํ จรมาโน เยน พาราณสี ตทวสริ.  ตตฺร สุทํ ภควา พาราณสิยํ วิหรติ อิสิปตเน มิคทาเย. 
tena kho pana samayena dve bhātukā therā āyasmā ca Isidāso āyasmā ca Isibhatto Sāvatthiyaṃ vassaṃ vutthā aññataraṃ gāmakāvāsaṃ agamaṃsu.  manussā cirassāpi therā āgatā ’ti sacīvarāni bhattāni adaṃsu.  āvāsikā bhikkhū there pucchiṃsu: imāni bhante saṃghikāni cīvarāni there āgamma uppannāni, sādiyissanti therā bhāgan ti.  therā evaṃ āhaṃsu: yathā kho mayaṃ āvuso bhagavatā dhammaṃ desitaṃ ājānāma tumhākaṃ yeva tāni cīvarāni yāva kaṭhinassa ubbhārāyā ’ti. |5| 
เตน โข ปน สมเยน อญฺญตรสฺส ภิกฺขุโน อนฺตรวาสโก ฉิทฺโท โหติ.  อถ โข ตสฺส ภิกฺขุโน เอตทโหสิ “ภควตา ติจีวรํ อนุญฺญาตํ ทิคุณา สงฺฆาฏิ เอกจฺจิโย อุตฺตราสงฺโค เอกจฺจิโย อนฺตรวาสโก. อยญฺจ เม อนฺตรวาสโก ฉิทฺโท.  ยํนูนาหํ อคฺคฬํ อจฺฉุเปยฺยํ สมนฺตโต ทุปฏฺฏํ ภวิสฺสติ มชฺเฌ เอกจฺจิย”นฺติ.  อถ โข โส ภิกฺขุ อคฺคฬํ อจฺฉุเปสิ. 
tena kho pana samayena tayo bhikkhū Rājagahe vassaṃ vasanti.  tattha manussā saṃghassa demā ’ti cīvarāni denti.  atha kho tesaṃ bhikkhūnaṃ etad ahosi: bhagavatā (300) paññattaṃ catuvaggo pacchimo saṃgho ’ti, mayaṃ c’ amhā tayo janā, ime ca manussā saṃghassa demā ’ti cīvarāni denti.  kathaṃ nu kho amhehi paṭipajjitabban ti.  tena kho pana samayena sambahulā therā āyasmā ca Nilavāsī āyasmā ca Sāṇavāsī āyasmā ca Gopako āyasmā ca Bhagu āyasmā ca Phalikasandāno Pāṭaliputte viharanti Kukkuṭārāme.  atha kho te bhikkhū Pāṭaliputtaṃ gantvā there pucchiṃsu.  therā evaṃ āhaṃsu: yathā kho mayaṃ āvuso bhagavatā dhammaṃ desitaṃ ājānāma tumhākaṃ yeva tāni cīvarāni yāva kaṭhinassa ubbhārāyā ’ti. |6| 
อทฺทสา โข ภควา เสนาสนจาริกํ อาหิณฺฑนฺโต ตํ ภิกฺขุํ อคฺคฬํ อจฺฉุเปนฺตํ ทิสฺวาน เยน โส ภิกฺขุ เตนุปสงฺกมิ อุปสงฺกมิตฺวา ตํ ภิกฺขุํ เอตทโวจ “กึ ตฺวํ ภิกฺขุ กโรสี”ติ?  “อคฺคฬํ ภควา อจฺฉุเปมี”ติ.  “สาธุ สาธุ ภิกฺขุ สาธุ โข ตฺวํ ภิกฺขุ อคฺคฬํ อจฺฉุเปสี”ติ  อถ โข ภควา เอตสฺมึ นิทาเน เอตสฺมึ ปกรเณ ธมฺมึ กถํ กตฺวา ภิกฺขู อามนฺเตสิ “อนุชานามิ ภิกฺขเว อหตานํ ทุสฺสานํ อหตกปฺปานํ ทิคุณํ สงฺฆาฏึ เอกจฺจิยํ อุตฺตราสงฺคํ เอกจฺจิยํ อนฺตรวาสกํ อุตุทฺธฏานํ ทุสฺสานํ จตุคฺคุณํ สงฺฆาฏึ ทิคุณํ อุตฺตราสงฺคํ ทิคุณํ อนฺตรวาสกํ  ปํสุกูเล ยาวทตฺถํ ปาปณิเก อุสฺสาโห กรณีโย.  อนุชานามิ ภิกฺขเว อคฺคฬํ ตุนฺนํ โอวฏฺฏิกํ กณฺฑุสกํ ทฬฺหีกมฺม”นฺติ. (อติเรกจีวรกถา นิฏฺฐิตา.)   
||24|| 
 
tena kho pana samayena āyasmā Upanando Sakyaputto Sāvatthiyaṃ vassaṃ vuttho aññataraṃ gāmakāvāsaṃ agamāsi.  tattha bhikkhū civaraṃ bhājetukāmā sannipatiṃsu.  te evaṃ āhaṃsu: imāni kho āvuso saṃghikāni cīvarāni bhājiyissanti, sādiyissasi bhāgan ti.  āmāvuso sādiyissāmīti tato cīvarabhāgaṃ gahetvā aññaṃ āvāsaṃ agamāsi.  tattha pi bhikkhū cīvaraṃ bhājetukāmā sannipatiṃsu.  te pi evaṃ āhaṃsu: imāni kho āvuso saṃghikāni cīvarāni bhājiyissanti, sādiyissasi bhāgan ti.  āmāvuso sādiyissāmīti tato pi cīvarabhāgaṃ gahetvā aññaṃ āvāsaṃ agamāsi.  tattha pi bhikkhū cīvaraṃ bhājetukāmā sannipatiṃsu.  te pi evaṃ āhaṃsu: imāni kho āvuso saṃghikāni cīvarāni bhājiyissanti, sādiyissasi bhāgan ti.  āmāvuso sādiyissāmīti tato pi cīvarabhāgaṃ gahetvā mahantaṃ cīvarabhaṇḍikaṃ ādāya punad eva Sāvatthiṃ paccāgacchi. |1| 
(๒๑๙. วิสาขาวตฺถุ) ๓๔๙. อถ โข ภควา พาราณสิยํ ยถาภิรนฺตํ วิหริตฺวา เยน สาวตฺถิ เตน จาริกํ ปกฺกามิ.  อนุปุพฺเพน จาริกํ จรมาโน เยน สาวตฺถิ ตทวสริ.  ตตฺร สุทํ ภควา สาวตฺถิยํ วิหรติ เชตวเน อนาถปิณฺฑิกสฺส อาราเม.  อถ โข วิสาขา มิคารมาตา เยน ภควา เตนุปสงฺกมิ อุปสงฺกมิตฺวา ภควนฺตํ อภิวาเทตฺวา เอกมนฺตํ นิสีทิ.  เอกมนฺตํ นิสินฺนํ โข วิสาขํ มิคารมาตรํ ภควา ธมฺมิยา กถาย สนฺทสฺเสสิ สมาทเปสิ สมุตฺเตเชสิ สมฺปหํเสสิ.  อถ โข วิสาขา มิคารมาตา ภควตา ธมฺมิยา กถาย สนฺทสฺสิตา สมาทปิตา สมุตฺเตชิตา สมฺปหํสิตา ภควนฺตํ เอตทโวจ  “อธิวาเสตุ เม ภนฺเต ภควา สฺวาตนาย ภตฺตํ สทฺธึ ภิกฺขุสงฺเฆนา”ติ. อธิวาเสสิ ภควา ตุณฺหีภาเวน.  อถ โข วิสาขา มิคารมาตา ภควโต อธิวาสนํ วิทิตฺวา อุฏฺฐายาสนา ภควนฺตํ อภิวาเทตฺวา ปทกฺขิณํ กตฺวา ปกฺกามิ.  เตน โข ปน สมเยน ตสฺสา รตฺติยา อจฺจเยน จาตุทฺทีปิโก มหาเมโฆ ปาวสฺสิ.  อถ โข ภควา ภิกฺขู อามนฺเตสิ “ยถา ภิกฺขเว เชตวเน วสฺสติ เอวํ จตูสุ ทีเปสุ วสฺสติ. โอวสฺสาเปถ ภิกฺขเว กายํ. อยํ ปจฺฉิมโก จาตุทฺทีปิโก มหาเมโฆ”ติ. 
bhikkhū evaṃ āhaṃsu: mahāpuñño ’si tvaṃ āvuso Upananda, bahuṃ te cīvaraṃ uppannan ti.  kuto me āvuso puññaṃ, idhāhaṃ āvuso Sāvatthiyaṃ vassaṃ vuttho aññataraṃ gāmakāvāsaṃ agamāsiṃ, tattha bhikkhū cīvaraṃ bhājetukāmā sannipatiṃsu, te maṃ evaṃ āhaṃsu: imāni kho āvuso saṃghikāni cīvarāni bhājiyissanti, sādiyissasi bhāgan ti.  āmāvuso sādiyissāmīti tato cīvarabhāgaṃ gahetvā aññaṃ āvāsaṃ agamāsiṃ, tattha pi bhikkhū cīvaraṃ bhājetukāmā sannipatiṃsu, te pi maṃ evaṃ āhaṃsu: imāni kho āvuso saṃghikāni cīvarāni bhājiyissanti, sādiyissasi bhāgan ti, āmāvuso sādiyissāmīti tato pi cīvarabhāgaṃ gahetvā aññaṃ (301) āvāsaṃ agamāsiṃ, tattha pi bhikkhū cīvaraṃ bhājetukāmā sannipatiṃsu, te pi maṃ evaṃ āhaṃsu: imāni ... sādiyissāmīti tato pi cīvarabhāgaṃ aggahesiṃ, evaṃ me bahuṃ cīvaraṃ uppannan ti. |2| 
“เอวํ ภนฺเต”ติ โข เต ภิกฺขู ภควโต ปฏิสฺสุณิตฺวา นิกฺขิตฺตจีวรา กายํ โอวสฺสาเปนฺติ.  อถ โข วิสาขา มิคารมาตา ปณีตํ ขาทนียํ โภชนียํ ปฏิยาทาเปตฺวา ทาสึ อาณาเปสิ “คจฺฉ เช. อารามํ คนฺตฺวา กาลํ อาโรเจหิ กาโล ภนฺเต นิฏฺฐิตํ ภตฺต”นฺติ.  “เอวํ อยฺเย”ติ โข สา ทาสี วิสาขาย มิคารมาตุยา ปฏิสฺสุณิตฺวา อารามํ คนฺตฺวา อทฺทส ภิกฺขู นิกฺขิตฺตจีวเร กายํ โอวสฺสาเปนฺเต ทิสฺวาน ‘นตฺถิ อาราเม ภิกฺขู อาชีวกา กายํ โอวสฺสาเปนฺตี’ติ เยน วิสาขา มิคารมาตา เตนุปสงฺกมิ อุปสงฺกมิตฺวา วิสาขํ มิคารมาตรํ เอตทโวจ “นตฺถยฺเย อาราเม ภิกฺขู อาชีวกา กายํ โอวสฺสาเปนฺตี”ติ. 
kiṃ pana tvaṃ āvuso Upananda aññatra vassaṃ vuttho aññatra cīvarabhāgaṃ sādiyissasīti.  evaṃ āvuso ’ti.  ye te bhikkhū appicchā te ujjhāyanti khīyanti vipācenti: kathaṃ hi nāma āyasmā Upanando Sakyaputto aññatra vassaṃ vuttho aññatra cīvarabhāgaṃ sādiyissatīti.  bhagavato etam atthaṃ ārocesuṃ.  saccaṃ kira tvaṃ Upananda aññatra vassaṃ vuttho aññatra cīvarabhāgaṃ sādiyīti.  saccaṃ bhagavā.  vigarahi buddho bhagavā: kathaṃ hi nāma tvaṃ moghapurisa aññatra vassaṃ vuttho aññatra cīvarabhāgaṃ sādiyissasi.  n’ etaṃ moghapurisa appasannānaṃ vā pasādāya pasannānaṃ vā bhiyyobhāvāya.  vigarahitvā dhammiṃ kathaṃ katvā bhikkhū āmantesi: na bhikkhave aññatra vassaṃ vutthena aññatra cīvarabhāgo sāditabbo.  yo sādiyeyya, āpatti dukkaṭassā ’ti. |3| 
อถ โข วิสาขาย มิคารมาตุยา ปณฺฑิตาย วิยตฺตาย เมธาวินิยา เอตทโหสิ “นิสฺสํสยํ โข อยฺยา นิกฺขิตฺตจีวรา กายํ โอวสฺสาเปนฺติ. สายํ พาลา มญฺญิตฺถ นตฺถิ อาราเม ภิกฺขู อาชีวกา กายํ โอวสฺสาเปนฺตี”ติ ปุน ทาสึ อาณาเปสิ “คจฺฉ เช. อารามํ คนฺตฺวา กาลํ อาโรเจหิ กาโล ภนฺเต นิฏฺฐิตํ ภตฺต”นฺติ.  อถ โข เต ภิกฺขู คตฺตานิ สีตึ กริตฺวา กลฺลกายา จีวรานิ คเหตฺวา ยถาวิหารํ ปวิสึสุ.  อถ โข สา ทาสี อารามํ คนฺตฺวา ภิกฺขู อปสฺสนฺตี ‘นตฺถิ อาราเม ภิกฺขู สุญฺโญ อาราโม’ติ เยน วิสาขา มิคารมาตา เตนุปสงฺกมิ อุปสงฺกมิตฺวา วิสาขํ มิคารมาตรํ เอตทโวจ “นตฺถยฺเย อาราเม ภิกฺขู สุญฺโญ อาราโม”ติ.  อถ โข วิสาขาย มิคารมาตุยา ปณฺฑิตาย วิยตฺตาย เมธาวินิยา เอตทโหสิ “นิสฺสํสยํ โข อยฺยา คตฺตานิ สีตึ กริตฺวา กลฺลกายา จีวรานิ คเหตฺวา ยถาวิหารํ ปวิฏฺฐา. สายํ พาลา มญฺญิตฺถ นตฺถิ อาราเม ภิกฺขู สุญฺโญ อาราโม”ติ ปุน ทาสึ อาณาเปสิ “คจฺฉ เช. อารามํ คนฺตฺวา กาลํ อาโรเจหิ กาโล ภนฺเต นิฏฺฐิตํ ภตฺต”นฺติ.  ๓๕๐. อถ โข ภควา ภิกฺขู อามนฺเตสิ “สนฺทหถ ภิกฺขเว ปตฺตจีวรํ กาโล ภตฺตสฺสา”ติ.  “เอวํ ภนฺเต”ติ โข เต ภิกฺขู ภควโต ปจฺจสฺโสสุํ.  อถ โข ภควา ปุพฺพณฺหสมยํ นิวาเสตฺวา ปตฺตจีวรมาทาย เสยฺยถาปิ นาม พลวา ปุริโส สมฺมิญฺชิตํ วา พาหํ ปสาเรยฺย ปสาริตํ วา พาหํ สมิญฺเชยฺย เอวเมว เชตวเน อนฺตรหิโต วิสาขาย มิคารมาตุยา โกฏฺฐเก ปาตุรโหสิ.  นิสีทิ ภควา ปญฺญตฺเต อาสเน สทฺธึ ภิกฺขุสงฺเฆน.  อถ โข วิสาขา มิคารมาตา “อจฺฉริยํ วต โภ! อพฺภุตํ วต โภ! ตถาคตสฺส มหิทฺธิกตา มหานุภาวตา ยตฺร หิ นาม ชณฺณุกมตฺเตสุปิ โอเฆสุ ปวตฺตมาเนสุ กฏิมตฺเตสุปิ โอเฆสุ ปวตฺตมาเนสุ น หิ นาม เอกภิกฺขุสฺสปิ ปาทา วา จีวรานิ วา อลฺลานิ ภวิสฺสนฺตี”ติ หฏฺฐา อุทคฺคา พุทฺธปฺปมุขํ ภิกฺขุสงฺฆํ ปณีเตน ขาทนีเยน โภชนีเยน สหตฺถา สนฺตปฺเปตฺวา สมฺปวาเรตฺวา ภควนฺตํ ภุตฺตาวึ โอนีตปตฺตปาณึ เอกมนฺตํ นิสีทิ.  เอกมนฺตํ นิสินฺนา โข วิสาขา มิคารมาตา ภควนฺตํ เอตทโวจ “อฏฺฐาหํ ภนฺเต ภควนฺตํ วรานิ ยาจามี”ติ. 
tena kho pana samayena āyasmā Upanando Sakyaputto eko dvīsu āvāsesu vassaṃ vasi evaṃ me bahuṃ cīvaraṃ uppajjissatīti.  atha kho tesaṃ bhikkhūnaṃ etad ahosi: kathaṃ nu kho āyasmato Upanandassa Sakyaputtassa cīvarapaṭiviso dātabbo ’ti.  bhagavato etam atthaṃ ārocesuṃ.  detha bhikkhave moghapurisassa ekādhippāyaṃ.  idha pana bhikkhave bhikkhu eko dvīsu āvāsesu vassaṃ vasati evaṃ me bahuṃ cīvaraṃ uppajjissatīti.  sace amutra upaḍḍhaṃ amutra upaḍḍhaṃ vasati, amutra upaḍḍho amutra upaḍḍho cīvarapaṭiviso dātabbo, yattha vā pana bahutaraṃ vasati tato cīvarapaṭiviso dātabbo ’ti. |4| 
“อติกฺกนฺตวรา โข วิสาเข ตถาคตา”ติ.  “ยานิ จ ภนฺเต กปฺปิยานิ ยานิ จ อนวชฺชานี”ติ.  “วเทหิ วิสาเข”ติ.  “อิจฺฉามหํ ภนฺเต สงฺฆสฺส ยาวชีวํ วสฺสิกสาฏิกํ ทาตุํ อาคนฺตุกภตฺตํ ทาตุํ คมิกภตฺตํ ทาตุํ คิลานภตฺตํ ทาตุํ คิลานุปฏฺฐากภตฺตํ ทาตุํ คิลานเภสชฺชํ ทาตุํ ธุวยาคุํ ทาตุํ ภิกฺขุนิสงฺฆสฺส อุทกสาฏิกํ ทาตุ”นฺติ.  “กึ ปน ตฺวํ วิสาเข อตฺถวสํ สมฺปสฺสมานา ตถาคตํ อฏฺฐ วรานิ ยาจสี”ติ?  “อิธาหํ ภนฺเต ทาสึ อาณาเปสึ ‘คจฺฉ เช. อารามํ คนฺตฺวา กาลํ อาโรเจหิ กาโล ภนฺเต นิฏฺฐิตํ ภตฺต”’นฺติ. อถ โข สา ภนฺเต ทาสี อารามํ คนฺตฺวา อทฺทส ภิกฺขู นิกฺขิตฺตจีวเร กายํ โอวสฺสาเปนฺเต ทิสฺวาน “นตฺถิ อาราเม ภิกฺขู อาชีวกา กายํ โอวสฺสาเปนฺตี”ติ เยนาหํ เตนุปสงฺกมิ อุปสงฺกมิตฺวา มํ เอตทโวจ “นตฺถยฺเย อาราเม ภิกฺขู อาชีวกา กายํ โอวสฺสาเปนฺตี”ติ. 
||25|| 
อสุจิ ภนฺเต นคฺคิยํ เชคุจฺฉํ ปฏิกูลํ. 
tena kho pana samayena aññatarassa bhikkhuno kucchivikārābādho hoti, so sake muttakarīse palipanno seti.  atha kho bhagavā āyasmatā Ānandena pacchāsamaṇena senāsanacārikaṃ āhiṇḍanto yena tassa bhikkhuno vihāro ten’ upasaṃkami.  addasa kho bhagavā taṃ bhikkhuṃ sake muttakarīse palipannaṃ sayamānaṃ, disvāna yena so bhikkhu ten’ upasaṃkami, upasaṃkamitvā taṃ bhikkhuṃ etad avoca: kiṃ te bhikkhu ābādho ’ti.  kucchivikāro me bhagavā ’ti.  atthi pana te bhikkhu upaṭṭhāko ’ti.  n’ atthi bhagavā (302) ’ti.  kissa taṃ bhikkhū na upaṭṭhentīti.  ahaṃ kho bhante bhikkhūnaṃ akārako, tena maṃ bhikkhū na upaṭṭhentīti. |1| 
อิมาหํ ภนฺเต อตฺถวสํ สมฺปสฺสมานา อิจฺฉามิ สงฺฆสฺส ยาวชีวํ วสฺสิกสาฏิกํ ทาตุํ.  “ปุน จปรํ ภนฺเต อาคนฺตุโก ภิกฺขุ น วีถิกุสโล น โคจรกุสโล กิลนฺโต ปิณฺฑาย จรติ.  โส เม อาคนฺตุกภตฺตํ ภุญฺชิตฺวา วีถิกุสโล โคจรกุสโล อกิลนฺโต ปิณฺฑาย จริสฺสติ.  อิมาหํ ภนฺเต อตฺถวสํ สมฺปสฺสมานา อิจฺฉามิ สงฺฆสฺส ยาวชีวํ อาคนฺตุกภตฺตํ ทาตุํ.  “ปุน จปรํ ภนฺเต คมิโก ภิกฺขุ อตฺตโน ภตฺตํ ปริเยสมาโน สตฺถา วา วิหายิสฺสติ ยตฺถ วา วาสํ คนฺตุกาโม ภวิสฺสติ ตตฺถ วิกาเล อุปคจฺฉิสฺสติ กิลนฺโต อทฺธานํ คมิสฺสติ.  โส เม คมิกภตฺตํ ภุญฺชิตฺวา สตฺถา น วิหายิสฺสติ ยตฺถ วาสํ คนฺตุกาโม ภวิสฺสติ ตตฺถ กาเล อุปคจฺฉิสฺสติ อกิลนฺโต อทฺธานํ คมิสฺสติ.  อิมาหํ ภนฺเต อตฺถวสํ สมฺปสฺสมานา อิจฺฉามิ สงฺฆสฺส ยาวชีวํ คมิกภตฺตํ ทาตุํ.  “ปุน จปรํ ภนฺเต คิลานสฺส ภิกฺขุโน สปฺปายานิ โภชนานิ อลภนฺตสฺส อาพาโธ วา อภิวฑฺฒิสฺสติ กาลํกิริยา วา ภวิสฺสติ. 
atha kho bhagavā āyasmantaṃ Ānandaṃ āmantesi: gacchānanda udakaṃ āhara, imaṃ bhikkhuṃ nahāpessāmā ’ti.  evaṃ bhante ’ti kho āyasmā Ānando bhagavato paṭisuṇitvā udakaṃ āharitvā bhagavā udakaṃ āsiñci āyasmā Ānando paridhovi, bhagavā sīsato aggahesi āyasmā Ānando pādato uccāretvā mañcake nipātesuṃ. |2| 
ตสฺส เม คิลานภตฺตํ ภุตฺตสฺส อาพาโธ น อภิวฑฺฒิสฺสติ กาลํกิริยา น ภวิสฺสติ.  อิมาหํ ภนฺเต อตฺถวสํ สมฺปสฺสมานา อิจฺฉามิ สงฺฆสฺส ยาวชีวํ คิลานภตฺตํ ทาตุํ 
atha kho bhagavā etasmiṃ nidāne etasmiṃ pakaraṇe bhikkhusaṃghaṃ sannipātāpetvā bhikkhū paṭipucchi: atthi bhikkhave amukasmiṃ vihāre bhikkhu gilāno ’ti.  atthi bhagavā ’ti.  kiṃ tassa bhikkhave bhikkhuno ābādho ’ti.  tassa bhante āyasmato kucchivikārābādho ’ti.  atthi pana bhikkhave tassa bhikkhuno upaṭṭhāko ’ti.  n’ atthi bhagavā ’ti.  kissa taṃ bhikkhū na upaṭṭhentīti.  eso bhante bhikkhu {bhikkhūnaṃ} akārako, tena taṃ bhikkhū na upaṭṭhentīti.  n’ atthi te bhikkhave mātā n’ atthi pitā ye te upaṭṭhaheyyuṃ.  tumhe ce bhikkhave aññamaññaṃ na upaṭṭhahissatha atha ko carahi upaṭṭhahissati.  yo bhikkhave maṃ upaṭṭhaheyya so gilānaṃ upaṭṭhaheyya. |3| 
“ปุน จปรํ ภนฺเต คิลานุปฏฺฐาโก ภิกฺขุ อตฺตโน ภตฺตํ ปริเยสมาโน คิลานสฺส อุสฺสูเร ภตฺตํ นีหริสฺสติ ภตฺตจฺเฉทํ กริสฺสติ.  โส เม คิลานุปฏฺฐากภตฺตํ ภุญฺชิตฺวา คิลานสฺส กาเลน ภตฺตํ นีหริสฺสติ ภตฺตจฺเฉทํ น กริสฺสติ.  อิมาหํ ภนฺเต อตฺถวสํ สมฺปสฺสมานา อิจฺฉามิ สงฺฆสฺส ยาวชีวํ คิลานุปฏฺฐากภตฺตํ ทาตุํ.  “ปุน จปรํ ภนฺเต คิลานสฺส ภิกฺขุโน สปฺปายานิ เภสชฺชานิ อลภนฺตสฺส อาพาโธ วา อภิวฑฺฒิสฺสติ กาลํกิริยา วา ภวิสฺสติ.  ตสฺส เม คิลานเภสชฺชํ ปริภุตฺตสฺส อาพาโธ น อภิวฑฺฒิสฺสติ กาลํกิริยา น ภวิสฺสติ.  อิมาหํ ภนฺเต อตฺถวสํ สมฺปสฺสมานา อิจฺฉามิ สงฺฆสฺส ยาวชีวํ คิลานเภสชฺชํ ทาตุํ.  “ปุน จปรํ ภนฺเต ภควตา อนฺธกวินฺเท ทสานิสํเส สมฺปสฺสมาเนน ยาคุ อนุญฺญาตา.  ตฺยาหํ ภนฺเต อานิสํเส สมฺปสฺสมานา อิจฺฉามิ สงฺฆสฺส ยาวชีวํ ธุวยาคุํ ทาตุํ.  “อิธ ภนฺเต ภิกฺขุนิโย อจิรวติยา นทิยา เวสิยาหิ สทฺธึ นคฺคา เอกติตฺเถ นหายนฺติ.  ตา ภนฺเต เวสิยา ภิกฺขุนิโย อุปฺปณฺเฑสุํ ‘กึ นุ โข นาม ตุมฺหากํ อยฺเย ทหรานํ พฺรหฺมจริยํ จิณฺเณน นนุ นาม กามา ปริภุญฺชิตพฺพา ยทา ชิณฺณา ภวิสฺสถ ตทา พฺรหฺมจริยํ จริสฺสถ. เอวํ ตุมฺหากํ อุโภ อตฺถา ปริคฺคหิตา ภวิสฺสนฺตี’ติ.  ตา ภนฺเต ภิกฺขุนิโย เวสิยาหิ อุปฺปณฺฑิยมานา มงฺกู อเหสุํ. 
sace upajjhāyo hoti upajjhāyena yāvajīvaṃ upaṭṭhātabbo, vuṭṭhānassa āgametabbaṃ.  sace ācariyo hoti ācariyena yāvajīvaṃ upaṭṭhātabbo, vuṭṭhānassa āgametabbaṃ.  sace saddhivihāriko hoti ... sace antevāsiko hoti ... sace samānupajjhāyako hoti ... sace samānācariyako hoti samānācariyakena yāvajīvaṃ upaṭṭhātabbo, vuṭṭhānassa āgametabbaṃ.  sace na hoti upajjhāyo vā ācariyo vā saddhivihāriko vā antevāsiko vā samānupajjhāyako vā samānācariyako vā saṃghena upaṭṭhātabbo.  no ce upaṭṭhaheyya, āpatti dukkaṭassa. |4| 
อสุจิ ภนฺเต มาตุคามสฺส นคฺคิยํ เชคุจฺฉํ ปฏิกูลํ.  อิมาหํ ภนฺเต อตฺถวสํ สมฺปสฺสมานา อิจฺฉามิ ภิกฺขุนิสงฺฆสฺส ยาวชีวํ อุทกสาฏิกํ ทาตุ”นฺติ.  ๓๕๑. “กึ ปน ตฺวํ วิสาเข อานิสํสํ สมฺปสฺสมานา ตถาคตํ อฏฺฐ วรานิ ยาจสี”ติ?  “อิธ ภนฺเต ทิสาสุ วสฺสํวุฏฺฐา ภิกฺขู สาวตฺถึ อาคจฺฉิสฺสนฺติ ภควนฺตํ ทสฺสนาย. เต ภควนฺตํ อุปสงฺกมิตฺวา ปุจฺฉิสฺสนฺติ ‘อิตฺถนฺนาโม ภนฺเต ภิกฺขุ กาลงฺกโต ตสฺส กา คติ โก อภิสมฺปราโย’ติ?  ตํ ภควา พฺยากริสฺสติ โสตาปตฺติผเล วา สกทาคามิผเล วา อนาคามิผเล วา อรหตฺเต วา. 
pañcahi bhikkhave aṅgehi samannāgato gilāno dupaṭṭhāko hoti: asappāyakārī hoti, sappāye mattaṃ na jānāti, bhesajjaṃ na paṭisevitā hoti, atthakāmassa gilānupaṭṭhākassa yathābhūtaṃ ābādhaṃ nāvikattā hoti abhikkamantaṃ vā abhikkamatīti paṭikkamantaṃ vā paṭikkamatīti ṭhitaṃ vā ṭhito ’ti, uppannānaṃ sārīrikānaṃ vedanānaṃ dukkhānaṃ tibbānaṃ kharānaṃ kaṭukānaṃ asātānaṃ amanāpānaṃ pāṇaharānaṃ anadhivāsakajātiko hoti.  imehi kho bhikkhave pañcah’ aṅgehi samannāgato gilāno dupaṭṭhāko hoti. |5| 
ตฺยาหํ อุปสงฺกมิตฺวา ปุจฺฉิสฺสามิ ‘อาคตปุพฺพา นุ โข ภนฺเต เตน อยฺเยน สาวตฺถี’ติ?  สเจ เม วกฺขนฺติ ‘อาคตปุพฺพา เตน ภิกฺขุนา สาวตฺถี’ติ นิฏฺฐเมตฺถ คจฺฉิสฺสามิ นิสฺสํสยํ เม ปริภุตฺตํ เตน อยฺเยน วสฺสิกสาฏิกา วา อาคนฺตุกภตฺตํ วา คมิกภตฺตํ วา คิลานภตฺตํ วา คิลานุปฏฺฐากภตฺตํ วา คิลานเภสชฺชํ วา ธุวยาคุ วาติ. 
pañcahi (303) bhikkhave aṅgehi samannāgato gilāno supaṭṭhāko hoti: sappāyakārī hoti, sappāye mattaṃ jānāti, bhesajjaṃ paṭisevitā hoti, atthakāmassa gilānupaṭṭhākassa yathābhūtaṃ ābādhaṃ āvikattā hoti abhikkamantaṃ vā abhikkamatīti paṭikkamantaṃ vā paṭikkamatīti ṭhitaṃ vā ṭhito ’ti, uppannānaṃ sārīrikānaṃ vedanānaṃ dukkhānaṃ tibbānaṃ kharānaṃ kaṭukānaṃ asātānaṃ amanāpānaṃ pāṇaharānaṃ adhivāsakajātiko hoti.  imehi kho bhikkhave pañcah’ aṅgehi samannāgato gilāno supaṭṭhāko hoti. |6| 
ตสฺสา เม ตทนุสฺสรนฺติยา ปามุชฺชํ ชายิสฺสติ ปมุทิตาย ปีติ ชายิสฺสติ ปีติมนาย กาโย ปสฺสมฺภิสฺสติ ปสฺสทฺธกายา สุขํ เวทิยิสฺสามิ สุขินิยา จิตฺตํ สมาธิยิสฺสติ. สา เม ภวิสฺสติ อินฺทฺริยภาวนา พลภาวนา โพชฺฌงฺคภาวนา.  อิมาหํ ภนฺเต อานิสํสํ สมฺปสฺสมานา ตถาคตํ อฏฺฐ วรานิ ยาจามี”ติ. 
pañcahi bhikkhave aṅgehi samannāgato gilānupaṭṭhāko nālaṃ gilānaṃ upaṭṭhātuṃ: na paṭibalo hoti bhesajjaṃ vidhātuṃ, sappāyāsappāyaṃ na jānāti asappāyaṃ upanāmeti sappāyaṃ apanāmeti, āmisantaro gilānaṃ upaṭṭhāti no mettacitto, jegucchi hoti uccāraṃ vā passāvaṃ vā kheḷaṃ vā vantaṃ vā nīhātuṃ, na paṭibalo hoti gilānaṃ kālena kālaṃ dhammiyā kathāya sandassetuṃ ... sampahaṃsetuṃ.  imehi kho bhikkhave pañcah’ aṅgehi samannāgato gilānupaṭṭhāko nālaṃ gilānaṃ upaṭṭhātuṃ. |7| 
“สาธุ สาธุ วิสาเข สาธุ โข ตฺวํ วิสาเข อิมํ อานิสํสํ สมฺปสฺสมานา ตถาคตํ อฏฺฐ วรานิ ยาจสิ.  อนุชานามิ เต วิสาเข อฏฺฐ วรานี”ติ. 
pañcahi bhikkhave aṅgehi samannāgato gilānupaṭṭhāko alaṃ gilānaṃ upaṭṭhātuṃ: paṭibalo hoti bhesajjaṃ saṃvidhātuṃ, sappāyāsappāyaṃ jānāti asappāyaṃ apanāmeti sappāyaṃ upanāmeti, mettacitto gilānaṃ upaṭṭhāti no āmisantaro, ajegucchi hoti uccāraṃ vā passāvaṃ vā kheḷaṃ vā vantaṃ vā nīhātuṃ, paṭibalo hoti gilānaṃ kālena kālaṃ dhammiyā kathāya sandassetuṃ ... sampahaṃsetuṃ.  imehi kho bhikkhave pañcah’ aṅgehi samannāgato gilānupaṭṭhāko alaṃ gilānaṃ upaṭṭhātun ti. |8| 
อถ โข ภควา วิสาขํ มิคารมาตรํ อิมาหิ คาถาหิ อนุโมทิ  “ยา อนฺนปานํ ททติปฺปโมทิตา. สีลูปปนฺนา สุคตสฺส สาวิกา. ททาติ ทานํ อภิภุยฺย มจฺฉรํ. โสวคฺคิกํ โสกนุทํ สุขาวหํฯ “ทิพฺพํ สา ลภเต อายุํ. อาคมฺม มคฺคํ วิรชํ อนงฺคณํ. สา ปุญฺญกามา สุขินี อนามยา. สคฺคมฺหิ กายมฺหิ จิรํ ปโมทตี”ติฯ 
||26|| 
๓๕๒. อถ โข ภควา วิสาขํ มิคารมาตรํ อิมาหิ คาถาหิ อนุโมทิตฺวา อุฏฺฐายาสนา ปกฺกามิ. อถ โข ภควา เอตสฺมึ นิทาเน เอตสฺมึ ปกรเณ ธมฺมึ กถํ กตฺวา ภิกฺขู อามนฺเตสิ “อนุชานามิ ภิกฺขเว วสฺสิกสาฏิกํ อาคนฺตุกภตฺตํ คมิกภตฺตํ คิลานภตฺตํ คิลานุปฏฺฐากภตฺตํ คิลานเภสชฺชํ ธุวยาคุํ ภิกฺขุนิสงฺฆสฺส อุทกสาฏิก”นฺติ. (วิสาขาวตฺถุ นิฏฺฐิตํ.) 
tena kho pana samayena dve bhikkhū Kosalesu janapadesu addhānamaggapaṭipannā honti.  te aññataraṃ āvāsaṃ upagacchiṃsu, tattha aññataro bhikkhu gilāno hoti.  atha kho tesaṃ bhikkhūnaṃ etad ahosi: bhagavatā kho āvuso gilānupaṭṭhānaṃ vaṇṇitaṃ, handa mayaṃ āvuso imaṃ bhikkhuṃ upaṭṭhahemā ’ti, te taṃ upaṭṭhahiṃsu.  so tehi upaṭṭhahiyamāno kālam akāsi.  atha kho te bhikkhū tassa bhikkhuno pattacīvaraṃ ādāya Sāvatthiṃ gantvā bhagavato etam atthaṃ ārocesuṃ. |1| 
    วิสาขาภาณวาโร นิฏฺฐิโต.  (๒๒๐. นิสีทนาทิอนุชานนา) ๓๕๓. เตน โข ปน สมเยน ภิกฺขู ปณีตานิ โภชนานิ ภุญฺชิตฺวา มุฏฺฐสฺสตี อสมฺปชานา นิทฺทํ โอกฺกมนฺติ. เตสํ มุฏฺฐสฺสตีนํ อสมฺปชานานํ นิทฺทํ โอกฺกมนฺตานํ สุปินนฺเตน อสุจิ มุจฺจติ เสนาสนํ อสุจินา มกฺขิยติ.  อถ โข ภควา อายสฺมตา อานนฺเทน ปจฺฉาสมเณน เสนาสนจาริกํ อาหิณฺฑนฺโต อทฺทส เสนาสนํ อสุจินา มกฺขิตํ ทิสฺวาน อายสฺมนฺตํ อานนฺทํ อามนฺเตสิ “กึ เอตํ อานนฺท เสนาสนํ มกฺขิต”นฺติ? 
bhikkhussa bhikkhave kālaṃ kate saṃgho sāmī pattacīvare.  api ca gilānupaṭṭhākā bahūpakārā.  anujānāmi bhikkhave saṃghena ticīvaraṃ (304) ca pattaṃ ca gilānupaṭṭhākānaṃ dātuṃ.  evaṃ ca pana bhikkhave dātabbaṃ: tena gilānupaṭṭhākena bhikkhunā saṃghaṃ upasaṃkamitvā evam assa vacanīyo: itthannāmo bhante bhikkhu kālaṃ kato, idaṃ tassa ticīvaraṃ ca patto cā ’ti.  vyattena bhikkhunā paṭibalena saṃgho ñāpetabbo: suṇātu me bhante saṃgho.  itthannāmo bhikkhu kālaṃ kato, idaṃ tassa ticīvaraṃ ca patto ca.  yadi saṃghassa pattakallaṃ saṃgho imaṃ ticīvaraṃ ca pattaṃ ca gilānupaṭṭhākānaṃ dadeyya.  esā ñatti.  suṇātu me bhante saṃgho.  itthannāmo bhikkhu kālaṃ kato, idaṃ tassa ticīvaraṃ ca patto ca.  saṃgho imaṃ ticīvaraṃ ca pattaṃ ca gilānupaṭṭhākānaṃ deti.  yassāyasmato khamati imassa ticīvarassa ca pattassa ca gilānupaṭṭhākānaṃ dānaṃ so tuṇh’ assa, yassa na kkhamati so bhāseyya.  dinnaṃ idaṃ saṃghena ticīvaraṃ ca patto ca gilānupaṭṭhākānaṃ khamati saṃghassa, tasmā tuṇhī, evaṃ etaṃ dhārayāmīti. |2| 
“เอตรหิ ภนฺเต ภิกฺขู ปณีตานิ โภชนานิ ภุญฺชิตฺวา มุฏฺฐสฺสตี อสมฺปชานา นิทฺทํ โอกฺกมนฺติ. เตสํ มุฏฺฐสฺสตีนํ อสมฺปชานานํ นิทฺทํ โอกฺกมนฺตานํ สุปินนฺเตน อสุจิ มุจฺจติ ตยิทํ ภควา เสนาสนํ อสุจินา มกฺขิต”นฺติ.  “เอวเมตํ อานนฺท เอวเมตํ อานนฺท. มุจฺจติ หิ อานนฺท มุฏฺฐสฺสตีนํ อสมฺปชานานํ นิทฺทํ โอกฺกมนฺตานํ สุปินนฺเตน อสุจิ.  เย เต อานนฺท ภิกฺขู อุปฏฺฐิตสฺสตี สมฺปชานา นิทฺทํ โอกฺกมนฺติ เตสํ อสุจิ น มุจฺจติ. เยปิ เต อานนฺท ปุถุชฺชนา กาเมสุ วีตราคา เตสมฺปิ อสุจิ น มุจฺจติ.  อฏฺฐานเมตํ อานนฺท อนวกาโส ยํ อรหโต อสุจิ มุจฺเจยฺยา”ติ.  อถ โข ภควา เอตสฺมึ นิทาเน เอตสฺมึ ปกรเณ ธมฺมึ กถํ กตฺวา ภิกฺขู อามนฺเตสิ “อิธาหํ ภิกฺขเว อานนฺเทน ปจฺฉาสมเณน เสนาสนจาริกํ อาหิณฺฑนฺโต อทฺทสํ เสนาสนํ อสุจินา มกฺขิตํ ทิสฺวาน อานนฺทํ อามนฺเตสึ ‘กึ เอตํ อานนฺท เสนาสนํ มกฺขิต’นฺติ? ‘เอตรหิ ภนฺเต ภิกฺขู ปณีตานิ โภชนานิ ภุญฺชิตฺวา มุฏฺฐสฺสตี อสมฺปชานา นิทฺทํ โอกฺกมนฺติ. เตสํ มุฏฺฐสฺสตีนํ อสมฺปชานานํ นิทฺทํ โอกฺกมนฺตานํ สุปินนฺเตน อสุจิ มุจฺจติ ตยิทํ ภควา เสนาสนํ อสุจินา มกฺขิต’นฺติ. ‘เอวเมตํ อานนฺท เอวเมตํ อานนฺท มุจฺจติ หิ อานนฺท มุฏฺฐสฺสตีนํ อสมฺปชานานํ นิทฺทํ โอกฺกมนฺตานํ สุปินนฺเตน อสุจิ. เย เต อานนฺท ภิกฺขู อุปฏฺฐิตสฺสตี สมฺปชานา นิทฺทํ โอกฺกมนฺติ เตสํ อสุจิ น มุจฺจติ. เยปิ เต อานนฺท ปุถุชฺชนา กาเมสุ วีตราคา เตสมฺปิ อสุจิ น มุจฺจติ. อฏฺฐานเมตํ อานนฺท อนวกาโส ยํ อรหโต อสุจิ มุจฺเจยฺยา”’ติ.  “ปญฺจิเม ภิกฺขเว อาทีนวา มุฏฺฐสฺสติสฺส อสมฺปชานสฺส นิทฺทํ โอกฺกมโต ทุกฺขํ สุปติ ทุกฺขํ ปฏิพุชฺฌติ ปาปกํ สุปินํ ปสฺสติ เทวตา น รกฺขนฺติ อสุจิ มุจฺจติ.  อิเม โข ภิกฺขเว ปญฺจ อาทีนวา มุฏฺฐสฺสติสฺส อสมฺปชานสฺส นิทฺทํ โอกฺกมโต.  “ปญฺจิเม ภิกฺขเว อานิสํสา อุปฏฺฐิตสฺสติสฺส สมฺปชานสฺส นิทฺทํ โอกฺกมโต สุขํ สุปติ สุขํ ปฏิพุชฺฌติ น ปาปกํ สุปินํ ปสฺสติ เทวตา รกฺขนฺติ อสุจิ น มุจฺจติ.  อิเม โข ภิกฺขเว ปญฺจ อานิสํสา อุปฏฺฐิตสฺสติสฺส สมฺปชานสฺส นิทฺทํ โอกฺกมโต.  “อนุชานามิ ภิกฺขเว กายคุตฺติยา จีวรคุตฺติยา เสนาสนคุตฺติยา นิสีทน”นฺติ.  เตน โข ปน สมเยน อติขุทฺทกํ นิสีทนํ น สพฺพํ เสนาสนํ สํโคเปติ.  ภควโต เอตมตฺถํ อาโรเจสุํ.  อนุชานามิ ภิกฺขเว ยาวมหนฺตํ ปจฺจตฺถรณํ อากงฺขติ ตาวมหนฺตํ ปจฺจตฺถรณํ กาตุนฺติ. 
tena kho pana samayena aññataro sāmaṇero kālaṃ kato hoti.  bhagavato etam atthaṃ ārocesuṃ.  sāmaṇerassa bhikkhave kālaṃ kate saṃgho sāmī pattacīvare.  api ca gilānupaṭṭhākā bahūpakārā.  anujānāmi bhikkhave saṃghena cīvaraṃ ca pattaṃ ca gilānupaṭṭhākānaṃ dātuṃ.  evaṃ ca pana bhikkhave dātabbaṃ: tena gilānupaṭṭhākena bhikkhunā saṃghaṃ upasaṃkamitvā evam assa vacanīyo: itthannāmo bhante sāmaṇero kālaṃ kato, idaṃ tassa cīvaraṃ ca patto cā ’ti.  vyattena bhikkhunā paṭibalena saṃgho ñāpetabbo: suṇātu me bhante saṃgho.  itthannāmo sāmaṇero kālaṃ kato, idaṃ tassa cīvaraṃ ca patto ca.  yadi saṃghassa pattakallaṃ, saṃgho imaṃ cīvaraṃ ca pattaṃ ca gilānupaṭṭhākānaṃ dadeyya.  esā ñatti.  suṇātu me bhante saṃgho.  itthannāmo sāmaṇero kālaṃ kato, idaṃ tassa cīvaraṃ ca patto ca.  saṃgho imaṃ cīvaraṃ ca pattaṃ ca gilānupaṭṭhākānaṃ deti.  yassāyasmato khamati imassa cīvarassa ca pattassa ca gilānupaṭṭhākānaṃ dānaṃ so tuṇh’ assa, yassa na kkhamati so bhāseyya.  dinnaṃ idaṃ saṃghena cīvaraṃ ca patto ca gilānupaṭṭhākānaṃ.  khamati saṃghassa, tasmā tuṇhī, evaṃ etaṃ dhārayāmīti. |3| 
    ๓๕๔. เตน โข ปน สมเยน อายสฺมโต อานนฺทสฺส อุปชฺฌายสฺส อายสฺมโต เพลฏฺฐสีสสฺส ถุลฺลกจฺฉาพาโธ โหติ.  ตสฺส ลสิกาย จีวรานิ กาเย ลคฺคนฺติ. ตานิ ภิกฺขู อุทเกน เตเมตฺวา เตเมตฺวา อปกฑฺฒนฺติ.  อทฺทสา โข ภควา เสนาสนจาริกํ อาหิณฺฑนฺโต เต ภิกฺขู ตานิ จีวรานิ อุทเกน เตเมตฺวา เตเมตฺวา อปกฑฺฒนฺเต ทิสฺวาน เยน เต ภิกฺขู เตนุปสงฺกมิ อุปงฺกมิตฺวา เต ภิกฺขู เอตทโวจ “กึ อิมสฺส ภิกฺขเว ภิกฺขุโน อาพาโธ”ติ?  “อิมสฺส ภนฺเต อายสฺมโต ถุลฺลกจฺฉาพาโธ. ลสิกาย จีวรานิ กาเย ลคฺคนฺติ. ตานิ มยํ อุทเกน เตเมตฺวา เตเมตฺวา อปกฑฺฒามา”ติ.  อถ โข ภควา เอตสฺมึ นิทาเน เอตสฺมึ ปกรเณ ธมฺมึ กถํ กตฺวา ภิกฺขู อามนฺเตสิ “อนุชานามิ ภิกฺขเว ยสฺส กณฺฑุ วา ปิฬกา วา อสฺสาโว วา ถุลฺลกจฺฉุ วา อาพาโธ กณฺฑุปฺปฏิจฺฉาทิ”นฺติ.      ๓๕๕. อถ โข วิสาขา มิคารมาตา มุขปุญฺฉนโจฬํ อาทาย เยน ภควา เตนุปสงฺกมิ อุปสงฺกมิตฺวา ภควนฺตํ อภิวาเทตฺวา เอกมนฺตํ นิสีทิ. เอกมนฺตํ นิสินฺนา โข วิสาขา มิคารมาตา ภควนฺตํ เอตทโวจ “ปฏิคฺคณฺหาตุ เม ภนฺเต ภควา มุขปุญฺฉนโจฬํ ยํ มมสฺส ทีฆรตฺตํ หิตาย สุขายา”ติ.  ปฏิคฺคเหสิ ภควา มุขปุญฺฉนโจฬํ.  อถ โข ภควา วิสาขํ มิคารมาตรํ ธมฺมิยา กถาย สนฺทสฺเสสิ สมาทเปสิ สมุตฺเตเชสิ สมฺปหํเสสิ.  อถ โข วิสาขา มิคารมาตา ภควตา ธมฺมิยา กถาย สนฺทสฺสิตา สมาทปิตา สมุตฺเตชิตา สมฺปหํสิตา อุฏฺฐายาสนา ภควนฺตํ อภิวาเทตฺวา ปทกฺขิณํ กตฺวา ปกฺกามิ.  อถ โข ภควา เอตสฺมึ นิทาเน เอตสฺมึ ปกรเณ ธมฺมึ กถํ กตฺวา ภิกฺขู อามนฺเตสิ “อนุชานามิ ภิกฺขเว มุขปุญฺฉนโจฬก”นฺติ.     
tena kho pana samayena aññataro bhikkhu ca sāmaṇero ca gilānaṃ upaṭṭhahiṃsu.  so tehi upaṭṭhahiyamāno kālam akāsi.  atha kho tassa gilānupaṭṭhākassa bhikkhuno etad (305) ahosi: kathaṃ nu kho gilānupaṭṭhākassa sāmaṇerassa cīvarapaṭiviso dātabbo ’ti.  bhagavato etam atthaṃ ārocesuṃ.  anujānāmi bhikkhave gilānupaṭṭhākassa sāmaṇerassa samakaṃ paṭivisaṃ dātun ti. |4| 
๓๕๖. เตน โข ปน สมเยน โรโช มลฺโล อายสฺมโต อานนฺทสฺส สหาโย โหติ.  โรชสฺส มลฺลสฺส โขมปิโลติกา อายสฺมโต อานนฺทสฺส หตฺเถ นิกฺขิตฺตา โหติ. อายสฺมโต จ อานนฺทสฺส โขมปิโลติกาย อตฺโถ โหติ.  ภควโต เอตมตฺถํ อาโรเจสุํ.  อนุชานามิ ภิกฺขเว ปญฺจหงฺเคหิ สมนฺนาคตสฺส วิสฺสาสํ คเหตุํ สนฺทิฏฺโฐ จ โหติ สมฺภตฺโต จ อาลปิโต จ ชีวติ จ ชานาติ จ คหิเต เม อตฺตมโน ภวิสฺสตีติ.  อนุชานามิ ภิกฺขเว อิเมหิ ปญฺจหงฺเคหิ สมนฺนาคตสฺส วิสฺสาสํ คเหตุนฺติ. 
tena kho pana samayena aññataro bhikkhu bahubhaṇḍo bahuparikkhāro kālaṃ kato hoti.  bhagavato etam atthaṃ ārocesuṃ.  bhikkhussa bhikkhave kālaṃ kate saṃgho sāmī pattacīvare.  api ca gilānupaṭṭhākā bahūpakārā.  anujānāmi bhikkhave saṃghena ticīvaraṃ ca pattaṃ ca gilānupaṭṭhākānaṃ dātuṃ, yaṃ tattha lahubhaṇḍaṃ lahuparikkhāraṃ taṃ sammukhībhūtena saṃghena bhājetuṃ, yaṃ tattha garubhaṇḍaṃ garuparikkhāraṃ taṃ āgatānāgatassa cātuddisassa saṃghassa avissajjikaṃ avebhaṅgikan ti. |5| 
    ๓๕๗. เตน โข ปน สมเยน ภิกฺขูนํ ปริปุณฺณํ โหติ ติจีวรํ. อตฺโถ จ โหติ ปริสฺสาวเนหิปิ ถวิกาหิปิ.  ภควโต เอตมตฺถํ อาโรเจสุํ.  อนุชานามิ ภิกฺขเว ปริกฺขารโจฬกนฺติ. (นิสีทนาทิอนุชานนา นิฏฺฐิตา.) 
||27|| 
(๒๒๑. ปจฺฉิมวิกปฺปนุปคจีวราทิกถา) ๓๕๘. อถ โข ภิกฺขูนํ เอตทโหสิ “ยานิ ตานิ ภควตา อนุญฺญาตานิ ติจีวรนฺติ วา วสฺสิกสาฏิกาติ วา นิสีทนนฺติ วา ปจฺจตฺถรณนฺติ วา กณฺฑุปฺปฏิจฺฉาทีติ วา มุขปุญฺฉนโจฬนฺติ วา ปริกฺขารโจฬนฺติ วา สพฺพานิ ตานิ อธิฏฺฐาตพฺพานิ นุ โข อุทาหุ วิกปฺเปตพฺพานี”ติ? 
tena kho pana samayena aññataro bhikkhu naggo hutvā yena bhagavā ten’ upasaṃkami, upasaṃkamitvā bhagavantaṃ etad avoca: bhagavā hi bhante anekapariyāyena appicchassa santuṭṭhassa sallekhassa dhutassa pāsādikassa apacayassa viriyārambhassa vaṇṇavādī.  idaṃ bhante naggiyaṃ anekapariyāyena appicchatāya santuṭṭhiyā sallekhāya dhutattāya pāsādikatāya apacayāya viriyārambhāya saṃvattati.  sādhu bhante bhagavā bhikkhūnaṃ naggiyaṃ anujānātū ’ti.  vigarahi buddho bhagavā: ananucchaviyaṃ moghapurisa ananulomikaṃ appaṭirūpaṃ assāmaṇakaṃ akappiyaṃ akaraṇīyaṃ.  kathaṃ hi nāma tvaṃ moghapurisa naggiyaṃ titthiyasamādānaṃ samādiyissasi.  n’ etaṃ moghapurisa appasannānaṃ vā pasādāya.  vigarahitvā dhammiṃ kathaṃ katvā bhikkhū āmantesi: na bhikkhave naggiyaṃ titthiyasamādānaṃ samādiyitabbaṃ.  yo samādiyeyya, āpatti thullaccayassā ’ti. |1| 
ภควโต เอตมตฺถํ อาโรเจสุํ.  อนุชานามิ ภิกฺขเว ติจีวรํ อธิฏฺฐาตุํ น วิกปฺเปตุํ วสฺสิกสาฏิกํ วสฺสานํ จาตุมาสํ อธิฏฺฐาตุํ ตโต ปรํ วิกปฺเปตุํ นิสีทนํ อธิฏฺฐาตุํ น วิกปฺเปตุํ ปจฺจตฺถรณํ อธิฏฺฐาตุํ น วิกปฺเปตุํ กณฺฑุปฺปฏิจฺฉาทึ ยาวอาพาธา อธิฏฺฐาตุํ ตโต ปรํ วิกปฺเปตุํ มุขปุญฺฉนโจฬํ อธิฏฺฐาตุํ น วิกปฺเปตุํ ปริกฺขารโจฬํ อธิฏฺฐาตุํ น วิกปฺเปตุนฺติ.      อถ โข ภิกฺขูนํ เอตทโหสิ “กิตฺตกํ ปจฺฉิมํ นุ โข จีวรํ วิกปฺเปตพฺพ”นฺติ?  ภควโต เอตมตฺถํ อาโรเจสุํ.  อนุชานามิ ภิกฺขเว อายาเมน อฏฺฐงฺคุลํ สุคตงฺคุเลน จตุรงฺคุลวิตฺถตํ ปจฺฉิมํ จีวรํ วิกปฺเปตุนฺติ.  ๓๕๙. เตน โข ปน สมเยน อายสฺมโต มหากสฺสปสฺส ปํสุกูลกโต ครุโก โหติ. 
tena kho pana samayena aññataro bhikkhu kusacīraṃ nivāsetvā --la-- vākacīraṃ nivāsetvā, phalakacīraṃ nivāsetvā, kesakambalaṃ nivāsetvā, vālakambalaṃ nivāsetvā, ulūkapakkhaṃ nivāsetvā --la-- ajinakkhipaṃ nivāsetvā yena bhagavā ten’ upasaṃkami, upasaṃkamitvā bhagavantaṃ etad avoca: bhagavā bhante anekapariyāyena appicchassa ... vaṇṇavādī.  idaṃ bhante ajinakkhipaṃ anekapariyāyena appicchatāya ... saṃvattati.  sādhu (306) bhante bhagavā bhikkhūnaṃ ajinakkhipaṃ anujānātū ’ti.  vigarahi ... akaraṇīyaṃ.  kathaṃ hi nāma tvaṃ moghapurisa ajinakkhipaṃ titthiyadhajaṃ dhāressasi.  n’ etaṃ moghapurisa appasannānaṃ vā pasādāya.  {vigarahitvā} dhammiṃ kathaṃ katvā bhikkhū āmantesi: na bhikkhave ajinakkhipaṃ titthiyadhajaṃ dhāretabbaṃ.  yo dhāreyya, āpatti thullaccayassā ’ti. |2| 
ภควโต เอตมตฺถํ อาโรเจสุํ.  อนุชานามิ ภิกฺขเว สุตฺตลูขํ กาตุนฺติ.  วิกณฺโณ โหติ.  ภควโต เอตมตฺถํ อาโรเจสุํ.  อนุชานามิ ภิกฺขเว วิกณฺณํ อุทฺธริตุนฺติ.  สุตฺตา โอกิริยนฺติ.  ภควโต เอตมตฺถํ อาโรเจสุํ.  อนุชานามิ ภิกฺขเว อนุวาตํ ปริภณฺฑํ อาโรเปตุนฺติ. 
tena kho pana samayena aññataro bhikkhu akkanālaṃ nivāsetvā --la-- potthakaṃ nivāsetvā yena bhagavā ten’ upasaṃkami, upasaṃkamitvā bhagavantaṃ etad avoca: bhagavā bhante anekapariyāyena appicchassa ... vaṇṇavādī.  ayaṃ bhante potthako anekapariyāyena appicchatāya ... saṃvattati.  sādhu bhante bhagavā bhikkhūnaṃ potthakaṃ anujānātū ’ti.  vigarahi ... akaraṇīyaṃ.  kathaṃ hi nāma tvaṃ moghapurisa potthakaṃ nivāsessasi.  n’ etaṃ moghapurisa appasannānaṃ vā pasādāya.  vigarahitvā dhammiṃ kathaṃ katvā bhikkhū āmantesi: na bhikkhave potthako nivāsetabbo.  yo nivāseyya, āpatti dukkaṭassā ’ti. |3| 
เตน โข ปน สมเยน สงฺฆาฏิยา ปตฺตา ลุชฺชนฺติ.  ภควโต เอตมตฺถํ อาโรเจสุํ.  อนุชานามิ ภิกฺขเว อฏฺฐปทกํ กาตุนฺติ.  ๓๖๐. เตน โข ปน สมเยน อญฺญตรสฺส ภิกฺขุโน ติจีวเร กยิรมาเน สพฺพํ ฉินฺนกํ นปฺปโหติ. (ภควโต เอตมตฺถํ อาโรเจสุํ.)  อนุชานามิ ภิกฺขเว ทฺเว ฉินฺนกานิ เอกํ อจฺฉินฺนกนฺติ.  ทฺเว ฉินฺนกานิ เอกํ อจฺฉินฺนกํ นปฺปโหติ. (ภควโต เอตมตฺถํ อาโรเจสุํ.)  อนุชานามิ ภิกฺขเว ทฺเว อจฺฉินฺนกานิ เอกํ ฉินฺนกนฺติ.  ทฺเว อจฺฉินฺนกานิ เอกํ ฉินฺนกํ นปฺปโหติ. (ภควโต เอตมตฺถํ อาโรเจสุํ.) 
||28|| 
อนุชานามิ ภิกฺขเว อนฺวาธิกมฺปิ อาโรเปตุํ 
tena kho pana samayena chabbaggiyā bhikkhū sabbanīlakāni cīvarāni dhārenti, sabbapītakāni cīvarāni dhārenti, sabbalohitakāni cīvarāni dhārenti, sabbamañjeṭṭhakāni cīvarāni dhārenti, sabbakaṇhāni cīvarāni dhārenti, sabbamahāraṅgarattāni cīvarāni dhārenti, sabbamahānāmarattāni cīvarāni dhārenti, acchinnadasāni cīvarāni dhārenti, dīghadasāni cīvarāni dhārenti, pupphadasāni cīvarāni dhārenti, phaṇadasāni cīvarāni dhārenti, kañcukaṃ dhārenti, tirīṭakaṃ dhārenti, veṭhanaṃ dhārenti.  manussā ujjhāyanti khīyanti vipācenti: seyyathāpi gihikāmabhogino ’ti.  bhagavato etam atthaṃ ārocesuṃ.  na bhikkhave sabbanīlakāni cīvarāni dhāretabbāni, na sabbapītakāni cīvarāni dhāretabbāni ... na kañcukaṃ dhāretabbaṃ, na tirīṭakaṃ dhāretabbaṃ, na veṭhanaṃ dhāretabbaṃ.  yo dhāreyya, āpatti dukkaṭassā ’ti. |1| 
น จ ภิกฺขเว สพฺพํ อจฺฉินฺนกํ ธาเรตพฺพํ.  โย ธาเรยฺย อาปตฺติ ทุกฺกฏสฺสาติ.      ๓๖๑. เตน โข ปน สมเยน อญฺญตรสฺส ภิกฺขุโน พหุํ จีวรํ อุปฺปนฺนํ โหติ. โส จ ตํ จีวรํ มาตาปิตูนํ ทาตุกาโม โหติ. 
||29|| 
ภควโต เอตมตฺถํ อาโรเจสุํ. 
tena kho pana samayena vassaṃ vutthā bhikkhū anuppanne (307) cīvare pakkamanti pi, vibbhamanti pi, kālam pi karonti, sāmaṇerāpi paṭijānanti, sikkhaṃ paccakkhātakāpi paṭijānanti, antimavatthuṃ ajjhāpannakāpi paṭijānanti, ummattakāpi p., khittacittāpi p., vedanaṭṭāpi p., āpattiyā adassane ukkhittakāpi p., āpattiyā appaṭikamme ukkhittakāpi p., pāpikāya diṭṭhiyā appaṭinissagge ukkhittakāpi p., paṇḍakāpi p., theyyasaṃvāsakāpi p., titthiyapakkantakāpi p., tiracchānagatāpi p., mātughātakāpi p., pitughātakāpi p., arahantaghātakāpi p., bhikkhunīdūsakāpi p., saṃghabhedakāpi p., lohituppādakāpi p., ubhatovyañjanakāpi paṭijānanti.  bhagavato etam atthaṃ ārocesuṃ. |1| 
มาตาปิตโรติ โข ภิกฺขเว ททมาเน กึ วเทยฺยาม?  อนุชานามิ ภิกฺขเว มาตาปิตูนํ ทาตุํ. 
idha pana bhikkhave vassaṃ vuttho bhikkhu anuppanne cīvare pakkamati.  sante paṭirūpe gāhake dātabbaṃ.  idha pana bhikkhave vassaṃ vuttho bhikkhu anuppanne cīvare vibbhamati, kālaṃ karoti, sāmaṇero paṭijānāti, sikkhaṃ paccakkhātako paṭijānāti, antimavatthuṃ ajjhāpannako paṭijānāti.  saṃgho sāmī.  idha pana bhikkhave vassaṃ vuttho bhikkhu anuppanne cīvare ummattako paṭijānāti, ... pāpikāya diṭṭhiyā appaṭinissagge ukkhittako paṭijānāti.  sante paṭirūpe gāhake dātabbaṃ.  idha pana bhikkhave vassaṃ vuttho bhikkhu anuppanne cīvare paṇḍako paṭijānāti, ... ubhatovyañjanako paṭijānāti.  saṃgho sāmī. |2| 
น จ ภิกฺขเว สทฺธาเทยฺยํ วินิปาเตตพฺพํ.  โย วินิปาเตยฺย อาปตฺติ ทุกฺกฏสฺสาติ.      ๓๖๒. เตน โข ปน สมเยน อญฺญตโร ภิกฺขุ อนฺธวเน จีวรํ นิกฺขิปิตฺวา สนฺตรุตฺตเรน คามํ ปิณฺฑาย ปาวิสิ.  โจรา ตํ จีวรํ อวหรึสุ.  โส ภิกฺขุ ทุจฺโจโฬ โหติ ลูขจีวโร.  ภิกฺขู เอวมาหํสุ “กิสฺส ตฺวํ อาวุโส ทุจฺโจโฬ ลูขจีวโรสี”ติ? 
idha pana bhikkhave vassaṃ vuttho bhikkhu uppanne cīvare abhājite pakkamati.  sante paṭirūpe gāhake dātabbaṃ.  idha pana bhikkhave vassaṃ vuttho bhikkhu uppanne cīvare abhājite vibbhamati, ... antimavatthuṃ ajjhāpannako paṭijānāti.  saṃgho sāmī.  idha pana bhikkhave vassaṃ vuttho bhikkhu uppanne cīvare abhājite ummattako paṭijānāti, ... pāpikāya diṭṭhiyā appaṭinissagge ukkhittako paṭijānāti.  sante paṭirūpe gāhake dātabbaṃ.  idha pana bhikkhave vassaṃ vuttho bhikkhu uppanne cīvare abhājite paṇḍako paṭijānāti ... ubhatovyañjanako paṭijānāti.  saṃgho sāmī. |3| 
“อิธาหํ อาวุโส อนฺธวเน จีวรํ นิกฺขิปิตฺวา สนฺตรุตฺตเรน คามํ ปิณฺฑาย ปาวิสึ. โจรา ตํ จีวรํ อวหรึสุ. เตนาหํ ทุจฺโจโฬ ลูขจีวโร”ติ.  ภควโต เอตมตฺถํ อาโรเจสุํ.  น ภิกฺขเว สนฺตรุตฺตเรน คาโม ปวิสิตพฺโพ.  โย ปวิเสยฺย อาปตฺติ ทุกฺกฏสฺสาติ.  เตน โข ปน สมเยน อายสฺมา อานนฺโท อสฺสติยา สนฺตรุตฺตเรน คามํ ปิณฺฑาย ปาวิสิ.  ภิกฺขู อายสฺมนฺตํ อานนฺทํ เอตทโวจุํ “นนุ อาวุโส อานนฺท ภควตา ปญฺญตฺตํ ‘น สนฺตรุตฺตเรน คาโม ปวิสิตพฺโพ’ติ?  กิสฺส ตฺวํ อาวุโส อานนฺท สนฺตรุตฺตเรน คามํ ปวิฏฺโฐ”ติ?  “สจฺจํ อาวุโส ภควตา ปญฺญตฺตํ ‘น สนฺตรุตฺตเรน คาโม ปวิสิตพฺโพ’ติ. อปิ จาหํ อสฺสติยา ปวิฏฺโฐ”ติ. 
idha pana bhikkhave vassaṃ vutthānaṃ bhikkhūnaṃ anuppanne cīvare saṃgho bhijjati.  tattha manussā ekasmiṃ pakkhe udakaṃ denti ekasmiṃ pakkhe cīvaraṃ denti saṃghassa demā ’ti.  saṃghass’ ev’ etaṃ.  idha pana bhikkhave vassaṃ vutthānaṃ bhikkhūnaṃ anuppanne cīvare saṃgho bhijjati.  tattha manussā ekasmiṃ pakkhe udakaṃ denti, tasmiṃ yeva pakkhe cīvaraṃ denti (308) saṃghassa demā ’ti.  saṃghass’ ev’ etaṃ. |4| 
ภควโต เอตมตฺถํ อาโรเจสุํ.  ปญฺจิเม ภิกฺขเว ปจฺจยา สงฺฆาฏิยา นิกฺเขปาย คิลาโน วา โหติ วสฺสิกสงฺเกตํ วา โหติ นทีปารํ คนฺตุํ วา โหติ อคฺคฬคุตฺติวิหาโร วา โหติ อตฺถตกถินํ วา โหติ.  อิเม โข ภิกฺขเว ปญฺจ ปจฺจยา สงฺฆาฏิยา นิกฺเขปาย.  ปญฺจิเม ภิกฺขเว ปจฺจยา อุตฺตราสงฺคสฺส นิกฺเขปายฯเปฯ อนฺตรวาสกสฺส นิกฺเขปาย คิลาโน วา โหติ วสฺสิกสงฺเกตํ วา โหติ นทีปารํ คนฺตุํ วา โหติ อคฺคฬคุตฺติวิหาโร วา โหติ อตฺถตกถินํ วา โหติ.  อิเม โข ภิกฺขเว ปญฺจ ปจฺจยา อุตฺตราสงฺคสฺส อนฺตรวาสกสฺส นิกฺเขปาย.  ปญฺจิเม ภิกฺขเว ปจฺจยา วสฺสิกสาฏิกาย นิกฺเขปาย คิลาโน วา โหติ นิสฺสีมํ คนฺตุํ วา โหติ นทีปารํ คนฺตุํ วา โหติ อคฺคฬคุตฺติวิหาโร วา โหติ วสฺสิกสาฏิกา อกตา วา โหติ วิปฺปกตา วา. 
idha pana bhikkhave vassaṃ vutthānaṃ bhikkhūnaṃ anuppanne cīvare saṃgho bhijjati.  tattha manussā ekasmiṃ pakkhe udakaṃ denti ekasmiṃ pakkhe cīvaraṃ denti pakkhassa demā ’ti.  pakkhass’ ev’ etaṃ.  idha pana bhikkhave vassaṃ vutthānaṃ bhikkhūnaṃ anuppanne cīvare saṃgho bhijjati.  tattha manussā ekasmiṃ pakkhe udakaṃ denti, tasmiṃ yeva pakkhe cīvaraṃ denti pakkhassa demā ’ti.  pakkhass’ ev’ etaṃ. |5| 
อิเม โข ภิกฺขเว ปญฺจ ปจฺจยา วสฺสิกสาฏิกาย นิกฺเขปายาติ. (ปจฺฉิมวิกปฺปนุปคจีวราทิกถา นิฏฺฐิตา.)      (๒๒๒. สงฺฆิกจีวรุปฺปาทกถา) ๓๖๓. เตน โข ปน สมเยน อญฺญตโร ภิกฺขุ เอโก วสฺสํ วสิ.  ตตฺถ มนุสฺสา สงฺฆสฺส เทมาติ จีวรานิ อทํสุ.  อถ โข ตสฺส ภิกฺขุโน เอตทโหสิ “ภควตา ปญฺญตฺตํ ‘จตุวคฺโค ปจฺฉิโม สงฺโฆ’ติ. อหญฺจมฺหิ เอกโก. อิเม จ มนุสฺสา สงฺฆสฺส เทมาติ จีวรานิ อทํสุ. 
idha pana bhikkhave vassaṃ vutthānaṃ bhikkhūnaṃ uppanne cīvare abhājite saṃgho bhijjati.  sabbesaṃ samakaṃ bhājetabban ti. |6| 
ยํนูนาหํ อิมานิ สงฺฆิกานิ จีวรานิ สาวตฺถึ หเรยฺย”นฺติ.  อถ โข โส ภิกฺขุ ตานิ จีวรานิ อาทาย สาวตฺถึ คนฺตฺวา ภควโต เอตมตฺถํ อาโรเจสิ. 
||30|| 
“ตุยฺเหว ภิกฺขุ ตานิ จีวรานิ ยาว กถินสฺส อุพฺภารายา”ติ. 
tena kho pana samayena āyasmā Revato aññatarassa bhikkhuno hatthe āyasmato Sāriputtassa cīvaraṃ pāhesi imaṃ cīvaraṃ therassa dehīti.  atha kho so bhikkhu antarā magge āyasmato Revatassa vissāsā taṃ cīvaraṃ aggahesi.  atha kho āyasmā Revato āyasmatā Sāriputtena samāgantvā pucchi: ahaṃ bhante therassa cīvaraṃ pāhesiṃ, sampattaṃ taṃ cīvaran ti.  nāhaṃ taṃ āvuso cīvaraṃ passāmīti.  atha kho āyasmā Revato taṃ bhikkhuṃ etad avoca: ahaṃ āvuso āyasmato hatthe therassa cīvaraṃ pāhesiṃ, kahaṃ taṃ cīvaran ti.  ahaṃ bhante āyasmato vissāsā taṃ cīvaraṃ aggahesin ti.  bhagavato etam atthaṃ ārocesuṃ. |1| 
อิธ ปน ภิกฺขเว ภิกฺขุ เอโก วสฺสํ วสติ.  ตตฺถ มนุสฺสา สงฺฆสฺส เทมาติ จีวรานิ เทนฺติ.  อนุชานามิ ภิกฺขเว ตสฺเสว ตานิ จีวรานิ ยาว กถินสฺส อุพฺภารายาติ.  เตน โข ปน สมเยน อญฺญตโร ภิกฺขุ อุตุกาลํ เอโก วสิ.  ตตฺถ มนุสฺสา สงฺฆสฺส เทมาติ จีวรานิ อทํสุ.  อถ โข ตสฺส ภิกฺขุโน เอตทโหสิ “ภควตา ปญฺญตฺตํ ‘จตุวคฺโค ปจฺฉิโม สงฺโฆ’ติ. อหญฺจมฺหิ เอกโก. อิเม จ มนุสฺสา สงฺฆสฺส เทมาติ จีวรานิ อทํสุ.  ยํนูนาหํ อิมานิ สงฺฆิกานิ จีวรานิ สาวตฺถึ หเรยฺย”นฺติ. 
idha pana bhikkhave bhikkhu bhikkhussa hatthe cīvaraṃ pahiṇati imaṃ cīvaraṃ itthannāmassa dehīti.  so antarā magge yo pahiṇati tassa vissāsā gaṇhāti, suggahitaṃ.  yassa pahiyyati tassa vissāsā gaṇhāti, duggahitaṃ.  idha pana bhikkhave bhikkhu bhikkhussa hatthe cīvaraṃ pahiṇati imaṃ cīvaraṃ itthannāmassa dehīti.  so antarā magge yassa pahiyyati tassa vissāsā gaṇhāti, duggahitaṃ.  yo pahiṇati tassa vissāsā gaṇhāti, suggahitaṃ.  idha pana bhikkhave bhikkhu ... dehīti.  so antarā magge suṇāti yo pahiṇati so kālaṃ kato ’ti.  tassa matakacīvaraṃ adhiṭṭhāti, svādhiṭṭhitaṃ.  yassa pahiyyati tassa vissāsā gaṇhāti, duggahitaṃ.  idha pana bhikkhave bhikkhu ... dehīti.  so antarā magge suṇāti yassa pahiyyati so kālaṃ kato ’ti.  tassa matakacīvaraṃ adhiṭṭhāti, dvādhiṭṭhitaṃ.  yo pahiṇati tassa vissāsā gaṇhāti, suggahitaṃ.  idha pana bhikkhave bhikkhu ... dehīti.  (309) so antarā magge suṇāti ubho kālaṃ katā ’ti.  yo pahiṇati tassa matakacīvaraṃ adhiṭṭhāti, svādhiṭṭhitaṃ.  yassa pahiyyati tassa matakacīvaraṃ adhiṭṭhāti, dvādhiṭṭhitaṃ. |2| 
อถ โข โส ภิกฺขุ ตานิ จีวรานิ อาทาย สาวตฺถึ คนฺตฺวา ภิกฺขูนํ เอตมตฺถํ อาโรเจสิ.  ภิกฺขู ภควโต เอตมตฺถํ อาโรเจสุํ.  อนุชานามิ ภิกฺขเว สมฺมุขีภูเตน สงฺเฆน ภาเชตุํ.  อิธ ปน ภิกฺขเว ภิกฺขุ อุตุกาลํ เอโก วสติ.  ตตฺถ มนุสฺสา สงฺฆสฺส เทมาติ จีวรานิ เทนฺติ.  อนุชานามิ ภิกฺขเว เตน ภิกฺขุนา ตานิ จีวรานิ อธิฏฺฐาตุํ “มยฺหิมานิ จีวรานี”ติ.  ตสฺส เจ ภิกฺขเว ภิกฺขุโน ตํ จีวรํ อนธิฏฺฐิเต อญฺโญ ภิกฺขุ อาคจฺฉติ สมโก ทาตพฺโพ ภาโค.  เตหิ เจ ภิกฺขเว ภิกฺขูหิ ตํ จีวรํ ภาชิยมาเน อปาติเต กุเส อญฺโญ ภิกฺขุ อาคจฺฉติ สมโก ทาตพฺโพ ภาโค.  เตหิ เจ ภิกฺขเว ภิกฺขูหิ ตํ จีวรํ ภาชิยมาเน ปาติเต กุเส อญฺโญ ภิกฺขุ อาคจฺฉติ นากามา ทาตพฺโพ ภาโคติ.  เตน โข ปน สมเยน ทฺเว ภาติกา เถรา อายสฺมา จ อิสิทาโส อายสฺมา จ อิสิภโฏ สาวตฺถิยํ วสฺสํวุฏฺฐา อญฺญตรํ คามกาวาสํ อคมํสุ.  มนุสฺสา จิรสฺสาปิ เถรา อาคตาติ สจีวรานิ ภตฺตานิ อทํสุ.  อาวาสิกา ภิกฺขู เถเร ปุจฺฉึสุ “อิมานิ ภนฺเต สงฺฆิกานิ จีวรานิ เถเร อาคมฺม อุปฺปนฺนานิ สาทิยิสฺสนฺติ เถรา ภาค”นฺติ.  เถรา เอวมาหํสุ “ยถา โข มยํ อาวุโส ภควตา ธมฺมํ เทสิตํ อาชานาม ตุมฺหากํเยว ตานิ จีวรานิ ยาว กถินสฺส อุพฺภารายา”ติ.  เตน โข ปน สมเยน ตโย ภิกฺขู ราชคเห วสฺสํ วสนฺติ.  ตตฺถ มนุสฺสา สงฺฆสฺส เทมาติ จีวรานิ เทนฺติ.  อถ โข เตสํ ภิกฺขูนํ เอตทโหสิ “ภควตา ปญฺญตฺตํ ‘จตุวคฺโค ปจฺฉิโม สงฺโฆ’ติ. มยญฺจมฺหา ตโย ชนา. อิเม จ มนุสฺสา สงฺฆสฺส เทมาติ จีวรานิ เทนฺติ.  กถํ นุ โข อมฺเหหิ ปฏิปชฺชิตพฺพ”นฺติ?  เตน โข ปน สมเยน สมฺพหุลา เถรา อายสฺมา จ นิลวาสี อายสฺมา จ สาณวาสี อายสฺมา จ โคตโก อายสฺมา จ ภคุ อายสฺมา จ ผฬิกสนฺตาโน ปาฏลิปุตฺเต วิหรนฺติ กุกฺกุฏาราเม. 
idha pana bhikkhave bhikkhu bhikkhussa hatthe cīvaraṃ pahiṇati imaṃ cīvaraṃ itthannāmassa dammīti.  so antarā magge yo pahiṇati tassa vissāsā gaṇhāti, duggahitaṃ.  yassa pahiyyati tassa vissāsā gaṇhāti, suggahitaṃ.  idha pana bhikkhave bhikkhu ... dammīti.  so antarā magge yassa pahiyyati tassa vissāsā gaṇhāti, suggahitaṃ.  yo pahiṇati tassa vissāsā gaṇhāti, duggahitaṃ.  idha pana bhikkhave bhikkhu ... dammīti.  so antarā magge suṇāti yo pahiṇati so kālaṃ kato ’ti.  tassa matakacīvaraṃ adhiṭṭhāti, dvādhiṭṭhitaṃ.  yassa pahiyyati tassa vissāsā gaṇhāti, suggahitaṃ.  idha pana bhikkhave bhikkhu ... dammīti.  so antarā magge suṇāti yassa pahiyyati so kālaṃ kato ’ti.  tassa matakacīvaraṃ adhiṭṭhāti, svādhiṭṭhitaṃ.  yo pahiṇati tassa vissāsā gaṇhāti, duggahitaṃ.  idha pana bhikkhave bhikkhu ... dammīti.  so antarā magge suṇāti ubho kālaṃ katā ’ti.  yo pahiṇati tassa matakacīvaraṃ adhiṭṭhāti, dvādhiṭṭhitaṃ.  yassa pahiyyati tassa matakacīvaraṃ adhiṭṭhāti, svādhiṭṭhitaṃ. |3| 
อถ โข เต ภิกฺขู ปาฏลิปุตฺตํ คนฺตฺวา เถเร ปุจฺฉึสุ.  เถรา เอวมาหํสุ “ยถา โข มยํ อาวุโส ภควตา ธมฺมํ เทสิตํ อาชานาม ตุมฺหากํเยว ตานิ จีวรานิ ยาว กถินสฺส อุพฺภารายา”ติ. (สงฺฆิกจีวรุปฺปาทกถา นิฏฺฐิตา.)      (๒๒๓. อุปนนฺทสกฺยปุตฺตวตฺถุ) ๓๖๔. เตน โข ปน สมเยน อายสฺมา อุปนนฺโท สกฺยปุตฺโต สาวตฺถิยํ วสฺสํวุฏฺโฐ อญฺญตรํ คามกาวาสํ อคมาสิ.  ตตฺถ จ ภิกฺขู จีวรํ ภาเชตุกามา สนฺนิปตึสุ.  เต เอวมาหํสุ “อิมานิ โข อาวุโส สงฺฆิกานิ จีวรานิ ภาชิยิสฺสนฺติ สาทิยิสฺสสิ ภาค”นฺติ?  “อามาวุโส สาทิยิสฺสามี”ติ. ตโต จีวรภาคํ คเหตฺวา อญฺญํ อาวาสํ อคมาสิ.  ตตฺถปิ ภิกฺขู จีวรํ ภาเชตุกามา สนฺนิปตึสุ.  เตปิ เอวมาหํสุ “อิมานิ โข อาวุโส สงฺฆิกานิ จีวรานิ ภาชิยิสฺสนฺติ สาทิยิสฺสสิ ภาค”นฺติ?  “อามาวุโส สาทิยิสฺสามี”ติ. ตโตปิ จีวรภาคํ คเหตฺวา อญฺญํ อาวาสํ อคมาสิ.  ตตฺถปิ ภิกฺขู จีวรํ ภาเชตุกามา สนฺนิปตึสุ.  เตปิ เอวมาหํสุ “อิมานิ โข อาวุโส สงฺฆิกานิ จีวรานิ ภาชิยิสฺสนฺติ สาทิยิสฺสสิ ภาค”นฺติ?  “อามาวุโส สาทิยิสฺสามี”ติ. ตโตปิ จีวรภาคํ คเหตฺวา มหนฺตํ จีวรภณฺฑิกํ อาทาย ปุนเทว สาวตฺถึ ปจฺจาคญฺฉิ.  ภิกฺขู เอวมาหํสุ “มหาปุญฺโญสิ ตฺวํ อาวุโส อุปนนฺท พหุํ เต จีวรํ อุปฺปนฺน”นฺติ.  “กุโต เม อาวุโส ปุญฺญํ? อิธาหํ อาวุโส สาวตฺถิยํ วสฺสํวุฏฺโฐ อญฺญตรํ คามกาวาสํ อคมาสึ. ตตฺถ ภิกฺขู จีวรํ ภาเชตุกามา สนฺนิปตึสุ. เต มํ เอวมาหํสุ ‘อิมานิ โข อาวุโส สงฺฆิกานิ จีวรานิ ภาชิยิสฺสนฺติ สาทิยิสฺสสิ ภาค’นฺติ?  ‘อามาวุโส สาทิยิสฺสามี’ติ. ตโต จีวรภาคํ คเหตฺวา อญฺญํ อาวาสํ อคมาสึ. ตตฺถปิ ภิกฺขู จีวรํ ภาเชตุกามา สนฺนิปตึสุ. เตปิ มํ เอวมาหํสุ ‘อิมานิ โข อาวุโส สงฺฆิกานิ จีวรานิ ภาชิยิสฺสนฺติ สาทิยิสฺสสิ ภาค”’นฺติ? ‘อามาวุโส สาทิยิสฺสามี’ติ. ตโตปิ จีวรภาคํ คเหตฺวา อญฺญํ อาวาสํ อคมาสึ. ตตฺถปิ ภิกฺขู จีวรํ ภาเชตุกามา สนฺนิปตึสุ. เตปิ มํ เอวมาหํสุ ‘อิมานิ โข อาวุโส สงฺฆิกานิ จีวรานิ ภาชิยิสฺสนฺติ สาทิยิสฺสสิ ภาค’นฺติ? ‘อามาวุโส สาทิยิสฺสามี’ติ. ตโตปิ จีวรภาคํ อคฺคเหสึ. เอวํ เม พหุํ จีวรํ อุปฺปนฺนนฺติ.  “กึ ปน ตฺวํ อาวุโส อุปนนฺท อญฺญตฺร วสฺสํวุฏฺโฐ อญฺญตฺร จีวรภาคํ สาทิยี”ติ? 
||31|| 
“เอวมาวุโส”ติ. 
aṭṭh’ imā bhikkhave mātikā cīvarassa uppādāya: sīmāya deti, katikāya deti, bhikkhāpaññattiyā deti, saṃghassa deti, ubhatosaṃghassa deti, vassaṃ vutthasaṃghassa deti, ādissa deti, puggalassa deti.  sīmāya deti: yāvatikā bhikkhū antosīmagatā tehi bhājetabbaṃ.  katikāya deti: sambahulā āvāsā samānalābhā honti, ekasmiṃ āvāse dinne sabbattha dinnaṃ hoti.  bhikkhāpaññattiyā deti: yattha saṃghassa dhuvakārā kariyanti tattha demā ’ti.  saṃghassa deti: sammukhībhūtena saṃghena bhājetabbaṃ.  ubhatosaṃghassa deti: bahukāpi bhikkhū honti ekā bhikkhunī hoti, upaḍḍhaṃ dātabbaṃ.  bahukāpi bhikkhuniyo honti eko bhikkhu hoti, upaḍḍhaṃ dātabbaṃ.  vassaṃ vutthasaṃghassa deti: yāvatikā bhikkhū tasmiṃ āvāse vassaṃ vutthā tehi bhājetabbaṃ.  ādissa deti: yāguyā vā bhatte vā khādaniye vā cīvare vā senāsane vā bhesajje (310) vā.  puggalassa deti: imaṃ cīvaraṃ itthannāmassa dammīti. |1| 
เย เต ภิกฺขู อปฺปิจฺฉาฯเปฯ เต อุชฺฌายนฺติ ขิยฺยนฺติ วิปาเจนฺติ “กถญฺหิ นาม อายสฺมา อุปนนฺโท สกฺยปุตฺโต อญฺญตฺร วสฺสํวุฏฺโฐ อญฺญตฺร จีวรภาคํ สาทิยิสฺสตี”ติ.  ภควโต เอตมตฺถํ อาโรเจสุํฯเปฯ  “สจฺจํ กิร ตฺวํ อุปนนฺท อญฺญตฺร วสฺสํวุฏฺโฐ อญฺญตฺร จีวรภาคํ สาทิยี”ติ?  “สจฺจํ ภควา”ติ.  วิครหิ พุทฺโธ ภควาฯเปฯ กถญฺหิ นาม ตฺวํ โมฆปุริส อญฺญตฺร วสฺสํวุฏฺโฐ อญฺญตฺร จีวรภาคํ สาทิยิสฺสสิ.  เนตํ โมฆปุริส อปฺปสนฺนานํ วา ปสาทายฯเปฯ  วิครหิตฺวาฯเปฯ ธมฺมึ กถํ กตฺวา ภิกฺขู อามนฺเตสิ “น ภิกฺขเว อญฺญตฺร วสฺสํวุฏฺเฐน อญฺญตฺร จีวรภาโค สาทิตพฺโพ.  โย สาทิเยยฺย อาปตฺติ ทุกฺกฏสฺสา”ติ.  เตน โข ปน สมเยน อายสฺมา อุปนนฺโท สกฺยปุตฺโต เอโก ทฺวีสุ อาวาเสสุ วสฺสํ วสิ “เอวํ เม พหุํ จีวรํ อุปฺปชฺชิสฺสตี”ติ.  อถ โข เตสํ ภิกฺขูนํ เอตทโหสิ “กถํ นุ โข อายสฺมโต อุปนนฺทสฺส สกฺยปุตฺตสฺส จีวรปฏิวีโส ทาตพฺโพ”ติ? 
||32|| 
ภควโต เอตมตฺถํ อาโรเจสุํ. 
cīvarakkhandhakaṃ aṭṭhamaṃ. 
เทถ ภิกฺขเว โมฆปุริสสฺส เอกาธิปฺปายํ. 
imamhi khandhake vatthu channavuti. tassa uddānaṃ:  Rājagahako negamo disvā Vesāliyaṃ gaṇi puna Rājagahaṃ gantvā rañño taṃ paṭivedayi. |  putto Sālavatikāya Abhayassa hi atrajo jīvatīti kumārena saṃkhāto Jīvako iti. |  so hi Takkasilaṃ gantvā uggahetvā mahābhiso sattavassikāabādhaṃ natthukammena nāsayi, |  rañño bhagandalābādhaṃ ālepena apākaḍḍhi, mamaṃ ca itthāgāraṃ ca buddhasaṃghaṃ c’ upaṭṭhaha. |  Rājagahako ca seṭṭhi, antagaṇṭhitikicchitaṃ, Pajjotassa mahārogaṃ ghatapānena nāsayi. |  adhikāraṃ ca, Siveyyaṃ, abhisannaṃ sinehati, tīṇi uppalahatthena samatiṃsavirecanaṃ. |  pakatattaṃ varaṃ yāci, Siveyyaṃ ca paṭiggahi, cīvaraṃ ca gihidānaṃ anuññāsi tathāgato. |  Rājagahe janapade bahuṃ uppajji cīvaraṃ.  pāvāro, kosikaṃ c’ eva, kojavo, aḍḍhakāsikaṃ, |  uccāvacā ca, santuṭṭhi, nāgames’ āgamesu ca, paṭhamaṃ pacchā, sadisā, katikā ca, paṭiharuṃ, |  bhaṇḍāgāraṃ, aguttaṃ ca, vuṭṭhāpenti tath’ eva ca, ussannaṃ, kolāhalaṃ ca, kathaṃ bhāje, kathaṃ dade, |  sak’-ātirekabhāgena, paṭiviso kathaṃ dade, chakanena, sītuṇhi ca, uttarituṃ, na jānare, |  oropento, bhājanaṃ ca, pātiyā ca, chamāya ca, upacikā, majjhe, jiranti, ekato, patthinnena ca, |  pharus’-āchinn’-accibandhā, addasāsi ubhaṇḍite, vīmaṃsitvā Sakyamuni anuññāsi ticīvaraṃ, |  aññena atirekena, uppajji, chiddam eva ca, cātuddīpo, varaṃ yāci dātuṃ vassikasāṭikaṃ |  āgantu-gami-gilānaṃ upaṭṭhākaṃ ca bhesajjaṃ dhuvaṃ udakasāṭiṃ ca, paṇītaṃ, atikhuddakaṃ, |  thullakacchu, mukhaṃ, khomaṃ, paripuṇṇaṃ, adhiṭṭhānaṃ, pacchimaṃ, kato garuko, vikaṇṇo, suttam okiri, |  (311) lujjanti, na ppahonti ca, anvādhikaṃ, bahūni ca, Andhavane, asatiyā, eko vassaṃ, utumhi ca, |  dve bhātukā, Rājagahe, Upanando, puna dvisu, kucchivikāro, gilāno ubho c’ eva, gilāyanā, |  naggā, kusā, vākacīraṃ, phalako, kesakambalaṃ, vāla-ulūkapakkhaṃ ca, ajinaṃ, akkanālaṃ ca, |  potthakaṃ, nīla-pītaṃ ca, lohitaṃ, mañjeṭṭhena ca, kaṇhā, mahāraṅga-nāma, acchinnadasikā tathā, |  dīgha-puppha-phaṇadasā, kañcu-tirīṭa-veṭhanaṃ, anuppanne pakkamati, saṃgho bhijjati tāvade, |  pakkhe dadanti, saṃghassa, āyasmā Revato pahi, vissāsagāh’, ādhiṭṭhāti, aṭṭha cīvaramātikā ’ti. 
อิธ ปน ภิกฺขเว ภิกฺขุ เอโก ทฺวีสุ อาวาเสสุ วสฺสํ วสติ “เอวํ เม พหุํ จีวรํ อุปฺปชฺชิสฺสตี”ติ.  สเจ อมุตฺร อุปฑฺฒํ อมุตฺร อุปฑฺฒํ วสติ อมุตฺร อุปฑฺโฒ อมุตฺร อุปฑฺโฒ จีวรปฏิวีโส ทาตพฺโพ. ยตฺถ วา ปน พหุตรํ วสติ ตโต จีวรปฏิวีโส ทาตพฺโพติ. (อุปนนฺทสกฺยปุตฺตวตฺถุ นิฏฺฐิตํ.)      (๒๒๔. คิลานวตฺถุกถา) ๓๖๕. เตน โข ปน สมเยน อญฺญตรสฺส ภิกฺขุโน กุจฺฉิวิการาพาโธ โหติ. โส สเก มุตฺตกรีเส ปลิปนฺโน เสติ.  อถ โข ภควา อายสฺมตา อานนฺเทน ปจฺฉาสมเณน เสนาสนจาริกํ อาหิณฺฑนฺโต เยน ตสฺส ภิกฺขุโน วิหาโร เตนุปสงฺกมิ.  อทฺทสา โข ภควา ตํ ภิกฺขุํ สเก มุตฺตกรีเส ปลิปนฺนํ สยมานํ ทิสฺวาน เยน โส ภิกฺขุ เตนุปสงฺกมิ อุปสงฺกมิตฺวา ตํ ภิกฺขุํ เอตทโวจ “กึ เต ภิกฺขุ อาพาโธ”ติ?  “กุจฺฉิวิกาโร เม ภควา”ติ.  “อตฺถิ ปน เต ภิกฺขุ อุปฏฺฐาโก”ติ?  “นตฺถิ ภควา”ติ  “กิสฺส ตํ ภิกฺขู น อุปฏฺเฐนฺตี”ติ?  “อหํ โข ภนฺเต ภิกฺขูนํ อการโก เตน มํ ภิกฺขู น อุปฏฺเฐนฺตี”ติ.  อถ โข ภควา อายสฺมนฺตํ อานนฺทํ อามนฺเตสิ “คจฺฉานนฺท อุทกํ อาหร อิมํ ภิกฺขุํ นหาเปสฺสามา”ติ.  “เอวํ ภนฺเต”ติ โข อายสฺมา อานนฺโท ภควโต ปฏิสฺสุณิตฺวา อุทกํ อาหริ. ภควา อุทกํ อาสิญฺจิ. อายสฺมา อานนฺโท ปริโธวิ. ภควา สีสโต อคฺคเหสิ. อายสฺมา อานนฺโท ปาทโต อุจฺจาเรตฺวา มญฺจเก นิปาเตสุํ.  อถ โข ภควา เอตสฺมึ นิทาเน เอตสฺมึ ปกรเณ ภิกฺขุสงฺฆํ สนฺนิปาตาเปตฺวา ภิกฺขู ปฏิปุจฺฉิ “อตฺถิ ภิกฺขเว อมุกสฺมึ วิหาเร ภิกฺขุ คิลาโน”ติ?  “อตฺถิ ภควา”ติ.  “กึ ตสฺส ภิกฺขเว ภิกฺขุโน อาพาโธ”ติ?  “ตสฺส ภนฺเต อายสฺมโต กุจฺฉิวิการาพาโธ”ติ.  “อตฺถิ ปน ภิกฺขเว ตสฺส ภิกฺขุโน อุปฏฺฐาโก”ติ?  “นตฺถิ ภควา”ติ  “กิสฺส ตํ ภิกฺขู น อุปฏฺเฐนฺตี”ติ?  “เอโส ภนฺเต ภิกฺขุ ภิกฺขูนํ อการโก เตน ตํ ภิกฺขู น อุปฏฺเฐนฺตี”ติ.  “นตฺถิ โว ภิกฺขเว มาตา นตฺถิ ปิตา เย โว อุปฏฺฐเหยฺยุํ.  ตุมฺเห เจ ภิกฺขเว อญฺญมญฺญํ น อุปฏฺฐหิสฺสถ อถ โก จรหิ อุปฏฺฐหิสฺสติ? 
(312) Tena samayena buddho bhagavā Campāyaṃ viharati Gaggarāya pokkharaṇiyā tīre.  tena kho pana samayena Kāsīsu janapadesu Vāsabhagāmo nāma hoti, tattha Kassapagotto nāma bhikkhu āvāsiko hoti tantibaddho ussukkaṃ āpanno kinti anāgatā ca pesalā bhikkhū āgaccheyyuṃ āgatā ca pesalā bhikkhū phāsu vihareyyuṃ ayaṃ ca āvāso vuddhiṃ virūḷhiṃ vepullaṃ āpajjeyyā ’ti.  tena kho pana samayena sambahulā bhikkhū Kāsīsu cārikaṃ caramānā yena Vāsabhagāmo tad avasaruṃ.  addasa kho Kassapagotto bhikkhu te bhikkhū dūrato ’va āgacchante, disvāna āsanaṃ paññāpesi pādodakaṃ pādapīṭhaṃ pādakathalikaṃ upanikkhipi paccuggantvā pattacīvaraṃ paṭiggahesi pāniyena āpucchi nahāne ussukkaṃ akāsi ussukkam pi akāsi yāguyā khādaniye bhattasmiṃ.  atha kho tesaṃ āgantukānaṃ bhikkhūnaṃ etad ahosi: bhaddako kho ayaṃ āvuso āvāsiko bhikkhu, nahāne ussukkaṃ karoti ussukkam pi karoti yāguyā khādaniye bhattasmiṃ, handa mayaṃ āvuso idh’ eva Vāsabhagāme nivāsaṃ kappemā ’ti.  atha kho te āgantukā bhikkhū tatth’ eva Vāsabhagāme nivāsaṃ kappesuṃ. |1| 
โย ภิกฺขเว มํ อุปฏฺฐเหยฺย โส คิลานํ อุปฏฺฐเหยฺย.  สเจ อุปชฺฌาโย โหติ อุปชฺฌาเยน ยาวชีวํ อุปฏฺฐาตพฺโพ วุฏฺฐานมสฺส อาคเมตพฺพํ.  สเจ อาจริโย โหติ อาจริเยน ยาวชีวํ อุปฏฺฐาตพฺโพ วุฏฺฐานมสฺส อาคเมตพฺพํ.  สเจ สทฺธิวิหาริโก โหติ สทฺธิวิหาริเกน ยาวชีวํ อุปฏฺฐาตพฺโพ วุฏฺฐานมสฺส อาคเมตพฺพํ. สเจ อนฺเตวาสิโก โหติ อนฺเตวาสิเกน ยาวชีวํ อุปฏฺฐาตพฺโพ วุฏฺฐานมสฺส อาคเมตพฺพํ. สเจ สมานุปชฺฌายโก โหติ สมานุปชฺฌายเกน ยาวชีวํ อุปฏฺฐาตพฺโพ วุฏฺฐานมสฺส อาคเมตพฺพํ. สเจ สมานาจริยโก โหติ สมานาจริยเกน ยาวชีวํ อุปฏฺฐาตพฺโพ วุฏฺฐานมสฺส อาคเมตพฺพํ.  สเจ น โหติ อุปชฺฌาโย วา อาจริโย วา สทฺธิวิหาริโก วา อนฺเตวาสิโก วา สมานุปชฺฌายโก วา สมานาจริยโก วา สงฺเฆน อุปฏฺฐาตพฺโพ.  โน เจ อุปฏฺฐเหยฺย อาปตฺติ ทุกฺกฏสฺส”. 
atha kho Kassapagottassa bhikkhuno etad ahosi: yo kho imesaṃ āgantukānaṃ bhikkhūnaṃ āgantukakilamatho so paṭippassaddho, ye p’ ime gocare appakataññuno te dān’ ime gocare pakataññuno.  dukkaraṃ kho pana parakulesu yāvajīvaṃ ussukkaṃ kātuṃ viññatti ca manussānaṃ amanāpā.  yaṃ nūnāhaṃ na ussukkaṃ kareyyaṃ yāguyā khādaniye bhattasmin ti.  so na ussukkaṃ akāsi yāguyā khādaniye bhattasmiṃ.  atha kho tesaṃ āgantukānaṃ bhi-(313)kkhūnaṃ etad ahosi: pubbe khv’ āyaṃ āvuso āvāsiko bhikkhu nahāne ussukkaṃ akāsi ussukkam pi akāsi yāguyā khādaniye bhattasmiṃ, so dān’ āyaṃ na ussukkaṃ karoti yāguyā khādaniye bhattasmiṃ.  duṭṭho dān’ āyaṃ āvuso āvāsiko bhikkhu, handa mayaṃ āvuso āvāsikaṃ bhikkhuṃ ukkhipāmā ’ti. |2| 
๓๖๖. ปญฺจหิ ภิกฺขเว องฺเคหิ สมนฺนาคโต คิลาโน ทูปฏฺโฐ โหติ อสปฺปายการี โหติ สปฺปาเย มตฺตํ น ชานาติ เภสชฺชํ น ปฏิเสวิตา โหติ อตฺถกามสฺส คิลานุปฏฺฐากสฺส ยถาภูตํ อาพาธํ นาวิกตฺตา โหติ ‘อภิกฺกมนฺตํ วา อภิกฺกมตีติ ปฏิกฺกมนฺตํ วา ปฏิกฺกมตีติ ฐิตํ วา ฐิโต’ติ อุปฺปนฺนานํ สารีริกานํ เวทนานํ ทุกฺขานํ ติพฺพานํ ขรานํ กฏุกานํ อสาตานํ อมนาปานํ ปาณหรานํ อนธิวาสกชาติโก โหติ.  อิเมหิ โข ภิกฺขเว ปญฺจหงฺเคหิ สมนฺนาคโต คิลาโน ทูปฏฺโฐ โหติ.  ปญฺจหิ ภิกฺขเว องฺเคหิ สมนฺนาคโต คิลาโน สูปฏฺโฐ โหติ สปฺปายการี โหติ สปฺปาเย มตฺตํ ชานาติ เภสชฺชํ ปฏิเสวิตา โหติ อตฺถกามสฺส คิลานุปฏฺฐากสฺส ยถาภูตํ อาพาธํ อาวิกตฺตา โหติ ‘อภิกฺกมนฺตํ วา อภิกฺกมตีติ ปฏิกฺกมนฺตํ วา ปฏิกฺกมตีติ ฐิตํ วา ฐิโต’ติ อุปฺปนฺนานํ สารีริกานํ เวทนานํ ทุกฺขานํ ติพฺพานํ ขรานํ กฏุกานํ อสาตานํ อมนาปานํ ปาณหรานํ อธิวาสกชาติโก โหติ.  อิเมหิ โข ภิกฺขเว ปญฺจหงฺเคหิ สมนฺนาคโต คิลาโน สูปฏฺโฐ โหติ.  ปญฺจหิ ภิกฺขเว องฺเคหิ สมนฺนาคโต คิลานุปฏฺฐาโก นาลํ คิลานํ อุปฏฺฐาตุํ น ปฏิพโล โหติ เภสชฺชํ สํวิธาตุํ สปฺปายาสปฺปายํ น ชานาติ อสปฺปายํ อุปนาเมติ สปฺปายํ อปนาเมติ อามิสนฺตโร คิลานํ อุปฏฺฐาติ โน เมตฺตจิตฺโต เชคุจฺฉี โหติ อุจฺจารํ วา ปสฺสาวํ วา เขฬํ วา วนฺตํ วา นีหาตุํ น ปฏิพโล โหติ คิลานํ กาเลน กาลํ ธมฺมิยา กถาย สนฺทสฺเสตุํ สมาทเปตุํ สมุตฺเตเชตุํ สมฺปหํเสตุํ.  อิเมหิ โข ภิกฺขเว ปญฺจหงฺเคหิ สมนฺนาคโต คิลานุปฏฺฐาโก นาลํ คิลานํ อุปฏฺฐาตุํ. 
atha kho te āgantukā bhikkhū sannipatitvā Kassapagottaṃ bhikkhuṃ etad avocuṃ: pubbe kho tvaṃ āvuso nahāne ussukkaṃ karosi ussukkam pi karosi yāguyā khādaniye bhattasmiṃ, so dāni tvaṃ na ussukkaṃ karosi yāguyā khādaniye bhattasmiṃ.  āpattiṃ tvaṃ āvuso āpanno, passas’ etaṃ āpattin ti.  n’ atthi me āvuso āpatti yam ahaṃ passeyyan ti.  atha kho te āgantukā bhikkhū Kassapagottaṃ bhikkhuṃ āpattiyā adassane ukkhipiṃsu.  atha kho Kassapagottassa bhikkhuno etad ahosi: ahaṃ kho etaṃ na jānāmi āpatti vā esā anāpatti vā āpanno c’ amhi anāpanno vā ukkhitto c’ amhi anukkhitto vā dhammikena vā adhammikena vā kuppena vā akuppena vā ṭhānārahena vā aṭṭhānārahena vā.  yaṃ nūnāhaṃ Campaṃ gantvā bhagavantaṃ etaṃ atthaṃ puccheyyan ti. |3| 
ปญฺจหิ ภิกฺขเว องฺเคหิ สมนฺนาคโต คิลานุปฏฺฐาโก อลํ คิลานํ อุปฏฺฐาตุํ ปฏิพโล โหติ เภสชฺชํ สํวิธาตุํ สปฺปายาสปฺปายํ ชานาติ อสปฺปายํ อปนาเมติ สปฺปายํ อุปนาเมติ เมตฺตจิตฺโต คิลานํ อุปฏฺฐาติ โน อามิสนฺตโร อเชคุจฺฉี โหติ อุจฺจารํ วา ปสฺสาวํ วา เขฬํ วา วนฺตํ วา นีหาตุํ ปฏิพโล โหติ คิลานํ กาเลน กาลํ ธมฺมิยา กถาย สนฺทสฺเสตุํ สมาทเปตุํ สมุตฺเตเชตุํ สมฺปหํเสตุํ.  อิเมหิ โข ภิกฺขเว ปญฺจหงฺเคหิ สมนฺนาคโต คิลานุปฏฺฐาโก อลํ คิลานํ อุปฏฺฐาตุนฺติ. (คิลานวตฺถุกถา นิฏฺฐิตา.)      (๒๒๕. มตสนฺตกกถา) ๓๖๗. เตน โข ปน สมเยน ทฺเว ภิกฺขู โกสเลสุ ชนปเท อทฺธานมคฺคปฺปฏิปนฺนา โหนฺติ.  เต อญฺญตรํ อาวาสํ อุปคจฺฉึสุ. ตตฺถ อญฺญตโร ภิกฺขุ คิลาโน โหติ. 
atha kho Kassapagotto bhikkhu senāsanaṃ saṃsāmetvā pattacīvaraṃ ādāya yena Campā tena pakkāmi, anupubbena yena Campā yena bhagavā ten’ upasaṃkami, upasaṃkamitvā bhagavantaṃ abhivādetvā ekamantaṃ nisīdi.  āciṇṇaṃ kho pan’ etaṃ buddhānaṃ bhagavantānaṃ āgantukehi bhikkhūhi saddhiṃ paṭisammodituṃ.  atha kho bhagavā Kassapagottaṃ bhikkhuṃ etad avoca: kacci bhikkhu khamanīyaṃ, kacci yāpanīyaṃ, kacci appakilamathena addhānaṃ āgato, kuto ca tvaṃ bhikkhu āgacchasīti.  khamanīyaṃ bhagavā, yāpanīyaṃ bhagavā, appakilamathena cāhaṃ bhante addhānaṃ āgato. |4| 
อถ โข เตสํ ภิกฺขูนํ เอตทโหสิ “ภควตา โข อาวุโส คิลานุปฏฺฐานํ วณฺณิตํ. หนฺท มยํ อาวุโส อิมํ ภิกฺขุํ อุปฏฺฐเหมา”ติ. เต ตํ อุปฏฺฐหึสุ.  โส เตหิ อุปฏฺฐหิยมาโน กาลมกาสิ.  อถ โข เต ภิกฺขู ตสฺส ภิกฺขุโน ปตฺตจีวรมาทาย สาวตฺถึ คนฺตฺวา ภควโต เอตมตฺถํ อาโรเจสุํ.  “ภิกฺขุสฺส ภิกฺขเว กาลงฺกเต สงฺโฆ สามี ปตฺตจีวเร 
atthi bhante Kāsīsu janapadesu Vāsabhagāmo nāma, tatthāhaṃ bhagavā āvāsiko tantibaddho ussukkaṃ āpanno kinti anāgatā ca pesalā bhikkhū āgaccheyyuṃ āgatā ca pesalā bhikkhū phāsu vihareyyuṃ ayaṃ ca āvāso vuddhiṃ virūḷhiṃ vepullaṃ āpajjeyyā ’ti.  atha kho bhante sambahulā bhikkhū Kāsīsu cārikaṃ caramānā yena Vāsabhagāmo tad avasaruṃ.  addasaṃ kho ahaṃ bhante bhikkhū dūrato ’va āgacchante, disvāna āsanaṃ paññāpesiṃ ... atha kho tesaṃ bhante āgantukānaṃ bhikkhūnaṃ etad ahosi: bhaddako ... atha (314) kho te bhante āgantukā bhikkhū tatth’ eva Vāsabhagāme nivāsaṃ kappesuṃ.  tassa mayhaṃ bhante etad ahosi: yo kho ... bhattasmin ti.  so kho ahaṃ bhante na ussukkaṃ akāsiṃ ... atha kho tesaṃ bhante āgantukānaṃ ... nahāne ussukkaṃ karoti ussukkam pi karoti yāguyā khādaniye bhattasmiṃ, so dān’ āyaṃ na ussukkaṃ karoti ... atha kho te bhante āgantukā bhikkhū sannipatitvā maṃ etad avocuṃ: pubbe kho ... passeyyan ti.  atha kho te bhante āgantukā bhikkhū maṃ āpattiyā adassane ukkhipiṃsu.  tassa mayhaṃ bhante etad ahosi: ahaṃ kho ... puccheyyan ti.  tato ahaṃ bhagavā āgacchāmīti. |5| 
อปิจ คิลานุปฏฺฐากา พหูปการา.  อนุชานามิ ภิกฺขเว สงฺเฆน ติจีวรญฺจ ปตฺตญฺจ คิลานุปฏฺฐากานํ ทาตุํ.  เอวญฺจ ปน ภิกฺขเว ทาตพฺพํ. เตน คิลานุปฏฺฐาเกน ภิกฺขุนา สงฺฆํ อุปสงฺกมิตฺวา เอวมสฺส วจนีโย ‘อิตฺถนฺนาโม ภนฺเต ภิกฺขุ กาลงฺกโต. อิทํ ตสฺส ติจีวรญฺจ ปตฺโต จา”’ติ.  พฺยตฺเตน ภิกฺขุนา ปฏิพเลน สงฺโฆ ญาเปตพฺโพ “สุณาตุ เม ภนฺเต สงฺโฆ.  อิตฺถนฺนาโม ภิกฺขุ กาลงฺกโต. อิทํ ตสฺส ติจีวรญฺจ ปตฺโต จ.  ยทิ สงฺฆสฺส ปตฺตกลฺลํ สงฺโฆ อิมํ ติจีวรญฺจ ปตฺตญฺจ คิลานุปฏฺฐากานํ ทเทยฺย.  เอสา ญตฺติ.  “สุณาตุ เม ภนฺเต สงฺโฆ. 
anāpatti esā bhikkhu n’ esā āpatti, anāpanno ’si na ’si āpanno, anukkhitto ’si na ’si ukkhitto, adhammikena ’si kammena ukkhitto kuppena aṭṭhānārahena.  gaccha tvaṃ bhikkhu tatth’ eva Vāsabhagāme nivāsaṃ kappehīti.  evaṃ bhante ’ti kho Kassapagotto bhikkhu bhagavato paṭisuṇitvā uṭṭhāyāsanā bhagavantaṃ abhivādetvā padakkhiṇaṃ katvā yena Vāsabhagāmo tena pakkāmi. |6| 
อิตฺถนฺนาโม ภิกฺขุ กาลงฺกโต. อิทํ ตสฺส ติจีวรญฺจ ปตฺโต จ.  สงฺโฆ อิมํ ติจีวรญฺจ ปตฺตญฺจ คิลานุปฏฺฐากานํ เทติ.  ยสฺสายสฺมโต ขมติ อิมสฺส ติจีวรสฺส จ ปตฺตสฺส จ คิลานุปฏฺฐากานํ ทานํ โส ตุณฺหสฺส ยสฺส นกฺขมติ โส ภาเสยฺย. 
atha kho tesaṃ āgantukānaṃ bhikkhūnaṃ ahud eva kukkuccaṃ ahu vippaṭisāro: alābhā vata no na vata no lābhā, dulladdhaṃ vata no na vata no suladdhaṃ, ye mayaṃ suddhaṃ bhikkhuṃ anāpattikaṃ avatthusmiṃ akāraṇe ukkhipimhā.  handa mayaṃ āvuso Campaṃ gantvā bhagavato santike accayaṃ accayato desemā ’ti.  atha kho te āgantukā bhikkhū senāsanaṃ saṃsāmetvā pattacīvaraṃ ādāya yena Campā tena pakkamiṃsu, anupubbena yena Campā yena bhagavā ten’ upasaṃkamiṃsu, upasaṃkamitvā bhagavantaṃ abhivādetvā ekamantaṃ nisīdiṃsu.  āciṇṇaṃ kho ... paṭisammodituṃ.  atha kho bhagavā te bhikkhū etad avoca: kacci bhikkhave khamanīyaṃ, kacci yāpanīyaṃ, kacci appakilamathena addhānaṃ āgatā, kuto ca tumhe bhikkhave āgacchathā ’ti.  khamanīyaṃ bhagavā, yāpanīyaṃ bhagavā, appakilamathena ca mayaṃ bhante addhānaṃ āgatā.  atthi bhante Kāsīsu janapadesu Vāsabhagāmo nāma, tato mayaṃ bhagavā āgacchāmā ’ti. |7| 
“ทินฺนํ อิทํ สงฺเฆน ติจีวรญฺจ ปตฺโต จ คิลานุปฏฺฐากานํ. ขมติ สงฺฆสฺส ตสฺมา ตุณฺหี เอวเมตํ ธารยามี”ติ  ๓๖๘. เตน โข ปน สมเยน อญฺญตโร สามเณโร กาลงฺกโต โหติ.  ภควโต เอตมตฺถํ อาโรเจสุํ.  สามเณรสฺส ภิกฺขเว กาลงฺกเต สงฺโฆ สามี ปตฺตจีวเร  อปิ จ คิลานุปฏฺฐากา พหูปการา.  อนุชานามิ ภิกฺขเว สงฺเฆน จีวรญฺจ ปตฺตญฺจ คิลานุปฏฺฐากานํ ทาตุํ.  เอวญฺจ ปน ภิกฺขเว ทาตพฺพํ. เตน คิลานุปฏฺฐาเกน ภิกฺขุนา สงฺฆํ อุปสงฺกมิตฺวา เอวมสฺส วจนีโย “อิตฺถนฺนาโม ภนฺเต สามเณโร กาลงฺกโต อิทํ ตสฺส จีวรญฺจ ปตฺโต จา”ติ. 
tumhe bhikkhave āvāsikaṃ bhikkhuṃ ukkhipitthā ’ti.  evaṃ bhante ’ti.  kismiṃ bhikkhave vatthusmiṃ kāraṇe ’ti.  avatthusmiṃ bhagavā akāraṇe ’ti.  vigarahi buddho bhagavā: ananucchaviyaṃ bhikkhave ananulomi (315) kaṃ ... akaraṇīyaṃ.  kathaṃ hi nāma tumhe moghapurisā suddhaṃ bhikkhuṃ anāpattikaṃ avatthusmiṃ akāraṇe ukkhipissatha.  n’ etaṃ moghapurisā appasannānaṃ vā pasādāya.  vigarahitvā dhammiṃ kathaṃ katvā bhikkhū āmantesi: na bhikkhave suddho bhikkhu anāpattiko avatthusmiṃ akāraṇe ukkhipitabbo.  yo ukkhipeyya, āpatti dukkaṭassā ’ti. |8| 
พฺยตฺเตน ภิกฺขุนา ปฏิพเลน สงฺโฆ ญาเปตพฺโพ “สุณาตุ เม ภนฺเต สงฺโฆ.  อิตฺถนฺนาโม สามเณโร กาลงฺกโต. อิทํ ตสฺส จีวรญฺจ ปตฺโต จ.  ยทิ สงฺฆสฺส ปตฺตกลฺลํ สงฺโฆ อิมํ จีวรญฺจ ปตฺตญฺจ คิลานุปฏฺฐากานํ ทเทยฺย.  เอสา ญตฺติ.  “สุณาตุ เม ภนฺเต สงฺโฆ.  อิตฺถนฺนาโม สามเณโร กาลงฺกโต. อิทํ ตสฺส จีวรญฺจ ปตฺโต จ.  สงฺโฆ อิมํ จีวรญฺจ ปตฺตญฺจ คิลานุปฏฺฐากานํ เทติ.  ยสฺสายสฺมโต ขมติ อิมสฺส จีวรสฺส จ ปตฺตสฺส จ คิลานุปฏฺฐากานํ ทานํ โส ตุณฺหสฺส ยสฺส นกฺขมติ โส ภาเสยฺย.  “ทินฺนํ อิทํ สงฺเฆน จีวรญฺจ ปตฺโต จ คิลานุปฏฺฐากานํ. 
atha kho te bhikkhū uṭṭhāyāsanā ekaṃsaṃ uttarāsaṅgaṃ karitvā bhagavato pādesu sirasā nipatitvā bhagavantaṃ etad avocuṃ: accayo no bhante accagamā yathā bāle yathā mūḷhe yathā akusale ye mayaṃ suddhaṃ bhikkhuṃ anāpattikaṃ avatthusmiṃ akāraṇe ukkhipimhā, tesaṃ no bhante bhagavā accayaṃ accayato paṭigaṇhātu āyatiṃ saṃvarāyā ’ti.  taggha tumhe bhikkhave accayo accagamā yathā bāle yathā mūḷhe yathā akusale ye tumhe suddhaṃ bhikkhuṃ anāpattikaṃ avatthusmiṃ akāraṇe ukkhipittha.  yato ca kho tumhe bhikkhave accayaṃ accayato disvā yathādhammaṃ paṭikarotha taṃ vo mayaṃ paṭigaṇhāma, vuddhi h’ esā bhikkhave ariyassa vinaye yo accayaṃ accayato disvā yathādhammaṃ paṭikaroti āyatiṃ saṃvaraṃ āpajjatīti. |9| 
ขมติ สงฺฆสฺส ตสฺมา ตุณฺหี เอวเมตํ ธารยามี”ติ.  ๓๖๙. เตน โข ปน สมเยน อญฺญตโร ภิกฺขุ จ สามเณโร จ คิลานํ อุปฏฺฐหึสุ.  โส เตหิ อุปฏฺฐหิยมาโน กาลมกาสิ. 
||1|| 
อถ โข ตสฺส คิลานุปฏฺฐากสฺส ภิกฺขุโน เอตทโหสิ “กถํ นุ โข คิลานุปฏฺฐากสฺส สามเณรสฺส จีวรปฏิวีโส ทาตพฺโพ”ติ 
tena kho pana samayena Campāyaṃ bhikkhū evarūpāni kammāni karonti: adhammena vaggakammaṃ karonti, adhammena samaggakammaṃ karonti, dhammena vaggak. k., dhammapaṭirūpakena vaggak. k., dhammapaṭirūpakena samaggak. k., eko pi ekaṃ ukkhipati, eko pi dve ukkhipati, eko pi sambahule ukkhipati, eko pi saṃghaṃ ukkh., dve pi ekaṃ ukkhipanti, dve pi dve ukkh., dve pi sambahule ukkh., dve pi saṃghaṃ ukkh., sambahulāpi ekaṃ ukkh., sambahulāpi dve ukkh., sambahulāpi sambahule ukkh., sambahulāpi saṃghaṃ ukkh., saṃgho pi saṃghaṃ ukkhipati. |1| 
ภควโต เอตมตฺถํ อาโรเจสุํ. 
ye te bhikkhū appicchā te ujjhāyanti khīyanti vipācenti: kathaṃ hi nāma Campāyaṃ bhikkhū evarūpāni kammāni karissanti: adhammena vaggakammaṃ karissanti, ... dhammapaṭirūpakena samaggakammaṃ karissanti, eko pi ekaṃ ukkhipissati ... saṃgho pi saṃghaṃ ukkhipissatīti.  atha kho te bhikkhū bhagavato etam atthaṃ arocesuṃ.  saccaṃ kira bhikkhave Campāyaṃ bhikkhū evarūpāni kammāni karonti: (316) adhammena vaggakammaṃ karonti ... saṃgho pi saṃghaṃ ukkhipatīti.  saccaṃ bhagavā.  vigarahi buddho bhagavā: ananucchaviyaṃ bhikkhave tesaṃ moghapurisānaṃ ananulomikaṃ ... akaraṇīyaṃ.  kathaṃ hi nāma te bhikkhave moghapurisā evarūpāni kammāni karissanti: adhammena vaggakammaṃ karissanti ... saṃgho pi saṃghaṃ ukkhipissati.  n’ etaṃ bhikkhave appasannānaṃ vā pasādāya.  vigarahitvā dhammiṃ kathaṃ katvā bhikkhū āmantesi. |2| 
อนุชานามิ ภิกฺขเว คิลานุปฏฺฐากสฺส สามเณรสฺส สมกํ ปฏิวีสํ ทาตุนฺติ.  เตน โข ปน สมเยน อญฺญตโร ภิกฺขุ พหุภณฺโฑ พหุปริกฺขาโร กาลงฺกโต โหติ.  ภควโต เอตมตฺถํ อาโรเจสุํ.  ภิกฺขุสฺส ภิกฺขเว กาลงฺกเต สงฺโฆ สามี ปตฺตจีวเร  อปิ จ คิลานุปฏฺฐากา พหูปการา.  อนุชานามิ ภิกฺขเว สงฺเฆน ติจีวรญฺจ ปตฺตญฺจ คิลานุปฏฺฐากานํ ทาตุํ. ยํ ตตฺถ ลหุภณฺฑํ ลหุปริกฺขารํ ตํ สมฺมุขีภูเตน สงฺเฆน ภาเชตุํ. ยํ ตตฺถ ครุภณฺฑํ ครุปริกฺขารํ ตํ อาคตานาคตสฺส จาตุทฺทิสสฺส สงฺฆสฺส อวิสฺสชฺชิกํ อเวภงฺคิกนฺติ. (มตสนฺตกกถา นิฏฺฐิตา.)     
adhammena ce bhikkhave vaggakammaṃ akammaṃ na ca karaṇīyaṃ.  adhammena samaggakammaṃ akammaṃ na ca karaṇīyaṃ ... dhammapaṭirūpakena samaggakammaṃ akammaṃ na ca karaṇīyaṃ, eko pi ekaṃ ukkhipati akammaṃ na ca karaṇīyaṃ ... saṃgho pi saṃghaṃ ukkhipati akammaṃ na ca karaṇīyaṃ. |3| 
(๒๒๖. นคฺคิยปฏิกฺเขปกถา) ๓๗๐. เตน โข ปน สมเยน อญฺญตโร ภิกฺขุ นคฺโค หุตฺวา เยน ภควา เตนุปสงฺกมิ อุปสงฺกมิตฺวา ภควนฺตํ เอตทโวจ “ภควา ภนฺเต อเนกปริยาเยน อปฺปิจฺฉสฺส สนฺตุฏฺฐสฺส สลฺเลขสฺส ธุตสฺส ปาสาทิกสฺส อปจยสฺส วีริยารมฺภสฺส วณฺณวาที.  อิทํ ภนฺเต นคฺคิยํ อเนกปริยาเยน อปฺปิจฺฉตาย สนฺตุฏฺฐิตาย สลฺเลขาย ธุตตาย ปาสาทิกตาย อปจยาย วีริยารมฺภาย สํวตฺตติ. 
cattār’ imāni bhikkhave kammāni: adhammena vaggakammaṃ, adhammena samaggakammaṃ, dhammena vaggakammaṃ, dhammena samaggakammaṃ.  tatra bhikkhave yam idaṃ adhammena vaggakammaṃ idaṃ bhikkhave kammaṃ adhammattā vaggattā kuppaṃ aṭṭhānārahaṃ.  na bhikkhave evarūpaṃ kammaṃ kātabbaṃ na ca mayā evarūpaṃ kammaṃ anuññātaṃ.  tatra bhikkhave yam idaṃ adhammena samaggakammaṃ idaṃ bhikkhave kammaṃ adhammattā kuppaṃ ... anuññātaṃ.  tatra bhikkhave yam idaṃ dhammena vaggakammaṃ idaṃ bhikkhave kammaṃ vaggattā kuppaṃ ... anuññātaṃ.  tatra bhikkhave yam idaṃ dhammena samaggakammaṃ idaṃ bhikkhave kammaṃ dhammattā samaggattā akuppaṃ ṭhānārahaṃ.  evarūpaṃ bhikkhave kammaṃ kātabbaṃ evarūpaṃ ca mayā kammaṃ anuññātaṃ.  tasmāt iha bhikkhave evarūpaṃ kammaṃ karissāma yad idaṃ dhammena samaggan ti, evañ hi vo bhikkhave sikkhitabban ti. |4| 
สาธุ ภนฺเต ภควา ภิกฺขูนํ นคฺคิยํ อนุชานาตู”ติ.  วิครหิ พุทฺโธ ภควา “อนนุจฺฉวิกํ โมฆปุริส อนนุโลมิกํ อปฺปติรูปํ อสฺสามณกํ อกปฺปิยํ อกรณียํ.  กถญฺหิ นาม ตฺวํ โมฆปุริส นคฺคิยํ ติตฺถิยสมาทานํ สมาทิยิสฺสสิ.  เนตํ โมฆปุริส อปฺปสนฺนานํ วา ปสาทายฯเปฯ”  วิครหิตฺวา ธมฺมึ กถํ กตฺวา ภิกฺขู อามนฺเตสิ “น ภิกฺขเว นคฺคิยํ ติตฺถิยสมาทานํ สมาทิยิตพฺพํ.  โย สมาทิเยยฺย อาปตฺติ ถุลฺลจฺจยสฺสา”ติ. ( นคฺคิยปฏิกฺเขปกถา นิฏฺฐิตา.)  (๒๒๗. กุสจีราทิปฏิกฺเขปกถา) ๓๗๑. เตน โข ปน สมเยน อญฺญตโร ภิกฺขุ กุสจีรํ นิวาเสตฺวาฯเปฯ วากจีรํ นิวาเสตฺวาฯเปฯ ผลกจีรํ นิวาเสตฺวาฯเปฯ เกสกมฺพลํ นิวาเสตฺวาฯเปฯ วาฬกมฺพลํ นิวาเสตฺวาฯเปฯ อุลูกปกฺขํ นิวาเสตฺวาฯเปฯ อชินกฺขิปํ นิวาเสตฺวา เยน ภควา เตนุปสงฺกมิ อุปสงฺกมิตฺวา ภควนฺตํ เอตทโวจ “ภควา ภนฺเต อเนกปริยาเยน อปฺปิจฺฉสฺส สนฺตุฏฺฐสฺส สลฺเลขสฺส ธุตสฺส ปาสาทิกสฺส อปจยสฺส วีริยารมฺภสฺส วณฺณวาที.  อิทํ ภนฺเต อชินกฺขิปํ อเนกปริยาเยน อปฺปิจฺฉตาย สนฺตุฏฺฐิตาย สลฺเลขาย ธุตตาย ปาสาทิกตาย อปจยาย วีริยารมฺภาย สํวตฺตติ. 
||2|| 
สาธุ ภนฺเต ภควา ภิกฺขูนํ อชินกฺขิปํ อนุชานาตู”ติ. 
tena kho pana samayena chabbaggiyā bhikkhū evarūpāni kammāni karonti: adhammena vaggakammaṃ karonti, adhammena samaggakammaṃ k., dhammena vaggak.k., dhammapaṭirūpakena vaggak.k., dhammap.samaggak.k., ñattivipannam pi kammaṃ karonti anussāvanasampannaṃ, anussāvanavipannam pi kammaṃ karonti ñattisampannaṃ, (317) ñattivipannam pi anussāvanavipannam pi kammaṃ karonti, aññatrāpi dhammā kammaṃ karonti aññatrāpi vinayā k.k., aññatrāpi satthu sāsanā k.k., paṭikuṭṭhakatam pi kammaṃ karonti adhammikaṃ kuppaṃ aṭṭhānārahaṃ.  ye te bhikkhū appicchā te ujjhāyanti khīyanti vipācenti: kathaṃ hi nāma chabbaggiyā bhikkhū evarūpāni kammāni karissanti: adhammena vaggakammaṃ karissanti ... paṭikuṭṭhakatam pi kammaṃ karissanti adh. kup.  aṭṭhānārahan ti.  atha kho te bhikkhū bhagavato etam atthaṃ ārocesuṃ.  saccaṃ kira bhikkhave chabbaggiyā bhikkhū evarūpāni kammāni karonti: adhammena vaggakammaṃ karonti --la-- paṭikuṭṭhakatam pi kammaṃ karonti adhammikaṃ kuppaṃ aṭṭhānārahan ti.  saccaṃ bhagavā.  --la-- vigarahitvā dhammiṃ kathaṃ katvā bhikkhū āmantesi: |1| 
วิครหิ พุทฺโธ ภควา “อนนุจฺฉวิกํ โมฆปุริส อนนุโลมิกํ อปฺปติรูปํ อสฺสามณกํ อกปฺปิยํ อกรณียํ.  กถญฺหิ นาม ตฺวํ โมฆปุริส อชินกฺขิปํ ติตฺถิยธชํ ธาเรสฺสสิ.  เนตํ โมฆปุริส อปฺปสนฺนานํ วา ปสาทายฯเปฯ  วิครหิตฺวาฯเปฯ ธมฺมึ กถํ กตฺวา ภิกฺขู อามนฺเตสิ “น ภิกฺขเว อชินกฺขิปํ ติตฺถิยธชํ ธาเรตพฺพํ.  โย ธาเรยฺย อาปตฺติ ถุลฺลจฺจยสฺสา”ติ.  เตน โข ปน สมเยน อญฺญตโร ภิกฺขุ อกฺกนาฬํ นิวาเสตฺวาฯเปฯ โปตฺถกํ นิวาเสตฺวา เยน ภควา เตนุปสงฺกมิ อุปสงฺกมิตฺวา ภควนฺตํ เอตทโวจ “ภควา ภนฺเต อเนกปริยาเยน อปฺปิจฺฉสฺส สนฺตุฏฺฐสฺส สลฺเลขสฺส ธุตสฺส ปาสาทิกสฺส อปจยสฺส วีริยารมฺภสฺส วณฺณวาที.  อยํ ภนฺเต โปตฺถโก อเนกปริยาเยน อปฺปิจฺฉตาย สนฺตุฏฺฐิตาย สลฺเลขาย ธุตตาย ปาสาทิกตาย อปจยาย วีริยารมฺภาย สํวตฺตติ. 
adhammena ce bhikkhave vaggakammaṃ akammaṃ na ca karaṇīyaṃ ... dhammapaṭirūpakena samaggakammaṃ akammaṃ na ca karaṇīyaṃ, ñattivipannaṃ ce bhikkhave kammaṃ anussāvanasampannaṃ akammaṃ na ca karaṇīyaṃ, anussāvanavipannaṃ ce bhikkhave kammaṃ ñattisampannaṃ ak.  na ca k., ñattivipannaṃ ce bhikkhave kammaṃ anussāvanavipannaṃ ak.  na ca k., aññatrāpi dhammā kammaṃ ak.  na ca k., annatrāpi vinayā kammaṃ ak.  na ca k., aññatrāpi satthu sāsanā kammaṃ ak.  na ca k., paṭikuṭṭhakataṃ ce bhikkhave kammaṃ adhammikaṃ kuppaṃ aṭṭhānārahaṃ akammaṃ na ca karaṇīyaṃ. |2| 
สาธุ ภนฺเต ภควา ภิกฺขูนํ โปตฺถกํ อนุชานาตู”ติ.  วิครหิ พุทฺโธ ภควา “อนนุจฺฉวิกํ โมฆปุริส อนนุโลมิกํ อปฺปติรูปํ อสฺสามณกํ อกปฺปิยํ อกรณียํ.  กถญฺหิ นาม ตฺวํ โมฆปุริส โปตฺถกํ นิวาเสสฺสสิ.  เนตํ โมฆปุริส อปฺปสนฺนานํ วา ปสาทายฯเปฯ  วิครหิตฺวาฯเปฯ ธมฺมึ กถํ กตฺวา ภิกฺขู อามนฺเตสิ “น ภิกฺขเว โปตฺถโก นิวาเสตพฺโพ.  โย นิวาเสยฺย อาปตฺติ ทุกฺกฏสฺสา”ติ. (กุสจีราทิปฏิกฺเขปกถา นิฏฺฐิตา.) 
cha yimāni bhikkhave kammāni: adhammakammaṃ vaggakammaṃ samaggakammaṃ dhammapaṭirūpakena vaggakammaṃ dhammapaṭirūpakena samaggakammaṃ dhammena samaggakammaṃ.  katamaṃ ca bhikkhave adhammakammaṃ.  ñattidutiye ce bhikkhave kamme ekāya ñattiyā kammaṃ karoti na ca kammavācaṃ anussāveti, adhammakammaṃ.  ñattidutiye ce bhikkhave kamme dvīhi ñattīhi kammaṃ karoti na ca kammavācaṃ anussāveti, adhammakammaṃ.  ñattidutiye ce bhikkhave kamme ekāya kammavācāya kammaṃ karoti na ca ñattiṃ ṭhapeti, adhammakammaṃ.  ñattidutiye ce bhikkhave kamme dvīhi kammavācāhi kammaṃ karoti na ca ñattiṃ ṭhapeti, adhammakammaṃ. |3| 
    (๒๒๘. สพฺพนีลกาทิปฏิกฺเขปกถา) ๓๗๒. เตน โข ปน สมเยน ฉพฺพคฺคิยา ภิกฺขู สพฺพนีลกานิ จีวรานิ ธาเรนฺติฯเปฯ สพฺพปีตกานิ จีวรานิ ธาเรนฺติฯเปฯ สพฺพโลหิตกานิ จีวรานิ ธาเรนฺติฯเปฯ สพฺพมญฺชิฏฺฐกานิ จีวรานิ ธาเรนฺติฯเปฯ สพฺพกณฺหานิ จีวรานิ ธาเรนฺติ ฯเปฯ สพฺพมหารงฺครตฺตานิ จีวรานิ ธาเรนฺติฯเปฯ สพฺพมหานามรตฺตานิ จีวรานิ ธาเรนฺติฯเปฯ อจฺฉินฺนทสานิ จีวรานิ ธาเรนฺติฯเปฯ ทีฆทสานิ จีวรานิ ธาเรนฺติฯเปฯ ปุปฺผทสานิ จีวรานิ ธาเรนฺติฯเปฯ ผณทสานิ จีวรานิ ธาเรนฺติฯเปฯ กญฺจุกํ ธาเรนฺติฯเปฯ ติรีฏกํ ธาเรนฺติฯเปฯ เวฐนํ ธาเรนฺติ.  มนุสฺสา อุชฺฌายนฺติ ขิยฺยนฺติ วิปาเจนฺติ “กถญฺหิ นาม สมณา สกฺยปุตฺติยา เวฐนํ ธาเรสฺสนฺติ เสยฺยถาปิ คิหี กามโภคิโน”ติ.  ภควโต เอตมตฺถํ อาโรเจสุํ  น ภิกฺขเว สพฺพนีลกานิ จีวรานิ ธาเรตพฺพานิ น สพฺพปีตกานิ จีวรานิ ธาเรตพฺพานิ น สพฺพโลหิตกานิ จีวรานิ ธาเรตพฺพานิ น สพฺพมญฺชิฏฺฐกานิ จีวรานิ ธาเรตพฺพานิ น สพฺพกณฺหานิ จีวรานิ ธาเรตพฺพานิ น สพฺพมหารงฺครตฺตานิ จีวรานิ ธาเรตพฺพานิ น สพฺพมหานามรตฺตานิ จีวรานิ ธาเรตพฺพานิ น อจฺฉินฺนทสานิ จีวรานิ ธาเรตพฺพานิ น ทีฆทสานิ จีวรานิ ธาเรตพฺพานิ น ปุปฺผทสานิ จีวรานิ ธาเรตพฺพานิ น ผณทสานิ จีวรานิ ธาเรตพฺพานิ น กญฺจุกํ ธาเรตพฺพํ น ติรีฏกํ ธาเรตพฺพํ น เวฐนํ ธาเรตพฺพํ. 
ñatticatutthe ce bhikkhave kamme ekāya ñattiyā kammaṃ karoti na ca kammavācaṃ anussāveti, (318) adhammakammaṃ.  ñatticatutthe ce bhikkhave kamme dvīhi ñattīhi kammaṃ karoti ... tīhi ñattīhi kammaṃ karoti ... catūhi ñattīhi kammaṃ karoti na ca kammavācaṃ anussāveti, adhammakammaṃ.  ñatticatutthe ce bhikkhave kamme ekāya kammavācāya kammaṃ karoti ... dvīhi kammavācāhi kammaṃ karoti ... tīhi kammavācāhi kammaṃ karoti ... catūhi kammavācāhi kammaṃ karoti na ca ñattiṃ ṭhapeti, adhammakammaṃ.  idaṃ vuccati bhikkhave adhammakammaṃ. |4| 
โย ธาเรยฺย อาปตฺติ ทุกฺกฏสฺสาติ. (สพฺพนีลกาทิปฏิกฺเขปกถา นิฏฺฐิตา.)      (๒๒๙. วสฺสํวุฏฺฐานํ อนุปฺปนฺนจีวรกถา) ๓๗๓. เตน โข ปน สมเยน วสฺสํวุฏฺฐา ภิกฺขู อนุปฺปนฺเน จีวเร ปกฺกมนฺติปิ วิพฺภมนฺติปิ กาลมฺปิ กโรนฺติ สามเณราปิ ปฏิชานนฺติ สิกฺขํ ปจฺจกฺขาตกาปิ ปฏิชานนฺติ อนฺติมวตฺถุํ อชฺฌาปนฺนกาปิ ปฏิชานนฺติ อุมฺมตฺตกาปิ ปฏิชานนฺติ ขิตฺตจิตฺตาปิ ปฏิชานนฺติ เวทนาฏฺฏาปิ ปฏิชานนฺติ อาปตฺติยา อทสฺสเน อุกฺขิตฺตกาปิ ปฏิชานนฺติ อาปตฺติยา อปฺปฏิกมฺเม อุกฺขิตฺตกาปิ ปฏิชานนฺติ ปาปิกาย ทิฏฺฐิยา อปฺปฏินิสฺสคฺเค อุกฺขิตฺตกาปิ ปฏิชานนฺติ ปณฺฑกาปิ ปฏิชานนฺติ เถยฺยสํวาสกาปิ ปฏิชานนฺติ ติตฺถิยปกฺกนฺตกาปิ ปฏิชานนฺติ ติรจฺฉานคตาปิ ปฏิชานนฺติ มาตุฆาตกาปิ ปฏิชานนฺติ ปิตุฆาตกาปิ ปฏิชานนฺติ อรหนฺตฆาตกาปิ ปฏิชานนฺติ ภิกฺขุนิทูสกาปิ ปฏิชานนฺติ สงฺฆเภทกาปิ ปฏิชานนฺติ โลหิตุปฺปาทกาปิ ปฏิชานนฺติ อุภโตพฺยญฺชนกาปิ ปฏิชานนฺติ. 
katamaṃ ca bhikkhave vaggakammaṃ.  ñattidutiye ce bhikkhave kamme yāvatikā bhikkhū kammappattā te anāgatā honti, chandārahānaṃ chando anāhaṭo hoti, sammukhībhūtā paṭikkosanti, vaggakammaṃ.  ñattidutiye ce bhikkhave kamme yāvatikā bhikkhū kammappattā te āgatā honti, chandārahānaṃ chando anāhaṭo hoti, sammukhībhūtā paṭikkosanti, vaggakammaṃ.  ñattidutiye ce bhikkhave kamme yāvatikā bhikkhū kammappattā te āgatā honti, chandārahānaṃ chando āhaṭo hoti, sammukhībhūtā paṭikkosanti, vaggakammaṃ.  ñatticatutthe ce ... (the same three cases are repeated here) ... vaggakammaṃ.  idaṃ vuccati bhikkhave vaggakammaṃ. |5| 
ภควโต เอตมตฺถํ อาโรเจสุํ.  ๓๗๔. อิธ ปน ภิกฺขเว วสฺสํวุฏฺโฐ ภิกฺขุ อนุปฺปนฺเน จีวเร ปกฺกมติ  สนฺเต ปติรูเป คาหเก ทาตพฺพํ.  อิธ ปน ภิกฺขเว วสฺสํวุฏฺโฐ ภิกฺขุ อนุปฺปนฺเน จีวเร วิพฺภมติ กาลํ กโรติ สามเณโร ปฏิชานาติ สิกฺขํ ปจฺจกฺขาตโก ปฏิชานาติ อนฺติมวตฺถุํ อชฺฌาปนฺนโก ปฏิชานาติ  สงฺโฆ สามี.  อิธ ปน ภิกฺขเว วสฺสํวุฏฺโฐ ภิกฺขุ อนุปฺปนฺเน จีวเร อุมฺมตฺตโก ปฏิชานาติ ขิตฺตจิตฺโต ปฏิชานาติ เวทนาฏฺโฏ ปฏิชานาติ อาปตฺติยา อทสฺสเน อุกฺขิตฺตโก ปฏิชานาติ อาปตฺติยา อปฺปฏิกมฺเม อุกฺขิตฺตโก ปฏิชานาติ ปาปิกาย ทิฏฺฐิยา อปฺปฏินิสฺสคฺเค อุกฺขิตฺตโก ปฏิชานาติ 
katamaṃ ca bhikkhave samaggakammaṃ.  ñattidutiye ce bhikkhave kamme yāvatikā bhikkhū kammappattā te āgatā honti, chandārahānaṃ chando āhaṭo hoti, sammukhībhūtā na paṭikkosanti, samaggakammaṃ.  ñatticatutthe ce ... na paṭikkosanti, samaggakammaṃ.  idaṃ vuccati bhikkhave samaggakammaṃ. |6| 
สนฺเต ปติรูเป คาหเก ทาตพฺพํ.  อิธ ปน ภิกฺขเว วสฺสํวุฏฺโฐ ภิกฺขุ อนุปฺปนฺเน จีวเร ปณฺฑโก ปฏิชานาติ เถยฺยสํวาสโก ปฏิชานาติ ติตฺถิยปกฺกนฺตโก ปฏิชานาติ ติรจฺฉานคโต ปฏิชานาติ มาตุฆาตโก ปฏิชานาติ ปิตุฆาตโก ปฏิชานาติ อรหนฺตฆาตโก ปฏิชานาติ ภิกฺขุนิทูสโก ปฏิชานาติ สงฺฆเภทโก ปฏิชานาติ โลหิตุปฺปาทโก ปฏิชานาติ อุภโตพฺยญฺชนโก ปฏิชานาติ  สงฺโฆ สามี.  ๓๗๕. อิธ ปน ภิกฺขเว วสฺสํวุฏฺโฐ ภิกฺขุ อุปฺปนฺเน จีวเร อภาชิเต ปกฺกมติ 
katamaṃ ca bhikkhave dhammapaṭirūpakena vaggakammaṃ.  ñattidutiye ce bhikkhave kamme paṭhamaṃ kammavācaṃ anussāveti, pacchā ñattiṃ ṭhapeti, yāvatikā bhikkhū kammappattā te anāgatā honti, chandārahānaṃ chando anāhaṭo hoti, sammukhībhūtā paṭikkosanti, dhammapaṭirūpakena vaggakammaṃ.  ñattidutiye ce bhikkhave kamme paṭhamaṃ kammavācaṃ anussāveti, pacchā ñattiṃ ṭhapeti, yāvatikā bhikkhū kammappattā te āgatā honti, chandārahānaṃ chando anāhaṭo hoti, sammukhībhūtā paṭikkosanti, dhammapaṭirūpakena vaggakammaṃ.  ñattidutiye ce bhikkhave kamme paṭhamaṃ kammavācaṃ anussāveti, pacchā ñattiṃ ṭhapeti, yāvatikā bhikkhū kammappattā te āgatā honti, chandārahānaṃ chando āhaṭo hoti, (319) sammukhībhūtā paṭikkosanti, dhammapaṭirūpakena vaggakammaṃ.  ñatticatutthe ce bhikkhave kamme ... (the same three cases are repeated here) ... dhammapaṭirūpakena vaggakammaṃ.  idaṃ vuccati bhikkhave dhammapaṭirūpakena vaggakammaṃ. |7| 
สนฺเต ปติรูเป คาหเก ทาตพฺพํ.  อิธ ปน ภิกฺขเว วสฺสํวุฏฺโฐ ภิกฺขุ อุปฺปนฺเน จีวเร อภาชิเต วิพฺภมติ กาลํ กโรติ สามเณโร ปฏิชานาติ สิกฺขํ ปจฺจกฺขาตโก ปฏิชานาติ อนฺติมวตฺถุํ อชฺฌาปนฺนโก ปฏิชานาติ  สงฺโฆ สามี.  อิธ ปน ภิกฺขเว วสฺสํวุฏฺโฐ ภิกฺขุ อุปฺปนฺเน จีวเร อภาชิเต อุมฺมตฺตโก ปฏิชานาติ. ขิตฺตจิตฺโต ปฏิชานาติ เวทนาฏฺโฏ ปฏิชานาติ อาปตฺติยา อทสฺสเน อุกฺขิตฺตโก ปฏิชานาติ อาปตฺติยา อปฺปฏิกมฺเม อุกฺขิตฺตโก ปฏิชานาติ ปาปิกาย ทิฏฺฐิยา อปฺปฏินิสฺสคฺเค อุกฺขิตฺตโก ปฏิชานาติ  สนฺเต ปติรูเป คาหเก ทาตพฺพํ.  อิธ ปน ภิกฺขเว วสฺสํวุฏฺโฐ ภิกฺขุ อุปฺปนฺเน จีวเร อภาชิเต ปณฺฑโก ปฏิชานาติ เถยฺยสํวาสโก ปฏิชานาติ ติตฺถิยปกฺกนฺตโก ปฏิชานาติ ติรจฺฉานคโต ปฏิชานาติ มาตุฆาตโก ปฏิชานาติ ปิตุฆาตโก ปฏิชานาติ อรหนฺตฆาตโก ปฏิชานาติ ภิกฺขุนิทูสโก ปฏิชานาติ สงฺฆเภทโก ปฏิชานาติ โลหิตุปฺปาทโก ปฏิชานาติ อุภโตพฺยญฺชนโก ปฏิชานาติ 
katamaṃ ca bhikkhave dhammapaṭirūpakena samaggakammaṃ.  ñattidutiye ce bhikkhave kamme paṭhamaṃ kammavācaṃ anussāveti, pacchā ñattiṃ ṭhapeti, yāvatikā bhikkhū kammappattā te āgatā honti, chandārahānaṃ chando āhaṭo hoti, sammukhībhūtā na paṭikkosanti, dhammapaṭirūpakena samaggakammaṃ.  ñatticatutthe ce ... na paṭikkosanti, dhammapaṭirūpakena samaggakammaṃ.  idaṃ vuccati bhikkhave dhammapaṭirūpakena samaggakammaṃ. |8| 
สงฺโฆ สามี. (วสฺสํ วุฏฺฐานํ อนุปฺปนฺนจีวรกถา นิฏฺฐิตา.)  (๒๓๐. สงฺเฆ ภินฺเน จีวรุปฺปาทกถา) ๓๗๖. อิธ ปน ภิกฺขเว วสฺสํวุฏฺฐานํ ภิกฺขูนํ อนุปฺปนฺเน จีวเร สงฺโฆ ภิชฺชติ.  ตตฺถ มนุสฺสา เอกสฺมึ ปกฺเข อุทกํ เทนฺติ เอกสฺมึ ปกฺเข จีวรํ เทนฺติ สงฺฆสฺส เทมาติ.  สงฺฆสฺเสเวตํ. 
katamaṃ ca bhikkhave dhammena samaggakammaṃ.  ñattidutiye ce bhikkhave kamme paṭhamaṃ ñattiṃ ṭhapeti, pacchā ekāya kammavācāya kammaṃ karoti, yāvatikā bhikkhū kammappattā te āgatā honti, chandārahānaṃ chando āhaṭo hoti, sammukhībhūtā na paṭikkosanti, dhammena samaggakammaṃ.  ñatticatutthe ce bhikkhave kamme paṭhamaṃ ñattiṃ ṭhapeti, pacchā tīhi kammavācāhi kammaṃ karoti, yāvatikā bhikkhū kammappattā te āgatā honti, chandārahānaṃ chando āhaṭo hoti, sammukhībhūtā na paṭikkosanti, dhammena samaggakammaṃ.  idaṃ vuccati bh. dh. sam. |9| 
อิธ ปน ภิกฺขเว วสฺสํวุฏฺฐานํ ภิกฺขูนํ อนุปฺปนฺเน จีวเร สงฺโฆ ภิชฺชติ.  ตตฺถ มนุสฺสา เอกสฺมึ ปกฺเข อุทกํ เทนฺติ ตสฺมึเยว ปกฺเข จีวรํ เทนฺติ สงฺฆสฺส เทมาติ.  สงฺฆสฺเสเวตํ.  อิธ ปน ภิกฺขเว วสฺสํวุฏฺฐานํ ภิกฺขูนํ อนุปฺปนฺเน จีวเร สงฺโฆ ภิชฺชติ. 
||3|| 
ตตฺถ มนุสฺสา เอกสฺมึ ปกฺเข อุทกํ เทนฺติ เอกสฺมึ ปกฺเข จีวรํ เทนฺติ ปกฺขสฺส เทมาติ. 
pañca saṃghā: catuvaggo bhikkhusaṃgho, pañcavaggo bhikkhusaṃgho, dasavaggo bhikkhusaṃgho, vīsativaggo bhikkhusaṃgho, atirekavīsativaggo bhikkhusaṃgho.  tatra bhikkhave yv’ āyaṃ catuvaggo bhikkhusaṃgho, ṭhapetvā tīṇi kammāni upasampadaṃ pavāraṇaṃ abbhānaṃ dhammena samaggo sabbakammesu kammappatto.  tatra bhikkhave yv’ āyaṃ pañcavaggo bhikkhusaṃgho, ṭhapetvā dve kammāni majjhimesu janapadesu upasampadaṃ abbhānaṃ dhammena samaggo sabbakammesu kammappatto.  tatra bhikkhave yv’ āyaṃ dasavaggo bhikkhusaṃgho, ṭhapetvā ekaṃ kammaṃ abbhānaṃ dhammena samaggo sabbakammesu kammappatto.  tatra bhikkhave yv’ āyaṃ vīsativaggo bhikkhusaṃgho, dhammena samaggo sabbakammesu kammappatto.  tatra bhikkhave yv’ āyaṃ atirekavīsativaggo (320) bhikkhusaṃgho, dhammena samaggo sabbakammesu kammappatto. |1| 
ปกฺขสฺเสเวตํ.  อิธ ปน ภิกฺขเว วสฺสํวุฏฺฐานํ ภิกฺขูนํ อนุปฺปนฺเน จีวเร สงฺโฆ ภิชฺชติ.  ตตฺถ มนุสฺสา เอกสฺมึ ปกฺเข อุทกํ เทนฺติ ตสฺมึเยว ปกฺเข จีวรํ เทนฺติ ปกฺขสฺส เทมาติ.  ปกฺขสฺเสเวตํ.  อิธ ปน ภิกฺขเว วสฺสํวุฏฺฐานํ ภิกฺขูนํ อุปฺปนฺเน จีวเร อภาชิเต สงฺโฆ ภิชฺชติ.  สพฺเพสํ สมกํ ภาเชตพฺพนฺติ. (สงฺเฆ ภินฺเน จีวรุปฺปาทกถา นิฏฺฐิตา.) 
catuvaggakaraṇaṃ ce bhikkhave kammaṃ bhikkhunīcatuttho kammaṃ kareyya, akammaṃ na ca karaṇīyaṃ.  catuvaggakaraṇaṃ ce bhikkhave kammaṃ sikkhamānācatuttho . . . sāmaṇeracatuttho . . . sāmaṇerīcatuttho . . . sikkhaṃ paccakkhātakacatuttho . . . antimavatthuṃ ajjhāpannakacatuttho . . . āpattiyā adassane ukkhittakacatuttho . . . āpattiyā appaṭikamme ukkhittakacatuttho . . . pāpikāya diṭṭhiyā appaṭinissagge ukkhittakacatuttho . . . paṇḍakacatuttho . . . theyyasaṃvāsakacatuttho . . . titthiyapakkantakacatuttho . . . tiracchānagatacatuttho . . . mātughātakacatuttho . . . pitughātakacatuttho . . . arahantaghātakacatuttho . . . bhikkhunīdūsakacatuttho . . . saṃghabhedakacatuttho . . . lohituppādakacatuttho . . . ubhatovyañjanakacatuttho . . . nānāsaṃvāsakacatuttho . . . nānāsīmāya ṭhitacatuttho . . . iddhiyā vehāse ṭhitacatuttho . . . yassa saṃgho kammaṃ karoti taṃcatuttho kammaṃ kareyya, akammaṃ na ca karaṇīyam. |2| 
   
catuvaggakaraṇaṃ.  pañcavaggakaraṇaṃ ce bhikkhave kammaṃ bhikkhunīpañcamo kammaṃ kareyya, akammaṃ na ca karaṇīyaṃ . . . yassa saṃgho kammaṃ karoti taṃpañcamo kammaṃ kareyya, akammaṃ na ca karaṇīyaṃ. |3| 
(๒๓๑. ทุคฺคหิตสุคฺคหิตาทิกถา) ๓๗๗. เตน โข ปน สมเยน อายสฺมา เรวโต อญฺญตรสฺส ภิกฺขุโน หตฺเถ อายสฺมโต สาริปุตฺตสฺส จีวรํ ปาเหสิ “อิมํ จีวรํ เถรสฺส เทหี”ติ.  อถ โข โส ภิกฺขุ อนฺตรามคฺเค อายสฺมโต เรวตสฺส วิสฺสาสา ตํ จีวรํ อคฺคเหสิ. 
pañcavaggakaraṇaṃ.  dasavaggakaraṇaṃ ce bhikkhave kammaṃ bhikkhunīdasamo kammaṃ kareyya, akammaṃ na ca karaṇīyaṃ . . . yassa saṃgho kammaṃ karoti taṃdasamo kammaṃ kareyya, akammaṃ na ca karaṇīyaṃ. |4| 
อถ โข อายสฺมา เรวโต อายสฺมตา สาริปุตฺเตน สมาคนฺตฺวา ปุจฺฉิ “อหํ ภนฺเต เถรสฺส จีวรํ ปาเหสึ. สมฺปตฺตํ ตํ จีวร”นฺติ?  “นาหํ ตํ อาวุโส จีวรํ ปสฺสามี”ติ. 
dasavaggakaraṇaṃ.  vīsativaggakaraṇaṃ ce bhikkhave kammaṃ bhikkhunīvīso kammaṃ kareyya, akammaṃ na ca karaṇīyaṃ . . . yassa saṃgho kammaṃ karoti taṃvīso kammaṃ kareyya, akammaṃ na ca karaṇīyaṃ. |5| 
อถ โข อายสฺมา เรวโต ตํ ภิกฺขุํ เอตทโวจ “อหํ อาวุโส อายสฺมโต หตฺเถ เถรสฺส จีวรํ ปาเหสึ.  กหํ ตํ จีวร”นฺติ? “อหํ ภนฺเต อายสฺมโต วิสฺสาสา ตํ จีวรํ อคฺคเหสิ”นฺติ. 
vīsativaggakaraṇaṃ.  pārivāsikacatuttho ce bhikkhave parivāsaṃ dadeyya mūlāya {paṭikasseyya} mānattaṃ dadeyya, taṃvīso abbheyya, akammaṃ na ca karaṇīyaṃ.  mūlāya paṭikassanārahacatuttho ce bhikkhave parivāsaṃ dadeyya mūlāya paṭikasseyya mānattaṃ dadeyya, taṃvīso abbheyya, akammaṃ na ca karaṇīyaṃ.  mānattārahacatuttho ce bhikkhave parivāsaṃ dadeyya mūlāya paṭikasseyya mānattaṃ dadeyya, taṃvīso (321) abbheyya, akammaṃ na ca karaṇīyaṃ.  mānattacārikacatuttho ce bhikkhave parivāsaṃ dadeyya mūlāya paṭikasseyya mānattaṃ dadeyya, taṃvīso abbheyya, akammaṃ na ca karaṇīyaṃ.  abbhānārahacatuttho ce bhikkhave parivāsaṃ dadeyya mūlāya paṭikasseyya mānattaṃ dadeyya, taṃvīso abbheyya, akammaṃ na ca karaṇīyaṃ. |6| 
ภควโต เอตมตฺถํ อาโรเจสุํ.  ๓๗๘. อิธ ปน ภิกฺขเว ภิกฺขุ ภิกฺขุสฺส หตฺเถ จีวรํ ปหิณติ “อิมํ จีวรํ อิตฺถนฺนามสฺส เทหี”ติ.  โส อนฺตรามคฺเค โย ปหิณติ ตสฺส วิสฺสาสา คณฺหาติ. สุคฺคหิตํ.  ยสฺส ปหิยฺยติ ตสฺส วิสฺสาสา คณฺหาติ. ทุคฺคหิตํ.  อิธ ปน ภิกฺขเว ภิกฺขุ ภิกฺขุสฺส หตฺเถ จีวรํ ปหิณติ “อิมํ จีวรํ อิตฺถนฺนามสฺส เทหี”ติ.  โส อนฺตรามคฺเค ยสฺส ปหิยฺยติ ตสฺส วิสฺสาสา คณฺหาติ. ทุคฺคหิตํ. 
ekaccassa bhikkhave saṃghamajjhe paṭikkosanā rūhati, ekaccassa na rūhati.  kassa ca bhikkhave saṃghamajjhe paṭikkosanā na rūhati.  bhikkhuniyā bhikkhave saṃghamajjhe paṭikkosanā na rūhati, sikkhamānāya bhikkhave --la-- sāmaṇerassa bh., sāmaṇeriyā bh., sikkhaṃ paccakkhātakassa bh., antimavatthuṃ ajjhāpannakassa bh., ummattakassa bh., khittacittassa bh., vedanaṭṭassa bh., āpattiyā adassane ukkhittakassa bh., āpattiyā appaṭikamme ukkhittakassa bh., pāpikāya diṭṭhiyā appaṭinissagge ukkhittakassa bh., paṇḍakassa bh., theyyasaṃvāsakassa bh., titthiyapakkantakassa bh., tiracchānagatassa bh., mātughātakassa bh., pitughātakassa bh., arahantaghātakassa bh., bhikkhunīdūsakassa bh., saṃghabhedakassa bh., lohituppādakassa bh., ubhatovyañjanakassa bh., nānāsaṃvāsakassa bh., nānāsīmāya ṭhitassa bh., iddhiyā vehāse ṭhitassa bh., yassa saṃgho kammaṃ karoti tassa bhikkhave saṃghamajjhe paṭikkosanā na rūhati.  imesaṃ kho bhikkhave saṃghamajjhe paṭikkosanā na rūhati. |7| 
โย ปหิณติ ตสฺส วิสฺสาสา คณฺหาติ. สุคฺคหิตํ.  อิธ ปน ภิกฺขเว ภิกฺขุ ภิกฺขุสฺส หตฺเถ จีวรํ ปหิณติ “อิมํ จีวรํ อิตฺถนฺนามสฺส เทหี”ติ.  โส อนฺตรามคฺเค สุณาติ โย ปหิณติ โส กาลงฺกโตติ.  ตสฺส มตกจีวรํ อธิฏฺฐาติ. สฺวาธิฏฺฐิตํ. 
kassa ca bhikkhave saṃghamajjhe paṭikkosanā rūhati.  bhikkhussa bhikkhave pakatattassa samānasaṃvāsakassa samānasīmāya ṭhitassa antamaso ānantarikassāpi bhikkhuno viññāpentassa saṃghamajjhe paṭikkosanā rūhati.  imassa kho bhikkhave saṃghamajjhe paṭikkosanā rūhati. |8| 
ยสฺส ปหิยฺยติ ตสฺส วิสฺสาสา คณฺหาติ. ทุคฺคหิตํ.  อิธ ปน ภิกฺขเว ภิกฺขุ ภิกฺขุสฺส หตฺเถ จีวรํ ปหิณติ “อิมํ จีวรํ อิตฺถนฺนามสฺส เทหี”ติ.  โส อนฺตรามคฺเค สุณาติ ยสฺส ปหิยฺยติ โส กาลงฺกโตติ. 
dve ’mā bhikkhave nissāraṇā.  atthi bhikkhave puggalo appatto nissāraṇaṃ, taṃ ce saṃgho nissāreti ekacco sunissārito ekacco dunnissārito.  katamo ca bhikkhave puggalo appatto nissāraṇaṃ taṃ ce saṃgho nissāreti dunnissārito.  idha pana bhikkhave bhikkhu suddho hoti anāpattiko, taṃ ce saṃgho nissāreti dunnissārito.  ayaṃ vuccati bhikkhave puggalo appatto nissāraṇaṃ taṃ ce saṃgho nissāreti dunnissārito.  katamo ca bhikkhave puggalo appatto nissāraṇaṃ taṃ ce saṃgho nissāreti sunissārito.  idha pana bhikkhave bhikkhu bālo hoti avyatto āpattibahulo anapadāno gihi (322) saṃsaṭṭho viharati ananulomikehi gihisaṃsaggehi, taṃ ce saṃgho nissāreti sunissārito.  ayaṃ vuccati bhikkhave puggalo appatto nissāraṇaṃ taṃ ce saṃgho nissāreti sunissārito. |9| 
ตสฺส มตกจีวรํ อธิฏฺฐาติ. ทฺวาธิฏฺฐิตํ.  โย ปหิณติ ตสฺส วิสฺสาสา คณฺหาติ. สุคฺคหิตํ.  อิธ ปน ภิกฺขเว ภิกฺขุ ภิกฺขุสฺส หตฺเถ จีวรํ ปหิณติ “อิมํ จีวรํ อิตฺถนฺนามสฺส เทหี”ติ.  โส อนฺตรามคฺเค สุณาติ อุโภ กาลงฺกตาติ.  โย ปหิณติ ตสฺส มตกจีวรํ อธิฏฺฐาติ. สฺวาธิฏฺฐิตํ.  ยสฺส ปหิยฺยติ ตสฺส มตกจีวรํ อธิฏฺฐาติ. ทฺวาธิฏฺฐิตํ.  อิธ ปน ภิกฺขเว ภิกฺขุ ภิกฺขุสฺส หตฺเถ จีวรํ ปหิณติ “อิมํ จีวรํ อิตฺถนฺนามสฺส ทมฺมี”ติ.  โส อนฺตรามคฺเค โย ปหิณติ ตสฺส วิสฺสาสา คณฺหาติ. ทุคฺคหิตํ. 
dve ’mā bhikkhave osāraṇā.  atthi bhikkhave puggalo appatto osāraṇaṃ, taṃ ce saṃgho osāreti ekacco sosārito ekacco dosārito.  katamo ca bhikkhave puggalo appatto osāraṇaṃ taṃ ce saṃgho osāreti dosārito.  paṇḍako bhikkhave appatto osāraṇaṃ taṃ ce saṃgho osāreti dosārito.  theyyasaṃvāsako bhikkhave ... titthiyapakkantako bhikkhave, tiracchānagato bh., mātughātako bh., pitughātako bh., arahantaghātako bh., bhikkhunīdūsako bh., saṃghabhedako bh., lohituppādako bh., ubhatovyañjanako bhikkhave appatto osāraṇaṃ taṃ ce saṃgho osāreti dosārito.  ayaṃ vuccati bhikkhave puggalo appatto osāraṇaṃ taṃ ce saṃgho osāreti dosārito.  ime vuccanti bhikkhave puggalā appattā osāraṇaṃ taṃ ce saṃgho osāreti dosāritā. |10| 
ยสฺส ปหิยฺยติ ตสฺส วิสฺสาสา คณฺหาติ. สุคฺคหิตํ.  อิธ ปน ภิกฺขเว ภิกฺขุ ภิกฺขุสฺส หตฺเถ จีวรํ ปหิณติ “อิมํ จีวรํ อิตฺถนฺนามสฺส ทมฺมี”ติ.  โส อนฺตรามคฺเค ยสฺส ปหิยฺยติ ตสฺส วิสฺสาสา คณฺหาติ. สุคฺคหิตํ.  โย ปหิณติ ตสฺส วิสฺสาสา คณฺหาติ. ทุคฺคหิตํ.  อิธ ปน ภิกฺขเว ภิกฺขุ ภิกฺขุสฺส หตฺเถ จีวรํ ปหิณติ “อิมํ จีวรํ อิตฺถนฺนามสฺส ทมฺมี”ติ.  โส อนฺตรามคฺเค สุณาติ “โย ปหิณติ โส กาลงฺกโต”ติ.  ตสฺส มตกจีวรํ อธิฏฺฐาติ. ทฺวาธิฏฺฐิตํ. 
katamo ca bhikkhave puggalo appatto osāraṇaṃ taṃ ce saṃgho osāreti sosārito.  hatthacchinno bhikkhave appatto osāraṇaṃ taṃ ce saṃgho osāreti sosārito.  pādacchinno bhikkhave, hatthapādacchinno bh., kaṇṇacchinno bh., nāsacchinno bh., kaṇṇanāsacchinno bh., aṅgulicchinno bh., aḷacchinno bh., kaṇḍaracchinno bh., phaṇahatthako bh., khujjo bh., vāmano bh., galagaṇḍi bh., lakkhaṇāhato bh., kasāhato bh., likhitako bh., sīpadiko bh., pāparogī bh., parisadūsako bh., kāṇo bh., kuṇi bh., khañjo bh., pakkhahato bh., chinniriyāpatho bh., jarādubbalo bh., andho bh., mūgo bh., badhiro bh., andhamūgo bh., andhabadhiro bh., mūgabadhiro bh., andhamūgabadhiro bhikkhave appatto osāraṇaṃ taṃ ce saṃgho osāreti sosārito.  ayaṃ vuccati bhikkhave puggalo appatto osāraṇaṃ taṃ ce saṃgho osāreti sosārito.  ime vuccanti bhikkhave puggalā appattā osāraṇaṃ taṃ ce saṃgho osāreti sosāritā. |11| 
ยสฺส ปหิยฺยติ ตสฺส วิสฺสาสา คณฺหาติ. สุคฺคหิตํ.  อิธ ปน ภิกฺขเว ภิกฺขุ ภิกฺขุสฺส หตฺเถ จีวรํ ปหิณติ “อิมํ จีวรํ อิตฺถนฺนามสฺส ทมฺมี”ติ.  โส อนฺตรามคฺเค สุณาติ “ยสฺส ปหิยฺยติ โส กาลงฺกโต”ติ.  ตสฺส มตกจีวรํ อธิฏฺฐาติ. สฺวาธิฏฺฐิตํ.  โย ปหิณติ ตสฺส วิสฺสาสา คณฺหาติ. ทุคฺคหิตํ. 
||4|| 
อิธ ปน ภิกฺขเว ภิกฺขุ ภิกฺขุสฺส หตฺเถ จีวรํ ปหิณติ “อิมํ จีวรํ อิตฺถนฺนามสฺส ทมฺมี”ติ. 
Vāsabhagāmabhāṇavāraṃ paṭhamaṃ. 
โส อนฺตรามคฺเค สุณาติ “อุโภ กาลงฺกตา”ติ. 
idha pana bhikkhave bhikkhussa na hoti āpatti daṭṭhabbā.  tam enaṃ codeti saṃgho vā sambahulā vā ekapuggalo vā: āpattiṃ tvaṃ āvuso āpanno, passas’ etaṃ āpattin ti.  so evaṃ vadeti: n’ atthi me āvuso āpatti yam ahaṃ passeyyan ti.  (323) taṃ saṃgho āpattiyā adassane ukkhipati, adhammakammaṃ.  idha pana bhikkhave bhikkhussa na hoti āpatti paṭikātabbā.  tam enaṃ codeti saṃgho vā sambahulā vā ekapuggalo vā: āpattiṃ tvaṃ āvuso āpanno, paṭikarohi taṃ āpattin ti.  so evaṃ vadeti: n’ atthi me āvuso āpatti yam ahaṃ paṭikareyyan ti.  taṃ saṃgho āpattiyā appaṭikamme ukkhipati, adhammakammaṃ.  idha pana bhikkhave bhikkhussa na hoti pāpikā diṭṭhi paṭinissajjetā.  tam enaṃ codeti saṃgho vā sambahulā vā ekapuggalo vā: pāpikā te āvuso diṭṭhi, paṭinissajj’ etaṃ pāpikaṃ diṭṭhin ti.  so evaṃ vadeti: n’ atthi me āvuso pāpikā diṭṭhi yam ahaṃ paṭinissajjeyyan ti.  taṃ saṃgho pāpikāya diṭṭhiyā appaṭinissagge ukkhipati, adhammakammaṃ. |1| 
โย ปหิณติ ตสฺส มตกจีวรํ อธิฏฺฐาติ. ทฺวาธิฏฺฐิตํ.  ยสฺส ปหิยฺยติ ตสฺส มตกจีวรํ อธิฏฺฐาติ. สฺวาธิฏฺฐิตํ. (ทุคฺคหิตสุคฺคหิตาทิกถา นิฏฺฐิตา.)      (๒๓๒. อฏฺฐจีวรมาติกา) ๓๗๙. อฏฺฐิมา ภิกฺขเว มาติกา จีวรสฺส อุปฺปาทาย สีมาย เทติ กติกาย เทติ ภิกฺขาปญฺญตฺติยา เทติ สงฺฆสฺส เทติ อุภโตสงฺฆสฺส เทติ วสฺสํวุฏฺฐสงฺฆสฺส เทติ อาทิสฺส เทติ ปุคฺคลสฺส เทติ.  สีมาย เทติ ยาวติกา ภิกฺขู อนฺโตสีมคตา เตหิ ภาเชตพฺพํ.  กติกาย เทติ สมฺพหุลา อาวาสา สมานลาภา โหนฺติ เอกสฺมึ อาวาเส ทินฺเน สพฺพตฺถ ทินฺนํ โหติ.  ภิกฺขาปญฺญตฺติยา เทติ ยตฺถ สงฺฆสฺส ธุวการา กริยฺยนฺติ ตตฺถ เทติ.  สงฺฆสฺส เทติ สมฺมุขีภูเตน สงฺเฆน ภาเชตพฺพํ.  อุภโตสงฺฆสฺส เทติ พหุกาปิ ภิกฺขู โหนฺติ เอกา ภิกฺขุนี โหติ อุปฑฺฒํ ทาตพฺพํ  พหุกาปิ ภิกฺขุนิโย โหนฺติ เอโก ภิกฺขุ โหติ อุปฑฺฒํ ทาตพฺพํ.  วสฺสํวุฏฺฐสงฺฆสฺส เทติ ยาวติกา ภิกฺขู ตสฺมึ อาวาเส วสฺสํวุฏฺฐา เตหิ ภาเชตพฺพํ. 
idha pana bhikkhave bhikkhussa na hoti āpatti daṭṭhabbā na hoti āpatti paṭikātabbā.  tam enaṃ codeti saṃgho vā sambahulā vā ekapuggalo vā: āpattiṃ tvaṃ āvuso āpanno, passas’ etaṃ āpattiṃ, paṭikarohi taṃ āpattin ti.  so evaṃ vadeti: n’ atthi me āvuso āpatti yam ahaṃ passeyyaṃ, n’ atthi me āvuso āpatti yam ahaṃ paṭikareyyan ti.  taṃ saṃgho adassane vā appaṭikamme vā ukkhipati, adhammakammaṃ. |2| 
อาทิสฺส เทติ ยาคุยา วา ภตฺเต วา ขาทนีเย วา จีวเร วา เสนาสเน วา เภสชฺเช วา  ปุคฺคลสฺส เทติ “อิมํ จีวรํ อิตฺถนฺนามสฺส ทมฺมี”ติ. ( อฏฺฐจีวรมาติกา นิฏฺฐิตา.)     
idha pana bhikkhave bhikkhussa na hoti āpatti daṭṭhabbā na hoti pāpikā diṭṭhi paṭinissajjetā.  tam enaṃ codeti saṃgho vā sambahulā vā ekapuggalo vā: āpattiṃ tvaṃ āvuso āpanno, passas’ etaṃ āpattiṃ, pāpikā te diṭṭhi, paṭinissajj’ etaṃ pāpikaṃ diṭṭhin ti.  so evaṃ vadeti: n’ atthi me āvuso āpatti yam ahaṃ passeyyaṃ, n’ atthi me pāpikā diṭṭhi yam ahaṃ paṭinissajjeyyan ti.  taṃ saṃgho adassane vā appaṭinissagge vā ukkhipati, adhammakammaṃ. |3| 
จีวรกฺขนฺธโก อฏฺฐโม.  ๒๓๓. ตสฺสุทฺทานํ  ราชคหโก เนคโม ทิสฺวา เวสาลิยํ คณึ. ปุน ราชคหํ คนฺตฺวา รญฺโญ ตํ ปฏิเวทยิฯ  ปุตฺโต สาลวติกาย อภยสฺส หิ อตฺรโช. ชีวตีติ กุมาเรน สงฺขาโต ชีวโก อิติฯ 
idha pana bhikkhave bhikkhussa na hoti āpatti paṭikātabbā na hoti pāpikā diṭṭhi paṭinissajjetā.  tam enaṃ codeti saṃgho vā sambahulā vā ekapuggalo vā: āpattiṃ tvaṃ āvuso āpanno, paṭikaroh’ etaṃ āpattiṃ, pāpikā te diṭṭhi, paṭinissajj’ etaṃ pāpikaṃ diṭṭhin ti.  so evaṃ vadeti: n’ atthi me āvuso āpatti yam ahaṃ paṭikareyyaṃ, n’ atthi me pāpikā diṭṭhi yam ahaṃ paṭinissajjeyyan ti.  taṃ saṃgho appaṭikamme vā appaṭinissagge vā ukkhipati, adhammakammaṃ. |4| 
โส หิ ตกฺกสีลํ คนฺตฺวา อุคฺคเหตฺวา มหาภิโส. สตฺตวสฺสิกอาพาธํ นตฺถุกมฺเมน นาสยิฯ  รญฺโญ ภคนฺทลาพาธํ อาเลเปน อปากฑฺฒิ. มมญฺจ อิตฺถาคารญฺจ พุทฺธสงฺฆํ จุปฏฺฐหิฯ  ราชคหโก จ เสฏฺฐิ อนฺตคณฺฐิ ติกิจฺฉิตํ. ปชฺโชตสฺส มหาโรคํ ฆตปาเนน นาสยิฯ  อธิการญฺจ สิเวยฺยํ อภิสนฺนํ สิเนหติ. ตีหิ อุปฺปลหตฺเถหิ สมตฺตึสวิเรจนํฯ 
idha pana bhikkhave bhikkhussa na hoti āpatti daṭṭhabbā na hoti āpatti paṭikātabbā na hoti pāpikā diṭṭhi paṭinissajjetā.  tam enaṃ codeti saṃgho vā sambahulā (324) vā ekapuggalo vā: āpattiṃ tvaṃ āvuso āpanno, passas’ etaṃ āpattiṃ, paṭikarohi taṃ āpattiṃ, pāpikā te diṭṭhi, paṭinissajj’ etaṃ pāpikaṃ diṭṭhin ti.  so evaṃ vadeti: n’ atthi me āvuso āpatti yam ahaṃ passeyyaṃ, n’ atthi me āvuso āpatti yam ahaṃ paṭikareyyaṃ, n’ atthi me pāpikā diṭṭhi yam ahaṃ paṭinissajjeyyan ti.  tam saṃgho adassane vā appaṭikamme vā appaṭinissagge vā ukkhipati, adhammakammaṃ. |5| 
ปกตตฺตํ วรํ ยาจิ สิเวยฺยญฺจ ปฏิคฺคหิ. จีวรญฺจ คิหิทานํ อนุญฺญาสิ ตถาคโตฯ  ราชคเห ชนปเท พหุํ อุปฺปชฺชิ จีวรํ. ปาวาโร โกสิยญฺเจว โกชโว อฑฺฒกาสิกํฯ  อุจฺจาวจา จ สนฺตุฏฺฐิ นาคเมสาคเมสุํ จ. ปฐมํ ปจฺฉา สทิสา กติกา จ ปฏิหรุํฯ  ภณฺฑาคารํ อคุตฺตญฺจ วุฏฺฐาเปนฺติ ตเถว จ. อุสฺสนฺนํ โกลาหลญฺจ กถํ ภาเช กถํ ทเทฯ 
idha pana bhikkhave bhikkhussa hoti āpatti daṭṭhabbā.  tam enaṃ codeti saṃgho vā sambahulā vā ekapuggalo vā: āpattiṃ tvaṃ āvuso āpanno, passas’ etaṃ āpattin ti.  so evaṃ vadeti: āmāvuso passāmīti.  taṃ saṃgho āpattiyā adassane ukkhipati, adhammakammaṃ.  idha pana bhikkhave bhikkhussa hoti āpatti paṭikātabbā.  tam enaṃ codeti saṃgho vā sambahulā vā ekapuggalo vā: āpattiṃ tvaṃ āvuso āpanno, paṭikarohi taṃ āpattin ti.  so evaṃ vadeti: āmāvuso paṭikarissāmīti.  taṃ saṃgho āpattiyā appaṭikamme ukkhipati, adhammakammaṃ.  idha pana bhikkhave bhikkhussa hoti pāpikā diṭṭhi paṭinissajjetā.  tam enaṃ codeti saṃgho vā sambahulā vā ekapuggalo vā: pāpikā te āvuso diṭṭhi, paṭinissajj’ etaṃ pāpikaṃ diṭṭhin ti.  so evaṃ vadeti: āmāvuso paṭinissajjissāmīti.  taṃ saṃgho pāpikāya diṭṭhiyā appaṭinissagge ukkhipati, adhammakammaṃ. |6| 
สกาติเรกภาเคน ปฏิวีโส กถํ ทเท. ฉกเณน สีตุทกา อุตฺตริตุ น ชานเรฯ  อาโรเปนฺตา ภาชนญฺจ ปาติยา จ ฉมาย จ. อุปจิกามชฺเฌ ชีรนฺติ เอกโต ปตฺถินฺเนน จฯ  ผรุสาจฺฉินฺนจฺฉิพนฺธา อทฺทสาสิ อุพฺภณฺฑิเต. วีมํสิตฺวา สกฺยมุนิ อนุญฺญาสิ ติจีวรํฯ  อญฺเญน อติเรเกน อุปฺปชฺชิ ฉิทฺทเมว จ. จาตุทฺทีโป วรํ ยาจิ ทาตุํ วสฺสิกสาฏิกํฯ  อาคนฺตุคมิคิลานํ อุปฏฺฐากญฺจ เภสชฺชํ. ธุวํ อุทกสาฏิญฺจ ปณีตํ อติขุทฺทกํฯ  ถุลฺลกจฺฉุมุขํ โขมํ ปริปุณฺณํ อธิฏฺฐานํ. ปจฺฉิมํ กโต ครุโก วิกณฺโณ สุตฺตโมกิริฯ  ลุชฺชนฺติ นปฺปโหนฺติ จ อนฺวาธิกํ พหูนิ จ. อนฺธวเน อสฺสติยา เอโก วสฺสํ อุตุมฺหิ จฯ  ทฺเว ภาตุกา ราชคเห อุปนนฺโท ปุน ทฺวิสุ. กุจฺฉิวิกาโร คิลาโน อุโภ เจว คิลานกา ฯ  นคฺคา กุสา วากจีรํ ผลโก เกสกมฺพลํ. วาฬอุลูกปกฺขญฺจ อชินํ อกฺกนาฬกํฯ  โปตฺถกํ นีลปีตญฺจ โลหิตํ มญฺชิฏฺเฐน จ. กณฺหา มหารงฺคนาม อจฺฉินฺนทสิกา ตถาฯ  ทีฆปุปฺผผณทสา กญฺจุติรีฏเวฐนํ. อนุปฺปนฺเน ปกฺกมติ สงฺโฆ ภิชฺชติ ตาวเทฯ  ปกฺเข ททนฺติ สงฺฆสฺส อายสฺมา เรวโต ปหิ. วิสฺสาสคาหาธิฏฺฐาติ อฏฺฐ จีวรมาติกาติฯ 
idha pana bhikkhave bhikkhussa hoti āpatti daṭṭhabbā hoti āpatti paṭikātabbā --la-- hoti āpatti daṭṭhabbā hoti pāpikā diṭṭhi paṭinissajjetā, hoti āpatti paṭikātabbā hoti pāpikā diṭṭhi paṭinissajjetā, hoti āpatti daṭṭhabbā hoti āpatti paṭikātabbā hoti pāpikā diṭṭhi paṭinissajjetā.  tam enaṃ codeti saṃgho vā sambahulā vā ekapuggalo vā: āpattiṃ tvaṃ āvuso āpanno, passas’ etaṃ āpattiṃ, paṭikarohi taṃ āpattiṃ, pāpikā te diṭṭhi, paṭinissajj’ etaṃ pāpikaṃ diṭṭhin ti.  so evaṃ vadeti: āmāvuso passāmi, āma paṭikarissāmi, āma paṭinissajjissāmīti.  taṃ saṃgho adassane vā appaṭikamme vā appaṭinissagge vā ukkhipati, adhammakammaṃ. |7| 
(อิมมฺหิ ขนฺธเก วตฺถู ฉนฺนวุติ.) (จีวรกฺขนฺธโก นิฏฺฐิโต.)  (๙. จมฺเปยฺยกฺขนฺธโก ๒๓๔. กสฺสปโคตฺตภิกฺขุวตฺถุ) ๓๘๐. เตน สมเยน พุทฺโธ ภควา จมฺปายํ วิหรติ คคฺคราย โปกฺขรณิยา ตีเร.  เตน โข ปน สมเยน กาสีสุ ชนปเท วาสภคาโม นาม โหติ. ตตฺถ กสฺสปโคตฺโต นาม ภิกฺขุ อาวาสิโก โหติ ตนฺติพทฺโธ อุสฺสุกฺกํ อาปนฺโน กินฺติ อนาคตา จ เปสลา ภิกฺขู อาคจฺเฉยฺยุํ อาคตา จ เปสลา ภิกฺขู ผาสุ วิหเรยฺยุํ อยญฺจ อาวาโส วุทฺธึ วิรุฬฺหึ เวปุลฺลํ อาปชฺเชยฺยาติ.  เตน โข ปน สมเยน สมฺพหุลา ภิกฺขู กาสีสุ จาริกํ จรมานา เยน วาสภคาโม ตทวสรุํ. 
idha pana bhikkhave bhikkhussa hoti āpatti daṭṭhabbā.  tam enaṃ codeti saṃgho vā sambahulā vā ekapuggalo vā: āpattiṃ tvaṃ āvuso āpanno, passas’ etaṃ āpattin ti.  so evaṃ vadeti: n’ atthi me āvuso āpatti yam ahaṃ passeyyan ti.  (325) taṃ saṃgho adassane ukkhipati, dhammakammaṃ.  idha pana bhikkhave bhikkhussa hoti āpatti paṭikātabbā.  tam enaṃ codeti saṃgho vā sambahulā vā ekapuggalo vā: āpattiṃ tvaṃ āvuso āpanno, paṭikarohi taṃ āpattin ti.  so evaṃ vadeti: n’ atthi me āvuso āpatti yam ahaṃ paṭikareyyan ti.  taṃ saṃgho appaṭikamme ukkhipati, dhammakammaṃ.  idha pana bhikkhave bhikkhussa hoti pāpikā diṭṭhi paṭinissajjetā.  tam enaṃ codeti saṃgho vā sambahulā vā ekapuggalo vā: pāpikā te āvuso diṭṭhi, paṭinissajj’ etaṃ pāpikaṃ diṭṭhin ti.  so evaṃ vadeti: n’ atthi me āvuso pāpikā diṭṭhi yam ahaṃ paṭinissajjeyyan ti.  taṃ saṃgho pāpikāya diṭṭhiyā appaṭinissagge ukkhipati, dhammakammaṃ. |8| 
อทฺทสา โข กสฺสปโคตฺโต ภิกฺขุ เต ภิกฺขู ทูรโตว อาคจฺฉนฺเต ทิสฺวาน อาสนํ ปญฺญเปสิ ปาโททกํ ปาทปีฐํ ปาทกถลิกํ อุปนิกฺขิปิ ปจฺจุคฺคนฺตฺวา ปตฺตจีวรํ ปฏิคฺคเหสิ ปานีเยน อาปุจฺฉิ นหาเน อุสฺสุกฺกํ อกาสิ อุสฺสุกฺกมฺปิ อกาสิ ยาคุยา ขาทนีเย ภตฺตสฺมึ.  อถ โข เตสํ อาคนฺตุกานํ ภิกฺขูนํ เอตทโหสิ “ภทฺทโก โข อยํ อาวุโส อาวาสิโก ภิกฺขุ นหาเน อุสฺสุกฺกํ กโรติ อุสฺสุกฺกมฺปิ กโรติ ยาคุยา ขาทนีเย ภตฺตสฺมึ. หนฺท มยํ อาวุโส อิเธว วาสภคาเม นิวาสํ กปฺเปมา”ติ.  อถ โข เต อาคนฺตุกา ภิกฺขู ตตฺเถว วาสภคาเม นิวาสํ กปฺเปสุํ.  อถ โข กสฺสปโคตฺตสฺส ภิกฺขุโน เอตทโหสิ “โย โข อิเมสํ อาคนฺตุกานํ ภิกฺขูนํ อาคนฺตุกกิลมโถ โส ปฏิปฺปสฺสทฺโธ. เยปิเม โคจเร อปฺปกตญฺญุโน เตทานิเม โคจเร ปกตญฺญุโน.  ทุกฺกรํ โข ปน ปรกุเลสุ ยาวชีวํ อุสฺสุกฺกํ กาตุํ วิญฺญตฺติ จ มนุสฺสานํ อมนาปา.  ยํนูนาหํ น อุสฺสุกฺกํ กเรยฺยํ ยาคุยา ขาทนีเย ภตฺตสฺมิ”นฺติ.  โส น อุสฺสุกฺกํ อกาสิ ยาคุยา ขาทนีเย ภตฺตสฺมึ.  อถ โข เตสํ อาคนฺตุกานํ ภิกฺขูนํ เอตทโหสิ “ปุพฺเพ ขฺวายํ อาวุโส อาวาสิโก ภิกฺขุ นหาเน อุสฺสุกฺกํ อกาสิ อุสฺสุกฺกมฺปิ อกาสิ ยาคุยา ขาทนีเย ภตฺตสฺมึ. โสทานายํ น อุสฺสุกฺกํ กโรติ ยาคุยา ขาทนีเย ภตฺตสฺมึ.  ทุฏฺโฐทานายํ อาวุโส อาวาสิโก ภิกฺขุ. หนฺท มยํ อาวุโส อาวาสิกํ ภิกฺขุํ อุกฺขิปามา”ติ.  อถ โข เต อาคนฺตุกา ภิกฺขู สนฺนิปติตฺวา กสฺสปโคตฺตํ ภิกฺขุํ เอตทโวจุํ “ปุพฺเพ โข ตฺวํ อาวุโส นหาเน อุสฺสุกฺกํ กโรสิ อุสฺสุกฺกมฺปิ กโรสิ ยาคุยา ขาทนีเย ภตฺตสฺมึ. โสทานิ ตฺวํ น อุสฺสุกฺกํ กโรสิ ยาคุยา ขาทนีเย ภตฺตสฺมึ.  อาปตฺตึ ตฺวํ อาวุโส อาปนฺโน. ปสฺสเสตํ อาปตฺติ”นฺติ?  “นตฺถิ เม อาวุโส อาปตฺติ ยมหํ ปสฺเสยฺย”นฺติ. 
idha pana bhikkhave bhikkhussa hoti āpatti daṭṭhabbā hoti āpatti paṭikātabbā, hoti āpatti daṭṭhabbā hoti pāpikā diṭṭhi paṭinissajjetā, hoti āpatti paṭikātabbā hoti pāpikā diṭṭhi paṭinissajjetā, hoti āpatti daṭṭhabbā hoti āpatti paṭikātabbā hoti pāpikā diṭṭhi paṭinissajjetā.  tam enaṃ codeti saṃgho vā sambahulā vā ekapuggalo vā: āpattiṃ tvaṃ āvuso āpanno, passas’ etaṃ āpattiṃ, paṭikarohi taṃ āpattiṃ, pāpikā te diṭṭhi, paṭinissajj’ etaṃ pāpikaṃ {diṭṭhin} ti.  so evaṃ vadeti: n’ atthi me āvuso āpatti yam ahaṃ passeyyaṃ, n’ atthi me āvuso āpatti yam ahaṃ paṭikareyyaṃ, n’ atthi me pāpikā diṭṭhi yam ahaṃ paṭinissajjeyyan ti.  taṃ saṃgho adassane vā appaṭikamme vā appaṭinissagge vā ukkhipati, dhammakamman ti. |9| 
อถ โข เต อาคนฺตุกา ภิกฺขู กสฺสปโคตฺตํ ภิกฺขุํ อาปตฺติยา อทสฺสเน อุกฺขิปิ๎สุ.  อถ โข กสฺสปโคตฺตสฺส ภิกฺขุโน เอตทโหสิ “อหํ โข เอตํ น ชานามิ ‘อาปตฺติ วา เอสา อนาปตฺติ วา อาปนฺโน จมฺหิ อนาปนฺโน วา อุกฺขิตฺโต จมฺหิ อนุกฺขิตฺโต วา ธมฺมิเกน วา อธมฺมิเกน วา กุปฺเปน วา อกุปฺเปน วา ฐานารเหน วา อฏฺฐานารเหน วา’.  ยํนูนาหํ จมฺปํ คนฺตฺวา ภควนฺตํ เอตมตฺถํ ปุจฺเฉยฺย”นฺติ.  อถ โข กสฺสปโคตฺโต ภิกฺขุ เสนาสนํ สํสาเมตฺวา ปตฺตจีวรมาทาย เยน จมฺปา เตน ปกฺกามิ. อนุปุพฺเพน เยน จมฺปา เยน ภควา เตนุปสงฺกมิ อุปสงฺกมิตฺวา ภควนฺตํ อภิวาเทตฺวา เอกมนฺตํ นิสีทิ. 
||5|| 
อาจิณฺณํ โข ปเนตํ พุทฺธานํ ภควนฺตานํ อาคนฺตุเกหิ ภิกฺขูหิ สทฺธึ ปฏิสมฺโมทิตุํ. 
atha kho āyasmā Upāli yena bhagavā ten’ upasaṃkami, upasaṃkamitvā bhagavantaṃ abhivādetvā ekamantaṃ nisīdi.  ekamantaṃ nisinno kho āyasmā Upāli bhagavantaṃ etad avoca: yo nu kho bhante samaggo saṃgho sammukhākaraṇīyaṃ kammaṃ asammukhā karoti, dhammakammaṃ nu kho taṃ bhante vinayakamman ti.  adhammakammaṃ taṃ Upāli avinayakammaṃ. |1| 
อถ โข ภควา กสฺสปโคตฺตํ ภิกฺขุํ เอตทโวจ “กจฺจิ ภิกฺขุ ขมนียํ กจฺจิ ยาปนียํ กจฺจิ อปฺปกิลมเถน อทฺธานํ อาคโต กุโต จ ตฺวํ ภิกฺขุ อาคจฺฉสี”ติ?  “ขมนียํ ภควา ยาปนียํ ภควา อปฺปกิลมเถน จาหํ ภนฺเต อทฺธานํ อาคโต.  อตฺถิ ภนฺเต กาสีสุ ชนปเท วาสภคาโม นาม. ตตฺถาหํ ภควา อาวาสิโก ตนฺติพทฺโธ อุสฺสุกฺกํ อาปนฺโน ‘กินฺติ อนาคตา จ เปสลา ภิกฺขู อาคจฺเฉยฺยุํ อาคตา จ เปสลา ภิกฺขู ผาสุ วิหเรยฺยุํ อยญฺจ อาวาโส วุทฺธึ วิรุฬฺหึ เวปุลฺลํ อาปชฺเชยฺยา’ติ. 
yo nu kho bhante samaggo saṃgho paṭipucchākaraṇīyaṃ kammaṃ appaṭipucchā karoti, paṭiññāyakaraṇīyaṃ kammaṃ appaṭiññāya karoti, sativinayārahassa amūḷhavinayaṃ deti, amūḷhavinayārahassa tassapāpiyyasikākammaṃ karoti, {tassapāpiyyasikākammārahassa} tajjaniyakammaṃ karoti, tajjaniyakammārahassa nissayakammaṃ k., (326) nissayakammārahassa pabbājaniyakammaṃ k., pabbājaniyakammārahassa paṭisāraṇiyakammaṃ k., paṭisāraṇiyakammārahassa ukkhepaniyakammaṃ k., ukkhepaniyakammārahassa parivāsaṃ deti, parivāsārahaṃ mūlāya paṭikassati, mūlāya paṭikassanārahassa mānattaṃ deti, mānattārahaṃ abbheti, abbhānārahaṃ upasampādeti, dhammakammaṃ nu kho taṃ bhante vinayakamman ti. |2| 
อถ โข ภนฺเต สมฺพหุลา ภิกฺขู กาสีสุ จาริกํ จรมานา เยน วาสภคาโม ตทวสรุํ. 
adhammakammaṃ taṃ Upāli avinayakammaṃ.  yo kho Upāli samaggo saṃgho sammukhākaraṇīyaṃ kammaṃ asammukhā karoti, evaṃ kho Upāli adhammakammaṃ hoti avinayakammaṃ evañ ca pana saṃgho sātisāro hoti.  yo kho Upāli samaggo saṃgho paṭipucchākaraṇīyaṃ kammaṃ appaṭipucchā karoti, paṭiññāyakaraṇīyaṃ ... abbhānārahaṃ upasampādeti, evaṃ kho Upāli adhammakammaṃ hoti avinayakammaṃ evañ ca pana saṃgho sātisāro hotīti. |3| 
อทฺทสํ โข อหํ ภนฺเต เต ภิกฺขู ทูรโตว อาคจฺฉนฺเต ทิสฺวาน อาสนํ ปญฺญเปสึ ปาโททกํ ปาทปีฐํ ปาทกถลิกํ อุปนิกฺขิปิ๎ ปจฺจุคฺคนฺตฺวา ปตฺตจีวรํ ปฏิคฺคเหสึ ปานีเยน อปุจฺฉึ นหาเน อุสฺสุกฺกํ อกาสึ อุสฺสุกฺกมฺปิ อกาสึ ยาคุยา ขาทนีเย ภตฺตสฺมึ อถ โข เตสํ ภนฺเต อาคนฺตุกานํ ภิกฺขูนํ เอตทโหสิ ‘ภทฺทโก โข (p๒) อยํ อาวุโส อาวาสิโก ภิกฺขุ นหาเน อุสฺสุกฺกํ กโรติ อุสฺสุกฺกมฺปิ กโรติ ยาคุยา ขาทนีเย ภตฺตสฺมึ. หนฺท มยํ อาวุโส อิเธว วาสภคาเม นิวาสํ กปฺเปมา’ติ. อถ โข เต ภนฺเต อาคนฺตุกา ภิกฺขู ตตฺเถว วาสภคาเม นิวาสํ กปฺเปสุํ.  ตสฺส มยฺหํ ภนฺเต เอตทโหสิ ‘โย โข อิเมสํ อาคนฺตุกานํ ภิกฺขูนํ อาคนฺตุกกิลมโถ โส ปฏิปฺปสฺสทฺโธ. เยปิเม โคจเร อปฺปกตญฺญุโน เตทานิเม โคจเร ปกตญฺญุโน. ทุกฺกรํ โข ปน ปรกุเลสุ ยาวชีวํ อุสฺสุกฺกํ กาตุํ วิญฺญตฺติ จ มนุสฺสานํ อมนาปา. ยํนูนาหํ น อุสฺสุกฺกํ กเรยฺยํ ยาคุยา ขาทนีเย ภตฺตสฺมิ’นฺติ.  โส โข อหํ ภนฺเต น อุสฺสุกฺกํ อกาสึ ยาคุยา ขาทนีเย ภตฺตสฺมึ. อถ โข เตสํ ภนฺเต อาคนฺตุกานํ ภิกฺขูนํ เอตทโหสิ ‘ปุพฺเพ ขฺวายํ อาวุโส อาวาสิโก ภิกฺขุ นหาเน อุสฺสุกฺกํ กโรติ อุสฺสุกฺกมฺปิ กโรติ ยาคุยา ขาทนีเย ภตฺตสฺมึ. โสทานายํ น อุสฺสุกฺกํ กโรติ ยาคุยา ขาทนีเย ภตฺตสฺมึ. ทุฏฺโฐทานายํ อาวุโส อาวาสิโก ภิกฺขุ. หนฺท มยํ อาวุโส อาวาสิกํ ภิกฺขุํ อุกฺขิปามา’ติ. อถ โข เต ภนฺเต อาคนฺตุกา ภิกฺขู สนฺนิปติตฺวา มํ เอตทโวจุํ ‘ปุพฺเพ โข ตฺวํ อาวุโส นหาเน อุสฺสุกฺกํ กโรสิ อุสฺสุกฺกมฺปิ กโรสิ ยาคุยา ขาทนีเย ภตฺตสฺมึ. โสทานิ ตฺวํ น อุสฺสุกฺกํ กโรสิ ยาคุยา ขาทนีเย ภตฺตสฺมึ. อาปตฺตึ ตฺวํ อาวุโส อาปนฺโน. ปสฺสเสตํ อาปตฺติ’นฺติ ‘นตฺถิ เม อาวุโส อาปตฺติ ยมหํ ปสฺเสยฺย’นฺติ. 
yo nu kho bhante samaggo saṃgho sammukhākaraṇīyaṃ kammaṃ sammukhā karoti, dhammakammaṃ nu kho taṃ bhante vinayakamman ti.  dhammakammaṃ taṃ Upāli vinayakammaṃ.  yo nu kho bhante samaggo saṃgho paṭipucchākaraṇīyaṃ kammaṃ paṭipucchā karoti, paṭiññāyakaraṇīyaṃ kammaṃ paṭiññāya karoti, sativinayārahassa sativinayaṃ deti ... abbhānārahaṃ abbheti, upasampadārahaṃ upasampādeti, dhammakammaṃ nu kho taṃ bhante vinayakamman ti.  dhammakammaṃ taṃ Upāli vinayakammaṃ.  yo kho Upāli samaggo saṃgho sammukhākaraṇīyaṃ kammaṃ sammukhā karoti, evaṃ kho Upāli dhammakammaṃ hoti vinayakammaṃ evañ ca pana saṃgho anatisāro hoti.  yo kho Upāli samaggo saṃgho paṭipucchākaraṇīyaṃ kammaṃ paṭipucchā karoti ... upasampadārahaṃ upasampādeti, evaṃ kho Upāli dhammakammaṃ hoti vinayakammaṃ evañ ca pana saṃgho anatisāro hotīti. |4| 
อถ โข เต ภนฺเต อาคนฺตุกา ภิกฺขู มํ อาปตฺติยา อทสฺสเน อุกฺขิปิ๎สุ.  ตสฺส มยฺหํ ภนฺเต เอตทโหสิ ‘อหํ โข เอตํ น ชานามิ ‘อาปตฺติ วา เอสา อนาปตฺติ วา อาปนฺโน จมฺหิ อนาปนฺโน วา อุกฺขิตฺโต จมฺหิ อนุกฺขิตฺโต วา ธมฺมิเกน วา อธมฺมิเกน วา กุปฺเปน วา อกุปฺเปน วา ฐานารเหน วา อฏฺฐานารเหน วา’. ยํนูนาหํ จมฺปํ คนฺตฺวา ภควนฺตํ เอตมตฺถํ ปุจฺเฉยฺย’นฺติ.  ตโต อหํ ภควา อาคจฺฉามี”ติ.  “อนาปตฺติ เอสา ภิกฺขุ เนสา อาปตฺติ. อนาปนฺโนสิ นสิ อาปนฺโน. อนุกฺขิตฺโตสิ นสิ อุกฺขิตฺโต. อธมฺมิเกนาสิ กมฺเมน อุกฺขิตฺโต กุปฺเปน อฏฺฐานารเหน.  คจฺฉ ตฺวํ ภิกฺขุ ตตฺเถว วาสภคาเม นิวาสํ กปฺเปหี”ติ.  “เอวํ ภนฺเต”ติ โข กสฺสปโคตฺโต ภิกฺขุ ภควโต ปฏิสฺสุณิตฺวา อุฏฺฐายาสนา ภควนฺตํ อภิวาเทตฺวา ปทกฺขิณํ กตฺวา เยน วาสภคาโม เตน ปกฺกามิ. 
yo nu kho bhante samaggo saṃgho sativinayārahassa amūḷhavinayaṃ deti amūḷhavinayārahassa sativinayaṃ deti, dhammakammaṃ nu kho taṃ bhante vinayakamman ti.  adhammakammaṃ taṃ Upāli avinayakammaṃ.  yo nu kho bhante samaggo saṃgho amūḷhavinayārahassa tassapāpiyyasikākammaṃ karoti tassapāpiyyasikākammārahassa amūḷhavinayaṃ deti, tassapāpiyyasikākammārahassa tajjaniya (327) kammaṃ karoti tajjaniyakammārahassa tassapāpiyyasikākammaṃ karoti, tajjaniyakammārahassa nissayakammaṃ karoti nissayakammārahassa tajjaniyakammaṃ karoti, nissayakammārahassa pabbājaniyakammaṃ karoti pabbājaniyakammārahassa nissayakammaṃ karoti, pabbājaniyakammārahassa paṭisāraṇiyakammaṃ karoti paṭisāraṇiyakammārahassa pabbājaniyakammaṃ karoti, paṭisāraṇiyakammārahassa ukkhepaniyakammaṃ karoti ukkhepaniyakammārahassa paṭisāraṇiyakammaṃ karoti, ukkhepaniyakammārahassa parivāsaṃ deti parivāsārahassa ukkhepaniyakammaṃ karoti, parivāsārahaṃ mūlāya paṭikassati mūlāya paṭikassanārahassa parivāsaṃ deti, mūlāya paṭikassanārahassa mānattaṃ deti mānattārahaṃ mūlāya paṭikassati, mānattārahaṃ abbheti abbhānārahassa mānattaṃ deti, abbhānārahaṃ upasampādeti upasampadārahaṃ abbheti, dhammakammaṃ nu kho taṃ bhante vinayakamman ti. |5| 
๓๘๑. อถ โข เตสํ อาคนฺตุกานํ ภิกฺขูนํ อหุเทว กุกฺกุจฺจํ อหุ วิปฺปฏิสาโร “อลาภา วต โน น วต โน ลาภา ทุลฺลทฺธํ วต โน น วต โน สุลทฺธํ เย มยํ สุทฺธํ ภิกฺขุํ อนาปตฺติกํ อวตฺถุสฺมึ อการเณ อุกฺขิปิมฺหา.  หนฺท มยํ อาวุโส จมฺปํ คนฺตฺวา ภควโต สนฺติเก อจฺจยํ อจฺจยโต เทเสมา”ติ.  อถ โข เต อาคนฺตุกา ภิกฺขู เสนาสนํ สํสาเมตฺวา ปตฺตจีวรมาทาย เยน จมฺปา เตน ปกฺกมึสุ. อนุปุพฺเพน เยน จมฺปา เยน ภควา เตนุปสงฺกมึสุ อุปสงฺกมิตฺวา ภควนฺตํ อภิวาเทตฺวา เอกมนฺตํ นิสีทึสุ. 
adhammakammaṃ taṃ Upāli avinayakammaṃ.  yo kho Upāli samaggo saṃgho sativinayārahassa amūḷhavinayaṃ deti amūḷhavinayārahassa sativinayaṃ deti, evaṃ kho Upāli adhammakammaṃ hoti avinayakammaṃ evañ ca pana saṃgho sātisāro hoti.  yo kho Upāli samaggo saṃgho amūḷhavinayārahassa tassapāpiyyasikākammaṃ karoti ... upasampadārahaṃ abbheti, evaṃ kho Upāli adhammakammaṃ hoti avinayakammaṃ evañ ca pana saṃgho sātisāro hotīti. |6| 
อาจิณฺณํ โข ปเนตํ พุทฺธานํ ภควนฺตานํ อาคนฺตุเกหิ ภิกฺขูหิ สทฺธึ ปฏิสมฺโมทิตุํ.  อถ โข ภควา เต ภิกฺขู เอตทโวจ “กจฺจิ ภิกฺขเว ขมนียํ กจฺจิ ยาปนียํ กจฺจิตฺถ อปฺปกิลมเถน อทฺธานํ อาคตา กุโต จ ตุมฺเห ภิกฺขเว อาคจฺฉถา”ติ  “ขมนียํ ภควา ยาปนียํ ภควา อปฺปกิลมเถน จ มยํ ภนฺเต อทฺธานํ อาคตา. 
yo nu kho bhante samaggo saṃgho sativinayārahassa sativinayaṃ deti amūḷhavinayārahassa amūḷhavinayaṃ deti, dhammakammaṃ nu kho taṃ bhante vinayakamman ti.  dhammakammaṃ taṃ Upāli vinayakammaṃ.  yo nu kho bhante samaggo saṃgho amūḷhavinayārahassa amūḷhavinayaṃ deti, tassapāpiyyasikākammārahassa tassapāpiyyasikākammaṃ karoti ... abbhānārahaṃ abbheti, upasampadārahaṃ upasampādeti, dhammakammaṃ nu kho taṃ bhante vinayakamman ti. |7| 
อตฺถิ ภนฺเต กาสีสุ ชนปเท วาสภคาโม นาม. ตโต มยํ ภควา อาคจฺฉามา”ติ.  “ตุมฺเห ภิกฺขเว อาวาสิกํ ภิกฺขุํ อุกฺขิปิตฺถา”ติ?  “เอวํ ภนฺเต”ติ. 
dhammakammaṃ taṃ Upāli vinayakammaṃ.  yo kho Upāli samaggo saṃgho sativinayārahassa sativinayaṃ deti amūḷhavinayārahassa amūḷhavinayaṃ deti, evaṃ kho Upāli dhammakammaṃ hoti vinayakammaṃ evañ ca pana saṃgho anatisāro hoti.  yo kho Upāli samaggo saṃgho amūḷhavinayārahassa amūḷhavinayaṃ (328) deti ... upasampadārahaṃ upasampādeti, evaṃ kho Upāli dhammakammaṃ hoti vinayakammaṃ evañ ca pana saṃgho anatisāro hotīti. |8| 
“กิสฺมึ ภิกฺขเว วตฺถุสฺมึ การเณ”ติ?  “อวตฺถุสฺมึ ภควา อการเณ”ติ.  วิครหิ พุทฺโธ ภควา “อนนุจฺฉวิกํ โมฆปุริสา อนนุโลมิกํ อปฺปติรูปํ อสฺสามณกํ อกปฺปิยํ อกรณียํ. 
atha kho bhagavā bhikkhū āmantesi: yo kho bhikkhave samaggo saṃgho sativinayārahassa amūḷhavinayaṃ deti, evaṃ kho bhikkhave adhammakammaṃ hoti avinayakammaṃ evañ ca pana saṃgho sātisāro hoti.  yo kho bhikkhave samaggo saṃgho sativinayārahassa tassapāpiyyasikākammaṃ karoti, sativinayārahassa tajjaniyakammaṃ karoti ... sativinayārahaṃ upasampādeti, evaṃ kho bhikkhave adhammakammaṃ hoti avinayakammaṃ evañ ca pana saṃgho sātisāro hoti.  yo kho bhikkhave samaggo saṃgho amūḷhavinayārahassa tassapāpiyyasikākammaṃ karoti, evaṃ kho bhikkhave adhammakammaṃ hoti avinayakammaṃ evañ ca pana saṃgho sātisāro hoti.  yo kho bhikkhave samaggo saṃgho amūḷhavinayārahassa tajjaniyakammaṃ karoti ... amūḷhavinayārahaṃ upasampādeti, amūḷhavinayārahassa sativinayaṃ deti, evaṃ kho bhikkhave adhammakammaṃ hoti avinayakammaṃ evañ ca pana saṃgho sātisāro hoti.  yo kho bhikkhave samaggo saṃgho tassapāpiyyasikākammārahassa ... upasampadārahaṃ abbheti, evaṃ kho bhikkhave adhammakammaṃ hoti avinayakammaṃ evañ ca pana saṃgho sātisāro hotīti. |9| 
กถญฺหิ นาม ตุมฺเห โมฆปุริสา สุทฺธํ ภิกฺขุํ อนาปตฺติกํ อวตฺถุสฺมึ อการเณ อุกฺขิปิสฺสถ.  เนตํ โมฆปุริสา อปฺปสนฺนานํ วา ปสาทายฯเปฯ”  วิครหิตฺวา ธมฺมึ กถํ กตฺวา ภิกฺขู อามนฺเตสิ “น ภิกฺขเว สุทฺโธ ภิกฺขุ อนาปตฺติโก อวตฺถุสฺมึ อการเณ อุกฺขิปิตพฺโพ.  โย อุกฺขิเปยฺย อาปตฺติ ทุกฺกฏสฺสา”ติ.  อถ โข เต ภิกฺขู อุฏฺฐายาสนา เอกํสํ อุตฺตราสงฺคํ กริตฺวา ภควโต ปาเทสุ สิรสา นิปติตฺวา ภควนฺตํ เอตทโวจุํ “อจฺจโย โน ภนฺเต อจฺจคมา ยถาพาเล ยถามูฬฺเห ยถาอกุสเล เย มยํ สุทฺธํ ภิกฺขุํ อนาปตฺติกํ อวตฺถุสฺมึ อการเณ อุกฺขิปิมฺหา. เตสํ โน ภนฺเต ภควา อจฺจยํ อจฺจยโต ปฏิคฺคณฺหาตุ อายตึ สํวรายา”ติ. 
||6|| 
“ตคฺฆ ตุมฺเห ภิกฺขเว อจฺจโย อจฺจคมา ยถาพาเล ยถามูฬฺเห ยถาอกุสเล เย ตุมฺเห สุทฺธํ ภิกฺขุํ อนาปตฺติกํ อวตฺถุสฺมึ อการเณ อุกฺขิปิตฺถ. 
Upālipucchābhāṇavāraṃ dutiyaṃ. 
ยโต จ โข ตุมฺเห ภิกฺขเว อจฺจยํ อจฺจยโต ทิสฺวา ยถาธมฺมํ ปฏิกโรถ ตํ โว มยํ ปฏิคฺคณฺหาม. วุทฺธิเหสา ภิกฺขเว อริยสฺส วินเย โย อจฺจยํ อจฺจยโต ทิสฺวา ยถาธมฺมํ ปฏิกโรติ อายตึ สํวรํ อาปชฺชตี”ติ. (กสฺสปโคตฺตภิกฺขุวตฺถุ นิฏฺฐิตํ.) 
idha pana bhikkhave bhikkhu bhaṇḍanakārako hoti kalahakārako vivādakārako bhassakārako saṃghe adhikaraṇakārako.  tatra ce bhikkhūnaṃ evaṃ hoti: ayaṃ kho āvuso bhikkhu bhaṇḍanakārako --la-- saṃghe adhikaraṇakārako, hand’ assa mayaṃ tajjaniyakammaṃ karomā ’ti, te tassa tajjaniyakammaṃ karonti adhammena vaggā.  so tamhā āvāsā aññaṃ āvāsaṃ gacchati, tattha bhikkhūnaṃ evaṃ hoti: ayaṃ kho āvuso bhikkhu saṃghena tajjaniyakammaṃ kato adhammena vaggehi, hand’ assa mayaṃ tajjaniyakammaṃ karomā ’ti, te tassa tajjaniyakammaṃ karonti adhammena samaggā.  so tamhāpi āvāsā aññaṃ āvāsaṃ gacchati, tattha pi bhikkhūnaṃ ... tajjaniyakammaṃ kato adhammena samaggehi, hand’ assa mayaṃ (329) tajjaniyakammaṃ karomā ’ti, te tassa tajjaniyakammaṃ karonti dhammena vaggā.  so tamhāpi āvāsā aññaṃ ... tajjaniyakammaṃ kato dhammena vaggehi, hand’ assa mayaṃ tajjaniyakammaṃ karomā ’ti, te tassa tajjaniyakammaṃ karonti dhammapaṭirūpakena vaggā.  so tamhāpi āvāsā aññaṃ ... tajjaniyakammaṃ kato dhammapaṭirūpakena vaggehi, hand’ assa mayaṃ tajjaniyakammaṃ karomā ’ti, te tassa tajjaniyakammaṃ karonti dhammapaṭirūpakena samaggā. |1| 
    (๒๓๕. อธมฺเมน วคฺคาทิกมฺมกถา) ๓๘๒. เตน โข ปน สมเยน จมฺปายํ ภิกฺขู เอวรูปานิ กมฺมานิ กโรนฺติ อธมฺเมน วคฺคกมฺมํ กโรนฺติ อธมฺเมน สมคฺคกมฺมํ กโรนฺติ ธมฺเมน วคฺคกมฺมํ กโรนฺติ ธมฺมปติรูปเกน วคฺคกมฺมํ กโรนฺติ ธมฺมปติรูปเกน สมคฺคกมฺมํ กโรนฺติ เอโกปิ เอกํ อุกฺขิปติ เอโกปิ ทฺเว อุกฺขิปติ เอโกปิ สมฺพหุเล อุกฺขิปติ เอโกปิ สงฺฆํ อุกฺขิปติ ทฺเวปิ เอกํ อุกฺขิปนฺติ ทฺเวปิ ทฺเว อุกฺขิปนฺติ ทฺเวปิ สมฺพหุเล อุกฺขิปนฺติ ทฺเวปิ สงฺฆํ อุกฺขิปนฺติ สมฺพหุลาปิ เอกํ อุกฺขิปนฺติ สมฺพหุลาปิ ทฺเว อุกฺขิปนฺติ สมฺพหุลาปิ สมฺพหุเล อุกฺขิปนฺติ สมฺพหุลาปิ สงฺฆํ อุกฺขิปนฺติ สงฺโฆปิ สงฺฆํ อุกฺขิปติ.  เย เต ภิกฺขู อปฺปิจฺฉาฯเปฯ เต อุชฺฌายนฺติ ขิยฺยนฺติ วิปาเจนฺติ “กถญฺหิ นาม จมฺปายํ ภิกฺขู เอวรูปานิ กมฺมานิ กริสฺสนฺติ อธมฺเมน วคฺคกมฺมํ กริสฺสนฺติ อธมฺเมน สมคฺคกมฺมํ กริสฺสนฺติ ธมฺเมน วคฺคกมฺมํ กริสฺสนฺติ ธมฺมปติรูปเกน วคฺคกมฺมํ กริสฺสนฺติ ธมฺมปติรูปเกน สมคฺคกมฺมํ กริสฺสนฺติ เอโกปิ เอกํ อุกฺขิปิสฺสติ เอโกปิ ทฺเว อุกฺขิปิสฺสติ เอโกปิ สมฺพหุเล อุกฺขิปิสฺสติ เอโกปิ สงฺฆํ อุกฺขิปิสฺสติ ทฺเวปิ เอกํ อุกฺขิปิสฺสนฺติ ทฺเวปิ ทฺเว อุกฺขิปิสฺสนฺติ ทฺเวปิ สมฺพหุเล อุกฺขิปิสฺสนฺติ ทฺเวปิ สงฺฆํ อุกฺขิปิสฺสนฺติ สมฺพหุลาปิ เอกํ อุกฺขิปิสฺสนฺติ สมฺพหุลาปิ ทฺเว อุกฺขิปิสฺสนฺติ สมฺพหุลาปิ สมฺพหุเล อุกฺขิปิสฺสนฺติ สมฺพหุลาปิ สงฺฆํ อุกฺขิปิสฺสนฺติ สงฺโฆปิ สงฺฆํ อุกฺขิปิสฺสตี”ติ.  อถ โข เต ภิกฺขู ภควโต เอตมตฺถํ อาโรเจสุํฯเปฯ  “สจฺจํ กิร ภิกฺขเว จมฺปายํ ภิกฺขู เอวรูปานิ กมฺมานิ กโรนฺติ อธมฺเมน วคฺคกมฺมํ กโรนฺติฯเปฯ สงฺโฆปิ สงฺฆํ อุกฺขิปตี”ติ? 
idha pana bhikkhave bhikkhu bhaṇḍanakārako hoti ... saṃghe adhikaraṇakārako.  tatra ce bhikkhūnaṃ evaṃ hoti: ayaṃ kho āvuso bhikkhu bhaṇḍanakārako ... saṃghe adhikaraṇakārako, hand’ assa mayaṃ tajjaniyakammaṃ karomā ’ti, te tassa tajjaniyakammaṃ karonti adhammena samaggā.  so tamhā āvāsā aññaṃ āvāsaṃ gacchati, tattha bhikkhūnaṃ evaṃ hoti: ayaṃ kho āvuso bhikkhu saṃghena tajjaniyakammaṃ kato adhammena samaggehi, hand’ assa mayaṃ ... dhammena vaggā.  so tamhāpi āvāsā ... dhammapaṭirūpakena vaggā.  so tamhāpi āvāsā ... dhammapaṭirūpakena samaggā.  so tamhāpi āvāsā ... adhammena vaggā. |2| 
“สจฺจํ ภควา”ติ.  วิครหิ พุทฺโธ ภควา “อนนุจฺฉวิกํ ภิกฺขเว เตสํ โมฆปุริสานํ อนนุโลมิกํ อปฺปติรูปํ อสฺสามณกํ อกปฺปิยํ อกรณียํ.  กถญฺหิ นาม เต ภิกฺขเว โมฆปุริสา เอวรูปานิ กมฺมานิ กริสฺสนฺติ อธมฺเมน วคฺคกมฺมํ กริสฺสนฺติฯเปฯ สงฺโฆปิ สงฺฆํ อุกฺขิปิสฺสติ.  เนตํ ภิกฺขเว อปฺปสนฺนานํ วา ปสาทายฯเปฯ  วิครหิตฺวาฯเปฯ ธมฺมึ กถํ กตฺวา ภิกฺขู อามนฺเตสิ  ๓๘๓. “อธมฺเมน เจ ภิกฺขเว วคฺคกมฺมํ อกมฺมํ น จ กรณียํ 
idha pana bhikkhave bhikkhu bhaṇḍanakārako hoti ... saṃghe adhikaraṇakārako.  tatra ce bhikkhūnaṃ evaṃ hoti: ayaṃ kho āvuso bhikkhu bhaṇḍanakārako ... saṃghe adhikaraṇakārako, hand’ assa mayaṃ tajjaniyakammaṃ karomā ’ti, te tassa tajjaniyakammaṃ karonti dhammena vaggā ... dhammapaṭirūpakena vaggā ... dhammapaṭirūpakena samaggā ... adhammena vaggā ... adhammena samaggā. |3| 
อธมฺเมน สมคฺคกมฺมํ อกมฺมํ น จ กรณียํ ธมฺเมน วคฺคกมฺมํ อกมฺมํ น จ กรณียํ ธมฺมปติรูปเกน วคฺคกมฺมํ อกมฺมํ น จ กรณียํ ธมฺมปติรูปเกน สมคฺคกมฺมํ อกมฺมํ น จ กรณียํ เอโกปิ เอกํ อุกฺขิปติ อกมฺมํ น จ กรณียํ เอโกปิ ทฺเว อุกฺขิปติ อกมฺมํ น จ กรณียํ เอโกปิ สมฺพหุเล อุกฺขิปติ อกมฺมํ น จ กรณียํ เอโกปิ สงฺฆํ อุกฺขิปติ อกมฺมํ น จ กรณียํ ทฺเวปิ เอกํ อุกฺขิปนฺติ อกมฺมํ น จ กรณียํ ทฺเวปิ ทฺเว อุกฺขิปนฺติ อกมฺมํ น จ กรณียํ ทฺเวปิ สมฺพหุเล อุกฺขิปนฺติ อกมฺมํ น จ กรณียํ ทฺเวปิ สงฺฆํ อุกฺขิปนฺติ อกมฺมํ น จ กรณียํ สมฺพหุลาปิ เอกํ อุกฺขิปนฺติ อกมฺมํ น จ กรณียํ สมฺพหุลาปิ ทฺเว อุกฺขิปนฺติ อกมฺมํ น จ กรณียํ สมฺพหุลาปิ สมฺพหุเล อุกฺขิปนฺติ อกมฺมํ น จ กรณียํ สมฺพหุลาปิ สงฺฆํ อุกฺขิปนฺติ อกมฺมํ น จ กรณียํ สงฺโฆปิ สงฺฆํ อุกฺขิปติ อกมฺมํ น จ กรณียํ.  ๓๘๔. “จตฺตาริมานิ ภิกฺขเว กมฺมานิ อธมฺเมน วคฺคกมฺมํ อธมฺเมน สมคฺคกมฺมํ ธมฺเมน วคฺคกมฺมํ ธมฺเมน สมคฺคกมฺมํ. 
idha pana bhikkhave bhikkhu bhaṇḍanakārako hoti ... saṃghe adhikaraṇakārako.  tatra ce bhikkhūnaṃ evaṃ hoti: ayaṃ kho āvuso bhikkhu bhaṇḍanakārako ... saṃghe adhikaraṇakārako, hand’ assa mayaṃ tajjaniyakammaṃ karomā ’ti, te tassa tajjaniyakammaṃ karonti dhammapaṭirūpakena vaggā ... dhammapaṭirūpakena samaggā ... adhammena vaggā ... adhammena samaggā ... dhammena vaggā. |4| 
ตตฺร ภิกฺขเว ยทิทํ อธมฺเมน วคฺคกมฺมํ อิทํ ภิกฺขเว กมฺมํ อธมฺมตฺตา วคฺคตฺตา กุปฺปํ อฏฺฐานารหํ  น ภิกฺขเว เอวรูปํ กมฺมํ กาตพฺพํ น จ มยา เอวรูปํ กมฺมํ อนุญฺญาตํ. 
idha pana bhikkhave bhikkhu bhaṇḍanakārako hoti ... saṃghe adhikaraṇakārako.  tatra ce bhikkhūnaṃ evaṃ hoti: ayaṃ kho āvuso bhikkhu bhaṇḍanakārako ... saṃghe adhikaraṇakārako, hand’ assa mayaṃ tajjaniyakammaṃ karomā ’ti, te (330) tassa tajjaniyakammaṃ karonti dhammapaṭirūpakena samaggā ... adhammena vaggā ... adhammena samaggā ... dhammena vaggā ... dhammapaṭirūpakena vaggā. |5| 
ตตฺร ภิกฺขเว ยทิทํ อธมฺเมน สมคฺคกมฺมํ อิทํ ภิกฺขเว กมฺมํ อธมฺมตฺตา กุปฺปํ อฏฺฐานารหํ น ภิกฺขเว เอวรูปํ กมฺมํ กาตพฺพํ น จ มยา เอวรูปํ กมฺมํ อนุญฺญาตํ.  ตตฺร ภิกฺขเว ยทิทํ ธมฺเมน วคฺคกมฺมํ อิทํ ภิกฺขเว กมฺมํ วคฺคตฺตา กุปฺปํ อฏฺฐานารหํ น ภิกฺขเว เอวรูปํ กมฺมํ กาตพฺพํ น จ มยา เอวรูปํ กมฺมํ อนุญฺญาตํ. 
idha pana bhikkhave bhikkhu bālo hoti avyatto āpattibahulo anapadāno gihisaṃsaṭṭho viharati ananulomikehi gihisaṃsaggehi.  tatra ce bhikkhūnaṃ evaṃ hoti: ayaṃ kho āvuso bhikkhu bālo avyatto ... gihisaṃsaggehi, hand’ assa mayaṃ nissayakammaṃ karomā ’ti, te tassa nissayakammaṃ karonti adhammena vaggā.  so tamhā āvāsā aññaṃ āvāsaṃ gacchati, tattha bhikkhūnaṃ evaṃ hoti: ayaṃ kho āvuso bhikkhu saṃghena nissayakammaṃ kato adhammena vaggehi, hand’ assa mayaṃ nissayakammaṃ karomā ’ti, te tassa nissayakammaṃ karonti adhammena samaggā --la-- dhammena vaggā, dhammapaṭirūpakena vaggā, dhammapaṭirūpakena samaggā.  yathā heṭṭhā tathā cakkaṃ kātabbaṃ --la--. |6| 
ตตฺร ภิกฺขเว ยทิทํ ธมฺเมน สมคฺคกมฺมํ อิทํ ภิกฺขเว กมฺมํ ธมฺมตฺตา สมคฺคตฺตา อกุปฺปํ ฐานารหํ  เอวรูปํ ภิกฺขเว กมฺมํ กาตพฺพํ เอวรูปญฺจ มยา กมฺมํ อนุญฺญาตํ.  ตสฺมาติห ภิกฺขเว เอวรูปํ กมฺมํ กริสฺสาม ยทิทํ ธมฺเมน สมคฺคนฺติ เอวญฺหิ โว ภิกฺขเว สิกฺขิตพฺพ”นฺติ. (ธมฺเมน วคฺคาทิกมฺมกถา นิฏฺฐิตา.)   
idha pana bhikkhave bhikkhu kuladūsako hoti pāpasamācāro.  tatra ce bhikkhūnaṃ evaṃ hoti: ayaṃ kho āvuso bhikkhu kuladūsako pāpasamācāro, hand’ assa mayaṃ pabbājaniyakammaṃ karomā ’ti te tassa pabbājaniyakammaṃ karonti adhammena vaggā ... (comp.6) ... dhammapaṭirūpakena samaggā.  cakkaṃ kātabbaṃ. |7| 
  (๒๓๖. ญตฺติวิปนฺนกมฺมาทิกถา) ๓๘๕. เตน โข ปน สมเยน ฉพฺพคฺคิยา ภิกฺขู เอวรูปานิ กมฺมานิ กโรนฺติ อธมฺเมน วคฺคกมฺมํ กโรนฺติ อธมฺเมน สมคฺคกมฺมํ กโรนฺติ ธมฺเมน วคฺคกมฺมํ กโรนฺติ ธมฺมปติรูปเกน วคฺคกมฺมํ กโรนฺติ ธมฺมปติรูปเกน สมคฺคกมฺมํ กโรนฺติ ญตฺติวิปนฺนมฺปิ กมฺมํ กโรนฺติ อนุสฺสาวนสมฺปนฺนํ อนุสฺสาวนวิปนฺนมฺปิ กมฺมํ กโรนฺติ ญตฺติสมฺปนฺนํ ญตฺติวิปนฺนมฺปิ อนุสฺสาวนวิปนฺนมฺปิ กมฺมํ กโรนฺติ อญฺญตฺราปิ ธมฺมา กมฺมํ กโรนฺติ อญฺญตฺราปิ วินยา กมฺมํ กโรนฺติ อญฺญตฺราปิ สตฺถุสาสนา กมฺมํ กโรนฺติ ปฏิกุฏฺฐกตมฺปิ กมฺมํ กโรนฺติ อธมฺมิกํ กุปฺปํ อฏฺฐานารหํ.  เย เต ภิกฺขู อปฺปิจฺฉาฯเปฯ เต อุชฺฌายนฺติ ขิยฺยนฺติ วิปาเจนฺติ “กถญฺหิ นาม ฉพฺพคฺคิยา ภิกฺขู เอวรูปานิ กมฺมานิ กริสฺสนฺติ อธมฺเมน วคฺคกมฺมํ กริสฺสนฺติ อธมฺเมน สมคฺคกมฺมํ กริสฺสนฺติ ธมฺเมน วคฺคกมฺมํ กริสฺสนฺติ ธมฺมปติรูปเกน วคฺคกมฺมํ กริสฺสนฺติ ธมฺมปติรูปเกน สมคฺคกมฺมํ กริสฺสนฺติ ญตฺติวิปนฺนมฺปิ กมฺมํ กริสฺสนฺติ อนุสฺสาวนสมฺปนฺนํ อนุสฺสาวนวิปนฺนมฺปิ กมฺมํ กริสฺสนฺติ ญตฺติสมฺปนฺนํ ญตฺติวิปนฺนมฺปิ อนุสฺสาวนวิปนฺนมฺปิ กมฺมํ กริสฺสนฺติ อญฺญตฺราปิ ธมฺมา กมฺมํ กริสฺสนฺติ อญฺญตฺราปิ วินยา กมฺมํ กริสฺสนฺติ อญฺญตฺราปิ สตฺถุสาสนา กมฺมํ กริสฺสนฺติ ปฏิกุฏฺฐกตมฺปิ กมฺมํ กริสฺสนฺติ อธมฺมิกํ กุปฺปํ 
idha pana bhikkhave bhikkhu gihī akkosati paribhāsati.  tatra ce bhikkhūnaṃ evaṃ hoti: ayaṃ kho āvuso bhikkhu gihī akkosati paribhāsati, hand’ assa mayaṃ paṭisāraṇiyakammaṃ karomā ’ti, te tassa paṭisāraṇiyakammaṃ karonti adhammena vaggā ... (comp.6) ... dhammapaṭirūpakena samaggā.  cakkaṃ kātabbaṃ. |8| 
อฏฺฐานารห”นฺติ.  อถ โข เต ภิกฺขู ภควโต เอตมตฺถํ อาโรเจสุํฯเปฯ  “สจฺจํ กิร ภิกฺขเว ฉพฺพคฺคิยา ภิกฺขู เอวรูปานิ กมฺมานิ กโรนฺติ อธมฺเมน วคฺคกมฺมํ กโรนฺติฯเปฯ ปฏิกุฏฺฐกตมฺปิ กมฺมํ กโรนฺติ อธมฺมิกํ กุปฺปํ อฏฺฐานารห”นฺติ? 
idha pana bhikkhave bhikkhu āpattiṃ āpajjitvā na icchati āpattiṃ passituṃ.  tatra ce bhikkhūnaṃ evaṃ hoti: ayaṃ kho āvuso bhikkhu āpattiṃ āpajjitvā na icchati āpattiṃ passituṃ, hand’ assa mayaṃ āpattiyā adassane ukkhepaniyakammaṃ karomā ’ti, te tassa āpattiyā adassane ukkhepaniyakammaṃ karonti adhammena vaggā ... dhammapaṭirūpakena samaggā.  cakkaṃ kātabbaṃ. |9| 
“สจฺจํ ภควา”ติ.  วิครหิ พุทฺโธ ภควาฯเปฯ วิครหิตฺวา ธมฺมึ กถํ กตฺวา ภิกฺขู อามนฺเตสิ  ๓๘๖. “อธมฺเมน เจ ภิกฺขเว วคฺคกมฺมํ อกมฺมํ น จ กรณียํ อธมฺเมน สมคฺคกมฺมํ อกมฺมํ น จ กรณียํ ธมฺเมน วคฺคกมฺมํ อกมฺมํ น จ กรณียํ ธมฺมปติรูปเกน วคฺคกมฺมํ อกมฺมํ น จ กรณียํ ธมฺมปติรูปเกน สมคฺคกมฺมํ อกมฺมํ น จ กรณียํ. ญตฺติวิปนฺนญฺเจ ภิกฺขเว กมฺมํ อนุสฺสาวนสมฺปนฺนํ อกมฺมํ น จ กรณียํ อนุสฺสาวนวิปนฺนญฺเจ ภิกฺขเว กมฺมํ ญตฺติสมฺปนฺนํ อกมฺมํ 
idha pana bhikkhave bhikkhu āpattiṃ āpajjitvā na icchati āpattiṃ paṭikātuṃ.  tatra ce bhikkhūnaṃ evaṃ hoti: ayaṃ kho āvuso bhikkhu āpattiṃ āpajjitvā na icchati āpattiṃ paṭikātuṃ, hand’ assa mayaṃ āpattiyā appaṭikamme ukkhepaniyakammaṃ karomā (331) ’ti, te tassa āpattiyā appaṭikamme ukkhepaniyakammaṃ karonti adhammena vaggā ... dhammapaṭirūpakena samaggā.  cakkaṃ kātabbaṃ. |10| 
น จ กรณียํ ญตฺติวิปนฺนญฺเจ ภิกฺขเว กมฺมํ อนุสฺสาวนวิปนฺนํ อกมฺมํ  น จ กรณียํ อญฺญตฺราปิ ธมฺมา กมฺมํ อกมฺมํ  น จ กรณียํ อญฺญตฺราปิ วินยา กมฺมํ อกมฺมํ 
idha pana bhikkhave bhikkhu na icchati pāpikaṃ diṭṭhiṃ paṭinissajjituṃ.  tatra ce bhikkhūnaṃ evaṃ hoti: ayaṃ kho āvuso bhikkhu na icchati pāpikaṃ diṭṭhiṃ paṭinissajjituṃ, hand’ assa mayaṃ pāpikāya diṭṭhiyā appaṭinissagge ukkhepaniyakammaṃ karomā ’ti, te tassa pāpikāya diṭṭhiyā appaṭinissagge ukkhepaniyakammaṃ karonti adhammena vaggā ... dhammapaṭirūpakena samaggā.  cakkaṃ kātabbaṃ. |11| 
น จ กรณียํ อญฺญตฺราปิ สตฺถุสาสนา กมฺมํ อกมฺมํ  น จ กรณียํ ปฏิกุฏฺฐกตญฺเจ ภิกฺขเว กมฺมํ อธมฺมิกํ กุปฺปํ อฏฺฐานารหํ อกมฺมํ น จ กรณียํ.  ๓๘๗. ฉยิมานิ ภิกฺขเว กมฺมานิ อธมฺมกมฺมํ วคฺคกมฺมํ สมคฺคกมฺมํ ธมฺมปติรูปเกน วคฺคกมฺมํ ธมฺมปติรูปเกน สมคฺคกมฺมํ ธมฺเมน สมคฺคกมฺมํ. 
idha pana bhikkhave bhikkhu saṃghena tajjaniyakammaṃ kato sammāvattati lomaṃ pāteti netthāraṃ vattati tajjaniyassa kammassa paṭippassaddhiṃ yācati.  tatra ce bhikkhūnaṃ evaṃ hoti: ayaṃ kho āvuso bhikkhu saṃghena tajjaniyakammaṃ kato sammāvattati ... paṭippassaddhiṃ yācati, hand’ assa mayaṃ tajjaniyakammaṃ paṭippassambhemā ’ti, te tassa tajjaniyakammaṃ paṭippassambhenti adhammena vaggā.  so tamhā āvāsā aññaṃ āvāsaṃ gacchati, tattha bhikkhūnaṃ evaṃ hoti: imassa kho āvuso bhikkhuno saṃghena tajjaniyakammaṃ paṭippassaddhaṃ adhammena vaggehi, hand’ assa mayaṃ tajjaniyakammaṃ paṭippassambhemā ’ti.  te tassa tajjaniyakammaṃ paṭippassambhenti adhammena samaggā ... dhammena vaggā ... dhammapaṭirūpakena vaggā ... dhammapaṭirūpakena samaggā. |12| 
กตมญฺจ ภิกฺขเว อธมฺมกมฺมํ?  ญตฺติทุติเย เจ ภิกฺขเว กมฺเม เอกาย ญตฺติยา กมฺมํ กโรติ น จ กมฺมวาจํ อนุสฺสาเวติ อธมฺมกมฺมํ.  ญตฺติทุติเย เจ ภิกฺขเว กมฺเม ทฺวีหิ ญตฺตีหิ กมฺมํ กโรติ น จ กมฺมวาจํ อนุสฺสาเวติ อธมฺมกมฺมํ.  ญตฺติทุติเย เจ ภิกฺขเว กมฺเม เอกาย กมฺมวาจาย กมฺมํ กโรติ น จ ญตฺตึ ฐเปติ อธมฺมกมฺมํ. 
idha pana bhikkhave bhikkhu saṃghena tajjaniyakammaṃ kato sammāvattati lomaṃ pāteti netthāraṃ vattati tajjaniyassa kammassa paṭippassaddhiṃ yācati.  tatra ce bhikkhūnaṃ evaṃ hoti: ayaṃ kho āvuso bhikkhu ... yācati, hand’ assa mayaṃ tajjaniyakammaṃ paṭippassambhemā ’ti, te tassa tajjaniyakammaṃ paṭippassambhenti adhammena samaggā ... (comp.2-5) ... dhammapaṭirūpakena vaggā. |13| 
ญตฺติทุติเย เจ ภิกฺขเว กมฺเม ทฺวีหิ กมฺมวาจาหิ กมฺมํ กโรติ น จ ญตฺตึ ฐเปติ อธมฺมกมฺมํ.  ญตฺติจตุตฺเถ เจ ภิกฺขเว กมฺเม เอกาย ญตฺติยา กมฺมํ กโรติ น จ กมฺมวาจํ อนุสฺสาเวติ อธมฺมกมฺมํ 
idha pana bhikkhave bhikkhu saṃghena nissayakammaṃ kato sammāvattati lomaṃ pāteti netthāraṃ vattati nissayassa kammassa paṭippassaddhiṃ yācati ... (comp.12-13) ... idha pana bhikkhave bhikkhu saṃghena pabbājaniyakammaṃ kato ... paṭisāraṇiyakammaṃ kato ... āpattiyā adassane ukkhepaniyakammaṃ kato ... āpattiyā appaṭikamme ukkhepaniyakammaṃ kato ... pāpikāya diṭṭhiyā (332) appaṭinissagge ukkhepaniyakammaṃ kato ... cakkaṃ kātabbaṃ. |14| 
ญตฺติจตุตฺเถ เจ ภิกฺขเว กมฺเม ทฺวีหิ ญตฺตีหิ กมฺมํ กโรติ น จ กมฺมวาจํ อนุสฺสาเวติ อธมฺมกมฺมํ. ญตฺติจตุตฺเถ เจ ภิกฺขเว กมฺเม ตีหิ ญตฺตีหิ กมฺมํ กโรติ น จ กมฺมวาจํ อนุสฺสาเวติ อธมฺมกมฺมํ. ญตฺติจตุตฺเถ เจ ภิกฺขเว กมฺเม จตูหิ ญตฺตีหิ กมฺมํ กโรติ น จ กมฺมวาจํ อนุสฺสาเวติ อธมฺมกมฺมํ. 
idha pana bhikkhave bhikkhu bhaṇḍanakārako hoti ... saṃghe adhikaraṇakārako.  tatra ce bhikkhūnaṃ evaṃ hoti: ayaṃ kho āvuso bhikkhu bhaṇḍanakārako --la-- saṃghe adhikaraṇakārako, hand’ assa mayaṃ tajjaniyakammaṃ karomā ’ti, te tassa tajjaniyakammaṃ karonti adhammena vaggā.  tatraṭṭho saṃgho vivadati adhammena vaggakammaṃ adhammena samaggakammaṃ dhammena vaggakammaṃ dhammapaṭirūpakena vaggakammaṃ dhammapaṭirūpakena samaggakammaṃ akataṃ kammaṃ dukkaṭaṃ kammaṃ puna kātabbaṃ kamman ti.  tatra bhikkhave ye te bhikkhū evam āhaṃsu adhammena vaggakamman ti, ye ca te bhikkhū evam āhaṃsu akataṃ kammaṃ dukkaṭaṃ kammaṃ puna kātabbaṃ kamman ti, ime tattha bhikkhū dhammavādino. |15| 
ญตฺติจตุตฺเถ เจ ภิกฺขเว กมฺเม เอกาย กมฺมวาจาย กมฺมํ กโรติ น จ ญตฺตึ ฐเปติ อธมฺมกมฺมํ. ญตฺติจตุตฺเถ เจ ภิกฺขเว กมฺเม ทฺวีหิ กมฺมวาจาหิ กมฺมํ กโรติ น จ ญตฺตึ ฐเปติ อธมฺมกมฺมํ. ญตฺติจตุตฺเถ เจ ภิกฺขเว กมฺเม ตีหิ กมฺมวาจาหิ กมฺมํ กโรติ น จ ญตฺตึ ฐเปติ อธมฺมกมฺมํ. ญตฺติจตุตฺเถ เจ ภิกฺขเว กมฺเม จตูหิ กมฺมวาจาหิ กมฺมํ กโรติ น จ ญตฺตึ ฐเปติ อธมฺมกมฺมํ.  อิทํ วุจฺจติ ภิกฺขเว อธมฺมกมฺมํ.  กตมญฺจ ภิกฺขเว วคฺคกมฺมํ?  ญตฺติทุติเย เจ ภิกฺขเว กมฺเม ยาวติกา ภิกฺขู กมฺมปฺปตฺตา เต อนาคตา โหนฺติ ฉนฺทารหานํ ฉนฺโท อนาหโฏ โหติ สมฺมุขีภูตา ปฏิกฺโกสนฺติ วคฺคกมฺมํ. 
idha pana bhikkhave bhikkhu bhaṇḍanakārako hoti ... te tassa tajjaniyakammaṃ karonti adhammena samaggā.  tatraṭṭho ... tatra bhikkhave ye te bhikkhū evam āhaṃsu adhammena samaggakamman ti ye ca te bhikkhū evam āhaṃsu akataṃ kammaṃ dukkaṭaṃ kammaṃ puna kātabbaṃ kamman ti, ime tattha bhikkhū dhammavādino.  idha pana bhikkhave bhikkhu bhaṇḍanakārako hoti ... dhammena vaggā ... dhammapaṭirūpakena vaggā ... dhammapaṭirūpakena samaggā ... ime tattha bhikkhū dhammavādino. |16| 
ญตฺติทุติเย เจ ภิกฺขเว กมฺเม ยาวติกา ภิกฺขู กมฺมปฺปตฺตา เต อาคตา โหนฺติ ฉนฺทารหานํ ฉนฺโท อนาหโฏ โหติ สมฺมุขีภูตา ปฏิกฺโกสนฺติ วคฺคกมฺมํ.  ญตฺติทุติเย เจ ภิกฺขเว กมฺเม ยาวติกา ภิกฺขู กมฺมปฺปตฺตา เต อาคตา โหนฺติ ฉนฺทารหานํ ฉนฺโท อาหโฏ โหติ สมฺมุขีภูตา ปฏิกฺโกสนฺติ วคฺคกมฺมํ.  ญตฺติจตุตฺเถ เจ ภิกฺขเว กมฺเม ยาวติกา ภิกฺขู กมฺมปฺปตฺตา เต อนาคตา โหนฺติ ฉนฺทารหานํ ฉนฺโท อนาหโฏ โหติ สมฺมุขีภูตา ปฏิกฺโกสนฺติ วคฺคกมฺมํ. ญตฺติจตุตฺเถ เจ ภิกฺขเว กมฺเม ยาวติกา ภิกฺขู กมฺมปฺปตฺตา เต อาคตา โหนฺติ ฉนฺทารหานํ ฉนฺโท อนาหโฏ โหติ สมฺมุขีภูตา ปฏิกฺโกสนฺติ วคฺคกมฺมํ. ญตฺติจตุตฺเถ เจ ภิกฺขเว กมฺเม ยาวติกา ภิกฺขู กมฺมปฺปตฺตา เต อาคตา โหนฺติ ฉนฺทารหานํ ฉนฺโท อาหโฏ โหติ สมฺมุขีภูตา ปฏิกฺโกสนฺติ วคฺคกมฺมํ. 
idha pana bhikkhave bhikkhu bālo hoti avyatto āpattibahulo anapadāno gihisaṃsaṭṭho viharati ananulomikehi gihisaṃsaggehi.  tatra ce bhikkhūnaṃ evaṃ hoti: ayaṃ kho āvuso bhikkhu bālo avyatto ... gihisaṃsaggehi, hand’ assa mayaṃ nissayakammaṃ karomā ’ti, te tassa nissayakammaṃ karonti adhammena vaggā --la-- adhammena samaggā, dhammena vaggā, dhammapaṭirūpakena vaggā, dhammapaṭirūpakena samaggā.  tatraṭṭho saṃgho vivadati ... ime tattha bhikkhū dhammavādino.  ime pañca vārā saṃkhittā. |17| 
อิทํ วุจฺจติ ภิกฺขเว วคฺคกมฺมํ.  กตมญฺจ ภิกฺขเว สมคฺคกมฺมํ?  ญตฺติทุติเย เจ ภิกฺขเว กมฺเม ยาวติกา ภิกฺขู กมฺมปฺปตฺตา เต อาคตา โหนฺติ ฉนฺทารหานํ ฉนฺโท อาหโฏ โหติ สมฺมุขีภูตา น ปฏิกฺโกสนฺติ สมคฺคกมฺมํ.  ญตฺติจตุตฺเถ เจ ภิกฺขเว กมฺเม ยาวติกา ภิกฺขู กมฺมปฺปตฺตา เต อาคตา โหนฺติ ฉนฺทารหานํ ฉนฺโท อาหโฏ โหติ สมฺมุขีภูตา น ปฏิกฺโกสนฺติ สมคฺคกมฺมํ. 
idha pana bhikkhave bhikkhu kuladūsako hoti pāpasamācāro.  tatra ce ... pabbājaniyakammaṃ karomā ’ti ... ime pañca vārā saṃkhittā.  idha pana bhikkhave bhikkhu gihī akkosati paribhāsati.  tatra ce ... paṭisāraṇi (333) yakammaṃ karomā ’ti ... ime pañca vārā saṃkhittā.  idha pana bhikkhave bhikkhu āpattiṃ āpajjitvā na icchati āpattiṃ passituṃ.  tatra ce ... āpattiyā adassane ukkhepaniyakammaṃ karomā ’ti ... ime pañca vārā saṃkhittā.  idha pana bhikkhave bhikkhu āpattiṃ āpajjitvā na icchati āpattiṃ paṭikātuṃ.  tatra ce ... āpattiyā appaṭikamme ukkhepaniyakammaṃ karomā ’ti ... ime pañca vārā saṃkhittā.  idha pana bhikkhave bhikkhu na icchati pāpikaṃ diṭṭhiṃ paṭinissajjituṃ.  tatra ce ... pāpikāya diṭṭhiyā appaṭinissagge ukkhepaniyakammaṃ karomā ’ti ... ime pañca vārā saṃkhittā. |18| 
อิทํ วุจฺจติ ภิกฺขเว สมคฺคกมฺมํ.  กตมญฺจ ภิกฺขเว ธมฺมปติรูปเกน วคฺคกมฺมํ?  ญตฺติทุติเย เจ ภิกฺขเว กมฺเม ปฐมํ กมฺมวาจํ อนุสฺสาเวติ ปจฺฉา ญตฺตึ ฐเปติ ยาวติกา ภิกฺขู กมฺมปฺปตฺตา เต อนาคตา โหนฺติ ฉนฺทารหานํ ฉนฺโท อนาหโฏ โหติ สมฺมุขีภูตา ปฏิกฺโกสนฺติ ธมฺมปติรูปเกน วคฺคกมฺมํ.  ญตฺติทุติเย เจ ภิกฺขเว กมฺเม ปฐมํ กมฺมวาจํ อนุสฺสาเวติ ปจฺฉา ญตฺตึ ฐเปติ ยาวติกา ภิกฺขู กมฺมปฺปตฺตา เต อาคตา โหนฺติ ฉนฺทารหานํ ฉนฺโท อนาหโฏ โหติ สมฺมุขีภูตา ปฏิกฺโกสนฺติ ธมฺมปติรูปเกน วคฺคกมฺมํ.  ญตฺติทุติเย เจ ภิกฺขเว กมฺเม ปฐมํ กมฺมวาจํ อนุสฺสาเวติ ปจฺฉา ญตฺตึ ฐเปติ ยาวติกา ภิกฺขู กมฺมปฺปตฺตา เต อาคตา โหนฺติ ฉนฺทารหานํ ฉนฺโท อาหโฏ โหติ สมฺมุขีภูตา ปฏิกฺโกสนฺติ ธมฺมปติรูปเกน วคฺคกมฺมํ.  ญตฺติจตุตฺเถ เจ ภิกฺขเว กมฺเม ปฐมํ กมฺมวาจํ อนุสฺสาเวติ ปจฺฉา ญตฺตึ ฐเปติ ยาวติกา ภิกฺขู กมฺมปฺปตฺตา เต อนาคตา โหนฺติ ฉนฺทารหานํ ฉนฺโท อนาหโฏ โหติ สมฺมุขีภูตา ปฏิกฺโกสนฺติ ธมฺมปติรูปเกน วคฺคกมฺมํ. ญตฺติจตุตฺเถ เจ ภิกฺขเว กมฺเม ปฐมํ กมฺมวาจํ อนุสฺสาเวติ ปจฺฉา ญตฺตึ ฐเปติ ยาวติกา ภิกฺขู กมฺมปฺปตฺตา เต อาคตา โหนฺติ ฉนฺทารหานํ ฉนฺโท อนาหโฏ โหติ สมฺมุขีภูตา ปฏิกฺโกสนฺติ ธมฺมปติรูปเกน วคฺคกมฺมํ. ญตฺติจตุตฺเถ เจ ภิกฺขเว กมฺเม ปฐมํ กมฺมวาจํ อนุสฺสาเวติ ปจฺฉา ญตฺตึ ฐเปติ ยาวติกา ภิกฺขู กมฺมปฺปตฺตา เต อาคตา โหนฺติ ฉนฺทารหานํ ฉนฺโท อาหโฏ โหติ สมฺมุขีภูตา ปฏิกฺโกสนฺติ ธมฺมปติรูปเกน วคฺคกมฺมํ.  อิทํ วุจฺจติ ภิกฺขเว ธมฺมปติรูปเกน วคฺคกมฺมํ.  กตมญฺจ ภิกฺขเว ธมฺมปติรูปเกน สมคฺคกมฺมํ?  ญตฺติทุติเย เจ ภิกฺขเว กมฺเม ปฐมํ กมฺมวาจํ อนุสฺสาเวติ ปจฺฉา ญตฺตึ ฐเปติ ยาวติกา ภิกฺขู กมฺมปฺปตฺตา เต อาคตา โหนฺติ ฉนฺทารหานํ ฉนฺโท อาหโฏ โหติ สมฺมุขีภูตา น ปฏิกฺโกสนฺติ ธมฺมปติรูปเกน สมคฺคกมฺมํ.  ญตฺติจตุตฺเถ เจ ภิกฺขเว กมฺเม ปฐมํ กมฺมวาจํ อนุสฺสาเวติ ปจฺฉา ญตฺตึ ฐเปติ ยาวติกา ภิกฺขู กมฺมปฺปตฺตา เต อาคตา โหนฺติ ฉนฺทารหานํ ฉนฺโท อาหโฏ โหติ สมฺมุขีภูตา น ปฏิกฺโกสนฺติ ธมฺมปติรูปเกน สมคฺคกมฺมํ. 
idha pana bhikkhave bhikkhu saṃghena tajjaniyakammaṃ kato sammāvattati lomaṃ pāteti netthāraṃ vattati tajjaniyassa kammassa paṭippassaddhiṃ yācati.  tatra ce bhikkhūnaṃ evaṃ hoti: ayaṃ kho āvuso bhikkhu saṃghena tajjaniyakammaṃ kato sammāvattati ... paṭippassaddhiṃ yācati, hand’ assa mayaṃ tajjaniyakammaṃ paṭippassambhemā ’ti, te tassa tajjaniyakammaṃ paṭippassambhenti adhammena vaggā.  tatraṭṭho saṃgho vivadati ... ime tattha bhikkhū dhammavādino.  idha pana bhikkhave bhikkhu saṃghena tajjaniyakammaṃ kato sammāvattati ... te tassa tajjaniyakammaṃ paṭippassambhenti adhammena samaggā ... dhammena vaggā ... dhammapaṭirūpakena vaggā ... dhammapaṭirūpakena samaggā ... ime tattha bhikkhū dhammavādino. |19| 
อิทํ วุจฺจติ ภิกฺขเว ธมฺมปติรูปเกน สมคฺคกมฺมํ.  กตมญฺจ ภิกฺขเว ธมฺเมน สมคฺคกมฺมํ?  ญตฺติทุติเย เจ ภิกฺขเว กมฺเม ปฐมํ ญตฺตึ ฐเปติ ปจฺฉา เอกาย กมฺมวาจาย กมฺมํ กโรติ ยาวติกา ภิกฺขู กมฺมปฺปตฺตา เต อาคตา โหนฺติ ฉนฺทารหานํ ฉนฺโท อาหโฏ โหติ สมฺมุขีภูตา น ปฏิกฺโกสนฺติ ธมฺเมน สมคฺคกมฺมํ.  ญตฺติจตุตฺเถ เจ ภิกฺขเว กมฺเม ปฐมํ ญตฺตึ ฐเปติ ปจฺฉา ตีหิ กมฺมวาจาหิ กมฺมํ กโรติ ยาวติกา ภิกฺขู กมฺมปฺปตฺตา เต อาคตา โหนฺติ ฉนฺทารหานํ ฉนฺโท อาหโฏ โหติ สมฺมุขีภูตา น ปฏิกฺโกสนฺติ ธมฺเมน สมคฺคกมฺมํ. 
idha pana bhikkhave bhikkhu saṃghena nissayakammaṃ kato ... pabbājaniyakammaṃ kato ... {paṭisāraṇiyakammaṃ} kato ... āpattiyā adassane ukkhepaniyakammaṃ kato ... āpattiyā appaṭikamme ukkhepaniyakammaṃ kato ... pāpikāya diṭṭhiyā appaṭinissagge ukkhepaniyakammaṃ kato ... ime tattha bhikkhū dhammavādino ’ti. |20| 
อิทํ วุจฺจติ ภิกฺขเว ธมฺเมน สมคฺคกมฺมํ. (ญตฺติวิปนฺนกมฺมาทิกถา นิฏฺฐิตา.) 
||7|| 
 
Campeyyakkhandhakaṃ navamaṃ. 
 
imamhi khandhake vatthūni chattiṃsānīti.  tassa uddānaṃ: Campāyaṃ bhagavā āsi, vatthu Vāsabhagāmake, āgantukānaṃ ussukkaṃ akāsi icchitabbake, |  pakataññuno ’ti ñatvā ussukkaṃ na kari tadā, ukkhitto na karotīti agamā jinasantike. |  (334) adhammena vaggakammaṃ samaggaṃ adhammena ca dhammena vaggakammaṃ ca paṭirūpakena vaggikaṃ |  paṭirūpakena samaggaṃ, eko ukkhipat’ ekakaṃ eko ca dve sambahule saṃghaṃ ukkhipat’ ekato, |  duve pi, sambahulāpi, saṃgho saṃghaṃ ca ukkhipi. sabbaññu pavaro sutvā adhamman ti paṭikkhipi. |  ñattivipannaṃ yaṃ kammaṃ sampannaṃ anussāvanaṃ anussāvanavipannaṃ sampannaṃ ñattiyā ca yaṃ |  ubhayena vipannaṃ ca aññatradhammam eva ca vinā satthu paṭikuṭṭhaṃ kuppaṃ aṭṭhānārahikaṃ. |  adhamma-vaggaṃ samaggaṃ paṭirūpāni ye duve, dhammen’ eva ca sāmaggiṃ anuññāsi tathāgato. |  catuvaggo pañcavaggo dasavaggo ca vīsati parovīsativaggo ca saṃgho pañcavidho tathā. |  ṭhapetvā upasampadaṃ yaṃ ca kammaṃ pavāraṇaṃ abbhānakammena saha catuvaggehi kammiko. |  duve kamme ṭhapetvāna majjhadesupasampadā abbhānaṃ pañcavaggiko sabbakammesu kammiko. |  abbhān’ ekaṃ ṭhapetvāna ye bhikkhū dasavaggikā. sabbakammakaro saṃgho vīso sabbatthakammiko. |  bhikkhunī sikkhamānā ca sāmaṇero sāmaṇerikā paccakkhāt’-antimavatthuṃ ukkhitt’ āpattādassane |  appaṭikamme diṭṭhiyā paṇḍaka-theyyasaṃvāsakaṃ titthiya-tiracchānagataṃ mātu pitu ca ghātakaṃ |  arahaṃ bhikkhunīdūsiṃ bhedakaṃ lohituppādaṃ vyañjanaṃ nānāsaṃvāsako c’ eva nānāsīmāya iddhiyā |  yassa saṃgho kare kammaṃ hont’ ete catuvīsati, sambuddhena paṭikkhittā na h’ ete gaṇapūrakā. |  pārivāsikacatuttho parivāsaṃ dadeyya vā mūlā-mānattaṃ abbheyya akammaṃ na ca karaṇaṃ. |  mūlā-araha-mānattā abbhānāraham eva ca na kammakārakā pañca sambuddhena pakāsitā. |  bhikkhunī sikkhamānā ca sāmaṇero sāmaṇerikā paccakkh’-antima-ummattā khitta-vedan’-adassane |  appaṭikamme diṭṭhiyā paṇḍakāpi ca vyañjanā nānāsaṃvāsakā sīmā vehāsaṃ yassa kamma ca |  (335) aṭṭhārasannaṃ etesaṃ paṭikkosa na rūhati, bhikkhussa pakatattassa rūhati paṭikkosanā. |  suddh’ assa dunnisārito, bālo hi sunissārito. paṇḍako theyyasaṃvāsaṃ pakkanto tiracchānagato |  mātu pitu arahanta-dūsako saṃghabhedako lohituppādako c’ eva ubhatovyañjano ca yo |  ekādasannaṃ etesaṃ osāraṇaṃ na yujjati. hattha-pādā tadubhayaṃ kaṇṇa-nāsā tadubhayā |  aṅguli aḷa-kaṇḍaraṃ phaṇaṃ khujjo ca vāmano gaṇḍi lakkhaṇa-kasā ca likhitako ca sīpadi |  pāpa-parisa-kāṇo ca kuṇi khañjo hato pi ca iriyāpatha-dubbalo andho mūgo ca badhiro |  andhamūga-badhiro ca mūgabadhiram eva ca andhabadhiramūgo ca dvattiṃs’ ete anūnakā, |  tesaṃ osāraṇaṃ hoti sambuddhena pakāsitaṃ. daṭṭhabbā paṭikātabbā nissajjetaṃ na vijjati, |  tassa ukkhepanā kammā satta honti adhammikā, āpannaṃ anuvattantaṃ satta te pi adhammikā, |  āpannaṃ nānuvattantaṃ sattakammesu dhammikā. sammukhā paṭipucchā ca paṭiññāya ca kārakā |  sati-amūḷha-pāpikā tajjaniyavasena ca pabbājaniya-paṭisāro ukkhepa-parivāsa ca |  mūla-mānatta-abbhānā tath’ eva upasampadā: aññaṃ kareyya aññassa soḷas’ ete adhammikā, |  taṃ taṃ kareyya taṃ tassa soḷas’ ete sudhammikā, paccāropeyya aññañño soḷas’ ete adhammikā, |  dvedvetamūlakan tassa, te pi soḷasa dhammikā, ekekamūlakaṃ cakkaṃ adhamman ti jino ’bravi. |  akāsi tajjaniyakammaṃ saṃgho bhaṇḍanakārako adhammena vaggakammaṃ, aññaṃ āvāsa gacchi so, |  tattha dhammena samaggā tassa tajjaniyaṃ karuṃ, aññattha vaggadhammena tassa tajjaniyaṃ karuṃ, |  paṭirūpakena vaggāpi samaggāpi tathā karuṃ. adhammena samaggā ca, dhammena vaggam eva ca, |  paṭirūpakena vaggā ca, samaggā ca, ime padā, ekekamūlakaṃ katvā cakka bandhe vicakkhaṇo. |  bālāvyattassa nissayaṃ, pabbāje kuladūsakaṃ, paṭisāraṇiyakammaṃ kare akkosakassa ca, |  (336) adassanāpaṭikamme yo ca diṭṭhiṃ na nissaje tesaṃ ukkhepaniyakammaṃ satthavāhena bhāsitaṃ. |  ukkhepaniyakammānaṃ pañño tajjaniyaṃ naye. tesaṃ yeva anulomaṃ sammāvattantayācite |  passaddhi tesaṃ kammānaṃ heṭṭhākammanayena ca. tasmiṃ-tasmiṃ tu kammesu tatraṭṭho ca vivadati |  akataṃ dukkaṭaṃ c’ eva puna kātabbakan ti ca kamme passaddhiyā cāpi te bhikkhū dhammavādino. |  vipattivyādhite disvā kammappatte mahāmuni paṭippassaddhim akkhāsi sallakatto va osadhan ti. 
(๒๓๗. จตุวคฺคกรณาทิกถา) ๓๘๘. ปญฺจ สงฺฆา จตุวคฺโค ภิกฺขุสงฺโฆ ปญฺจวคฺโค ภิกฺขุสงฺโฆ ทสวคฺโค ภิกฺขุสงฺโฆ วีสติวคฺโค ภิกฺขุสงฺโฆ อติเรกวีสติวคฺโค ภิกฺขุสงฺโฆ.  ตตฺร ภิกฺขเว ยฺวายํ จตุวคฺโค ภิกฺขุสงฺโฆ ฐเปตฺวา ตีณิ กมฺมานิ อุปสมฺปทํ ปวารณํ อพฺภานํ ธมฺเมน สมคฺโค สพฺพกมฺเมสุ กมฺมปฺปตฺโต.  ตตฺร ภิกฺขเว ยฺวายํ ปญฺจวคฺโค ภิกฺขุสงฺโฆ ฐเปตฺวา ทฺเว กมฺมานิ มชฺฌิเมสุ ชนปเทสุ อุปสมฺปทํ อพฺภานํ ธมฺเมน สมคฺโค สพฺพกมฺเมสุ กมฺมปฺปตฺโต.  ตตฺร ภิกฺขเว ยฺวายํ ทสวคฺโค ภิกฺขุสงฺโฆ ฐเปตฺวา เอกํ กมฺมํ อพฺภานํ ธมฺเมน สมคฺโค สพฺพกมฺเมสุ กมฺมปฺปตฺโต.  ตตฺร ภิกฺขเว ยฺวายํ วีสติวคฺโค ภิกฺขุสงฺโฆ ธมฺเมน สมคฺโค สพฺพกมฺเมสุ กมฺมปฺปตฺโต.  ตตฺร ภิกฺขเว ยฺวายํ อติเรกวีสติวคฺโค ภิกฺขุสงฺโฆ ธมฺเมน สมคฺโค สพฺพกมฺเมสุ กมฺมปฺปตฺโต.  ๓๘๙. จตุวคฺคกรณญฺเจ ภิกฺขเว กมฺมํ ภิกฺขุนิจตุตฺโถ กมฺมํ กเรยฺย อกมฺมํ น จ กรณียํ.  จตุวคฺคกรณญฺเจ ภิกฺขเว กมฺมํ สิกฺขมานจตุตฺโถ กมฺมํ กเรยฺย… อกมฺมํ น จ กรณียํฯเปฯ. สามเณรจตุตฺโถ กมฺมํ กเรยฺย… อกมฺมํ น จ กรณียํ. สามเณริจตุตฺโถ กมฺมํ กเรยฺย… อกมฺมํ น จ กรณียํ. สิกฺขํ ปจฺจกฺขาตกจตุตฺโถ กมฺมํ กเรยฺย… อกมฺมํ น จ กรณียํ. อนฺติมวตฺถุํ อชฺฌาปนฺนกจตุตฺโถ กมฺมํ กเรยฺย… อกมฺมํ น จ กรณียํ. อาปตฺติยา อทสฺสเน อุกฺขิตฺตกจตุตฺโถ กมฺมํ กเรยฺย… อกมฺมํ น จ กรณียํ. อาปตฺติยา อปฺปฏิกมฺเม อุกฺขิตฺตกจตุตฺโถ กมฺมํ กเรยฺย… อกมฺมํ น จ กรณียํ. ปาปิกาย ทิฏฺฐิยา อปฺปฏินิสฺสคฺเค อุกฺขิตฺตกจตุตฺโถ กมฺมํ กเรยฺย… อกมฺมํ น จ กรณียํ. ปณฺฑกจตุตฺโถ กมฺมํ กเรยฺย… อกมฺมํ น จ กรณียํ. เถยฺยสํวาสกจตุตฺโถ กมฺมํ กเรยฺย… อกมฺมํ น จ กรณียํ. ติตฺถิยปกฺกนฺตกจตุตฺโถ กมฺมํ กเรยฺย… อกมฺมํ น จ กรณียํ. ติรจฺฉานคตจตุตฺโถ กมฺมํ กเรยฺย… อกมฺมํ น จ กรณียํ. มาตุฆาตกจตุตฺโถ กมฺมํ กเรยฺย… อกมฺมํ น จ กรณียํ. ปิตุฆาตกจตุตฺโถ กมฺมํ กเรยฺย… อกมฺมํ น จ กรณียํ. อรหนฺตฆาตกจตุตฺโถ กมฺมํ กเรยฺย… อกมฺมํ น จ กรณียํ. ภิกฺขุนิทูสกจตุตฺโถ กมฺมํ กเรยฺย… อกมฺมํ น จ กรณียํ. สงฺฆเภทกจตุตฺโถ กมฺมํ กเรยฺย… อกมฺมํ น จ กรณียํ. โลหิตุปฺปาทกจตุตฺโถ กมฺมํ กเรยฺย… อกมฺมํ น จ กรณียํ. อุภโตพฺยญฺชนกจตุตฺโถ กมฺมํ กเรยฺย… อกมฺมํ น จ กรณียํ. นานาสํวาสกจตุตฺโถ กมฺมํ กเรยฺย… อกมฺมํ น จ กรณียํ. นานาสีมาย ฐิตจตุตฺโถ กมฺมํ กเรยฺย… อกมฺมํ น จ กรณียํ. อิทฺธิยา เวหาเส ฐิตจตุตฺโถ กมฺมํ กเรยฺย… อกมฺมํ น จ กรณียํ. ยสฺส สงฺโฆ กมฺมํ กโรติ ตํจตุตฺโถ กมฺมํ กเรยฺย อกมฺมํ น จ กรณียํ.  จตุวรณํ.  ๓๙๐. ปญฺจวคฺคกรณญฺเจ ภิกฺขเว กมฺมํ ภิกฺขุนิปญฺจโม กมฺมํ กเรยฺย… อกมฺมํ น จ กรณียํ. ปญฺจวคฺคกรณญฺเจ ภิกฺขเว กมฺมํ สิกฺขมานปญฺจโม กมฺมํ กเรยฺยฯเปฯ. สามเณรปญฺจโม กมฺมํ กเรยฺย… สามเณริปญฺจโม กมฺมํ กเรยฺย สิกฺขํ ปจฺจกฺขาตกปญฺจโม กมฺมํ กเรยฺย… อนฺติมวตฺถุํ อชฺฌาปนฺนกปญฺจโม กมฺมํ กเรยฺย… อาปตฺติยา อทสฺสเน อุกฺขิตฺตกปญฺจโม กมฺมํ กเรยฺย… อาปตฺติยา อปฺปฏิกมฺเม อุกฺขิตฺตกปญฺจโม กมฺมํ กเรยฺย… ปาปิกาย ทิฏฺฐิยา อปฺปฏินิสฺสคฺเค อุกฺขิตฺตกปญฺจโม กมฺมํ กเรยฺย… ปณฺฑกปญฺจโม กมฺมํ กเรยฺย… เถยฺยสํวาสกปญฺจโม กมฺมํ กเรยฺย… ติตฺถิยปกฺกนฺตกปญฺจโม กมฺมํ กเรยฺย… ติรจฺฉานคตปญฺจโม กมฺมํ กเรยฺย… มาตุฆาตกปญฺจโม กมฺมํ กเรยฺย… ปิตุฆาตกปญฺจโม กมฺมํ กเรยฺย… อรหนฺตฆาตกปญฺจโม กมฺมํ กเรยฺย… ภิกฺขุนิทูสกปญฺจโม กมฺมํ กเรยฺย… สงฺฆเภทกปญฺจโม กมฺมํ กเรยฺย… โลหิตุปฺปาทกปญฺจโม กมฺมํ กเรยฺย… อุภโตพฺยญฺชนกปญฺจโม กมฺมํ กเรยฺย… นานาสํวาสกปญฺจโม กมฺมํ กเรยฺย… นานาสีมาย ฐิตปญฺจโม กมฺมํ กเรยฺย… อิทฺธิยา เวหาเส ฐิตปญฺจโม กมฺมํ กเรยฺย… ยสฺส สงฺโฆ กมฺมํ กโรติ ตํปญฺจโม กมฺมํ กเรยฺย อกมฺมํ น จ กรณียํ.  ปญฺจวคฺคกรณํ.  ๓๙๑. ทสวคฺคกรณญฺเจ ภิกฺขเว กมฺมํ ภิกฺขุนิทสโม กมฺมํ กเรยฺย อกมฺมํ น จ กรณียํ. ทสวคฺคกรณญฺเจ ภิกฺขเว กมฺมํ สิกฺขมานทสโม กมฺมํ กเรยฺย อกมฺมํ น จ กรณียํฯเปฯ ทสวคฺคกรณญฺเจ ภิกฺขเว กมฺมํ ยสฺส สงฺโฆ กมฺมํ กโรติ ตํทสโม กมฺมํ กเรยฺย อกมฺมํ น จ กรณียํ.  ทสวคฺคกรณํ.  ๓๙๒. วีสติวคฺคกรณญฺเจ ภิกฺขเว กมฺมํ ภิกฺขุนิวีโส กมฺมํ กเรยฺย อกมฺมํ น จ กรณียํ. วีสติวคฺคกรณญฺเจ ภิกฺขเว กมฺมํ สิกฺขมานวีโส กมฺมํ กเรยฺย ฯเปฯ สามเณรวีโส กมฺมํ กเรยฺย… สามเณริวีโส กมฺมํ กเรยฺย… สิกฺขํ ปจฺจกฺขาตกวีโส กมฺมํ กเรยฺย… อนฺติมวตฺถุํ อชฺฌาปนฺนกวีโส กมฺมํ กเรยฺย… อาปตฺติยา อทสฺสเน อุกฺขิตฺตกวีโส กมฺมํ กเรยฺย… อาปตฺติยา อปฺปฏิกมฺเม อุกฺขิตฺตกวีโส กมฺมํ กเรยฺย… ปาปิกาย ทิฏฺฐิยา อปฺปฏินิสฺสคฺเค อุกฺขิตฺตกวีโส กมฺมํ กเรยฺย… ปณฺฑกวีโส กมฺมํ กเรยฺย… เถยฺยสํวาสกวีโส กมฺมํ กเรยฺย… ติตฺถิยปกฺกนฺตกวีโส กมฺมํ กเรยฺย… ติรจฺฉานคตวีโส กมฺมํ กเรยฺย… มาตุฆาตกวีโส กมฺมํ กเรยฺย… ปิตุฆาตกวีโส กมฺมํ กเรยฺย… อรหนฺตฆาตกวีโส กมฺมํ กเรยฺย… ภิกฺขุนิทูสกวีโส กมฺมํ กเรยฺย… สงฺฆเภทกวีโส กมฺมํ กเรยฺย… โลหิตุปฺปาทกวีโส กมฺมํ กเรยฺย… อุภโตพฺยญฺชนกวีโส กมฺมํ กเรยฺย… นานาสํวาสกวีโส กมฺมํ กเรยฺย… นานาสีมาย ฐิตวีโส กมฺมํ กเรยฺย… อิทฺธิยา เวหาเส ฐิตวีโส กมฺมํ กเรยฺย… ยสฺส สงฺโฆ กมฺมํ กโรติ ตํวีโส กมฺมํ กเรยฺย อกมฺมํ น จ กรณียํ.  วีสติวคฺคกรณํ. (จตุวคฺคกรณาทิกถา นิฏฺฐิตา.)  (๒๓๘. ปาริวาสิกาทิกถา) ๓๙๓. ปาริวาสิกจตุตฺโถ เจ ภิกฺขเว ปริวาสํ ทเทยฺย มูลาย ปฏิกสฺเสยฺย มานตฺตํ ทเทยฺย ตํวีโส อพฺเภยฺย อกมฺมํ น จ กรณียํ.  มูลาย ปฏิกสฺสนารหจตุตฺโถ เจ ภิกฺขเว ปริวาสํ ทเทยฺย มูลาย ปฏิกสฺเสยฺย มานตฺตํ ทเทยฺย ตํวีโส อพฺเภยฺย อกมฺมํ น จ กรณียํ.  มานตฺตารหจตุตฺโถ เจ ภิกฺขเว ปริวาสํ ทเทยฺย มูลาย ปฏิกสฺเสยฺย มานตฺตํ ทเทยฺย ตํวีโส อพฺเภยฺย อกมฺมํ น จ กรณียํ.  มานตฺตจาริกจตุตฺโถ เจ ภิกฺขเว ปริวาสํ ทเทยฺย มูลาย ปฏิกสฺเสยฺย มานตฺตํ ทเทยฺย ตํวีโส อพฺเภยฺย อกมฺมํ น จ กรณียํ.  อพฺภานารหจตุตฺโถ เจ ภิกฺขเว ปริวาสํ ทเทยฺย มูลาย ปฏิกสฺเสยฺย มานตฺตํ ทเทยฺย ตํวีโส อพฺเภยฺย อกมฺมํ น จ กรณียํ.  ๓๙๔. เอกจฺจสฺส ภิกฺขเว สงฺฆมชฺเฌ ปฏิกฺโกสนา รุหติ เอกจฺจสฺส น รุหติ.  กสฺส จ ภิกฺขเว สงฺฆมชฺเฌ ปฏิกฺโกสนา น รุหติ?  ภิกฺขุนิยา ภิกฺขเว สงฺฆมชฺเฌ ปฏิกฺโกสนา น รุหติ. สิกฺขมานาย ภิกฺขเวฯเปฯ สามเณรสฺส ภิกฺขเว… สามเณริยา ภิกฺขเว… สิกฺขาปจฺจกฺขาตกสฺส ภิกฺขเว… อนฺติมวตฺถุํ อชฺฌาปนฺนกสฺส ภิกฺขเว … อุมฺมตฺตกสฺส ภิกฺขเว… ขิตฺตจิตฺตสฺส ภิกฺขเว… เวทนาฏฺฏสฺส ภิกฺขเว… อาปตฺติยา อทสฺสเน อุกฺขิตฺตกสฺส ภิกฺขเว… อาปตฺติยา อปฺปฏิกมฺเม อุกฺขิตฺตกสฺส ภิกฺขเว… ปาปิกาย ทิฏฺฐิยา อปฺปฏินิสฺสคฺเค อุกฺขิตฺตกสฺส ภิกฺขเว… ปณฺฑกสฺส ภิกฺขเว… เถยฺยสํวาสกสฺส ภิกฺขเว… ติตฺถิยปกฺกนฺตกสฺส ภิกฺขเว ติรจฺฉานคตสฺส ภิกฺขเว… มาตุฆาตกสฺส ภิกฺขเว… ปิตุฆาตกสฺส ภิกฺขเว… อรหนฺตฆาตกสฺส ภิกฺขเว… ภิกฺขุนิทูสกสฺส ภิกฺขเว… สงฺฆเภทกสฺส ภิกฺขเว… โลหิตุปฺปาทกสฺส ภิกฺขเว… อุภโตพฺยญฺชนกสฺส ภิกฺขเว… นานาสํวาสกสฺส ภิกฺขเว… นานาสีมาย ฐิตสฺส ภิกฺขเว… อิทฺธิยา เวหาเส ฐิตสฺส ภิกฺขเว ยสฺส สงฺโฆ กมฺมํ กโรติ ตสฺส จ ภิกฺขเว สงฺฆมชฺเฌ ปฏิกฺโกสนา น รุหติ.  อิเมสํ โข ภิกฺขเว สงฺฆมชฺเฌ ปฏิกฺโกสนา น รุหติ.  กสฺส จ ภิกฺขเว สงฺฆมชฺเฌ ปฏิกฺโกสนา รุหติ?  ภิกฺขุสฺส ภิกฺขเว ปกตตฺตสฺส สมานสํวาสกสฺส สมานสีมาย ฐิตสฺส อนฺตมโส อานนฺตริกสฺสาปิ ภิกฺขุโน วิญฺญาเปนฺตสฺส สงฺฆมชฺเฌ ปฏิกฺโกสนา รุหติ.  อิมสฺส โข ภิกฺขเว สงฺฆมชฺเฌ ปฏิกฺโกสนา รุหติ. (ปาริวาสิกาทิกถา นิฏฺฐิตา.)  (๒๓๙. ทฺเวนิสฺสารณาทิกถา) ๓๙๕. ทฺเวมา ภิกฺขเว นิสฺสารณา.  อตฺถิ ภิกฺขเว ปุคฺคโล อปฺปตฺโต นิสฺสารณํ. ตญฺเจ สงฺโฆ นิสฺสาเรติ เอกจฺโจ สุนิสฺสาริโต เอกจฺโจ ทุนฺนิสฺสาริโต.  กตโม จ ภิกฺขเว ปุคฺคโล อปฺปตฺโต นิสฺสารณํ ตญฺเจ สงฺโฆ นิสฺสาเรติ ทุนฺนิสฺสาริโต?  อิธ ปน ภิกฺขเว ภิกฺขุ สุทฺโธ โหติ อนาปตฺติโก. ตญฺเจ สงฺโฆ นิสฺสาเรติ ทุนฺนิสฺสาริโต.  อยํ วุจฺจติ ภิกฺขเว ปุคฺคโล อปฺปตฺโต นิสฺสารณํ ตญฺเจ สงฺโฆ นิสฺสาเรติ ทุนฺนิสฺสาริโต.  กตโม จ ภิกฺขเว ปุคฺคโล อปฺปตฺโต นิสฺสารณํ ตญฺเจ สงฺโฆ นิสฺสาเรติ สุนิสฺสาริโต?  อิธ ปน ภิกฺขเว ภิกฺขุ พาโล โหติ อพฺยตฺโต อาปตฺติพหุโล อนปทาโน คิหิสํสฏฺโฐ วิหรติ อนนุโลมิเกหิ คิหิสํสคฺเคหิ ตญฺเจ สงฺโฆ นิสฺสาเรติ สุนิสฺสาริโต.  อยํ วุจฺจติ ภิกฺขเว ปุคฺคโล อปฺปตฺโต นิสฺสารณํ ตญฺเจ สงฺโฆ นิสฺสาเรติ สุนิสฺสาริโต.  ๓๙๖. ทฺเวมา ภิกฺขเว โอสารณา.  อตฺถิ ภิกฺขเว ปุคฺคโล อปฺปตฺโต โอสารณํ ตญฺเจ สงฺโฆ โอสาเรติ เอกจฺโจ โสสาริโต เอกจฺโจ โทสาริโต.  กตโม จ ภิกฺขเว ปุคฺคโล อปฺปตฺโต โอสารณํ ตญฺเจ สงฺโฆ โอสาเรติ โทสาริโต?  ปณฺฑโก ภิกฺขเว อปฺปตฺโต โอสารณํ ตญฺเจ สงฺโฆ โอสาเรติ โทสาริโต.  เถยฺยสํวาสโก ภิกฺขเว อปฺปตฺโต โอสารณํ ตญฺเจ สงฺโฆ โอสาเรติ โทสาริโต. ติตฺถิยปกฺกนฺตโก ภิกฺขเวฯเปฯ ติรจฺฉานคโต ภิกฺขเว… มาตุฆาตโก ภิกฺขเว… ปิตุฆาตโก ภิกฺขเว… อรหนฺตฆาตโก ภิกฺขเว… ภิกฺขุนิทูสโก ภิกฺขเว… สงฺฆเภทโก ภิกฺขเว… โลหิตุปฺปาทโก ภิกฺขเว… อุภโตพฺยญฺชนโก ภิกฺขเว อปฺปตฺโต โอสารณํ ตญฺเจ สงฺโฆ โอสาเรติ โทสาริโต.  อยํ วุจฺจติ ภิกฺขเว ปุคฺคโล อปฺปตฺโต โอสารณํ ตญฺเจ สงฺโฆ โอสาเรติ โทสาริโต.  อิเม วุจฺจนฺติ ภิกฺขเว ปุคฺคลา อปฺปตฺตา โอสารณํ เต เจ สงฺโฆ โอสาเรติ โทสาริตา.  กตโม จ ภิกฺขเว ปุคฺคโล อปฺปตฺโต โอสารณํ ตญฺเจ สงฺโฆ โอสาเรติ โสสาริโต?  หตฺถจฺฉินฺโน ภิกฺขเว อปฺปตฺโต โอสารณํ ตญฺเจ สงฺโฆ โอสาเรติ โสสาริโต.  ปาทจฺฉินฺโน ภิกฺขเวฯเปฯ หตฺถปาทจฺฉินฺโน ภิกฺขเว… กณฺณจฺฉินฺโน ภิกฺขเว… นาสจฺฉินฺโน ภิกฺขเว… กณฺณนาสจฺฉินฺโน ภิกฺขเว… องฺคุลิจฺฉินฺโน ภิกฺขเว… อฬจฺฉินฺโน ภิกฺขเว… กณฺฑรจฺฉินฺโน ภิกฺขเว… ผณหตฺถโก ภิกฺขเว… ขุชฺโช ภิกฺขเว… วามโน ภิกฺขเว… คลคณฺฑี ภิกฺขเว… ลกฺขณาหโต ภิกฺขเว… กสาหโต ภิกฺขเว… ลิขิตโก ภิกฺขเว… สีปทิโก ภิกฺขเว… ปาปโรคี ภิกฺขเว… ปริสทูสโก ภิกฺขเว… กาโณ ภิกฺขเว… กุณี ภิกฺขเว… ขญฺโช ภิกฺขเว… ปกฺขหโต ภิกฺขเว… ฉินฺนิริยาปโถ ภิกฺขเว… ชราทุพฺพโล ภิกฺขเว… อนฺโธ ภิกฺขเว… มูโค ภิกฺขเว… พธิโร ภิกฺขเว… อนฺธมูโค ภิกฺขเว… อนฺธพธิโร ภิกฺขเว… มูคพธิโร ภิกฺขเว… อนฺธมูคพธิโร ภิกฺขเว อปฺปตฺโต โอสารณํ ตญฺเจ สงฺโฆ โอสาเรติ โสสาริโต. 
Tena samayena buddho bhagavā Kosambiyaṃ viharati Ghositārāme.  tena kho pana samayena aññataro bhikkhu āpattiṃ āpanno hoti, so tassā āpattiyā āpattidiṭṭhi hoti, aññe bhikkhū tassā āpattiyā anāpattidiṭṭhino honti.  so aparena samayena tassā āpattiyā anāpattidiṭṭhi hoti, aññe bhikkhū tassā āpattiyā āpattidiṭṭhino honti.  atha kho te bhikkhū taṃ bhikkhuṃ etad avocuṃ: āpattiṃ tvaṃ āvuso āpanno, passas’ etaṃ āpattin ti.  n’ atthi me āvuso āpatti yam ahaṃ passeyyan ti.  atha kho te bhikkhū sāmaggiṃ labhitvā taṃ bhikkhuṃ āpattiyā adassane ukkhipiṃsu. |1| 
อยํ วุจฺจติ ภิกฺขเว ปุคฺคโล อปฺปตฺโต โอสารณํ ตญฺเจ สงฺโฆ โอสาเรติ โสสาริโต.  อิเม วุจฺจนฺติ ภิกฺขเว ปุคฺคลา อปฺปตฺตา โอสารณํ เต เจ สงฺโฆ โอสาเรติ โสสาริตา. (ทฺเวนิสฺสารณาทิกถา นิฏฺฐิตา.)      วาสภคามภาณวาโร นิฏฺฐิโต ปฐโม.  (๒๔๐. อธมฺมกมฺมาทิกถา) ๓๙๗. อิธ ปน ภิกฺขเว ภิกฺขุสฺส น โหติ อาปตฺติ ทฏฺฐพฺพา. 
so ca bhikkhu bahussuto hoti āgatāgamo dhammadharo vinayadharo mātikādharo paṇḍito vyatto medhāvī lajjī kukkuccako sikkhākāmo.  atha kho so bhikkhu sandiṭṭhe sambhatte bhikkhū upasaṃkamitvā etad avoca: anāpatti esā āvuso n’ esā āpatti, anāpanno ’mhi n’ amhi āpanno, anukkhitto ’mhi n’ amhi ukkhitto, adhammiken’ amhi kammena ukkhitto kuppena aṭṭhānārahena, hotha me āyasmanto dhammato vinayato pakkhā ’ti.  alabhi kho so bhikkhu sandiṭṭhe sambhatte bhikkhū pakkhe.  jānapadānam pi sandiṭṭhānaṃ sambhattānaṃ bhikkhūnaṃ santike dūtaṃ pāhesi: anāpatti esā āvuso ... aṭṭhānārahena, hontu me āyasmanto dhammato vinayato pakkhā ’ti.  alabhi kho so bhikkhu jānapade pi sandiṭṭhe sambhatte bhikkhū pakkhe. |2| 
ตเมนํ โจเทติ สงฺโฆ วา สมฺพหุลา วา เอกปุคฺคโล วา “อาปตฺตึ ตฺวํ อาวุโส อาปนฺโน ปสฺสเสตํ อาปตฺติ”นฺติ?  โส เอวํ วเทติ “นตฺถิ เม อาวุโส อาปตฺติ ยมหํ ปสฺเสยฺย”นฺติ.  ตํ สงฺโฆ อาปตฺติยา อทสฺสเน อุกฺขิปติ อธมฺมกมฺมํ.  อิธ ปน ภิกฺขเว ภิกฺขุสฺส น โหติ อาปตฺติ ปฏิกาตพฺพา.  ตเมนํ โจเทติ สงฺโฆ วา สมฺพหุลา วา เอกปุคฺคโล วา “อาปตฺตึ ตฺวํ อาวุโส อาปนฺโน ปฏิกโรหิ ตํ อาปตฺติ”นฺติ. 
atha kho te ukkhittānuvattakā bhikkhū yena ukkhepakā bhikkhū ten’ upasaṃkamiṃsu, upasaṃkamitvā ukkhepake bhikkhū etad avocuṃ: anāpatti esā āvuso n’ esā āpatti, anāpanno eso bhikkhu n’ eso bhikkhu āpanno, anukkhitto eso bhikkhu n’ eso bhikkhu (338) ukkhitto, adhammikena kammena ukkhitto kuppena aṭṭhānārahenā ’ti.  evaṃ vutte ukkhepakā bhikkhū ukkhittānuvattake bhikkhū etad avocuṃ: āpatti esā āvuso n’ esā anāpatti, āpanno eso bhikkhu n’ eso bhikkhu anāpanno, ukkhitto eso bhikkhu n’ eso bhikkhu anukkhitto, dhammikena kammena ukkhitto akuppena ṭhānārahena, mā kho tumhe āyasmanto etaṃ ukkhittakaṃ bhikkhuṃ anuvattittha anuparivārethā ’ti.  evam pi kho te ukkhittānuvattakā bhikkhū ukkhepakehi bhikkhūhi vuccamānā tath’ eva taṃ ukkhittakaṃ bhikkhuṃ anuvattiṃsu anuparivāresuṃ. |3| 
โส เอวํ วเทติ “นตฺถิ เม อาวุโส อาปตฺติ ยมยํ ปฏิกเรยฺย”นฺติ.  ตํ สงฺโฆ อาปตฺติยา อปฺปฏิกมฺเม อุกฺขิปติ อธมฺมกมฺมํ.  อิธ ปน ภิกฺขเว ภิกฺขุสฺส น โหติ ปาปิกา ทิฏฺฐิ ปฏินิสฺสชฺเชตา. 
atha kho aññataro bhikkhu yena bhagavā ten’ upasaṃkami, upasaṃkamitvā bhagavantaṃ abhivādetvā ekamantaṃ nisīdi.  ekamantaṃ nisinno kho so bhikkhu bhagavantaṃ etad avoca: idha bhante aññataro bhikkhu āpattiṃ āpanno ahosi, so tassā āpattiyā āpattidiṭṭhi ahosi, aññe bhikkhū tassā āpattiyā anāpattidiṭṭhino ahesuṃ.  so aparena samayena tassā āpattiyā anāpattidiṭṭhi ahosi, aññe bhikkhū tassā āpattiyā āpattidiṭṭhino ahesuṃ.  atha kho te bhante bhikkhū ... (= 1) ... passeyyanti.  atha kho te bhante bhikkhū ... ukkhipiṃsu.  so ca bhante bhikkhu bahussuto āgatāgamo ... sikkhākāmo.  atha kho so bhante bhikkhu ... alabhi kho so bhante bhikkhu sandiṭṭhe ... alabhi kho so bhante bhikkhu jānapade pi ... atha kho te bhante ukkhittānuvattakā ... evaṃ vutte bhante ukkhepakā ... evam pi kho te bhante ukkhittānuvattakā bhikkhū ukkhepakehi bhikkhūhi vuccamānā tath’ eva taṃ ukkhittakaṃ bhikkhuṃ anuvattanti anuparivārentīti. |4| 
ตเมนํ โจเทติ สงฺโฆ วา สมฺพหุลา วา เอกปุคฺคโล วา “ปาปิกา เต อาวุโส ทิฏฺฐิ ปฏินิสฺสชฺเชตํ ปาปิกํ ทิฏฺฐิ”นฺติ.  โส เอวํ วเทติ “นตฺถิ เม อาวุโส ปาปิกา ทิฏฺฐิ ยมหํ ปฏินิสฺสชฺเชยฺย”นฺติ.  ตํ สงฺโฆ ปาปิกาย ทิฏฺฐิยา อปฺปฏินิสฺสคฺเค อุกฺขิปติ อธมฺมกมฺมํ.  อิธ ปน ภิกฺขเว ภิกฺขุสฺส น โหติ อาปตฺติ ทฏฺฐพฺพา น โหติ อาปตฺติ ปฏิกาตพฺพา.  ตเมนํ โจเทติ สงฺโฆ วา สมฺพหุลา วา เอกปุคฺคโล วา “อาปตฺตึ ตฺวํ อาวุโส อาปนฺโน ปสฺสเสตํ อาปตฺติ? ปฏิกโรหิ ตํ อาปตฺติ”นฺติ.  โส เอวํ วเทติ “นตฺถิ เม อาวุโส อาปตฺติ ยมหํ ปสฺเสยฺยํ. นตฺถิ เม อาวุโส อาปตฺติ ยมหํ ปฏิกเรยฺย”นฺติ.  ตํ สงฺโฆ อทสฺสเน วา อปฺปฏิกมฺเม วา อุกฺขิปติ อธมฺมกมฺมํ. 
atha kho bhagavā bhinno bhikkhusaṃgho bhinno bhikkhusaṃgho ’ti uṭṭhāyāsanā yena ukkhepakā bhikkhū ten’ {upasaṃkami,} upasaṃkamitvā paññatte āsane nisīdi.  nisajja kho bhagavā ukkhepake bhikkhū etad avoca: mā kho tumhe bhikkhave paṭibhāti no paṭibhāti no ’ti yasmiṃ vā tasmiṃ vā bhikkhuṃ ukkhipitabbaṃ maññittha. |5| 
อิธ ปน ภิกฺขเว ภิกฺขุสฺส น โหติ อาปตฺติ ทฏฺฐพฺพา น โหติ ปาปิกา ทิฏฺฐิ ปฏินิสฺสชฺเชตา.  ตเมนํ โจเทติ สงฺโฆ วา สมฺพหุลา วา เอกปุคฺคโล วา “อาปตฺตึ ตฺวํ อาวุโส อาปนฺโน ปสฺสเสตํ อาปตฺตึ? ปาปิกา เต ทิฏฺฐิ ปฏินิสฺสชฺเชตํ ปาปิกํ ทิฏฺฐิ”นฺติ. 
idha pana bhikkhave bhikkhu āpattiṃ āpanno hoti, so tassā āpattiyā anāpattidiṭṭhi hoti, aññe bhikkhū tassā āpattiyā āpattidiṭṭhino honti.  te ce bhikkhave bhikkhū taṃ bhikkhuṃ evaṃ jānanti: ayaṃ kho āyasmā bahussuto āgatāgamo ... sikkhākāmo, sace mayaṃ imaṃ bhikkhuṃ āpattiyā adassane ukkhipissāma na mayaṃ iminā bhikkhunā (339) saddhiṃ uposathaṃ karissāma vinā iminā bhikkhunā uposathaṃ karissāma, bhavissati saṃghassa tatonidānaṃ bhaṇḍanaṃ kalaho viggaho vivādo saṃghabhedo saṃgharāji saṃghavavatthānaṃ saṃghanānākaraṇan ti, bhedagarukehi bhikkhave bhikkhūhi na so bhikkhu āpattiyā adassane ukkhipitabbo. |6| 
โส เอวํ วเทติ “นตฺถิ เม อาวุโส อาปตฺติ ยมหํ ปสฺเสยฺยํ นตฺถิ เม อาวุโส ปาปิกา ทิฏฺฐิ ยมหํ ปฏินิสฺสชฺเชยฺย”นฺติ.  ตํ สงฺโฆ อทสฺสเน วา อปฺปฏินิสฺสคฺเค วา อุกฺขิปติ อธมฺมกมฺมํ. 
idha pana bhikkhave bhikkhu āpattiṃ āpanno hoti, so tassā ... ukkhipissāma na mayaṃ iminā bhikkhunā saddhiṃ pavāressāma vinā iminā bhikkhunā pavāressāma, na mayaṃ iminā bhikkhunā saddhiṃ saṃghakammaṃ karissāma vinā iminā bhikkhunā saṃghakammaṃ karissāma, na mayaṃ iminā bhikkhunā saddhiṃ āsane nisīdissāma vinā iminā bhikkhunā āsane nisīdissāma, na mayaṃ iminā bhikkhunā saddhiṃ yāgupāne nisīdissāma vinā iminā bhikkhunā yāgupāne nisīdissāma, na mayaṃ iminā bhikkhunā saddhiṃ bhattagge nisīdissāma vinā iminā bhikkhunā bhattagge nisīdissāma, na mayaṃ iminā bhikkhunā saddhiṃ ekacchanne vasissāma vinā iminā bhikkhunā ekacchanne vasissāma, na mayaṃ iminā bhikkhunā saddhiṃ yathāvuḍḍhaṃ abhivādanaṃ paccuṭṭhānaṃ añjalikammaṃ sāmīcikammaṃ karissāma vinā iminā bhikkhunā yathāvuḍḍhaṃ ... sāmīcikammaṃ karissāma, bhavissati saṃghassa tatonidānaṃ bhaṇḍanaṃ kalaho viggaho vivādo saṃghabhedo saṃgharāji saṃghavavatthānaṃ saṃghanānākaraṇan ti, bhedagarukehi bhikkhave bhikkhūhi na so bhikkhu āpattiyā adassane ukkhipitabbo ’ti. |7| 
อิธ ปน ภิกฺขเว ภิกฺขุสฺส น โหติ อาปตฺติ ปฏิกาตพฺพา น โหติ ปาปิกา ทิฏฺฐิ ปฏินิสฺสชฺเชตา. 
atha kho bhagavā ukkhepakānaṃ bhikkhūnaṃ etam atthaṃ bhāsitvā uṭṭhāyāsanā yena ukkhittānuvattakā bhikkhū ten’ upasaṃkami, upasaṃkamitvā paññatte āsane nisīdi.  nisajja kho bhagavā ukkhittānuvattake bhikkhū etad avoca: mā kho tumhe bhikkhave āpattiṃ āpajjitvā n’ amhā āpannā ’ti āpattiṃ na paṭikātabbaṃ maññittha.  idha pana bhikkhave bhikkhu āpattiṃ āpanno hoti, so tassā āpattiyā anāpattidiṭṭhi hoti, aññe bhikkhū tassā āpattiyā āpattidiṭṭhino honti.  so ce bhikkhave bhikkhu te bhikkhū evaṃ jānāti: ime kho āyasmantā bahussutā āgatāgamā dhammadharā vinayadharā mātikādharā paṇḍitā vyattā medhāvino lajjino kukkuccakā sikkhākāmā, nālaṃ mamaṃ vā kāraṇā aññesaṃ vā kāraṇā chandā dosā mohā bhayā agatiṃ gantuṃ, sace maṃ ime bhikkhū āpattiyā adassane (340) ukkhipissanti na mayā saddhiṃ uposathaṃ karissanti vinā mayā uposathaṃ karissanti, ... na mayā saddhiṃ pavāressanti vinā mayā pavāressanti ... vinā mayā yathāvuḍḍhaṃ abhivādanaṃ paccuṭṭhānaṃ añjalikammaṃ sāmīcikammaṃ karissanti, bhavissati saṃghassa tatonidānaṃ bhaṇḍanaṃ kalaho viggaho vivādo saṃghabhedo saṃgharāji saṃghavavatthānaṃ saṃghanānākaraṇan ti, bhedagarukena bhikkhave bhikkhunā paresam pi saddhāya āpatti desetabbā ’ti.  atha kho bhagavā ukkhittānuvattakānaṃ bhikkhūnaṃ etam atthaṃ bhāsitvā uṭṭhāyāsanā pakkāmi. |8| 
ตเมนํ โจเทติ สงฺโฆ วา สมฺพหุลา วา เอกปุคฺคโล วา “อาปตฺตึ ตฺวํ อาวุโส อาปนฺโน ปฏิกโรหิ ตํ อาปตฺตึ ปาปิกา เต ทิฏฺฐิ ปฏินิสฺสชฺเชตํ ปาปิกํ ทิฏฺฐิ”นฺติ.  โส เอวํ วเทติ “นตฺถิ เม อาวุโส อาปตฺติ ยมหํ ปฏิกเรยฺยํ. นตฺถิ เม อาวุโส ปาปิกา ทิฏฺฐิ ยมหํ ปฏินิสฺสชฺเชยฺย”นฺติ.  ตํ สงฺโฆ อปฺปฏิกมฺเม วา อปฺปฏินิสฺสคฺเค วา อุกฺขิปติ อธมฺมกมฺมํ.  อิธ ปน ภิกฺขเว ภิกฺขุสฺส น โหติ อาปตฺติ ทฏฺฐพฺพา น โหติ อาปตฺติ ปฏิกาตพฺพา น โหติ ปาปิกา ทิฏฺฐิ ปฏินิสฺสชฺเชตา.  ตเมนํ โจเทติ สงฺโฆ วา สมฺพหุลา วา เอกปุคฺคโล วา “อาปตฺตึ ตฺวํ อาวุโส อาปนฺโน ปสฺสเสตํ อาปตฺตึ? ปฏิกโรหิ ตํ อาปตฺตึ ปาปิกา เต ทิฏฺฐิ ปฏินิสฺสชฺเชตํ ปาปิกํ ทิฏฺฐิ”นฺติ. 
tena kho pana samayena ukkhittānuvattakā bhikkhū tatth’ eva anto sīmāya uposathaṃ karonti saṃghakammaṃ karonti, ukkhepakā pana bhikkhū nissīmaṃ gantvā uposathaṃ karonti saṃghakammaṃ karonti.  atha kho aññataro ukkhepako bhikkhu yena bhagavā ten’ upasaṃkami, upasaṃkamitvā bhagavantaṃ abhivādetvā ekamantaṃ nisīdi.  ekamantaṃ nisinno kho so bhikkhu bhagavantaṃ etad avoca: te bhante ukkhittānuvattakā bhikkhū tatth’ eva anto sīmāya uposathaṃ karonti saṃghakammaṃ karonti, mayam pana ukkhepakā bhikkhū nissīmaṃ gantvā uposathaṃ karoma saṃghakammaṃ karomā ’ti.  te ce bhikkhu ukkhittānuvattakā bhikkhū tatth’ eva anto sīmāya uposathaṃ karissanti saṃghakammaṃ karissanti yathā mayā ñatti ca anussāvanā ca paññattā, tesaṃ tāni kammāni dhammikāni bhavissanti akuppāni ṭhānārahāni.  tumhe ce bhikkhu ukkhepakā bhikkhū tatth’ eva anto sīmāya uposathaṃ karissatha saṃghakammaṃ karissatha yathā mayā ñatti ca anussāvanā ca paññattā, tumhākam pi tāni kammāni dhammikāni bhavissanti akuppāni ṭhānārahāni. |9| 
โส เอวํ วเทติ “นตฺถิ เม อาวุโส อาปตฺติ ยมหํ ปสฺเสยฺยํ. นตฺถิ เม อาวุโส อาปตฺติ ยมหํ ปฏิกเรยฺยํ. นตฺถิ เม อาวุโส ปาปิกา ทิฏฺฐิ ยมหํ ปฏินิสฺสชฺเชยฺย”นฺติ.  ตํ สงฺโฆ อทสฺสเน วา อปฺปฏิกมฺเม วา อปฺปฏินิสฺสคฺเค วา อุกฺขิปติ อธมฺมกมฺมํ.  ๓๙๘. อิธ ปน ภิกฺขเว ภิกฺขุสฺส โหติ อาปตฺติ ทฏฺฐพฺพา.  ตเมนํ โจเทติ. สงฺโฆ วา สมฺพหุลา วา เอกปุคฺคโล วา “อาปตฺตึ ตฺวํ อาวุโส อาปนฺโน ปสฺสเสตํ อาปตฺติ”นฺติ?  โส เอวํ วเทติ “อามาวุโส ปสฺสามี”ติ. 
taṃ kissa hetu.  nānāsaṃvāsakā ete bhikkhū tumhehi tumhe ca tehi nānāsaṃvāsakā.  dve ’mā bhikkhu nānāsaṃvāsakabhūmiyo: attanā vā attānaṃ nānāsaṃvāsakaṃ karoti samaggo vā naṃ saṃgho ukkhipati adassane vā appaṭikamme vā appaṭinissagge vā.  imā kho bhikkhu dve nānāsaṃvāsakabhūmiyo.  dve ’mā bhikkhu samānasaṃvāsakabhūmiyo: attanā vā attānaṃ samānasaṃvāsakaṃ karoti samaggo vā naṃ saṃgho ukkhittaṃ osāreti adassane vā appaṭikamme vā appaṭinissagge vā.  imā kho bhikkhu dve samānasaṃvāsakabhūmiyo ’ti. |10| 
ตํ สงฺโฆ อาปตฺติยา อทสฺสเน อุกฺขิปติ อธมฺมกมฺมํ.  อิธ ปน ภิกฺขเว ภิกฺขุสฺส โหติ อาปตฺติ ปฏิกาตพฺพา.  ตเมนํ โจเทติ สงฺโฆ วา สมฺพหุลา วา เอกปุคฺคโล วา “อาปตฺตึ ตฺวํ อาวุโส อาปนฺโน ปฏิกโรหิ ตํ อาปตฺติ”นฺติ.  โส เอวํ วเทติ “อามาวุโส ปฏิกริสฺสามี”ติ.  ตํ สงฺโฆ อาปตฺติยา อปฺปฏิกมฺเม อุกฺขิปติ อธมฺมกมฺมํ.  อิธ ปน ภิกฺขเว ภิกฺขุสฺส โหติ ปาปิกา ทิฏฺฐิ ปฏินิสฺสชฺเชตา. 
||1|| 
ตเมนํ โจเทติ สงฺโฆ วา สมฺพหุลา วา เอกปุคฺคโล วา “ปาปิกา เต อาวุโส ทิฏฺฐิ ปฏินิสฺสชฺเชตํ ปาปิกํ ทิฏฺฐิ”นฺติ. 
(341) tena kho pana samayena bhikkhū bhattagge antaraghare bhaṇḍanajātā kalahajātā vivādāpannā aññamaññaṃ ananulomikaṃ kāyakammaṃ vacīkammaṃ upadaṃsenti hatthaparāmāsaṃ karonti.  manussā ujjhāyanti khīyanti vipācenti: kathaṃ hi nāma samaṇā Sakyaputtiyā bhattagge antaraghare ... upadaṃsessanti hatthaparāmāsaṃ karissantīti.  assosuṃ kho bhikkhū tesaṃ manussānaṃ ujjhāyantānaṃ khīyantānaṃ vipācentānaṃ.  ye te bhikkhū appicchā te ujjhāyanti khīyanti vipācenti: kathaṃ hi nāma bhikkhū bhattagge antaraghare ... upadaṃsessanti hatthaparāmāsaṃ karissantīti.  atha kho te bhikkhū bhagavato etam atthaṃ ārocesuṃ.  saccaṃ kira bhikkhave --la-- saccaṃ bhagavā.  vigarahitvā dhammiṃ kathaṃ katvā bhikkhū āmantesi: bhinne bhikkhave saṃghe adhammiyamāne asammodikāya vattamānāya ettāvatā na aññamaññaṃ ananulomikaṃ kāyakammaṃ vacīkammaṃ upadaṃsessāma hatthaparāmāsaṃ karissāmā ’ti āsane nisīditabbaṃ.  bhinne bhikkhave saṃghe dhammiyamāne sammodikāya vattamānāya āsanantarikāya nisīditabban ti. |1| 
โส เอวํ วเทติ “อามาวุโส ปฏินิสฺสชฺชิสฺสามี”ติ.  ตํ สงฺโฆ ปาปิกาย ทิฏฺฐิยา อปฺปฏินิสฺสคฺเค อุกฺขิปติ อธมฺมกมฺมํ.  อิธ ปน ภิกฺขเว ภิกฺขุสฺส โหติ อาปตฺติ ทฏฺฐพฺพา โหติ อาปตฺติ ปฏิกาตพฺพาฯเปฯ โหติ อาปตฺติ ทฏฺฐพฺพา โหติ ปาปิกา ทิฏฺฐิ ปฏินิสฺสชฺเชตาฯเปฯ โหติ อาปตฺติ ปฏิกาตพฺพา โหติ ปาปิกา ทิฏฺฐิ ปฏินิสฺสชฺเชตาฯเปฯ โหติ อาปตฺติ ทฏฺฐพฺพา โหติ อาปตฺติ ปฏิกาตพฺพา โหติ ปาปิกา ทิฏฺฐิ ปฏินิสฺสชฺเชตา.  ตเมนํ โจเทติ สงฺโฆ วา สมฺพหุลา วา เอกปุคฺคโล วา “อาปตฺตึ ตฺวํ อาวุโส อาปนฺโน ปสฺสเสตํ อาปตฺตึ? ปฏิกโรหิ ตํ อาปตฺตึ ปาปิกา เต ทิฏฺฐิ ปฏินิสฺสชฺเชตํ ปาปิกํ ทิฏฺฐิ”นฺติ.  โส เอวํ วเทติ “อามาวุโส ปสฺสามิ อาม ปฏิกริสฺสามิ อาม ปฏินิสฺสชฺชิสฺสามี”ติ  ตํ สงฺโฆ อทสฺสเน วา อปฺปฏิกมฺเม วา อปฺปฏินิสฺสคฺเค วา อุกฺขิปติ อธมฺมกมฺมํ.  ๓๙๙. อิธ ปน ภิกฺขเว ภิกฺขุสฺส โหติ อาปตฺติ ทฏฺฐพฺพา.  ตเมนํ โจเทติ สงฺโฆ วา สมฺพหุลา วา เอกปุคฺคโล วา “อาปตฺตึ ตฺวํ อาวุโส อาปนฺโน ปสฺสเสตํ อาปตฺติ”นฺติ? 
tena kho pana samayena bhikkhū saṃghamajjhe bhaṇḍanajātā ... vivādāpannā aññamaññaṃ mukhasattīhi vitudantā viharanti, te na sakkonti taṃ adhikaraṇaṃ vūpasametuṃ.  atha kho aññataro bhikkhu yena bhagavā ten’ upasaṃkami, upasaṃkamitvā bhagavantaṃ abhivādetvā ekamantaṃ aṭṭhāsi.  ekamantaṃ ṭhito kho so bhikkhu bhagavantaṃ etad avoca: idha bhante bhikkhū saṃghamajjhe ... vūpasametuṃ.  sādhu bhante bhagavā yena te bhikkhū ten’ upasaṃkamatu anukampaṃ upādāyā ’ti.  adhivāsesi bhagavā tuṇhibhāvena.  atha kho bhagavā yena te bhikkhū ten’ upasaṃkami, upasaṃkamitvā paññatte āsane nisīdi.  nisajja kho bhagavā te bhikkhū etad avoca: alaṃ bhikkhave mā bhaṇḍanaṃ mā kalahaṃ mā viggahaṃ mā vivādan ti.  evaṃ vutte aññataro adhammavādī bhikkhu bhagavantaṃ etad avoca: āgametu bhante bhagavā dhammasāmī, appossukko bhante bhagavā diṭṭhadhammasukhavihāraṃ anuyutto viharatu, mayaṃ etena bhaṇḍanena kalahena viggahena vivādena paññāyissāmā ’ti.  dutiyam pi kho bhagavā te bhikkhū etad avoca: alaṃ bhikkhave ... mā vivādan ti.  dutiyam pi kho so adhammavādī bhikkhu bhagavantaṃ etad avoca: (342) āgametu bhante ... paññāyissāmā ’ti.  atha kho bhagavā bhikkhū āmantesi: |2| 
โส เอวํ วเทติ “นตฺถิ เม อาวุโส อาปตฺติ ยมหํ ปสฺเสยฺย”นฺติ.  ตํ สงฺโฆ อาปตฺติยา อทสฺสเน อุกฺขิปติ ธมฺมกมฺมํ.  อิธ ปน ภิกฺขเว ภิกฺขุสฺส โหติ อาปตฺติ ปฏิกาตพฺพา.  ตเมนํ โจเทติ สงฺโฆ วา สมฺพหุลา วา เอกปุคฺคโล วา “อาปตฺตึ ตฺวํ อาวุโส อาปนฺโน ปฏิกโรหิ ตํ อาปตฺติ”นฺติ.  โส เอวํ วเทติ “นตฺถิ เม อาวุโส อาปตฺติ ยมหํ ปฏิกเรยฺย”นฺติ.  ตํ สงฺโฆ อาปตฺติยา อปฺปฏิกมฺเม อุกฺขิปติ ธมฺมกมฺมํ.  อิธ ปน ภิกฺขเว ภิกฺขุสฺส โหติ ปาปิกา ทิฏฺฐิ ปฏินิสฺสชฺเชตา.  ตเมนํ โจเทติ สงฺโฆ วา สมฺพหุลา วา เอกปุคฺคโล วา “ปาปิกา เต อาวุโส ทิฏฺฐิ ปฏินิสฺสชฺเชตํ ปาปิกํ ทิฏฺฐิ”นฺติ.  โส เอวํ วเทติ “นตฺถิ เม อาวุโส ปาปิกา ทิฏฺฐิ ยมหํ ปฏินิสฺสชฺเชยฺย”นฺติ.  ตํ สงฺโฆ ปาปิกาย ทิฏฺฐิยา อปฺปฏินิสฺสคฺเค อุกฺขิปติ ธมฺมกมฺมํ.  อิธ ปน ภิกฺขเว ภิกฺขุสฺส โหติ อาปตฺติ ทฏฺฐพฺพา โหติ อาปตฺติ ปฏิกาตพฺพาฯเปฯ โหติ อาปตฺติ ทฏฺฐพฺพา โหติ ปาปิกา ทิฏฺฐิ ปฏินิสฺสชฺเชตาฯเปฯ โหติ อาปตฺติ ปฏิกาตพฺพา โหติ ปาปิกา ทิฏฺฐิ ปฏินิสฺสชฺเชตา เปฯ โหติ อาปตฺติ ทฏฺฐพฺพา โหติ อาปตฺติ ปฏิกาตพฺพา โหติ ปาปิกา ทิฏฺฐิ ปฏินิสฺสชฺเชตา. 
bhūtapubbaṃ bhikkhave Bārāṇasiyaṃ Brahmadatto nāma Kāsirājā ahosi aḍḍho mahaddhano mahābhogo mahabbalo mahāvāhano mahāvijito paripuṇṇakosakoṭṭhāgāro.  Dīghīti nāma Kosalarājā ahosi daliddo appadhano appabhogo appabalo appavāhano appavijito aparipuṇṇakosakoṭṭhāgāro.  atha kho bhikkhave Brahmadatto Kāsirājā caturaṅginiṃ senaṃ sannayhitvā Dīghītiṃ Kosalarājānaṃ abbhuyyāsi.  assosi kho bhikkhave Dīghīti Kosalarājā: Brahmadatto kira Kāsirājā caturaṅginiṃ senaṃ sannayhitvā mama abbhuyyāto ’ti.  atha kho bhikkhave Dīghītissa Kosalarañño etad ahosi: Brahmadatto kho Kāsirājā aḍḍho ... paripuṇṇakosakoṭṭhāgāro, ahaṃ pan’ amhi daliddo ... aparipuṇṇakosakoṭṭhāgāro, nāhaṃ paṭibalo Brahmadattena Kāsiraññā ekasaṃghātam pi sahituṃ.  yaṃ nūnāhaṃ paṭigacc’ eva nagaramhā nippateyyan ti.  atha kho bhikkhave Dīghīti Kosalarājā mahesiṃ ādāya paṭigacc’ eva nagaramhā nippati.  atha kho bhikkhave Brahmadatto Kāsirājā Dīghītissa Kosalarañño balañ ca vāhanañ ca janapadañ ca kosañ ca koṭṭhāgārañ ca abhivijiya ajjhāvasati.  atha kho bhikkhave Dīghīti Kosalarājā sapajāpatiko yena Bārāṇasī tena pakkāmi.  anupubbena yena Bārāṇasī tad avasari.  tatra sudaṃ bhikkhave Dīghīti Kosalarājā sapajāpatiko Bārāṇasiyaṃ aññatarasmiṃ paccantime okāse kumbhakāranivesane aññātakavesena paribbājakacchannena paṭivasati. |3| 
ตเมนํ โจเทติ สงฺโฆ วา สมฺพหุลา วา เอกปุคฺคโล วา “อาปตฺตึ ตฺวํ อาวุโส อาปนฺโน ปสฺสเสตํ อาปตฺตึ? ปฏิกโรหิ ตํ อาปตฺตึ. ปาปิกา เต ทิฏฺฐิ ปฏินิสฺสชฺเชตํ ปาปิกํ ทิฏฺฐิ”นฺติ.  โส เอวํ วเทติ “นตฺถิ เม อาวุโส อาปตฺติ ยมหํ ปสฺเสยฺยํ. นตฺถิ เม อาวุโส อาปตฺติ ยมหํ ปฏิกเรยฺยํ. นตฺถิ เม อาวุโส ปาปิกา ทิฏฺฐิ ยมหํ ปฏินิสฺสชฺเชยฺย”นฺติ.  ตํ สงฺโฆ อทสฺสเน วา อปฺปฏิกมฺเม วา อปฺปฏินิสฺสคฺเค วา อุกฺขิปติ ธมฺมกมฺมนฺติ. (อธมฺมกมฺมาทิกถา นิฏฺฐิตา.)      (๒๔๑. อุปาลิปุจฺฉากถา) ๔๐๐. อถ โข อายสฺมา อุปาลิ เยน ภควา เตนุปสงฺกมิ อุปสงฺกมิตฺวา ภควนฺตํ อภิวาเทตฺวา เอกมนฺตํ นิสีทิ.  เอกมนฺตํ นิสินฺโน โข อายสฺมา อุปาลิ ภควนฺตํ เอตทโวจ “โย นุ โข ภนฺเต สมคฺโค สงฺโฆ สมฺมุขากรณียํ กมฺมํ อสมฺมุขา กโรติ ธมฺมกมฺมํ นุ โข ตํ ภนฺเต วินยกมฺม”นฺติ?  “อธมฺมกมฺมํ ตํ อุปาลิ อวินยกมฺม”นฺติ.  “โย นุ โข ภนฺเต สมคฺโค สงฺโฆ ปฏิปุจฺฉากรณียํ กมฺมํ อปฺปฏิปุจฺฉา กโรติฯเปฯ ปฏิญฺญายกรณียํ กมฺมํ อปฏิญฺญาย กโรติ… สติวินยารหสฺส อมูฬฺหวินยํ เทติ… อมูฬฺหวินยารหสฺส ตสฺสปาปิยสิกากมฺมํ กโรติ… ตสฺสปาปิยสิกากมฺมารหสฺส ตชฺชนียกมฺมํ กโรติ… ตชฺชนียกมฺมารหสฺส นิยสฺสกมฺมํ กโรติ นิยสฺสกมฺมารหสฺส ปพฺพาชนียกมฺมํ กโรติ… ปพฺพาชนียกมฺมารหสฺส ปฏิสารณียกมฺมํ กโรติ… ปฏิสารณียกมฺมารหสฺส อุกฺเขปนียกมฺมํ กโรติ… อุกฺเขปนียกมฺมารหสฺส ปริวาสํ เทติ… ปริวาสารหํ มูลาย ปฏิกสฺสติ… มูลายปฏิกสฺสนารหสฺส มานตฺตํ เทติ… มานตฺตารหํ อพฺเภติ… อพฺภานารหํ อุปสมฺปาเทติ ธมฺมกมฺมํ นุ โข ตํ ภนฺเต วินยกมฺม”นฺติ?  “อธมฺมกมฺมํ ตํ อุปาลิ อวินยกมฺมํ”.  “โย โข อุปาลิ สมคฺโค สงฺโฆ สมฺมุขากรณียํ กมฺมํ อสมฺมุขา กโรติ เอวํ โข อุปาลิ อธมฺมกมฺมํ โหติ อวินยกมฺมํ เอวญฺจ ปน สงฺโฆ สาติสาโร โหติ. 
atha kho bhikkhave Dīghītissa Kosalarañño mahesī na cirass’ eva gabbhinī ahosi.  tassā evarūpo dohaḷo hoti: icchati suriyassa uggamanakāle caturaṅginiṃ senaṃ sannaddhaṃ vammikaṃ subhummiyaṃ ṭhitaṃ passituṃ khaggānañ ca dhovanaṃ pātuṃ.  atha kho bhikkhave Dīghītissa Kosalarañño mahesī Dīghītiṃ Kosalarājānaṃ etad avoca: gabbhini ’mhi deva, tassā me evarūpo dohaḷo uppanno: icchāmi suriyassa ... pātun ti.  kuto devi amhākaṃ duggatānaṃ caturaṅginī senā sannaddhā vammikā subhummiyaṃ ṭhitā khaggānañ ca dhovanan ti.  sac’ āhaṃ deva na labhissāmi marissāmīti. |4| 
โย โข อุปาลิ สมคฺโค สงฺโฆ ปฏิปุจฺฉากรณียํ กมฺมํ อปฺปฏิปุจฺฉา กโรติฯเปฯ ปฏิญฺญายกรณียํ กมฺมํ อปฏิญฺญาย กโรติ… สติวินยารหสฺส อมูฬฺหวินยํ เทติ… อมูฬฺหวินยารหสฺส ตสฺสปาปิยสิกากมฺมํ กโรติ… ตสฺสปาปิยสิกากมฺมารหสฺส ตชฺชนียกมฺมํ กโรติ… ตชฺชนียกมฺมารหสฺส นิยสฺสกมฺมํ กโรติ… นิยสฺสกมฺมารหสฺส ปพฺพาชนียกมฺมํ กโรติ… ปพฺพาชนียกมฺมารหสฺส ปฏิสารณียกมฺมํ กโรติ… ปฏิสารณียกมฺมารหสฺส อุกฺเขปนียกมฺมํ กโรติ… อุกฺเขปนียกมฺมารหสฺส ปริวาสํ เทติ… ปริวาสารหํ มูลาย ปฏิกสฺสติ… มูลายปฏิกสฺสนารหสฺส มานตฺตํ เทติ… มานตฺตารหํ อพฺเภติ… อพฺภานารหํ อุปสมฺปาเทติ เอวํ โข อุปาลิ อธมฺมกมฺมํ โหติ อวินยกมฺมํ. เอวญฺจ ปน สงฺโฆ สาติสาโร โหตี”ติ.  ๔๐๑. “โย นุ โข ภนฺเต สมคฺโค สงฺโฆ สมฺมุขากรณียํ กมฺมํ สมฺมุขา กโรติ ธมฺมกมฺมํ นุ โข ตํ ภนฺเต วินยกมฺม”นฺติ?  “ธมฺมกมฺมํ ตํ อุปาลิ วินยกมฺม”นฺติ.  “โย นุ โข ภนฺเต สมคฺโค สงฺโฆ ปฏิปุจฺฉากรณียํ กมฺมํ ปฏิปุจฺฉา กโรติฯเปฯ ปฏิญฺญายกรณียํ กมฺมํ ปฏิญฺญาย กโรติ… สติวินยารหสฺส สติวินยํ เทติ… อมูฬฺหวินยารหสฺส อมูฬฺหวินยํ เทติ… ตสฺสปาปิยสิกากมฺมารหสฺส ตสฺสปาปิยสิกากมฺมํ กโรติ… ตชฺชนียกมฺมารหสฺส ตชฺชนียกมฺมํ กโรติ… นิยสฺสกมฺมารหสฺส นิยสฺสกมฺมํ กโรติ… ปพฺพาชนียกมฺมารหสฺส ปพฺพาชนียกมฺมํ กโรติ… ปฏิสารณียกมฺมารหสฺส ปฏิสารณียกมฺมํ กโรติ… อุกฺเขปนียกมฺมารหสฺส อุกฺเขปนียกมฺมํ กโรติ… ปริวาสารหสฺส ปริวาสํ เทติ มูลายปฏิกสฺสนารหํ มูลาย ปฏิกสฺสติ… มานตฺตารหสฺส มานตฺตํ เทติ… อพฺภานารหํ อพฺเภติ… อุปสมฺปทารหํ อุปสมฺปาเทติ ธมฺมกมฺมํ นุ โข ตํ ภนฺเต วินยกมฺม”นฺติ?  “ธมฺมกมฺมํ ตํ อุปาลิ วินยกมฺมํ. 
tena kho pana samayena bhikkhave Brahmadattassa Kāsirañño purohito brāhmaṇo Dīghītissa Kosalarañño sahāyo (343) hoti.  atha kho bhikkhave Dīghīti Kosalarājā yena Brahmadattassa Kāsirañño purohito brāhmaṇo ten’ upasaṃkami, upasaṃkamitvā Brahmadattassa Kāsirañño purohitaṃ brāhmaṇaṃ etad avoca: sakhī te samma gabbhinī, tassā evarūpo dohaḷo uppanno: icchati suriyassa ... pātun ti.  tena hi devamayam pi deviṃ passāmā ’ti.  atha kho bhikkhave Dīghītissa Kosalarañño mahesī yena Brahmadattassa Kāsirañño purohito brāhmaṇo ten’ upasaṃkami.  addasa kho bhikkhave Brahmadattassa Kāsirañño purohito brāhmaṇo Dīghītissa Kosalarañño mahesiṃ dūrato ’va āgacchantiṃ, disvāna uṭṭhāyāsanā ekaṃsaṃ uttarāsaṅgaṃ karitvā yena Dīghītissa Kosalarañño mahesī ten’ añjaliṃ paṇāmetvā tikkhattuṃ udānaṃ udānesi: Kosalarājā vata bho kucchigato, Kosalarājā vata bho kucchigato ’ti.  avimanā devi hohi, lacchasi suriyassa uggamanakāle caturaṅginiṃ senaṃ sannaddhaṃ vammikaṃ subhummiyaṃ ṭhitaṃ passituṃ khaggānañ ca dhovanaṃ pātun ti. |5| 
“โย โข อุปาลิ สมคฺโค สงฺโฆ สมฺมุขากรณียํ กมฺมํ สมฺมุขา กโรติ เอวํ โข อุปาลิ ธมฺมกมฺมํ โหติ วินยกมฺมํ. เอวญฺจ ปน สงฺโฆ อนติสาโร โหติ.  โย โข อุปาลิ สมคฺโค สงฺโฆ ปฏิปุจฺฉากรณียํ กมฺมํ ปฏิปุจฺฉา กโรติ… ปฏิญฺญายกรณียํ กมฺมํ ปฏิญฺญาย กโรติ… สติวินยารหสฺส สติวินยํ เทติ… อมูฬฺหวินยารหสฺส อมูฬฺหวินยํ เทติ… ตสฺสปาปิยสิกากมฺมารหสฺส ตสฺสปาปิยสิกากมฺมํ กโรติ… ตชฺชนียกมฺมารหสฺส ตชฺชนียกมฺมํ กโรติ… นิยสฺสกมฺมารหสฺส นิยสฺสกมฺมํ กโรติ… ปพฺพาชนียกมฺมารหสฺส ปพฺพาชนียกมฺมํ กโรติ ปฏิสารณียกมฺมารหสฺส ปฏิสารณียกมฺมํ กโรติ… อุกฺเขปนียกมฺมารหสฺส อุกฺเขปนียกมฺมํ กโรติ… ปริวาสารหสฺส ปริวาสํ เทติ… มูลายปฏิกสฺสนารหํ มูลาย ปฏิกสฺสติ… มานตฺตารหสฺส มานตฺตํ เทติ… อพฺภานารหํ อพฺเภติ… อุปสมฺปทารหํ อุปสมฺปาเทติ เอวํ โข อุปาลิ ธมฺมกมฺมํ โหติ วินยกมฺมํ. เอวญฺจ ปน สงฺโฆ อนติสาโร โหตี”ติ.  ๔๐๒. “โย นุ โข ภนฺเต สมคฺโค สงฺโฆ สติวินยารหสฺส อมูฬฺหวินยํ เทติ อมูฬฺหวินยารหสฺส สติวินยํ เทติ ธมฺมกมฺมํ นุ โข ตํ ภนฺเต วินยกมฺม”นฺติ?  “อธมฺมกมฺมํ ตํ อุปาลิ อวินยกมฺม”นฺติ.  “โย นุ โข ภนฺเต สมคฺโค สงฺโฆ อมูฬฺหวินยารหสฺส ตสฺสปาปิยสิกากมฺมํ กโรติ ตสฺสปาปิยสิกากมฺมารหสฺส อมูฬฺหวินยํ เทติฯเปฯ ตสฺสปาปิยสิกากมฺมารหสฺส ตชฺชนียกมฺมํ กโรติ ตชฺชนียกมฺมารหสฺส ตสฺสปาปิยสิกากมฺมํ กโรติ… ตชฺชนียกมฺมารหสฺส นิยสฺสกมฺมํ กโรติ นิยสฺสกมฺมารหสฺส ตชฺชนียกมฺมํ กโรติ… นิยสฺสกมฺมารหสฺส ปพฺพาชนียกมฺมํ กโรติ ปพฺพาชนียกมฺมารหสฺส นิยสฺสกมฺมํ กโรติ… ปพฺพาชนียกมฺมารหสฺส ปฏิสารณียกมฺมํ กโรติ ปฏิสารณียกมฺมารหสฺส ปพฺพาชนียกมฺมํ กโรติ… ปฏิสารณียกมฺมารหสฺส อุกฺเขปนียกมฺมํ กโรติ อุกฺเขปนียกมฺมารหสฺส ปฏิสารณียกมฺมํ กโรติ… อุกฺเขปนียกมฺมารหสฺส ปริวาสํ เทติ ปริวาสารหสฺส อุกฺเขปนียกมฺมํ กโรติ… ปริวาสารหํ มูลาย ปฏิกสฺสติ มูลายปฏิกสฺสนารหสฺส ปริวาสํ เทติ… มูลายปฏิกสฺสนารหสฺส มานตฺตํ เทติ มานตฺตารหํ มูลาย ปฏิกสฺสติ… มานตฺตารหํ อพฺเภติ อพฺภานารหสฺส มานตฺตํ เทติ… อพฺภานารหํ อุปสมฺปาเทติ อุปสมฺปทารหํ อพฺเภติ ธมฺมกมฺมํ นุ โข ตํ ภนฺเต วินยกมฺม”นฺติ?  “อธมฺมกมฺมํ ตํ อุปาลิ อวินยกมฺม”นฺติ. 
atha kho bhikkhave Brahmadattassa Kāsirañño purohito brāhmaṇo yena Brahmadatto Kāsirājā ten’ upasaṃkami, upasaṃkamitvā Brahmadattaṃ Kāsirājānaṃ etad avoca: tathā deva nimittāni dissanti, sve suriyuggamanakāle caturaṅginī senā sannaddhā vammikā subhummiyaṃ tiṭṭhatu khaggā ca dhoviyantū ’ti.  atha kho bhikkhave Brahmadatto Kāsirājā manusse āṇāpesi: yathā bhaṇe purohito brāhmaṇo āha tathā karothā ’ti.  alabhi kho bhikkhave Dīghītissa Kosalarañño mahesī suriyassa uggamanakāle caturaṅginiṃ senaṃ sannaddhaṃ vammikaṃ subhummiyaṃ ṭhitaṃ passituṃ khaggānañ ca dhovanaṃ pātuṃ.  atha kho bhikkhave Dīghītissa Kosalarañño mahesī tassa gabbhassa paripākaṃ anvāya puttaṃ vijāyi, tassa Dīghāvū ’ti nāmaṃ akaṃsu.  atha kho bhikkhave Dīghāvukumāro na cirass’ eva viññutaṃ pāpuṇi. |6| 
“โย โข อุปาลิ สมคฺโค สงฺโฆ สติวินยารหสฺส อมูฬฺหวินยํ เทติ อมูฬฺหวินยารหสฺส สติวินยํ เทติ เอวํ โข อุปาลิ อธมฺมกมฺมํ โหติ อวินยกมฺมํ. เอวญฺจ ปน สงฺโฆ สาติสาโร โหติ.  โย โข อุปาลิ สมคฺโค สงฺโฆ อมูฬฺหวินยารหสฺส ตสฺสปาปิยสิกากมฺมํ กโรติ ตสฺสปาปิยสิกากมฺมารหสฺส อมูฬฺหวินยํ เทติฯเปฯ ตสฺสปาปิยสิกากมฺมารหสฺส ตชฺชนียกมฺมํ กโรติ ตชฺชนียกมฺมารหสฺส ตสฺสปาปิยสิกากมฺมํ กโรติ… ตชฺชนียกมฺมารหสฺส นิยสฺสกมฺมํ กโรติ นิยสฺสกมฺมารหสฺส ตชฺชนียกมฺมํ กโรติ… นิยสฺสกมฺมารหสฺส ปพฺพาชนียกมฺมํ กโรติ ปพฺพาชนียกมฺมารหสฺส นิยสฺสกมฺมํ กโรติ… ปพฺพาชนียกมฺมารหสฺส ปฏิสารณียกมฺมํ กโรติ ปฏิสารณียกมฺมารหสฺส ปพฺพาชนียกมฺมํ กโรติ… ปฏิสารณียกมฺมารหสฺส อุกฺเขปนียกมฺมํ กโรติ อุกฺเขปนียกมฺมารหสฺส ปฏิสารณียกมฺมํ กโรติ… อุกฺเขปนียกมฺมารหสฺส ปริวาสํ เทติ ปริวาสารหสฺส อุกฺเขปนียกมฺมํ กโรติ… ปริวาสารหํ มูลาย ปฏิกสฺสติ มูลายปฏิกสฺสนารหสฺส ปริวาสํ เทติ… มูลายปฏิกสฺสนารหสฺส มานตฺตํ เทติ มานตฺตารหํ มูลาย ปฏิกสฺสติ มานตฺตารหํ อพฺเภติ อพฺภานารหสฺส มานตฺตํ เทติ… อพฺภานารหํ อุปสมฺปาเทติ อุปสมฺปทารหํ อพฺเภติ เอวํ โข อุปาลิ อธมฺมกมฺมํ โหติ อวินยกมฺมํ. เอวญฺจ ปน สงฺโฆ สาติสาโร โหตี”ติ.  ๔๐๓. “โย นุ โข ภนฺเต สมคฺโค สงฺโฆ สติวินยารหสฺส สติวินยํ เทติ อมูฬฺหวินยารหสฺส อมูฬฺหวินยํ เทติ ธมฺมกมฺมํ นุ โข ตํ ภนฺเต วินยกมฺม”นฺติ?  “ธมฺมกมฺมํ ตํ อุปาลิ วินยกมฺม”นฺติ.  “โย นุ โข ภนฺเต สมคฺโค สงฺโฆ อมูฬฺหวินยารหสฺส อมูฬฺหวินยํ เทติฯเปฯ ตสฺสปาปิยสิกากมฺมารหสฺส ตสฺสปาปิยสิกากมฺมํ กโรติฯเปฯ ตชฺชนียกมฺมารหสฺส ตชฺชนียกมฺมํ กโรติฯเปฯ นิยสฺสกมฺมารหสฺส นิยสฺสกมฺมํ กโรติฯเปฯ ปพฺพาชนียกมฺมารหสฺส ปพฺพาชนียกมฺมํ กโรติฯเปฯ ปฏิสารณียกมฺมารหสฺส ปฏิสารณียกมฺมํ กโรติฯเปฯ อุกฺเขปนียกมฺมารหสฺส อุกฺเขปนียกมฺมํ กโรติฯเปฯ ปริวาสารหสฺส ปริวาสํ เทติฯเปฯ มูลายปฏิกสฺสนารหํ มูลาย ปฏิกสฺสติฯเปฯ มานตฺตารหสฺส มานตฺตํ เทติฯเปฯ อพฺภานารหํ อพฺเภติ อุปสมฺปทารหํ อุปสมฺปาเทติ ธมฺมกมฺมํ นุ โข ตํ ภนฺเต วินยกมฺม”นฺติ? 
atha kho bhikkhave Dīghītissa Kosalarañño etad ahosi: ayaṃ kho Brahmadatto Kāsirājā bahuno amhākaṃ anatthassa kārako, iminā amhākaṃ balañ ca vāhanañ ca janapado ca koso ca koṭṭhāgārañ ca acchinnaṃ.  sac’ āyaṃ amhe jānissati sabbeva tayo ghātāpessati.  yaṃ nūnāhaṃ Dīghāvukumāraṃ bahi nagare vāseyyan ti.  atha kho bhikkhave Dīghīti Kosalarājā Dīghāvukumāraṃ bahi nagare vāsesi.  atha kho bhikkhave (344) Dīghāvukumāro bahi nagare paṭivasanto na cirass’ eva sabbasippāni sikkhi. |7| 
“ธมฺมกมฺมํ ตํ อุปาลิ วินยกมฺมํ”.  “โย โข อุปาลิ สมคฺโค สงฺโฆ สติวินยารหสฺส สติวินยํ เทติ อมูฬฺหวินยารหสฺส อมูฬฺหวินยํ เทติ เอวํ โข อุปาลิ ธมฺมกมฺมํ โหติ วินยกมฺมํ. เอวญฺจ ปน สงฺโฆ อนติสาโร โหติ  โย โข อุปาลิ สมคฺโค สงฺโฆ อมูฬฺหวินยารหสฺส อมูฬฺหวินยํ เทติ เปฯ ตสฺสปาปิยสิกากมฺมารหสฺส ตสฺสปาปิยสิกากมฺมํ กโรติฯเปฯ ตชฺชนียกมฺมารหสฺส ตชฺชนียกมฺมํ กโรติฯเปฯ นิยสฺสกมฺมารหสฺส นิยสฺสกมฺมํ กโรติฯเปฯ ปพฺพาชนียกมฺมารหสฺส ปพฺพาชนียกมฺมํ กโรติฯเปฯ ปฏิสารณียกมฺมารหสฺส ปฏิสารณียกมฺมํ กโรติฯเปฯ อุกฺเขปนียกมฺมารหสฺส อุกฺเขปนียกมฺมํ กโรติฯเปฯ ปริวาสารหสฺส ปริวาสํ เทติฯเปฯ มูลาย ปฏิกสฺสนารหํ มูลาย ปฏิกสฺสติฯเปฯ มานตฺตารหสฺส มานตฺตํ เทติฯเปฯ อพฺภานารหํ อพฺเภติ อุปสมฺปทารหํ อุปสมฺปาเทติ เอวํ โข อุปาลิ ธมฺมกมฺมํ โหติ วินยกมฺมํ. เอวญฺจ ปน สงฺโฆ อนติสาโร โหตี”ติ.  ๔๐๔. อถ โข ภควา ภิกฺขู อามนฺเตสิ โย โข ภิกฺขเว สมคฺโค สงฺโฆ สติวินยารหสฺส อมูฬฺหวินยํ เทติ เอวํ โข ภิกฺขเว อธมฺมกมฺมํ โหติ อวินยกมฺมํ. เอวญฺจ ปน สงฺโฆ สาติสาโร โหติ.  โย โข ภิกฺขเว สมคฺโค สงฺโฆ สติวินยารหสฺส ตสฺสปาปิยสิกากมฺมํ กโรติฯเปฯ สติวินยารหสฺส ตชฺชนียกมฺมํ กโรติ… สติวินยารหสฺส นิยสฺสกมฺมํ กโรติ… สติวินยารหสฺส ปพฺพาชนียกมฺมํ กโรติ… สติวินยารหสฺส ปฏิสารณียกมฺมํ กโรติ… สติวินยารหสฺส อุกฺเขปนียกมฺมํ กโรติ … สติวินยารหสฺส ปริวาสํ เทติ… สติวินยารหํ มูลาย ปฏิกสฺสติ… สติวินยารหสฺส มานตฺตํ เทติ… สติวินยารหํ อพฺเภติ… สติวินยารหํ อุปสมฺปาเทติ เอวํ โข ภิกฺขเว อธมฺมกมฺมํ โหติ อวินยกมฺมํ. เอวญฺจ ปน สงฺโฆ สาติสาโร โหติ. 
tena kho pana samayena bhikkhave Dīghītissa Kosalarañño kappako Brahmadatte Kāsiraññe paṭivasati.  addasa kho bhikkhave Dīghītissa Kosalarañño kappako Dīghītiṃ Kosalarājānaṃ sapajāpatikaṃ Bārāṇasiyaṃ aññatarasmiṃ paccantime okāse kumbhakāranivesane aññātakavesena paribbājakacchannena paṭivasantaṃ, disvāna yena Brahmadatto Kāsirājā ten’ upasaṃkami, upasaṃkamitvā Brahmadattaṃ Kāsirājānaṃ etad avoca: Dīghīti deva Kosalarājā sapajāpatiko Bārāṇasiyaṃ aññatarasmiṃ paccantime okāse kumbhakāranivesane aññātakavesena paribbājakacchannena paṭivasatīti. |8| 
๔๐๕. โย โข ภิกฺขเว สมคฺโค สงฺโฆ อมูฬฺหวินยารหสฺส ตสฺสปาปิยสิกากมฺมํ กโรติ เอวํ โข ภิกฺขเว อธมฺมกมฺมํ โหติ อวินยกมฺมํ. เอวญฺจ ปน สงฺโฆ สาติสาโร โหติ. โย โข ภิกฺขเว สมคฺโค สงฺโฆ อมูฬฺหวินยารหสฺส ตชฺชนียกมฺมํ กโรติฯเปฯ อมูฬฺหวินยารหสฺส นิยสฺสกมฺมํ กโรติ… อมูฬฺหวินยารหสฺส ปพฺพาชนียกมฺมํ กโรติ… อมูฬฺหวินยารหสฺส ปฏิสารณียกมฺมํ กโรติ… อมูฬฺหวินยารหสฺส อุกฺเขปนียกมฺมํ กโรติ… อมูฬฺหวินยารหสฺส ปริวาสํ เทติ… อมูฬฺหวินยารหํ มูลาย ปฏิกสฺสติ… อมูฬฺหวินยารหสฺส มานตฺตํ เทติ… อมูฬฺหวินยารหํ อพฺเภติ… อมูฬฺหวินยารหํ อุปสมฺปาเทติ… อมูฬฺหวินยารหสฺส สติวินยํ เทติ เอวํ โข ภิกฺขเว อธมฺมกมฺมํ โหติ อวินยกมฺมํ. เอวญฺจ ปน สงฺโฆ สาติสาโร โหติ.  ๔๐๖. โย โข ภิกฺขเว สมคฺโค สงฺโฆ ตสฺสปาปิยสิกากมฺมารหสฺส ตชฺชนียกมฺมํ กโรติฯเปฯ ตชฺชนียกมฺมารหสฺส… นิยสฺสกมฺมารหสฺส… ปพฺพาชนียกมฺมารหสฺส… ปฏิสารณียกมฺมารหสฺส… อุกฺเขปนียกมฺมารหสฺส… ปริวาสารหํ… มูลายปฏิกสฺสนารหสฺส… มานตฺตารหํ… อพฺภานารหํ… อุปสมฺปทารหสฺส สติวินยํ เทติ เอวํ โข ภิกฺขเว อธมฺมกมฺมํ โหติ อวินยกมฺมํ. เอวญฺจ ปน สงฺโฆ สาติสาโร โหติ. โย โข ภิกฺขเว สมคฺโค สงฺโฆ อุปสมฺปทารหสฺส อมูฬฺหวินยํ เทติฯเปฯ อุปสมฺปทารหสฺส ตสฺสปาปิยสิกากมฺมํ กโรติ… อุปสมฺปทารหสฺส ตชฺชนียกมฺมํ กโรติ… อุปสมฺปทารหสฺส นิยสฺสกมฺมํ กโรติ… อุปสมฺปทารหสฺส ปพฺพาชนียกมฺมํ กโรติ… อุปสมฺปทารหสฺส ปฏิสารณียกมฺมํ กโรติ… อุปสมฺปทารหสฺส อุกฺเขปนียกมฺมํ กโรติ… อุปสมฺปทารหสฺส ปริวาสํ เทติ… อุปสมฺปทารหํ มูลาย ปฏิกสฺสติ… อุปสมฺปทารหสฺส มานตฺตํ เทติ… อุปสมฺปทารหํ อพฺเภติ เอวํ โข ภิกฺขเว อธมฺมกมฺมํ โหติ อวินยกมฺมํ. เอวญฺจ ปน สงฺโฆ สาติสาโร โหตีติ. (อุปาลิปุจฺฉากถา นิฏฺฐิตา.) 
atha kho bhikkhave Brahmadatto Kāsirājā manusse āṇāpesi: tena hi bhaṇe Dīghītiṃ Kosalarājānaṃ sapajāpatikaṃ ānethā ’ti.  evaṃ devā ’ti kho bhikkhave te manussā Brahmadattassa Kāsirañño paṭissutvā Dīghītiṃ Kosalarājānaṃ sapajāpatikaṃ ānesuṃ.  atha kho bhikkhave Brahmadatto Kāsirājā manusse āṇāpesi: tena hi bhaṇe Dīghītiṃ Kosalarājānaṃ sapajāpatikaṃ daḷhāya rajjuyā pacchābāhaṃ gāḷhabandhanaṃ bandhitvā khuramuṇḍaṃ karitvā kharassarena paṇavena rathiyāya rathiyaṃ siṅghāṭakena siṅghāṭakaṃ parinetvā dakkhiṇena dvārena nikkhāmetvā dakkhiṇato nagarassa catudhā chinditvā catuddisā bilāni nikkhipathā ’ti.  evaṃ devā ’ti kho bhikkhave te manussā Brahmadattassa Kāsirañño paṭissutvā Dīghītiṃ Kosalarājānaṃ sapajāpatikaṃ daḷhāya rajjuyā pacchābāhaṃ gāḷhabandhanaṃ bandhitvā khuramuṇḍaṃ karitvā kharassarena paṇavena rathiyāya rathiyaṃ siṅghāṭakena siṅghāṭakaṃ parinenti. |9| 
    อุปาลิปุจฺฉาภาณวาโร นิฏฺฐิโต ทุติโย.  (๒๔๒. ตชฺชนียกมฺมกถา) ๔๐๗. อิธ ปน ภิกฺขเว ภิกฺขุ ภณฺฑนการโก โหติ กลหการโก วิวาทการโก ภสฺสการโก สงฺเฆ อธิกรณการโก. 
atha kho bhikkhave Dīghāvussa kumārassa etad ahosi: ciradiṭṭhā kho me mātāpitaro.  yaṃ nūnāhaṃ mātāpitaro passeyyan ti.  atha kho bhikkhave Dīghāvukumāro Bārāṇasiṃ pavisitvā addasa mātāpitaro daḷhāya rajjuyā pacchābāhaṃ gāḷhabandhanaṃ bandhitvā khuramuṇḍaṃ karitvā kharassarena paṇavena rathiyāya rathiyaṃ siṅghāṭakena siṅghāṭakaṃ parinente, disvāna yena mātāpitaro ten’ upasaṃkami.  addasa kho bhikkhave Dīghīti Kosalarājā Dīghāvukumāraṃ dūrato ’va āgacchantaṃ, disvāna Dīghāvukumāraṃ etad avoca: mā kho tvaṃ tāta Dīghāvu dīghaṃ passa mā rassaṃ, na hi tāta Dīghāvu (345) verena verā sammanti, averena hi tāta Dīghāvu verā sammantīti. |10| 
ตตฺร เจ ภิกฺขูนํ เอวํ โหติ “อยํ โข อาวุโส ภิกฺขุ ภณฺฑนการโก กลหการโก วิวาทการโก ภสฺสการโก สงฺเฆ อธิกรณการโก. หนฺทสฺส มยํ ตชฺชนียกมฺมํ กโรมา”ติ. เต ตสฺส ตชฺชนียกมฺมํ กโรนฺติ อธมฺเมน วคฺคา.  โส ตมฺหา อาวาสา อญฺญํ อาวาสํ คจฺฉติ ตตฺถปิ ภิกฺขูนํ เอวํ โหติ “อยํ โข อาวุโส ภิกฺขุ สงฺเฆน ตชฺชนียกมฺมกโต อธมฺเมน วคฺเคหิ. หนฺทสฺส มยํ ตชฺชนียกมฺมํ กโรมา”ติ. เต ตสฺส ตชฺชนียกมฺมํ กโรนฺติ อธมฺเมน สมคฺคา.  โส ตมฺหาปิ อาวาสา อญฺญํ อาวาสํ คจฺฉติ. ตตฺถปิ ภิกฺขูนํ เอวํ โหติ “อยํ โข อาวุโส ภิกฺขุ สงฺเฆน ตชฺชนียกมฺมกโต อธมฺเมน สมคฺเคหิ. หนฺทสฺส มยํ ตชฺชนียกมฺมํ กโรมา”ติ. เต ตสฺส ตชฺชนียกมฺมํ กโรนฺติ ธมฺเมน วคฺคา.  โส ตมฺหาปิ อาวาสา อญฺญํ อาวาสํ คจฺฉติ. ตตฺถปิ ภิกฺขูนํ เอวํ โหติ “อยํ โข อาวุโส ภิกฺขุ สงฺเฆน ตชฺชนียกมฺมกโต ธมฺเมน วคฺเคหิ. หนฺทสฺส มยํ ตชฺชนียกมฺมํ กโรมา”ติ. เต ตสฺส ตชฺชนียกมฺมํ กโรนฺติ ธมฺมปติรูปเกน วคฺคา. 
evaṃ vutte bhikkhave te manussā Dīghītiṃ Kosalarājānaṃ etad avocuṃ: ummattako ayaṃ Dīghīti Kosalarājā vippalapati, ko imassa Dīghāvu, kaṃ ayaṃ evam āha: mā kho tvaṃ tāta Dīghāvu dīghaṃ passa mā rassaṃ, na hi tāta Dīghāvu verena verā sammanti, averena hi tāta Dīghāvu verā sammantīti.  nāhaṃ bhaṇe ummattako vippalapāmi, api ca yo viññū so vibhāvessatīti.  dutiyam pi kho bhikkhave --la-- tatiyam pi kho bhikkhave Dīghīti Kosalarājā Dīghāvukumāraṃ etad avoca: mā kho ... sammantīti.  tatiyam pi kho bhikkhave te manussā Dīghītiṃ Kosalarājānaṃ etad avocuṃ: ummattako ... so vibhāvessatīti.  atha kho bhikkhave te manussā Dīghītiṃ Kosalarājānaṃ sapajāpatikaṃ rathiyāya rathiyaṃ {siṅghāṭakena} siṅghāṭakaṃ parinetvā dakkhiṇena dvārena nikkhāmetvā dakkhiṇato nagarassa catudhā chinditvā catuddisā bilāni nikkhipitvā gumbaṃ ṭhapetvā pakkamiṃsu. |11| 
โส ตมฺหาปิ อาวาสา อญฺญํ อาวาสํ คจฺฉติ. ตตฺถปิ ภิกฺขูนํ เอวํ โหติ “อยํ โข อาวุโส ภิกฺขุ สงฺเฆน ตชฺชนียกมฺมกโต ธมฺมปติรูปเกน วคฺเคหิ. หนฺทสฺส มยํ ตชฺชนียกมฺมํ กโรมา”ติ. เต ตสฺส ตชฺชนียกมฺมํ กโรนฺติ ธมฺมปติรูปเกน สมคฺคา.  ๔๐๘. อิธ ปน ภิกฺขเว ภิกฺขุ ภณฺฑนการโก โหติ กลหการโก วิวาทการโก ภสฺสการโก สงฺเฆ อธิกรณการโก.  ตตฺร เจ ภิกฺขูนํ เอวํ โหติ “อยํ โข อาวุโส ภิกฺขุ ภณฺฑนการโก กลหการโก วิวาทการโก ภสฺสการโก สงฺเฆ อธิกรณการโก. หนฺทสฺส มยํ ตชฺชนียกมฺมํ กโรมา”ติ. เต ตสฺส ตชฺชนียกมฺมํ กโรนฺติ อธมฺเมน สมคฺคา.  โส ตมฺหา อาวาสา อญฺญํ อาวาสํ คจฺฉติ. ตตฺถปิ ภิกฺขูนํ เอวํ โหติ “อยํ โข อาวุโส ภิกฺขุ สงฺเฆน ตชฺชนียกมฺมกโต อธมฺเมน สมคฺเคหิ. หนฺทสฺส มยํ ตชฺชนียกมฺมํ กโรมา”ติ. เต ตสฺส ตชฺชนียกมฺมํ กโรนฺติ ธมฺเมน วคฺคา.  โส ตมฺหาปิ อาวาสา อญฺญํ อาวาสํ คจฺฉติ. ตตฺถปิ ภิกฺขูนํ เอวํ โหติ “อยํ โข อาวุโส ภิกฺขุ สงฺเฆน ตชฺชนียกมฺมกโต ธมฺเมน วคฺเคหิ. หนฺทสฺส มยํ ตชฺชนียกมฺมํ กโรมา”ติ. เต ตสฺส ตชฺชนียกมฺมํ กโรนฺติ ธมฺมปติรูปเกน วคฺคา. 
atha kho bhikkhave Dīghāvukumāro Bārāṇasiṃ pavisitvā suraṃ nīharitvā gumbiye pāyesi.  yadā te mattā ahesuṃ patitā atha kaṭṭhāni saṃkaḍḍhitvā citakaṃ karitvā mātāpitunnaṃ sarīraṃ citakaṃ āropetvā aggiṃ datvā pañjaliko tikkhattuṃ citakaṃ padakkhiṇaṃ akāsi.  tena kho pana samayena bhikkhave Brahmadatto Kāsirājā uparipāsādavaragato hoti.  addasa kho bhikkhave Brahmadatto Kāsirājā Dīghāvukumāraṃ pañjalikaṃ tikkhattuṃ citakaṃ padakkhiṇaṃ karontaṃ, disvān’ assa etad ahosi: nissaṃsayaṃ kho so manusso Dīghītissa Kosalarañño ñāti vā sālohito vā.  aho me anatthako, na hi nāma me koci ārocessatīti. |12| 
โส ตมฺหาปิ อาวาสา อญฺญํ อาวาสํ คจฺฉติ. ตตฺถปิ ภิกฺขูนํ เอวํ โหติ “อยํ โข อาวุโส ภิกฺขุ สงฺเฆน ตชฺชนียกมฺมกโต ธมฺมปติรูปเกน วคฺเคหิ. หนฺทสฺส มยํ ตชฺชนียกมฺมํ กโรมา”ติ. เต ตสฺส ตชฺชนียกมฺมํ กโรนฺติ ธมฺมปติรูปเกน สมคฺคา.  โส ตมฺหาปิ อาวาสา อญฺญํ อาวาสํ คจฺฉติ. ตตฺถปิ ภิกฺขูนํ เอวํ โหติ “อยํ โข อาวุโส ภิกฺขุ สงฺเฆน ตชฺชนียกมฺมกโต ธมฺมปติรูปเกน สมคฺเคหิ. หนฺทสฺส มยํ ตชฺชนียกมฺมํ กโรมา’ติ. เต ตสฺส ตชฺชนียกมฺมํ กโรนฺติ อธมฺเมน วคฺคา.  ๔๐๙. อิธ ปน ภิกฺขเว ภิกฺขุ ภณฺฑนการโก โหติ กลหการโก วิวาทการโก ภสฺสการโก สงฺเฆ อธิกรณการโก.  ตตฺร เจ ภิกฺขูนํ เอวํ โหติ “อยํ โข อาวุโส ภิกฺขุ ภณฺฑนการโก กลหการโก วิวาทการโก ภสฺสการโก สงฺเฆ อธิกรณการโก. หนฺทสฺส มยํ ตชฺชนียกมฺมํ กโรมา”ติ. เต ตสฺส ตชฺชนียกมฺมํ กโรนฺติ ธมฺเมน วคฺคา. โส ตมฺหา อาวาสา อญฺญํ อาวาสํ คจฺฉติ. ตตฺถปิ ภิกฺขูนํ เอวํ โหติ “อยํ โข อาวุโส ภิกฺขุ สงฺเฆน ตชฺชนียกมฺมกโต ธมฺเมน วคฺเคหิ. หนฺทสฺส มยํ ตชฺชนียกมฺมํ กโรมา”ติ. เต ตสฺส ตชฺชนียกมฺมํ กโรนฺติ ธมฺมปติรูปเกน วคฺคา. โส ตมฺหาปิ อาวาสา อญฺญํ อาวาสํ คจฺฉติ. ตตฺถปิ ภิกฺขูนํ เอวํ โหติ “อยํ โข อาวุโส ภิกฺขุ สงฺเฆน ตชฺชนียกมฺมกโต ธมฺมปติรูปเกน วคฺเคหิ. หนฺทสฺส มยํ ตชฺชนียกมฺมํ กโรมา”ติ. เต ตสฺส ตชฺชนียกมฺมํ กโรนฺติ ธมฺมปติรูปเกน สมคฺคา. โส ตมฺหาปิ อาวาสา อญฺญํ อาวาสํ คจฺฉติ. ตตฺถปิ ภิกฺขูนํ เอวํ โหติ “อยํ โข อาวุโส ภิกฺขุ สงฺเฆน ตชฺชนียกมฺมกโต ธมฺมปติรูปเกน สมคฺเคหิ. หนฺทสฺส มยํ ตชฺชนียกมฺมํ กโรมา”ติ. เต ตสฺส ตชฺชนียกมฺมํ กโรนฺติ อธมฺเมน วคฺคา. โส ตมฺหาปิ อาวาสา อญฺญํ อาวาสํ คจฺฉติ. ตตฺถปิ ภิกฺขูนํ เอวํ โหติ “อยํ โข อาวุโส ภิกฺขุ สงฺเฆน ตชฺชนียกมฺมกโต อธมฺเมน วคฺเคหิ. หนฺทสฺส มยํ ตชฺชนียกมฺมํ กโรมา”ติ. เต ตสฺส ตชฺชนียกมฺมํ กโรนฺติ อธมฺเมน สมคฺคา.  ๔๑๐. อิธ ปน ภิกฺขเว ภิกฺขุ ภณฺฑนการโก โหติ กลหการโก วิวาทการโก ภสฺสการโก สงฺเฆ อธิกรณการโก. 
atha kho bhikkhave Dīghāvukumāro araññaṃ gantvā yāvadatthaṃ kanditvā roditvā vappaṃ puñchitvā Bārāṇasiṃ pavisitvā antepurassa sāmantā hatthisālaṃ gantvā hatthācariyaṃ etad avoca: icchām’ ahaṃ ācariya sippaṃ sikkhitun ti.  tena hi bhaṇe māṇavaka sikkhassū ’ti.  atha kho bhikkhave Dīghāvukumāro rattiyā paccūsasamayaṃ paccuṭṭhāya hatthisālāyaṃ mañjunā sarena gāyi vīṇañ ca vādesi.  assosi kho bhikkhave Brahmadatto Kāsirājā rattiyā paccūsasamayaṃ paccuṭṭhāya hatthisālāyaṃ mañjunā sarena gītaṃ vīṇañ ca vāditaṃ, sutvāna manusse pucchi: ko bhaṇe rattiyā paccūsa (346) samayaṃ paccuṭṭhāya hatthisālāyaṃ mañjunā sarena gāyi vīṇañ ca vādesīti. |13| 
ตตฺร เจ ภิกฺขูนํ เอวํ โหติ “อยํ โข อาวุโส ภิกฺขุ ภณฺฑนการโก กลหการโก วิวาทการโก ภสฺสการโก สงฺเฆ อธิกรณการโก. หนฺทสฺส มยํ ตชฺชนียกมฺมํ กโรมา”ติ. เต ตสฺส ตชฺชนียกมฺมํ กโรนฺติ ธมฺมปติรูปเกน วคฺคา. โส ตมฺหา อาวาสา อญฺญํ อาวาสํ คจฺฉติ. ตตฺถปิ ภิกฺขูนํ เอวํ โหติ “อยํ โข อาวุโส ภิกฺขุ สงฺเฆน ตชฺชนียกมฺมกโต ธมฺมปติรูปเกน วคฺเคหิ. หนฺทสฺส มยํ ตชฺชนียกมฺมํ กโรมา”ติ. เต ตสฺส ตชฺชนียกมฺมํ กโรนฺติ ธมฺมปติรูปเกน สมคฺคา. โส ตมฺหาปิ อาวาสา อญฺญํ อาวาสํ คจฺฉติ. ตตฺถปิ ภิกฺขูนํ เอวํ โหติ “อยํ โข อาวุโส ภิกฺขุ สงฺเฆน ตชฺชนียกมฺมกโต ธมฺมปติรูปเกน สมคฺเคหิ. หนฺทสฺส มยํ ตชฺชนียกมฺมํ กโรมา”ติ. เต ตสฺส ตชฺชนียกมฺมํ กโรนฺติ อธมฺเมน วคฺคา. โส ตมฺหาปิ อาวาสา อญฺญํ อาวาสํ คจฺฉติ. ตตฺถปิ ภิกฺขูนํ เอวํ โหติ “อยํ โข อาวุโส ภิกฺขุ สงฺเฆน ตชฺชนียกมฺมกโต อธมฺเมน วคฺเคหิ. หนฺทสฺส มยํ ตชฺชนียกมฺมํ กโรมา”ติ. เต ตสฺส ตชฺชนียกมฺมํ กโรนฺติ อธมฺเมน สมคฺคา. โส ตมฺหาปิ อาวาสา อญฺญํ อาวาสํ คจฺฉติ. ตตฺถปิ ภิกฺขูนํ เอวํ โหติ “อยํ โข อาวุโส ภิกฺขุ สงฺเฆน ตชฺชนียกมฺมกโต อธมฺเมน สมคฺเคหิ. หนฺทสฺส มยํ ตชฺชนียกมฺมํ กโรมา”ติ. เต ตสฺส ตชฺชนียกมฺมํ กโรนฺติ ธมฺเมน วคฺคา.  ๔๑๑. อิธ ปน ภิกฺขเว ภิกฺขุ ภณฺฑนการโก โหติ กลหการโก วิวาทการโก ภสฺสการโก สงฺเฆ อธิกรณการโก.  ตตฺร เจ ภิกฺขูนํ เอวํ โหติ “อยํ โข อาวุโส ภิกฺขุ ภณฺฑนการโก กลหการโก วิวาทการโก ภสฺสการโก สงฺเฆ อธิกรณการโก. หนฺทสฺส มยํ ตชฺชนียกมฺมํ กโรมา”ติ. เต ตสฺส ตชฺชนียกมฺมํ กโรนฺติ ธมฺมปติรูปเกน สมคฺคา. โส ตมฺหา อาวาสา อญฺญํ อาวาสํ คจฺฉติ. ตตฺถปิ ภิกฺขูนํ เอวํ โหติ “อยํ โข อาวุโส ภิกฺขุ สงฺเฆน ตชฺชนียกมฺมกโต ธมฺมปติรูปเกน สมคฺเคหิ. หนฺทสฺส มยํ ตชฺชนียกมฺมํ กโรมา”ติ. เต ตสฺส ตชฺชนียกมฺมํ กโรนฺติ อธมฺเมน วคฺคา. โส ตมฺหาปิ อาวาสา อญฺญํ อาวาสํ คจฺฉติ. ตตฺถปิ ภิกฺขูนํ เอวํ โหติ “อยํ โข อาวุโส ภิกฺขุ สงฺเฆน ตชฺชนียกมฺมกโต อธมฺเมน วคฺเคหิ. หนฺทสฺส มยํ ตชฺชนียกมฺมํ กโรมา”ติ. เต ตสฺส ตชฺชนียกมฺมํ กโรนฺติ อธมฺเมน สมคฺคา. โส ตมฺหาปิ อาวาสา อญฺญํ อาวาสํ คจฺฉติ. ตตฺถปิ ภิกฺขูนํ เอวํ โหติ “อยํ โข อาวุโส ภิกฺขุ สงฺเฆน ตชฺชนียกมฺมกโต อธมฺเมน สมคฺเคหิ. หนฺทสฺส มยํ ตชฺชนียกมฺมํ กโรมา”ติ. เต ตสฺส ตชฺชนียกมฺมํ กโรนฺติ ธมฺเมน วคฺคา. โส ตมฺหาปิ อาวาสา อญฺญํ อาวาสํ คจฺฉติ. ตตฺถปิ ภิกฺขูนํ เอวํ โหติ “อยํ โข อาวุโส ภิกฺขุ สงฺเฆน ตชฺชนียกมฺมกโต ธมฺเมน วคฺเคหิ. หนฺทสฺส มยํ ตชฺชนียกมฺมํ กโรมา”ติ. เต ตสฺส ตชฺชนียกมฺมํ กโรนฺติ ธมฺมปติรูปเกน วคฺคา. (ตชฺชนียกมฺมกถา นิฏฺฐิตา.)  (๒๔๓. นิยสฺสกมฺมกถา) ๔๑๒. อิธ ปน ภิกฺขเว ภิกฺขุ พาโล โหติ อพฺยตฺโต อาปตฺติพหุโล อนปทาโน คิหิสํสฏฺโฐ วิหรติ อนนุโลมิเกหิ คิหิสํสคฺเคหิ 
amukassa deva hatthācariyassa antevāsī māṇavako rattiyā paccūsasamayaṃ paccuṭṭhāya hatthisālāyaṃ mañjunā sarena gāyi vīṇañ ca vādesīti.  tena hi bhaṇe taṃ māṇavakaṃ ānethā ’ti.  evaṃ devā ’ti kho bhikkhave te manussā Brahmadattassa Kāsirañño paṭissutvā Dīghāvukumāraṃ ānesuṃ.  tvaṃ bhaṇe māṇavaka rattiyā paccūsasamayaṃ paccuṭṭhāya hatthisālāyaṃ mañjunā sarena gāyi vīṇañ ca vādesīti.  evaṃ devā ’ti.  tena hi tvaṃ bhaṇe māṇavaka gāyassu vīṇañ ca vādehīti.  evaṃ devā ’ti kho bhikkhave Dīghāvukumāro Brahmadattassa Kāsirañño paṭissutvā ārādhāpekho mañjunā sarena gāyi vīṇañ ca vādesi.  atha kho bhikkhave Brahmadatto Kāsirājā Dīghāvukumāraṃ etad avoca: tvaṃ bhaṇe māṇavaka maṃ upaṭṭhahā ’ti.  evaṃ devā ’ti kho bhikkhave Dīghāvukumāro Brahmadattassa Kāsirañño paccassosi.  atha kho bhikkhave Dīghāvukumāro Brahmadattassa Kāsirañño pubbuṭṭhayī ahosi pacchānipātī kiṃkārapaṭissāvī manāpacārī piyavādī.  atha kho bhikkhave Brahmadatto Kāsirājā Dīghāvukumāraṃ na cirass’ eva abbhantarike vissāsikaṭṭhāne ṭhapesi. |14| 
ตตฺร เจ ภิกฺขูนํ เอวํ โหติ “อยํ โข อาวุโส ภิกฺขุ พาโล อพฺยตฺโต อาปตฺติพหุโล อนปทาโน คิหิสํสฏฺโฐ วิหรติ อนนุโลมิเกหิ คิหิสํสคฺเคหิ. หนฺทสฺส มยํ นิยสฺสกมฺมํ กโรมา”ติ. เต ตสฺส นิยสฺสกมฺมํ กโรนฺติ อธมฺเมน วคฺคา.  โส ตมฺหา อาวาสา อญฺญํ อาวาสํ คจฺฉติ. ตตฺถปิ ภิกฺขูนํ เอวํ โหติ “อยํ โข อาวุโส ภิกฺขุ สงฺเฆน นิยสฺสกมฺมกโต อธมฺเมน วคฺเคหิ. หนฺทสฺส มยํ นิยสฺสกมฺมํ กโรมา”ติ. เต ตสฺส นิยสฺสกมฺมํ กโรนฺติ อธมฺเมน สมคฺคาฯเปฯ ธมฺเมน วคฺคา… ธมฺมปติรูปเกน วคฺคา… ธมฺมปติรูปเกน สมคฺคาฯเปฯ.  ยถา เหฏฺฐา ตถา จกฺกํ กาตพฺพํ. (นิยสฺสกมฺมกถา นิฏฺฐิตา.)  (๒๔๔. ปพฺพาชนียกมฺมกถา) ๔๑๓. อิธ ปน ภิกฺขเว ภิกฺขุ กุลทูสโก โหติ ปาปสมาจาโร.  ตตฺร เจ ภิกฺขูนํ เอวํ โหติ “อยํ โข อาวุโส ภิกฺขุ กุลทูสโก ปาปสมาจาโร. หนฺทสฺส มยํ ปพฺพาชนียกมฺมํ กโรมา”ติ. เต ตสฺส ปพฺพาชนียกมฺมํ กโรนฺติ อธมฺเมน วคฺคา. โส ตมฺหา อาวาสา อญฺญํ อาวาสํ คจฺฉติ. ตตฺถปิ ภิกฺขูนํ เอวํ โหติ “อยํ โข อาวุโส ภิกฺขุ สงฺเฆน ปพฺพาชนียกมฺมกโต อธมฺเมน วคฺเคหิ. หนฺทสฺส มยํ ปพฺพาชนียกมฺมํ กโรมา”ติ. เต ตสฺส ปพฺพาชนียกมฺมํ กโรนฺติ อธมฺเมน สมคฺคาฯเปฯ ธมฺเมน วคฺคา… ธมฺมปติรูปเกน วคฺคา… ธมฺมปติรูปเกน สมคฺคาฯเปฯ.  จกฺกํ กาตพฺพํ (ปพฺพาชนียกมฺมกตา นิฏฺฐิตา.)  (๒๔๕. ปฏิสารณียกมฺมกถา) ๔๑๔. อิธ ปน ภิกฺขเว ภิกฺขุ คิหี อกฺโกสติ ปริภาสติ.  ตตฺร เจ ภิกฺขูนํ เอวํ โหติ “อยํ โข อาวุโส ภิกฺขุ คิหี อกฺโกสติ ปริภาสติ. หนฺทสฺส มยํ ปฏิสารณียกมฺมํ กโรมา”ติ. เต ตสฺส ปฏิสารณียกมฺมํ กโรนฺติ อธมฺเมน วคฺคา. โส ตมฺหา อาวาสา อญฺญํ อาวาสํ คจฺฉติ. ตตฺถปิ ภิกฺขูนํ เอวํ โหติ “อยํ โข อาวุโส ภิกฺขุ สงฺเฆน ปฏิสารณียกมฺมกโต อธมฺเมน วคฺเคหิ. หนฺทสฺส มยํ ปฏิสารณียกมฺมํ กโรมา”ติ. เต ตสฺส ปฏิสารณียกมฺมํ กโรนฺติ อธมฺเมน สมคฺคาฯเปฯ ธมฺเมน วคฺคา… ธมฺมปติรูปเกน วคฺคา… ธมฺมปติรูปเกน สมคฺคาฯเปฯ.  จกฺกํ กาตพฺพํ. (ปฏิสารณียกมฺมกถา นิฏฺฐิตา.)  (๒๔๖. อทสฺสเน อุกฺเขปนียกมฺมกถา) ๔๑๕. อิธ ปน ภิกฺขเว ภิกฺขุ อาปตฺตึ อาปชฺชิตฺวา น อิจฺฉติ อาปตฺตึ ปสฺสิตุํ.  ตตฺร เจ ภิกฺขูนํ เอวํ โหติ “อยํ โข อาวุโส ภิกฺขุ อาปตฺตึ อาปชฺชิตฺวา น อิจฺฉติ อาปตฺตึ ปสฺสิตุํ. หนฺทสฺส มยํ อาปตฺติยา อทสฺสเน อุกฺเขปนียกมฺมํ กโรมา”ติ. เต ตสฺส อาปตฺติยา อทสฺสเน อุกฺเขปนียกมฺมํ กโรนฺติ อธมฺเมน วคฺคา. โส ตมฺหา อาวาสา อญฺญํ อาวาสํ คจฺฉติ. ตตฺถปิ ภิกฺขูนํ เอวํ โหติ “อยํ โข อาวุโส ภิกฺขุ สงฺเฆน อาปตฺติยา อทสฺสเน อุกฺเขปนียกมฺมกโต อธมฺเมน วคฺเคหิ. หนฺทสฺส มยํ อาปตฺติยา อทสฺสเน อุกฺเขปนียกมฺมํ กโรมา”ติ. เต ตสฺส อาปตฺติยา อทสฺสเน อุกฺเขปนียกมฺมํ กโรนฺติ อธมฺเมน สมคฺคาฯเปฯ ธมฺเมน วคฺคา… ธมฺมปติรูปเกน วคฺคา… ธมฺมปติรูปเกน สมคฺคาฯเปฯ. 
atha kho bhikkhave Brahmadatto Kāsirājā Dīghāvukumāraṃ etad avoca: tena hi bhaṇe māṇavaka rathaṃ yojehi migavaṃ gamissāmīti.  evaṃ devā ’ti kho bhikkhave Dīghāvukumāro Brahmadattassa Kāsirañño paṭissutvā rathaṃ yojetvā Brahmadattaṃ Kāsirājānaṃ etad avoca: yutto kho te deva ratho, yassa dāni kālaṃ maññasīti.  atha kho bhikkhave Brahmadatto Kāsirājā rathaṃ abhirūhi, Dīghāvukumāro rathaṃ pesesi, tathā-tathā rathaṃ pesesi yathā-yathā aññen’ eva senā agamāsi aññen’ eva ratho.  atha kho bhikkhave Brahmadatto Kāsirājā dūraṃ gantvā Dīghāvukumāraṃ etad avoca: tena hi bhaṇe māṇavaka rathaṃ muñcassu, kilanto ’mhi nipajjissāmīti.  evaṃ devā ’ti kho bhikkhave Dīghāvukumāro Brahmadattassa Kāsirañño paṭissutvā rathaṃ muñcitvā paṭhaviyaṃ pallaṅkena nisīdi.  atha kho bhikkhave Brahmadatto Kāsirājā Dīghāvukumārassa ucchaṅge sīsaṃ katvā seyyaṃ kappesi, tassa kilantassa muhuttaken’ eva niddaṃ okkami. |15| 
จกฺกํ กาตพฺพํ. (อทสฺสเน อุกฺเขปนียกมฺมกถา นิฏฺฐิตา.)  (๒๔๗. อปฺปฏิกมฺเม อุกฺเขปนียกมฺมกถา) ๔๑๖. อิธ ปน ภิกฺขเว ภิกฺขุ อาปตฺตึ อาปชฺชิตฺวา น อิจฺฉติ อาปตฺตึ ปฏิกาตุํ.  ตตฺร เจ ภิกฺขูนํ เอวํ โหติ “อยํ โข อาวุโส ภิกฺขุ อาปตฺตึ อาปชฺชิตฺวา น อิจฺฉติ อาปตฺตึ ปฏิกาตุํ. หนฺทสฺส มยํ อาปตฺติยา อปฺปฏิกมฺเม อุกฺเขปนียกมฺมํ กโรมา”ติ เต ตสฺส อาปตฺติยา อปฺปฏิกมฺเม อุกฺเขปนียกมฺมํ กโรนฺติ อธมฺเมน วคฺคา. โส ตมฺหา อาวาสา อญฺญํ อาวาสํ คจฺฉติ. ตตฺถปิ ภิกฺขูนํ เอวํ โหติ “อยํ โข อาวุโส ภิกฺขุ สงฺเฆน อาปตฺติยา อปฺปฏิกมฺเม อุกฺเขปนียกมฺมกโต อธมฺเมน วคฺเคหิ. หนฺทสฺส มยํ อาปตฺติยา อปฺปฏิกมฺเม อุกฺเขปนียกมฺมํ กโรมา”ติ. เต ตสฺส อาปตฺติยา อปฺปฏิกมฺเม อุกฺเขปนียกมฺมํ กโรนฺติ อธมฺเมน สมคฺคาฯเปฯ ธมฺเมน วคฺคา… ธมฺมปติรูปเกน วคฺคา… ธมฺมปติรูปเกน สมคฺคาฯเปฯ.  จกฺกํ กาตพฺพํ. (อปฺปฏิกมฺเม อุกฺเขปนียกมฺมกถา นิฏฺฐิตา.)  (๒๔๘. อปฺปฏินิสฺสคฺเค อุกฺเขปนียกมฺมกถา) ๔๑๗. อิธ ปน ภิกฺขเว ภิกฺขุ น อิจฺฉติ ปาปิกํ ทิฏฺฐึ ปฏินิสฺสชฺชิตุํ.  ตตฺร เจ ภิกฺขูนํ เอวํ โหติ “อยํ โข อาวุโส ภิกฺขุ น อิจฺฉติ ปาปิกํ ทิฏฺฐึ ปฏินิสฺสชฺชิตุํ. หนฺทสฺส มยํ ปาปิกาย ทิฏฺฐิยา อปฺปฏินิสฺสคฺเค อุกฺเขปนียกมฺมํ กโรมา”ติ. เต ตสฺส ปาปิกาย ทิฏฺฐิยา อปฺปฏินิสฺสคฺเค อุกฺเขปนียกมฺมํ กโรนฺติ อธมฺเมน วคฺคา. โส ตมฺหา อาวาสา อญฺญํ อาวาสํ คจฺฉติ. ตตฺถปิ ภิกฺขูนํ เอวํ โหติ “อยํ โข อาวุโส ภิกฺขุ สงฺเฆน ปาปิกาย ทิฏฺฐิยา อปฺปฏินิสฺสคฺเค อุกฺเขปนียกมฺมกโต อธมฺเมน วคฺเคหิ. หนฺทสฺส มยํ ปาปิกาย ทิฏฺฐิยา อปฺปฏินิสฺสคฺเค อุกฺเขปนียกมฺมํ กโรมา”ติ. เต ตสฺส ปาปิกาย ทิฏฺฐิยา อปฺปฏินิสฺสคฺเค อุกฺเขปนียกมฺมํ กโรนฺติ อธมฺเมน สมคฺคาฯเปฯ ธมฺเมน วคฺคา… ธมฺมปติรูปเกน วคฺคา… ธมฺมปติรูปเกน สมคฺคาฯเปฯ. 
atha kho bhikkhave Dīghāvussa kumārassa etad ahosi: ayaṃ kho Brahmadatto Kāsirājā bahuno amhākaṃ (347) anatthassa kārako, iminā amhākaṃ balañ ca vāhanañ ca janapado ca koso ca koṭṭhāgārañ ca acchinnaṃ iminā ca me mātāpitaro hatā.  ayaṃ khv assa kālo yo ’haṃ veraṃ appeyyan ti kosiyā khaggaṃ nibbāhi.  atha kho bhikkhave Dīghāvussa kumārassa etad ahosi: pitā kho maṃ maraṇakāle avaca: mā kho tvaṃ tāta Dīghāvu dīghaṃ passa mā rassaṃ, na hi tāta Dīghāvu verena verā sammanti, averena hi tāta Dīghāvu verā sammantīti.  na kho me taṃ paṭirūpaṃ yo ’haṃ pitu vacanaṃ atikkameyyan ti kosiyā khaggaṃ pavesesi.  dutiyam pi kho bhikkhave Dīghāvussa kumārassa etad ahosi: ayaṃ kho Brahmadatto ... nibbāhi.  dutiyam pi kho bhikkhave Dīghāvussa kumārassa etad ahosi: pitā ... atikkameyyan ti, punad eva kosiyā khaggaṃ pavesesi.  tatiyam pi kho ... nibbāhi.  tatiyam pi kho ... pavesesi.  atha kho bhikkhave Brahmadatto Kāsirājā bhīto ubbiggo ussaṅkī utrasso sahasā vuṭṭhāsi.  atha kho bhikkhave Dīghāvukumāro Brahmadattaṃ Kāsirājānaṃ etad avoca: kissa tvaṃ deva bhīto ... vuṭṭhāsīti.  idha maṃ bhaṇe māṇavaka Dīghītissa Kosalarañño putto Dīghāvukumāro supinantena khaggena paripātesi tenāhaṃ bhīto ubbiggo ussaṅkī utrasso sahasā vuṭṭhāsin ti. |16| 
จกฺกํ กาตพฺพํ. (อปฺปฏินิสฺสคฺเค อุกฺเขปนียกมฺมกถา นิฏฺฐิตา.)  (๒๔๙. ตชฺชนียกมฺมปฏิปฺปสฺสทฺธิกถา) ๔๑๘. อิธ ปน ภิกฺขเว ภิกฺขุ สงฺเฆน ตชฺชนียกมฺมกโต สมฺมา วตฺตติ โลมํ ปาเตติ เนตฺถารํ วตฺตติ ตชฺชนียสฺส กมฺมสฺส ปฏิปฺปสฺสทฺธึ ยาจติ.  ตตฺร เจ ภิกฺขูนํ เอวํ โหติ “อยํ โข อาวุโส ภิกฺขุ สงฺเฆน ตชฺชนียกมฺมกโต สมฺมา วตฺตติ โลมํ ปาเตติ เนตฺถารํ วตฺตติ ตชฺชนียสฺส กมฺมสฺส ปฏิปฺปสฺสทฺธึ ยาจติ. หนฺทสฺส มยํ ตชฺชนียกมฺมํ ปฏิปฺปสฺสมฺเภมา”ติ. เต ตสฺส ตชฺชนียกมฺมํ ปฏิปฺปสฺสมฺเภนฺติ อธมฺเมน วคฺคา.  โส ตมฺหา อาวาสา อญฺญํ อาวาสํ คจฺฉติ. ตตฺถปิ ภิกฺขูนํ เอวํ โหติ “อิมสฺส โข อาวุโส ภิกฺขุโน สงฺเฆน ตชฺชนียกมฺมํ ปฏิปฺปสฺสทฺธํ อธมฺเมน สมคฺเคหิ. หนฺทสฺส มยํ ตชฺชนียกมฺมํ ปฏิปฺปสฺสมฺเภมา”ติ.  เต ตสฺส ตชฺชนียกมฺมํ ปฏิปฺปสฺสมฺเภนฺติ อธมฺเมน สมคฺคา. โส ตมฺหาปิ อาวาสา อญฺญํ อาวาสํ คจฺฉติ. ตตฺถปิ ภิกฺขูนํ เอวํ โหติ “อิมสฺส โข อาวุโส ภิกฺขุโน สงฺเฆน ตชฺชนียกมฺมํ ปฏิปฺปสฺสทฺธํ อธมฺเมน วคฺเคหิ. หนฺทสฺส มยํ ตชฺชนียกมฺมํ ปฏิปฺปสฺสมฺเภมา”ติ. เต ตสฺส ตชฺชนียกมฺมํ ปฏิปฺปสฺสมฺเภนฺติ ธมฺเมน วคฺคา. โส ตมฺหาปิ อาวาสา อญฺญํ อาวาสํ คจฺฉติ. ตตฺถปิ ภิกฺขูนํ เอวํ โหติ “อิมสฺส โข อาวุโส ภิกฺขุโน สงฺเฆน ตชฺชนียกมฺมํ ปฏิปฺปสฺสทฺธํ ธมฺเมน วคฺเคหิ. หนฺทสฺส มยํ ตชฺชนียกมฺมํ ปฏิปฺปสฺสมฺเภมา”ติ. เต ตสฺส ตชฺชนียกมฺมํ ปฏิปฺปสฺสมฺเภนฺติ ธมฺมปติรูปเกน วคฺคา. โส ตมฺหาปิ อาวาสา อญฺญํ อาวาสํ คจฺฉติ. ตตฺถปิ ภิกฺขูนํ เอวํ โหติ “อิมสฺส โข อาวุโส ภิกฺขุโน สงฺเฆน ตชฺชนียกมฺมํ ปฏิปฺปสฺสทฺธํ ธมฺมปติรูปเกน วคฺเคหิ. หนฺทสฺส มยํ ตชฺชนียกมฺมํ ปฏิปฺปสฺสมฺเภมา”ติ. เต ตสฺส ตชฺชนียกมฺมํ ปฏิปฺปสฺสมฺเภนฺติ ธมฺมปติรูปเกน สมคฺคา.  ๔๑๙. อิธ ปน ภิกฺขเว ภิกฺขุ สงฺเฆน ตชฺชนียกมฺมกโต สมฺมา วตฺตติ โลมํ ปาเตติ เนตฺถารํ วตฺตติ ตชฺชนียสฺส กมฺมสฺส ปฏิปฺปสฺสทฺธึ ยาจติ.  ตตฺร เจ ภิกฺขูนํ เอวํ โหติ “อยํ โข อาวุโส ภิกฺขุ สงฺเฆน ตชฺชนียกมฺมกโต สมฺมา วตฺตติ โลมํ ปาเตติ เนตฺถารํ วตฺตติ ตชฺชนียสฺส กมฺมสฺส ปฏิปฺปสฺสทฺธึ ยาจติ. หนฺทสฺส มยํ ตชฺชนียกมฺมํ ปฏิปฺปสฺสมฺเภมา”ติ. เต ตสฺส ตชฺชนียกมฺมํ ปฏิปฺปสฺสมฺเภนฺติ อธมฺเมน สมคฺคา. โส ตมฺหา อาวาสา อญฺญํ อาวาสํ คจฺฉติ. ตตฺถปิ ภิกฺขูนํ เอวํ โหติ “อิมสฺส โข อาวุโส ภิกฺขุโน สงฺเฆน ตชฺชนียกมฺมํ ปฏิปฺปสฺสทฺธํ อธมฺเมน สมคฺเคหิ. หนฺทสฺส มยํ ตชฺชนียกมฺมํ ปฏิปฺปสฺสมฺเภมา”ติ. เต ตสฺส ตชฺชนียกมฺมํ ปฏิปฺปสฺสมฺเภนฺติ ธมฺเมน วคฺคา. โส ตมฺหาปิ อาวาสา อญฺญํ อาวาสํ คจฺฉติ. ตตฺถปิ ภิกฺขูนํ เอวํ โหติ “อิมสฺส โข อาวุโส ภิกฺขุโน สงฺเฆน ตชฺชนียกมฺมํ ปฏิปฺปสฺสทฺธํ ธมฺเมน วคฺเคหิ. หนฺทสฺส มยํ ตชฺชนียกมฺมํ ปฏิปฺปสฺสมฺเภมา”ติ. เต ตสฺส ตชฺชนียกมฺมํ ปฏิปฺปสฺสมฺเภนฺติ ธมฺมปติรูปเกน วคฺคา. โส ตมฺหาปิ อาวาสา อญฺญํ อาวาสํ คจฺฉติ. ตตฺถปิ ภิกฺขูนํ เอวํ โหติ “อิมสฺส โข อาวุโส ภิกฺขุโน สงฺเฆน ตชฺชนียกมฺมํ ปฏิปฺปสฺสทฺธํ ธมฺมปติรูปเกน วคฺเคหิ. หนฺทสฺส มยํ ตชฺชนียกมฺมํ ปฏิปฺปสฺสมฺเภมา”ติ. เต ตสฺส ตชฺชนียกมฺมํ ปฏิปฺปสฺสมฺเภนฺติ ธมฺมปติรูปเกน สมคฺคา. โส ตมฺหาปิ อาวาสา อญฺญํ อาวาสํ คจฺฉติ. ตตฺถปิ ภิกฺขูนํ เอวํ โหติ “อิมสฺส โข อาวุโส ภิกฺขุโน สงฺเฆน ตชฺชนียกมฺมํ ปฏิปฺปสฺสทฺธํ ธมฺมปติรูปเกน สมคฺเคหิ. หนฺทสฺส มยํ ตชฺชนียกมฺมํ ปฏิปฺปสฺสมฺเภมา”ติ. เต ตสฺส ตชฺชนียกมฺมํ ปฏิปฺปสฺสมฺเภนฺติ อธมฺเมน วคฺคา. ๔๒๐. อิธ ปน ภิกฺขเว ภิกฺขุ สงฺเฆน ตชฺชนียกมฺมกโต สมฺมา วตฺตติ โลมํ ปาเตติ เนตฺถารํ วตฺตติ ตชฺชนียสฺส กมฺมสฺส ปฏิปฺปสฺสทฺธึ ยาจติ ตตฺร เจ ภิกฺขูนํ เอวํ โหติ “อยํ โข อาวุโส ภิกฺขุ สงฺเฆน ตชฺชนียกมฺมกโต สมฺมา วตฺตติ โลมํ ปาเตติ เนตฺถารํ วตฺตติ ตชฺชนียสฺส กมฺมสฺส ปฏิปฺปสฺสทฺธึ ยาจติ. หนฺทสฺส มยํ ตชฺชนียกมฺมํ ปฏิปฺปสฺสมฺเภมา”ติ. เต ตสฺส ตชฺชนียกมฺมํ ปฏิปฺปสฺสมฺเภนฺติ ธมฺเมน วคฺคา. โส ตมฺหา อาวาสา อญฺญํ อาวาสํ คจฺฉติ. ตตฺถปิ ภิกฺขูนํ เอวํ โหติ “อิมสฺส โข อาวุโส ภิกฺขุโน สงฺเฆน ตชฺชนียกมฺมํ ปฏิปฺปสฺสทฺธํ ธมฺเมน วคฺเคหิ. หนฺทสฺส มยํ ตชฺชนียกมฺมํ ปฏิปฺปสฺสมฺเภมา”ติ. เต ตสฺส ตชฺชนียกมฺมํ ปฏิปฺปสฺสมฺเภนฺติ ธมฺมปติรูปเกน วคฺคา. โส ตมฺหาปิ อาวาสา อญฺญํ อาวาสํ คจฺฉติ. ตตฺถปิ ภิกฺขูนํ เอวํ โหติ “อิมสฺส โข อาวุโส ภิกฺขุโน สงฺเฆน ตชฺชนียกมฺมํ ปฏิปฺปสฺสทฺธํ ธมฺมปติรูปเกน วคฺเคหิ. หนฺทสฺส มยํ ตชฺชนียกมฺมํ ปฏิปฺปสฺสมฺเภมา”ติ. เต ตสฺส ตชฺชนียกมฺมํ ปฏิปฺปสฺสมฺเภนฺติ ธมฺมปติรูปเกน สมคฺคา. โส ตมฺหาปิ อาวาสา อญฺญํ อาวาสํ คจฺฉติ. ตตฺถปิ ภิกฺขูนํ เอวํ โหติ “อิมสฺส โข อาวุโส ภิกฺขุโน สงฺเฆน ตชฺชนียกมฺมํ ปฏิปฺปสฺสทฺธํ ธมฺมปติรูปเกน สมคฺเคหิ. หนฺทสฺส มยํ ตชฺชนียกมฺมํ ปฏิปฺปสฺสมฺเภมา”ติ. เต ตสฺส ตชฺชนียกมฺมํ ปฏิปฺปสฺสมฺเภนฺติ อธมฺเมน วคฺคา. โส ตมฺหาปิ อาวาสา อญฺญํ อาวาสํ คจฺฉติ. ตตฺถปิ ภิกฺขูนํ เอวํ โหติ “อิมสฺส โข อาวุโส ภิกฺขุโน สงฺเฆน ตชฺชนียกมฺมํ ปฏิปฺปสฺสทฺธํ อธมฺเมน วคฺเคหิ. หนฺทสฺส มยํ ตชฺชนียกมฺมํ ปฏิปฺปสฺสมฺเภมา”ติ. เต ตสฺส ตชฺชนียกมฺมํ ปฏิปฺปสฺสมฺเภนฺติ อธมฺเมน สมคฺคา. ๔๒๑. อิธ ปน ภิกฺขเว ภิกฺขุ สงฺเฆน ตชฺชนียกมฺมกโต สมฺมา วตฺตติ โลมํ ปาเตติ เนตฺถารํ วตฺตติ ตชฺชนียสฺส กมฺมสฺส ปฏิปฺปสฺสทฺธึ ยาจติ. ตตฺร เจ ภิกฺขูนํ เอวํ โหติ “อยํ โข อาวุโส ภิกฺขุ สงฺเฆน ตชฺชนียกมฺมกโต สมฺมา วตฺตติ โลมํ ปาเตติ เนตฺถารํ วตฺตติ ตชฺชนียสฺส กมฺมสฺส ปฏิปฺปสฺสทฺธึ ยาจติ. หนฺทสฺส มยํ ตชฺชนียกมฺมํ ปฏิปฺปสฺสมฺเภมา”ติ. เต ตสฺส ตชฺชนียกมฺมํ ปฏิปฺปสฺสมฺเภนฺติ ธมฺมปติรูปเกน วคฺคา. โส ตมฺหา อาวาสา อญฺญํ อาวาสํ คจฺฉติ. ตตฺถปิ ภิกฺขูนํ เอวํ โหติ “อิมสฺส โข อาวุโส ภิกฺขุโน สงฺเฆน ตชฺชนียกมฺมํ ปฏิปฺปสฺสทฺธํ ธมฺมปติรูปเกน วคฺเคหิ. หนฺทสฺส มยํ ตชฺชนียกมฺมํ ปฏิปฺปสฺสมฺเภมา”ติ. เต ตสฺส ตชฺชนียกมฺมํ ปฏิปฺปสฺสมฺเภนฺติ ธมฺมปติรูปเกน สมคฺคา. โส ตมฺหาปิ อาวาสา อญฺญํ อาวาสํ คจฺฉติ. ตตฺถปิ ภิกฺขูนํ เอวํ โหติ “อิมสฺส โข อาวุโส ภิกฺขุโน สงฺเฆน ตชฺชนียกมฺมํ ปฏิปฺปสฺสทฺธํ ธมฺมปติรูปเกน สมคฺเคหิ. หนฺทสฺส มยํ ตชฺชนียกมฺมํ ปฏิปฺปสฺสมฺเภมา”ติ. เต ตสฺส ตชฺชนียกมฺมํ ปฏิปฺปสฺสมฺเภนฺติ อธมฺเมน วคฺคา. โส ตมฺหาปิ อาวาสา อญฺญํ อาวาสํ คจฺฉติ. ตตฺถปิ ภิกฺขูนํ เอวํ โหติ “อิมสฺส โข อาวุโส ภิกฺขุโน สงฺเฆน ตชฺชนียกมฺมํ ปฏิปฺปสฺสทฺธํ อธมฺเมน วคฺเคหิ. หนฺทสฺส มยํ ตชฺชนียกมฺมํ ปฏิปฺปสฺสมฺเภมา”ติ. เต ตสฺส ตชฺชนียกมฺมํ ปฏิปฺปสฺสมฺเภนฺติ อธมฺเมน สมคฺคา. โส ตมฺหาปิ อาวาสา อญฺญํ อาวาสํ คจฺฉติ. ตตฺถปิ ภิกฺขูนํ เอวํ โหติ “อิมสฺส โข อาวุโส ภิกฺขุโน สงฺเฆน ตชฺชนียกมฺมํ ปฏิปฺปสฺสทฺธํ อธมฺเมน สมคฺเคหิ. หนฺทสฺส มยํ ตชฺชนียกมฺมํ ปฏิปฺปสฺสมฺเภมา”ติ. เต ตสฺส ตชฺชนียกมฺมํ ปฏิปฺปสฺสมฺเภนฺติ ธมฺเมน วคฺคา. ๔๒๒. อิธ ปน ภิกฺขเว ภิกฺขุ สงฺเฆน ตชฺชนียกมฺมกโต สมฺมา วตฺตติ โลมํ ปาเตติ เนตฺถารํ วตฺตติ ตชฺชนียสฺส กมฺมสฺส ปฏิปฺปสฺสทฺธึ ยาจติ. ตตฺร เจ ภิกฺขูนํ เอวํ โหติ “อยํ โข อาวุโส ภิกฺขุ สงฺเฆน ตชฺชนียกมฺมกโต สมฺมา วตฺตติ โลมํ ปาเตติ เนตฺถารํ วตฺตติ ตชฺชนียสฺส กมฺมสฺส ปฏิปฺปสฺสทฺธึ ยาจติ. หนฺทสฺส มยํ ตชฺชนียกมฺมํ ปฏิปฺปสฺสมฺเภมา”ติ. เต ตสฺส ตชฺชนียกมฺมํ ปฏิปฺปสฺสมฺเภนฺติ ธมฺมปติรูปเกน สมคฺคา. โส ตมฺหา อาวาสา อญฺญํ อาวาสํ คจฺฉติ. ตตฺถปิ ภิกฺขูนํ เอวํ โหติ “อิมสฺส โข อาวุโส ภิกฺขุโน สงฺเฆน ตชฺชนียกมฺมํ ปฏิปฺปสฺสทฺธํ ธมฺมปติรูปเกน สมคฺเคหิ. หนฺทสฺส มยํ ตชฺชนียกมฺมํ ปฏิปฺปสฺสมฺเภมา”ติ. เต ตสฺส ตชฺชนียกมฺมํ ปฏิปฺปสฺสมฺเภนฺติ อธมฺเมน วคฺคา. โส ตมฺหาปิ อาวาสา อญฺญํ อาวาสํ คจฺฉติ. ตตฺถปิ ภิกฺขูนํ เอวํ โหติ “อิมสฺส โข อาวุโส ภิกฺขุโน สงฺเฆน ตชฺชนียกมฺมํ ปฏิปฺปสฺสทฺธํ อธมฺเมน วคฺเคหิ. หนฺทสฺส มยํ ตชฺชนียกมฺมํ ปฏิปฺปสฺสมฺเภมา”ติ. เต ตสฺส ตชฺชนียกมฺมํ ปฏิปฺปสฺสมฺเภนฺติ อธมฺเมน สมคฺคา. โส ตมฺหาปิ อาวาสา อญฺญํ อาวาสํ คจฺฉติ. ตตฺถปิ ภิกฺขูนํ เอวํ โหติ “อิมสฺส โข อาวุโส ภิกฺขุโน สงฺเฆน ตชฺชนียกมฺมํ ปฏิปฺปสฺสทฺธํ อธมฺเมน สมคฺเคหิ. หนฺทสฺส มยํ ตชฺชนียกมฺมํ ปฏิปฺปสฺสมฺเภมา”ติ. เต ตสฺส ตชฺชนียกมฺมํ ปฏิปฺปสฺสมฺเภนฺติ ธมฺเมน วคฺคา. โส ตมฺหาปิ อาวาสา อญฺญํ อาวาสํ คจฺฉติ. ตตฺถปิ ภิกฺขูนํ เอวํ โหติ “อิมสฺส โข อาวุโส ภิกฺขุโน สงฺเฆน ตชฺชนียกมฺมํ ปฏิปฺปสฺสทฺธํ ธมฺเมน วคฺเคหิ. หนฺทสฺส มยํ ตชฺชนียกมฺมํ ปฏิปฺปสฺสมฺเภมา”ติ. เต ตสฺส ตชฺชนียกมฺมํ ปฏิปฺปสฺสมฺเภนฺติ ธมฺมปติรูปเกน วคฺคา. (ตชฺชนียกมฺมปฏิปฺปสฺสทฺธิกถา นิฏฺฐิตา.)  (๒๕๐. นิยสฺสกมฺมปฏิปฺปสฺสทฺธิกถา) ๔๒๓. อิธ ปน ภิกฺขเว ภิกฺขุ สงฺเฆน นิยสฺสกมฺมกโต สมฺมา วตฺตติ โลมํ ปาเตติ เนตฺถารํ วตฺตติ นิยสฺสสฺส กมฺมสฺส ปฏิปฺปสฺสทฺธึ ยาจติ. ตตฺร เจ ภิกฺขูนํ เอวํ โหติ “อยํ โข อาวุโส ภิกฺขุ สงฺเฆน นิยสฺสกมฺมกโต สมฺมา วตฺตติ โลมํ ปาเตติ เนตฺถารํ วตฺตติ นิยสฺสสฺส กมฺมสฺส ปฏิปฺปสฺสทฺธึ ยาจติ. หนฺทสฺส มยํ นิยสฺสกมฺมํ ปฏิปฺปสฺสมฺเภมา”ติ. เต ตสฺส นิยสฺสกมฺมํ ปฏิปฺปสฺสมฺเภนฺติ อธมฺเมน วคฺคา. โส ตมฺหา อาวาสา อญฺญํ อาวาสํ คจฺฉติ. ตตฺถปิ ภิกฺขูนํ เอวํ โหติ “อิมสฺส โข อาวุโส ภิกฺขุโน สงฺเฆน นิยสฺสกมฺมํ ปฏิปฺปสฺสทฺธํ อธมฺเมน วคฺเคหิ. หนฺทสฺส มยํ นิยสฺสกมฺมํ ปฏิปฺปสฺสมฺเภมา”ติ. เต ตสฺส นิยสฺสกมฺมํ ปฏิปฺปสฺสมฺเภนฺติ อธมฺเมน สมคฺคาฯเปฯ ธมฺเมน วคฺคา… ธมฺมปติรูปเกน วคฺคา… ธมฺมปติรูปเกน สมคฺคาฯเปฯ. จกฺกํ กาตพฺพํ. (นิยสฺสกมฺมปฏิปฺปสฺสทฺธิกถา นิฏฺฐิตา.) (๒๕๑. ปพฺพาชนียกมฺมปฏิปฺปสฺสทฺธิกถา) ๔๒๔. อิธ ปน ภิกฺขเว ภิกฺขุ สงฺเฆน ปพฺพาชนียกมฺมกโต สมฺมา วตฺตติ โลมํ ปาเตติ เนตฺถารํ วตฺตติ ปพฺพาชนียสฺส กมฺมสฺส ปฏิปฺปสฺสทฺธึ ยาจติ. ตตฺร เจ ภิกฺขูนํ เอวํ โหติ “อยํ โข อาวุโส ภิกฺขุ สงฺเฆน ปพฺพาชนียกมฺมกโต สมฺมา วตฺตติ โลมํ ปาเตติ เนตฺถารํ วตฺตติ ปพฺพาชนียสฺส กมฺมสฺส ปฏิปฺปสฺสทฺธึ ยาจติ. หนฺทสฺส มยํ ปพฺพาชนียกมฺมํ ปฏิปฺปสฺสมฺเภมา”ติ. เต ตสฺส ปพฺพาชนียกมฺมํ ปฏิปฺปสฺสมฺเภนฺติ อธมฺเมน วคฺคา. โส ตมฺหา อาวาสา อญฺญํ อาวาสํ คจฺฉติ. ตตฺถปิ ภิกฺขูนํ เอวํ โหติ “อิมสฺส โข อาวุโส ภิกฺขุโน สงฺเฆน ปพฺพาชนียกมฺมํ ปฏิปฺปสฺสทฺธํ อธมฺเมน วคฺเคหิ. หนฺทสฺส มยํ ปพฺพาชนียกมฺมํ ปฏิปฺปสฺสมฺเภมา”ติ. เต ตสฺส ปพฺพาชนียกมฺมํ ปฏิปฺปสฺสมฺเภนฺติ อธมฺเมน สมคฺคาฯเปฯ ธมฺเมน วคฺคา… ธมฺมปติรูปเกน วคฺคา… ธมฺมปติรูปเกน สมคฺคาฯเปฯ. จกฺกํ กาตพฺพํ. (ปพฺพาชนียกมฺมปฏิปฺปสฺสทฺธิกถา นิฏฺฐิตา.) (๒๕๒. ปฏิสารณียกมฺมปฏิปฺปสฺสทฺธิกถา) ๔๒๕. อิธ ปน ภิกฺขเว ภิกฺขุ สงฺเฆน ปฏิสารณียกมฺมกโต สมฺมา วตฺตติ โลมํ ปาเตติ เนตฺถารํ วตฺตติ ปฏิสารณียสฺส กมฺมสฺส ปฏิปฺปสฺสทฺธึ ยาจติ. ตตฺร เจ ภิกฺขูนํ เอวํ โหติ “อยํ โข อาวุโส ภิกฺขุ สงฺเฆน ปฏิสารณียกมฺมกโต สมฺมา วตฺตติ โลมํ ปาเตติ เนตฺถารํ วตฺตติ ปฏิสารณียสฺส กมฺมสฺส ปฏิปฺปสฺสทฺธึ ยาจติ. หนฺทสฺส มยํ ปฏิสารณียกมฺมํ ปฏิปฺปสฺสมฺเภมา”ติ. เต ตสฺส ปฏิสารณียกมฺมํ ปฏิปฺปสฺสมฺเภนฺติ อธมฺเมน วคฺคา. โส ตมฺหา อาวาสา อญฺญํ อาวาสํ คจฺฉติ. ตตฺถปิ ภิกฺขูนํ เอวํ โหติ “อิมสฺส โข อาวุโส ภิกฺขุโน สงฺเฆน ปฏิสารณียกมฺมํ ปฏิปฺปสฺสทฺธํ อธมฺเมน วคฺเคหิ. หนฺทสฺส มยํ ปฏิสารณียกมฺมํ ปฏิปฺปสฺสมฺเภมา”ติ. เต ตสฺส ปฏิสารณียกมฺมํ ปฏิปฺปสฺสมฺเภนฺติ อธมฺเมน สมคฺคาฯเปฯ ธมฺเมน วคฺคา… ธมฺมปติรูปเกน วคฺคา… ธมฺมปติรูปเกน สมคฺคาฯเปฯ. จกฺกํ กาตพฺพํ. (ปฏิสารณียกมฺมปฏิปฺปสฺสทฺธิกถา นิฏฺฐิตา.) (๒๕๓. อทสฺสเน อุกฺเขปนียกมฺมปฏิปฺปสฺสทฺธิกถา) ๔๒๖. อิธ ปน ภิกฺขเว ภิกฺขุ สงฺเฆน อาปตฺติยา อทสฺสเน อุกฺเขปนียกมฺมกโต สมฺมา วตฺตติ โลมํ ปาเตติ เนตฺถารํ วตฺตติ อาปตฺติยา อทสฺสเน อุกฺเขปนียสฺส กมฺมสฺส ปฏิปฺปสฺสทฺธึ ยาจติ. ตตฺร เจ ภิกฺขูนํ เอวํ โหติ “อยํ โข อาวุโส ภิกฺขุ สงฺเฆน อาปตฺติยา อทสฺสเน อุกฺเขปนียกมฺมกโต สมฺมา วตฺตติ โลมํ ปาเตติ เนตฺถารํ วตฺตติ อาปตฺติยา อทสฺสเน อุกฺเขปนียสฺส กมฺมสฺส ปฏิปฺปสฺสทฺธึ ยาจติ. หนฺทสฺส มยํ อาปตฺติยา อทสฺสเน อุกฺเขปนียกมฺมํ ปฏิปฺปสฺสมฺเภมา”ติ. เต ตสฺส อาปตฺติยา อทสฺสเน อุกฺเขปนียกมฺมํ ปฏิปฺปสฺสมฺเภนฺติ อธมฺเมน วคฺคา. โส ตมฺหา อาวาสา อญฺญํ อาวาสํ คจฺฉติ. ตตฺถปิ ภิกฺขูนํ เอวํ โหติ “อิมสฺส โข อาวุโส ภิกฺขุโน สงฺเฆน อาปตฺติยา อทสฺสเน อุกฺเขปนียกมฺมํ ปฏิปฺปสฺสทฺธํ อธมฺเมน วคฺเคหิ. หนฺทสฺส มยํ อาปตฺติยา อทสฺสเน อุกฺเขปนียกมฺมํ ปฏิปฺปสฺสมฺเภมา”ติ. เต ตสฺส อาปตฺติยา อทสฺสเน อุกฺเขปนียกมฺมํ ปฏิปฺปสฺสมฺเภนฺติ อธมฺเมน สมคฺคาฯเปฯ ธมฺเมน วคฺคา… ธมฺมปติรูปเกน วคฺคา… ธมฺมปติรูปเกน สมคฺคาฯเปฯ. จกฺกํ กาตพฺพํ. (อทสฺสเน อุกฺเขปนียกมฺมปฏิปฺปสฺสทฺธิกถา นิฏฺฐิตา.) (๒๕๔. อปฺปฏิกมฺเม อุกฺเขปนียกมฺมปฏิปฺปสฺสทฺธิกถา) ๔๒๗. อิธ ปน ภิกฺขเว ภิกฺขุ สงฺเฆน อาปตฺติยา อปฺปฏิกมฺเม อุกฺเขปนียกมฺมกโต สมฺมา วตฺตติ โลมํ ปาเตติ เนตฺถารํ วตฺตติ อาปตฺติยา อปฺปฏิกมฺเม อุกฺเขปนียสฺส กมฺมสฺส ปฏิปฺปสฺสทฺธึ ยาจติ. ตตฺร เจ ภิกฺขูนํ เอวํ โหติ “อยํ โข อาวุโส ภิกฺขุ สงฺเฆน อาปตฺติยา อปฺปฏิกมฺเม อุกฺเขปนียกมฺมกโต สมฺมา วตฺตติ โลมํ ปาเตติ เนตฺถารํ วตฺตติ อาปตฺติยา อปฺปฏิกมฺเม อุกฺเขปนียสฺส กมฺมสฺส ปฏิปฺปสฺสทฺธึ ยาจติ. หนฺทสฺส มยํ อาปตฺติยา อปฺปฏิกมฺเม อุกฺเขปนียกมฺมํ ปฏิปฺปสฺสมฺเภมา”ติ. เต ตสฺส อาปตฺติยา อปฺปฏิกมฺเม อุกฺเขปนียกมฺมํ ปฏิปฺปสฺสมฺเภนฺติ อธมฺเมน วคฺคา. โส ตมฺหา อาวาสา อญฺญํ อาวาสํ คจฺฉติ. ตตฺถปิ ภิกฺขูนํ เอวํ โหติ “อิมสฺส โข อาวุโส ภิกฺขุโน สงฺเฆน อาปตฺติยา อปฺปฏิกมฺเม อุกฺเขปนียกมฺมํ ปฏิปฺปสฺสทฺธํ อธมฺเมน วคฺเคหิ. หนฺทสฺส มยํ อาปตฺติยา อปฺปฏิกมฺเม อุกฺเขปนียกมฺมํ ปฏิปฺปสฺสมฺเภมา”ติ. เต ตสฺส อาปตฺติยา อปฺปฏิกมฺเม อุกฺเขปนียกมฺมํ ปฏิปฺปสฺสมฺเภนฺติ อธมฺเมน สมคฺคาฯเปฯ ธมฺเมน วคฺคา… ธมฺมปติรูปเกน วคฺคา… ธมฺมปติรูปเกน สมคฺคาฯเปฯ. จกฺกํ กาตพฺพํ. (อปฺปฏิกมฺเม อุกฺเขปนียกมฺมปฏิปฺปสฺสทฺธิกถา นิฏฺฐิตา.) (๒๕๕. อปฺปฏินิสฺสคฺเค อุกฺเขปนียกมฺมปฏิปฺปสฺสทฺธิกถา) ๔๒๘. อิธ ปน ภิกฺขเว ภิกฺขุ สงฺเฆน ปาปิกาย ทิฏฺฐิยา อปฺปฏินิสฺสคฺเค อุกฺเขปนียกมฺมกโต สมฺมา วตฺตติ โลมํ ปาเตติ เนตฺถารํ วตฺตติ ปาปิกาย ทิฏฺฐิยา อปฺปฏินิสฺสคฺเค อุกฺเขปนียสฺส กมฺมสฺส ปฏิปฺปสฺสทฺธึ ยาจติ. ตตฺร เจ ภิกฺขูนํ เอวํ โหติ “อยํ โข อาวุโส ภิกฺขุ สงฺเฆน ปาปิกาย ทิฏฺฐิยา อปฺปฏินิสฺสคฺเค อุกฺเขปนียกมฺมกโต สมฺมา วตฺตติ โลมํ ปาเตติ เนตฺถารํ วตฺตติ ปาปิกาย ทิฏฺฐิยา อปฺปฏินิสฺสคฺเค อุกฺเขปนียสฺส กมฺมสฺส ปฏิปฺปสฺสทฺธึ ยาจติ. หนฺทสฺส มยํ ปาปิกาย ทิฏฺฐิยา อปฺปฏินิสฺสคฺเค อุกฺเขปนียกมฺมํ ปฏิปฺปสฺสมฺเภมา”ติ. เต ตสฺส ปาปิกาย ทิฏฺฐิยา อปฺปฏินิสฺสคฺเค อุกฺเขปนียกมฺมํ ปฏิปฺปสฺสมฺเภนฺติ อธมฺเมน วคฺคา. โส ตมฺหา อาวาสา อญฺญํ อาวาสํ คจฺฉติ. ตตฺถปิ ภิกฺขูนํ เอวํ โหติ “อิมสฺส โข อาวุโส ภิกฺขุโน สงฺเฆน ปาปิกาย ทิฏฺฐิยา อปฺปฏินิสฺสคฺเค อุกฺเขปนียกมฺมํ ปฏิปฺปสฺสทฺธํ อธมฺเมน วคฺเคหิ. หนฺทสฺส มยํ ปาปิกาย ทิฏฺฐิยา อปฺปฏินิสฺสคฺเค อุกฺเขปนียกมฺมํ ปฏิปฺปสฺสมฺเภมา”ติ. เต ตสฺส ปาปิกาย ทิฏฺฐิยา อปฺปฏินิสฺสคฺเค อุกฺเขปนียกมฺมํ ปฏิปฺปสฺสมฺเภนฺติ… อธมฺเมน สมคฺคาฯเปฯ ธมฺเมน วคฺคา… ธมฺมปติรูปเกน วคฺคา… ธมฺมปติรูปเกน สมคฺคาฯเปฯ. จกฺกํ กาตพฺพํ.(อปฺปฏินิสฺสคฺเค อุกฺเขปนียกมฺมปฏิปฺปสฺสทฺธิกถา นิฏฺฐิตา.)  (๒๕๖. ตชฺชนียกมฺมวิวาทกถา) ๔๒๙. อิธ ปน ภิกฺขเว ภิกฺขุ ภณฺฑนการโก โหติ กลหการโก วิวาทการโก ภสฺสการโก สงฺเฆ อธิกรณการโก.  ตตฺร เจ ภิกฺขูนํ เอวํ โหติ “อยํ โข อาวุโส ภิกฺขุ ภณฺฑนการโกฯเปฯ สงฺเฆ อธิกรณการโก. หนฺทสฺส มยํ ตชฺชนียกมฺมํ กโรมา”ติ เต ตสฺส ตชฺชนียกมฺมํ กโรนฺติ อธมฺเมน วคฺคา.  ตตฺรฏฺโฐ สงฺโฆ วิวทติ “อธมฺเมน วคฺคกมฺมํ อธมฺเมน สมคฺคกมฺมํ ธมฺเมน วคฺคกมฺมํ ธมฺมปติรูปเกน วคฺคกมฺมํ ธมฺมปติรูปเกน สมคฺคกมฺมํ อกตํ กมฺมํ ทุกฺกฏํ กมฺมํ ปุน กาตพฺพํ กมฺม”นฺติ. 
atha kho bhikkhave Dīghāvukumāro vāmena hatthena Brahmadattassa Kāsirañño sīsaṃ parāmasitvā dakkhiṇena hatthena khaggaṃ nibbāhetvā Brahmadattaṃ {Kāsirājānaṃ} etad avoca: ahaṃ kho so deva Dīghītissa Kosalarañño putto Dīghāvukumāro.  bahuno tvaṃ amhākaṃ anatthassa kārako, tayā amhākaṃ balañ ca vāhanañ ca janapado ca koso ca koṭṭhāgārañ ca acchinnaṃ tayā ca me mātāpitaro hatā.  ayaṃ khv assa kālo yv’ āhaṃ veraṃ appeyyan ti.  atha kho bhikkhave Brahmadatto Kāsirājā Dīghāvussa kumārassa pādesu sirasā nipatitvā Dīghāvukumāraṃ etad avoca: jīvitaṃ me tāta Dīghāvu dehi, jīvitaṃ me tāta Dīghāvu dehīti.  ky āhaṃ ussahāmi devassa jīvitaṃ dātuṃ, devo kho me jīvitaṃ dadeyyā ’ti.  tena hi tāta Dīghāvu tvañ c’ eva me jīvitaṃ dehi ahañ ca te jīvitaṃ dammīti.  atha kho bhikkhave Brahmadatto ca Kāsirājā Dīghāvu ca kumāro aññamaññassa jīvitaṃ adaṃsu pāṇiñ ca aggahesuṃ sapathañ ca akaṃsu adrūbhāya.  atha kho bhikkhave Brahmadatto Kāsirājā Dīghāvukumāraṃ etad avoca: (348) tena hi tāta Dīghāvu rathaṃ yojehi gamissāmā ’ti.  evaṃ devā ’ti kho bhikkhave Dīghāvukumāro Brahmadattassa Kāsirañño paṭissutvā rathaṃ yojetvā Brahmadattaṃ Kāsirājānaṃ etad avoca: yutto kho te deva ratho, yassa dāni kālaṃ maññasīti.  atha kho bhikkhave Brahmadatto Kāsirājā rathaṃ abhirūhi, Dīghāvukumāro rathaṃ pesesi, tathā -tathā rathaṃ pesesi yathā-yathā na cirass’ eva senāya samāgacchi. |17| 
ตตฺร ภิกฺขเว เย เต ภิกฺขู เอวมาหํสุ “อธมฺเมน วคฺคกมฺม”นฺติ เย จ เต ภิกฺขู เอวมาหํสุ “อกตํ กมฺมํ ทุกฺกฏํ กมฺมํ ปุน กาตพฺพํ กมฺม”นฺติ อิเม ตตฺถ ภิกฺขู ธมฺมวาทิโน.  ๔๓๐. อิธ ปน ภิกฺขเว ภิกฺขุ ภณฺฑนการโก โหติฯเปฯ สงฺเฆ อธิกรณการโก. ตตฺร เจ ภิกฺขูนํ เอวํ โหติ “อยํ โข อาวุโส ภิกฺขุ ภณฺฑนการโกฯเปฯ สงฺเฆ อธิกรณการโก. หนฺทสฺส มยํ ตชฺชนียกมฺมํ กโรมา”ติ. เต ตสฺส ตชฺชนียกมฺมํ กโรนฺติ อธมฺเมน สมคฺคา.  ตตฺรฏฺโฐ สงฺโฆ วิวทติ “อธมฺเมน วคฺคกมฺมํ อธมฺเมน สมคฺคกมฺมํ ธมฺเมน วคฺคกมฺมํ ธมฺมปติรูปเกน วคฺคกมฺมํ ธมฺมปติรูปเกน สมคฺคกมฺมํ อกตํ กมฺมํ ทุกฺกฏํ กมฺมํ ปุน กาตพฺพํ กมฺม”นฺติ. ตตฺร ภิกฺขเว เย เต ภิกฺขู เอวมาหํสุ “อธมฺเมน สมคฺคกมฺม”นฺติ เย จ เต ภิกฺขู เอวมาหํสุ “อกตํ กมฺมํ ทุกฺกฏํ กมฺมํ ปุน กาตพฺพํ กมฺม”นฺติ อิเม ตตฺถ ภิกฺขู ธมฺมวาทิโน.  ๔๓๑. อิธ ปน ภิกฺขเว ภิกฺขุ ภณฺฑนการโก โหติฯเปฯ สงฺเฆ อธิกรณการโก. ตตฺร เจ ภิกฺขูนํ เอวํ โหติ “อยํ โข อาวุโส ภิกฺขุ ภณฺฑนการโกฯเปฯ สงฺเฆ อธิกรณการโก หนฺทสฺส มยํ ตชฺชนียกมฺมํ กโรมา”ติ. เต ตสฺส ตชฺชนียกมฺมํ กโรนฺติ ธมฺเมน วคฺคา. ตตฺรฏฺโฐ สงฺโฆ วิวทติ “อธมฺเมน วคฺคกมฺมํ อธมฺเมน สมคฺคกมฺมํ ธมฺเมน วคฺคกมฺมํ ธมฺมปติรูปเกน วคฺคกมฺมํ ธมฺมปติรูปเกน สมคฺคกมฺมํ อกตํ กมฺมํ ทุกฺกฏํ กมฺมํ ปุน กาตพฺพํ กมฺม”นฺติ. ตตฺร ภิกฺขเว เย เต ภิกฺขู เอวมาหํสุ “ธมฺเมน วคฺคกมฺม”นฺติ เย จ เต ภิกฺขู เอวมาหํสุ “อกตํ กมฺมํ ทุกฺกฏํ กมฺมํ ปุน กาตพฺพํ กมฺม”นฺติ อิเม ตตฺถ ภิกฺขู ธมฺมวาทิโน. ๔๓๒. อิธ ปน ภิกฺขเว ภิกฺขุ ภณฺฑนการโก โหติฯเปฯ สงฺเฆ อธิกรณการโก. ตตฺร เจ ภิกฺขูนํ เอวํ โหติ “อยํ โข อาวุโส ภิกฺขุ ภณฺฑนการโกฯเปฯ สงฺเฆ อธิกรณการโก. หนฺทสฺส มยํ ตชฺชนียกมฺมํ กโรมา”ติ. เต ตสฺส ตชฺชนียกมฺมํ กโรนฺติ ธมฺมปติรูปเกน วคฺคา. ตตฺรฏฺโฐ สงฺโฆ วิวทติ “อธมฺเมน วคฺคกมฺมํ อธมฺเมน สมคฺคกมฺมํ ธมฺเมน วคฺคกมฺมํ ธมฺมปติรูปเกน วคฺคกมฺมํ ธมฺมปติรูปเกน สมคฺคกมฺมํ อกตํ กมฺมํ ทุกฺกฏํ กมฺมํ ปุน กาตพฺพํ กมฺม”นฺติ. ตตฺร ภิกฺขเว เย เต ภิกฺขู เอวมาหํสุ “ธมฺมปติรูปเกน สมคฺคกมฺม”นฺติ เย จ เต ภิกฺขู เอวมาหํสุ “อกตํ กมฺมํ ทุกฺกฏํ กมฺมํ ปุน กาตพฺพํ กมฺม”นฺติ อิเม ตตฺถ ภิกฺขู ธมฺมวาทิโน. ๔๓๓. อิธ ปน ภิกฺขเว ภิกฺขุ ภณฺฑนการโก โหติฯเปฯ สงฺเฆ อธิกรณการโก. ตตฺร เจ ภิกฺขูนํ เอวํ โหติ “อยํ โข อาวุโส ภิกฺขุ ภณฺฑนการโก โหติฯเปฯ สงฺเฆ อธิกรณการโก. หนฺทสฺส มยํ ตชฺชนียกมฺมํ กโรมา”ติ. เต ตสฺส ตชฺชนียกมฺมํ กโรนฺติ ธมฺมปติรูปเกน สมคฺคา. ตตฺรฏฺโฐ สงฺโฆ วิวทติ “อธมฺเมน วคฺคกมฺมํ อธมฺเมน สมคฺคกมฺมํ ธมฺเมน วคฺคกมฺมํ ธมฺมปติรูปเกน วคฺคกมฺมํ ธมฺมปติรูปเกน สมคฺคกมฺมํ อกตํ กมฺมํ ทุกฺกฏํ กมฺมํ ปุน กาตพฺพํ กมฺม”นฺติ. ตตฺร ภิกฺขเว เย เต ภิกฺขู เอวมาหํสุ “ธมฺมปติรูปเกน สมคฺคกมฺม”นฺติ เย จ เต ภิกฺขู เอวมาหํสุ “อกตํ กมฺมํ ทุกฺกฏํ กมฺมํ ปุน กาตพฺพํ กมฺม”นฺติ อิเม ตตฺถ ภิกฺขู ธมฺมวาทิโน. (ตชฺชนียกมฺมวิวาทกถา นิฏฺฐิตา.)  (๒๕๗. นิยสฺสกมฺมวิวาทกถา) ๔๓๔. อิธ ปน ภิกฺขเว ภิกฺขุ พาโล โหติ อพฺยตฺโต อาปตฺติพหุโล อนปทาโน คิหิสํสฏฺโฐ วิหรติ อนนุโลมิเกหิ คิหิสํสคฺเคหิ.  ตตฺร เจ ภิกฺขูนํ เอวํ โหติ “อยํ โข อาวุโส ภิกฺขุ พาโล อพฺยตฺโต อาปตฺติพหุโล อนปทาโน คิหิสํสฏฺโฐ วิหรติ อนนุโลมิเกหิ คิหิสํสคฺเคหิ. หนฺทสฺส มยํ นิยสฺสกมฺมํ กโรมา”ติ. เต ตสฺส นิยสฺสกมฺมํ กโรนฺติ อธมฺเมน วคฺคาฯเปฯ อธมฺเมน สมคฺคา… ธมฺเมน วคฺคา… ธมฺมปติรูปเกน วคฺคา… ธมฺมปติรูปเกน สมคฺคา.  ตตฺรฏฺโฐ สงฺโฆ วิวทติ “อธมฺเมน วคฺคกมฺมํ อธมฺเมน สมคฺคกมฺมํ ธมฺเมน วคฺคกมฺมํ ธมฺมปติรูปเกน วคฺคกมฺมํ ธมฺมปติรูปเกน สมคฺคกมฺมํ อกตํ กมฺมํ ทุกฺกฏํ กมฺมํ ปุน กาตพฺพํ กมฺม”นฺติ. ตตฺร ภิกฺขเว เย เต ภิกฺขู เอวมาหํสุ “ธมฺมปติรูปเกน สมคฺคกมฺม”นฺติ เย จ เต ภิกฺขู เอวมาหํสุ “อกตํ กมฺมํ ทุกฺกฏํ กมฺมํ ปุน กาตพฺพํ กมฺม”นฺติ อิเม ตตฺถ ภิกฺขู ธมฺมวาทิโน.  อิเม ปญฺจ วารา สํขิตฺตา. (นิยสฺสกมฺมวิวาทกถา นิฏฺฐิตา.)  (๒๕๘. ปพฺพาชนียกมฺมวิวาทกถา) ๔๓๕. อิธ ปน ภิกฺขเว ภิกฺขุ กุลทูสโก โหติ ปาปสมาจาโร.  ตตฺร เจ ภิกฺขูนํ เอวํ โหติ “อยํ โข อาวุโส ภิกฺขุ กุลทูสโก ปาปสมาจาโร. หนฺทสฺส มยํ ปพฺพาชนียกมฺมํ กโรมา”ติ. เต ตสฺส ปพฺพาชนียกมฺมํ กโรนฺติ อธมฺเมน วคฺคาฯเปฯ อธมฺเมน สมคฺคา… ธมฺเมน วคฺคา… ธมฺมปติรูปเกน วคฺคา… ธมฺมปติรูปเกน สมคฺคา. ตตฺรฏฺโฐ สงฺโฆ วิวทติ “อธมฺเมน วคฺคกมฺมํ อธมฺเมน สมคฺคกมฺมํ ธมฺเมน วคฺคกมฺมํ ธมฺมปติรูปเกน วคฺคกมฺมํ ธมฺมปติรูปเกน สมคฺคกมฺมํ อกตํ กมฺมํ ทุกฺกฏํ กมฺมํ ปุน กาตพฺพํ กมฺม”นฺติ. ตตฺร ภิกฺขเว เย เต ภิกฺขู เอวมาหํสุ “ธมฺมปติรูปเกน สมคฺคกมฺม”นฺติ เย จ เต ภิกฺขู เอวมาหํสุ “อกตํ กมฺมํ ทุกฺกฏํ กมฺมํ ปุน กาตพฺพํ กมฺม”นฺติ อิเม ตตฺถ ภิกฺขู ธมฺมวาทิโน. อิเม ปญฺจ วารา สํขิตฺตา. (ปพฺพาชนียกมฺมวิวาทกถา นิฏฺฐิตา.) 
atha kho bhikkhave Brahmadatto Kāsirājā Bārāṇasiṃ pavisitvā amacce pārisajje sannipātāpetvā etad avoca: sace bhaṇe Dīghītissa Kosalarañño puttaṃ Dīghāvukumāraṃ passeyyātha kinti naṃ kareyyāthā ’ti.  ekacce evaṃ āhaṃsu: mayaṃ deva hatthe chindeyyāma, mayaṃ deva pāde chindeyyāma, mayaṃ deva hatthapāde chindeyyāma, mayaṃ deva kaṇṇe chindeyyāma, mayaṃ deva nāsaṃ chindeyyāma, mayaṃ deva kaṇṇanāsaṃ chindeyyāma, mayaṃ deva sīsaṃ chindeyyāmā ’ti.  ayaṃ kho bhaṇe Dīghītissa Kosalarañño putto Dīghāvukumāro, nāyaṃ labbhā kiñci kātuṃ, iminā ca me jīvitaṃ dinnaṃ mayā ca imassa jīvitaṃ dinnan ti. |18| 
(๒๕๙. ปฏิสารณียกมฺมวิวาทกถา) ๔๓๖. อิธ ปน ภิกฺขเว ภิกฺขุ คิหี อกฺโกสติ ปริภาสติ.  ตตฺร เจ ภิกฺขูนํ เอวํ โหติ “อยํ โข อาวุโส ภิกฺขุ คิหี อกฺโกสติ ปริภาสติ. หนฺทสฺส มยํ ปฏิสารณียกมฺมํ กโรมา”ติ. เต ตสฺส ปฏิสารณียกมฺมํ กโรนฺติ อธมฺเมน วคฺคาฯเปฯ อธมฺเมน สมคฺคา… ธมฺเมน วคฺคา… ธมฺมปติรูปเกน วคฺคา… ธมฺมปติรูปเกน สมคฺคา. ตตฺรฏฺโฐ สงฺโฆ วิวทติ “อธมฺเมน วคฺคกมฺมํ อธมฺเมน สมคฺคกมฺมํ ธมฺเมน วคฺคกมฺมํ ธมฺมปติรูปเกน วคฺคกมฺมํ ธมฺมปติรูปเกน สมคฺคกมฺมํ อกตํ กมฺมํ ทุกฺกฏํ กมฺมํ ปุน กาตพฺพํ กมฺม”นฺติ. ตตฺร ภิกฺขเว เย เต ภิกฺขู เอวมาหํสุ “ธมฺมปติรูปเกน สมคฺคกมฺม”นฺติ เย จ เต ภิกฺขู เอวมาหํสุ “อกตํ กมฺมํ ทุกฺกฏํ กมฺมํ ปุน กาตพฺพํ กมฺม”นฺติ อิเม ตตฺถ ภิกฺขู ธมฺมวาทิโน. อิเม ปญฺจ วารา สํขิตฺตา. (ปฏิสารณียกมฺมวิวาทกถา นิฏฺฐิตา.)  (๒๖๐. อทสฺสเน อุกฺเขปนียกมฺมวิวาทกถา) ๔๓๗. อิธ ปน ภิกฺขเว ภิกฺขุ อาปตฺตึ อาปชฺชิตฺวา น อิจฺฉติ อาปตฺตึ ปสฺสิตุํ. 
atha kho bhikkhave Brahmadatto Kāsirājā Dīghāvukumāraṃ etad avoca: yaṃ kho te tāta Dīghāvu pitā maraṇakāle avaca: mā kho tvaṃ tāta Dīghāvu dīghaṃ passa mā rassaṃ, na hi tāta Dīghāvu verena verā sammanti, averena hi tāta Dīghāvu verā sammantīti, kin te pitā sandhāya avacā ’ti.  yaṃ kho me deva pitā maraṇakāle avaca mā dīghan ti, mā ciraṃ veraṃ akāsīti, imaṃ kho me deva pitā maraṇakāle avaca mā dīghan ti.  yaṃ kho me deva pitā maraṇakāle avaca mā rassan ti, mā khippaṃ mittehi bhijjitthā ’ti, imaṃ kho me deva pitā maraṇakāle avaca mā rassan ti.  yaṃ kho me deva pitā maraṇakāle avaca na hi tāta Dīghāvu verena verā sammanti, averena hi tāta Dīghāvu verā sammantīti, devena me mātāpitaro hatā ’ti, sac’ āhaṃ devaṃ jīvitā voropeyyaṃ ye devassa atthakāmā te maṃ jīvitā voropeyyuṃ, ye me atthakāmā te te jīvitā voropeyyuṃ, evaṃ taṃ veraṃ verena na vūpasameyya.  idāni ca pana me devena jīvitaṃ dinnaṃ mayā ca devassa jīvitaṃ dinnaṃ, evaṃ veraṃ averena vūpasantaṃ.  imaṃ kho me deva pitā maraṇakāle avaca: na hi tāta ... sammantīti. |19| 
ตตฺร เจ ภิกฺขูนํ เอวํ โหติ “อยํ โข อาวุโส ภิกฺขุ อาปตฺตึ อาปชฺชิตฺวา น อิจฺฉติ อาปตฺตึ ปสฺสิตุํ. หนฺทสฺส มยํ อาปตฺติยา อทสฺสเน อุกฺเขปนียกมฺมํ กโรมา”ติ. เต ตสฺส อาปตฺติยา อทสฺสเน อุกฺเขปนียกมฺมํ กโรนฺติ อธมฺเมน วคฺคาฯเปฯ อธมฺเมน สมคฺคา… ธมฺเมน วคฺคา… ธมฺมปติรูปเกน วคฺคา… ธมฺมปติรูปเกน สมคฺคา. ตตฺรฏฺโฐ สงฺโฆ วิวทติ “อธมฺเมน วคฺคกมฺมํ อธมฺเมน สมคฺคกมฺมํ ธมฺเมน วคฺคกมฺมํ ธมฺมปติรูปเกน วคฺคกมฺมํ ธมฺมปติรูปเกน สมคฺคกมฺมํ อกตํ กมฺมํ ทุกฺกฏํ กมฺมํ ปุน กาตพฺพํ กมฺม”นฺติ. ตตฺร ภิกฺขเว เย เต ภิกฺขู เอวมาหํสุ “ธมฺมปติรูปเกน สมคฺคกมฺม”นฺติ เย จ เต ภิกฺขู เอวมาหํสุ “อกตํ กมฺมํ ทุกฺกฏํ กมฺมํ ปุน กาตพฺพํ กมฺม”นฺติ อิเม ตตฺถ ภิกฺขู ธมฺมวาทิโน. อิเม ปญฺจ วารา สํขิตฺตา. (อทสฺสเน อุกฺเขปนียกมฺมวิวาทกถา นิฏฺฐิตา.)  (๒๖๑. อปฺปฏิกมฺเม อุกฺเขปนียกมฺมวิวาทกถา) ๔๓๘. อิธ ปน ภิกฺขเว ภิกฺขุ อาปตฺตึ อาปชฺชิตฺวา น อิจฺฉติ อาปตฺตึ ปฏิกาตุํ.  ตตฺร เจ ภิกฺขูนํ เอวํ โหติ “อยํ โข อาวุโส ภิกฺขุ อาปตฺตึ อาปชฺชิตฺวา น อิจฺฉติ อาปตฺตึ ปฏิกาตุํ. หนฺทสฺส มยํ อาปตฺติยา อปฺปฏิกมฺเม อุกฺเขปนียกมฺมํ กโรมา”ติ. เต ตสฺส อาปตฺติยา อปฺปฏิกมฺเม อุกฺเขปนียกมฺมํ กโรนฺติ อธมฺเมน วคฺคาฯเปฯ อธมฺเมน สมคฺคา… ธมฺเมน วคฺคา… ธมฺมปติรูปเกน วคฺคา… ธมฺมปติรูปเกน สมคฺคา. ตตฺรฏฺโฐ สงฺโฆ วิวทติ “อธมฺเมน วคฺคกมฺมํ อธมฺเมน สมคฺคกมฺมํ ธมฺเมน วคฺคกมฺมํ ธมฺมปติรูปเกน วคฺคกมฺมํ ธมฺมปติรูปเกน สมคฺคกมฺมํ อกตํ กมฺมํ ทุกฺกฏํ กมฺมํ ปุน กาตพฺพํ กมฺม”นฺติ. ตตฺร ภิกฺขเว เย เต ภิกฺขู เอวมาหํสุ “ธมฺมปติรูปเกน สมคฺคกมฺม”นฺติ เย จ เต ภิกฺขู เอวมาหํสุ “อกตํ กมฺมํ ทุกฺกฏํ กมฺมํ ปุน กาตพฺพํ กมฺม”นฺติ อิเม ตตฺถ ภิกฺขู ธมฺมวาทิโน. อิเม ปญฺจ วารา สํขิตฺตา. ( อปฺปฏิกมฺเม อุกฺเขปนียกมฺมวิวาทกถา นิฏฺฐิตา.)  (๒๖๒. อปฺปฏินิสฺสคฺเค อุกฺเขปนียกมฺมวิวาทกถา) ๔๓๙. อิธ ปน ภิกฺขเว ภิกฺขุ น อิจฺฉติ ปาปิกํ ทิฏฺฐึ ปฏินิสฺสชฺชิตุํ.  ตตฺร เจ ภิกฺขูนํ เอวํ โหติ “อยํ โข อาวุโส ภิกฺขุ น อิจฺฉติ ปาปิกํ ทิฏฺฐึ ปฏินิสฺสชฺชิตุํ. หนฺทสฺส มยํ ปาปิกาย ทิฏฺฐิยา อปฺปฏินิสฺสคฺเค อุกฺเขปนียกมฺมํ กโรมา”ติ. เต ตสฺส ปาปิกาย ทิฏฺฐิยา อปฺปฏินิสฺสคฺเค อุกฺเขปนียกมฺมํ กโรนฺติ อธมฺเมน วคฺคาฯเปฯ อธมฺเมน สมคฺคา… ธมฺเมน วคฺคา… ธมฺมปติรูปเกน วคฺคา… ธมฺมปติรูปเกน สมคฺคา. ตตฺรฏฺโฐ สงฺโฆ วิวทติ “อธมฺเมน วคฺคกมฺมํ อธมฺเมน สมคฺคกมฺมํ ธมฺเมน วคฺคกมฺมํ ธมฺมปติรูปเกน วคฺคกมฺมํ ธมฺมปติรูปเกน สมคฺคกมฺมํ อกตํ กมฺมํ ทุกฺกฏํ กมฺมํ ปุน กาตพฺพํ กมฺม”นฺติ. ตตฺร ภิกฺขเว เย เต ภิกฺขู เอวมาหํสุ “ธมฺมปติรูปเกน สมคฺคกมฺม”นฺติ เย จ เต ภิกฺขู เอวมาหํสุ “อกตํ กมฺมํ ทุกฺกฏํ กมฺมํ ปุน กาตพฺพํ กมฺม”นฺติ อิเม ตตฺถ ภิกฺขู ธมฺมวาทิโน. อิเม ปญฺจ วารา สํขิตฺตา. (อปฺปฏินิสฺสคฺเค อุกฺเขปนียกมฺมวิวาทกถา นิฏฺฐิตา.)  (๒๖๓. ตชฺชนียกมฺมปฏิปฺปสฺสทฺธิกถา) ๔๔๐. อิธ ปน ภิกฺขเว ภิกฺขุ สงฺเฆน ตชฺชนียกมฺมกโต สมฺมา วตฺตติ โลมํ ปาเตติ เนตฺถารํ วตฺตติ ตชฺชนียสฺส กมฺมสฺส ปฏิปฺปสฺสทฺธึ ยาจติ. 
atha kho bhikkhave Brahmadatto Kāsirājā acchari-(349)yaṃ vata bho abbhutaṃ vata bho, yāva paṇḍito ayaṃ Dīghāvukumāro, yatra hi nāma pituno saṃkhittena bhāsitassa vitthārena atthaṃ ājānissatīti, pettikaṃ balañ ca vāhanañ ca janapadañ ca kosañ ca koṭṭhāgārañ ca paṭipādesi dhītarañ ca adāsi.  tesaṃ hi nāma bhikkhave rājūnaṃ ādinnadaṇḍānaṃ ādinnasatthānaṃ evarūpaṃ khantisoraccaṃ bhavissatīti, idha kho pana taṃ bhikkhave sobhetha yaṃ tumhe evaṃ svākkhāte dhammavinaye pabbajitā samānā khamā ca bhaveyyātha soratā cā ’ti.  tatiyam pi kho bhagavā te bhikkhū etad avoca: alaṃ bhikkhave mā bhaṇḍanaṃ mā kalahaṃ mā viggahaṃ mā vivādan ti.  tatiyam pi kho so adhammavādī bhikkhu bhagavantaṃ etad avoca: āgametu bhante bhagavā dhammasāmī, appossukko bhante bhagavā diṭṭhadhammasukhavihāraṃ anuyutto viharatu, mayaṃ etena bhaṇḍanena kalahena viggahena vivādena paññāyissāmā ’ti.  atha kho bhagavā pariyādinnarūpā kho ime moghapurisā, na yime sukarā saññāpetun ti uṭṭhāyāsanā pakkāmi. |20| 
ตตฺร เจ ภิกฺขูนํ เอวํ โหติ “อยํ โข อาวุโส ภิกฺขุ สงฺเฆน ตชฺชนียกมฺมกโต สมฺมา วตฺตติ โลมํ ปาเตติ เนตฺถารํ วตฺตติ ตชฺชนียสฺส กมฺมสฺส ปฏิปฺปสฺสทฺธึ ยาจติ. หนฺทสฺส มยํ ตชฺชนียกมฺมํ ปฏิปฺปสฺสมฺเภมา”ติ. เต ตสฺส ตชฺชนียกมฺมํ ปฏิปฺปสฺสมฺเภนฺติ อธมฺเมน วคฺคา.  ตตฺรฏฺโฐ สงฺโฆ วิวทติ “อธมฺเมน วคฺคกมฺมํ อธมฺเมน สมคฺคกมฺมํ ธมฺเมน วคฺคกมฺมํ ธมฺมปติรูปเกน วคฺคกมฺมํ ธมฺมปติรูปเกน สมคฺคกมฺมํ อกตํ กมฺมํ ทุกฺกฏํ กมฺมํ ปุน กาตพฺพํ กมฺม”นฺติ. ตตฺร ภิกฺขเว เย เต ภิกฺขู เอวมาหํสุ “อธมฺเมน วคฺคกมฺม”นฺติ เย จ เต ภิกฺขู เอวมาหํสุ “อกตํ กมฺมํ ทุกฺกฏํ กมฺมํ ปุน กาตพฺพํ กมฺม”นฺติ อิเม ตตฺถ ภิกฺขู ธมฺมวาทิโน.  ๔๔๑. อิธ ปน ภิกฺขเว ภิกฺขุ สงฺเฆน ตชฺชนียกมฺมกโต สมฺมา วตฺตติ โลมํ ปาเตติ เนตฺถารํ วตฺตติ ตชฺชนียสฺส กมฺมสฺส ปฏิปฺปสฺสทฺธึ ยาจติ. ตตฺร เจ ภิกฺขูนํ เอวํ โหติ “อยํ โข อาวุโส ภิกฺขุ สงฺเฆน ตชฺชนียกมฺมกโต สมฺมา วตฺตติ โลมํ ปาเตติ เนตฺถารํ วตฺตติ ตชฺชนียสฺส กมฺมสฺส ปฏิปฺปสฺสทฺธึ ยาจติ. หนฺทสฺส มยํ ตชฺชนียกมฺมํ ปฏิปฺปสฺสมฺเภมา”ติ. เต ตสฺส ตชฺชนียกมฺมํ ปฏิปฺปสฺสมฺเภนฺติ อธมฺเมน สมคฺคา. ตตฺรฏฺโฐ สงฺโฆ วิวทติ “อธมฺเมน วคฺคกมฺมํ อธมฺเมน สมคฺคกมฺมํ ธมฺเมน วคฺคกมฺมํ ธมฺมปติรูปเกน วคฺคกมฺมํ ธมฺมปติรูปเกน สมคฺคกมฺมํ อกตํ กมฺมํ ทุกฺกฏํ กมฺมํ ปุน กาตพฺพํ กมฺม”นฺติ. ตตฺร ภิกฺขเว เย เต ภิกฺขู เอวมาหํสุ “อธมฺเมน สมคฺคกมฺม”นฺติ เย จ เต ภิกฺขู เอวมาหํสุ “อกตํ กมฺมํ ทุกฺกฏํ กมฺมํ ปุน กาตพฺพํ กมฺม”นฺติ อิเม ตตฺถ ภิกฺขู ธมฺมวาทิโน. ๔๔๒. อิธ ปน ภิกฺขเว ภิกฺขุ สงฺเฆน ตชฺชนียกมฺมกโต สมฺมา วตฺตติ โลมํ ปาเตติ เนตฺถารํ วตฺตติ ตชฺชนียสฺส กมฺมสฺส ปฏิปฺปสฺสทฺธึ ยาจติ. ตตฺร เจ ภิกฺขูนํ เอวํ โหติ “อยํ โข อาวุโส ภิกฺขุ สงฺเฆน ตชฺชนียกมฺมกโต สมฺมา วตฺตติ โลมํ ปาเตติ เนตฺถารํ วตฺตติ ตชฺชนียสฺส กมฺมสฺส ปฏิปฺปสฺสทฺธึ ยาจติ. หนฺทสฺส มยํ ตชฺชนียกมฺมํ ปฏิปฺปสฺสมฺเภมา”ติ. เต ตสฺส ตชฺชนียกมฺมํ ปฏิปฺปสฺสมฺเภนฺติ ธมฺเมน วคฺคา. ตตฺรฏฺโฐ สงฺโฆ วิวทติ “อธมฺเมน วคฺคกมฺมํ อธมฺเมน สมคฺคกมฺมํ ธมฺเมน วคฺคกมฺมํ ธมฺมปติรูปเกน วคฺคกมฺมํ ธมฺมปติรูปเกน สมคฺคกมฺมํ อกตํ กมฺมํ ทุกฺกฏํ กมฺมํ ปุน กาตพฺพํ กมฺม”นฺติ. ตตฺร ภิกฺขเว เย เต ภิกฺขู เอวมาหํสุ “ธมฺเมน วคฺคกมฺม”นฺติ เย จ เต ภิกฺขู เอวมาหํสุ “อกตํ กมฺมํ ทุกฺกฏํ กมฺมํ ปุน กาตพฺพํ กมฺม”นฺติ อิเม ตตฺถ ภิกฺขู ธมฺมวาทิโน. ๔๔๓. อิธ ปน ภิกฺขเว ภิกฺขุ สงฺเฆน ตชฺชนียกมฺมกโต สมฺมา วตฺตติ โลมํ ปาเตติ เนตฺถารํ วตฺตติ ตชฺชนียสฺส กมฺมสฺส ปฏิปฺปสฺสทฺธึ ยาจติ. ตตฺร เจ ภิกฺขูนํ เอวํ โหติ “อยํ โข อาวุโส ภิกฺขุ สงฺเฆน ตชฺชนียกมฺมกโต สมฺมา วตฺตติ โลมํ ปาเตติ เนตฺถารํ วตฺตติ ตชฺชนียสฺส กมฺมสฺส ปฏิปฺปสฺสทฺธึ ยาจติ. หนฺทสฺส มยํ ตชฺชนียกมฺมํ ปฏิปฺปสฺสมฺเภมา”ติ. เต ตสฺส ตชฺชนียกมฺมํ ปฏิปฺปสฺสมฺเภนฺติ ธมฺมปติรูปเกน วคฺคา. ตตฺรฏฺโฐ สงฺโฆ วิวทติ “อธมฺเมน วคฺคกมฺมํ อธมฺเมน สมคฺคกมฺมํ ธมฺเมน วคฺคกมฺมํ ธมฺมปติรูปเกน วคฺคกมฺมํ ธมฺมปติรูปเกน สมคฺคกมฺมํ อกตํ กมฺมํ ทุกฺกฏํ กมฺมํ ปุน กาตพฺพํ กมฺม”นฺติ. ตตฺร ภิกฺขเว เย เต ภิกฺขู เอวมาหํสุ “ธมฺมปติรูปเกน วคฺคกมฺม”นฺติ เย จ เต ภิกฺขู เอวมาหํสุ “อกตํ กมฺมํ ทุกฺกฏํ กมฺมํ ปุน กาตพฺพํ กมฺม”นฺติ อิเม ตตฺถ ภิกฺขู ธมฺมวาทิโน. ๔๔๔. อิธ ปน ภิกฺขเว ภิกฺขุ สงฺเฆน ตชฺชนียกมฺมกโต สมฺมา วตฺตติ โลมํ ปาเตติ เนตฺถารํ วตฺตติ ตชฺชนียสฺส กมฺมสฺส ปฏิปฺปสฺสทฺธึ ยาจติ. ตตฺร เจ ภิกฺขูนํ เอวํ โหติ “อยํ โข อาวุโส ภิกฺขุ สงฺเฆน ตชฺชนียกมฺมกโต สมฺมา วตฺตติ โลมํ ปาเตติ เนตฺถารํ วตฺตติ ตชฺชนียสฺส กมฺมสฺส ปฏิปฺปสฺสทฺธึ ยาจติ. หนฺทสฺส มยํ ตชฺชนียกมฺมํ ปฏิปฺปสฺสมฺเภมา”ติ. เต ตสฺส ตชฺชนียกมฺมํ ปฏิปฺปสฺสมฺเภนฺติ ธมฺมปติรูปเกน สมคฺคา. ตตฺรฏฺโฐ สงฺโฆ วิวทติ “อธมฺเมน วคฺคกมฺมํ อธมฺเมน สมคฺคกมฺมํ ธมฺเมน วคฺคกมฺมํ ธมฺมปติรูปเกน วคฺคกมฺมํ ธมฺมปติรูปเกน สมคฺคกมฺมํ อกตํ กมฺมํ ทุกฺกฏํ กมฺมํ ปุน กาตพฺพํ กมฺม”นฺติ. ตตฺร ภิกฺขเว เย เต ภิกฺขู เอวมาหํสุ “ธมฺมปติรูปเกน สมคฺคกมฺม”นฺติ เย จ เต ภิกฺขู เอวมาหํสุ “อกตํ กมฺมํ ทุกฺกฏํ กมฺมํ ปุน กาตพฺพํ กมฺม”นฺติ อิเม ตตฺถ ภิกฺขู ธมฺมวาทิโน.(ตชฺชนียกมฺมปฏิปฺปสฺสทฺธิกถา นิฏฺฐิตา.)  (๒๖๔. นิยสฺสกมฺมปฏิปฺปสฺสทฺธิกถา) ๔๔๕. อิธ ปน ภิกฺขเว ภิกฺขุ สงฺเฆน นิยสฺสกมฺมกโต สมฺมา วตฺตติ โลมํ ปาเตติ เนตฺถารํ วตฺตติ นิยสฺสสฺส กมฺมสฺส ปฏิปฺปสฺสทฺธึ ยาจติ. ตตฺร เจ ภิกฺขูนํ เอวํ โหติ “อยํ โข อาวุโส ภิกฺขุ สงฺเฆน นิยสฺสกมฺมกโต สมฺมา วตฺตติ โลมํ ปาเตติ เนตฺถารํ วตฺตติ นิยสฺสสฺส กมฺมสฺส ปฏิปฺปสฺสทฺธึ ยาจติ. หนฺทสฺส มยํ นิยสฺสกมฺมํ ปฏิปฺปสฺสมฺเภมา”ติ. เต ตสฺส นิยสฺสกมฺมํ ปฏิปฺปสฺสมฺเภนฺติ อธมฺเมน วคฺคาฯเปฯ อธมฺเมน สมคฺคา… ธมฺเมน วคฺคา… ธมฺมปติรูปเกน วคฺคา… ธมฺมปติรูปเกน สมคฺคา. ตตฺรฏฺโฐ สงฺโฆ วิวทติ “อธมฺเมน วคฺคกมฺมํ อธมฺเมน สมคฺคกมฺมํ ธมฺเมน วคฺคกมฺมํ ธมฺมปติรูปเกน วคฺคกมฺมํ ธมฺมปติรูปเกน สมคฺคกมฺมํ อกตํ กมฺมํ ทุกฺกฏํ กมฺมํ ปุน กาตพฺพํ กมฺม”นฺติ. ตตฺร ภิกฺขเว เย เต ภิกฺขู เอวมาหํสุ “ธมฺมปติรูปเกน สมคฺคกมฺม”นฺติ เย จ เต ภิกฺขู เอวมาหํสุ “อกตํ กมฺมํ ทุกฺกฏํ กมฺมํ ปุน กาตพฺพํ กมฺม”นฺติ อิเม ตตฺถ ภิกฺขู ธมฺมวาทิโน. อิเมปิ ปญฺจ วารา สํขิตฺตา. (นิยสฺสกมฺมปฏิปฺปสฺสทฺธิกถา นิฏฺฐิตา.) (๒๖๕. ปพฺพาชนียกมฺมปฏิปฺปสฺสทฺธิกถา) ๔๔๖. อิธ ปน ภิกฺขเว ภิกฺขุ สงฺเฆน ปพฺพาชนียกมฺมกโต สมฺมา วตฺตติ โลมํ ปาเตติ เนตฺถารํ วตฺตติ ปพฺพาชนียสฺส กมฺมสฺส ปฏิปฺปสฺสทฺธึ ยาจติ. ตตฺร เจ ภิกฺขูนํ เอวํ โหติ “อยํ โข อาวุโส ภิกฺขุ สงฺเฆน ปพฺพาชนียกมฺมกโต สมฺมา วตฺตติ โลมํ ปาเตติ เนตฺถารํ วตฺตติ ปพฺพาชนียสฺส กมฺมสฺส ปฏิปฺปสฺสทฺธึ ยาจติ. หนฺทสฺส มยํ ปพฺพาชนียกมฺมํ ปฏิปฺปสฺสมฺเภมา”ติ. เต ตสฺส ปพฺพาชนียกมฺมํ ปฏิปฺปสฺสมฺเภนฺติ อธมฺเมน วคฺคาฯเปฯ อธมฺเมน สมคฺคา… ธมฺเมน วคฺคา… ธมฺมปติรูปเกน วคฺคา… ธมฺมปติรูปเกน สมคฺคา. ตตฺรฏฺโฐ สงฺโฆ วิวทติ “อธมฺเมน วคฺคกมฺมํ อธมฺเมน สมคฺคกมฺมํ ธมฺเมน วคฺคกมฺมํ ธมฺมปติรูปเกน วคฺคกมฺมํ ธมฺมปติรูปเกน สมคฺคกมฺมํ อกตํ กมฺมํ ทุกฺกฏํ กมฺมํ ปุน กาตพฺพํ กมฺม”นฺติ. ตตฺร ภิกฺขเว เย เต ภิกฺขู เอวมาหํสุ “ธมฺมปติรูปเกน สมคฺคกมฺม”นฺติ เย จ เต ภิกฺขู เอวมาหํสุ “อกตํ กมฺมํ ทุกฺกฏํ กมฺมํ ปุน กาตพฺพํ กมฺม”นฺติ อิเม ตตฺถ ภิกฺขู ธมฺมวาทิโน. อิเมปิ ปญฺจ วารา สํขิตฺตา. (ปพฺพาชนียกมฺมปฏิปฺปสฺสทฺธิกถา นิฏฺฐิตา.) (๒๖๖. ปฏิสารณียกมฺมปฏิปฺปสฺสทฺธิกถา) ๔๔๗. อิธ ปน ภิกฺขเว ภิกฺขุ สงฺเฆน ปฏิสารณียกมฺมกโต สมฺมา วตฺตติ โลมํ ปาเตติ เนตฺถารํ วตฺตติ ปฏิสารณียสฺส กมฺมสฺส ปฏิปฺปสฺสทฺธึ ยาจติ. ตตฺร เจ ภิกฺขูนํ เอวํ โหติ “อยํ โข อาวุโส ภิกฺขุ สงฺเฆน ปฏิสารณียกมฺมกโต สมฺมา วตฺตติ โลมํ ปาเตติ เนตฺถารํ วตฺตติ ปฏิสารณียสฺส กมฺมสฺส ปฏิปฺปสฺสทฺธึ ยาจติ. หนฺทสฺส มยํ ปฏิสารณียกมฺมํ ปฏิปฺปสฺสมฺเภมา”ติ. เต ตสฺส ปฏิสารณียกมฺมํ ปฏิปฺปสฺสมฺเภนฺติ อธมฺเมน วคฺคาฯเปฯ อธมฺเมน สมคฺคา… ธมฺเมน วคฺคา… ธมฺมปติรูปเกน วคฺคา… ธมฺมปติรูปเกน สมคฺคา. ตตฺรฏฺโฐ สงฺโฆ วิวทติ “อธมฺเมน วคฺคกมฺมํ อธมฺเมน สมคฺคกมฺมํ ธมฺเมน วคฺคกมฺมํ ธมฺมปติรูปเกน วคฺคกมฺมํ ธมฺมปติรูปเกน สมคฺคกมฺมํ อกตํ กมฺมํ ทุกฺกฏํ กมฺมํ ปุน กาตพฺพํ กมฺม”นฺติ. ตตฺร ภิกฺขเว เย เต ภิกฺขู เอวมาหํสุ “ธมฺมปติรูปเกน สมคฺคกมฺม”นฺติ เย จ เต ภิกฺขู เอวมาหํสุ “อกตํ กมฺมํ ทุกฺกฏํ กมฺมํ ปุน กาตพฺพํ กมฺม”นฺติ. อิเม ตตฺถ ภิกฺขู ธมฺมวาทิโน. อิเมปิ ปญฺจ วารา สํขิตฺตา. (ปฏิสารณียกมฺมปฏิปฺปสฺสทฺธิกถา นิฏฺฐิตา.) (๒๖๗. อทสฺสเน อุกฺเขปนียกมฺมปฏิปฺปสฺสทฺธิกถา) ๔๔๘. อิธ ปน ภิกฺขเว ภิกฺขุ สงฺเฆน อาปตฺติยา อทสฺสเน อุกฺเขปนียกมฺมกโต สมฺมา วตฺตติ โลมํ ปาเตติ เนตฺถารํ วตฺตติ อาปตฺติยา อทสฺสเน อุกฺเขปนียสฺส กมฺมสฺส ปฏิปฺปสฺสทฺธึ ยาจติ. ตตฺร เจ ภิกฺขูนํ เอวํ โหติ “อยํ โข อาวุโส ภิกฺขุ สงฺเฆน อาปตฺติยา อทสฺสเน อุกฺเขปนียกมฺมกโต สมฺมา วตฺตติ โลมํ ปาเตติ เนตฺถารํ วตฺตติ อาปตฺติยา อทสฺสเน อุกฺเขปนียสฺส กมฺมสฺส ปฏิปฺปสฺสทฺธึ ยาจติ. หนฺทสฺส มยํ อาปตฺติยา อทสฺสเน อุกฺเขปนียกมฺมํ ปฏิปฺปสฺสมฺเภมา”ติ. เต ตสฺส อาปตฺติยา อทสฺสเน อุกฺเขปนียกมฺมํ ปฏิปฺปสฺสมฺเภนฺติ อธมฺเมน วคฺคาฯเปฯ อธมฺเมน สมคฺคา… ธมฺเมน วคฺคา… ธมฺมปติรูปเกน วคฺคา… ธมฺมปติรูปเกน สมคฺคา. ตตฺรฏฺโฐ สงฺโฆ วิวทติ “อธมฺเมน วคฺคกมฺมํ อธมฺเมน สมคฺคกมฺมํ ธมฺเมน วคฺคกมฺมํ ธมฺมปติรูปเกน วคฺคกมฺมํ ธมฺมปติรูปเกน สมคฺคกมฺมํ อกตํ กมฺมํ ทุกฺกฏํ กมฺมํ ปุน กาตพฺพํ กมฺม”นฺติ. ตตฺร ภิกฺขเว เย เต ภิกฺขู เอวมาหํสุ “ธมฺมปติรูปเกน สมคฺคกมฺม”นฺติ เย จ เต ภิกฺขู เอวมาหํสุ “อกตํ กมฺมํ ทุกฺกฏํ กมฺมํ ปุน กาตพฺพํ กมฺม”นฺติ อิเม ตตฺถ ภิกฺขู ธมฺมวาทิโน. อิเมปิ ปญฺจ วารา สํขิตฺตา. (อทสฺสเน อุกฺเขปนียกมฺมปฏิปฺปสฺสทฺธิกถา นิฏฺฐิตา.) (๒๖๘. อปฺปฏิกมฺเม อุกฺเขปนียกมฺมปฏิปฺปสฺสทฺธิกถา) ๔๔๙. อิธ ปน ภิกฺขเว ภิกฺขุ สงฺเฆน อาปตฺติยา อปฺปฏิกมฺเม อุกฺเขปนียกมฺมกโต สมฺมา วตฺตติ โลมํ ปาเตติ เนตฺถารํ วตฺตติ อาปตฺติยา อปฺปฏิกมฺเม อุกฺเขปนียสฺส กมฺมสฺส ปฏิปฺปสฺสทฺธึ ยาจติ. ตตฺร เจ ภิกฺขูนํ เอวํ โหติ “อยํ โข อาวุโส ภิกฺขุ สงฺเฆน อาปตฺติยา อปฺปฏิกมฺเม อุกฺเขปนียกมฺมกโต สมฺมา วตฺตติ โลมํ ปาเตติ เนตฺถารํ วตฺตติ อาปตฺติยา อปฺปฏิกมฺเม อุกฺเขปนียสฺส กมฺมสฺส ปฏิปฺปสฺสทฺธึ ยาจติ. หนฺทสฺส มยํ อาปตฺติยา อปฺปฏิกมฺเม อุกฺเขปนียกมฺมํ ปฏิปฺปสฺสมฺเภมา”ติ. เต ตสฺส อาปตฺติยา อปฺปฏิกมฺเม อุกฺเขปนียกมฺมํ ปฏิปฺปสฺสมฺเภนฺติ อธมฺเมน วคฺคาฯเปฯ อธมฺเมน สมคฺคา… ธมฺเมน วคฺคา… ธมฺมปติรูปเกน วคฺคา… ธมฺมปติรูปเกน สมคฺคา. ตตฺรฏฺโฐ สงฺโฆ วิวทติ “อธมฺเมน วคฺคกมฺมํ อธมฺเมน สมคฺคกมฺมํ ธมฺเมน วคฺคกมฺมํ ธมฺมปติรูปเกน วคฺคกมฺมํ ธมฺมปติรูปเกน สมคฺคกมฺมํ อกตํ กมฺมํ ทุกฺกฏํ กมฺมํ ปุน กาตพฺพํ กมฺม”นฺติ. ตตฺร ภิกฺขเว เย เต ภิกฺขู เอวมาหํสุ “ธมฺมปติรูปเกน สมคฺคกมฺม”นฺติ เย จ เต ภิกฺขู เอวมาหํสุ “อกตํ กมฺมํ ทุกฺกฏํ กมฺมํ ปุน กาตพฺพํ กมฺม”นฺติ อิเม ตตฺถ ภิกฺขู ธมฺมวาทิโน. อิเมปิ ปญฺจ วารา สํขิตฺตา. (อปฺปฏิกมฺเม อุกฺเขปนียกมฺมปฏิปฺปสฺสทฺธิกถา นิฏฺฐิตา.) (๒๖๙. อปฺปฏินิสฺสคฺเค อุกฺเขปนียกมฺมปฏิปฺปสฺสทฺธิกถา) ๔๕๐. อิธ ปน ภิกฺขเว ภิกฺขุ สงฺเฆน ปาปิกาย ทิฏฺฐิยา อปฺปฏินิสฺสคฺเค อุกฺเขปนียกมฺมกโต สมฺมา วตฺตติ โลมํ ปาเตติ เนตฺถารํ วตฺตติ ปาปิกาย ทิฏฺฐิยา อปฺปฏินิสฺสคฺเค อุกฺเขปนียสฺส กมฺมสฺส ปฏิปฺปสฺสทฺธึ ยาจติ. ตตฺร เจ ภิกฺขูนํ เอวํ โหติ “อยํ โข อาวุโส ภิกฺขุ สงฺเฆน ปาปิกาย ทิฏฺฐิยา อปฺปฏินิสฺสคฺเค อุกฺเขปนียกมฺมกโต สมฺมา วตฺตติ โลมํ ปาเตติ เนตฺถารํ วตฺตติ ปาปิกาย ทิฏฺฐิยา อปฺปฏินิสฺสคฺเค อุกฺเขปนียสฺส กมฺมสฺส ปฏิปฺปสฺสทฺธึ ยาจติ. หนฺทสฺส มยํ ปาปิกาย ทิฏฺฐิยา อปฺปฏินิสฺสคฺเค อุกฺเขปนียกมฺมํ ปฏิปฺปสฺสมฺเภมา”ติ. เต ตสฺส ปาปิกาย ทิฏฺฐิยา อปฺปฏินิสฺสคฺเค อุกฺเขปนียกมฺมํ ปฏิปฺปสฺสมฺเภนฺติ อธมฺเมน วคฺคาฯเปฯ อธมฺเมน สมคฺคา… ธมฺเมน วคฺคา… ธมฺมปติรูปเกน วคฺคา… ธมฺมปติรูปเกน สมคฺคา. ตตฺรฏฺโฐ สงฺโฆ วิวทติ “อธมฺเมน วคฺคกมฺมํ อธมฺเมน สมคฺคกมฺมํ ธมฺเมน วคฺคกมฺมํ ธมฺมปติรูปเกน วคฺคกมฺมํ ธมฺมปติรูปเกน สมคฺคกมฺมํ อกตํ กมฺมํ ทุกฺกฏํ กมฺมํ ปุน กาตพฺพํ กมฺม”นฺติ. ตตฺร ภิกฺขเว เย เต ภิกฺขู เอวมาหํสุ “ธมฺมปติรูปเกน สมคฺคกมฺม”นฺติ เย จ เต ภิกฺขู เอวมาหํสุ “อกตํ กมฺมํ ทุกฺกฏํ กมฺมํ ปุน กาตพฺพํ กมฺม”นฺติ อิเม ตตฺถ ภิกฺขู ธมฺมวาทิโน. อิเมปิ ปญฺจ วารา สํขิตฺตา. (อปฺปฏินิสฺสคฺเค อุกฺเขปนียกมฺมปฏิปฺปสฺสทฺธิกถา นิฏฺฐิตา.)   
||2|| 
 
Dīghāvubhāṇavāraṃ paṭhamaṃ. 
จมฺเปยฺยกฺขนฺธโก นวโม. 
atha kho bhagavā pubbaṇhasamayaṃ nivāsetvā pattacīvaraṃ ādāya Kosambiṃ piṇḍāya pāvisi, Kosambiyaṃ piṇḍāya caritvā pacchābhattaṃ piṇḍapātapaṭikkanto senāsanaṃ saṃsāmetvā pattacīvaraṃ ādāya saṃghamajjhe ṭhitako ’va imā gāthāyo abhāsi:  puthusaddo samajano na bālo koci maññatha saṃghasmiṃ bhijjamānasmiṃ, n’ aññaṃ bhiyyo amaññaruṃ. |  parimuṭṭhā paṇḍitā bhāsā vācāgocarabhāṇino, yāv’ icchanti mukhāyāmaṃ, yena nītā na taṃ vidū. |  akkocchi maṃ, avadhi maṃ, ajini maṃ, ahāsi me, ye taṃ upanayhanti, veraṃ tesaṃ na sammati. |  akkocchi maṃ, avadhi maṃ, ajini maṃ, ahāsi me, ye taṃ na upanayhanti, veraṃ tes’ ūpasammati. |  na hi verena verāni sammant’ idha kudācanaṃ, averena ca sammanti, esa dhammo sanantano. |  pare ca na vijānanti mayam ettha yamāmase, ye ca tattha vijānanti, tato sammanti medhagā. |  (350) aṭṭhicchinnā pāṇaharā gavāssadhanahārino raṭṭhaṃ vilumpamānānaṃ tesam pi hoti saṃgati. kasmā tumhākaṃ no siyā. |  sace labhetha nipakaṃ sahāyaṃ saddhiñcaraṃ sādhuvihāri dhīraṃ, abhibhuyya sabbāni parissayāni careyya ten’ attamano satimā. |  no ce labhetha nipakaṃ sahāyaṃ saddhiñcaraṃ sādhuvihāri dhīraṃ rājā va raṭṭhaṃ vijitaṃ pahāya eko care mātaṅgaraññe va nāgo. |  ekassa caritaṃ seyyo, n’ atthi bāle sahāyatā.  eko care na ca pāpāni kayirā appossukko mātaṅgaraññe va nāgo ’ti. |1| 
  ๒๗๐. ตสฺสุทฺทานํ จมฺปายํ ภควา อาสิ วตฺถุ วาสภคามเก. อาคนฺตุกานมุสฺสุกฺกํ อกาสิ อิจฺฉิตพฺพเก ฯ  ปกตญฺญุโนติ ญตฺวา อุสฺสุกฺกํ น กรี ตทา. อุกฺขิตฺโต น กโรตีติ สาคมา ชินสนฺติเกฯ  อธมฺเมน วคฺคกมฺมํ สมคฺคํ อธมฺเมน จ. ธมฺเมน วคฺคกมฺมญฺจ ปติรูปเกน วคฺคิกํฯ  ปติรูปเกน สมคฺคํ เอโก อุกฺขิปเตกกํ. เอโก จ ทฺเว สมฺพหุเล สงฺฆํ อุกฺขิปเตกโกฯ  ทุเวปิ สมฺพหุลาปิ สงฺโฆ สงฺฆญฺจ อุกฺขิปิ. สพฺพญฺญุปวโร สุตฺวา อธมฺมนฺติ ปฏิกฺขิปิฯ  ญตฺติวิปนฺนํ ยํ กมฺมํ สมฺปนฺนํ อนุสาวนํ. อนุสฺสาวนวิปนฺนํ สมฺปนฺนํ ญตฺติยา จ ยํฯ  อุภเยน วิปนฺนญฺจ อญฺญตฺร ธมฺมเมว จ. วินยา สตฺถุ ปฏิกุฏฺฐํ กุปฺปํ อฏฺฐานารหิกํฯ  อธมฺมวคฺคํ สมคฺคํ ธมฺม ปติรูปานิ เย ทุเว. ธมฺเมเนว จ สามคฺคิ๎ อนุญฺญาสิ ตถาคโตฯ  จตุวคฺโค ปญฺจวคฺโค ทสวคฺโค จ วีสติ. ปโรวีสติวคฺโค จ สงฺโฆ ปญฺจวิโธ ตถาฯ  ฐเปตฺวา อุปสมฺปทํ ยญฺจ กมฺมํ ปวารณํ. อพฺภานกมฺเมน สห จตุวคฺเคหิ กมฺมิโกฯ  ทุเว กมฺเม ฐเปตฺวาน มชฺฌเทสูปสมฺปทํ. อพฺภานํ ปญฺจวคฺคิโก สพฺพกมฺเมสุ กมฺมิโกฯ 
||3|| 
อพฺภาเนกํ ฐเปตฺวาน เย ภิกฺขู ทสวคฺคิกา. สพฺพกมฺมกโร สงฺโฆ วีโส สพฺพตฺถ กมฺมิโกฯ 
atha kho bhagavā saṃghamajjhe ṭhitako ’va imā gāthāyo bhāsitvā yena Bālakaloṇakāragāmo ten’ upasaṃkami.  tena kho pana samayena āyasmā Bhagu Bālakaloṇakāragāme viharati.  addasa kho āyasmā Bhagu bhagavantaṃ dūrato ’va āgacchantaṃ, disvāna āsanaṃ paññāpesi pādodakaṃ pādapīṭhaṃ pādakathalikaṃ upanikkhipi, paccuggantvā pattacīvaraṃ paṭiggahesi.  nisīdi bhagavā paññatte āsane, nisajja pāde pakkhālesi.  āyasmāpi kho Bhagu bhagavantam abhivādetvā ekamantaṃ nisīdi, ekamantaṃ nisinnaṃ kho āyasmantaṃ Bhaguṃ bhagavā etad avoca: kacci bhikkhu khamanīyaṃ, kacci yāpanīyaṃ, kacci piṇḍakena na kilamasīti.  khamanīyaṃ bhagavā, yāpanīyaṃ bhagavā, na cāhaṃ bhante piṇḍakena kilamāmīti.  atha kho bhagavā āyasmantaṃ Bhaguṃ dhammiyā kathāya sandassetvā ... sampahaṃsetvā uṭṭhāyāsanā yena Pācīnavaṃsadāyo ten’ upasaṃkami. |1| 
ภิกฺขุนี สิกฺขมานา จ สามเณโร สามเณรี. ปจฺจกฺขาตนฺติมวตฺถู อุกฺขิตฺตาปตฺติทสฺสเนฯ  อปฺปฏิกมฺเม ทิฏฺฐิยา ปณฺฑโก เถยฺยสํวาสกํ. ติตฺถิยา ติรจฺฉานคตํ มาตุ ปิตุ จ ฆาตกํฯ  อรหํ ภิกฺขุนีทูสิ เภทกํ โลหิตุปฺปาทํ. พฺยญฺชนํ นานาสํวาสํ นานาสีมาย อิทฺธิยาฯ  ยสฺส สงฺโฆ กเร กมฺมํ โหนฺเตเต จตุวีสติ. สมฺพุทฺเธน ปฏิกฺขิตฺตา น เหเต คณปูรกาฯ  ปาริวาสิกจตุตฺโถ ปริวาสํ ทเทยฺย วา. มูลา มานตฺตมพฺเภยฺย อกมฺมํ น จ กรณํฯ  มูลา อรหมานตฺตา อพฺภานารหเมว จ. น กมฺมการกา ปญฺจ สมฺพุทฺเธน ปกาสิตาฯ  ภิกฺขุนี สิกฺขมานา จ สามเณโร สามเณริกา. ปจฺจกฺขนฺติมอุมฺมตฺตา ขิตฺตาเวทนทสฺสเนฯ 
tena kho pana samayena āyasmā ca Anuruddho āyasmā ca Nandiyo āyasmā ca Kimbilo Pācīnavaṃsadāye viharanti.  addasa kho dāyapālo bhagavantaṃ dīrato ’va āgacchantaṃ, disvāna bhagavantaṃ etad avoca: mā samaṇa etaṃ dāyaṃ pāvisi, sant’ ettha tayo kulaputtā attakāmarūpā viharanti, mā tesaṃ aphāsum akāsīti.  assosi kho āyasmā Anuruddho dāyapālassa bhagavatā saddhiṃ mantayamānassa, sutvā dāyapālaṃ etad avoca: māvuso dāyapāla bhagavantaṃ (351) vāresi, satthā no bhagavā anuppatto ’ti.  atha kho āyasmā Anuruddho yenāyasmā ca Nandiyo āyasmā ca Kimbilo ten’ upasaṃkami, upasaṃkamitvā āyasmantaṃ ca Nandiyaṃ āyasmantaṃ ca Kimbilaṃ etad avoca: abhikkamathāyasmanto abhikkamathāyasmanto, satthā no bhagavā anuppatto ’ti. |2| 
อปฺปฏิกมฺเม ทิฏฺฐิยา ปณฺฑกาปิ จ พฺยญฺชนา. นานาสํวาสกา สีมา เวหาสํ ยสฺส กมฺม จฯ  อฏฺฐารสนฺนเมเตสํ ปฏิกฺโกสํ น รุหติ. ภิกฺขุสฺส ปกตตฺตสฺส รุหติ ปฏิกฺโกสนาฯ  สุทฺธสฺส ทุนฺนิสาริโต พาโล หิ สุนิสฺสาริโต. ปณฺฑโก เถยฺยสํวาโส ปกฺกนฺโต ติรจฺฉานคโตฯ  มาตุ ปิตุ อรหนฺต ทูสโก สงฺฆเภทโก. โลหิตุปฺปาทโก เจว อุภโตพฺยญฺชโน จ โยฯ 
atha kho āyasmā ca Anuruddho āyasmā ca Nandiyo āyasmā ca Kimbilo bhagavantaṃ paccuggantvā eko bhagavato pattacīvaraṃ paṭiggahesi, eko āsanaṃ paññāpesi, eko pādodakaṃ pādapīṭhaṃ pādakathalikaṃ upanikkhipi.  nisīdi bhagavā paññatte āsane, nisajja pāde pakkhālesi.  te pi kho āyasmantā bhagavantaṃ abhivādetvā ekamantaṃ nisīdiṃsu.  ekamantaṃ nisinnaṃ kho āyasmantaṃ Anuruddhaṃ bhagavā etad avoca: kacci vo Anuruddhā khamanīyaṃ, kacci yāpanīyaṃ, kacci piṇḍakena na kilamathā ’ti.  khamanīyaṃ bhagavā, yāpanīyaṃ bhagavā, na ca mayaṃ bhante piṇḍakena kilamāmā ’ti.  kacci pana vo Anuruddhā samaggā sammodamānā avivadamānā khīrodakibhūtā aññamaññaṃ piyacakkhūhi sampassantā viharathā ’ti.  taggha mayaṃ bhante samaggā sammodamānā avivadamānā khīrodakibhūtā aññamaññaṃ piyacakkhūhi sampassantā viharāmā ’ti.  yathākathaṃ pana tumhe Anuruddhā samaggā sammodamānā ... sampassantā viharathā ’ti. |3| 
เอกาทสนฺนํ เอเตสํ โอสารณํ น ยุชฺชติ. หตฺถปาทํ ตทุภยํ กณฺณนาสํ ตทูภยํฯ  องฺคุลิ อฬกณฺฑรํ ผณํ ขุชฺโช จ วามโน. คณฺฑี ลกฺขณกสา จ ลิขิตโก จ สีปทีฯ  ปาปา ปริสกาโณ จ กุณี ขญฺโช หโตปิ จ. อิริยาปถทุพฺพโล อนฺโธ มูโค จ พธิโรฯ  อนฺธมูคนฺธพธิโร มูคพธิรเมว จ. อนฺธมูคพธิโร จ ทฺวตฺตึเสเต อนูนกาฯ  เตสํ โอสารณํ โหติ สมฺพุทฺเธน ปกาสิตํ. ทฏฺฐพฺพา ปฏิกาตพฺพา นิสฺสชฺเชตา น วิชฺชติฯ  ตสฺส อุกฺเขปนา กมฺมา สตฺต โหนฺติ อธมฺมิกา. อาปนฺนํ อนุวตฺตนฺตํ สตฺต เตปิ อธมฺมิกาฯ  อาปนฺนํ นานุวตฺตนฺตํ สตฺต กมฺมา สุธมฺมิกา. สมฺมุขา ปฏิปุจฺฉา จ ปฏิญฺญาย จ การณาฯ  สติ อมูฬฺหปาปิกา ตชฺชนีนิยสฺเสน จ. ปพฺพาชนีย ปฏิสาโร อุกฺเขปปริวาส จฯ 
idha mayhaṃ bhante evaṃ hoti: lābhā vata me, suladdhaṃ vata me yo ’haṃ evarūpehi sabrahmacārīhi saddhiṃ viharāmīti.  tassa mayhaṃ bhante imesu āyasmantesu mettaṃ kāyakammaṃ paccupaṭṭhitaṃ āvi c’ eva raho ca, mettaṃ vacīkammaṃ, mettaṃ manokammaṃ paccupaṭṭhitaṃ āvi c’ eva raho ca.  tassa mayhaṃ bhante evaṃ hoti: yaṃ nūnāhaṃ sakaṃ cittaṃ nikkhipitvā imesaṃ yeva āyasmantānaṃ cittassa vasena vatteyyan ti.  so kho ahaṃ bhante sakaṃ cittaṃ nikkhipitvā imesaṃ yeva āyasmantānaṃ cittassa vasena vattāmi, nānā hi kho no bhante kāyā ekañ ca pana maññe cittan ti.  āyasmāpi kho Nandiyo, āyasmāpi kho Kimbilo bhagavantaṃ etad avoca: mayham pi kho bhante evaṃ hoti: lābhā ... maññe cittan ti.  evaṃ kho mayaṃ bhante samaggā sammodamānā avivadamānā khīrodakibhūtā aññamaññaṃ piyacakkhūhi sampassantā viharāmā ’ti. |4| 
มูลา มานตฺตอพฺภานา ตเถว อุปสมฺปทา. อญฺญํ กเรยฺย อญฺญสฺส โสฬเสเต อธมฺมิกาฯ  ตํ ตํ กเรยฺย ตํ ตสฺส โสฬเสเต สุธมฺมิกา. ปจฺจาโรเปยฺย อญฺญญฺญํ โสฬเสเต อธมฺมิกาฯ  ทฺเว ทฺเว ตมฺมูลกํ ตสฺส เตปิ โสฬส ธมฺมิกา. เอเกกมูลกํ จกฺกํ “อธมฺม”นฺติ ชิโนพฺรฺวิฯ  อกาสิ ตชฺชนียํ กมฺมํ สงฺโฆ ภณฺฑนการโก. อธมฺเมน วคฺคกมฺมํ อญฺญํ อาวาสํ คจฺฉิ โสฯ  ตตฺถาธมฺเมน สมคฺคา ตสฺส ตชฺชนียํ กรุํ. อญฺญตฺถ วคฺคาธมฺเมน ตสฺส ตชฺชนียํ กรุํฯ  ปติรูเปน วคฺคาปิ สมคฺคาปิ ตถา กรุํ. อธมฺเมน สมคฺคา จ ธมฺเมน วคฺคเมว จฯ 
kacci pana vo Anuruddhā appa-(352)mattā ātāpino pahitattā viharathā ’ti.  taggha mayaṃ bhante appamattā ātāpino pahitattā viharāmā ’ti.  yathākathaṃ pana tumhe Anuruddhā appamattā ātāpino pahitattā viharathā ’ti.  idha bhante amhākaṃ yo paṭhamaṃ gāmato piṇḍāya paṭikkamati, so āsanaṃ paññāpeti, pādodakaṃ pādapīṭhaṃ pādakathalikaṃ upanikkhipati, avakkārapātiṃ dhovitvā upaṭṭhāpeti, pāniyaṃ paribhojaniyaṃ upaṭṭhāpeti.  yo pacchā gāmato piṇḍāya paṭikkamati, sace hoti bhuttāvaseso, sace ākaṅkhati, bhuñjati, no ce ākaṅkhati, appaharite vā chaḍḍeti appāṇake vā udake opilāpeti, so āsanaṃ uddharati, pādodakaṃ pādapīṭhaṃ pādakathalikaṃ paṭisāmeti, avakkārapātiṃ dhovitvā paṭisāmeti, pāniyaṃ paribhojaniyaṃ paṭisāmeti, bhattaggaṃ sammajjati.  yo passati pāniyaghaṭaṃ vā paribhojaniyaghaṭaṃ vā vaccaghaṭaṃ vā rittaṃ tucchaṃ so upaṭṭhāpeti.  sac’ assa hoti avisayhaṃ hatthavikārena, dutiyaṃ āmantetvā hatthavilaṅghakena upaṭṭhāpema, na tv eva mayaṃ bhante tappaccayā vācaṃ bhindāma.  pañcāhikaṃ kho pana mayaṃ bhante sabbarattiyā dhammiyā kathāya sannisīdāma.  evaṃ kho mayaṃ bhante appamattā ātāpino pahitattā viharāmā ’ti. |5| 
ปติรูปเกน วคฺคา จ สมคฺคา จ อิเม ปทา. เอเกกมูลกํ กตฺวา จกฺกํ พนฺเธ วิจกฺขโณฯ  พาลา พฺยตฺตสฺส นิยสฺสํ ปพฺพาเช กุลทูสกํ. ปฏิสารณียํ กมฺมํ กเร อกฺโกสกสฺส จฯ  อทสฺสนาปฺปฏิกมฺเม โย จ ทิฏฺฐึ น นิสฺสชฺเช. เตสํ อุกฺเขปนียกมฺมํ สตฺถวาเหน ภาสิตํฯ  อุปริ นยกมฺมานํ ปญฺโญ ตชฺชนียํ นเย. เตสํเยว อนุโลมํ สมฺมา วตฺตติ ยาจิเต ฯ  ปสฺสทฺธิ เตสํ กมฺมานํ เหฏฺฐา กมฺมนเยน จ. ตสฺมึ ตสฺมึ ตุ กมฺเมสุ ตตฺรฏฺโฐ จ วิวทติฯ  อกตํ ทุกฺกฏญฺเจว ปุนกาตพฺพกนฺติ จ. กมฺเม ปสฺสทฺธิยา จาปิ เต ภิกฺขู ธมฺมวาทิโนฯ  วิปตฺติพฺยาธิเต ทิสฺวา กมฺมปฺปตฺเต มหามุนิ. ปฏิปฺปสฺสทฺธิมกฺขาสิ สลฺลกตฺโตว โอสธนฺติฯ (อิมมฺหิ ขนฺธเก วตฺถูนิ ฉตฺตึสาติ.) (จมฺเปยฺยกฺขนฺธโก นิฏฺฐิโต.)  (๑๐. โกสมฺพกกฺขนฺธโก ๒๗๑. โกสมฺพกวิวาทกถา) ๔๕๑. เตน สมเยน พุทฺโธ ภควา โกสมฺพิยํ วิหรติ โฆสิตาราเม.  เตน โข ปน สมเยน อญฺญตโร ภิกฺขุ อาปตฺตึ อาปนฺโน โหติ. โส ตสฺสา อาปตฺติยา อาปตฺติทิฏฺฐิ โหติ อญฺเญ ภิกฺขู ตสฺสา อาปตฺติยา อนาปตฺติทิฏฺฐิโน โหนฺติ. 
atha kho bhagavā āyasmantaṃ ca Anuruddhaṃ āyasmantaṃ ca Nandiyaṃ āyasmantaṃ ca Kimbilaṃ dhammiyā kathāya sandassetvā ... sampahaṃsetvā uṭṭhāyāsanā yena Pārileyyakaṃ tena cārikaṃ pakkāmi.  anupubbena cārikaṃ caramāno yena Pārileyyakaṃ tad avasari.  tatra sudaṃ bhagavā Pārileyyake viharati Rakkhitavanasaṇḍe Bhaddasālamūle.  atha kho bhagavato rahogatassa paṭisallīnassa evaṃ cetaso parivitakko udapādi: ahaṃ kho pubbe ākiṇṇo na phāsu vihāsiṃ tehi Kosambakehi bhikkhūhi bhaṇḍanakārakehi kalahakārakehi vivādakārakehi bhassakārakehi saṃghe adhikaraṇakārakehi, so ’mhi etarahi eko adutiyo sukhaṃ phāsu viharāmi aññatr’ eva tehi Kosambakehi bhikkhūhi kalahakārakehi ... adhikaraṇakārakehīti.  aññataro pi kho hatthināgo ākiṇṇo viharati hatthīhi hatthinīhi hatthikaḷabhehi hatthicchāpakehi, chinnaggāni c’ eva tiṇāni khādati, obhaggobhaggañ c’ assa sākhābhaṅgaṃ khādanti, āvilāni ca pāniyāni pivati, ogāhantassa otiṇṇassa hatthiniyo kāyaṃ upanighaṃsantiyo gacchanti.  atha kho (353) tassa hatthināgassa etad ahosi: ahaṃ kho ākiṇṇo viharāmi hatthīhi hatthinīhi hatthikaḷabhehi hatthicchāpakehi, chinnaggāni c’ eva tiṇāni khādāmi, obhaggobhaggañ ca me sākhābhaṅgaṃ khādanti, āvilāni ca pāniyāni pivāmi, ogāhantassa me otiṇṇassa hatthiniyo kāyaṃ upanighaṃsantiyo gacchanti.  yaṃ nūnāhaṃ eko ’va gaṇasmā vūpakaṭṭho vihareyyan ti. |6| 
โส อปเรน สมเยน ตสฺสา อาปตฺติยา อนา ปตฺติทิฏฺฐิ โหติ อญฺเญ ภิกฺขู ตสฺสา อาปตฺติยา อาปตฺติทิฏฺฐิโน โหนฺติ.  อถ โข เต ภิกฺขู ตํ ภิกฺขุํ เอตทโวจุํ “อาปตฺตึ ตฺวํ อาวุโส อาปนฺโน ปสฺสเสตํ อาปตฺติ”นฺติ?  “นตฺถิ เม อาวุโส อาปตฺติ ยมหํ ปสฺเสยฺย”นฺติ.  อถ โข เต ภิกฺขู สามคฺคิ๎ ลภิตฺวา ตํ ภิกฺขุํ อาปตฺติยา อทสฺสเน อุกฺขิปิ๎สุ.  โส จ ภิกฺขุ พหุสฺสุโต โหติ อาคตาคโม ธมฺมธโร วินยธโร มาติกาธโร ปณฺฑิโต พฺยตฺโต เมธาวี ลชฺชี กุกฺกุจฺจโก สิกฺขากาโม.  อถ โข โส ภิกฺขุ สนฺทิฏฺเฐ สมฺภตฺเต ภิกฺขู อุปสงฺกมิตฺวา เอตทโวจ “อนาปตฺติ เอสา อาวุโส เนสา อาปตฺติ. อนาปนฺโนมฺหิ นมฺหิ อาปนฺโน. อนุกฺขิตฺโตมฺหิ นมฺหิ อุกฺขิตฺโต. อธมฺมิเกนมฺหิ กมฺเมน อุกฺขิตฺโต กุปฺเปน อฏฺฐานารเหน. โหถ เม อายสฺมนฺโต ธมฺมโต วินยโต ปกฺขา”ติ.  อลภิ โข โส ภิกฺขุ สนฺทิฏฺเฐ สมฺภตฺเต ภิกฺขู ปกฺเข. 
atha kho so hatthināgo yūthā apakkamma yena Pārileyyakaṃ Rakkhitavanasaṇḍo Bhaddasālamūlaṃ yena bhagavā ten’ upasaṃkami, upasaṃkamitvā soṇḍāya bhagavato pāniyaṃ paribhojaniyaṃ upaṭṭhāpeti appaharitañ ca karoti.  atha kho tassa hatthināgassa etad ahosi: ahaṃ kho pubbe ākiṇṇo na phāsu vihāsiṃ hatthīhi hatthinīhi hatthikaḷabhehi hatthicchāpakehi, chinnaggāni c’ eva tiṇāni khādiṃ, obhaggobhaggañ ca me sākhābhaṅgaṃ khādiṃsu, āvilāni ca pāniyāni apāyiṃ, ogāhantassa ca me otiṇṇassa hatthiniyo kāyaṃ upanighaṃsantiyo agamaṃsu, so ’mhi etarahi eko adutiyo sukhaṃ phāsu viharāmi aññatr’ eva hatthīhi hatthinīhi hatthikaḷabhehi hatthicchāpehīti.  atha kho bhagavā attano ca pavivekaṃ viditvā tassa ca hatthināgassa cetasā cetoparivitakkaṃ aññāya tāyaṃ velāyaṃ imaṃ udānaṃ udānesi: evaṃ nāgassa nāgena īsādantassa hatthino sameti cittaṃ cittena yad eko ramati vane ’ti. |7| 
ชานปทานมฺปิ สนฺทิฏฺฐานํ สมฺภตฺตานํ ภิกฺขูนํ สนฺติเก ทูตํ ปาเหสิ อนาปตฺติ เอสา อาวุโส เนสา อาปตฺติ. อนาปนฺโนมฺหิ นมฺหิ อาปนฺโน. อนุกฺขิตฺโตมฺหิ นมฺหิ อุกฺขิตฺโต. อธมฺมิเกนมฺหิ กมฺเมน อุกฺขิตฺโต กุปฺเปน อฏฺฐานารเหน. โหนฺตุ เม อายสฺมนฺโต ธมฺมโต วินยโต ปกฺขา”ติ.  อลภิ โข โส ภิกฺขุ ชานปเทปิ สนฺทิฏฺเฐ สมฺภตฺเต ภิกฺขู ปกฺเข.  อถ โข เต อุกฺขิตฺตานุวตฺตกา ภิกฺขู เยน อุกฺเขปกา ภิกฺขู เตนุปสงฺกมึสุ อุปสงฺกมิตฺวา อุกฺเขปเก ภิกฺขู เอตทโวจุํ “อนาปตฺติ เอสา อาวุโส เนสา อาปตฺติ. อนาปนฺโน เอโส ภิกฺขุ เนโส ภิกฺขุ อาปนฺโน. อนุกฺขิตฺโต เอโส ภิกฺขุ เนโส ภิกฺขุ อุกฺขิตฺโต อธมฺมิเกน กมฺเมน อุกฺขิตฺโต กุปฺเปน อฏฺฐานารเหนา”ติ. 
||4|| 
เอวํ วุตฺเต อุกฺเขปกา ภิกฺขู อุกฺขิตฺตานุวตฺตเก ภิกฺขู เอตทโวจุํ “อาปตฺติ เอสา อาวุโส เนสา อนาปตฺติ. อาปนฺโน เอโส ภิกฺขุ เนโส ภิกฺขุ อนาปนฺโน. อุกฺขิตฺโต เอโส ภิกฺขุ เนโส ภิกฺขุ อนุกฺขิตฺโต. ธมฺมิเกน กมฺเมน อุกฺขิตฺโต อกุปฺเปน ฐานารเหน. มา โข ตุมฺเห อายสฺมนฺโต เอตํ อุกฺขิตฺตกํ ภิกฺขุํ อนุวตฺติตฺถ อนุปริวาเรถา”ติ. 
atha kho bhagavā Pārileyyake yathābhirantaṃ viharitvā yena Sāvatthi tena cārikaṃ pakkāmi.  anupubbena cārikaṃ caramāno yena Sāvatthi tad avasari.  tatra sudaṃ bhagavā Sāvatthiyaṃ viharati Jetavane Anāthapiṇḍikassa ārāme.  atha kho Kosambakā upāsakā ime kho ayyā Kosambakā bhikkhū bahuno amhākaṃ anatthassa kārakā, imehi ubbāḷho bhagavā pakkanto, handa mayaṃ ayye Kosambake bhikkhū n’ eva abhivādeyyāma na paccuṭṭheyyāma na añjalikammaṃ sāmīcikammaṃ kareyyāma na sakkareyyāma na garukareyyāma na māneyyāma na pūjeyyāma upagatānam pi piṇḍapātaṃ na dajjeyyāma, evaṃ ime amhehi asakkariyamānā agarukariyamānā amāniyamānā apūjiyamānā asakkārapakatā pakkamissanti vā vibbhamissanti vā bhagavantaṃ vā pasādessantīti. |1| 
เอวมฺปิ โข เต อุกฺขิตฺตานุวตฺตกา ภิกฺขู อุกฺเขปเกหิ ภิกฺขูหิ วุจฺจมานา ตเถว ตํ อุกฺขิตฺตกํ ภิกฺขุํ อนุวตฺตึสุ อนุปริวาเรสุํ.  ๔๕๒. อถ โข อญฺญตโร ภิกฺขุ เยน ภควา เตนุปสงฺกมิ อุปสงฺกมิตฺวา ภควนฺตํ อภิวาเทตฺวา เอกมนฺตํ นิสีทิ.  เอกมนฺตํ นิสินฺโน โข โส ภิกฺขุ ภควนฺตํ เอตทโวจ “อิธ ภนฺเต อญฺญตโร ภิกฺขุ อาปตฺตึ อาปนฺโน อโหสิ. โส ตสฺสา อาปตฺติยา อาปตฺติทิฏฺฐิ อโหสิ อญฺเญ ภิกฺขู ตสฺสา อาปตฺติยา อนาปตฺติทิฏฺฐิโน อเหสุํ.  โส อปเรน สมเยน ตสฺสา อาปตฺติยา อนาปตฺติทิฏฺฐิ อโหสิ อญฺเญ ภิกฺขู ตสฺสา อาปตฺติยา อาปตฺติทิฏฺฐิโน อเหสุํ. 
atha kho Kosambakā upāsakā Kosambake bhikkhū n’ eva abhivādesuṃ na paccuṭṭhesuṃ na (354) añjalikammaṃ sāmīcikammaṃ akaṃsu na sakkariṃsu na garukariṃsu na mānesuṃ na pūjesuṃ upagatānam pi piṇḍapātaṃ na adaṃsu.  atha kho Kosambakā bhikkhū Kosambakehi upāsakehi asakkariyamānā ... asakkārapakatā evaṃ āhaṃsu: handa mayaṃ āvuso Sāvatthiṃ gantvā bhagavato santike imaṃ adhikaraṇaṃ vūpasamemā ’ti.  atha kho Kosambakā bhikkhū senāsanaṃ saṃsāmetvā pattacīvaraṃ ādāya yena Sāvatthi ten’ upasaṃkamiṃsu. |2| 
อถ โข เต ภนฺเต ภิกฺขู ตํ ภิกฺขุํ เอตทโวจุํ ‘อาปตฺตึ ตฺวํ อาวุโส อาปนฺโน ปสฺสเสตํ อาปตฺติ’นฺติ? “นตฺถิ เม อาวุโส อาปตฺติ ยมหํ ปสฺเสยฺย”นฺติ.  อถ โข เต ภนฺเต ภิกฺขู สามคฺคิ๎ ลภิตฺวา ตํ ภิกฺขุํ อาปตฺติยา อทสฺสเน อุกฺขิปิ๎สุ.  โส จ ภนฺเต ภิกฺขุ พหุสฺสุโต อาคตาคโม ธมฺมธโร วินยธโร มาติกาธโร ปณฺฑิโต พฺยตฺโต เมธาวี ลชฺชี กุกฺกุจฺจโก สิกฺขากาโม. 
assosi kho āyasmā Sāriputto: te kira Kosambakā bhikkhū bhaṇḍanakārakā ... saṃghe adhikaraṇakārakā Sāvatthiṃ āgacchantīti.  atha kho āyasmā Sāriputto yena bhagavā ten’ upasaṃkami, upasaṃkamitvā bhagavantaṃ abhivādetvā ekamantaṃ nisīdi.  ekamantaṃ nisinno kho āyasmā Sāriputto bhagavantaṃ etad avoca: te kira bhante Kosambakā bhikkhū bhaṇḍanakārakā ... saṃghe adhikaraṇakārakā Sāvatthiṃ āgacchanti.  kathāhaṃ bhante tesu bhikkhūsu paṭipajjāmīti.  tena hi tvaṃ Sāriputta yathādhammo tathā tiṭṭhāhīti.  kathāhaṃ bhante jāneyyaṃ dhammaṃ vā adhammaṃ vā ’ti. |3| 
อถ โข โส ภนฺเต ภิกฺขุ สนฺทิฏฺเฐ สมฺภตฺเต ภิกฺขู อุปสงฺกมิตฺวา เอตทโวจ ‘อนาปตฺติ เอสา อาวุโส เนสา อาปตฺติ. อนาปนฺโนมฺหิ นมฺหิ อาปนฺโน. อนุกฺขิตฺโตมฺหิ นมฺหิ อุกฺขิตฺโต. อธมฺมิเกนมฺหิ กมฺเมน อุกฺขิตฺโต กุปฺเปน อฏฺฐานารเหน. โหถ เม อายสฺมนฺโต ธมฺมโต วินยโต ปกฺขา’ติ. อลภิ โข โส ภนฺเต ภิกฺขุ สนฺทิฏฺเฐ สมฺภตฺเต ภิกฺขู ปกฺเข. ชานปทานมฺปิ สนฺทิฏฺฐานํ สมฺภตฺตานํ ภิกฺขูนํ สนฺติเก ทูตํ ปาเหสิ ‘อนาปตฺติ เอสา อาวุโส เนสา อาปตฺติ. อนาปนฺโนมฺหิ นมฺหิ อาปนฺโน. อนุกฺขิตฺโตมฺหิ นมฺหิ อุกฺขิตฺโต. อธมฺมิเกนมฺหิ กมฺเมน อุกฺขิตฺโต กุปฺเปน อฏฺฐานารเหน. โหนฺตุ เม อายสฺมนฺโต ธมฺมโต วินยโต ปกฺขา’ติ. อลภิ โข โส ภนฺเต ภิกฺขุ ชานปเทปิ สนฺทิฏฺเฐ สมฺภตฺเต ภิกฺขู ปกฺเข. อถ โข เต ภนฺเต อุกฺขิตฺตานุวตฺตกา ภิกฺขู เยน อุกฺเขปกา ภิกฺขู เตนุปสงฺกมึสุ อุปสงฺกมิตฺวา อุกฺเขปเก ภิกฺขู เอตทโวจุํ ‘อนาปตฺติ เอสา อาวุโส เนสา อาปตฺติ. อนาปนฺโน เอโส ภิกฺขุ เนโส ภิกฺขุ อาปนฺโน. อนุกฺขิตฺโต เอโส ภิกฺขุ เนโส ภิกฺขุ อุกฺขิตฺโต. อธมฺมิเกน กมฺเมน อุกฺขิตฺโต กุปฺเปน อฏฺฐานารเหนา’ติ. เอวํ วุตฺเต เต ภนฺเต อุกฺเขปกา ภิกฺขู อุกฺขิตฺตานุวตฺตเก ภิกฺขู เอตทโวจุํ ‘อาปตฺติ เอสา อาวุโส เนสา อนาปตฺติ. อาปนฺโน เอโส ภิกฺขุ เนโส ภิกฺขุ อนาปนฺโน. อุกฺขิตฺโต เอโส ภิกฺขุ เนโส ภิกฺขุ อนุกฺขิตฺโต. ธมฺมิเกน กมฺเมน อุกฺขิตฺโต อกุปฺเปน ฐานารเหน. มา โข ตุมฺเห อายสฺมนฺโต เอตํ อุกฺขิตฺตกํ ภิกฺขุํ อนุวตฺติตฺถ อนุปริวาเรถา’ติ. เอวมฺปิ โข เต ภนฺเต อุกฺขิตฺตานุวตฺตกา ภิกฺขู อุกฺเขปเกหิ ภิกฺขูหิ วุจฺจมานา ตเถว ตํ อุกฺขิตฺตกํ ภิกฺขุํ อนุวตฺตนฺติ อนุปริวาเรนฺตี”ติ.  ๔๕๓. อถ โข ภควา ‘ภินฺโน ภิกฺขุสงฺโฆ ภินฺโน ภิกฺขุสงฺโฆ’ติ อุฏฺฐายาสนา เยน อุกฺเขปกา ภิกฺขู เตนุปสงฺกมิ อุปสงฺกมิตฺวา ปญฺญตฺเต อาสเน นิสีทิ  นิสชฺช โข ภควา อุกฺเขปเก ภิกฺขู เอตทโวจ “มา โข ตุมฺเห ภิกฺขเว ‘ปฏิภาติ โน ปฏิภาติ โน’ติ ยสฺมึ วา ตสฺมึ วา ภิกฺขุํ อุกฺขิปิตพฺพํ มญฺญิตฺถ”.  “อิธ ปน ภิกฺขเว ภิกฺขุ อาปตฺตึ อาปนฺโน โหติ. โส ตสฺสา อาปตฺติยา อนาปตฺติทิฏฺฐิ โหติ อญฺเญ ภิกฺขู ตสฺสา อาปตฺติยา อาปตฺติทิฏฺฐิโน โหนฺติ  เต เจ ภิกฺขเว ภิกฺขู ตํ ภิกฺขุํ เอวํ ชานนฺติ ‘อยํ โข อายสฺมา พหุสฺสุโต อาคตาคโม ธมฺมธโร วินยธโร มาติกาธโร ปณฺฑิโต พฺยตฺโต เมธาวี ลชฺชี กุกฺกุจฺจโก สิกฺขากาโม. สเจ มยํ อิมํ ภิกฺขุํ อาปตฺติยา อทสฺสเน อุกฺขิปิสฺสาม น มยํ อิมินา ภิกฺขุนา สทฺธึ อุโปสถํ กริสฺสาม วินา อิมินา ภิกฺขุนา อุโปสถํ กริสฺสาม ภวิสฺสติ สงฺฆสฺส ตโตนิทานํ ภณฺฑนํ กลโห วิคฺคโห วิวาโท สงฺฆเภโท สงฺฆราชิ สงฺฆววตฺถานํ สงฺฆนานากรณ’นฺติ เภทครุเกหิ ภิกฺขเว ภิกฺขูหิ น โส ภิกฺขุ อาปตฺติยา อทสฺสเน อุกฺขิปิตพฺโพ.  “อิธ ปน ภิกฺขเว ภิกฺขุ อาปตฺตึ อาปนฺโน โหติ. โส ตสฺสา อาปตฺติยา อนาปตฺติทิฏฺฐิ โหติ อญฺเญ ภิกฺขู ตสฺสา อาปตฺติยา อาปตฺติทิฏฺฐิโน โหนฺติ. เต เจ ภิกฺขเว ภิกฺขู ตํ ภิกฺขุํ เอวํ ชานนฺติ ‘อยํ โข อายสฺมา พหุสฺสุโต อาคตาคโม ธมฺมธโร วินยธโร มาติกาธโร ปณฺฑิโต พฺยตฺโต เมธาวี ลชฺชี กุกฺกุจฺจโก สิกฺขากาโม. สเจ มยํ อิมํ ภิกฺขุํ อาปตฺติยา อทสฺสเน อุกฺขิปิสฺสาม น มยํ อิมินา ภิกฺขุนา สทฺธึ ปวาเรสฺสาม วินา อิมินา ภิกฺขุนา ปวาเรสฺสาม. น มยํ อิมินา ภิกฺขุนา สทฺธึ สงฺฆกมฺมํ กริสฺสาม วินา อิมินา ภิกฺขุนา สงฺฆกมฺมํ กริสฺสาม. น มยํ อิมินา ภิกฺขุนา สทฺธึ อาสเน นิสีทิสฺสาม วินา อิมินา ภิกฺขุนา อาสเน นิสีทิสฺสาม. น มยํ อิมินา ภิกฺขุนา สทฺธึ ยาคุปาเน นิสีทิสฺสาม วินา อิมินา ภิกฺขุนา ยาคุปาเน นิสีทิสฺสาม น มยํ อิมินา ภิกฺขุนา สทฺธึ ภตฺตคฺเค นิสีทิสฺสาม วินา อิมินา ภิกฺขุนา ภตฺตคฺเค นิสีทิสฺสาม. น มยํ อิมินา ภิกฺขุนา สทฺธึ เอกจฺฉนฺเน วสิสฺสาม วินา อิมินา ภิกฺขุนา เอกจฺฉนฺเน วสิสฺสาม. น มยํ อิมินา ภิกฺขุนา สทฺธึ ยถาวุฑฺฒํ อภิวาทนํ ปจฺจุฏฺฐานํ อญฺชลิกมฺมํ สามีจิกมฺมํ กริสฺสาม วินา อิมินา ภิกฺขุนา ยถาวุฑฺฒํ อภิวาทนํ ปจฺจุฏฺฐานํ อญฺชลิกมฺมํ สามีจิกมฺมํ กริสฺสาม. ภวิสฺสติ สงฺฆสฺส ตโตนิทานํ ภณฺฑนํ กลโห วิคฺคโห วิวาโท สงฺฆเภโท สงฺฆราชิ สงฺฆววตฺถานํ สงฺฆนานากรณ’นฺติ เภทครุเกหิ ภิกฺขเว ภิกฺขูหิ น โส ภิกฺขุ อาปตฺติยา อทสฺสเน อุกฺขิปิตพฺโพ”ติ. 
aṭṭhārasahi kho Sāriputta vatthūhi adhammavādī jānitabbo.  idha Sāriputta bhikkhu adhammaṃ dhammo ’ti dīpeti, dhammaṃ adhammo ’ti dīpeti, avinayaṃ vinayo ’ti d., vinayaṃ avinayo ’ti d., abhāsitaṃ alapitaṃ tathāgatena bhāsitaṃ lapitaṃ tathāgatenā ’ti d., bhāsitaṃ lapitaṃ tathāgatena abhāsitaṃ alapitaṃ tathāgatenā ’ti d., anāciṇṇaṃ tathāgatena āciṇṇaṃ tathāgatenā ’ti d., āciṇṇaṃ tathāgatena anāciṇṇaṃ tathāgatenā ’ti d., appaññattaṃ tathāgatena paññattaṃ tathāgatenā ’ti d., paññattaṃ tathāgatena appaññattaṃ tathāgatenā ’ti d., anāpattiṃ āpattīti d., āpattiṃ anāpattīti d., lahukaṃ āpattiṃ garukā āpattīti d., garukaṃ āpattiṃ lahukā āpattīti d., sāvasesaṃ āpattiṃ anavasesā āpattīti d., anavasesaṃ āpattiṃ sāvasesā āpattīti d., duṭṭhullaṃ āpattiṃ aduṭṭhullā āpattīti d., aduṭṭhullaṃ āpattiṃ duṭṭhullā āpattīti dīpeti.  imehi kho Sāriputta aṭṭhārasahi vatthūhi adhammavādī jānitabbo. |4| 
๔๕๔. อถ โข ภควา อุกฺเขปกานํ ภิกฺขูนํ เอตมตฺถํ ภาสิตฺวา อุฏฺฐายาสนา เยน อุกฺขิตฺตานุวตฺตกา ภิกฺขู เตนุปสงฺกมิ อุปสงฺกมิตฺวา ปญฺญตฺเต อาสเน นิสีทิ  นิสชฺช โข ภควา อุกฺขิตฺตานุวตฺตเก ภิกฺขู เอตทโวจ “มา โข ตุมฺเห ภิกฺขเว อาปตฺตึ อาปชฺชิตฺวา ‘นามฺห อาปนฺนา นามฺห อาปนฺนา’ติ อาปตฺตึ น ปฏิกาตพฺพํ มญฺญิตฺถ”.  “อิธ ปน ภิกฺขเว ภิกฺขุ อาปตฺตึ อาปนฺโน โหติ. โส ตสฺสา อาปตฺติยา อนาปตฺติทิฏฺฐิ โหติ อญฺเญ ภิกฺขู ตสฺสา อาปตฺติยา อาปตฺติทิฏฺฐิโน โหนฺติ. 
aṭṭhārasahi ca kho Sāriputta vatthūhi dhammavādī jānitabbo.  idha Sāriputta bhikkhu adhammaṃ adhammo ’ti dīpeti, dhammaṃ dhammo ’ti d., avinayaṃ . . ., vinayaṃ . . ., abhāsitaṃ alapitaṃ (355) tathāgatena . . ., bhāsitaṃ lapitaṃ tathāgatena . . ., anāciṇṇaṃ tathāgatena . . ., āciṇṇaṃ tathāgatena . . ., appaññattaṃ tathāgatena . . ., paññattaṃ tathāgatena . . ., āpattiṃ . . ., anāpattiṃ . . ., lahukaṃ āpattiṃ . . ., garukaṃ āpattiṃ . . ., sāvasesaṃ āpattiṃ . . ., anavasesaṃ āpattiṃ . . ., duṭṭhullaṃ āpattiṃ . . ., aduṭṭhullaṃ āpattiṃ aduṭṭhullā āpattīti dīpeti.  imehi kho Sāriputta aṭṭhārasehi vatthūhi dhammavādī jānitabbo ’ti. |5| 
โส เจ ภิกฺขเว ภิกฺขุ เต ภิกฺขู เอวํ ชานาติ ‘อิเม โข อายสฺมนฺโต พหุสฺสุตา อาคตาคมา ธมฺมธรา วินยธรา มาติกาธรา ปณฺฑิตา พฺยตฺตา เมธาวิโน ลชฺชิโน กุกฺกุจฺจกา สิกฺขากามา นาลํ มมํ วา การณา อญฺเญสํ วา การณา ฉนฺทา โทสา โมหา ภยา อคตึ คนฺตุํ. สเจ มํ อิเม ภิกฺขู อาปตฺติยา อทสฺสเน อุกฺขิปิสฺสนฺติ น มยา สทฺธึ อุโปสถํ กริสฺสนฺติ วินา มยา อุโปสถํ กริสฺสนฺติ ภวิสฺสติ สงฺฆสฺส ตโตนิทานํ ภณฺฑนํ กลโห วิคฺคโห วิวาโท สงฺฆเภโท สงฺฆราชิ สงฺฆววตฺถานํ สงฺฆนานากรณ’นฺติ เภทครุเกน ภิกฺขเว ภิกฺขุนา ปเรสมฺปิ สทฺธาย สา อาปตฺติ เทเสตพฺพา. “อิธ ปน ภิกฺขเว ภิกฺขุ อาปตฺตึ อาปนฺโน โหติ. โส ตสฺสา อาปตฺติยา อนาปตฺติทิฏฺฐิ โหติ อญฺเญ ภิกฺขู ตสฺสา อาปตฺติยา อาปตฺติทิฏฺฐิโน โหนฺติ. โส เจ ภิกฺขเว ภิกฺขุ เต ภิกฺขู เอวํ ชานาติ ‘อิเม โข อายสฺมนฺโต พหุสฺสุตา อาคตาคมา ธมฺมธรา วินยธรา มาติกาธรา ปณฺฑิตา พฺยตฺตา เมธาวิโน ลชฺชิโน กุกฺกุจฺจกา สิกฺขากามา นาลํ มมํ วา การณา อญฺเญสํ วา การณา ฉนฺทา โทสา โมหา ภยา อคตึ คนฺตุํ. สเจ มํ อิเม ภิกฺขู อาปตฺติยา อทสฺสเน อุกฺขิปิสฺสนฺติ น มยา สทฺธึ ปวาเรสฺสนฺติ วินา มยา ปวาเรสฺสนฺติ. น มยา สทฺธึ สงฺฆกมฺมํ กริสฺสนฺติ วินา มยา สงฺฆกมฺมํ กริสฺสนฺติ. น มยา สทฺธึ อาสเน นิสีทิสฺสนฺติ วินา มยา อาสเน นิสีทิสฺสนฺติ. น มยา สทฺธึ ยาคุปาเน นิสีทิสฺสนฺติ วินา มยา ยาคุปาเน นิสีทิสฺสนฺติ. น มยา สทฺธึ ภตฺตคฺเค นิสีทิสฺสนฺติ วินา มยา ภตฺตคฺเค นิสีทิสฺสนฺติ. น มยา สทฺธึ เอกจฺฉนฺเน วสิสฺสนฺติ วินา มยา เอกจฺฉนฺเน วสิสฺสนฺติ. น มยา สทฺธึ ยถาวุฑฺฒํ อภิวาทนํ ปจฺจุฏฺฐานํ อญฺชลิกมฺมํ สามีจิกมฺมํ กริสฺสนฺติ วินา มยา ยถาวุฑฺฒํ อภิวาทนํ ปจฺจุฏฺฐานํ อญฺชลิกมฺมํ สามีจิกมฺมํ กริสฺสนฺติ ภวิสฺสติ สงฺฆสฺส ตโตนิทานํ ภณฺฑนํ กลโห วิคฺคโห วิวาโท สงฺฆเภโท สงฺฆราชิ สงฺฆววตฺถานํ สงฺฆนานากรณ’นฺติ เภทครุเกน ภิกฺขเว ภิกฺขุนา ปเรสมฺปิ สทฺธาย สา อาปตฺติ เทเสตพฺพา”ติ.  อถ โข ภควา อุกฺขิตฺตานุวตฺตกานํ ภิกฺขูนํ เอตมตฺถํ ภาสิตฺวา อุฏฺฐายาสนา ปกฺกามิ.  ๔๕๕. เตน โข ปน สมเยน อุกฺขิตฺตานุวตฺตกา ภิกฺขู ตตฺเถว อนฺโตสีมาย อุโปสถํ กโรนฺติ สงฺฆกมฺมํ กโรนฺติ. อุกฺเขปกา ปน ภิกฺขู นิสฺสีมํ คนฺตฺวา อุโปสถํ กโรนฺติ สงฺฆกมฺมํ กโรนฺติ. 
assosi kho āyasmā Mahāmoggallāno --la-- assosi kho āyasmā Mahākassapo, assosi kho āyasmā Mahākaccāno, assosi kho āyasmā Mahākoṭṭhito, assosi kho āyasmā Mahākappino, assosi kho āyasmā Mahācundo, assosi kho āyasmā Anuruddho, assosi kho āyasmā Revato, assosi kho āyasmā Upāli, assosi kho āyasmā Ānando, assosi kho āyasmā Rāhulo: te kira Kosambakā bhikkhū . . . (= 3-5. Read Rāhula instead of Sāriputta) . . . dhammavādī jānitabbo ’ti. |6| 
อถ โข อญฺญตโร อุกฺเขปโก ภิกฺขุ เยน ภควา เตนุปสงฺกมิ อุปสงฺกมิตฺวา ภควนฺตํ อภิวาเทตฺวา เอกมนฺตํ นิสีทิ. 
assosi kho Mahāpajāpatī Gotamī: te kira Kobakā bhikkhū . . . āgacchantīti. atha kho Mahāpajāpatī Gotamī yena bhagavā ten’ upasaṃkami, upasaṃkamitvā bhagavantaṃ abhivādetvā ekamantaṃ aṭṭhāsi.  ekamantaṃ ṭhitā kho Mahāpajāpatī Gotamī bhagavantaṃ etad avoca: te kira bhante . . . paṭipajjāmīti.  tena hi tvaṃ Gotami ubhayattha dhammaṃ suṇa, ubhayattha dhammaṃ sutvā ye tattha bhikkhū dhammavādino tesaṃ diṭṭhiñ ca khantiñ ca ruciñ ca ādāyañ ca rocehi, yañ ca kiñci bhikkhunīsaṃghena bhikkhusaṃghato paccāsiṃsitabbaṃ sabban taṃ dhammavādito ’va paccāsiṃsitabban ti. |7| 
เอกมนฺตํ นิสินฺโน โข โส ภิกฺขุ ภควนฺตํ เอตทโวจ “เต ภนฺเต อุกฺขิตฺตานุวตฺตกา ภิกฺขู ตตฺเถว อนฺโตสีมาย อุโปสถํ กโรนฺติ สงฺฆกมฺมํ กโรนฺติ. มยํ ปน อุกฺเขปกา ภิกฺขู นิสฺสีมํ คนฺตฺวา อุโปสถํ กโรม สงฺฆกมฺมํ กโรมา”ติ.  “เต เจ ภิกฺขุ อุกฺขิตฺตานุวตฺตกา ภิกฺขู ตตฺเถว อนฺโตสีมาย อุโปสถํ กริสฺสนฺติ สงฺฆกมฺมํ กริสฺสนฺติ ยถา มยา ญตฺติ จ อนุสฺสาวนา จ ปญฺญตฺตา เตสํ ตานิ กมฺมานิ ธมฺมิกานิ กมฺมานิ ภวิสฺส”นฺติ อกุปฺปานิ ฐานารหานิ.  ตุมฺเห เจ ภิกฺขุ อุกฺเขปกา ภิกฺขู ตตฺเถว อนฺโตสีมาย อุโปสถํ กริสฺสถ สงฺฆกมฺมํ กริสฺสถ ยถา มยา ญตฺติ จ อนุสฺสาวนา จ ปญฺญตฺตา ตุมฺหากมฺปิ ตานิ กมฺมานิ ธมฺมิกานิ กมฺมานิ ภวิสฺสนฺติ อกุปฺปานิ ฐานารหานิ. 
assosi kho Anāthapiṇḍiko gahapati: te kira Kosambakā bhikkhū . . . āgacchantīti. atha kho Anāthapiṇḍiko gahapati yena bhagavā ten’ upasaṃkami, upasaṃkamitvā bhagavantaṃ abhivādetvā ekamantaṃ nisīdi, ekamantaṃ nisinno kho Anāthapiṇḍiko gahapati bhagavantaṃ etad avoca: te kira bhante . . . paṭipajjāmīti.  tena hi tvaṃ gahapati ubhayattha dānaṃ dehi, ubhayattha dānaṃ datvā ubhayattha dhammaṃ suṇa, ubhayattha dhammaṃ sutvā ye tattha bhikkhū dhammavādino tesaṃ diṭṭhiñ ca khantiñ ca ruciñ ca ādāyañ ca rocehīti. |8| 
ตํ กิสฺส เหตุ?  นานาสํวาสกา เอเต ภิกฺขู ตุมฺเหหิ ตุมฺเห จ เตหิ นานาสํวาสกา. 
assosi kho Visākhā Migāramātā: te kira Kosambakā bhikkhū (356). . . . āgacchantīti. atha kho Visākhā Migāramātā yena bhagavā ten’ upasaṃkami, upasaṃkamitvā bhagavantaṃ abhivādetvā ekamantaṃ nisīdi.  ekamantaṃ nisinnā kho Visākhā Migāramātā bhagavantaṃ etad avoca: te kira bhante . . . paṭipajjāmīti. tena hi tvaṃ Visākhe ubhayattha dānaṃ dehi . . . rocehīti. |9| 
“ทฺเวมา ภิกฺขุ นานาสํวาสกภูมิโย อตฺตนา วา อตฺตานํ นานาสํวาสกํ กโรติ สมคฺโค วา นํ สงฺโฆ อุกฺขิปติ อทสฺสเน วา อปฺปฏิกมฺเม วา อปฺปฏินิสฺสคฺเค วา.  อิมา โข ภิกฺขุ ทฺเว นานาสํวาสกภูมิโย. 
atha kho Kosambakā bhikkhū anupubbena yena Sāvatthi tad avasaruṃ. atha kho āyasmā Sāriputto yena bhagavā ten’ upasaṃkami, upasaṃkamitvā bhagavantaṃ abhivādetvā ekamantaṃ nisīdi.  ekamantaṃ nisinno kho āyasmā Sāriputto bhagavantaṃ etad avoca: te kira bhante Kosambakā bhikkhū bhaṇḍanakārakā . . . saṃghe adhikaraṇakārakā Sāvatthiṃ anuppattā.  kathaṃ nu kho bhante tesu bhikkhūsu senāsane paṭipajjitabban ti. tena hi Sāriputta vivittaṃ senāsanaṃ dātabban ti.  sace pana bhante vivittaṃ na hoti kathaṃ paṭipajjitabban ti.  tena hi Sāriputta vivittaṃ katvāpi dātabbaṃ.  na tv evāhaṃ Sāriputta kenaci pariyāyena vuḍḍhatarassa bhikkhuno senāsanaṃ paṭibāhitabban ti vadāmi.  yo paṭibāheyya, āpatti dukkaṭassā ’ti.  āmise pana bhante kathaṃ paṭipajjitabban ti.  āmisaṃ kho Sāriputta sabbesaṃ samakaṃ bhājetabban ti. |10| 
ทฺเวมา ภิกฺขุ สมานสํวาสกภูมิโย อตฺตนา วา อตฺตานํ สมานสํวาสํ กโรติ สมคฺโค วา นํ สงฺโฆ อุกฺขิตฺตํ โอสาเรติ อทสฺสเน วา อปฺปฏิกมฺเม วา อปฺปฏินิสฺสคฺเค วา.  อิมา โข ภิกฺขุ ทฺเว สมานสํวาสกภูมิโย”ติ.      ๔๕๖. เตน โข ปน สมเยน ภิกฺขู ภตฺตคฺเค อนฺตรฆเร ภณฺฑนชาตา กลหชาตา วิวาทาปนฺนา อญฺญมญฺญํ อนนุโลมิกํ กายกมฺมํ วจีกมฺมํ อุปทํเสนฺติ หตฺถปรามาสํ กโรนฺติ.  มนุสฺสา อุชฺฌายนฺติ ขิยฺยนฺติ วิปาเจนฺติ “กถญฺหิ นาม สมณา สกฺยปุตฺติยา ภตฺตคฺเค อนฺตรฆเร ภณฺฑนชาตา กลหชาตา วิวาทาปนฺนา อญฺญมญฺญํ อนนุโลมิกํ กายกมฺมํ วจีกมฺมํ อุปทํเสสฺสนฺติ หตฺถปรามาสํ กริสฺสนฺตี”ติ.  อสฺโสสุํ โข ภิกฺขู เตสํ มนุสฺสานํ อุชฺฌายนฺตานํ ขิยฺยนฺตานํ วิปาเจนฺตานํ.  เย เต ภิกฺขู อปฺปิจฺฉา เต อุชฺฌายนฺติ ขิยฺยนฺติ วิปาเจนฺติ “กถญฺหิ นาม ภิกฺขู ภตฺตคฺเค อนฺตรฆเร ภณฺฑนชาตา กลหชาตา วิวาทาปนฺนา อญฺญมญฺญํ อนนุโลมิกํ กายกมฺมํ วจีกมฺมํ อุปทํเสสฺสนฺติ หตฺถปรามาสํ กริสฺสนฺตี”ติ.  อถ โข เต ภิกฺขู ภควโต เอตมตฺถํ อาโรเจสุํฯเปฯ 
atha kho tassa ukkhittakassa bhikkhuno dhammañ ca vinayañ ca paccavekkhantassa etad ahosi: āpatti esā n’ esā anāpatti, āpanno ’mhi n’ amhi anāpanno, ukkhitto ’mhi n’ amhi anukkhitto, dhammiken’ amhi kammena ukkhitto akuppena ṭhānārahenā ’ti.  atha kho so ukkhittako bhikkhu yena ukkhittānuvattakā bhikkhū ten’ upasaṃkami, upasaṃkamitvā ukkhittānuvattake bhikkhū etad avoca: āpatti esā āvuso n’ esā anāpatti . . . ṭhānārahena. etha maṃ āyasmanto osārethā ’ti. |11| 
“สจฺจํ กิร ภิกฺขเว ภิกฺขู ภตฺตคฺเค อนฺตรฆเร ภณฺฑนชาตาฯเปฯ หตฺถปรามาสํ กโรนฺตี”ติ? “สจฺจํ ภควา”ติ. วิครหิ พุทฺโธ ภควาฯเปฯ  วิครหิตฺวา ธมฺมึ กถํ กตฺวา ภิกฺขู อามนฺเตสิ “ภินฺเน ภิกฺขเว สงฺเฆ อธมฺมิยายมาเน อสมฺโมทิกาย วตฺตมานาย ‘เอตฺตาวตา น อญฺญมญฺญํ อนนุโลมิกํ กายกมฺมํ วจีกมฺมํ อุปทํเสสฺสาม หตฺถปรามาสํ กริสฺสามา’ติ อาสเน นิสีทิตพฺพํ. 
atha kho te ukkhittānuvattakā bhikkhū taṃ ukkhittakaṃ bhikkhuṃ ādāya yena bhagavā ten’ upasaṃkamiṃsu, upasaṃkamitvā bhagavantaṃ abhivādetvā ekamantaṃ nisīdiṃsu.  ekamantaṃ nisinnā kho te bhikkhū bhagavantaṃ etad avocuṃ: ayaṃ bhante ukkhittako bhikkhu evaṃ āha: āpatti esā āvuso n’ esā anāpatti . . . osārethā ’ti.  kathaṃ nu kho tehi bhante paṭipajjitabban ti. āpatti esā bhikkhave n’ esā anāpatti, āpanno eso bhikkhu n’ eso bhikkhu anāpanno, ukkhitto eso bhikkhu n’ eso bhikkhu (357) anukkhitto, dhammikena kammena ukkhitto akuppena ṭhānārahena.  yato ca kho so bhikkhave bhikkhu āpanno ca ukkhitto ca passati ca tena hi bhikkhave taṃ bhikkhuṃ osārethā ’ti. |12| 
ภินฺเน ภิกฺขเว สงฺเฆ ธมฺมิยายมาเน สมฺโมทิกาย วตฺตมานาย อาสนนฺตริกาย นิสีทิตพฺพ”นฺติ.  ๔๕๗. เตน โข ปน สมเยน ภิกฺขู สงฺฆมชฺเฌ ภณฺฑนชาตา กลหชาตา วิวาทาปนฺนา อญฺญมญฺญํ มุขสตฺตีหิ วิตุทนฺตา วิหรนฺติ. เต น สกฺโกนฺติ ตํ อธิกรณํ วูปสเมตุํ.  อถ โข อญฺญตโร ภิกฺขุ เยน ภควา เตนุปสงฺกมิ อุปสงฺกมิตฺวา ภควนฺตํ อภิวาเทตฺวา เอกมนฺตํ อฏฺฐาสิ.  เอกมนฺตํ ฐิโต โข โส ภิกฺขุ ภควนฺตํ เอตทโวจ “อิธ ภนฺเต ภิกฺขู สงฺฆมชฺเฌ ภณฺฑนชาตา กลหชาตา วิวาทาปนฺนา อญฺญมญฺญํ มุขสตฺตีหิ วิตุทนฺตา วิหรนฺติ. เต น สกฺโกนฺติ ตํ อธิกรณํ วูปสเมตุํ. 
atha kho te ukkhittānuvattakā bhikkhū taṃ ukkhittakaṃ bhikkhuṃ osāretvā yena ukkhepakā bhikkhū ten’ upasaṃkamiṃsu, upasaṃkamitvā ukkhepake bhikkhū etad avocuṃ: yasmiṃ āvuso vatthusmiṃ ahosi saṃghassa bhaṇḍanaṃ kalaho viggaho vivādo saṃghabhedo saṃgharāji saṃghavavatthānaṃ saṃghanānākaraṇaṃ so eso bhikkhu āpanno ca ukkhitto ca passi ca osārito ca.  handa mayaṃ āvuso tassa vatthussa vūpasamāya saṃghasāmaggiṃ karomā ’ti.  atha kho te ukkhepakā bhikkhū yena bhagavā ten’ upasaṃkamiṃsu, upasaṃkamitvā bhagavantaṃ abhivādetvā ekamantaṃ nisīdiṃsu, ekamantaṃ nisinnā kho te bhikkhū bhagavantaṃ etad avocuṃ: te bhante ukkhittānuvattakā bhikkhū evaṃ āhaṃsu: yasmiṃ āvuso vatthusmiṃ ahosi . . . saṃghasāmaggiṃ karomā ’ti.  kathaṃ nu kho bhante paṭipajjitabban ti. |13| 
สาธุ ภนฺเต ภควา เยน เต ภิกฺขู เตนุปสงฺกมตุ อนุกมฺปํ อุปาทายา”ติ.  อธิวาเสสิ ภควา ตุณฺหีภาเวน.  อถ โข ภควา เยน เต ภิกฺขู เตนุปสงฺกมิ อุปสงฺกมิตฺวา ปญฺญตฺเต อาสเน นิสีทิ  นิสชฺช โข ภควา เต ภิกฺขู เอตทโวจ “อลํ ภิกฺขเว มา ภณฺฑนํ มา กลหํ มา วิคฺคหํ มา วิวาท”นฺติ. 
yato ca kho so bhikkhave bhikkhu āpanno ca ukkhitto ca passi ca osārito ca tena hi bhikkhave saṃgho tassa vatthussa vūpasamāya saṃghasāmaggiṃ karotu.  evañ ca pana bhikkhave kātabbā. sabbeh’ eva ekajjhaṃ sannipatitabbaṃ gilānehi ca agilānehi ca, na kehici chando dātabbo.  sannipatitvā vyattena bhikkhunā paṭibalena saṃgho ñāpetabbo: suṇātu me bhante saṃgho.  yasmiṃ vatthusmiṃ ahosi saṃghassa bhaṇḍanaṃ kalaho viggaho vivādo saṃghabhedo saṃgharāji saṃghavavatthānaṃ saṃghanānākaraṇaṃ so eso bhikkhu āpanno ca ukkhitto ca passi ca osārito ca.  yadi saṃghassa pattakallaṃ saṃgho tassa vatthussa vūpasamāya saṃghasāmaggiṃ kareyya.  esā ñatti.  suṇātu me bhante saṃgho. yasmiṃ vatthusmiṃ . . . osārito ca.  saṃgho tassa vatthussa vūpasamāya saṃghasāmaggiṃ karoti.  yassāyasmato khamati tassa vatthussa vūpasamāya saṃghasāmaggiyā karaṇaṃ so tuṇh’ assa, yassa na kkhamati so bhāseyya.  katā saṃghena tassa vatthussa vūpasamāya saṃghasāmaggī nihatā saṃgharāji nihato saṃghabhedo.  khamati saṃghassa, tasmā tuṇhī, evaṃ etaṃ dhārayāmīti.  tāvad eva uposatho kātabbo pātimokkhaṃ uddisitabban ti. |14| 
เอวํ วุตฺเต อญฺญตโร อธมฺมวาที ภิกฺขุ ภควนฺตํ เอตทโวจ “อาคเมตุ ภนฺเต ภควา ธมฺมสฺสามี อปฺโปสฺสุกฺโก ภนฺเต ภควา ทิฏฺฐธมฺมสุขวิหารมนุยุตฺโต วิหรตุ. มยเมเตน ภณฺฑเนน กลเหน วิคฺคเหน วิวาเทน ปญฺญายิสฺสามา”ติ.  ทุติยมฺปิ โข ภควา เต ภิกฺขู เอตทโวจ “อลํ ภิกฺขเว มา ภณฺฑนํ มา กลหํ มา วิคฺคหํ มา วิวาท”นฺติ.  ทุติยมฺปิ โข โส อธมฺมวาที ภิกฺขุ ภควนฺตํ เอตทโวจ “อาคเมตุ ภนฺเต ภควา ธมฺมสฺสามี อปฺโปสฺสุกฺโก ภนฺเต ภควา ทิฏฺฐธมฺมสุขวิหารมนุยุตฺโต วิหรตุ. มยเมเตน ภณฺฑเนน กลเหน วิคฺคเหน วิวาเทน ปญฺญายิสฺสามา”ติ. (โกสมฺพกวิวาทกถา นิฏฺฐิตา.)  (๒๗๒. ทีฆาวุวตฺถุ) ๔๕๘. อถ โข ภควา ภิกฺขู อามนฺเตสิ  “ภูตปุพฺพํ ภิกฺขเว พาราณสิยํ พฺรหฺมทตฺโต นาม กาสิราชา อโหสิ อฑฺโฒ มหทฺธโน มหาโภโค มหพฺพโล มหาวาหโน มหาวิชิโต ปริปุณฺณโกสโกฏฺฐาคาโร.  ทีฆีติ นาม โกสลราชา อโหสิ ทลิทฺโท อปฺปธโน อปฺปโภโค อปฺปพโล อปฺปวาหโน อปฺปวิชิโต อปริปุณฺณโกสโกฏฺฐาคาโร.  อถ โข ภิกฺขเว พฺรหฺมทตฺโต กาสิราชา จตุรงฺคินึ เสนํ สนฺนยฺหิตฺวา ทีฆีตึ โกสลราชานํ อพฺภุยฺยาสิ.  อสฺโสสิ โข ภิกฺขเว ทีฆีติ โกสลราชา “พฺรหฺมทตฺโต กิร กาสิราชา จตุรงฺคินึ เสนํ สนฺนยฺหิตฺวา มมํ อพฺภุยฺยาโต”ติ.  อถ โข ภิกฺขเว ทีฆีติสฺส โกสลรญฺโญ เอตทโหสิ “พฺรหฺมทตฺโต โข กาสิราชา อฑฺโฒ มหทฺธโน มหาโภโค มหพฺพโล มหาวาหโน มหาวิชิโต ปริปุณฺณโกสโกฏฺฐาคาโร อหํ ปนมฺหิ ทลิทฺโท อปฺปธโน อปฺปโภโค อปฺปพโล อปฺปวาหโน อปฺปวิชิโต อปริปุณฺณโกสโกฏฺฐาคาโร นาหํ ปฏิพโล พฺรหฺมทตฺเตน กาสิรญฺญา เอกสงฺฆาตมฺปิ สหิตุํ.  ยํนูนาหํ ปฏิกจฺเจว นครมฺหา นิปฺปเตยฺย”นฺติ.  อถ โข ภิกฺขเว ทีฆีติ โกสลราชา มเหสึ อาทาย ปฏิกจฺเจว นครมฺหา นิปฺปติ.  อถ โข ภิกฺขเว พฺรหฺมทตฺโต กาสิราชา ทีฆีติสฺส โกสลรญฺโญ พลญฺจ วาหนญฺจ ชนปทญฺจ โกสญฺจ โกฏฺฐาคารญฺจ อภิวิชิย อชฺฌาวสติ. 
||5|| 
อถ โข ภิกฺขเว ทีฆีติ โกสลราชา สปชาปติโก เยน วาราณสี เตน ปกฺกามิ. 
(358) atha kho āyasmā Upāli yena bhagavā ten’ upasaṃkami, upasaṃkamitvā bhagavantaṃ abhivādetvā ekamantaṃ nisīdi, ekamantaṃ nisinno kho āyasmā Upāli bhagavantaṃ etad avoca: yasmiṃ bhante vatthusmiṃ hoti saṃghassa bhaṇḍanaṃ . . . saṃghanānākaraṇaṃ, saṃgho taṃ vatthuṃ avinicchinitvā amūlā mūlaṃ gantvā saṃghasāmaggiṃ karoti, dhammikā nu kho sā bhante saṃghasāmaggīti.  yasmiṃ Upāli vatthusmiṃ hoti . . . saṃgho taṃ vatthuṃ avinicchinitvā amūlā mūlaṃ gantvā saṃghasāmaggiṃ karoti, adhammikā sā Upāli saṃghasāmaggīti.  yasmiṃ pana bhante vatthusmiṃ hoti . . . saṃgho taṃ vatthuṃ vinicchinitvā mūlā mūlaṃ gantvā saṃghasāmaggiṃ karoti, dhammikā nu kho sā bhante saṃghasāmaggīti.  yasmiṃ Upāli vatthusmiṃ hoti . . . saṃgho taṃ vatthuṃ vinicchinitvā mūlā mūlaṃ gantvā saṃghasāmaggiṃ karoti, dhammikā sā Upāli saṃghasāmaggīti. |1| 
อนุปุพฺเพน เยน พาราณสี ตทวสริ.  ตตฺร สุทํ ภิกฺขเว ทีฆีติ โกสลราชา สปชาปติโก พาราณสิยํ อญฺญตรสฺมึ ปจฺจนฺติเม โอกาเส กุมฺภการนิเวสเน อญฺญาตกเวเสน ปริพฺพาชกจฺฉนฺเนน ปฏิวสติ.  อถ โข ภิกฺขเว ทีฆีติสฺส โกสลรญฺโญ มเหสี นจิรสฺเสว คพฺภินี อโหสิ.  ตสฺสา เอวรูโป โทหโฬ อุปฺปนฺโน โหติ “อิจฺฉติ สูริยสฺส อุคฺคมนกาเล จตุรงฺคินึ เสนํ สนฺนทฺธํ วมฺมิกํ สุภูเม ฐิตํ ปสฺสิตุํ ขคฺคานญฺจ โธวนํ ปาตุํ”. 
kati nu kho bhante saṃghasāmaggiyo ’ti.  dve ’mā Upāli saṃghasāmaggiyo.  atth’ Upāli saṃghasāmaggī atthāpetā vyañjanupetā, atth’ Upāli saṃghasāmaggī atthupetā ca vyañjanupetā ca.  katamā ca Upāli saṃghasāmaggī atthupetā vyañjanupetā.  yasmiṃ Upāli vatthusmiṃ hoti saṃghassa bhaṇḍanaṃ . . . saṃghanānākaraṇaṃ, saṃgho taṃ vatthuṃ avinicchinitvā amūlā mūlaṃ gantvā saṃghasāmaggiṃ karoti.  ayaṃ vuccati Upāli saṃghasāmaggī atthāpetā vyañjanupetā.  katamā ca Upāli saṃghasāmaggī atthupetā ca vyañjanupetā ca.  yasmiṃ Upāli vatthusmiṃ hoti saṃghassa bhaṇḍanaṃ . . . saṃghanānākaraṇaṃ, saṃgho taṃ vatthuṃ vinicchinitvā mūlā mūlaṃ gantvā saṃghasāmaggiṃ karoti.  ayaṃ vuccati Upāli saṃghasāmaggī atthupetā ca vyañjanupetā ca.  imā kho Upāli dve saṃghasāmaggiyo ti. |2| 
อถ โข ภิกฺขเว ทีฆีติสฺส โกสลรญฺโญ มเหสี ทีฆีตึ โกสลราชานํ เอตทโวจ “คพฺภินีมฺหิ เทว. ตสฺสา เม เอวรูโป โทหโฬ อุปฺปนฺโน อิจฺฉามิ สูริยสฺส อุคฺคมนกาเล จตุรงฺคินึ เสนํ สนฺนทฺธํ วมฺมิกํ สุภูเม ฐิตํ ปสฺสิตุํ ขคฺคานญฺจ โธวนํ ปาตุ”นฺติ.  “กุโต เทวิ อมฺหากํ ทุคฺคตานํ จตุรงฺคินี เสนา สนฺนทฺธา วมฺมิกา สุภูเม ฐิตา ขคฺคานญฺจ โธวนํ ปาตุ”นฺติ  “สจาหํ เทว น ลภิสฺสามิ มริสฺสามี”ติ.  ๔๕๙. เตน โข ปน สมเยน พฺรหฺมทตฺตสฺส กาสิรญฺโญ ปุโรหิโต พฺราหฺมโณ ทีฆีติสฺส โกสลรญฺโญ สหาโย โหติ  อถ โข ภิกฺขเว ทีฆีติ โกสลราชา เยน พฺรหฺมทตฺตสฺส กาสิรญฺโญ ปุโรหิโต พฺราหฺมโณ เตนุปสงฺกมิ อุปสงฺกมิตฺวา พฺรหฺมทตฺตสฺส กาสิรญฺโญ ปุโรหิตํ พฺราหฺมณํ เอตทโวจ “สขี เต สมฺม คพฺภินี. ตสฺสา เอวรูโป โทหโฬ อุปฺปนฺโน อิจฺฉติ สูริยสฺส อุคฺคมนกาเล จตุรงฺคินึ เสนํ สนฺนทฺธํ วมฺมิกํ สุภูเม ฐิตํ ปสฺสิตุํ ขคฺคานญฺจ โธวนํ ปาตุ”นฺติ.  “เตน หิ เทว มยมฺปิ เทวึ ปสฺสามา”ติ.  อถ โข ภิกฺขเว ทีฆีติสฺส โกสลรญฺโญ มเหสี เยน พฺรหฺมทตฺตสฺส กาสิรญฺโญ ปุโรหิโต พฺราหฺมโณ เตนุปสงฺกมิ.  อทฺทสา โข ภิกฺขเว พฺรหฺมทตฺตสฺส กาสิรญฺโญ ปุโรหิโต พฺราหฺมโณ ทีฆีติสฺส โกสลรญฺโญ มเหสึ ทูรโตว อาคจฺฉนฺตึ ทิสฺวาน อุฏฺฐายาสนา เอกํสํ อุตฺตราสงฺคํ กริตฺวา เยน ทีฆีติสฺส โกสลรญฺโญ มเหสี เตนญฺชลึ ปณาเมตฺวา ติกฺขตฺตุํ อุทานํ อุทาเนสิ “โกสลราชา วต โภ กุจฺฉิคโต โกสลราชา วต โภ กุจฺฉิคโต”ติ.  อตฺตมนา เทวิ โหหิ. ลจฺฉสิ สูริยสฺส อุคฺคมนกาเล จตุรงฺคินึ เสนํ สนฺนทฺธํ วมฺมิกํ สุภูเม ฐิตํ ปสฺสิตุํ ขคฺคานญฺจ โธวนํ ปาตุนฺติ.  อถ โข ภิกฺขเว พฺรหฺมทตฺตสฺส กาสิรญฺโญ ปุโรหิโต พฺราหฺมโณ เยน พฺรหฺมทตฺโต กาสิราชา เตนุปสงฺกมิ อุปสงฺกมิตฺวา พฺรหฺมทตฺตํ กาสิราชานํ เอตทโวจ “ตถา เทว นิมิตฺตานิ ทิสฺสนฺติ สฺเว สูริยุคฺคมนกาเล ๐๓๒๕จตุรงฺคินี เสนา สนฺนทฺธา วมฺมิกา สุภูเม ติฏฺฐตุ ขคฺคา จ โธวิยนฺตู”ติ. 
atha kho āyasmā Upāli uṭṭhāyāsanā ekaṃsaṃ uttarāsaṅgaṃ karitvā yena bhagavā ten’ añjaliṃ paṇāmetvā bhagavantaṃ gāthāya ajjhabhāsi:  saṃghassa kiccesu ca mantanāsu ca atthesu jātesu vinicchayesu cakathaṃpakāro idha naro mahatthiko bhikkhu kathaṃhoti idha paggahāraho ’ti. |  (359) anānuvajjo paṭhamena sīlato avekkhitācāro susaṃvutindriyo,paccatthikā na upavadanti dhammato, na hi ’ssa taṃ hotivadeyyuṃ yena naṃ. |  so tādiso sīlavisuddhiyā ṭhito visārado hoti visayhabhāsati,na cchambhati parisagato na vedhati, atthaṃ na hāpetianuyyutaṃ bhaṇaṃ, |  tath’ eva pañhaṃ parisāsu pucchito na c’ eva pajjhāyatina maṅku hoti.so kālāgataṃ vyākaraṇārahaṃ vaco rañjeti viññūparisaṃvicakkhaṇo, |  sagāravo vuḍḍhataresu bhikkhūsu ācerakamhi ca sakevisārado,alaṃ pametuṃ, paguṇo kathetave, paccatthikānañ ca5 viraddhikovido, |  paccatthikā yena vajanti niggahaṃ mahājano paññāpanañca gacchati,sakañ ca ādāyam ayaṃ na riñcati vyākaraṇapañham anupaghātikaṃ, |  dūteyyakammesu alaṃ samuggaho saṃghassa kiccesu caāhunaṃ yathā,karaṃvaco bhikkhugaṇena pesito ahaṃ karomīti na tenamaññati, |  āpajjati yāvatakesu vatthusu, āpatti yā hoti yathā cavuṭṭhāti,ete vibhaṅgā ubhay’assa sāgatā, āpattivuṭṭhānapadassakovido, |  nissāraṇaṃ gacchati yāni cācaraṃ, nissārito hoti yathā cavatthunā,osāraṇan taṃvusitassa jantuno etam pi jānāti vibhaṅgakovido, |  sagāvaro vuḍḍhataresu bhikkhusu navesu theresu camajjhimesu ca,mahājanass’ atthacaro ’dha paṇḍito, so tādiso bhikkhu10 idha paggahāraho ’ti. |3| 
อถ โข ภิกฺขเว พฺรหฺมทตฺโต กาสิราชา มนุสฺเส อาณาเปสิ (pg. .A๐๔๘๙) ๐๔๘๙ “ยถา ภเณ ปุโรหิโต พฺราหฺมโณ อาห ตถา กโรถา”ติ.  อลภิ โข ภิกฺขเว ทีฆีติสฺส โกสลรญฺโญ มเหสี สูริยสฺส อุคฺคมนกาเล จตุรงฺคินึ เสนํ สนฺนทฺธํ วมฺมิกํ สุภูเม ฐิตํ ปสฺสิตุํ ขคฺคานญฺจ โธวนํ ปาตุํ.  อถ โข ภิกฺขเว ทีฆีติสฺส โกสลรญฺโญ มเหสี ตสฺส คพฺภสฺส ปริปากมนฺวาย ปุตฺตํ วิชายิ. ตสฺส ทีฆาวูติ นามํ อกํสุ.  อถ โข ภิกฺขเว ทีฆาวุ กุมาโร นจิรสฺเสว วิญฺญุตํ ปาปุณิ.  อถ โข ภิกฺขเว ทีฆีติสฺส โกสลรญฺโญ เอตทโหสิ “อยํ โข พฺรหฺมทตฺโต กาสิราชา พหุโน อมฺหากํ อนตฺถสฺส การโก อิมินา อมฺหากํ พลญฺจ วาหนญฺจ ชนปโท จ โกโส จ โกฏฺฐาคารญฺจ อจฺฉินฺนํ  สจายํ อมฺเห ชานิสฺสติ สพฺเพว ตโย ฆาตาเปสฺสติ  ยํนูนาหํ ทีฆาวุํ ๐๔๖๕กุมารํ พหินคเร วาเสยฺย”นฺติ.  อถ โข ภิกฺขเว ทีฆีติ โกสลราชา ทีฆาวุํ กุมารํ พหินคเร วาเสสิ.  อถ โข ภิกฺขเว ทีฆาวุ กุมาโร ๐๓๔๔พหินคเร ปฏิวสนฺโต นจิรสฺเสว สพฺพสิปฺปานิ สิกฺขิ.  ๔๖๐. เตน โข ปน สมเยน ทีฆีติสฺส โกสลรญฺโญ กปฺปโก พฺรหฺมทตฺเต กาสิรญฺเญ ปฏิวสติ.  อทฺทสา โข ภิกฺขเว ทีฆีติสฺส โกสลรญฺโญ กปฺปโก ทีฆีตึ โกสลราชานํ สปชาปติกํ พาราณสิยํ อญฺญตรสฺมึ ปจฺจนฺติเม โอกาเส กุมฺภการนิเวสเน อญฺญาตกเวเสน ๐๓๒๖ปริพฺพาชกจฺฉนฺเนน ปฏิวสนฺตํ ทิสฺวาน เยน พฺรหฺมทตฺโต กาสิราชา เตนุปสงฺกมิ อุปสงฺกมิตฺวา พฺรหฺมทตฺตํ กาสิราชานํ เอตทโวจ “ทีฆีติ เทว โกสลราชา สปชาปติโก พาราณสิยํ อญฺญตรสฺมึ ปจฺจนฺติเม โอกาเส กุมฺภการนิเวสเน อญฺญาตกเวเสน ปริพฺพาชกจฺฉนฺเนน ปฏิวสตี”ติ. 
||6|| 
อถ โข ภิกฺขเว พฺรหฺมทตฺโต กาสิราชา มนุสฺเส อาณาเปสิ “เตน หิ ภเณ ทีฆีตึ โกสลราชานํ สปชาปติกํ อาเนถา”ติ. 
Kosambakkhandhako dasamo.(360) tassa uddānaṃ:Kosambiyaṃ jinavaro, vivād’ āpattidassane,ukkhipeyya yasmiṃ tasmiṃ, tassa yāpatti desaye. |  anto sīmāyaṃ, tatth’ eva, pañc’, ekañ c’ eva, sampadā,Pārileyyā ca, Sāvatthi, Sāriputto ca, Kolito, |  Mahākassapa-Kaccāno, Koṭṭhito, Kappinena ca,Mahācundo ca, Anuruddho, Revato, Upālivhayo, |  Ānando, Rāhulo c’ eva, Gotamī,’nāthapiṇḍiko, VisākhāMigāramātā ca,senāsanaṃ vivittaṃ ca, āmisaṃ samakam pi ca, |  na kena chando dātabbo, Upāli paripucchito,5 anupavajji visīlena, sāmaggī jinasāsane ’ti. 
“เอวํ เทวา”ติ โข ภิกฺขเว เต มนุสฺสา พฺรหฺมทตฺตสฺส กาสิรญฺโญ ปฏิสฺสุตฺวา ทีฆีตึ โกสลราชานํ สปชาปติกํ อาเนสุํ.  อถ โข ภิกฺขเว พฺรหฺมทตฺโต กาสิราชา มนุสฺเส อาณาเปสิ “เตน หิ ภเณ ทีฆีตึ โกสลราชานํ สปชาปติกํ ทฬฺหาย รชฺชุยา ปจฺฉาพาหํ คาฬฺหพนฺธนํ พนฺธิตฺวา ขุรมุณฺฑํ กริตฺวา ขรสฺสเรน ปณเวน รถิกาย รถิกํ สิงฺฆาฏเกน สิงฺฆาฏกํ ปริเนตฺวา ทกฺขิเณน ทฺวาเรน นิกฺขาเมตฺวา ทกฺขิณโต (pg. .A๐๔๙๐) ๐๔๙๐นครสฺส จตุธา ฉินฺทิตฺวา จตุทฺทิสา พิลานิ นิกฺขิปถา”ติ.  “เอวํ เทวา”ติ โข ภิกฺขเว เต มนุสฺสา พฺรหฺมทตฺตสฺส กาสิรญฺโญ ปฏิสฺสุตฺวา ทีฆีตึ โกสลราชานํ สปชาปติกํ ทฬฺหาย รชฺชุยา ปจฺฉาพาหํ คาฬฺหพนฺธนํ พนฺธิตฺวา ขุรมุณฺฑํ กริตฺวา ขรสฺสเรน ปณเวน รถิกาย รถิกํ สิงฺฆาฏเกน สิงฺฆาฏกํ ปริเนนฺติ.  อถ โข ภิกฺขเว ทีฆาวุสฺส กุมารสฺส เอตทโหสิ “จิรํทิฏฺฐา โข เม มาตาปิตโร.  ยํนูนาหํ ๐๓๒๗มาตาปิตโร ปสฺเสยฺย”นฺติ. 
MAHĀVAGGAṂ SAMATTAṂ. 
อถ โข ภิกฺขเว ทีฆาวุ กุมาโร พาราณสึ ปวิสิตฺวา อทฺทส มาตาปิตโร ทฬฺหาย รชฺชุยา ปจฺฉาพาหํ คาฬฺหพนฺธนํ พนฺธิตฺวา ขุรมุณฺฑํ กริตฺวา ขรสฺสเรน ปณเวน รถิกาย รถิกํ สิงฺฆาฏเกน สิงฺฆาฏกํ ปริเนนฺเต ทิสฺวาน เยน มาตาปิตโร เตนุปสงฺกมิ. 
Go to Wiki Documentation
Enhet: Det humanistiske fakultet   Utviklet av: IT-seksjonen ved HF
Login