You are here: BP HOME > PT > Pāli Mahāvagga > fulltext
Pāli Mahāvagga

Choose languages

Choose images, etc.

Choose languages
Choose display
  • Enable images
  • Enable footnotes
    • Show all footnotes
    • Minimize footnotes
Search-help
Choose specific texts..
    Click to Expand/Collapse Option Complete text
Click to Expand/Collapse OptionMahākhandaka
Click to Expand/Collapse OptionUposathakkhandhaka
Click to Expand/Collapse OptionVassupanāyikakkhandhaka
Click to Expand/Collapse OptionPavāraṇakkhandhaka
Click to Expand/Collapse OptionCammakkhandhaka
Click to Expand/Collapse OptionBhesajjakkhandhaka
Click to Expand/Collapse OptionKaṭhinakkhandhaka
Click to Expand/Collapse OptionCampeyyakkhandhaka
Click to Expand/Collapse OptionKosambakkhandhaka
I. Tena samayena buddho bhagavā Uruvelāyaṃ viharati najjā Nerañjarāya tīre bodhirukkhamūle paṭhamābhisambuddho.  atha kho bhagavā bodhirukkhamūle sattāhaṃ ekapallaṅkena nisīdi vimuttisukhapaṭisaṃvedī. |1| 
FIRST KHANDHAKA. (THE ADMISSION TO THE ORDER OF BHIKKHUS.) At that time the blessed Buddha dwelt at Uruvelâ, on the bank of the river Nerañgarâ at the foot of the Bodhi tree (tree of wisdom), just after he had become Sambuddha.  And the blessed Buddha sat cross-legged at the foot of the Bodhi tree uninterruptedly during seven days, enjoying the bliss of emancipation. 
[มหาขันธกะ โพธิกถา ปฏิจจสมุปบาทมนสิการ] [๑] โดยสมัยนั้น พระผู้มีพระภาคเจ้า แรกตรัสรู้ประทับอยู่ ณ ควงไม้โพธิพฤกษ์ใกล้ฝั่งแม่น้ำเนรัญชรา ในอุรุเวลาประเทศ  ครั้งนั้น พระผู้มีพระภาคเจ้าประทับนั่งด้วยบัลลังก์เดียว เสวยวิมุตติสุข ณ ควงไม้โพธิพฤกษ์ตลอด ๗ วัน 
(๑. มหาขนฺธโก ๑. โพธิกถา) ๑. เตน สมเยน พุทฺโธ ภควา อุรุเวลายํ วิหรติ นชฺชา เนรญฺชราย ตีเร พธิรุกฺขมูเล ปฐมาภิสมฺพุทฺโธ.  อถ โข ภควา โพธิรุกฺขมูเล สตฺตาหํ เอกปลฺลงฺเกน นิสีทิ วิมุตฺติสุขปฏิสํเวที. 
atha kho bhagavā rattiyā paṭhamaṃ yāmaṃ paṭiccasamuppādaṃ anulomapaṭilomaṃ manas’ ākāsi:  avijjāpaccayā saṃkhārā,  saṃkhārapaccayā viññāṇaṃ,  viññāṇapaccayā nāmarūpaṃ,  nāmarūpapaccayā saḷāyatanaṃ,  saḷāyatanapaccayā phasso,  phassapaccayā vedanā,  vedanāpaccayā taṇhā,  taṇhāpaccayā upādānaṃ,  upādānapaccayā bhavo,  bhavapaccayā jāti,  jātipaccayā jarāmaraṇaṃ sokaparidevadukkhadomanassupāyāsā sambhavanti.  evam etassa kevalassa dukkhakkhandhassa samudayo hoti.  avijjāya tv eva asesavirāganirodhā saṃkhāranirodho,  saṃkhāranirodhā viññāṇanirodho,  viññāṇanirodhā nāmarūpanirodho,  nāmarūpanirodhā saḷāyatananirodho,  saḷāyatananirodhā phassanirodho,  phassanirodhā vedanānirodho,  vedanānirodhā taṇhānirodho,  taṇhānirodhā upādānanirodho,  upādānanirodhā bhavanirodho,  bhavanirodhā jātinirodho,  jātinirodhā jarāmaraṇaṃ sokaparidevadukkhadomanassupāyāsā nirujjhanti.  evam etassa kevalassa dukkhakkhandhassa (2) nirodho hotīti. |2| 
Then the Blessed One (at the end of these seven days) during the first watch of the night fixed his mind upon the Chain of Causation, in direct and in reverse order:  'From Ignorance spring the samkhâras,  from the samkhâras springs Consciousness,  from Consciousness spring Name-and-Form,  from Name-and-Form spring the six Provinces,  from the six Provinces springs Contact,  from Contact springs Sensation,  from Sensation springs Thirst (or Desire),  from Thirst springs Attachment,  from Attachment springs Existence,  from Existence springs Birth,  from Birth spring Old Age and Death, grief, lamentation, suffering, dejection, and despair.  Such is the origination of this whole mass of suffering.  Again, by the destruction of Ignorance, which consists in the complete absence of lust, the samkhâras are destroyed,  by the destruction of the samkhâras Consciousness is destroyed,  by the destruction of Consciousness Name-and-Form are destroyed,  by the destruction of Name-and-Form the six Provinces are destroyed,  by the destruction of the six Provinces Contact is destroyed,  by the destruction of Contact Sensation is destroyed,  by the destruction of Sensation Thirst is destroyed,  by the destruction of Thirst Attachment is destroyed,  by the destruction of Attachment Existence is destroyed,  by the destruction of Existence Birth is destroyed,  by the destruction of Birth Old Age and Death, grief, lamentation, suffering, dejection, and despair are destroyed.  Such is the cessation of this whole mass of suffering.' 
และทรงมนสิการปฏิจจสมุปบาทเป็นอนุโลมและปฏิโลม ตลอดปฐมยามแห่งราตรี ว่าดังนี้:- ปฏิจจสมุปบาท อนุโลม  เพราะอวิชชาเป็นปัจจัย จึงมีสังขาร  เพราะสังขารเป็นปัจจัย จึงมีวิญญาณ  เพราะวิญญาณเป็นปัจจัย จึงมีนามรูป  เพราะนามรูปเป็นปัจจัย จึงสฬายตนะ  เพราะสฬายตนะเป็นปัจจัย จึงมีผัสสะ  เพราะผัสสะเป็นปัจจัย จึงมีเวทนา  เพราะเวทนาเป็นปัจจัย จึงมีตัณหา  เพราะตัณหาเป็นปัจจัย จึงมีอุปาทาน  เพราะอุปาทานเป็นปัจจัย จึงมีภพ  เพราะภพเป็นปัจจัย จึงมีชาติ  เพราะชาติเป็นปัจจัย จึงมีชรา มรณะ โสกะ ปริเทวะ ทุกข์ โทมนัส อุปายาส.  เป็นอันว่ากองทุกข์ทั้งมวลนั่นย่อมเกิด ด้วยประการฉะนี้.  (ปฏิจจสมุปบาท ปฏิโลม) อนึ่ง เพราะอวิชชานั่นแหละดับโดยไม่เหลือ ด้วยมรรคคือวิราคะ สังขารจึงดับ  เพราะสังขารดับ วิญญาณจึงดับ  เพราะวิญญาณดับ นามรูปจึงดับ  เพราะนามรูปดับ สฬายตนะจึงดับ  เพราะสฬายตนะดับ ผัสสะจึงดับ  เพราะผัสสะดับ เวทนาจึงดับ  เพราะเวทนาดับ ตัณหาจึงดับ  เพราะตัณหาดับ อุปาทานจึงดับ  เพราะอุปทานดับ ภพจึงดับ  เพราะภพดับ ชาติจึงดับ  เพราะชาติดับ ชรา มรณะ โสกะ ปริเทวะ ทุกข์ โทมนัส อุปยาส จึงดับ.  เป็นอันว่ากองทุกข์ทั้งมวลนั่นย่อมดับ ด้วยประการฉะนี้. 
อถ โข ภควา รตฺติยา ปฐมํ ยามํ ปฏิจฺจสมุปฺปาทํ อนุโลมปฏิโลมํ มนสากาสิ  “อวิชฺชาปจฺจยา สงฺขารา  สงฺขารปจฺจยา วิญฺญาณํ  วิญฺญาณปจฺจยา นามรูปํ  นามรูปปจฺจยา สฬายตนํ  สฬายตนปจฺจยา ผสฺโส  ผสฺสปจฺจยา เวทนา  เวทนาปจฺจยา ตณฺหา  ตณฺหาปจฺจยา อุปาทานํ  อุปาทานปจฺจยา ภโว  ภวปจฺจยา ชาติ  ชาติปจฺจยา ชรามรณํ โสกปริเทวทุกฺขโทมนสฺสุปายาสา สมฺภวนฺติ  เอวเมตสฺส เกวลสฺส ทุกฺขกฺขนฺธสฺส สมุทโย โหติ.  “อวิชฺชายเตฺวว อเสสวิราคนิโรธา สงฺขารนิโรโธ  สงฺขารนิโรธา วิญฺญาณนิโรโธ  วิญฺญาณนิโรธา นามรูปนิโรโธ  นามรูปนิโรธา สฬายตนนิโรโธ  สฬายตนนิโรธา ผสฺสนิโรโธ  ผสฺสนิโรธา เวทนานิโรโธ  เวทนานิโรธา ตณฺหานิโรโธ  ตณฺหานิโรธา อุปาทานนิโรโธ  อุปาทานนิโรธา ภวนิโรโธ  ภวนิโรธา ชาตินิโรโธ  ชาตินิโรธา ชรามรณํ โสกปริเทวทุกฺขโทมนสฺสุปายาสา นิรุชฺฌนฺติ  เอวเมตสฺส เกวลสฺส ทุกฺขกฺขนฺธสฺส นิโรโธ โหตี”ติ. 
atha kho bhagavā etam atthaṃ viditvā tāyaṃ velāyaṃ imaṃ udānaṃ udānesi:  yadā have pātubhavanti dhammā ātāpino jhāyato brāhmaṇassa ath’ assa kaṅkhā vapayanti sabbā yato pajānāti sahetudhamman ti. |3| 
Knowing this the Blessed One then on that occasion pronounced this solemn utterance:  'When the real nature of things becomes clear to the ardent, meditating Brâhmana, then all his doubts fade away, since he realises what is that nature and what its cause.' 
ลำดับนั้น พระผู้มีพระภาคเจ้าทรงทราบเนื้อความนั้นแล้ว จึงทรงเปล่งอุทานนี้ในเวลานั้น ว่าดังนี้:-  (พุทธอุทานคาถาที่ ๑) เมื่อใดแล ธรรมทั้งหลาย ปรากฏแก่พราหมณ์ ผู้มีเพียรเพ่งอยู่ เมื่อนั้น ความสงสัยทั้งปวง ของพราหมณ์นั้นย่อมสิ้นไป เพราะมารู้ธรรมพร้อมทั้งเหตุ. 
อถ โข ภควา เอตมตฺถํ วิทิตฺวา ตายํ เวลายํ อิมํ อุทานํ อุทาเนสิ  “ยทา หเว ปาตุภวนฺติ ธมฺมา. อาตาปิโน ฌายโต พฺราหฺมณสฺส. อถสฺส กงฺขา วปยนฺติ สพฺพา. ยโต ปชานาติ สเหตุธมฺม”นฺติฯ 
atha kho bhagavā rattiyā majjhimaṃ yāmaṃ paṭiccasamuppādaṃ anulomapaṭilomaṃ manas’ ākāsi:  avijjāpaccayā saṃkhārā,  saṃkhārapaccayā viññāṇaṃ,  viññāṇapaccayā nāmarūpaṃ --la-- (repeated, see previously)  evam etassa kevalassa dukkhakkhandhassa samudayo hoti --pa-- nirodho hotīti. (repeated, see previously) |4| 
Then the Blessed One during the middle watch of the night fixed his mind upon the Chain of Causation, in direct and reverse order:  'From Ignorance spring the samkhâras, &c.  Such is the origination of this whole mass of suffering, &c. Such is the cessation of this whole mass of suffering.' 
[๒] ลำดับนั้น พระผู้มีพระภาคเจ้าทรงมนสิการปฎิจจสมุปบาทเป็นอนุโลม และปฏิโลมตลอดมัชฌิมยามแห่งราตรี ว่าดังนี้ :- ปฏิจจสมุปบาท อนุโลม  เพราะอวิชาเป็นปัจจัย จึงมีสังขาร  เพราะสังขารเป็นปัจจัย จึงมีวิญญาณ  เพราะวิญญาณเป็นปัจจัย จึงมีนามรูป เพราะนามรูปเป็นปัจจัย จึงมีสฬายตนะ เพราะสฬายตนะเป็นปัจจัย จึงมีผัสสะ เพราะผัสสะเป็นปัจจัย จึงมีเวทนา เพราะเวทนาเป็นปัจจัย จึงมีตัณหา เพราะตัณหาเป็นปัจจัย จึงมีอุปาทาน เพราะอุปาทานเป็นปัจจัย จึงมีภพ เพราะภพเป็นปัจจัย จึงมีชาติ เพราะชาติเป็นปัจจัย จึงมีชรา มรณะ โสกะ ปริเทวะ ทุกข์ โทมนัส อุปายาส  เป็นอันว่ากองทุกข์ทั้งมวลนั่นย่อมเกิด ด้วยประการฉะนี้. (ปฏิจจสมุปาท ปฏิโลม) อนึ่ง เพราะอวิชชานั่นแหละดับโดยไม่เหลือ ด้วยมรรคคือวิราคะ สังขาร จึงดับ เพราะสังขารดับ วิญญาณจึงดับ เพราะวิญญาณดับ นามรูปจึงดับ เพราะนามรูปดับ สฬายตนะจึงดับ เพราะสฬายตนะดับ ผัสสะจึงดับ เพราะผัสสะดับ เวทนาจึงดับ เพราะเวทนาดับ ตัณหาจึงดับ เพราะตัณหาดับ อุปาทานจึงดับ เพราะอุปาทานดับ ภพจึงดับ เพราะภพดับ ชาติจึงดับ เพราะชาติดับ ชรา มรณะ โสกะ ปริเทวะ ทุกข์ โทมนัส อุปายาส จึงดับ เป็นอันว่ากองทุกข์ทั้งมวลนั่นย่อมดับ ด้วยประการฉะนี้. 
๒. อถ โข ภควา รตฺติยา มชฺฌิมํ ยามํ ปฏิจฺจสมุปฺปาทํ อนุโลมปฏิโลมํ มนสากาสิ  “อวิชฺชาปจฺจยา สงฺขารา  สงฺขารปจฺจยา วิญฺญาณํ  วิญฺญาณปจฺจยา นามรูปํฯเปฯ  เอวเมตสฺส เกวลสฺส ทุกฺขกฺขนฺธสฺส สมุทโย โหตีฯเปฯ นิโรโธ โหตี”ติ. 
atha kho bhagavā etam atthaṃ viditvā tāyaṃ velāyaṃ imaṃ udānaṃ udānesi:  yadā have pātubhavanti dhammā ātāpino jhāyato brāhmaṇassa ath’ assa kaṅkhā vapayanti sabbā yato khayaṃ paccayānaṃ avedīti. |5| 
Knowing this the Blessed One then on that occasion pronounced this solemn utterance:  'When the real nature of things becomes clear to the ardent, meditating Brâhmana, then all his doubts fade away, since he has understood the cessation of causation.' 
ลำดับนั้น พระผู้มีพระภาคเจ้าทรงทราบเนื้อความนั้นแล้ว จึงทรงเปล่งอุทานนี้ในเวลานั้น ว่าดังนี้:-  (พุทธอุทานคาถาที่ ๒) เมื่อใดแล ธรรมทั้งหลายปรากฏแก่พราหมณ์ ผู้มีเพียรเพ่งอยู่ เมื่อนั้น ความสงสัยทั้งปวงของพราหมณ์นั้นย่อมสิ้นไปเพราะได้รู้ความสั้นแต่งปัจจัยทั้งหลาย. 
อถ โข ภควา เอตมตฺถํ วิทิตฺวา ตายํ เวลายํ อิมํ อุทานํ อุทาเนสิ  “ยทา หเว ปาตุภวนฺติ ธมฺมา. อาตาปิโน ฌายโต พฺราหฺมณสฺส. อถสฺส กงฺขา วปยนฺติ สพฺพา. ยโต ขยํ ปจฺจยานํ อเวที”ติฯ 
atha kho bhagavā rattiyā pacchimaṃ yāmaṃ paṭiccasamuppādaṃ anulomapaṭilomaṃ manas’ ākāsi:  avijjāpaccayā saṃkhārā,  saṃkhārapaccayā viññāṇaṃ --gha--  evam etassa kevalassa dukkhakkhandhassa samudayo hoti --pa-- nirodho hotīti. |6| 
Then the Blessed One during the third watch of the night fixed his mind, &c. 
[๓] ลำดับนั้น พระผู้มีพระภาคเจ้าทรงมนสิการปฏิจจสมุปบาท เป็นอนุโลมและปฏิโลม ตลอดปัจฉิมยามแห่งราตรี ว่าดังนี้:- ปฏิจจสมุปบาท อนุโลม  เพราะอวิชชาเป็นปัจจัย จึงมีสังขาร  เพราะสังขารเป็นปัจจัย จึงมีวิญญาณ เพราะวิญญาณเป็นปัจจัย จึงมีนามรูป เพราะนามรูปเป็นปัจจัย จึงมีสฬายตนะ เพราะสฬายตนะเป็นปัจจัย จึงมีผัสสะ เพราะผัสสะเป็นปัจจัย จึงมีเวทนา เพราะเวทนาเป็นปัจจัย จึงมีตัณหา เพราะตัณหาเป็นปัจจัย จึงมีอุปาทาน เพราะอุปาทานเป็นปัจจัย จึงมีภพ เพราะภพเป็นปัจจัย จึงมีชาติ เพราะชาติเป็นปัจจัย จึงมีชรา มรณะ โสกะ ปริเทวะ ทุกข์ โทมันส อุปายาส.  เป็นอันว่ากองทุกข์ทั้งมวลนั่นย่อมเกิด ด้วยประการฉะนี้. ปฏิจจสมุปบาท ปฏิโลม อนึ่ง เพราะอวิชชานั่นแหละดับโดยไม่เหลือ ด้วยมรรคคือวิราคะ สังขาร จึงดับ เพราะสังขารดับ วิญญาณจึงดับ เพราะวิญญาณดับ นามรูปจึงดับ เพราะนามรูปดับ สฬายตนะจึงดับ เพราะสฬายตนะดับ ผัสสะจึงดับ เพราะผัสสะดับ เวทนาจึงดับ เพราะเวทนาดับ ตัณหาจึงดับ เพราะตัณหาดับ อุปาทานจึงดับ เพราะอุปาทานดับ ภพจึงดับ เพราะภพดับ ชาติจึงดับ เพราะชาติดับ ชรา มรณะ โสกะ ปริเทวะ ทุกข์ โทมนัส อุปายาส จึงดับ เป็นอันว่ากองทุกข์ทั้งมวลนั่นย่อมดับ ด้วยประการฉะนี้. 
๓. อถ โข ภควา รตฺติยา ปจฺฉิมํ ยามํ ปฏิจฺจสมุปฺปาทํ อนุโลมปฏิโลมํ มนสากาสิ  “อวิชฺชาปจฺจยา สงฺขารา  สงฺขารปจฺจยา วิญฺญาณํ วิญฺญาณปจฺจยา นามรูปํฯเปฯ  เอวเมตสฺส เกวลสฺส ทุกฺขกฺขนฺธสฺส สมุทโย โหติฯเปฯ นิโรโธ โหตี”ติ. 
atha kho bhagavā etam atthaṃ viditvā tāyaṃ velāyaṃ imaṃ udānaṃ udānesi:  yadā have pātubhavanti dhammā ātāpino jhāyato brāhmaṇassa vidhūpayaṃ tiṭṭhati Mārasenaṃ suriyo ’va obhāsayamantalikkhan ti. |7| 
Knowing this the Blessed One then on that occasion pronounced this solemn utterance:  'When the real nature of things becomes clear to the ardent, meditating Brâhmana, he stands, dispelling the hosts of Mâra, like the sun that illuminates the sky.' 
ลำดับนั้น พระผู้มีพระภาคเจ้าทรงทราบเนื้อความนั้นแล้ว จึงทรงเปล่งอุทานนี้ในเวลานั้น ว่าดังนี้:-  (พุทธอุทานคาถาที่ ๓) เมื่อใดแล ธรรมทั้งหลาย ปรากฏแก่พราหมณ์ ผู้มีเพียรเพ่งอยู่ เมื่อนั้น พราหมณ์นั้นย่อมกำจัดมารและเสนาเสียได้ ดุจพระอาทิตย์อุทัยทำอากาศให้สว่าง ฉะนั้น. 
อถ โข ภควา เอตมตฺถํ วิทิตฺวา ตายํ เวลายํ อิมํ อุทานํ อุทาเนสิ  “ยทา หเว ปาตุภวนฺติ ธมฺมา. อาตาปิโน ฌายโต พฺราหฺมณสฺส. วิธูปยํ ติฏฺฐติ มารเสนํ. สูริโยว โอภาสยมนฺตลิกฺข”นฺติฯ 
bodhikathā niṭṭhitā. ||1|| 
Here ends the account of what passed under the Bodhi tree. 
โพธิกถา จบ 
โพธิกถา นิฏฺฐิตา. 
atha kho bhagavā sattāhassa accayena tamhā samādhimhā vuṭṭhahitvā bodhirukkhamūlā yena Ajapālanigrodho ten’ upasaṃkami, upasaṃkamitvā Ajapālanigrodharukkhamūle sattāhaṃ ekapallaṅkena nisīdi vimuttisukhapaṭisaṃvedī. |1| 
Then the Blessed One, at the end of those seven days, arose from that state of meditation, and went from the foot of the Bodhi tree to the Agapâla banyan tree (banyan tree of the goat-herds). And when he had reached it, he sat cross-legged at the foot of the Agapâla banyan tree uninterruptedly during seven days, enjoying the bliss of emancipation. 
(อชปาลนิโครธกถา เรื่องพราหมณ์หุหุกชาติ) [๔] ครั้นล่วง ๗ วัน พระผู้มีพระภาคเจ้าทรงออกจากสมาธินั้น เสด็จจากควงไม้โพธิพฤกษ์เข้าไปยังต้นไม้อชปาลนิโครธ แล้วประทับนั่งด้วยบัลลังก์เดียวเสวยวิมุตติสุข ณ ควงไม้อชปาลนิโครธตลอด ๗ วัน. 
(๒. อชปาลกถา) ๔. อถ โข ภควา สตฺตาหสฺส อจฺจเยน ตมฺหา สมาธิมฺหา วุฏฺฐหิตฺวา โพธิรุกฺขมูลา เยน อชปาลนิคฺโรโธ เตนุปสงฺกมิ อุปสงฺกมิตฺวา อชปาลนิคฺโรธมูเล สตฺตาหํ เอกปลฺลงฺเกน นิสีทิ วิมุตฺติสุขปฏิสํเวที. 
atha kho aññataro huhuṅkajātiko brāhmaṇo yena bhagavā ten’ upasaṃkami, upasaṃkamitvā bhagavatā saddhiṃ sammodi, sammodanīyaṃ kathaṃ sāraṇīyaṃ vītisāretvā ekamantaṃ aṭṭhāsi, ekamantaṃ ṭhito kho so brāhmaṇo bhaga-(3)vantaṃ etad avoca:  kittāvatā nu kho bho Gotama brāhmaṇo hoti katame ca pana brāhmaṇakaraṇā dhammā ’ti. |2| 
Now a certain Brâhmana, who was of a haughty disposition, went to the place where the Blessed One was; having approached him, he exchanged greeting with the Blessed One; having exchanged with him greeting and complaisant words, he stationed himself near him; then standing near him that Brâhmana thus spoke to the Blessed One:  'By what, Gotama; does one become a Brâhmana, and what are the characteristics that make a man a Brâhmana?' 
ครั้งนั้น พราหมณ์หุหุกชาติคนหนึ่ง ได้ไปในพุทธสำนัก ครั้นถึงแล้วได้ทูลปราศรัยกับพระผู้มีพระภาคเจ้า ครั้นผ่านการทูลปราศรัยพอให้เป็นที่บันเทิง เป็นที่ระลึกถึงกันไปแล้ว ได้ยืนอยู่ ณ ที่ควรส่วนข้างหนึ่ง พราหมณ์นั้นครั้นได้ยืนอยู่ ณ ที่ควรส่วนข้างหนึ่งแล้ว ได้กราบทูลคำนี้ แด่พระผู้มีพระภาคเจ้าว่า  ท่านพระโคตม บุคคลชื่อว่าเป็นพราหมณ์ ด้วยเหตุเพียงเท่าไรหนอ ก็แลธรรมเหล่าไหนทำบุคคลให้เป็นพราหมณ์. 
อถ โข อญฺญตโร หุํหุงฺกชาติโก พฺราหฺมโณ เยน ภควา เตนุปสงฺกมิ. อุปสงฺกมิตฺวา ภควตา สทฺธึ สมฺโมทิ. สมฺโมทนียํ กถํ สารณียํ วีติสาเรตฺวา เอกมนฺตํ อฏฺฐาสิ. เอกมนฺตํ ฐิโต โข โส พฺราหฺมโณ ภควนฺตํ เอตทโวจ  “กิตฺตาวตา นุ โข โภ โคตม พฺราหฺมโณ โหติ กตเม จ ปน พฺราหฺมณกรณา ธมฺมา”ติ? 
atha kho bhagavā etam atthaṃ viditvā tāyaṃ velāyaṃ imaṃ udānaṃ udānesi:  yo brāhmaṇo bāhitapāpadhammo nihuhuṅko nikasāvo yatatto vedantagū vusitabrahmacariyo, dhammena so brāhmaṇo brahmavādaṃ vadeyya, yass’ ussadā n’ atthi kuhiñci loke ’ti. |3| 
And the Blessed One, having heard that, on this occasion pronounced this solemn utterance:  'That Brâhmana who has removed (from himself) all sinfulness, who is free from haughtiness, free from impurity, self-restrained, who is an accomplished master of knowledge (or, of the Veda), who has fulfilled the duties of holiness, such a Brâhmana may justly call himself a Brâhmana, whose behaviour is uneven to nothing in the world.' 
ลำดับนั้น พระผู้มีพระภาคเจ้าทรงทราบเนื้อความนั้นแล้ว จึงทรงเปล่งอุทานนี้ในเวลานั้น ว่าดังนี้.  (พุทธอุทานคาถา)พราหมณ์ใดมีบาปธรรมอันลอยเสียแล้ว ไม่ตวาดผู้อื่นว่า หึหึ ไม่มีกิเลสดุจน้ำฝาด มีตนสำรวมแล้ว ถึงที่สุดแห่งเวท มีพรหมจรรย์อยู่จบแล้ว พราหมณ์นั้นไม่มีกิเลสเครื่องฟูขึ้น ในอารมณ์ไหน ๆ ในโลก ควรกล่าวถ้อยคำว่า ตนเป็นพราหมณ์โดยธรรม. 
อถ โข ภควา เอตมตฺถํ วิทิตฺวา ตายํ เวลายํ อิมํ อุทานํ อุทาเนสิ  โย พฺราหฺมโณ พาหิตปาปธมฺโม. นิหุํหุงฺโก นิกฺกสาโว ยตตฺโต. เวทนฺตคู วุสิตพฺรหฺมจริโย. ธมฺเมน โส พฺรหฺมวาทํ วเทยฺย. ยสฺสุสฺสทา นตฺถิ กุหิญฺจิ โลเก”ติฯ 
Ajapālakathā niṭṭhitā. ||2|| 
Here ends the account of what passed under the Agapâla tree. 
อชปาลนิโครธกถา จบ 
อชปาลกถา นิฏฺฐิตา. 
atha kho bhagavā sattāhassa accayena tamhā samādhimhā vuṭṭhahitvā Ajapālanigrodhamūlā yena Mucalindo ten’ upasaṃkami, upasaṃkamitvā Mucalindamūle sattāhaṃ ekapallaṅkena nisīdi {vimuttisukhapaṭisaṃvedī.} |1| 
Then the Blessed One, at the end of those seven days, arose from that state of meditation, and went from the foot of the Agapâla banyan tree to the Mukalinda tree. And when he had reached it, he sat cross-legged at the foot of the Mukalinda tree uninterruptedly during seven days, enjoying the bliss of emancipation. 
(มุจจลินทกถา เรื่องมุจลินทนาคราช) [๕] ครั้นล่วง ๗ วัน พระผู้มีพระภาคเจ้าทรงออกจากสมาธินั้น เสด็จจากควงไม้อชปาลนิโครธเข้าไปยังต้นไม้มุจจลินท์ แล้วประทับนั่งด้วยบัลลังก์เดียวเสวยวิมุตติสุข ณ ควงไม้มุจจลินท์ตลอด ๗ วัน 
(๓. มุจลินฺทกถา) ๕. อถ โข ภควา สตฺตาหสฺส อจฺจเยน ตมฺหา สมาธิมฺหา วุฏฺฐหิตฺวา อชปาลนิคฺโรธมูลา เยน มุจลินฺโท เตนุปสงฺกมิ อุปสงฺกมิตฺวา มุจลินฺทมูเล สตฺตาหํ เอกปลฺลงฺเกน นิสีทิ วิมุตฺติสุขปฏิสํเวที. 
tena kho pana samayena mahāakālamegho udapādi sattāhavaddalikā sītavātaduddinī.  atha kho Mucalindo nāgarājā sakabhavanā nikkhamitvā bhagavato kāyaṃ sattakkhattuṃ bhogehi parikkhipitvā upari muddhani mahantaṃ phaṇaṃ karitvā aṭṭhāsi:  mā bhagavantaṃ sītaṃ, mā bhagavantaṃ uṇhaṃ, mā bhagavantaṃ ḍaṃsamakasavātātapasiriṃsapasamphasso ’ti. |2| 
At that time a great cloud appeared out of season, rainy weather which lasted seven days, cold weather, storms, and darkness.  And the Nâga (or Serpent) king Mukalinda came out from his abode, and seven times encircled the body of the Blessed One with his windings, and kept extending his large hood over the Blessed One's head, thinking to himself:  'May no coldness (touch) the Blessed One! May no heat (touch) the Blessed One! May no vexation by gadflies and gnats, by storms and sunheat and reptiles (touch) the Blessed One!' 
ครั้งนั้น เมฆใหญ่ในสมัยมิใช่ฤดูกาลตั้งขึ้นแล้ว ฝนตกพรำเจือด้วยลมหนาว ตลอด ๗ วัน  ครั้งนั้น มุจจลินทนาคราชออกจากที่อยู่ของตนได้แวดวงพระกายพระผู้มีพระภาคเจ้าด้วยขนด ๗ รอบ ได้แผ่พังพานใหญ่เหนือพระเศียรสถิตอยู่ด้วยหวังใจว่า  ความร้อน อย่าเบียดเบียนพระผู้มีพระภาคเจ้า สัมผัสแห่งเหลือบ ยุง ลม แดด และสัตว์เลื้อยคลาน อย่าเบียดเบียนพระผู้มีพระภาคเจ้า 
เตน โข ปน สมเยน มหา อกาลเมโฆ อุทปาทิ สตฺตาหวทฺทลิกา สีตวาตทุทฺทินี.  อถ โข มุจลินฺโท นาคราชา สกภวนา นิกฺขมิตฺวา ภควโต กายํ สตฺตกฺขตฺตุํ โภเคหิ ปริกฺขิปิตฺวา อุปริมุทฺธนิ มหนฺตํ ผณํ กริตฺวา อฏฺฐาสิ  “มา ภควนฺตํ สีตํ มา ภควนฺตํ อุณฺหํ มา ภควนฺตํ ฑํสมกสวาตาตปสรีสปสมฺผสฺโส”ติ . 
atha kho Mucalindo nāgarājā sattāhassa accayena viddhaṃ vigatavalāhakaṃ devaṃ viditvā bhagavato kāyā bhoge viniveṭhetvā sakavaṇṇaṃ paṭisaṃharitvā māṇavakavaṇṇaṃ abhinimminitvā bhagavato purato aṭṭhāsi añjaliko bhagavantaṃ namassamāno. |3| 
And at the end of those seven days, when the Nâga king Mukalinda saw the open, cloudless sky, he loosened his windings from the body of the Blessed One, made his own appearance disappear, created the appearance of a youth, and stationed himself in front of the Blessed One, raising his clasped hands, and paying reverence to the Blessed One. 
ครั้นล่วง ๗ วัน มุจจลินทนาคราชรู้ว่า อากาศปลอดโปร่งปราศจากฝนแล้ว จึงคลายขนดจากพระกายของพระผู้มีพระภาคเจ้า จำแลงรูปของตนเป็นเพศมาณพ ได้ยืนประคองอัญชลีถวายมันสการพระผู้มีพระภาคเจ้าทางเบื้องพระพักตร์พระผู้มีพระภาคเจ้า. 
อถ โข มุจลินฺโท นาคราชา สตฺตาหสฺส อจฺจเยน วิทฺธํ วิคตวลาหกํ เทวํ วิทิตฺวา ภควโต กายา โภเค วินิเวเฐตฺวา สกวณฺณํ ปฏิสํหริตฺวา มาณวกวณฺณํ อภินิมฺมินิตฺวา ภควโต ปุรโต อฏฺฐาสิ ปญฺชลิโก ภควนฺตํ นมสฺสมาโน. 
atha kho bhagavā etam atthaṃ viditvā tāyaṃ velāyaṃ imaṃ udānaṃ udānesi:  sukho viveko tuṭṭhassa sutadhammassa passato, avyāpajjhaṃ sukhaṃ loke pāṇabhūtesu saṃyamo. | sukhā virāgatā loke kāmānaṃ samatikkamo, asmimānassa yo vinayo etaṃ ve paramaṃ sukhan ti. |4| 
And the Blessed One, perceiving that, on this occasion, pronounced this solemn utterance:  'Happy is the solitude of him who is full of joy, who has learnt the Truth, who sees (the Truth). Happy is freedom from malice in this world, (self-)restraint towards all beings that have life. Happy is freedom from lust in this world, getting beyond all desires; the putting away of that pride which comes from the thought "I am!" This truly is the highest happiness!' 
ลำดับนั้น พระผู้มีพระภาคเจ้าทรงทราบเนื้อความนั้นแล้ว จึงทรงเปล่งอุทานนี้ในเวลานั้น ว่าดังนี้:-  (พุทธอุทานกถา) ความสงัดเป็นสุขของบุคคลผู้สันโดษมีธรรมปรากฏแล้ว เห็นอยู่ ความไม่พยาบาทคือความสำรวมในสัตว์ทั้งหลาย เป็นสุขในโลก ความปราศจากกำหนัด คือความล่วงกามทั้งหลายเสียได้ เป็นสุขในโลก การกำจัดอัสมิมานะเสียได้นั้นแล เป็นสุขอย่างยิ่ง. 
อถ โข ภควา เอตมตฺถํ วิทิตฺวา ตายํ เวลายํ อิมํ อุทานํ อุทาเนสิ  “สุโข วิเวโก ตุฏฺฐสฺส สุตธมฺมสฺส ปสฺสโต. อพฺยาปชฺชํ สุขํ โลเก ปาณภูเตสุ สํยโมฯ “สุขา วิราคตา โลเก กามานํ สมติกฺกโม. อสฺมิมานสฺส โย วินโย เอตํ เว ปรมํ สุข”นฺติฯ 
Mucalindakathā niṭṭhitā. ||3|| 
Here ends the account of what passed under the Mukalinda tree. 
มุจจลินทกถา จบ 
มุจลินฺทกถา นิฏฺฐิตา. 
atha kho bhagavā sattāhassa accayena tamhā samādhimhā vuṭṭhahitvā Mucalindamūlā yena Rājāyatanaṃ ten’ upasaṃkami, upasaṃkamitvā Rājāyatanamūle sattāhaṃ ekapallaṅkena nisīdi vimuttisukhapaṭisaṃvedī. |1| 
Then the Blessed One, at the end of those seven days, arose from that state of meditation, and went from the foot of the Mukalinda tree to the Râgâyatana (tree); when he had reached it, he sat cross-legged at the foot of the Râgâyatana tree uninterruptedly during seven days, enjoying the bliss of emancipation. 
(ราชายตนกถา เรื่องตปุสสะภัลลิะ ๒ พ่อค้า) [๖] ครั้นล่วง ๗ วัน พระผู้มีพระภาคเจ้าทรงออกจากสมาธินั้น แล้วเสด็จจากควงไม้มุจจลินท์เข้าไปยังต้นไม้ราชายตนะ แล้วประทับนั่งด้วยบัลลังก์เดียว เสวยวิมุตติสุข ณ ควงไม้ราชายตนะ ตลอด ๗ วัน 
(๔. ราชายตนกถา) ๖. อถ โข ภควา สตฺตาหสฺส อจฺจเยน ตมฺหา สมาธิมฺหา วุฏฺฐหิตฺวา มุจลินฺทมูลา เยน ราชายตนํ เตนุปสงฺกมิ อุปสงฺกมิตฺวา ราชายตนมูเล สตฺตาหํ เอกปลฺลงฺเกน นิสีทิ วิมุตฺติสุขปฏิสํเวที. 
tena kho (4) pana samayena Tapussabhallikā vāṇijā Ukkalā taṃdesaṃ addhānamaggapaṭipannā honti.  atha kho Tapussabhallikānaṃ vāṇijānaṃ ñāti sālohitā devatā Tapussabhallike vāṇije etad avoca:  ayaṃ mārisā bhagavā Rājāyatanamūle viharati paṭhamābhisambuddho, gacchatha taṃ bhagavantaṃ manthena ca madhupiṇḍikāya ca paṭimānetha, taṃ vo bhavissati dīgharattaṃ hitāya sukhāyā ’ti. |2| 
At that time Tapussa and Bhallika, two merchants, came travelling on the road from Ukkala (Orissa) to that place.  Then a deity who had been (in a former life) a blood-relatian of the merchants Tapussa and Bhallika, thus spoke to the merchants Tapussa and Bhallika:  'Here, my noble friends, at the foot of the Râgâyatana tree, is staying the Blessed One, who has just become Sambuddha. Go and show your reverence to him, the Blessed One, by (offering him) rice-cakes and lumps of honey. Long will this be to you for a good and for a blessing.' 
ก็สมัยนั้น พ่อค้าชื่อตปุสสะ ๑ ภัลลิกะ ๑ เดินทางไกลจากอุกกลชนบท ถึงตำบลนั้น  ครั้งนั้น เทพดาผู้เป็นญาติสาโลหิตของตปุสสะภัลลิกะ ๒ พ่อค้า ได้กล่าวคำนี้กะ ๒ พ่อค้านั้นว่า  ดูก่อนท่านผู้นิรทุกข์ พระผู้มีพระภาคเจ้าพระองค์นี้ แรกตรัสรู้ ประทับอยู่ ณ ควงไม้ราชายตนะ ท่านทั้งสองจงไปบูชาพระผู้มีพระภาคเจ้านั้น ด้วยสัตตุผง และ สัตตุก้อน การบูชาของท่านทั้งสองนั้น จักเป็นไปเพื่อประโยชน์และความสุขแก่ท่านทั้งหลายตลอดกาลนาน. 
เตน โข ปน สมเยน ตปุสฺส ภลฺลิกา วาณิชา อุกฺกลา ตํ เทสํ อทฺธานมคฺคปฺปฏิปนฺนา โหนฺติ.  อถ โข ตปุสฺสภลฺลิกานํ วาณิชานํ ญาติสาโลหิตา เทวตา ตปุสฺสภลฺลิเก วาณิเช เอตทโวจ  “อยํ มาริสา ภควา ราชายตนมูเล วิหรติ ปฐมาภิสมฺพุทฺโธ คจฺฉถ ตํ ภควนฺตํ มนฺเถน จ มธุปิณฺฑิกาย จ ปติมาเนถ ตํ โว ภวิสฺสติ ทีฆรตฺตํ หิตาย สุขายา”ติ. 
atha kho Tapussabhallikā vāṇijā manthañ ca madhupiṇḍikañ ca ādāya yena bhagavā ten’ upasaṃkamiṃsu, upasaṃkamitvā bhagavantaṃ abhivādetvā ekamantaṃ aṭṭhaṃsu, ekamantaṃ ṭhitā kho Tapussabhallikā vāṇijā bhagavantaṃ etad avocuṃ:  paṭigaṇhātu no bhante bhagavā manthañ ca madhupiṇḍikañ ca yaṃ amhākaṃ assa dīgharattaṃ hitāya sukhāyā ’ti. |3| 
And the merchants Tapussa and Bhallika took rice-cakes and lumps of honey, and went to the place where the Blessed One was; having approached him and respectfully saluted the Blessed One, they stationed themselves near him; standing near him, the merchants Tapussa and Bhallika thus addressed the Blessed One:  'May, O Lord, the Blessed One accept from us these rice-cakes and lumps of honey, that that may long be to us for a good and for a blessing! 
ครั้งนั้น พ่อค้าชื่อตปุสสะ และภัลลิกะ ถือสัตตุผงและสัตตุก้อนเข้าไปเฝ้าพระผู้มีพระภาคเจ้าแล้วถวายบังคม ได้ยีนอยู่ ณ ที่ควรส่วนข้างหนึ่ง สองพ่อค้านั้นครั้นยืนอยู่ ณ ที่ควรส่วนข้างหนึ่งแล้ว ครั้นแล้วได้ทูลคำนี้แค่ พระผู้มีพระภาคเจ้าว่า  พระพุทธเจ้าข้า ขอพระผู้พระภาคเจ้าจงทรงรับสัตตุผง สัตตุก้อนของข้าพระพุทธเจ้าทั้งสอง ซึ่งจะเป็นไปเพื่อประโยชน์เพื่อความสุขแก่ข้าพระพุทธเจ้าทั้งหลายตลอดกาลนาน 
อถ โข ตปุสฺสภลฺลิกา วาณิชา มนฺถญฺจ มธุปิณฺฑิกญฺจ อาทาย เยน ภควา เตนุปสงฺกมึสุ อุปสงฺกมิตฺวา ภควนฺตํ อภิวาเทตฺวา เอกมนฺตํ อฏฺฐํสุ. เอกมนฺตํ ฐิตา โข ตปุสฺสภลฺลิกา วาณิชา ภควนฺตํ เอตทโวจุํ  “ปฏิคฺคณฺหาตุ โน ภนฺเต ภควา มนฺถญฺจ มธุปิณฺฑิกญฺจ ยํ อมฺหากํ อสฺส ทีฆรตฺตํ หิตาย สุขายา”ติ. 
atha kho bhagavato etad ahosi: na kho tathāgatā hatthesu paṭigaṇhanti. kimhi nu kho ahaṃ paṭigaṇhe44aṃ manthañ ca madhupiṇḍikañ cā ’ti.  atha kho cattāro Mahārājāno bhagavato cetasā cetoparivitakkaṃ aññāya catuddisā cattāro selamaye patte bhagavato upanāmesuṃ:  idha bhante bhagavā paṭigaṇhātu manthañ ca madhupiṇḍikañ cā ’ti.  paṭiggahesi bhagavā paccagghe selamaye patte manthañ ca madhupiṇḍikañ ca paṭiggahetvā ca paribhuñji. |4| 
Then the Blessed One thought: 'The Tathâgatas do not accept (food) with their hands. Now with what shall I accept the rice-cakes and lumps of honey?'  Then the four Mahârâga gods, understanding by the power of their minds the reflection which had arisen in the mind of the Blessed One, offered to the Blessed One from the four quarters (of the horizon) four bowls made of stone (saying),  'May, O Lord, the Blessed One accept herewith the rice-cakes and the lumps of honey!'  The Blessed One accepted those new stone bowls; and therein be received the rice-cakes and honey lumps, and those, when he had received, he ate. 
ขณะนั้น พระผู้มีพระภาคเจ้าได้ทรงปริวิตกว่า พระตถาคตทั้งหลาย ไม่รับวัตถุด้วยมือ เราจะพึงรับสัตตุผง และสัตตุก้อนด้วยอะไรหนอ.  ลำดับนั้น ท้าวมหาราชทั้ง ๔ องค์ ทรงทราบพรูปริวิตกแห่งจิตของพระผู้มีพระภาคเจ้าด้วยใจของตนแล้ว เสด็จมาจาก ๔ ทิศ ทรงนำบาตรที่สำเร็จด้วยศิลา ๔ ใบเข้าไปถวายพระผู้มีพระภาคเจ้า กราบทูลว่า  ขอพระผู้มีพระภาคเจ้าจงทรงรับสัตตุผงและสัตตุก้อนด้วยบาตรนี้ พระพุทธเจ้าข้า.  พระผู้มีพระภาคเจ้าทรงใช้บาตรสำเร็จด้วยศิลาอันใหม่เอี่ยม รับสัตตุผงและสัตตุก้อน แล้วเสวย. 
อถ โข ภควโต เอตทโหสิ “น โข ตถาคตา หตฺเถสุ ปฏิคฺคณฺหนฺติ. กิมฺหิ นุ โข อหํ ปฏิคฺคณฺเหยฺยํ มนฺถญฺจ มธุปิณฺฑิกญฺจา”ติ?  อถ โข จตฺตาโร มหาราชาโน ภควโต เจตสา เจโตปริวิตกฺกมญฺญาย จตุทฺทิสา จตฺตาโร เสลมเย ปตฺเต ภควโต อุปนาเมสุํ  “อิธ ภนฺเต ภควา ปฏิคฺคณฺหาตุ มนฺถญฺจ มธุปิณฺฑิกญฺจา”ติ.  ปฏิคฺคเหสิ ภควา ปจฺจคฺเฆ เสลมเย ปตฺเต มนฺถญฺจ มธุปิณฺฑิกญฺจ ปฏิคฺคเหตฺวา ปริภุญฺชิ. 
atha kho Tapussabhallikā vāṇijā bhagavantaṃ onītapattapāṇiṃ viditvā bhagavato pādesu sirasā nipatitvā bhagavantaṃ etad avocuṃ:  ete ma5aṃ bhante bhagavantaṃ saraṇaṃ gacchāma dhammañ ca, upāsake no bhagavā dhāretu ajjatagge pāṇupete saraṇaṃ gate ’ti.  teva loke paṭhamaṃ upāsakā ahesuṃ dvevācikā. |5| 
And Tapussa and Bhallika, the merchants, when they saw that the Blessed One had cleansed his bowl and his hands, bowed down in reverence at the feet of the Blessed One and thus addressed the Blessed One:  'We take our refuge, Lord, in the Blessed One and in the Dhamma; may the Blessed One receive us as disciples who, from this day forth while our life lasts, have taken their refuge (in him).  'These were the first in the world to become lay-disciples (of the Buddha) by the formula which contained (only) the dyad. 
ครั้งนั้น พ่อค้าตปุสสะและภัลลิกะ ได้ทูลคำนี้แด่พระผู้มีพระภาคเจ้าว่า  พระพุทธเจ้าข้า ข้าพระพุทธเจ้าทั้งสองนี้ ขอถึงพระผู้มีพระภาคเจ้าและและพระธรรมว่าเป็นสรณะ ขอพระผู้มีพระภาคเจ้าจงทรงจำข้าพระพุทธเจ้าทั้งสองว่าเป็นอุบายสกผู้มอบชีวิตถึงสรณะ จำเดิมแต่วันนี้เป็นต้นไป.  ก็นายพาณิชสองคนนั้นได้เป็นอุบายสกล่าวอ้าง ๒ รัตนะ เป็นชุดแรกในโลก. 
อถ โข ตปุสฺสภลฺลิกา วาณิชา ภควนฺตํ โอนีตปตฺตปาณึ วิทิตฺวา ภควโต ปาเทสุ สิรสา นิปติตฺวา ภควนฺตํ (โอนีตปตฺตปาณึ วิทิตฺวา ภควโต ปาเทสุ สิรสา นิปติตฺวา ภควนฺตํ) เอตทโวจุํ  “เอเต มยํ ภนฺเต ภควนฺตํ สรณํ คจฺฉาม ธมฺมญฺจ อุปาสเก โน ภควา ธาเรตุ อชฺชตคฺเค ปาณุเปเต สรณํ คเต”ติ.  เต จ โลเก ปฐมํ อุปาสกา อเหสุํ ทฺเววาจิกา. 
Rājāyatanakathā niṭṭhitā. ||4|| 
Here ends the account of what passed under the Râgâyatana tree. 
ราชายตนกถา จบ 
ราชายตนกถา นิฏฺฐิตา. 
atha kho bhagavā sattāhassa accayena tamhā samādhimhā vuṭṭhahitvā Rājāyatanamūlā yena Ajapālanigrodho ten’ upasaṃkami, upasaṃkamitvā tatra sudaṃ bhagavā Ajapālanigrodhamūle viharati. |1| 
Then the Blessed One, at the end of those seven days, arose from that state of meditation, and went from the foot of the Râgâyatana tree to the Agapâla banyan tree. And when he had reached it, the Blessed One stayed there at the foot of the Agapâla banyan tree. 
(อัปโปสสุกกกถา เรื่องความขวนขวายน้อย) [๗] ครั้นล่วง ๗ วัน พระผู้มีพระภาคเจ้าทรงออกจากสมาธินั้น แล้วเสด็จจากควงไม้ราชายตนะ เข้าไปยังต้นไม้อชปาลนิโครธ ทราบว่า พระองค์ประทับอยู่ ณ ควงไม้อชปาลนิโครธนั้น 
(๕. พฺรหฺมยาจนกถา) ๗. อถ โข ภควา สตฺตาหสฺส อจฺจเยน ตมฺหา สมาธิมฺหา วุฏฺฐหิตฺวา ราชายตนมูลา เยน อชปาลนิคฺโรโธ เตนุปสงฺกมิ. ตตฺร สุทํ ภควา อชปาลนิคฺโรธมูเล วิหรติ. 
atha kho bhagavato rahogatassa paṭisallīnassa evaṃ cetaso parivitakko udapādi:  adhigato kho my āyaṃ dhammo gambhīro duddaso duranubodho santo paṇīto atakkāvacaro nipuṇo paṇḍitavedanīyo.  ālayarāmā kho panāyaṃ pajā ālayaratā ālayasammuditā. ālayarāmāya kho pana pajāya ālayaratāya ālayasammuditāya duddasaṃ idaṃ (5) ṭhānaṃ yad idaṃ idappaccayatā paṭiccasamuppādo,  idam pi kho ṭhānaṃ sududdasaṃ yad idaṃ sabbasaṃkhārasamatho sabbūpadhipaṭinissaggo taṇhakkhayo virāgo nirodho nibbānaṃ.  ahañ ceva kho pana dhammaṃ deseyyaṃ pare ca me na ājāneyyuṃ, so mam’ assa kilamatho, sā mam’ assa vihesā ’ti. |2| 
Then in the mind of the Blessed One, who was alone, and had retired into solitude, the following thought arose:  'I have penetrated this doctrine which is profound, difficult to perceive and to understand, which brings quietude of heart, which is exalted, which is unattainable by reasoning, abstruse, intelligible (only) to the wise.  This people, on the other hand, is given to desire, intent upon desire, delighting in desire.  To this people, therefore, who are given to desire, intent upon desire, delighting in desire, the law of causality and the chain of causation will be a matter difficult to understand; most difficult for them to understand will be also the extinction of all samkhâras, the getting rid of all the substrata (of existence), the destruction of desire, the absence of passion, quietude of heart, Nirvâna!  Now if I proclaim the doctrine, and other men are not able to understand my preaching, there would result but weariness and annoyance to me.' 
และพระองค์เสด็จไปในที่สงัดหลีกเร้นอยู่ ได้มีพระปริวิตกแห่งจิตเกิดขึ้นอย่างนี้ว่า  ธรรมที่เราได้บรรลุแล้วนี้ เป็นคุณอันลึกเห็นได้ยาก รู้ตามได้ยาก เป็นธรรมสงบ ประณีต ไม่หยั่งลงสู่ความตรึก ละเอียดเป็นวิสัยที่บัณฑิตจะพึงรู้แจ้ง  ส่วนหมู่สัตว์นี้เริงรมย์ด้วยอาลัย ยินดีในอาลัย ชื่นชมในอาลัย ฐานะคือความที่อวิชชาเป็นปัจจัยแห่งสังขารเป็นต้นนี้ เป็นสภาพอาศัยปัจจัยเกิดชั้นนี้ อันหมู่สัตว์ผู้เริงรมย์ด้วยอาลัย ยินดีในอาลัย. ชื่นชมในอาลัยเห็นได้ยาก  แม้ฐานะคือธรรมเป็นที่ระงับสังขารทั้งปวง เป็นที่สละคืนอุปธิทั้งปวง เป็นที่สิ้นตัณหา เป็นที่สิ้นกำหนัด เป็นที่ดับสนิทหากิเลสเครื่องร้อยรัดมิได้ นี้ก็แสนยากที่จะเห็นได้  ก็ถ้าเราจะพึงแสดงธรรม สัตว์เหล่าอื่นก็จะไม่พึงรู้ทั่วถึงธรรมของเรา ข้อนั้น จะพึงเป็นความเหน็ดเหนื่อยเปล่าแก่เรา จะพึงเป็นความลำบากเปล่าแก่เรา. 
อถ โข ภควโต รโหคตสฺส ปฏิสลฺลีนสฺส เอวํ เจตโส ปริวิตกฺโก อุทปาทิ  “อธิคโต โข มฺยายํ ธมฺโม คมฺภีโร ทุทฺทโส ทุรนุโพโธ สนฺโต ปณีโต อตกฺกาวจโร นิปุโณ ปณฺฑิตเวทนีโย.  อาลยรามา โข ปนายํ ปชา อาลยรตา อาลยสมฺมุทิตา. อาลยรามาย โข ปน ปชาย อาลยรตาย อาลยสมฺมุทิตาย ทุทฺทสํ อิทํ ฐานํ ยทิทํ อิทปฺปจฺจยตาปอจฺจสมุปฺปาโท  อิทมฺปิ โข ฐานํ สุทุทฺทสํ ยทิทํ สพฺพสงฺขารสมโถ สพฺพูปธิปฏินิสฺสคฺโค ตณฺหากฺขโย วิราโค นิโรโธ นิพฺพานํ.  อหญฺเจว โข ปน ธมฺมํ เทเสยฺยํ ปเร จ เม น อาชาเนยฺยุํ โส มมสฺส กิลมโถ สา มมสฺส วิเหสา”ติ. 
api ’ssu bhagavantaṃ imā anacchariyā gāthāyo paṭibhaṃsu pubbe assutapubbā:  kicchena me adhigataṃ halaṃ dāni pakāsituṃ, rāgadosaparetehi nāyaṃ dhammo susambudho. | paṭisotagāmi nipuṇaṃ gambhīraṃ duddasaṃ aṇuṃ rāgarattā na dakkhanti tamokhandhena āvuṭā ’ti. |3| 
And then the following . . . . stanzas, unheard before, occurred to the Blessed One:  'With great pains have I acquired it. Enough! why should I now proclaim it? This doctrine will not be easy to understand to beings that are lost in lust and hatred. 'Given to lust, surrounded with thick darkness, they will not see what is repugnant (to their minds), abstruse, profound, difficult to perceive, and subtle.' 
อนึ่ง อนัจฉริยคาถาเหล่านี้ ที่ไม่เคยได้สดับ ในกาลก่อน ปรากฏแก่พระผู้มีพระภาคเจ้า ว่าดังนี้:-  (อนัจฉริยคาถา) บัดนี้ เรายังไม่ควรจะประกาศธรรมที่เราได้บรรลุแล้วโดยยาก เพราะธรรมนี้อันสัตว์ผู้อันราคะและโทสะครอบงำแล้วไม่ตรัสรู้ได้ง่าย สัตว์ผู้อันราคะย้อมแล้วถูกกองอวิชชาหุ้มห่อแล้ว จักไม่เห็นธรรมอันละเอียดลึกซึ้ง ยากที่จะเห็น ละเอียดยิ่ง อันจะยังสัตว์ให้ถึงธรรมที่ทวนกระแส คือพระนิพพาน. 
อปิสฺสุ ภควนฺตํ อิมา อนจฺฉริยา คาถาโย ปฏิภํสุ ปุพฺเพ อสฺสุตปุพฺพา  “กิจฺเฉน เม อธิคตํ หลํ ทานิ ปกาสิตุํ. ราคโทสปเรเตหิ นายํ ธมฺโม สุสมฺพุโธฯ “ปฏิโสตคามึ นิปุณํ คมฺภีรํ ทุทฺทสํ อณุํ. ราครตฺตา น ทกฺขนฺติ ตโมขนฺเธน อาวุฏา ”ติฯ 
iti ha bhagavato paṭisañcikkhato appossukkatā4a cittaṃ namati no dhammadesanā4a.  atha kho Brahmuno Sahampatissa bhagavato cetasā cetoparivitakkaṃ aññāya etad ahosi:  nassati vata bho loko, vinassati vata bho loko, yatra hi nāma tathāgatassa arahato sammāsambuddhassa appossukkatāya cittaṃ namati no dhammadesanāyā ’ti. |4| 
When the Blessed One pondered over this matter, his mind became inclined to remain in quiet, and not to preach the doctrine.  Then Brahmâ Sahampati, understanding by the power of his mind the reflection which had arisen in the mind of the Blessed One, thought:  'Alas! the world perishes! Alas! the world is destroyed! if the mind of the Tathâgata, of the holy, of the absolute Sambuddha inclines itself to remain in quiet, and not to preach the doctrine.' 
เมื่อพระผู้มีพระภาคเจ้าทรงพิจารณาเห็นอยู่ ดังนี้ พระทัยก็น้อมไปเพื่อความขวนขวายน้อย ไม่น้อมไปเพื่อทรงแสดงธรรม.  (พรหมยาจนกถา เรื่องพรหมทูลอารธนา) [๘] ครั้งนั้น ท้าวสหัมบดีพรหมทราบพระปริวิตกแห่งจิตของพระผู้มีพระภาคเจ้าด้วยใจของตนแล้วเกิดความปริวิตกว่า  ชาวเราผู้เจริญ โลกจักฉิบหายหนอ โลกจักวินาศหนอ เพราะตถาคตอรหันตสัมมาสัมพุทธเจ้า ทรงน้อมพระทัยไปเพื่อความขวนขวายน้อย ไม่ทรงน้อมพระทัยไปเพื่อทรงแสดงธรรม. 
อิติห ภควโต ปฏิสญฺจิกฺขโต อปฺโปสฺสุกฺกตาย จิตฺตํ นมติ โน ธมฺมเทสนาย.  ๘. อถ โข พฺรหฺมุโน สหมฺปติสฺส ภควโต เจตสา เจโตปริวิตกฺกมญฺญาย เอตทโหสิ  “นสฺสติ วต โภ โลโก วินสฺสติ วต โภ โลโก ยตฺร หิ นาม ตถาคตสฺส อรหโต สมฺมาสมฺพุทฺธสฺส อปฺโปสฺสุกฺกตาย จิตฺตํ นมติ โน ธมฺมเทสนายา”ติ. 
atha kho Brahmā Sahampati, seyyathāpi nāma balavā puriso sammiñjitaṃ vā bāhaṃ pasāreyya pasāritaṃ vā bāhaṃ sammiñjeyya, evam eva Brahmaloke antarahito bhagavato purato pāturahosi. |5| 
Then Brahmâ Sahampati disappeared from Brahma's world, and appeared before the Blessed One (as quickly) as a strong man might stretch his bent arm out, or draw back his out-stretched arm. 
ลำดับนั้น ท้าวสหับดีพรหมได้หายไปในพรหมโลก มาปรากฏ ณ เบื้องพระพักตร์ของพระผู้มีพระภาคเจ้า ดุจบุรุษมีกำลังเหยียดแขนที่คู้ หรือคู้แขนที่เหยียดฉะนั้น 
อถ โข พฺรหฺมา สหมฺปติ เสยฺยถาปิ นาม พลวา ปุริโส สมิญฺชิตํ วา พาหํ ปสาเรยฺย ปสาริตํ วา พาหํ สมิญฺเชยฺย เอวเมว พฺรหฺมโลเก อนฺตรหิโต ภควโต ปุรโต ปาตุรโหสิ. 
atha kho Brahmā Sahampati ekaṃsaṃ uttarāsaṅgaṃ karitvā dakkhiṇañ jānumaṇḍalaṃ paṭhaviyaṃ nihantvā yena bhagavā ten’ añjaliṃ paṇāmetvā bhagavantaṃ etad avoca:  desetu bhante bhagavā dhammaṃ, desetu sugato dhammaṃ, santi sattā apparajakkhajātikā assavanatā dhammassa parihāyanti, bhavissanti dhammassa aññātāro ’ti. |6| 
And Brahmâ Sahampati adjusted his upper robe so as to cover one shoulder, and putting his right knee on the ground, raised his joined hands towards the Blessed One, and said to the Blessed One:  'Lord, may the Blessed One preach the doctrine! may the perfect One preach the doctrine! there are beings whose mental eyes are darkened by scarcely any dust; but if they do not hear the doctrine, they cannot attain salvation. These will understand the doctrine.' 
ครั้นแล้วห่มผ้าอุตราสงค์เฉวียงบ่าคุกชาณุมณฑลเบื้องขวาลงบนแผ่นดิน ประณมอัญชลีไปทางพระผู้มีภาคเจ้าแล้วได้ทูลคำนี้แด่พระผู้มีพระภาคเจ้าว่า  พระพุทธเจ้าข้า ขอพระผู้มีพระภาคเจ้าได้โปรดทรงแสดงธรรมขอพระสุคตได้โปรดทรงแสดงธรรม เพราะสัตว์ทั้งหลายจำพวกที่มีธุลีในจักษุน้อยมีอยู่ เพราะไม่ได้ฟังธรรมย่อมเสื่อม ผู้รู้ทั่วถึงธรรมจักมี. 
อถ โข พฺรหฺมา สหมฺปติ เอกํสํ อุตฺตราสงฺคํ กริตฺวา ทกฺขิณชาณุมณฺฑลํ ปถวิยํ นิหนฺตฺวา เยน ภควา เตนญฺชลึ ปณาเมตฺวา ภควนฺตํ เอตทโวจ  “เทเสตุ ภนฺเต ภควา ธมฺมํ เทเสตุ สุคโต ธมฺมํ. สนฺติ สตฺตา อปฺปรชกฺขชาติกา อสฺสวนตา ธมฺมสฺส ปริหายนฺติ ภวิสฺสนฺติ ธมฺมสฺส อญฺญาตาโร”ติ. 
idaṃ avoca Brahmā Sahampati, idaṃ vatvā athāparaṃ etad avoca:  pāturahosi Magadhesu pubbe dhammo asuddho samalehi cintito, apāpur’ etaṃ amatassa dvāraṃ suṇantu dhammaṃ vimalenānubuddhaṃ |  sele yathā pabbatamuddhini ṭhito yathāpi passe janataṃ samantato, tath’ ūpamaṃ dhammamayaṃ sumedha pāsādam āruyha samantacakkhu (6) sokāvatiṇṇañ janataṃ apetasoko avekkhassu jātijarābhibhūtaṃ. |  uṭṭhehi vīra vijitasaṃgāma satthavāha anaṇa vicara loke, desetu bhagavā dhammaṃ aññātāro bhavissantīti. |7| 
Thus spoke Brahmâ Sahampati; and when he had thus spoken, he further said:  'The Dhamma hitherto manifested in the country of Magadha has been impure, thought out by contaminated men. But do thou now open the door of the Immortal; let them hear the doctrine discovered by the spotless One!  'As a man standing on a rock, on mountain's top, might overlook the people all around, thus, O wise One, ascending to the highest palace of Truth, look down, all-seeing One, upon the people lost in suffering, overcome by birth and decay,--thou, who hast freed thyself from suffering!  'Arise, O hero; O victorious One! Wander through the world, O leader of the pilgrim band, who thyself art free from debt. May the Blessed One preach the doctrine; there will be people who can understand it!' 
ท้าวสหัมบดีพรหมได้กราบทูลดังนี้แล้ว จึงกราบทูลเป็นประพันธคาถาต่อไปว่า:-  (พรหมนิคนคาถา) เมื่อก่อนธรรมไม่บริสุทธิ์อันคนมีมลทินทั้งหลาย คิดแล้วได้ปรากฏในมคธชนบท ขอพระองค์ได้โปรดทรงเปิดประตูแห่งอมตธรรมนี้  ขอสัตว์ทั้งหลายจงฟังธรรมที่พระสัมมาสัมพุทธเจ้า ผู้หมดมลทินตรัสรู้แล้วตามลำดับเปรียบเหมือนบุรุษมีจักษุยืนอยู่บนยอดภูเขา ซึ่งล้วนแล้วด้วยศิลา พึงเห็นชุมชนได้โดยรอบฉันใด ข้าแต่พระองค์ผู้มีปัญญาดี มีพระปัญญาจักษุรอบคอบ ขอพระองค์ผู้ปราศจากความโศกจงเสด็จขั้น สู่ปราสาท อันสำเร็จด้วยธรรม แล้วทรง พิจารณาชุมชนผู้เกลื่อนกล่นด้วยความโศกผู้อันชาติและชราครอบงำแล้ว มีอุปมัยฉันนั้นเถิด  ข้าแต่พระองค์ผู้มีความเพียร ทรงชนะสงความ ผู้นำหมู่หาหนี้มิได้ ขอพระองค์จงทรงอุตสาหะเที่ยวไปในโลกเถิด ขอพระผู้มีพระภาคเจ้าโปรดแสดงธรรมเพราะสัตว์ผู้รู้ทั่วถึงธรรมจักมี. 
อิทมโวจ พฺรหฺมา สหมฺปติ อิทํ วตฺวาน อถาปรํ เอตทโวจ  “ปาตุรโหสิ มคเธสุ ปุพฺเพ. ธมฺโม อสุทฺโธ สมเลหิ จินฺติโต. อปาปุเรตํ อมตสฺส ทฺวารํ. สุณนฺตุ ธมฺมํ วิมเลนานุพุทฺธํฯ  “เสเล ยถา ปพฺพตมุทฺธนิฏฺฐิโต. ยถาปิ ปสฺเส ชนตํ สมนฺตโต. ตถูปมํ ธมฺมมยํ สุเมธ. ปาสาทมารุยฺห สมนฺตจกฺขุ. โสกาวติณฺณํ ชนตมเปตโสโก. อเวกฺขสฺสุ ชาติชราภิภูตํฯ  “อุฏฺเฐหิ วีร วิชิตสงฺคาม. สตฺถวาห อณณ วิจร โลเก. เทสสฺสุ ภควา ธมฺมํ.อญฺญาตาโร ภวิสฺสนฺตี”ติฯ 
evaṃ vutte bhagavā Brahmānaṃ Sahampatiṃ etad avoca:  mayhaṃ kho Brahme etad ahosi:  adhigato kho my āyaṃ dhammo gambhīro duddaso duranubodho . . . sā mam’ assa vihesā ’ti.  api ’ssu maṃ Brahme imā anacchariyā gāthāyo  paṭibhaṃsu pubbe me assutapubbā . . . āvuṭā ’ti.  iti ha me Brahme paṭisañcikkhato appossukkatāya cittaṃ namati no dhammadesanāyā ’ti. |8| 
When he had spoken thus, the Blessed One said to Brahmâ Sahampati:  'The following thought, Brahmâ, has occurred to me:  "I have penetrated this doctrine, . . . . ."  And also, Brahmâ, the following . . . . stanzas have presented themselves to my mind, which had not been heard (by me) before:  "With great pains, . . . . (&c., down to end of § 3).  " When I pondered over this matter, Brahmâ, my mind became inclined to remain in quiet, and not to preach the doctrine.' 
[เอวํ วุตฺเต ภควา พฺรหฺมานํ สหมฺปตึ เอตทโวจ  “มยฺหมฺปิ โข พฺรหฺเม เอตทโหสิ  ‘อธิคโตโข มฺยายํ ธมฺโม คมฺภีโร ทุทฺทโส ทุรนุโพโธ สนฺโต ปณีโต อตกฺกาวจโร นิปุโณ ปณฺฑิตเวทนีโย. อาลยรามา โข ปนายํ ปชา อาลยรตา อาลยสมฺมุทิตา. อาลยรามาย โข ปน ปชาย อาลยรตาย อาลยสมฺมุทิตาย ทุทฺทสํ อิทํ ฐานํ ยทิทํ อิทปฺปจฺจยตาปฏิจฺจสมุปฺปาโท อิทมฺปิ โข ฐานํ สุทุทฺทสํ ยทิทํ สพฺพสงฺขารสมโถ สพฺพูปธิปฏินิสฺสคฺโค ตณฺหากฺขโย วิราโค นิโรโธ นิพฺพานํ. อหญฺเจว โข ปน ธมฺมํ เทเสยฺยํ ปเร จ เม น อาชาเนยฺยุํ โส มมสฺส กิลมโถ สา มมสฺส วิเหสา’ติ.  อปิสฺสุ มํ พฺรหฺเม อิมา อนจฺฉริยา คาถาโย  ปฏิภํสุ ปุพฺเพ อสฺสุตปุพฺพา ‘กิจฺเฉน เม อธิคตํ หลํ ทานิ ปกาสิตุํ. ราคโทสปเรเตหิ นายํ ธมฺโม สุสมฺพุโธฯ ‘ปฏิโสตคามึ นิปุณํ คมฺภีรํ ทุทฺทสํ อณุํ. ราครตฺตา น ทกฺขนฺติ ตโมขนฺเธน อาวุฏา’ติฯ  อิติห เม พฺรหฺเม ปฏิสญฺจิกฺขโต อปฺโปสฺสุกฺกตาย จิตฺตํ นมติ โน ธมฺมเทสนายา”ติ. 
dutiyam pi kho Brahmā Sahampati bhagavantaṃ etad avoca:  desetu bhante bhagavā dhammaṃ . . . aññātāro bhavissantīti.  dutiyam pi kho bhagavā Brahmānaṃ Sahampatiṃ etad avoca:  mayham pi kho Brahme etad ahosi:  adhigato kho my āyaṃ dhammo gambhīro duddaso duranubodho . . . sā mam’ assa vihesā ’ti.  api ’ssu maṃ Brahme imā anacchari9ā gāthā9o paṭibhaṃsu pubbe me assutapubbā. . . āvuṭā ’ti.  iti ha me Brahme paṭisañcikkhato appossukkatāya cittaṃ namati no dhammadesanāyā ’ti. |9| 
And a second time Brahmâ Sahampati said to the Blessed One:  'Lord, may the Blessed One preach the doctrine, . . . . .'  And for the second time the Blessed One said to Brahmâ Sahampati:  'The following thought . . . . (&c., as before).' 
ทุติยมฺปิ โข พฺรหฺมา สหมฺปติ ภควนฺตํ เอตทโวจ  “เทเสตุ ภนฺเต ภควา ธมฺมํ เทเสตุ สุคโต ธมฺมํ สนฺติ สตฺตา อปฺปรชกฺขชาติกา อสฺสวนตา ธมฺมสฺส ปริหายนฺติ ภวิสฺสนฺติ ธมฺมสฺส อญฺญาตาโร”ติ. อิทมโวจ พฺรหฺมา สหมฺปติ อิทํ วตฺวาน อถาปรํ เอตทโวจ “ปาตุรโหสิ มคเธสุ ปุพฺเพ. ธมฺโม อสุทฺโธ สมเลหิ จินฺติโต. อปาปุเรตํ อมตสฺส ทฺวารํ. สุณนฺตุ ธมฺมํ วิมเลนานุพุทฺธํฯ “เสเล ยถา ปพฺพตมุทฺธนิฏฺฐิโต. ยถาปิ ปสฺเส ชนตํ สมนฺตโต. ตถูปมํ ธมฺมมยํ สุเมธ. ปาสาทมารุยฺห สมนฺตจกฺขุ. โสกาวติณฺณํ ชนตมเปตโสโก. อเวกฺขสฺสุ ชาติชราภิภูตํฯ “อุฏฺเฐหิ วีร วิชิตสงฺคาม. สตฺถวาห อณณ วิจร โลเก. เทสสฺสุ ภควา ธมฺมํ. อญฺญาตาโร ภวิสฺสนฺตี”ติฯ  ทุติยมฺปิ โข ภควา พฺรหฺมานํ สหมฺปตึ เอตทโวจ  “มยฺหมฺปิ โข พฺรหฺเม เอตทโหสิ  ‘อธิคโต โข มฺยายํ ธมฺโม คมฺภีโร ทุทฺทโส ทุรนุโพโธ สนฺโต ปณีโต อตกฺกาวจโร นิปุโณ ปณฺฑิตเวทนีโย. อาลยรามา โข ปนายํ ปชา อาลยรตา อาลยสมฺมุทิตา. อาลยรามาย โข ปน ปชาย อาลยรตาย อาลยสมฺมุทิตาย ทุทฺทสํ อิทํ ฐานํ ยทิทํ อิทปฺปจฺจยตาปฏิจฺจสมุปฺปาโท อิทมฺปิ โข ฐานํ สุทุทฺทสํ ยทิทํ สพฺพสงฺขารสมโถ สพฺพูปธิปฏินิสฺสคฺโค ตณฺหากฺขโย วิราโค นิโรโธ นิพฺพานํ. อหญฺเจว โข ปน ธมฺมํ เทเสยฺยํ ปเร จ เม น อาชาเนยฺยุํ โส มมสฺส กิลมโถ สา มมสฺส วิเหสา’ติ.  อปิสฺสุ มํ พฺรหฺเม อิมา อนจฺฉริยา คาถาโย ปฏิภํสุ ปุพฺเพ อสฺสุตปุพฺพา ‘กิจฺเฉน เม อธิคตํ หลํ ทานิ ปกาสิตุํ. ราคโทสปเรเตหิ นายํ ธมฺโม สุสมฺพุโธฯ ‘ปฏิโสตคามึ นิปุณํ คมฺภีรํ ทุทฺทสํ อณุํ. ราครตฺตา น ทกฺขนฺติ ตโมขนฺเธน อาวุฏา’ติฯ  อิติห เม พฺรหฺเม ปฏิสญฺจิกฺขโต อปฺโปสฺสุกฺกตาย จิตฺตํ นมติ โน ธมฺมเทสนายา”ติ. 
tatiyam pi kho Brahmā Sahampati bhagavantaṃ etad avoca:  desetu bhante bhagavā dhammaṃ . . . aññātāro bhavissantīti. 
And a third time Brahmâ Sahampati said to the Blessed One:  'Lord, may the Blessed One preach the doctrine, . . . . (&c., as before).' 
ตติยมฺปิ โข พฺรหฺมา สหมฺปติ ภควนฺตํ เอตทโวจ  “เทเสตุ ภนฺเต ภควา ธมฺมํ เทเสตุ สุคโต ธมฺมํ. สนฺติ สตฺตา อปฺปรชกฺขชาติกา อสฺสวนตา ธมฺมสฺส ปริหายนฺติ ภวิสฺสนฺติ ธมฺมสฺส อญฺญาตาโร”ติ. อิทมโวจ พฺรหฺมา สหมฺปติ อิทํ วตฺวาน อถาปรํ เอตทโวจ “ปาตุรโหสิ มคเธสุ ปุพฺเพ. ธมฺโม อสุทฺโธ สมเลหิ จินฺติโต. อปาปุเรตํ อมตสฺส ทฺวารํ. สุณนฺตุ ธมฺมํ วิมเลนานุพุทฺธํฯ “เสเล ยถา ปพฺพตมุทฺธนิฏฺฐิโต. ยถาปิ ปสฺเส ชนตํ สมนฺตโต. ตถูปมํ ธมฺมมยํ สุเมธ. ปาสาทมารุยฺห สมนฺตจกฺขุ. โสกาวติณฺณํ ชนตมเปตโสโก. อเวกฺขสฺสุ ชาติชราภิภูตํฯ “อุฏฺเฐหิ วีร วิชิตสงฺคาม. สตฺถวาห อณณ วิจร โลเก. เทสสฺสุ ภควา ธมฺมํ. อญฺญาตาโร ภวิสฺสนฺตี”ติฯ 
atha kho bhagavā Brahmuno ca ajjhesanaṃ viditvā sattesu ca kāruññataṃ paṭicca buddhacakkhunā lokaṃ volokesi.  addasa kho bhagavā buddhacakkhunā lokaṃ volokento satte apparajakkhe mahārajakkhe tikkhindriye mudindriye svākāre dvākāre suviññāpaye duviññāpaye appekacce paralokavajjabhayadassāvino viharante. |10| 
Then the Blessed One, when he had heard Brahmâ's solicitation, looked, full of compassion towards sentient beings, over the world, with his (all-perceiving) eye of a Buddha.  And the Blessed One, looking over the world with his eye of a Buddha, saw beings whose mental eyes were darkened by scarcely any dust, and beings whose eyes were covered by much dust, beings sharp of sense and blunt of sense, of good disposition and of bad disposition, easy to instruct and difficult to instruct, some of them seeing the dangers of future life and of sin. 
(ทรงพิจารณาสัตว์โลกเปรียบด้วยดอกบัว) [๙] ลำดับนั้น พระผู้มีพระภาคเจ้า ทรงทราบคำทูลอาราธนาของพรหมและทรงอาศัยความกรุณาในหมู่สัตว์ จึงทรงตรวจดูสัตว์โลกด้วยพุทธจักขุ  เมื่อตรวจดูสัตว์โลกด้วยพุทธจักขุ ได้ทรงเห็นสัตว์ทั้งหลายที่มีธุลีคือกิเลสในจักษุน้อยก็มี ที่มีธุลีคือกิเลสในจักษุมากก็มี ที่มีอินทรีย์แก่กล้าก็มี ที่มีอินทรีย์อ่อนก็มี ที่มีอาการดีก็มี ที่มีอาการทรามก็มี ที่จะสอนให้รู้ได้ง่ายก็มี ที่จะสอนให้รู้ได้ยากก็มี ที่มีปรกติเห็นปรโลกและโทษโดยความเป็นภัยอยู่ก็มี. 
๙. อถ โข ภควา พฺรหฺมุโน จ อชฺเฌสนํ วิทิตฺวา สตฺเตสุ จ การุญฺญตํ ปฏิจฺจ พุทฺธจกฺขุนา โลกํ โวโลเกสิ.  อทฺทสา โข ภควา พุทฺธจกฺขุนา โลกํ โวโลเกนฺโต สตฺเต อปฺปรชกฺเข มหารชกฺเข ติกฺขินฺทฺริเย มุทินฺทฺริเย สฺวากาเร ทฺวากาเร สุวิญฺญาปเย ทุวิญฺญาปเย อปฺเปกจฺเจ ปรโลกวชฺชภยทสฺสาวิเน วิหรนฺเต อปฺเปกจฺเจ น ปรโลกวชฺชภยทสฺสาวิเน วิหรนฺเต. 
seyyathāpi nāma uppaliniyaṃ vā paduminiyaṃ vā puṇḍarīkiniyaṃ vā appekaccāni uppalāni vā padumāni vā puṇḍarīkāni vā udake jātāni udake saṃvaḍḍhāni udakānuggatāni antonimuggaposīni, appekaccāni uppalāni vā padumāni vā puṇḍarīkāni vā udake jātāni udake saṃvaḍḍhāni samodakaṇ ṭhitāni, appekaccāni uppalāni vā padumāni vā puṇḍarīkāni vā udake jātāni udake saṃvaḍḍhāni udakā accuggamma ṭhitāni anupalittāni udakena, |11| 
As, in a pond of blue lotuses, or water-roses, or white lotuses, some blue lotuses, or water-roses, or white lotuses, born in the water, grown up in the water, do not emerge over the water, but thrive hidden under the water; and other blue lotuses, or water-roses, or white lotuses, born in the water, grown up in the water, reach to the surface of the water; and other blue lotuses, or water-roses, or white lotuses, born in the water, grown up in the water, stand emerging out of the water, and the water does not touch them,-- 
มีอุปมาเหมือนดอกอุบลในกออุบล ดอกปทุมในกอปทุม หรือดอกบุณฑริกในกอบุณฑริก ที่เกิดแล้วในน้ำ เจริญแล้วในน้ำ งอกงามแล้วในน้ำบางเหล่ายังจมในน้ำ อันน้ำเลี้ยงไว้ บางเหล่าตั้งอยู่เสมอน้ำ บางเหล่าตั้งอยู่พ้นน้ำ อันน้ำไม่ติดแล้ว 
เสยฺยถาปิ นาม อุปฺปลินิยํ วา ปทุมินิยํ วา ปุณฺฑรีกินิยํ วา อปฺเปกจฺจานิ อุปฺปลานิ วา ปทุมานิ วา ปุณฺฑรีกานิ วา อุทเก ชาตานิ อุทเก สํวฑฺฒานิ อุทกานุคฺคตานิ อนฺโต นิมุคฺคโปสีนิ อปฺเปกจฺจานิ อุปฺปลานิ วา ปทุมานิ วา ปุณฺฑรีกานิ วา อุทเก ชาตานิ อุทเก สํวฑฺฒานิ สโมทกํ ฐิตานิ อปฺเปกจฺจานิ อุปฺปลานิ วา ปทุมานิ วา ปุณฺฑรีกานิ วา อุทเก ชาตานิ อุทเก สํวฑฺฒานิ อุทกํ อจฺจุคฺคมฺม ฐิตานิ อนุปลิตฺตานิ อุทเกน 
evam eva bhagavā buddhacakkhunā lokaṃ volokento addasa satte apparajakkhe mahārajakkhe (7) tikkhindriye mudindriye svākāre dvākāre suviññāpaye duviññāpaye appekacce paralokavajjabhayadassāvino viharante, disvāna Brahmānaṃ Sahampatiṃ gāthāya ajjhabhāsi:  apārutā tesaṃ amatassa dvārā ye sotavanto, pamuñcantu saddhaṃ. vihiṃsasaññī paguṇaṃ na bhāsi dhammaṃ paṇītaṃ manujesu Brahme ’ti. |12| 
Thus the Blessed One, looking over the world with his eye of a Buddha, saw beings whose mental eyes were darkened, . . . . (&c., the text repeats § 10); and when he had thus seen them, he addressed Brahmâ Sahampati in the following stanza:  'Wide opened is the door of the Immortal to all who have ears to hear; let them send forth faith to meet it. The Dhamma sweet and good I spake not, Brahmâ, despairing of the weary task, to men.' 
พระผู้มีพระภาคเจ้าทรงตรวจดูสัตว์โลกด้วยพุทธจักขุ ได้ทรงเห็นสัตว์ทั้งหลาย บางพวกมีธุลีคือกิเลสในจักษุน้อย บางพวกมีธุลีคือกิเลสในจักษุมากบางพวกมีอินทรีย์แก่กล้า บางพวกมีอินทรีย์อ่อน บางพวกมีอาการดี บางพวกมีอาการทราม บางพวกสอนให้รู้ได้ง่าย บางพวกสอนให้รู้ได้ยาก บางพวกมีปรกติเห็นปรโลกและโทษโดยความเป็นภัยอยู่ ฉันนั้น เหมือนกัน ครั้นแล้วได้ตรัสดาถาตอบท้าวสหัมบดีพรหมว่า ดังนี้:-  เราเปิดประตูอมตะแก่ท่านแล้ว สัตว์เหล่าใดจะฟัง จงปล่อยศรัทธามาเถิด ดูก่อนพรหม เพราะเรามีความสำคัญในความลำบาก จงไม่แสดงธรรมที่เราคล่องแคล่วประณีต ในหมู่มนุษย์. 
เอวเมวํ ภควา พุทฺธจกฺขุนา โลกํ โวโลเกนฺโต อทฺทส สตฺเต อปฺปรชกฺเข มหารชกฺเข ติกฺขินฺทฺริเย มุทินฺทฺริเย สฺวากาเร ทฺวากาเร สุวิญฺญาปเย ทุวิญฺญาปเย อปฺเปกจฺเจ ปรโลกวชฺชภยทสฺสาวิเน วิหรนฺเต อปฺเปกจฺเจ น ปรโลกวชฺชภยทสฺสาวิเน วิหรนฺเต ทิสฺวาน พฺรหฺมานํ สหมฺปตึ คาถาย ปจฺจภาสิ  “อปารุตา เตสํ อมตสฺส ทฺวารา. เย โสตวนฺโต ปมุญฺจนฺตุ สทฺธํ. วิหึสสญฺญี ปคุณํ น ภาสึ. ธมฺมํ ปณีตํ มนุเชสุ พฺรหฺเม”ติฯ 
atha kho Brahmā Sahampati katāvakāso kho ’mhi bhagavatā dhammadesanāyā ’ti bhagavantaṃ abhivādetvā padakkhiṇaṃ katvā tatth’ ev’ antaradhāyi. |13| 
Then Brahmâ Sahampati understood: 'The Blessed One grants my request that He should preach the doctrine.' And he bowed down before the Blessed One, and passed round him with his right side towards him; and then he straightway disappeared. 
ครั้นท้าวสหัมบดีพรหมทราบว่า พระผู้มีพระภาคเจ้าทรงประทานโอกาสเพื่อจะแสดงธรรมแล้ว จึงถวายบังคมพระผู้มีพระภาคเจ้าทำประทักษิณแล้ว อันตรธานไปในที่นั้นแล. 
อถ โข พฺรหฺมา สหมฺปติ “กตาวกาโส โขมฺหิ ภควตา ธมฺมเทสนายา”ติ ภควนฺตํ อภิวาเทตฺวา ปทกฺขิณํ กตฺวา ตตฺเถวนฺตรธายิ. 
Brahmayācanakathā niṭṭhitā. ||5|| 
Here ends the story of Brahmâ's request. 
พรหมยาจนกถา จบ 
พฺรหฺมยาจนกถา นิฏฺฐิตา. 
atha kho bhagavato etad ahosi: kassa nu kho ahaṃ paṭhamaṃ dhammaṃ deseyyaṃ, ko imaṃ dhammaṃ khippam eva ājānissatīti.  atha kho bhagavato etad ahosi: ayaṃ kho Āḷāro Kālāmo paṇḍito vyatto medhāvī dīgharattaṃ apparajakkhajātiko.  yaṃ nūnāhaṃ Āḷārassa Kālāmassa paṭhamaṃ dhammaṃ deseyyaṃ, so imaṃ dhammaṃ khippam eva ājānissatīti. |1| 
Now the Blessed One thought: 'To whom shall I preach the doctrine first? Who will understand this doctrine easily?'  And the Blessed One thought: 'There is Âlâra Kâlâma; he is clever, wise, and learned; long since have the eye of his mind been darkened by scarcely any dust.  What if I were to preach the doctrine first to Âlâra Kâlâma? He will easily understand this doctrine.' 
พุทธปริวิตกกถา [๑๐] ครั้งนั้น พระผู้มีพระภาคเจ้าได้ทรงดำริว่า เราจะพึงแสดงธรรมแก่ใครก่อนหนอ ใครจักรู้ทั่วถึงธรรมนี้ได้ฉับพลัน  ครั้นแล้วทรงพระดำริต่อไปว่าอาฬารดาบสกาลามโคตรนี้แล เป็นผู้ฉลาด เฉียบแหลม มีปัญญามีธุลีคือกิเลสในจักษุน้อยเป็นปรกติมานาน  ถ้ากระไร เราพึงแสดงธรรมแก่อาฬารดาบสกาลามโคตรก่อน เธอจักรู้ทั่วถึงธรรมนี้ได้ฉับพลัน 
(๖. ปญฺจวคฺคิยกถา) ๑๐. อถ โข ภควโต เอตทโหสิ “กสฺส นุ โข อหํ ปฐมํ ธมฺมํ เทเสยฺยํ? โก อิมํ ธมฺมํ ขิปฺปเมว อาชานิสฺสตี”ติ?  อถ โข ภควโต เอตทโหสิ “อยํ โข อาฬาโร กาลาโม ปณฺฑิโต พฺยตฺโต เมธาวี ทีฆรตฺตํ อปฺปรชกฺขชาติโก  ยํนูนาหํ อาฬารสฺส กาลามสฺส ปฐมํ ธมฺมํ เทเสยฺยํ โส อิมํ ธมฺมํ ขิปฺปเมว อาชานิสฺสตี”ติ. 
atha kho antarahitā devatā bhagavato ārocesi: sattāhakālaṃkato bhante Āḷāro Kālāmo ’ti.  bhagavato pi kho ñāṇaṃ udapādi sattāhakālaṃ kato Āḷāro Kālāmo ’ti.  atha kho bhagavato etad ahosi: mahājāniyo kho Āḷāro Kālāmo, sace hi so imaṃ dhammaṃ suṇeyya, khippam eva ājāneyyā ’ti. |2| 
Then an invisible deity said to the Blessed One: 'Âlâra Kâlâma has died, Lord, seven days ago.'  And knowledge sprang up in the Blessed One's mind that Âlâra Kâlâma had died seven days ago.  And the Blessed One thought: 'Highly noble was Alâra Kâlâma. If he had heard my doctrine, he would easily have understood it.' 
ทีนั้น เทพดาอันตรธานมากราบทูลพระผู้มีพระภาคเจ้าว่า อาฬารดาบสกาลามโคตร สิ้นชีพได้ ๗ วันแล้ว  พระพุทธเจ้าข้า แม้พระผู้มีพระภาคเจ้าก็ทรงทราบว่า อาฬารคาบสกาลามโคตรสิ้นชีพได้ ๗ วันแล้ว  จึงทรงพระดำริว่าอาฬารดาบสกาลามโคตรเป็นผู้มีความเสื่อมใหญ่ เพราะถ้าเธอได้ฟังธรรมนี้จะพึงรู้ทั่วถึงได้ฉับพลัน. 
อถ โข อนฺตรหิตา เทวตา ภควโต อาโรเจสิ “สตฺตาหกาลงฺกโต ภนฺเต อาฬาโร กาลาโม”ติ.  ภควโตปิ โข ญาณํ อุทปาทิ “สตฺตาหกาลงฺกโต อาฬาโร กาลาโม”ติ.  อถ โข ภควโต เอตทโหสิ “มหาชานิโย โข อาฬาโร กาลาโม สเจ หิ โส อิมํ ธมฺมํ สุเณยฺย ขิปฺปเมว อาชาเนยฺยา”ติ. 
atha kho bhagavato etad ahosi: kassa nu kho ahaṃ paṭhamaṃ dhammaṃ deseyyaṃ, ko imaṃ dhammaṃ khippam eva ājānissatīti.  atha kho bhagavato etad ahosi: ayaṃ kho Uddako Rāmaputto paṇḍito vyatto medhāvī dīgharattaṃ apparajakkhajātiko.  yaṃ nūnāhaṃ Uddakassa Rāmaputtassa paṭhamaṃ dhammaṃ deseyyaṃ, so imaṃ dhammaṃ khippam eva ājānissatīti. |3| 
Then the Blessed One thought: 'To whom shall I preach the doctrine first? Who will understand this doctrine easily?'  And the Blessed One thought: 'There is Uddaka Râmaputta; he is clever, wise, and learned; long since have the eye or his mind been darkened by scarcely any dust.  What if I were to preach the doctrine first to Uddaka Râmaputta? He will easily understand this doctrine.' 
ลำดับนั้น พระผู้มีพระภาคเจ้าได้ทรงพระดำริว่า เราจะพึงแสดงธรรมแก่ใครก่อนหนอ ใครจักรู้ทั่วถึงธรรมนี้ได้ฉับพลัน  ครั้นแล้วทรงพระดำริต่อไปว่าอุทกดาบสรามบุตรนี้แลเป็นผู้ฉลาดเฉียบแหลม มีปัญญา มีธุลีคือกิเลสในจักษุน้อยเป็นปรกติมานาน  ถ้ากระไร เราพึงแสดงธรรมแก่อุทกดาบสรามบุตรก่อนเธอจักรู้ทั่วถึงธรรมนี้ได้ฉับพลัน 
อถ โข ภควโต เอตทโหสิ “กสฺส นุ โข อหํ ปฐมํ ธมฺมํ เทเสยฺยํ? โก อิมํ ธมฺมํ ขิปฺปเมว อาชานิสฺสตี”ติ? อถ โข ภควโต เอตทโหสิ  “อยํ โข อุทโก รามปุตฺโต ปณฺฑิโต พฺยตฺโต เมธาวี ทีฆรตฺตํ อปฺปรชกฺขชาติโก  ยํนูนาหํ อุทกสฺส รามปุตฺตสฺส ปฐมํ ธมฺมํ เทเสยฺยํ โส อิมํ ธมฺมํ ขิปฺปเมว อาชานิสฺสตี”ติ. 
atha kho antarahitā devatā bhagavato ārocesi: abhidosakālaṃkato bhante Uddako Rāmaputto ’ti.  bhagavato pi kho ñāṇaṃ udapādi abhidosakālaṃkato Uddako Rāmaputto ’ti.  atha kho bhagavato etad ahosi: mahājāniyo kho Uddako Rāmaputto, sace hi so imaṃ dhammaṃ suṇeyya, khippam eva ājāneyyā ’ti. |4| 
Then an invisible deity said to the Blessed One: 'Uddaka Râmaputta has died, Lord, yesterday evening.'  And knowledge arose in the Blessed One's mind that Uddaka Râmaputta had died the previous evening.  And the Blessed One thought: 'Highly noble was Uddaka Râmaputta. If he had heard my doctrine, he would easily have understood it.' 
ทีนั้น เทพดาอันตธานมากราบทูลพระผู้มีพระภาคเจ้าว่า อุทกดาบสรามบุตรสิ้นชีพเสียวานนี้แล้ว  พระพุทธเจ้าข้าแม้พระผู้มีพระภาคเจ้าก็ทรงทราบว่า อุทกดาบสรามบุตรสิ้นชีพเสียวานนี้แล้ว  จึงทรงพระดำริว่าอุทกดาบสรามบุตรนี้ เป็นผู้มีความเสื่อมใหญ่ เพราะถ้าเธอได้ฟังธรรมนี้ จะพึงรู้ทั่วถึงได้ฉับพลัน. 
อถ โข อนฺตรหิตา เทวตา ภควโต อาโรเจสิ “อภิโทสกาลงฺกโต ภนฺเต อุทโก รามปุตฺโต”ติ.  ภควโตปิ โข ญาณํ อุทปาทิ “อภิโทสกาลงฺกโต อุทโก รามปุตฺโต”ติ.  อถ โข ภควโต เอตทโหสิ “มหาชานิโย โข อุทโก รามปุตฺโต สเจ หิ โส อิมํ ธมฺมํ สุเณยฺย ขิปฺปเมว อาชาเนยฺยา”ติ 
atha kho bhagavato etad ahosi: kassa nu kho ahaṃ paṭhamaṃ dhammaṃ deseyyaṃ, ko imaṃ dham-(8)maṃ khippam eva ājānissatīti. 
Then the Blessed One thought: 'To whom shall I preach the doctrine first? Who will understand this doctrine easily?' 
ลำดับนั้น พระผู้มีพระภาคเจ้าได้ทรงพระดำริว่า เราจะพึงแสดงธรรมแก่ใครก่อนหนอ ใครจักรู้ทั่วถึงธรรมนี้ได้ฉับพลัน 
อถ โข ภควโต เอตทโหสิ “กสฺส นุ โข อหํ ปฐมํ ธมฺมํ เทเสยฺยํ? โก อิมํ ธมฺมํ ขิปฺปเมว อาชานิสฺสตี”ติ? 
atha kho bhagavato etad ahosi: bahūpakārā kho ’me pañcavaggiyā bhikkhū, ye maṃ padhānapahitattaṃ upaṭṭhahiṃsu.  yaṃ nūnāhaṃ pañcavaggiyānaṃ bhikkhūnaṃ paṭhamaṃ dhammaṃ deseyyan ti. |5| 
And the Blessed One thought: 'The five Bhikkhus have done many services to me; they attended on me during the time of my exertions (to attain sanctification by undergoing austerities).  What if I were to preach the doctrine first to the five Bhikkhus?' 
ครั้นแล้วทรงพระดำริต่อไปว่าภิกษุปัญจวัคคีย์มีอุปการะแก่เรามาก ได้บำรุงเราผู้ตั้งหน้าบำเพ็ญเพียรอยู่  ถ้ากระไรเราพึงแสดงธรรมแก่ภิกษุปัญจวัคคีย์ก่อน 
อถ โข ภควโต เอตทโหสิ “พหุการา โข เม ปญฺจวคฺคิยา ภิกฺขู เย มํ ปธานปหิตตฺตํ อุปฏฺฐหึสุ  ยํนูนาหํ ปญฺจวคฺคิยานํ ภิกฺขูนํ ปฐมํ ธมฺมํ เทเสยฺย”นฺติ. 
atha kho bhagavato etad ahosi:  kahaṃ nu kho etarahi pañcavaggiyā bhikkhū viharantīti.  addasa kho bhagavā dibbena cakkhunā visuddhena atikkantamānusakena pañcavaggiye bhikkhū Bārāṇasiyaṃ viharante Isipatane migadāye.  atha kho bhagavā Uruvelāyaṃ yathābhirantaṃ viharitvā yena Bārāṇasī tena cārikaṃ pakkāmi. |6| 
Now the Blessed One thought:  'Where do the five Bhikkhus dwell now?'  And the Blessed One saw by the power of his divine, clear vision, surpassing that of men, that the five Bhikkhus were living at Benares, in the deer park Isipatana.  And the Blessed One, after having remained at Uruvelâ as long as he thought fit, went forth to Benares. 
ครั้นแล้วได้ทรงพระดำริต่อไปว่า  บัดนี้ภิกษุปัญจวัคคีย์อยู่ที่ไหนหนอ  พระผู้มีพระภาคเจ้าได้ทรงเห็นภิกษุปัญจวัคคีย์อยู่ ณ ป่าอิสิปตนะมฤคทายวัน เขตพระนครพาราณสี ด้วยทิพพจักขุอันบริสุทธิ์ ล่วงจักษุมนุษย์  ครั้งพระองค์ประทับอยู่ ณ อุรุเวลาประเทศตามควรแก่พุทธาภิรมย์แล้ว เสด็จจาริกไปทางพระนครพาราณสี. 
อถ โข ภควโต เอตทโหสิ  “กหํ นุ โข เอตรหิ ปญฺจวคฺคิยา ภิกฺขู วิหรนฺตี”ติ?  อทฺทสา โข ภควา ทิพฺเพน จกฺขุนา วิสุทฺเธน อติกฺกนฺตมานุสเกน ปญฺจวคฺคิเย ภิกฺขู พาราณสิยํ วิหรนฺเต อิสิปตเน มิคทาเย.  อถ โข ภควา อุรุเวลายํ ยถาภิรนฺตํ วิหริตฺวา เยน พาราณสี เตน จาริกํ ปกฺกามิ. 
addasa kho Upako ājīviko bhagavantaṃ antarā ca Gayaṃ antarā ca bodhiṃ addhānamaggapaṭipannaṃ, disvāna bhagavantaṃ etad avoca:  vippasannāni kho te āvuso indriyāni, parisuddho chavivaṇṇo pariyodāto.  kaṃ ’si tvaṃ āvuso uddissa pabbajito, ko vā te satthā, kassa vā tvaṃ dhammaṃ rocesīti. |7| 
Now Upaka, a man belonging to the Âgîvaka sect (i.e. the sect of naked ascetics), saw the Blessed One travelling on the road, between Gayâ and the Bodhi tree; and when he saw him, he said to the Blessed One:  'Your countenance, friend, is serene; your complexion is pure and bright.  In whose name, friend, have you retired from the world? Who is your teacher? Whose doctrine do you profess?' 
เรื่องอุปกาชีวก [๑] อาชีวกชื่ออุปกะได้พบพระผู้มีพระภาคเจ้าเสด็จดำเนินทางไกลระหว่างแม่น้ำคยาและไม้โพธิพฤกษ์ ครั้นแล้วได้ทูลคำนี้แด่พระผู้มีพระภาคเจ้าว่า  ดูก่อนอาวุโส อินทรีย์ของท่านผ่องใสยิ่งนัก ผิวพรรณของท่านบริสุทธิ์ผุดผ่อง  ดูก่อนอาวุโส ท่านบวชอุทิศใคร ใครเป็นศาสดาของท่าน หรือท่านชอบธรรมของใคร 
๑๑. อทฺทสา โข อุปโก อาชีวโก ภควนฺตํ อนฺตรา จ คยํ อนฺตรา จ โพธึ อทฺธานมคฺคปฺปฏิปนฺนํ ทิสฺวาน ภควนฺตํ เอตทโวจ  “วิปฺปสนฺนานิ โข เต อาวุโส อินฺทฺริยานิ ปริสุทฺโธ ฉวิวณฺโณ ปริโยทาโต.  กํสิ ตฺวํ อาวุโส อุทฺทิสฺส ปพฺพชิโต? โก วา เต สตฺถา? กสฺส วา ตฺวํ ธมฺมํ โรเจสี”ติ? 
evaṃ vutte bhagavā Upakaṃ ājīvikaṃ gāthāhi ajjhabhāsi:  sabbābhibhū sabbavidū ’ham asmi sabbesu dhammesu anupalitto sabbañjaho taṇhakkhaye vimutto, sayaṃ abhiññāya kam uddiseyyaṃ. | na me ācariyo atthi, sadiso me na vijjati, sadevakasmiṃ lokasmiṃ n’ atthi me paṭipuggalo. | ahaṃ hi arahā loke, ahaṃ satthā anuttaro, eko ’mhi sammāsambuddho, sītibhūto ’smi nibbuto. | dhammacakkaṃ pavattetuṃ gacchāmi Kāsinaṃ puraṃ, andhabhūtasmi lokasmiṃ āhañhi amatadudrabhin ti. |8| 
When Upaka the Âgîvaka had spoken thus, the Blessed One addressed him in the following stanzas:  'I have overcome all foes; I am all-wise; I am free from stains in every way; I have left everything; and have obtained emancipation by the destruction of desire. Having myself gained knowledge, whom should I call my master? I have no teacher; no one is equal to me; in the world of men and of gods no being is like me. I am the holy One in this world, I am the highest teacher, I alone am the absolute Sambuddha; I have gained coolness (by the extinction of all passion) and have obtained Nirvâna. To found the Kingdom of Truth I go to the city of the Kâsis (Benares); I will beat the drum of the Immortal in the darkness of this world.' 
เมื่ออุปกาชีวกกราบทูลอย่างนี้แล้ว พระผู้มีพระภาคเจ้าได้ตรัสพระคาถาตอบ อุปกาชีวกว่าดังนี้:-  เราเป็นผู้ครอบงำธรรมทั้งปวง รู้ธรรมทั้งปวงอันตัณหาและทิฏฐิ ไม่ฉาบทาแล้วในธรรมทั้งปวง ละธรรมเป็นไปในภูมิสานได้หมด พ้นแล้วเพราะความสิ้นไปแห่งตัณหา เราตรัส รู้ยิ่งเองแล้วจะพึงอ้างใครเล่าอาจารย์ของเราไม่มี คนเช่นเราก็ไม่มี บุคคลเสมอเหมือนเราก็ไม่มี ในโลกกับทั้งเทวโลกเพราะเราเป็นพระอรหันต์ในโลกเราเป็นศาสดาหาศาสดาอื่นยิ่งกว่ามิได้ เราผู้เดียวเป็นพระสัมมาสัมพุทธะ เราเป็นผู้เย็นใจ ดับกิเลสได้แล้ว เราจะไปเมืองในแคว้นกาสี เพื่อประกาศธรรมจักรให้เป็นไป เราจะตีกลองอมตะในโลกอันมืด เพื่อให้สัตว์ได้ธรรมจักษุ. 
เอวํ วุตฺเต ภควา อุปกํ อาชีวกํ คาถาหิ อชฺฌภาสิ  “สพฺพาภิภู สพฺพวิทูหมสฺมิ สพฺเพสุ ธมฺเมสุ อนูปลิตฺโต. สพฺพญฺชโห ตณฺหากฺขเย วิมุตฺโต สยํ อภิญฺญาย กมุทฺทิเสยฺยํฯ “น เม อาจริโย อตฺถิ สทิโส เม น วิชฺชติ. สเทวกสฺมึ โลกสฺมึ นตฺถิ เม ปฏิปุคฺคโลฯ “อหญฺหิ อรหา โลเก อหํ สตฺถา อนุตฺตโร. เอโกมฺหิ สมฺมาสมฺพุทฺโธ สีติภูโตสฺมิ นิพฺพุโตฯ “ธมฺมจกฺกํ ปวตฺเตตุํ คจฺฉามิ กาสินํ ปุรํ. อนฺธีภูตสฺมึ โลกสฺมึ อาหญฺฉํ อมตทุนฺทุภิ”นฺติฯ 
yathā kho tvaṃ āvuso paṭijānāsi arah’ asi anantajino ’ti:  mādisā ve jinā honti ye pattā āsavakkhayaṃ, jitā me pāpakā dhammā tasmāham Upaka jino ’ti.  evaṃ vutte Upako ājīviko hupeyya āvuso ’ti vatvā sīsaṃ okampetvā ummaggaṃ gahetvā pakkāmi. |9| 
(Upaka replied): 'You profess then, friend, to be the holy, absolute Gina.'  (Buddha said): 'Like me are all Ginas who have reached extinction of the Âsavas; I have overcome (gitâ me) all states of sinfulness; therefore, Upaka, am I the Gina.'  When he had spoken thus, Upaka the Âgîvaka replied: 'It may be so, friend;' shook his head, took another road, and went away. 
อุปกาชีวกทูลว่า ดูก่อนอาวุโส ท่านปฏิญาณโดยประการใด ท่านควรเป็นผู้ชนะหาที่สุดมิได้ โดยประการนั้น.  พระผู้มีพระภาคเจ้าตรัสว่า บุคคลเหล่าใดถึงความสิ้นอาสวะแล้วบุคคลเหล่านั้นชื่อว่าเป็นผู้ชนะเช่นเรา ดูก่อนอุปกะ เราชนะธรรมอันลามกแล้วเพราะฉะนั้นเราจึงชื่อว่าเป็นผู้ชนะ  เมื่อพระผู้มีพระภาคเจ้าตรัสอย่างนี้แล้ว อุปกาชีวกทูลว่า พึงเป็นผู้ชนะเถิดท่านผู้มีอายุดังนี้แล้ว ก้มศีรษะลงแล้วแยกทางหลีกไป. เรื่องอุปกาชีวก จบ 
ยถา โข ตฺวํ อาวุโส ปฏิชานาสิ อรหสิ อนนฺตชิโนติ.  “มาทิสา เว ชินา โหนฺติ เย ปตฺตา อาสวกฺขยํ. ชิตา เม ปาปกา ธมฺมา ตสฺมาหมุปก ชิโน”ติฯ  เอวํ วุตฺเต อุปโก อาชีวโก หุเปยฺยปาวุโสติ วตฺวา สีสํ โอกมฺเปตฺวา อุมฺมคฺคํ คเหตฺวา ปกฺกามิ. 
atha kho bhagavā anupubbena cārikaṃ caramāno yena Bārāṇasī Isipatanamigadāyo yena pañcavaggiyā bhikkhū ten’ upasaṃkami.  addasaṃsu kho pañcavaggiyā bhikkhū bhagavantaṃ dūrato ’va āgacchantaṃ, disvāna aññamaññaṃ saṇṭhapesuṃ:  ayaṃ āvuso samaṇo Gotamo āgacchati bāhulliko (9) padhānavibbhanto āvatto bāhullāya.  so n’ eva abhivādetabbo na paccuṭṭhātabbo nāssa pattacīvaraṃ paṭiggahetabbaṃ, api ca kho āsanaṃ ṭhapetabbaṃ, sace ākaṅkhissati nisīdissatīti. |10| 
And the Blessed One, wandering from place to place, came to Benares, to the deer park Isipatana, to the place where the five Bhikkhus were.  And the five Bhikkhus saw the Blessed One coming from afar; when they saw him, they concerted with each other, saying,  'Friends, there comes the samana Gotama, who lives in abundance, who has given up his exertions, and who has turned to an abundant life.  Let us not salute him; nor rise from our seats when he approaches; nor take his bowl and his robe from his hands. But let us put there a seat; if he likes, let him sit down.' 
เรื่องพระปัญจวัคคีย์ [๑๒] ครั้งนั้น พระผู้มีพระภาคเจ้าเสด็จจาริกโดยลำดับ ถึงป่าอิสิปตนะมฤคทายวัน แขวงเมืองพาราณสี เสด็จเข้าไปทางสำนักพระปัญจวัคคีย์  พระปัญจวัคคีย์ได้เห็นพระผู้มีพระภาคเจ้าเสด็จมาแต่ไกล แล้วได้นัดหมายกันและกันว่า  ท่านทั้งหลาย พระสมณะโคตมนี้เป็นผู้มักมาก คลายความเพียร เวียนนาเพื่อความเป็นคนมักมาก กำลังเสด็จมา  พวกเราไม่พึงอภิวาท ไม่พึงลุกขึ้นต้อนรับพระองค์ ไม่พึงรับบาตรจีวรของพระองค์ แต่พึงวางอาสนะไว้ถ้าพระองค์ปรารถนาก็จักประทับนั่ง 
๑๒. อถ โข ภควา อนุปุพฺเพน จาริกํ จรมาโน เยน พาราณสี อิสิปตนํ มิคทาโย เยน ปญฺจวคฺคิยา ภิกฺขู เตนุปสงฺกมิ.  อทฺทสํสุ โข ปญฺจวคฺคิยา ภิกฺขู ภควนฺตํ ทูรโตว อาคจฺฉนฺตํ ทิสฺวาน อญฺญมญฺญํ กติกํ สณฺฐเปสุํ  “อยํ อาวุโส สมโณ โคตโม อาคจฺฉติ พาหุลฺลิโก ปธานวิพฺภนฺโต อาวตฺโต พาหุลฺลาย.  โส เนว อภิวาเทตพฺโพ น ปจฺจุฏฺฐาตพฺโพ นาสฺส ปตฺตจีวรํ ปฏิคฺคเหตพฺพํ อปิ จ โข อาสนํ ฐเปตพฺพํ สเจ โส อากงฺขิสฺสติ นิสีทิสฺสตี”ติ. 
yathā-yathā kho bhagavā pañcavaggiye bhikkhū upasaṃkamati, tathā-tathā te pañcavaggiyā bhikkhū sakāya katikāya asaṇṭhahantā bhagavantaṃ paccuggantvā eko bhagavato pattacīvaraṃ paṭiggahesi, eko āsanaṃ paññāpesi, eko pādodakaṃ pādapīṭhaṃ pādakathalikaṃ upanikkhipi.  nisīdi bhagavā paññatte āsane, nisajja kho bhagavā pāde pakkhālesi.  api ’ssu bhagavantaṃ nāmena ca āvusovādena ca samudācaranti. |11| 
But when the Blessed One gradually approached near unto those five Bhikkhus, the five Bhikkhus kept not their agreement. They went forth to meet the Blessed One; one took his bowl and his robe, another prepared a seat, a third one brought water for the washing of the feet, a foot-stool, and a towel.  Then the Blessed One sat down on the seat they had prepared; and when he was seated, the Blessed One washed his feet.  Now they addressed the Blessed One by his name, and with the appellation 'Friend.' 
ครั้นพระผู้มีพระภาคเจ้าเสด็จเข้าไปถึงพระปัญจวัคคีย์ พระปัญจวัคคีย์นั้นไม่ตั้งอยู่ในกติกาของตน ต่างลุกขึ้นต้อนรับพระผู้มีพระภาคเจ้า รูปหนึ่งรับบาตรจีวรของพระผู้มีพระภาคเจ้า รูปหนึ่งปูอาสนะ, รูปหนึ่งจัดหาน้ำล้างพระบาท, รูปหนึ่งจัดตั้งตั่งรองพระบาท, รูปหนึ่งนำกระเบื้องเช็ดพระบาทเข้าไปถวาย  พระผู้มีพระภาคเจ้าประทับนั่งบนอาสนะที่พระปัญจวัคคีย์จัดถวาย แล้วทรงล้างพระบาท  ฝ่ายพระปัญจวัคคีย์เรียกพระผู้มีพระภาคเจ้าโดยระบุพระนาม และใช้คำว่า อาวุโส 
ยถา ยถา โข ภควา ปญฺจวคฺคิเย ภิกฺขู อุปสงฺกมติ ตถา ตถา ปญฺจวคฺคิยา ภิกฺขู นาสกฺขิ๎สุ สกาย กติกาย สณฺฐาตุํ อสณฺฐหนฺตา ภควนฺตํ ปจฺจุคฺคนฺตฺวา เอโก ภควโต ปตฺตจีวรํ ปฏิคฺคเหสิ เอโก อาสนํ ปญฺญเปสิ เอโก ปาโททกํ เอโก ปาทปีฐํ เอโก ปาทกฐลิกํ อุปนิกฺขิปิ.  นิสีทิ ภควา ปญฺญตฺเต อาสเน นิสชฺช โข ภควา ปาเท ปกฺขาเลสิ.  อปิสฺสุ ภควนฺตํ นาเมน จ อาวุโสวาเทน จ สมุทาจรนฺติ. 
evaṃ vutte bhagavā pañcavaggiye bhikkhū etad avoca: mā bhikkhave tathāgataṃ nāmena ca āvusovādena ca samudācaratha.  arahaṃ bhikkhave tathāgato sammāsambuddho. odahatha bhikkhave sotaṃ, amataṃ adhigataṃ, ahaṃ anusāsāmi, ahaṃ dhammaṃ desemi.  yathānusiṭṭhaṃ tathā paṭipajjamānā na cirass’ eva yass’ atthāya kulaputtā sammad eva agārasmā anagāriyaṃ pabbajanti, tad anuttaraṃ brahmacariyapariyosānam diṭṭheva dhamme sayaṃ abhiññā sacchikatvā upasampajja viharissathā ’ti. |12| 
When they spoke to him thus, the Blessed One said to the five Bhikkhus: 'Do not address, O Bhikkhus, the Tathâgata by his name, and with the appellation "Friend."  The Tathâgata, O Bhikkhus, is the holy, absolute Sambuddha. Give ear, O Bhikkhus! The immortal (Amata) has been won (by me);  I will teach you; to you I preach the doctrine. If you walk in the way I show you, you will, ere long, have penetrated to the truth, having yourselves known it and seen it face to face; and you will live in the possession of that highest goal of the holy life, for the sake of which noble youths fully give up the world and go forth into the houseless state. 
เมื่อพระปัญจวัคคีย์กล่าวอย่างนั้นแล้ว พระผู้มีพระภาคเจ้าได้ตรัสห้ามพระปัญจวัคคีย์ว่า ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย พวกเธออย่าเรียกตถาคตโดยระบุชื่อ และอย่าใช้คำว่า อาวุโส  ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ตถาคตเป็นอรหันต์ ตรัสรู้เองโดยชอบ พวกเธอจงเงี่ยโสตสดับ เราได้บรรลุอมตธรรมแล้ว  เราจะสั่งสอน จะแสดงธรรม พวกเธอปฏิบัติอยู่ตามที่เราสั่งสอนแล้ว ไม่ช้าสักเท่าไร จักทำให้แจ้งซึ่งคุณอันยอดเยี่ยม อันเป็นที่สุดแห่งพรหมจรรย์ ที่กุลบุตรทั้งหลาย ออกจากเรือนบวชเป็นบรรพชิตโดยชอบต้องการนั้น ด้วยปัญญาอันยิ่งด้วยตนเองในปัจจุบันเข้าถึงอยู่. 
เอวํ วุตฺเต ภควา ปญฺจวคฺคิเย ภิกฺขู เอตทโวจ “มา ภิกฺขเว ตถาคตํ นาเมน จ อาวุโสวาเทน จ สมุทาจรถ .  อรหํ ภิกฺขเว ตถาคโต สมฺมาสมฺพุทฺโธ โอทหถ ภิกฺขเว โสตํ อมตมธิคตํ อหมนุสาสามิ อหํ ธมฺมํ เทเสมิ.  ยถานุสิฏฺฐํ ตถา ปฏิปชฺชมานา นจิรสฺเสว ยสฺสตฺถาย กุลปุตฺตา สมฺมเทว อคารสฺมา อนคาริยํ ปพฺพชนฺติ ตทนุตฺตรํ พฺรหฺมจริยปริโยสานํ ทิฏฺเฐว ธมฺเม สยํ อภิญฺญา สจฺฉิกตฺวา อุปสมฺปชฺช วิหริสฺสถา”ติ. 
evaṃ vutte pañcavaggiyā bhikkhū bhagavantaṃ etad avocuṃ:  tāya pi kho tvaṃ āvuso Gotama cariyāya tāya paṭipadāya tāya dukkarakārikāya n’ ev’ ajjhagā uttarimanussadhammaṃ alamariyañāṇadassanavisesaṃ, kim pana tvaṃ etarahi bāhulliko padhānavibbhanto āvatto bāhullāya adhigamissasi uttarimanussadhammaṃ alamariyañāṇadassanavisesan ti. |13| 
When he had spoken thus, the five monks said to the Blessed One:  'By those observances, friend Gotama, by those practices, by those austerities, you have not been able to obtain power surpassing that of men, nor the superiority of full and holy knowledge and insight. How will you now, living in abundance, having given up your exertions, having turned to an abundant life, be able to obtain power surpassing that of men, and the superiority of full and holy knowledge and insight?' 
เมื่อพระผู้มีพระภาคเจ้าตรัสอย่างนี้แล้ว พระปัญจวัคคีย์พูดทูลค้านพระผู้มีพระภาคเจ้าว่า  อาวุโสโคตม แม้ด้วยจริยานั้น แม้ด้วยปฏิปทานั้น แม้ด้วยทุกกรกิริยานั้น พระองค์ก็ยังไม่ได้บรรลุอุตตริมนุสสธรรมอันเป็นความรู้ความเห็นพิเศษอย่างประเสริฐ อย่างสามารถ ก็บัดนี้ พระองค์เป็นผู้มักมากคลายความเพียรเวียนมาเพื่อความเป็นคนมักมาก ไฉนจักบรรลุอุตตริมนุสสธรรม อันเป็นความรู้ความเห็นพิเศษอย่างประเสริฐ อย่างสามารถได้เล่า. 
เอวํ วุตฺเต ปญฺจวคฺคิยา ภิกฺขู ภควนฺตํ เอตทโวจุํ  “ตายปิ โข ตฺวํ อาวุโส โคตม อิริยาย ตาย ปฏิปทาย ตาย ทุกฺกรการิกาย เนวชฺฌคา อุตฺตริ มนุสฺสธมฺมา อลมริยญาณทสฺสนวิเสสํ กึ ปน ตฺวํ เอตรหิ พาหุลฺลิโก ปธานวิพฺภนฺโต อาวตฺโต พาหุลฺลาย อธิคมิสฺสสิ อุตฺตริ มนุสฺสธมฺมา อลมริยญาณทสฺสนวิเสส”นฺติ? 
evaṃ vutte bhagavā pañcavaggiye bhikkhū etad avoca:  na bhikkhave tathāgato bāhulliko, na padhānavibbhanto, na āvatto bāhullāya.  arahaṃ bhikkhave tathāgato sammāsambuddho.  odahatha bhikkhave sotaṃ, amataṃ adhigataṃ, ahaṃ anusāsāmi, ahaṃ dhammaṃ desemi.  yathānusiṭṭham tathā paṭipajjamānā na cirass’ eva yass’ atthāya kulaputtā sammad eva agārasmā anagāriyaṃ pabbajanti, tad anuttaraṃ brahmacariyapariyosānaṃ diṭṭheva dhamme sayaṃ abhiññā sacchikatvā upasampajja viharissathā ’ti. |14| 
When they had spoken thus, the Blessed One said to the five Bhikkhus:  'The Tathâgata, O Bhikkhus, does not live in abundance, he has not given up exertion, he has not turned to an abundant life.  The Tathâgata, O Bhikkhus, is the holy, absolute Sambuddha.  Give ear, O Bhikkhus; the immortal has been won (by me); I will teach you, to you I will preach the doctrine.  If you walk in the way I show you, you will, ere long, have penetrated to the truth, having yourselves known it and seen it face to face; and you will live in the possession of that highest goal of the holy life, for the sake of which noble youths fully give up the world and go forth into the houseless state.' 
เมื่อพระปัญจวัคคีย์กราบทูลอย่างนี้แล้ว พระผู้มีพระภาคเจ้าตรัสว่า  ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ตถาคตไม่ใช่เป็นคนมักมาก ไม่ได้เป็นคนคลายความเพียรไม่ได้เวียนมาเพื่อความเป็นคนมักมาก  ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ตถาคตเป็นอรหันต์ตรัสรู้เองโดยชอบ  พวกเธอจงเงี่ยโสตสดับ เราได้บรรลุอมตธรรมแล้ว เราจะสั่งสอน จะแสดงธรรม  พวกเธอปฏิบัติอยู่ตามที่เราสั่งสอนแล้ว ไม่ช้าสักเท่าไร จักทำให้แจ้งซึ่งคุณอันยอดเยี่ยม อันเป็นที่สุดแห่งพรหมจรรย์ ที่กุลบุตรทั้งหลายออกจากเรือนบวชเป็นบรรพชิตโดยชอบต้องการนั้น ด้วยปัญญาอันยิ่งด้วยตนเองในปัจจุบันเข้าถึงอยู่. 
เอวํ วุตฺเต ภควา ปญฺจวคฺคิเย ภิกฺขู เอตทโวจ  “น ภิกฺขเว ตถาคโต พาหุลฺลิโก น ปธานวิพฺภนฺโต น อาวตฺโต พาหุลฺลาย  อรหํ ภิกฺขเว ตถาคโต สมฺมาสมฺพุทฺโธ.  โอทหถ ภิกฺขเว โสตํ อมตมธิคตํ อหมนุสาสามิ อหํ ธมฺมํ เทเสมิ.  ยถานุสิฏฺฐํ ตถา ปฏิปชฺชมานา นจิรสฺเสว ยสฺสตฺถาย กุลปุตฺตา สมฺมเทว อคารสฺมา อนคาริยํ ปพฺพชนฺติ ตทนุตฺตรํ พฺรหฺมจริยปริโยสานํ ทิฏฺเฐวธมฺเม สยํ อภิญฺญา สจฺฉิกตฺวา อุปสมฺปชฺช วิหริสฺสถา”ติ. 
dutiyam pi kho pañcavaggiyā bhikkhū bhagavantaṃ etad avocuṃ --pa--, dutiyam pi kho bhagavā pañcavaggiye bhikkhū etad avoca --pa--, tatiyam pi kho pañcavaggiyā bhikkhū bhagavantaṃ etad avocuṃ:  tāya (10) pi kho tvaṃ āvuso Gotama cariyāya tāya paṭipadāya . . . alamariyañāṇadassanavisesan ti. |15| 
And the five Bhikkhus said to the Blessed One a second time (as above). And the Blessed One said to the five Bhikkhus a second time (as above). And the five Bhikkhus said to the Blessed One a third time (as above). 
แม้ครั้งที่สอง พระปัญจวัคคีย์ได้ทูลค้านพระผู้มีพระภาคเจ้าว่า . . . แม้ครั้งที่สอง พระผู้มีพระภาคเจ้าก็ได้ตรัสว่า . . . แม้ครั้งที่สาม พระปัญจวัคคีย์ได้ทูลค้านพระผู้มีพระภาคเจ้าว่า  อาวุโสโคดมแม้ด้วยจริยานั้น แม้ด้วยปฏิปทานั้น แม้ด้วยทุกกรกิริยานั้น พระองค์ก็ยังไม่ได้บรรลุอุตตริมนุสสธรรม อันเป็นความรู้ความเห็นพิเศษอย่างประเสริฐอย่างสามารถ ก็บัดนี้พระองค์เป็นผู้มักมาก คลายความเพียร เวียนมาเพื่อความเป็นคนมักมาก ไฉนจักบรรลุอุตตริมนุสสธรรม อันเป็นความรู้ความเห็นพิเศษอย่างประเสริฐ อย่างสามารถได้เล่า. 
ทุติยมฺปิ โข ปญฺจวคฺคิยา ภิกฺขู ภควนฺตํ เอตทโวจุํฯเปฯ. ทุติยมฺปิ โข ภควา ปญฺจวคฺคิเย ภิกฺขู เอตทโวจฯเปฯ. ตติยมฺปิ โข ปญฺจวคฺคิยา ภิกฺขู ภควนฺตํ เอตทโวจุํ  “ตายปิ โข ตฺวํ อาวุโส โคตม อิริยาย ตาย ปฏิปทาย ตาย ทุกฺกรการิกาย เนวชฺฌคา อุตฺตริ มนุสฺสธมฺมา อลมริยญาณทสฺสนวิเสสํ กึ ปน ตฺวํ เอตรหิ พาหุลฺลิโก ปธานวิพฺภนฺโต อาวตฺโต พาหุลฺลาย อธิคมิสฺสสิ อุตฺตริ มนุสฺสธมฺมา อลมริยญาณทสฺสนวิเสส”นฺติ? 
evaṃ vutte bhagavā pañcavaggiye bhikkhū etad avoca:  abhijānātha me no tumhe bhikkhave ito pubbe evarūpaṃ bhāsitaṃ etan ti.  no h’ etaṃ bhante ’ti. arahaṃ bhikkhave tathāgato sammāsambuddho.  odahatha . . . viharissathā ’ti.  asakkhi kho bhagavā pañcavaggiye bhikkhū saññāpetuṃ. atha kho pañcavaggiyā bhikkhū bhagavantaṃ puna sussūsiṃsu sotaṃ odahiṃsu aññācittaṃ upaṭṭhāpesuṃ. |16| 
When they had spoken thus, the Blessed One said to the five Bhikkhus:  'Do you admit, O Bhikkhus, that I have never spoken to you in this way before this day?'  'You have never spoken so, Lord.' 'The Tathâgata, O Bhikkhus, is the holy, absolute Sambuddha. Give ear, O Bhikkhus, &c. (as above).'  And the Blessed One was able to convince the five Bhikkhus; and the five Bhikkhus again listened willingly to the Blessed One; they gave ear, and fixed their mind on the knowledge (which the Buddha imparted to them). 
เมื่อพระปัญจวัคคีย์กราบทูลอย่างนี้แล้ว พระผู้มีพระภาคเจ้าได้ตรัสว่า  ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย พวกเธอยังจำได้หรือว่า ถ้อยคำเช่นนี้ เราได้เคยพูดแล้วในปางก่อนแต่กาลนี้.  พระปัญจวัคคีย์กราบทูลว่า คำนี้ไม่เคยได้ฟังเลย พระพุทธเจ้าข้า. พระผู้มีพระภาคเจ้าตรัสว่า ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ตถาคตเป็นอรหันต์ตรัสรู้เองโดยชอบ  พวกเธอจงเงี่ยโสตสดับ เราได้บรรลุอมตธรรมแล้ว เราจะสั่งสอนจักแสดงธรรม พวกเธอปฏิบัติอยู่ตามที่เราสั่งสอนแล้ว ไม่ช้าสักเท่าไรจักทำให้แจ้งซึ่งคุณอันยอดเยี่ยม อันเป็นที่สุดแห่งพรหมจรรย์ ที่กุลบุตรทั้งหลายออกจากเรือนบวชเป็นบรรพชิตโดยชอบต้องการนั้น ด้วยปัญญาอันยิ่งด้วยตนเองในปัจจุบันเข้าถึงอยู่  พระผู้มีพระภาคเจ้าทรงสามารถให้พระปัญจวัคคีย์ยินยอมได้แล้ว ลำดับนั้นพระปัญจวัคคีย์ ได้ยอมเชื่อฟังพระผู้มีพระภาคเจ้า เงี่ยโสตสดับ ตั้งจิตเพื่อรู้ยิ่ง. 
เอวํ วุตฺเต ภควา ปญฺจวคฺคิเย ภิกฺขู เอตทโวจ  “อภิชานาถ เม โน ตุมฺเห ภิกฺขเว อิโต ปุพฺเพ เอวรูปํ ปภาวิตเมต”นฺติ ?  “โนเหตํ ภนฺเต”. อรหํ ภิกฺขเว ตถาคโต สมฺมาสมฺพุทฺโธ  โอทหถ ภิกฺขเว โสตํ อมตมธิคตํ อหมนุสาสามิ อหํ ธมฺมํ เทเสมิ. ยถานุสิฏฺฐํ ตถา ปฏิปชฺชมานา นจิรสฺเสว ยสฺสตฺถาย กุลปุตฺตา สมฺมเทว อคารสฺมา อนคาริยํ ปพฺพชนฺติ ตทนุตฺตรํพฺรหฺมจริยปริโยสานํ ทิฏฺเฐวธมฺเม สยํ อภิญฺญา สจฺฉิกตฺวา อุปสมฺปชฺช วิหริสฺสถาติ.  อสกฺขิ โข ภควา ปญฺจวคฺคิเย ภิกฺขู สญฺญาเปตุํ. อถ โข ปญฺจวคฺคิยา ภิกฺขู ภควนฺตํ สุสฺสูสึสุ โสตํ โอทหึสุ อญฺญา จิตฺตํ อุปฏฺฐาเปสุํ. 
atha kho bhagavā pañcavaggiye bhikkhū āmantesi:  dve ’me bhikkhave antā pabbajitena na sevitabbā. katame dve.  yo cāyaṃ kāmesu kāmasukhallikānuyogo hīno gammo pothujjaniko anariyo anatthasaṃhito, yo cāyaṃ attakilamathānuyogo dukkho anariyo anatthasaṃhito, ete kho bhikkhave ubho ante anupagamma majjhimā paṭipadā tathāgatena abhisambuddhā cakkhukaraṇī ñāṇakaraṇī upasamāya abhiññāya sambodhāya nibbānāya saṃvattati. |17| 
And the Blessed One thus addressed the five Bhikkhus:  'There are two extrernes, O Bhikkhus, which he who has given up the world, ought to avoid. What are these two extremes?  A life given to pleasures, devoted to pleasures and lusts: this is degrading, sensual, vulgar, ignoble, and profitless; and a life given to mortifications: this is painful, ignoble, and profitless. By avoiding these two extrernes, O Bhikkhus, the Tathâgata has gained the knowledge of the Middle Path which leads to insight, which leads to wisdom, which conduces to calm, to knowledge, to the Sambodhi, to Nirvâna. 
ธัมมจักกัปปวัตตนสูตร ปฐมเทศนา [๑๓] ลำดับนั้น พระผู้มีพระภาคเจ้ารับสั่งกะพระปัญจวัคดีย์ว่า  ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ที่สุด ๒ อย่างนี้อันบรรพชิตไม่ควรเสพคือ.  การประกอบตนให้พัวพันด้วยกามสุขในกามทั้งหลาย เป็นธรรมอันเลวเป็นของชาวบ้าน เป็นของปุถุชน ไม่ใช่ของพระอริยะ ไม่ประกอบด้วยประโยชน์ ๑.การประกอบความเหน็ดเหนื่อยแก่ตน เป็นความลำบาก ไม่ใช่ของพระอริยะ ไม่ประกอบด้วยประโยชน์ ๑. ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ปฏิปทาสายกลาง ไม่เข้าไปใกล้ที่สุดสองอย่างนั้นนั่นตถาคตได้ตรัสรู้แล้ว ด้วยปัญญาอันยิ่ง ทำดวงตาให้เกิด ทำญาณให้เกิดย่อมเป็นไปเพื่อความสงบ เพื่อความรู้ยิ่ง เพื่อความตรัสรู้ เพื่อนิพพาน. 
๑๓. อถ โข ภควา ปญฺจวคฺคิเย ภิกฺขู อามนฺเตสิ  “ ทฺเวเม ภิกฺขเว อนฺตา ปพฺพชิเตน น เสวิตพฺพา. กตเม ทฺเว ?  โย จายํ กาเมสุ กามสุขลฺลิกานุโยโค หีโน คมฺโม โปถุชฺชนิโก อนริโย อนตฺถสํหิโต โย จายํ อตฺตกิลมถานุโยโค ทุกฺโข อนริโย อนตฺถสํหิโต. เอเต โข ภิกฺขเว อุโภ อนฺเต อนุปคมฺม มชฺฌิมา ปฏิปทา ตถาคเตน อภิสมฺพุทฺธา จกฺขุกรณี ญาณกรณี อุปสมาย อภิญฺญาย สมฺโพธาย นิพฺพานาย สํวตฺตติ. 
katamā ca sā {bhikkhave} majjhimā paṭipadā tathāgatena abhisambuddhā cakkhukaraṇī ñāṇakaraṇī upasamāya abhiññāya sambodhāya nibbānāya saṃvattati.  ayam eva ariyo aṭṭhaṅgiko maggo, seyyath’ īdaṃ:  sammādiṭṭhi sammāsaṃkappo sammāvācā sammākammanto sammāājīvo sammāvāyāmo sammāsati sammāsamādhi.  ayaṃ kho sā bhikkhave majjhimā paṭipadā tathāgatena abhisambuddhā cakkhukaraṇī ñāṇakaraṇī upasamāya abhiññāya sambodhāya nibbānāya saṃvattati. |18| 
'Which, O Bhikkhus, is this Middle Path the knowledge of which the Tathâgata has gained, which leads to insight, which leads to wisdom, which conduces to calm, to knowledge, to the Sambodhi, to Nirvâna?  It is the holy eightfold Path, namely,  Right Belief, Right Aspiration, Right Speech, Right Conduct, Right Means of Livelihood, Right Endeavour, Right Mernory, Right Meditation.  This, O Bhikkhus, is the Middle Path the knowledge of which the Tathâgata has gained, which leads to insight, which leads to wisdom, which conduces to calm, to knowledge, to the Sambodhi, to Nirvâna. 
ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ก็ปฏิปทาสายกลายที่ตถาคตได้ตรัสรู้แล้วด้วยปัญญาอันยิ่ง ทำดวงตาให้เกิด ทำญาณให้เกิด ย่อมเป็นไปเพื่อความสงบเพื่อความรู้ยิ่ง เพื่อความตรัสรู้ เพื่อนิพพานนั้น เป็นไฉน ?  ปฏิปทาสายกลางนั้น ได้แก่อริยมรรคมีองค์ ๘ นี้แหละ คือ  ปัญญาอันเห็นชอบ ๑ ความดำริชอบ ๑ เจรจาชอบ ๑ การงานชอบ ๑ เลี้ยงชีวิตชอบ ๑ พยายามชอบ ๑ ระลึกชอบ ๑ ตั้งจิตชอบ ๑.  ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย นี้แลคือปฏิปทาสายกลายนั้น ที่ตถาคตได้ตรัสรู้แล้วด้วยปัญญาอันยิ่ง ทำดวงตาให้เกิด ทำญาณได้เกิด ย่อมเป็นไปเพื่อความสงบเพื่อความรู้ยิ่ง เพื่อความตรัสรู้ เพื่อนิพพาน. 
กตมา จ สา ภิกฺขเว มชฺฌิมา ปฏิปทา ตถาคเตน อภิสมฺพุทฺธา จกฺขุกรณี ญาณกรณี อุปสมาย อภิญฺญาย สมฺโพธาย นิพฺพานาย สํวตฺตติ?  อยเมว อริโย อฏฺฐงฺคิโก มคฺโค เสยฺยถิทํ  สมฺมาทิฏฺฐิ สมฺมาสงฺกปฺโป สมฺมาวาจา สมฺมากมฺมนฺโต สมฺมาอาชีโว สมฺมาวายาโม สมฺมาสติ สมฺมาสมาธิ.  อยํ โข สา ภิกฺขเว มชฺฌิมา ปฏิปทา ตถาคเตน อภิสมฺพุทฺธา จกฺขุกรณี ญาณกรณี อุปสมาย อภิญฺญาย สมฺโพธาย นิพฺพานาย สํวตฺตติ. 
idaṃ kho pana bhikkhave dukkhaṃ ariyasaccaṃ, jāti pi dukkhā, jarāpi dukkhā, vyādhi pi dukkhā, maraṇam pi dukkhaṃ, appiyehi sampayogo dukkho, piyehi vippayogo dukkho, yam p’ icchaṃ na labhati tam pi dukkhaṃ, saṃkhittena pañc’ upādānakkhandhāpi dukkhā. |19| 
'This, O Bhikkhus, is the Noble Truth of Suffering: Birth is suffering; decay is suffering; illness is suffering; death is suffering. Presence of objects we hate, is suffering; Separation from objects we love, is suffering; not to obtain what we desire, is suffering. Briefly, the fivefold clinging to existence is suffering. 
[๑๔] ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ข้อนี้แลเป็นทุกขอริยสัจ คือ ความเกิดก็เป็นทุกข์ ความแก่ก็เป็นทุกข์ ความเจ็บไข้ก็เป็นทุกข์ ความตายก็เป็นทุกข์ความประจวบด้วยสิ่งที่เป็นที่รักก็เป็นทุกข์ ความพลัดพรากจากสิ่งที่เป็นที่รักก็เป็นทุกข์ ปรารถนาสิ่งใดไม่ได้สิ่งนั้นก็เป็นทุกข์ โดยย่นย่อ อุปาทานขันธ์ ๕เป็นทุกข์ 
๑๔. “อิทํ โข ปน ภิกฺขเว ทุกฺขํ อริยสจฺจํ. ชาติปิ ทุกฺขา ชราปิ ทุกฺขา พฺยาธิปิ ทุกฺโข มรณมฺปิ ทุกฺขํ อปฺปิเยหิ สมฺปโยโค ทุกฺโข ปิเยหิ วิปฺปโยโค ทุกฺโข ยมฺปิจฺฉํ น ลภติ ตมฺปิ ทุกฺขํ. สํขิตฺเตน ปญฺจุปาทานกฺขนฺธา ทุกฺขา. 
idaṃ kho pana bhikkhave dukkhasamudayaṃ ariyasaccaṃ, yāyaṃ taṇhā ponobbhavikā nandirāgasahagatā tatratatrābhinandinī, seyyath’ īdaṃ: kāmataṇhā bhavataṇhā vibhavataṇhā. |20| 
'This, O Bhikkhus, is the Noble Truth of the Cause of suffering: Thirst, that leads to re-birth, accornpanied by pleasure and lust, finding its delight here and there. (This thirst is threefold), namely, thirst for pleasure, thirst for existence, thirst for prosperity. 
ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ข้อนี้แลเป็นทุกขสมุทยอริยสัจ คือตัณหาอันทำให้เกิดอีก ประกอบด้วยความกำหนัดด้วยอำนาจความเพลิน มีปรกติเพลิดเพลินในอารมณ์นั้นๆ คือ กามตัณหา ภวตัณหา วิภวตัณหา. 
“อิทํ โข ปน ภิกฺขเว ทุกฺขสมุทยํ อริยสจฺจํ ยายํ ตณฺหา โปโนพฺภวิกา นนฺทีราคสหคตา ตตฺรตตฺราภินนฺทินี เสยฺยถิทํ กามตณฺหา ภวตณฺหา วิภวตณฺหา. 
idaṃ kho pana bhikkhave dukkhanirodhaṃ ariyasaccam, yo tassā yeva taṇhāya asesavirāganirodho cāgo paṭinissaggo mutti anālayo. |21| 
'This, O Bhikkhus, is the Noble Truth of the Cessation of suffering: (It ceases with) the complete cessation of this thirst,--a cessation which consists in the absence of every passion,--with the abandoning of this thirst, with the doing away with it, with the deliverance from it, with the destruction of desire. 
ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ข้อนี้แลเป็นทุกขนิโรธอริยสัจ คือ ตัณหานั่นแลดับ โดไม่เหลือด้วยมรรคคือวิราคะ สละ สละคืน ปล่อยไป ไม่พัวพัน. 
“อิทํ โข ปน ภิกฺขเว ทุกฺขนิโรธํ อริยสจฺจํ โย ตสฺสา เยว ตณฺหาย อเสสวิราคนิโรโธ จาโค ปฏินิสฺสคฺโค มุตฺติ อนาลโย. 
idaṃ kho pana bhikkhave dukkhanirodhagāminī paṭipadā ariyasaccaṃ, ayam eva ariyo aṭṭhaṅgiko maggo, seyyath’ īdaṃ: sammādiṭṭhi . . . sammāsamādhi. |22| 
'This, O Bhikkhus, is the Noble Truth of the Path which leads to the cessation of suffering: that holy eightfold Path, that is to say, Right Belief, Right Aspiration, Right Speech, Right Conduct, Right Means of Livelihood, Right Endeavour, Right Memory, Right Meditation. 
ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ข้อนี้แลเป็นทุกขนิโรธคามินีปฏิปทาอริยสัจคืออริยมรรคมีองค์ ๘ นี้แหละ คือ ปัญญาเห็นชอบ ๑. . . ตั้งจิตชอบ ๑. 
“อิทํ โข ปน ภิกฺขเว ทุกฺขนิโรธคามินี ปฏิปทา อริยสจฺจํ อยเมว อริโย อฏฺฐงฺคิโก มคฺโค เสยฺยถิทํ สมฺมาทิฏฺฐิ สมฺมาสงฺกปฺโป สมฺมาวาจา สมฺมากมฺมนฺโต สมฺมาอาชีโว สมฺมาวายาโม สมฺมาสติ สมฺมาสมาธิ. 
(11) idaṃ dukkhaṃ ariyasaccan ti me bhikkhave pubbe ananussutesu dhammesu cakkhuṃ udapādi, ñāṇaṃ udapādi, paññā udapādi, vijjā udapādi, āloko udapādi.  taṃ kho pan’ idaṃ dukkhaṃ ariyasaccaṃ pariññeyyan ti me bhikkhave --la-- pariññātan ti me bhikkhave pubbe ananussutesu dhammesu cakkhuṃ udapādi, ñāṇaṃ udapādi, paññā udapādi, vijjā udapādi, āloko udapādi. |23| 
'"This is the Noble Truth of Suffering;"--thus, O Bhikkhus, of this doctrine, which formerly had not been heard of, have I obtained insight, knowledge, understanding, wisdom, intuition.  "This Noble Truth of Suffering must be understood," thus, O Bhikkhus, of this doctrine, . . . . (&c., down to intuition). "This Noble Truth of Suffering I have understood," thus, O Bhikkhus, of this doctrine, . . . . (&c.,down to intuition). 
[๑๕] ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ดวงตา ญาณ ปัญญา วิชชา แสงสว่างได้เกิดขึ้นแล้ว แก่เราในธรรมทั้งหลายที่เราไม่เคยฟังมาก่อนว่า นี้ทุกขอริยสัจ.  ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ดวงตา ญาณ ปัญญา วิชชา แสงสว่าง ได้เกิดขึ้นแล้วแก่เราในธรรมทั้งหลายที่เราไม่เคยฟังมาก่อนว่า ทุกขอริยสัจนี้นั้นแลควรกำหนดรู้. ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ดวงตา ญาณ ปัญญา วิชชา แสงสว่าง ได้เกิดขึ้นแล้วแก่เราในธรรมทั้งหลายที่เราไม่เคยฟังมาก่อนว่า ทุกขอริยสัจนี้นั้นแล เราก็ได้กำหนดรู้แล้ว. 
๑๕. “อิทํ ทุกฺขํ อริยสจฺจนฺติ เม ภิกฺขเว ปุพฺเพ อนนุสฺสุเตสุ ธมฺเมสุ จกฺขุํ อุทปาทิ ญาณํ อุทปาทิ ปญฺญา อุทปาทิ วิชฺชา อุทปาทิ อาโลโก อุทปาทิ.  ตํ โข ปนิทํ ทุกฺขํ อริยสจฺจํ ปริญฺเญยฺยนฺติ เม ภิกฺขเว ปุพฺเพ อนนุสฺสุเตสุ ธมฺเมสุ จกฺขุํ อุทปาทิ ญาณํ อุทปาทิ ปญฺญา อุทปาทิ วิชฺชา อุทปาทิ อาโลโก อุทปาทิ. ตํ โข ปนิทํ ทุกฺขํ อริยสจฺจํ ปริญฺญาตนฺติ เม ภิกฺขเว ปุพฺเพ อนนุสฺสุเตสุ ธมฺเมสุ จกฺขุํ อุทปาทิ ญาณํ อุทปาทิ ปญฺญา อุทปาทิ วิชฺชา อุทปาทิ อาโลโก อุทปาทิ. 
idaṃ dukkhasamudayaṃ ariyasaccan ti me bhikkhave . . . āloko udapādi. taṃ kho pan’ idaṃ dukkhasamudayaṃ ariyasaccaṃ pahātabban ti me bhikkhave --la-- pahīnan ti me bhikkhave . . . āloko udapādi. |24| 
'"This is the Noble Truth of the Cause of suffering," thus, O Bhikkhus, (&c.) "This Noble Truth of the Cause of suffering must be abandoned has been abandoned by me," thus, O Bhikkhus, (&c.) 
ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ดวงตา ญาณ ปัญญา วิชชา แสงสว่าง ได้เกิดขึ้นแล้วแก่เราในธรรมทั้งหลายที่เราไม่เคยฟังมาก่อนว่า นี้ทุกขสมุทยอริยสัจ.ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ดวงตา ญาณ ปัญญา วิชชา แสงสว่าง ได้เกิดขึ้นแล้วแก่เราในธรรมทั้งหลายที่เราไม่เคยฟังมาก่อนว่า ทุกขสมุทยอริยสัจนี้นั้นแล ควรละเสีย. ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ดวงตา ญาณ ปัญญา วิชชา แสงสว่าง ได้เกิดขึ้นแล้วแก่เราในธรรมทั้งหลายที่เราไม่เคยฟังมาก่อนว่า ทุกขสมุทยอริยสัจนี้นั้นแล เราได้ละแล้ว. 
“อิทํ ทุกฺขสมุทยํ อริยสจฺจนฺติ เม ภิกฺขเว ปุพฺเพ อนนุสฺสุเตสุ ธมฺเมสุ จกฺขุํ อุทปาทิ ญาณํ อุทปาทิ ปญฺญา อุทปาทิ วิชฺชา อุทปาทิ อาโลโก อุทปาทิ. ตํ โข ปนิทํ ทุกฺขสมุทยํ อริยสจฺจํ ปหาตพฺพนฺติ เม ภิกฺขเว ปุพฺเพ อนนุสฺสุเตสุ ธมฺเมสุ จกฺขุํ อุทปาทิ ญาณํ อุทปาทิ ปญฺญา อุทปาทิ วิชฺชา อุทปาทิ อาโลโก อุทปาทิ. ตํ โข ปนิทํ ทุกฺขสมุทยํ อริยสจฺจํ ปหีนนฺติ เม ภิกฺขเว ปุพฺเพ อนนุสฺสุเตสุ ธมฺเมสุ จกฺขุํ อุทปาทิ ญาณํ อุทปาทิ ปญฺญา อุทปาทิ วิชฺชา อุทปาทิ อาโลโก อุทปาทิ. 
idaṃ dukkhanirodhaṃ ariyasaccan ti me bhikkhave . . . āloko udapādi.  taṃ kho pan’ idaṃ dukkhanirodhaṃ ariyasaccaṃ sacchikātabban ti me bhikkhave --la-- sacchikatan ti me bhikkhave . . . āloko udapādi. |25| 
'"This is the Noble Truth of the Cessation of suffering," thus, O Bhikkhus, (&c.)  "This Noble Truth of the Cessation of suffering must be seen face to face . . . . has been seen by me face to face," thus, O Bhikkhus, (&c.) 
ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ดวงตา ญาณ ปัญญา วิชชา แสงสว่าง ได้เกิดขึ้นแล้วแก่เราในธรรมทั้งหลายที่เราไม่เคยฟังมาก่อนว่า นี้ทุกขนิโรธอริยสัจ.  ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ดวงตา ญาณ ปัญญา วิชชา แสงสว่างได้เกิดขึ้นแล้วแก่เราในธรรมทั้งหลายที่เราไม่เคยฟังมาก่อนว่า ทุกขนิโรธอริยสัจนี้นั้นแลควรทำให้แจ้ง. ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ดวงตา ญาณ ปัญญา วิชชา แสงสว่าง ได้เกิดขึ้นแล้วแก่เราในธรรมทั้งหลายที่เราไม่เคยฟังมาก่อนว่า ทุกขนิโรธอริยสัจนี้นั้นแล เราทำให้แจ้งแล้ว. 
“อิทํ ทุกฺขนิโรธํ อริยสจฺจนฺติ เม ภิกฺขเว ปุพฺเพ อนนุสฺสุเตสุ ธมฺเมสุ จกฺขุํ อุทปาทิ ญาณํ อุทปาทิ ปญฺญา อุทปาทิ วิชฺชา อุทปาทิ อาโลโก อุทปาทิ. ตํ โข ปนิทํ ทุกฺขนิโรธํ อริยสจฺจํ สจฺฉิกาตพฺพนฺติ เม ภิกฺขเว ปุพฺเพ อนนุสฺสุเตสุ ธมฺเมสุ จกฺขุํ อุทปาทิ ญาณํ อุทปาทิ ปญฺญา อุทปาทิ วิชฺชา อุทปาทิ อาโลโก อุทปาทิ.  ตํ โข ปนิทํ ทุกฺขนิโรธํ อริยสจฺจํ สจฺฉิกตนฺติ เม ภิกฺขเว ปุพฺเพ อนนุสฺสุเตสุ ธมฺเมสุ จกฺขุํ อุทปาทิ ญาณํ อุทปาทิ ปญฺญา อุทปาทิ วิชฺชา อุทปาทิ อาโลโก อุทปาทิ. 
idaṃ dukkhanirodhagāminī paṭipadā ariyasaccan ti me bhikkhave . . . āloko udapādi.  taṃ kho pan’ idaṃ dukkhanirodhagāminī paṭipadā ariyasaccaṃ bhāvetabban ti me bhikkhave -- la -- bhāvitan ti me bhikkhave . . . āloko udapādi. |26| 
'"This is the Noble Truth of the Path which leads to the cessation of suffering," thus, O Bhikkhus, (&c.)  "This Noble Truth of the Path which leads to the cessation of suffering, must be realised has been realised by me," thus, O Bhikkhus, (&c.) 
ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ดวงตา ญาณ ปัญญา วิชชา แสงสว่าง ได้เกิดขึ้นแล้วแก่เราในธรรมทั้งหลายที่เราไม่เคยฟังมาก่อนว่า นี้ทุกขนิโรธคามินี-ปฏิปทาอริยสัจ.  ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ดวงตา ญาณ ปัญญา วิชชา แสงสว่าง ได้เกิดขึ้นแล้วแก่เราในธรรมทั้งหลายที่เราไม่เคยฟังมาก่อนว่า ทุกขนิโรธคามินีปฏิปทาอริยสัจนี้นั้นแล ควรให้เจริญ. ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ดวงตา ญาณ ปัญญา วิชชา แสงสว่าง ได้เกิดขึ้นแล้วแก่เราในธรรมทั้งหลายที่เราไม่เคยฟังมาก่อนว่า ทุกขนิโรธคามินีปฏิปทาอริยสัจนี้นั้นแล เราให้เจริญแล้ว. 
“อิทํ ทุกฺขนิโรธคามินี ปฏิปทา อริยสจฺจนฺติ เม ภิกฺขเว ปุพฺเพ อนนุสฺสุเตสุ ธมฺเมสุ จกฺขุํ อุทปาทิ ญาณํ อุทปาทิ ปญฺญา อุทปาทิ วิชฺชา อุทปาทิ อาโลโก อุทปาทิ.  ตํ โข ปนิทํ ทุกฺขนิโรธคามินี ปฏิปทา อริยสจฺจํ ภาเวตพฺพนฺติ เม ภิกฺขเว ปุพฺเพ อนนุสฺสุเตสุ ธมฺเมสุ จกฺขุํ อุทปาทิ ญาณํ อุทปาทิ ปญฺญา อุทปาทิ วิชฺชา อุทปาทิ อาโลโก อุทปาทิ. ตํ โข ปนิทํ ทุกฺขนิโรธคามินี ปฏิปทา อริยสจฺจํ ภาวิตนฺติ เม ภิกฺขเว ปุพฺเพ อนนุสฺสุเตสุ ธมฺเมสุ จกฺขุํ อุทปาทิ ญาณํ อุทปาทิ ปญฺญา อุทปาทิ วิชฺชา อุทปาทิ อาโลโก อุทปาทิ. 
yāva kīvañ ca me bhikkhave imesu catusu ariyasaccesu evaṃ tiparivaṭṭaṃ dvādasākāraṃ yathābhūtaṃ ñāṇadassanaṃ na suvisuddhaṃ ahosi, n’ eva tāvāhaṃ bhikkhave sadevake loke samārake sabrahmake sassamaṇabrāhmaṇiyā pajāya sadevamanussāya anuttaraṃ sammāsambodhiṃ abhisambuddho ’ti paccaññāsiṃ. |27| 
'As long, O Bhikkhus, as I did not possess with perfect purity this true knowledge and insight into these four Noble Truths, with its three modifications and its twelve constituent parts; so long, O Bhikkhus, I knew that I had not yet obtained the highest, absolute Sambodhi in the world of men and gods, in Mâra's and Brahma's world, among all beings, Samanas and Brâhmanas, gods and men. 
ญาณทัสสนะมีรอบ ๓ มีอาการ ๑๒ [๑๖] ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ปัญญาอันรู้เห็นตามเป็นจริงของเราในอริยสัจ ๔ นี้ มีรอบ ๓ มีอาการ ๑๒ อย่างนี้ ยังไม่หมดจดดีแล้ว เพียงใดดูก่อนภิกษุทั้งหลาย เรายังยืนยันไม่ได้ว่า เป็นผู้ตรัสรู้สัมมาสัมโพธิญาณ อันยอดเยี่ยมในโลก พร้อมทั้งเทวโลก มารโลก พรหมโลก ในหมู่สัตว์ พร้อมทั้งสมณะพราหมณ์ เทวดาและมนุษย์ เพียงนั้น. 
๑๖. “ยาวกีวญฺจ เม ภิกฺขเว อิเมสุ จตูสุ อริยสจฺเจสุ เอวํ ติปริวฏฺฏํ ทฺวาทสาการํ ยถาภูตํ ญาณทสฺสนํ น สุวิสุทฺธํ อโหสิ เนว ตาวาหํ ภิกฺขเว สเทวเก โลเก สมารเก สพฺรหฺมเก สสฺสมณพฺราหฺมณิยา ปชาย สเทวมนุสฺสาย อนุตฺตรํ สมฺมาสมฺโพธึ อภิสมฺพุทฺโธติ ปจฺจญฺญาสึ. 
yato ca kho me bhikkhave imesu catusu ariyasaccesu evaṃ tiparivaṭṭaṃ dvādasākāraṃ yathābhūtaṃ ñāṇadassanaṃ suvisuddhaṃ ahosi,  athāhaṃ bhikkhave sadevake loke samārake sabrahmake sassamaṇabrāhmaṇiyā pajāya sadevamanussāya anuttaraṃ sammāsambodhiṃ abhisambuddho ’ti paccaññāsiṃ. |28| 
'But since I possessed, O Bhikkhus, with perfect purity this true knowledge and insight into these four Noble Truths, with its three modifications and its twelve constituent parts,  then I knew, O Bhikkhus, that I had obtained the highest, universal Sambodhi in the world of men and gods, . . . . (&c., as in § 27). 
ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ก็เมื่อใดแล ปัญญาอันรู้เห็นตามเป็นจริงของเราในอริยสัจ ๔ นี้ มีรอบ ๓ มีอาการ ๑๒ อย่างนี้ หมดจดดีแล้ว  ดูก่อนภิกษุทั้งหลายเมื่อนั้น เราจึงยืนยันได้ว่า เป็นผู้ตรัสรู้สัมมาสัมโพธิญาณ อันยอดเยี่ยมในโลก พร้อมทั้งเทวโลก มารโลก พรหมโลก ในหมู่สัตว์ พร้อมทั้งสมณะ พรามหณ์ เทวดา และมนุษย์. 
ยโต จ โข เม ภิกฺขเว อิเมสุ จตูสุ อริยสจฺเจสุ เอวํ ติปริวฏฺฏํ ทฺวาทสาการํ ยถาภูตํ ญาณทสฺสนํ สุวิสุทฺธํ อโหสิ  อถาหํ ภิกฺขเว สเทวเก โลเก สมารเก สพฺรหฺมเก สสฺสมณพฺราหฺมณิยา ปชาย สเทวมนุสฺสาย อนุตฺตรํ สมฺมาสมฺโพธึ อภิสมฺพุทฺโธติ ปจฺจญฺญาสึ. 
ñāṇañ ca pana me dassanaṃ udapādi:  akuppā me cetovimutti, ayaṃ antimā jāti, n’ atthi dāni punabbhavo ’ti.  idaṃ avoca bhagavā, attamanā pañcavaggiyā bhikkhū bhagavato bhāsitaṃ abhinandanti.  imasmiñ ca pana veyyākaraṇasmiṃ bhaññamāne āyasmato Koṇḍaññassa virajaṃ vītamalaṃ dhammacakkhuṃ udapādi yaṃ kiñci samudayadhammaṃ sabbaṃ taṃ nirodhadhamman ti. |29| 
'And this knowledge and insight arose in my mind:  "The emancipation of my mind cannot be lost; this is my last birth; hence I shall not be born again!"'  Thus the Blessed One spoke.  The five Bhikkhus were delighted, and they rejoiced at the words of the Blessed One. And when this exposition was propounded, the venerable Kondañña obtained the pure and spotless Eye of the Truth (that is to say, the following knowledge): 'Whatsoever is subject to the condition of origination, is subject also to the condition of cessation.' 
อนึ่ง ปัญญาอันรู้เห็นได้เกิดขึ้นแล้วแก่เราว่า  ความพันวิเศษของเราไม่กลับกำเริบ ชาตินี้เป็นที่สุด ภพใหม่ไม่มีต่อไป.  ก็แลเมื่อพระผู้มีพระภาคเจ้าตรัสไวยากรณภาษิตนี้อยู่  ดวงตาเห็นธรรมปราศจากธุลี ปราศจากมลทิน ได้เกิดขึ้นแก่ท่านพระโกณฑัญญะว่า สิ่งใดสิ่งหนึ่งมีความเกิดขึ้นเป็นธรรมดา สิ่งนั้นทั้งมวล มีความคับเป็นธรรมดา. 
ญาณญฺจ ปน เม ทสฺสนํ อุทปาทิ  อกุปฺปา เม วิมุตฺติ อยมนฺติมา ชาติ นตฺถิ ทานิ ปุนพฺภโว”ติ.  อิทมโวจ ภควา อตฺตมนา ปญฺจวคฺคิยา ภิกฺขู ภควโต ภาสิตํ อภินนฺทุนฺติ .  อิมสฺมิญฺจ ปน เวยฺยากรณสฺมึ ภญฺญมาเน อายสฺมโต โกณฺฑญฺญสฺส วิรชํ วีตมลํ ธมฺมจกฺขุํ อุทปาทิ “ยํ กิญฺจิ สมุทยธมฺมํ สพฺพํ ตํ นิโรธธมฺม”นฺติ. 
pavattite ca bhagavatā dhammacakke bhummā devā saddaṃ anussāvesuṃ:  evaṃ bhagavatā Bārāṇasiyaṃ Isipatane (12) migadāye anuttaraṃ dhammacakkaṃ pavattitaṃ appaṭivattiyaṃ samaṇena vā brāhmaṇena vā devena vā Mārena vā Brahmunā vā kenaci vā lokasmin ti.  bhummānaṃ devānaṃ saddaṃ sutvā Cātumahārājikā devā saddaṃ anussāvesuṃ --la-- Cātumahārājikānaṃ devānaṃ saddaṃ sutvā Tāvatiṃsā devā --la-- Yāmā devā --la-- Tusitā devā --la-- Nimmānaratī devā --la-- Paranimmitavasavattī devā --la-- Brahmakāyikā devā saddaṃ anussāvesuṃ:  evaṃ bhagavatā Bārāṇasiyaṃ Isipatane migadāye anuttaraṃ dhammacakkaṃ pavattitaṃ appaṭivattiyaṃ samaṇena vā brāhmaṇena vā devena vā Mārena vā Brahmunā vā kenaci vā lokasmin ti. |30| 
And as the Blessed One had founded the Kingdom of Truth (by propounding the four Noble Truths), the earth-inhabiting devas shouted:  'Truly the Blessed One has founded at Benares, in the deer park Isipatana, the highest kingdom of Truth, which may be opposed neither by a Samana nor by a Brâhmana, neither by a deva, nor by Mâra, nor by Brahma, nor by any being in the world.'  Hearing the shout of the earth-inhabiting devas, the kâtumahârâgika devas (gods belonging to the world of the four divine mahârâgas) shouted, . . . . (&c., as above). Hearing the shout of the kâtumahârâgika devas, the tâvatimsa devas, the yâma devas, the tusita devas, the nimmânarati devas, the paranimmitavasavatti devas, the brahmakâyika devas shouted:  'Truly the Blessed One, . . . .' (&c., as above). 
[๑๗] ครั้นพระผู้มีพระภาคเจ้าทรงประกาศธรรมจักรให้เป็นไปแล้วเหล่าภุมมเทวดาได้บันลือเสียงว่า  นั่นพระธรรมจักรอันยอดเยี่ยม พระผู้มีพระภาคเจ้าทรงประกาศให้เป็นไปแล้ว ณ ป่าอิสิปตนะมฤคทายวัน เขตพระนครพาราณสี อันสมณะ พราหมณ์ เทวดา มาร พรหม หรือใคร ๆ ในโลกจะปฏิวัติไม่ได้.  เทวดาชั้นจาตุมหาราช ได้ยินเสียงของพวกภุมมเทวดาแล้ว ก็บันลือเสียงต่อไป. เทวดาชั้นดาวดึงส์ ได้ยินเสียงของพวกเทวดาชั้นจาตุมหาราชแล้ว ก็บันลือเสียงต่อไป. เทวดาชั้นยามา . . . เทวดาชั้นดุสิต. . . เทวดาชั้นนิมมานรดี . . . เทวดาชั้นปรนิมมิตวสวัตดี . . . เทวดาที่นับเนื่องในหมู่พรหมได้ยินเสียงของพวกเทวดาชั้นปรนิมมิตวสวัตดีแล้ว ก็บันลือเสียงต่อไปว่า  นั่นพระธรรมจักรอันยอดเยี่ยม พระผู้มีพระภาคเจ้า ทรงประกาศให้เป็นไปแล้ว ณ ป่าอิสิปตนะมฤคทายวัน เขตพระนครพาราณสี อันสมณะ พราหมณ์ เทวดา มาร พรหม หรือใคร ๆ ในโลก จะปฏิวัติไม่ได้. 
๑๗. ปวตฺติเต จ ปน ภควตา ธมฺมจกฺเก ภุมฺมา เทวา สทฺทมนุสฺสาเวสุํ  “เอตํ ภควตา พาราณสิยํ อิสิปตเน มิคทาเย อนุตฺตรํ ธมฺมจกฺกํ ปวตฺติตํ อปฺปฏิวตฺติยํ สมเณน วา พฺราหฺมเณน วา เทเวน วา มาเรน วา พฺรหฺมุนา วา เกนจิ วา โลกสฺมิ”นฺติ.  ภุมฺมานํ เทวานํ สทฺทํ สุตฺวา จาตุมหาราชิกา เทวา สทฺทมนุสฺสาเวสุํฯเปฯ จาตุมหาราชิกานํ เทวานํ สทฺทํ สุตฺวา ตาวตึสา เทวาฯเปฯ ยามา เทวาฯเปฯ ตุสิตา เทวาฯเปฯ นิมฺมานรตี เทวาฯเปฯ ปรนิมฺมิตวสวตฺตี เทวาฯเปฯ พฺรหฺมกายิกา เทวา สทฺทมนุสฺสาเวสุํ  “เอตํ ภควตา พาราณสิยํ อิสิปตเน มิคทาเย อนุตฺตรํ ธมฺมจกฺกํ ปวตฺติตํ อปฺปฏิวตฺติยํ สมเณน วา พฺราหฺมเณน วา เทเวน วา มาเรน วา พฺรหฺมุนา วา เกนจิ วา โลกสฺมิ”นฺติ. 
iti ha tena khaṇena tena layena tena muhuttena yāva Brahmalokā saddo abbhuggacchi, ayañ ca kho dasasahassilokadhātu saṃkampi sampakampi sampavedhi, appamāṇo ca uḷāro obhāso loke pāturahosi atikkamma devānaṃ devānubhāvaṃ.  atha kho bhagavā imaṃ udānaṃ udānesi:  aññāsi vata bho Koṇḍañño aññāsi vata bho Koṇḍañño ’ti.  iti h’ idaṃ āyasmato Koṇḍaññassa Aññātakoṇḍañño tv eva nāmaṃ ahosi. |31| 
Thus in that moment, in that instant, in that second the shout reached the Brahma world; and this whole system of ten thousand worlds quaked, was shaken, and trembled; and an infinite, mighty light was seen through the world, which surpassed the light that can be produced by the divine power of the devas.  And the Blessed One pronounced this solemn utterance:  'Truly Kondañña has perceived it ("aññâsi"), truly Kondañña has perceived it!'  Hence the venerable Kondañña received the name Aññâtakondañña (Kondañña who has perceived the doctrine). 
ชั่วขณะกาลครู่หนึ่งนั้น เสียงกระฉ่อนขึ้นไปจนถึงพรหมโลกด้วยประการฉะนั้นแล. ทั้งหมื่นโลกธาตุนี้ได้หวั่นไหวสะเทือนสะท้าน ทั้งแสงสว่างอันยิ่งใหญ่หาประมาณมิได้ ปรากฏแล้วในโลกล่วงเทวานุภาพของเทวดาทั้งหลาย.  ลำดับนั้น พระผู้มีพระภาคเจ้าทรงเปล่งพระอุทานว่า  ท่านผู้เจริญโกณฑัญญะได้รู้แล้วหนอ ท่านผู้เจริญ โกณฑัญญะได้รู้แล้วหนอ  เพราะเหตุนั้น คำว่า อัญญาโกณฑัญญะนี้ จึงได้เป็นชื่อของท่านพระโกณฑัญญะ ด้วยประการฉะนี้. ธัมมจักกัปปวัตตนสูตร จบ 
อิติห เตน ขเณน เตน ลเยน เตน มุหุตฺเตน ยาว พฺรหฺมโลกา สทฺโท อพฺภุคฺคจฺฉิ. อยญฺจ ทสสหสฺสิโลกธาตุ สํกมฺปิ สมฺปกมฺปิ สมฺปเวธิ อปฺปมาโณ จ อุฬาโร โอภาโส โลเก ปาตุรโหสิ อติกฺกมฺม เทวานํ เทวานุภาวํ.  อถ โข ภควา อิมํ อุทานํ อุทาเนสิ  “อญฺญาสิ วต โภ โกณฺฑญฺโญ อญฺญาสิ วต โภ โกณฺฑญฺโญ”ติ.  อิติ หิทํ อายสฺมโต โกณฺฑญฺญสฺส ‘อญฺญาสิโกณฺฑญฺโญ’ ตฺเวว นามํ อโหสิ. 
atha kho āyasmā Aññātakoṇḍañño diṭṭhadhammo pattadhammo viditadhammo pariyogāḷhadhammo tiṇṇavicikiccho vigatakathaṃkatho vesārajjappatto aparappaccayo satthu sāsane bhagavantaṃ etad avoca:  labheyyāhaṃ bhante bhagavato santike pabbajjaṃ, labheyyaṃ upasampadan ti.  ehi bhikkhū ’ti bhagavā avoca, svākkhāto dhammo, cara brahmacariyaṃ sammā dukkhassa antakiriyāyā ’ti.  sā ’va tassa āyasmato upasampadā ahosi. |32| 
And the venerable Aññâtakondañña, having seen the Truth, having mastered the Truth, having understood the Truth, having penetrated the Truth, having overcome uncertainty, having dispelled all doubts, having gained full knowledge, dependent on nobody else for knowledge of the doctrine of the Teacher, thus spoke to the Blessed One:  'Lord, let me receive the pabbaggâ and upasampadâ ordinations from the Blessed One.'  'Come, O Bhikkhu,' said the Blessed One, 'well taught is the doctrine; lead a holy life for the sake of the complete extinction of suffering.'  Thus this venerable person received the upasampadâ ordination. 
พระปัญจวัคคีย์ทูลขอบรรพชาอุปสมบท [๑๘] ครั้งนั้น ท่านพระอัญญาโกณฑัญญะ ได้เห็นธรรมแล้ว ได้บรรลุธรรมแล้ว ได้รู้ธรรมแจ่มแจ้งแล้ว มีธรรมอันหยั่งลงแล้ว ข้ามความสงสัยได้แล้ว ปราศจากถ้อยคำแสดงความสงสัย ถึงความเป็นผู้แกล้วกล้า ไม่ต้องเชื่อผู้อื่นในคำสอนของพระศาสดา ได้ทูลคำนี้ต่อพระผู้มีพระภาคว่า  ขอข้าพระองค์พึงได้บรรพชา พึงได้อุปสมบท ในสำนักพระผู้มีพระภาคพระพุทธเจ้าข้า.  พระผู้มีพระภาคตรัสว่า เธอจงเป็นภิกษุมาเถิด ดังนี้ แล้วตรัสต่อไปว่าธรรมอันเรากล่าวดีแล้ว เธอจงประพฤติพรหมจรรย์ เพื่อทำที่สุดทุกข์โดยชอบเถิด.  พระวาจานั้นแล ได้เป็นอุปสมบทของท่านผู้มีอายุนั้น. 
๑๘. อถ โข อายสฺมา อญฺญาสิโกณฺฑญฺโญ ทิฏฺฐธมฺโม ปตฺตธมฺโม วิทิตธมฺโม ปริโยคาฬฺหธมฺโม ติณฺณวิจิกิจฺโฉ วิคตกถํกโถ เวสารชฺชปฺปตฺโต อปรปฺปจฺจโย สตฺถุสาสเน ภควนฺตํ เอตทโวจ  “ลเภยฺยาหํ ภนฺเต ภควโต สนฺติเก ปพฺพชฺชํ ลเภยฺยํ อุปสมฺปท”นฺติ.  “เอหิ ภิกฺขู”ติ ภควา อโวจ “สฺวากฺขาโต ธมฺโม จร พฺรหฺมจริยํ สมฺมา ทุกฺขสฺส อนฺตกิริยายา”ติ.  สาว ตสฺส อายสฺมโต อุปสมฺปทา อโหสิ. 
atha kho bhagavā tadavasese bhikkhū dhammiyā kathāya ovadi anusāsi.  atha kho āyasmato ca Vappassa āyasmato ca Bhaddiyassa bhagavatā dhammiyā kathāya ovadiyamānānaṃ anusāsiyamānānaṃ virajaṃ vītamalaṃ dhammacakkhuṃ udapādi yaṃ kiñci samudayadhammaṃ sabbaṃ taṃ nirodhadhamman ti. |33| 
And the Blessed One administered to the other Bhikkhus exhortation and instruction by discourses relating to the Dhamma.  And the venerable Vappa, and the venerable Bhaddiya, when they received from the Blessed One such exhortation and instruction by discourses relating to the Dhamma, obtained the pure and spotless Eye of the Truth (that is to say, the following knowledge): 'Whatsoever is subject to the condition of origination is subject also to the condition of cessation.' 
[๑๙] ครั้นต่อมา พระผู้มีพระภาคได้ทรงประทานโอวาทสั่งสอนภิกษุทั้งหลายที่เหลือจากนั้นด้วยธรรมีกถา.  เมื่อพระผู้มีพระภาคทรงประทานโอวาทสั่งสอนด้วยธรรมีกถาอยู่ ดวงตาเห็นธรรม ปราศจากธุลี ปราศจากมลทิน ได้เกิดขึ้นแก่ท่านพระวัปปะและท่านพระภัททิยะว่าสิ่งใดสิ่งหนึ่งมีความเกิดขึ้นเป็นธรรมดา สิ่งนั้นทั้งมวลมีความดับเป็นธรรมดา. 
๑๙. อถ โข ภควา ตทวเสเส ภิกฺขู ธมฺมิยา กถาย โอวทิ อนุสาสิ.  อถ โข อายสฺมโต จ วปฺปสฺส อายสฺมโต จ ภทฺทิยสฺส ภควตา ธมฺมิยา กถาย โอวทิยมานานํ อนุสาสิยมานานํ วิรชํ วีตมลํ ธมฺมจกฺขุํ อุทปาทิ ยํ กิญฺจิ สมุทยธมฺมํ สพฺพํ ตํ นิโรธธมฺมนฺติ. 
te diṭṭhadhammā pattadhammā viditadhammā pariyogāḷhadhammā tiṇṇavicikicchā vigatakathaṃkathā vesārajjappattā aparappaccayā satthu sāsane bhagavantaṃ etad avocuṃ: labheyyāma mayaṃ bhante bhagavato santike pabbajjaṃ, labheyyāma upasampadan ti.  etha bhikkhavo ’ti bhagavā avoca, svākkhāto dhammo, cara-(13)tha brahmacariyaṃ sammā dukkhassa antakiriyāyā ’ti.  sā ’va tesaṃ āyasmantānaṃ upasampadā ahosi. |34| 
And having seen the Truth, having mastered the Truth, . . . . (&c., as in § 32), they thus spoke to the Blessed One: 'Lord, let us receive the pabbaggâ and upasampadâ ordinations from the Blessed One.'  'Come, O Bhikkhus,' said the Blessed One, 'well taught is the doctrine; lead a holy life for the sake of the complete extinction of suffering.'  Thus these venerable persons received the upasampadâ ordination. 
ท่านทั้งสองนั้นได้เห็นธรรมแล้ว ได้บรรลุธรรมแล้ว ได้รู้ธรรมแจ่มแจ้งแล้ว มีธรรมอันหยั่งลงแล้ว ข้ามความสงสัยได้แล้ว ปราศจากถ้อยคำแสดงความสงสัย ถึงความเป็นผู้แกล้วกล้า ไม่ต้องเชื่อผู้อื่นในคำสอนของพระศาสดา ได้ทูลคำนี้ต่อพระผู้มีพระภาคว่า ขอข้าพระองค์ทั้งสองพึงได้บรรพชาพึงได้อุปสมบท ในสำนักพระผู้มีพระภาค พระพุทธเจ้าข้า.  พระผู้มีพระภาคตรัสว่า เธอทั้งสองจงเป็นภิกษุมาเถิด ดังนี้ แล้วได้ตรัสต่อไปว่าธรรมอันเรากล่าวดีแล้ว เธอทั้งสองจงประพฤติพรหมจรรย์ เพื่อทำที่สุดทุกข์โดยชอบเถิด.  พระวาจานั้นแล ได้เป็นอุปสมบทของท่านผู้มีอายุทั้งสองนั้น. 
เต ทิฏฺฐธมฺมา ปตฺตธมฺมา วิทิตธมฺมา ปริโยคาฬฺหธมฺมา ติณฺณวิจิกิจฺฉา วิคตกถํกถา เวสารชฺชปฺปตฺตา อปรปฺปจฺจยา สตฺถุสาสเน ภควนฺตํ เอตทโวจุํ “ลเภยฺยาม มยํ ภนฺเต ภควโต สนฺติเก ปพฺพชฺชํ ลเภยฺยาม อุปสมฺปท”นฺติ.  “เอถ ภิกฺขโว”ติ ภควา อโวจ “สฺวากฺขาโต ธมฺโม จรถ พฺรหฺมจริยํ สมฺมา ทุกฺขสฺส อนฺตกิริยายา”ติ.  สาว เตสํ อายสฺมนฺตานํ อุปสมฺปทา อโหสิ. 
atha kho bhagavā tadavasese bhikkhū nīhārabhatto iminā nihārena dhammiyā kathāya ovadi anusāsi:  yaṃ tayo bhikkhū piṇḍāya caritvā āharanti, tena chabbaggo yāpeti. |35| 
And the Blessed One, living on what the Bhikkhus brought him, administered to the other Bhikkhus exhortation and instruction by discourse relating to the Dhamma;  in this way the six persons lived on what the three Bhikkhus brought home from their alms pilgrimage. 
ครั้งนั้น พระผู้มีพระภาคเสวยพระกระยาหารที่ท่านทั้งสามนำมาถวาย ได้ทรงประทานโอวาทสั่งสอนภิกษุที่เหลือจากนั้นด้วยธรรมีกถา.  ภิกษุเที่ยวบิณฑบาตนำบิณฑบาตใดมา ทั้ง ๖ รูปก็เลี้ยงชีพด้วยบิณฑบาตนั้น. 
อถ โข ภควา ตทวเสเส ภิกฺขู นีหารภตฺโต ธมฺมิยา กถาย โอวทิ อนุสาสิ.  ยํ ตโย ภิกฺขู ปิณฺฑาย จริตฺวา อาหรนฺติ เตน ฉพฺพคฺโค ยาเปติ. 
atha kho āyasmato ca Mahānāmassa āyasmato ca Assajissa bhagavatā dhammiyā kathāya ovadiyamānānaṃ anusāsiyamānānaṃ virajaṃ vītamalaṃ dhammacakkhuṃ udapādi yaṃ kiñci samudayadhammaṃ sabbaṃ taṃ nirodhadhamman ti. |36| 
And the venerable Mahânâma and the venerable Assagi, when they received from the Blessed One, . . . . (&c., as in §§ 33, 34, down to:). 
วันต่อมา เมื่อพระผู้มีพระภาคทรงประทานโอวาทสั่งสอนด้วยธรรมีกถาอยู่ ดวงตาเห็นธรรม ปราศจากธุลี ปราศจากมลทินได้เกิดขึ้นแก่ท่านพระมหานามะและท่านพระอัสสชิว่า สิ่งใดสิ่งหนึ่งมีความเกิดขึ้นเป็นธรรมดา สิ่งนั้นทั้งมวลมีความดับเป็นธรรมดา. 
อถ โข อายสฺมโต จ มหานามสฺส อายสฺมโต จ อสฺสชิสฺส ภควตา ธมฺมิยา กถาย โอวทิยมานานํ อนุสาสิยมานานํ วิรชํ วีตมลํ ธมฺมจกฺขุํ อุทปาทิ ยํ กิญฺจิ สมุทยธมฺมํ สพฺพํ ตํ นิโรธธมฺมนฺติ 
te diṭṭhadhammā pattadhammā viditadhammā pariyogāḷhadhammā tiṇṇavicikicchā vigatakathaṃkathā vesārajjappattā aparappaccayā satthu sāsane bhagavantaṃ etad avocuṃ:  labheyyāma mayaṃ bhante bhagavato santike pabbajjaṃ, labheyyāma upasampadan ti.  etha bhikkhavo ’ti bhagavā avoca, svākkhāto dhammo, caratha brahmacariyaṃ sammā dukkhassa antakiriyāyā ’ti.  sā ’va tesaṃ āyasmantānaṃ upasampadā ahosi. |37| 
ท่านทั้งสองได้เห็นธรรมแล้ว ได้บรรลุธรรมแล้ว ได้รู้ธรรมแจ่มแจ้งแล้ว มีธรรมอันหยั่งลงแล้ว ข้ามความสงสัยได้แล้ว ปราศจากถ้อยคำแสดงความสงสัย ถึงความเป็นผู้แกล้วกล้า ไม่ต้องเชื่อผู้อื่นในคำสอนของพระศาสดา ได้ทูลคำนี้ต่อพระผู้มีพระภาคว่า  ขอข้าพระองค์ทั้งสอง พึงได้บรรพชา พึงได้อุปสมบทในสำนักพระผู้มีพระภาค พระพุทธเจ้าข้า.  พระผู้มีพระภาคตรัสว่า เธอทั้งสองจงเป็นภิกษุมาเถิด ดังนี้ แล้วได้ตรัสต่อไปว่าธรรมอันเรากล่าวดีแล้ว เธอทั้งสองจงประพฤติพรหมจรรย์ เพื่อทำที่สุดทุกข์โดยชอบเถิด.  พระวาจานั้นแล ได้เป็นอุปสมบทของท่านผู้มีอายุทั้งสองนั้น. 
เต ทิฏฺฐธมฺมา ปตฺตธมฺมา วิทิตธมฺมา ปริโยคาฬฺหธมฺมา ติณฺณวิจิกิจฺฉา วิคตกถํกถา เวสารชฺชปฺปตฺตา อปรปฺปจฺจยา สตฺถุสาสเน ภควนฺตํ เอตทโวจุํ  “ลเภยฺยาม มยํ ภนฺเต ภควโต สนฺติเก ปพฺพชฺชํ ลเภยฺยาม อุปสมฺปท”นฺติ.  “เอถ ภิกฺขโว”ติ ภควา อโวจ “สฺวากฺขาโต ธมฺโม จรถ พฺรหฺมจริยํ สมฺมา ทุกฺขสฺส อนฺตกิริยายา”ติ.  สาว เตสํ อายสฺมนฺตานํ อุปสมฺปทา อโหสิ. 
atha kho bhagavā pañcavaggiye bhikkhū āmantesi:  rūpaṃ bhikkhave anattā, rūpañ ca h’ idaṃ bhikkhave attā abhavissa, na yidaṃ rūpaṃ ābādhāya saṃvatteyya, labbhetha ca rūpe evaṃ me rūpaṃ hotu, evaṃ me rūpaṃ mā ahosīti.  yasmā ca kho bhikkhave rūpaṃ anattā, tasmā rūpaṃ ābādhāya saṃvattati, na ca labbhati rūpe evaṃ me rūpaṃ hotu, evaṃ me rūpaṃ mā ahosīti. |38| 
Thus these venerable persons received the upasampadâ ordination.  And the Blessed One thus spoke to the five Bhikkhus:  'The body (Rûpa), O Bhikkhus, is not the self. If the body, O Bhikkhus, were the self, the body would not be subject to disease, and we should be able to say: "Let my body be such and such a one, let my body not be such and such a one." 
ทรงแสดงอนัตตลักขณสูตร [๒๐] ครั้งนั้น พระผู้มีพระภาครับสั่งกะพระปัญจวัคคีย์ว่า  ดูกรภิกษุทั้งหลาย รูปเป็นอนัตตา ดูกรภิกษุทั้งหลาย ถ้ารูปนี้จักได้เป็นอัตตาแล้ว รูปนี้ไม่พึงเป็นเพื่ออาพาธ และบุคคลพึงได้ในรูปว่า รูปของเราจงเป็นอย่างนี้เถิด รูปของเราอย่าได้เป็นอย่างนั้นเลย.  ดูกรภิกษุทั้งหลาย ก็เพราะรูปเป็นอนัตตา ฉะนั้นรูปจึงเป็นไปเพื่ออาพาธ และบุคคลย่อมไม่ได้ในรูปว่ารูปของเราจงเป็นอย่างนี้เถิด รูปของเราอย่าได้เป็นอย่างนั้นเลย. 
๒๐. อถ โข ภควา ปญฺจวคฺคิเย ภิกฺขู อามนฺเตสิ  “รูปํ ภิกฺขเว อนตฺตา. รูปญฺจ หิทํ ภิกฺขเว อตฺตา อภวิสฺส นยิทํ รูปํ อาพาธาย สํวตฺเตยฺย ลพฺเภถ จ รูเป ‘เอวํ เม รูปํ โหตุ เอวํ เม รูปํ มา อโหสี’ติ.  ยสฺมา จ โข ภิกฺขเว รูปํ อนตฺตา ตสฺมา รูปํ อาพาธาย สํวตฺตติ น จ ลพฺภติ รูเป ‘เอวํ เม รูปํ โหตุ เอวํ เม รูปํ มา อโหสี’ติ. เวทนา อนตฺตา. 
vedanā anattā, vedanā ca h’ idaṃ bhikkhave attā abhavissa, na yidaṃ vedanā ābādhāya saṃvatteyya, labbhetha ca vedanāya evaṃ me vedanā hotu, evaṃ me vedanā mā ahosīti.  yasmā ca kho bhikkhave vedanā anattā, tasmā vedanā ābādhāya saṃvattati, na ca labbhati vedanāya evaṃ me vedanā hotu, evaṃ me vedanā mā ahosīti. |39| 
But since the body, O Bhikkhus, is not the self, therefore the body is subject to disease, and we are not able to say: "Let my body be such and such a one, let my body not be such and such a one."  'Sensation (Vedanâ), O Bhikkhus, is not the self, . . . . (&c.1) Perception (Saññâ) is not the self, . . . . The Samkhâras are not the self, . . . . Consciousness (Viññâna) is not the self, . . . . (&c.1) 
เวทนาเป็นอนัตตา ดูกรภิกษุทั้งหลาย ถ้าเวทนานี้จักได้เป็นอัตตาแล้ว เวทนานี้ไม่พึงเป็นไปเพื่ออาพาธ และบุคคลพึงได้ในเวทนาว่า เวทนาของเราจงเป็นอย่างนี้เถิด เวทนาของเราจงอย่าได้เป็นอย่างนั้นเลย.  ดูกรภิกษุทั้งหลาย ก็เพราะเวทนาเป็นอนัตตา ฉะนั้น เวทนาจึงเป็นไปเพื่ออาพาธ และบุคคลย่อมไม่ได้ในเวทนาว่า เวทนาของเรา จงเป็นอย่างนั้นเถิด เวทนาของเราอย่าได้เป็นอย่างนั้นเลย. 
เวทนา จ หิทํ ภิกฺขเว อตฺตา อภวิสฺส นยิทํ เวทนา อาพาธาย สํวตฺเตยฺย ลพฺเภถ จ เวทนาย ‘เอวํ เม เวทนา โหตุ เอวํ เม เวทนา มา อโหสี’ติ.  ยสฺมา จ โข ภิกฺขเว เวทนา อนตฺตา ตสฺมา เวทนา อาพาธาย สํวตฺตติ น จ ลพฺภติ เวทนาย ‘เอวํ เม เวทนา โหตุ เอวํ เม เวทนา มา อโหสี’ติ. 
saññā anattā --la-- saṃkhārā anattā, saṃkhārā ca h’ idaṃ bhikkhave attā abhavissaṃsu, na yidaṃ saṃkhārā ābādhāya saṃvatteyyuṃ, labbhetha ca saṃkhāresu evaṃ me saṃkhārā hontu, evaṃ me saṃkhārā mā ahesun ti.  yasmā ca kho bhikkhave saṃkhārā anattā, tasmā saṃkhārā ābādhāya saṃvattanti, na ca labbhati saṃkhāresu evaṃ me saṃkhārā hontu, evaṃ me saṃkhārā mā ahesun ti. |40| 
สัญญาเป็นอนัตตา ดูกรภิกษุทั้งหลาย ถ้าสัญญานี้จักได้เป็นอัตตาแล้ว สัญญานี้ไม่พึงเป็นไปเพื่ออาพาธ และบุคคลพึงได้ในสัญญาว่า สัญญาของเราจงเป็นอย่างนี้เถิด สัญญาของเราอย่าได้เป็นอย่างนั้นเลย. ดูกรภิกษุทั้งหลาย ก็เพราะสัญญาเป็นอนัตตา ฉะนั้น สัญญาจึงเป็นไปเพื่ออาพาธ และบุคคลย่อมไม่ได้ในสัญญาว่า สัญญาของเราจงเป็นอย่างนี้เถิด สัญญาของเราอย่าได้เป็นอย่างนั้นเลย. สังขารทั้งหลายเป็นอนัตตา ดูกรภิกษุทั้งหลาย ถ้าสังขารเหล่านี้จักได้เป็นอัตตาแล้วสังขารเหล่านี้ไม่พึงเป็นไปเพื่ออาพาธ และบุคคลพึงได้ในสังขารทั้งหลายว่า สังขารทั้งหลายของเราจงเป็นอย่างนี้เถิด สังขารทั้งหลายของเราอย่าได้เป็นอย่างนั้นเลย.  ดูกรภิกษุทั้งหลาย ก็เพราะสังขารทั้งหลายเป็นอนัตตา ฉะนั้น สังขารทั้งหลายจึงเป็นไปเพื่ออาพาธ และบุคคลย่อมไม่ได้ในสังขารทั้งหลายว่า สังขารทั้งหลายของเรา จงเป็นอย่างนี้เถิด สังขารทั้งหลายของเราอย่าได้เป็นอย่างนั้นเลย. 
สญฺญา อนตฺตา. สญฺญา จ หิทํ ภิกฺขเว อตฺตา อภวิสฺส นยิทํ สญฺญา อาพาธาย สํวตฺเตยฺย ลพฺเภถ จ สญฺญาย ‘เอวํ เม สญฺญา โหตุ เอวํ เม สญฺญา มา อโหสี’ติ.  ยสฺมา จ โข ภิกฺขเว สญฺญา อนตฺตา ตสฺมา สญฺญา อาพาธาย สํวตฺตติ น จ ลพฺภติ สญฺญาย ‘เอวํ เม สญฺญา โหตุ เอวํ เม สญฺญา มา อโหสี’ติ. สงฺขารา อนตฺตา. สงฺขารา จ หิทํ ภิกฺขเว อตฺตา อภวิสฺสํสุ นยิทํ สงฺขารา อาพาธาย สํวตฺเตยฺยุํ ลพฺเภถ จ สงฺขาเรสุ ‘เอวํ เม สงฺขารา โหนฺตุ เอวํ เม สงฺขารา มา อเหสุ’นฺติ. ยสฺมา จ โข ภิกฺขเว สงฺขารา อนตฺตา ตสฺมา สงฺขารา อาพาธาย สํวตฺตนฺติ น จ ลพฺภติ สงฺขาเรสุ ‘เอวํ เม สงฺขารา โหนฺตุ เอวํ เม สงฺขารา มา อเหสุ’นฺติ. 
viññāṇaṃ anattā, viññāṇañ ca h’ idaṃ bhikkhave attā abhavissa, na yidaṃ viññāṇaṃ ābādhāya saṃ-(14)vatteyya, labbhetha ca viññāṇe evaṃ me viññāṇaṃ hotu, evaṃ me viññāṇaṃ mā ahosīti.  yasmā ca kho bhikkhave viññāṇaṃ anattā, tasmā viññāṇaṃ ābādhāya saṃvattati, na ca labbhati viññāṇe evaṃ me viññāṇaṃ hotu, evaṃ me viññāṇaṃ mā ahosīti. |41| 
วิญญาณเป็นอนัตตา ดูกรภิกษุทั้งหลาย ถ้าวิญญาณนี้จักได้เป็นอัตตาแล้ว วิญญาณนี้ไม่พึงเป็นไปเพื่ออาพาธ และบุคคลพึงได้ในวิญญาณว่า วิญญาณของเราจงเป็นอย่างนี้เถิด วิญญาณของเราอย่าได้เป็นอย่างนั้นเลย  ดูกรภิกษุทั้งหลาย ก็เพราะวิญญาณเป็นอนัตตา ฉะนั้นวิญญาณจึงเป็นไปเพื่ออาพาธ และบุคคลย่อมไม่ได้ในวิญญาณว่า วิญญาณของเราจงเป็นอย่างนี้เถิด วิญญาณของเราอย่าได้เป็นอย่างนั้นเลย. 
วิญฺญาณํ อนตฺตา. วิญฺญาณญฺจ หิทํ ภิกฺขเว อตฺตา อภวิสฺส นยิทํ วิญฺญาณํ อาพาธาย สํวตฺเตยฺย ลพฺเภถ จ วิญฺญาเณ ‘เอวํ เม วิญฺญาณํ โหตุ เอวํ เม วิญฺญาณํ มา อโหสี’ติ.  ยสฺมา จ โข ภิกฺขเว วิญฺญาณํ อนตฺตา ตสฺมา วิญฺญาณํ อาพาธาย สํวตฺตติ น จ ลพฺภติ วิญฺญาเณ ‘เอวํ เม วิญฺญาณํ โหตุ เอวํ เม วิญฺญาณํ มา อโหสี’ติ. 
taṃ kiṃ maññatha bhikkhave, rūpaṃ niccaṃ vā aniccaṃ vā ’ti.  aniccaṃ bhante.  yaṃ panāniccaṃ, dukkhaṃ vā taṃ sukhaṃ vā ’ti.  dukkhaṃ bhante.  yaṃ panāniccaṃ dukkhaṃ vipariṇāmadhammaṃ, kallaṃ nu taṃ samanupassituṃ etaṃ mama, eso ’ham asmi, eso me attā ’ti.  no h’ etaṃ bhante. |42|  vedanā -- la --  saññā --la--  saṃkhārā --la--  viññāṇaṃ niccaṃ vā aniccaṃ  vā ’ti.  aniccaṃ bhante.  yaṃ panāniccaṃ, dukkhaṃ vā taṃ sukhaṃ vā ’ti.  dukkhaṃ bhante.  yaṃ panāniccaṃ dukkhaṃ vipariṇāmadhammam, kallaṃ nu taṃ samanupassituṃ etaṃ mama, eso ’ham asmi, eso me attā ’ti.  no h’ etaṃ bhante. |43| 
'Now what do you think, O Bhikkhus, is the body permanent or perishable?'  'It is perishable, Lord.'  'And that which isperishable, does that cause pain or joy?'  'It causes pain, Lord.'  'And that which is perishable, painful, subject to change, is it possible to regard that in this way: 'This is mine, this am I, this is my self?'  'That is impossible, Lord.'  'Is sensation permanent or perishable?' . . . . (&c.1) 
ตรัสถามความเห็นของพระปัญจวัคคีย์ [๒๑] พระผู้มีพระภาคตรัสถามว่า ดูกรภิกษุทั้งหลาย พวกเธอสำคัญความข้อนั้นเป็นไฉน รูปเที่ยงหรือไม่เที่ยง?  พระปัญจวัคคีย์ทูลว่า ไม่เที่ยง พระพุทธเจ้าข้า.  ภ. ก็สิ่งใดไม่เที่ยง สิ่งนั้นเป็นทุกข์หรือเป็นสุขเล่า?  ป. เป็นทุกข์ พระพุทธเจ้าข้า.  ภ. ก็สิ่งใดไม่เที่ยง เป็นทุกข์ มีความแปรปรวนเป็นธรรมดา ควรหรือจะตามเห็นสิ่งนั้นว่า นั่นของเรา นั่นเป็นเรา นั่นเป็นตนของเรา?  ป. ข้อนั้น ไม่ควรเลย พระพุทธเจ้าข้า.  ภ. เวทนาเที่ยงหรือไม่เที่ยง? ป. ไม่เที่ยง พระพุทธเจ้าข้า. ภ. ก็สิ่งใดไม่เที่ยง สิ่งนั้นเป็นทุกข์หรือเป็นสุขเล่า? ป. เป็นทุกข์ พระพุทธเจ้าข้า. ภ. ก็สิ่งใดไม่เที่ยง เป็นทุกข์ มีความแปรปรวนเป็นธรรมดา ควรหรือจะตามเห็นสิ่งนั้นว่า นั่นของเรา นั่นเป็นเรา นั่นเป็นตนของเรา? ป. ข้อนั้นไม่ควรเลย พระพุทธเจ้าข้า.  ภ. สัญญาเที่ยงหรือไม่เที่ยง? ป. ไม่เที่ยง พระพุทธเจ้าข้า. ภ. ก็สิ่งใดไม่เที่ยง สิ่งนั้นเป็นทุกข์หรือเป็นสุขเล่า? ป. เป็นทุกข์ พระพุทธเจ้าข้า. ภ. ก็สิ่งใดไม่เที่ยง เป็นทุกข์ มีความแปรปรวนเป็นธรรมดา ควรหรือจะตามเห็นสิ่งนั้นว่า นั่นของเรา นั่นเป็นเรา นั่นเป็นตนของเรา? ป. ข้อนั้นไม่ควรเลย พระพุทธเจ้าข้า.  ภ. สังขารทั้งหลายเที่ยงหรือไม่เที่ยง? ป. ไม่เที่ยง พระพุทธเจ้าข้า. ภ. ก็สิ่งใดไม่เที่ยง สิ่งนั้นเป็นทุกข์หรือเป็นสุขเล่า? ป. เป็นทุกข์ พระพุทธเจ้าข้า. ภ. ก็สิ่งใดไม่เที่ยง เป็นทุกข์ มีความแปรปรวนเป็นธรรมดา ควรหรือจะตามเห็นสิ่งนั้นว่า นั่นของเรา นั่นเป็นเรา นั่นเป็นตนของเรา? ป. ข้อนั้นไม่ควรเลย พระพุทธเจ้าข้า.  ภ. วิญญาณเที่ยงหรือไม่เที่ยง?  ป. ไม่เที่ยง พระพุทธเจ้าข้า.  ภ. ก็สิ่งใดไม่เที่ยง เป็นทุกข์หรือเป็นสุขเล่า?  ป. เป็นทุกข์ พระพุทธเจ้าข้า.  ภ. ก็สิ่งใดไม่เที่ยง เป็นทุกข์ มีความแปรปรวนเป็นธรรมดา ควรหรือจะตามเห็นสิ่ง  นั้นว่า นั่นของเรา นั่นเป็นเรา นั่นเป็นตนของเรา?  ป. ข้อนั้นไม่ควรเลย พระพุทธเจ้าข้า. 
๒๑. “ตํ กึ มญฺญถ ภิกฺขเว รูปํ นิจฺจํ วา อนิจฺจํ วาติ?  อนิจฺจํ ภนฺเต  ยํ ปนานิจฺจํ ทุกฺขํ วา ตํ สุขํ วาติ?  ทุกฺขํ ภนฺเต.  ยํ ปนานิจฺจํ ทุกฺขํ วิปริณามธมฺมํ กลฺลํ นุ ตํ สมนุปสฺสิตุํ เอตํ มม เอโสหมสฺมิ เอโส เม อตฺตาติ?  โน เหตํ ภนฺเต.  เวทนา นิจฺจา วา อนิจฺจา วาติ? อนิจฺจา ภนฺเต. ยํ ปนานิจฺจํ ทุกฺขํ วา ตํ สุขํ วาติ? ทุกฺขํ ภนฺเต. ยํ ปนานิจฺจํ ทุกฺขํ วิปริณามธมฺมํ กลฺลํ นุ ตํ สมนุปสฺสิตุํ เอตํ มม เอโสหมสฺมิ เอโส เม อตฺตาติ? โน เหตํ ภนฺเต.  สญฺญา นิจฺจา วา อนิจฺจา วาติ? อนิจฺจา ภนฺเต. ยํ ปนานิจฺจํ ทุกฺขํ วา ตํ สุขํ วาติ? ทุกฺขํ ภนฺเต. ยํ ปนานิจฺจํ ทุกฺขํ วิปริณามธมฺมํ กลฺลํ นุ ตํ สมนุปสฺสิตุํ เอตํ มม เอโสหมสฺมิ เอโส เม อตฺตาติ? โน เหตํ ภนฺเต.  สงฺขารา นิจฺจา วา อนิจฺจา วาติ? อนิจฺจา ภนฺเต. ยํ ปนานิจฺจํ ทุกฺขํ วา ตํ สุขํ วาติ? ทุกฺขํ ภนฺเต. ยํ ปนานิจฺจํ ทุกฺขํ วิปริณามธมฺมํ กลฺลํ นุ ตํ สมนุปสฺสิตุํ เอตํ มม เอโสหมสฺมิ เอโส เม อตฺตาติ? โน เหตํ ภนฺเต.  วิญฺญาณํ นิจฺจํ วา อนิจฺจํ  วาติ?  อนิจฺจํ ภนฺเต.  ยํ ปนานิจฺจํ ทุกฺขํ วา ตํ สุขํ วาติ?  ทุกฺขํ ภนฺเต.  ยํ ปนานิจฺจํ ทุกฺขํ วิปริณามธมฺมํ กลฺลํ นุ ตํ สมนุปสฺสิตุํ เอตํ มม เอโสหมสฺมิ เอโส เม อตฺตาติ?  โน เหตํ ภนฺเต. 
tasmāt iha bhikkhave yaṃ kiñci rūpaṃ atītānāgatapaccuppannaṃ ajjhattaṃ va bahiddhā vā oḷārikaṃ vā sukhumaṃ vā hīnaṃ vā paṇītaṃ vā yaṃ dūre vā santike vā, sabbaṃ rūpaṃ n’ etaṃ mama, n’ eso ’ham asmi, na me so attā ’ti evaṃ etaṃ yathābhūtaṃ sammappaññāya daṭṭhabbaṃ. |44|  yā kāci vedanā --la--  yā kāci saññā --la--  ye keci saṃkhārā --la--  yaṃ kiñci viññāṇaṃ atītānāgatapaccuppannaṃ ajjhattaṃ vā bahiddhā {vā} oḷārikaṃ vā sukhumaṃ vā hīnaṃ vā paṇītaṃ vā yaṃ dūre vā santike vā sabbaṃ viññāṇaṃ n’ etaṃ mama, n’ eso ’ham asmi, na {m’ eso} attā ’ti evaṃ etaṃ yathābhūtaṃ sammappaññāya daṭṭhabbaṃ. |45| 
'Therefore, O Bhikkhus, whatever body has been, will be, and is now, belonging or not belonging to sentient beings, gross or subtle, inferior or superior, distant or near, all that body is not mine, is not me, is not my self: thus it should be considered by right knowledge according to the truth.  'Whatever sensation, . . . . (&c.2) 
ตรัสให้พิจารณาโดยยถาภูตญาณทัสสนะ [๒๒] พระผู้มีพระภาคตรัสว่า ดูกรภิกษุทั้งหลาย เพราะเหตุนั้นแล รูปอย่างใดอย่างหนึ่งที่เป็นอดีต อนาคต และปัจจุบัน ภายในหรือภายนอก หยาบหรือละเอียด เลวหรือประณีต ไกลหรือใกล้ ทั้งหมดก็เป็นแต่สักว่ารูป เธอทั้งหลายพึงเห็นรูปนั้นด้วยปัญญาอันชอบตามเป็นจริงอย่างนี้ว่า นั่นไม่ใช่ของเรา นั่นไม่เป็นเรา นั่นไม่ใช่ตนของเรา.  เวทนาอย่างใดอย่างหนึ่ง ที่เป็นอดีต อนาคต และปัจจุบัน ภายในหรือภายนอกหยาบหรือละเอียด เลวหรือประณีต ไกลหรือใกล้ ทั้งหมดก็เป็นแต่สักว่าเวทนา เธอทั้งหลายพึงเห็นเวทนานั้นด้วยปัญญาอันชอบ ตามเป็นจริงอย่างนี้ว่า นั่นไม่ใช่ของเรา นั่นไม่เป็นเรานั่นไม่ใช่ตนของเรา.  สัญญาอย่างใดอย่างหนึ่งที่เป็นอดีต อนาคต และปัจจุบัน ภายในหรือภายนอก หยาบหรือละเอียด เลวหรือประณีต ไกลหรือใกล้ ทั้งหมดก็เป็นแต่สักว่าสัญญา เธอทั้งหลายพึงเห็นสัญญานั้นด้วยปัญญาอันชอบ ตามเป็นจริงอย่างนี้ว่า นั่นไม่ใช่ของเรา นั่นไม่เป็นเรา นั่นไม่ใช่ตนของเรา.  สังขารทั้งหลายอย่างใดอย่างหนึ่งที่เป็นอดีต อนาคต และปัจจุบัน ภายในหรือภายนอกหยาบหรือละเอียด เลวหรือประณีต ไกลหรือใกล้ ทั้งหมดก็เป็นแต่สักว่าสังขาร เธอทั้งหลายพึงเห็นสังขารนั้นด้วยปัญญาอันชอบ ตามเป็นจริงอย่างนี้ว่า นั่นไม่ใช่ของเรา นั่นไม่เป็นเรานั่นไม่ใช่ตนของเรา.  วิญญาณอย่างใดอย่างหนึ่งที่เป็นอดีต อนาคต และปัจจุบัน ภายในหรือภายนอกหยาบหรือละเอียด เลวหรือประณีต ไกลหรือใกล้ ทั้งหมดก็เป็นแต่สักว่าวิญญาณ เธอทั้งหลายพึงเห็นวิญญาณนั้นด้วยปัญญาอันชอบ ตามเป็นจริงอย่างนี้ว่า นั่นไม่ใช่ของเรา นั่นไม่เป็นเรานั่นไม่ใช่ตนของเรา. 
๒๒. “ตสฺมาติห ภิกฺขเว ยํ กิญฺจิ รูปํ อตีตานาคตปจฺจุปฺปนฺนํ อชฺฌตฺตํ วา พหิทฺธา วา โอฬาริกํ วา สุขุมํ วา หีนํ วา ปณีตํ วา ยํ ทูเร สนฺติเก วา สพฺพํ รูปํ เนตํ มม เนโสหมสฺมิ น เมโส อตฺตาติ เอวเมตํ ยถาภูตํ สมฺมปฺปญฺญาย ทฏฺฐพฺพํ.  ยา กาจิ เวทนา อตีตานาคตปจฺจุปฺปนฺนา อชฺฌตฺตํ วา พหิทฺธา วา โอฬาริกา วา สุขุมา วา หีนา วา ปณีตา วา ยา ทูเร สนฺติเก วา สพฺพา เวทนา เนตํ มม เนโสหมสฺมิ น เมโส อตฺตาติ เอวเมตํ ยถาภูตํ สมฺมปฺปญฺญาย ทฏฺฐพฺพํ.  ยา กาจิ สญฺญา อตีตานาคตปจฺจุปฺปนฺนา อชฺฌตฺตํ วา พหิทฺธา วา โอฬาริกา วา สุขุมา วา หีนา วา ปณีตา วา ยา ทูเร สนฺติเก วา สพฺพา สญฺญา เนตํ มม เนโสหมสฺมิ น เมโส อตฺตาติ เอวเมตํ ยถาภูตํ สมฺมปฺปญฺญาย ทฏฺฐพฺพํ.  เย เกจิ สงฺขารา อตีตานาคตปจฺจุปฺปนฺนา อชฺฌตฺตํ วา พหิทฺธา วา โอฬาริกา วา สุขุมา วา หีนา วา ปณีตา วา เย ทูเร สนฺติเก วา สพฺเพ สงฺขารา เนตํ มม เนโสหมสฺมิ น เมโส อตฺตาติ เอวเมตํ ยถาภูตํ สมฺมปฺปญฺญาย ทฏฺฐพฺพํ.  ยํ กิญฺจิ วิญฺญาณํ อตีตานาคตปจฺจุปฺปนฺนํ อชฺฌตฺตํ วา พหิทฺธา วา โอฬาริกํ วา สุขุมํ วา หีนํ วา ปณีตํ วา ยํ ทูเร สนฺติเก วา สพฺพํ วิญฺญาณํ เนตํ มม เนโสหมสฺมิ น เมโส อตฺตาติ เอวเมตํ ยถาภูตํ สมฺมปฺปญฺญาย ทฏฺฐพฺพํ. 
evaṃ passaṃ bhikkhave sutavā ariyasāvako rūpasmim pi nibbindati, vedanāya pi nibbindati, saññāya pi nibbindati, saṃkhāresu pi nibbindati, viññāṇasmim pi nibbindati, nibbindaṃ virajjati, virāgā vimuccati, vimuttasmiṃ vimutt’ amhīti ñāṇaṃ hoti, khīṇā jāti, vusitaṃ brahmacariyaṃ, kataṃ karaṇīyaṃ, nāparaṃ itthattāyā ’ti pajānātīti. |46| 
[๒๓] ดูกรภิกษุทั้งหลาย อริยสาวกผู้ได้ฟังแล้ว เห็นอยู่อย่างนี้ ย่อมเบื่อหน่ายแม้ในรูป ย่อมเบื่อหน่ายแม้ในเวทนา ย่อมเบื่อหน่ายแม้ในสัญญา ย่อมเบื่อหน่ายแม้ในสังขารทั้งหลาย ย่อมเบื่อหน่ายแม้ในวิญญาณ เมื่อเบื่อหน่าย ย่อมสิ้นกำหนัด เพราะสิ้นกำหนัด จิตก็พ้นเมื่อจิตพ้นแล้ว ก็รู้ว่าพ้นแล้ว อริยสาวกนั้นทราบชัดว่า ชาติสิ้นแล้ว พรหมจรรย์ได้อยู่จบแล้วกิจที่ควรทำได้ทำเสร็จแล้ว กิจอื่นอีกเพื่อความเป็นอย่างนี้มิได้มี. 
๒๓. “เอวํ ปสฺสํ ภิกฺขเว สุตวา อริยสาวโก รูปสฺมิมฺปิ นิพฺพินฺทติ เวทนายปิ นิพฺพินฺทติ สญฺญายปิ นิพฺพินฺทติ สงฺขาเรสุปิ นิพฺพินฺทติ วิญฺญาณสฺมิมฺปิ นิพฺพินฺทติ นิพฺพินฺทํ วิรชฺชติ วิราคา วิมุจฺจติ วิมุตฺตสฺมึ วิมุตฺตมิติ ญาณํ โหติ ‘ขีณา ชาติ วุสิตํ พฺรหฺมจริยํ กตํ กรณียํ นาปรํ อิตฺถตฺตายา’ติ ปชานาตี”ติ. 
idaṃ avoca bhagavā, attamanā pañcavaggiyā bhikkhū bhagavato bhāsitaṃ abhinandanti.  imasmiñ ca pana veyyākaraṇasmiṃ bhaññamāne pañcavaggiyānaṃ bhikkhūnaṃ anupādāya āsavehi {cittāni} vimucciṃsu.  tena kho pana samayena cha loke arahanto {honti.} |47| 
'Considering this, O Bhikkhus, a learned, noble hearer of the word becomes weary of body, weary of sensation, weary of perception, weary of the Samkhâras, weary of consciousness. Becoming weary of all that, he divests himself of passion; by absence of passion he is made free; when he is free, he becomes aware that he is free; and he realises that re-birth is exhausted; that holiness is completed; that duty is fulfilled; and that there is no further return to this world.'  Thus the Blessed One spoke; the five Bhikkhus were delighted, and rejoiced at the words of the Blessed One.  And when this exposition had been propounded, the minds of the five Bhikkhus became free from attachment to the world, and were released from the Âsavas. 
[๒๔] พระผู้มีพระภาคได้ตรัสพระสูตรนี้แล้ว พระปัญจวัคคีย์มีใจยินดี เพลิดเพลินภาษิตของพระผู้มีพระภาค.  ก็แลเมื่อพระผู้มีพระภาคตรัสไวยากรณภาษิตนี้อยู่ จิตของพระปัญจวัคคีย์พ้นแล้วจากอาสวะทั้งหลาย เพราะไม่ถือมั่น.  อนัตตลักขณสูตร จบ  ครั้งนั้น มีพระอรหันต์เกิดขึ้นในโลก ๖ องค์. 
๒๔. อิทมโวจ ภควา. อตฺตมนา ปญฺจวคฺคิยา ภิกฺขู ภควโต ภาสิตํ อภินนฺทุนฺติ .  อิมสฺมิญฺจ ปน เวยฺยากรณสฺมึ ภญฺญมาเน ปญฺจวคฺคิยานํ ภิกฺขูนํ อนุปาทาย อาสเวหิ จิตฺตานิ วิมุจฺจึสุ.  เตน โข ปน สมเยน ฉ โลเก อรหนฺโต โหนฺติ. (ปญฺจวคฺคิยกถา นิฏฺฐิตา.)   
||6|| 
At that time there were six Arahats (persons who had reached absolute holiness) in the world. 
 
paṭhamabhāṇavāraṃ. 
ปฐมภาณวาร จบ 
ปฐมภาณวาโร. 
(15) tena kho pana samayena Bārāṇasiyaṃ Yaso nāma kulaputto seṭṭhiputto sukhumālo hoti,  tassa tayo pāsādā honti, eko hemantiko, eko gimhiko, eko vassiko.  so vassike pāsāde cattāro māse nippurisehi turiyehi paricāriyamāno na heṭṭhā pāsādā orohati.  atha kho Yasassa kulaputtassa pañcahi kāmaguṇehi samappitassa samaṅgibhūtassa paricāriyamānassa paṭigacc ’eva niddā okkami, parijanassāpi pacchā niddā okkami, sabbarattiyo ca telappadīpo jhāyati. |1| 
End of the first Bhânavâra.  At that time there was in Benares a noble youth, Yasa by name, the son of a setthi (or treasurer) and delicately nurtured.  He had three palaces, one for winter, one for summer, one for the rainy season.  In the palace for the rainy season he lived during the four months (of that season), surrounded with female musicians among whom no man was, and he did not descend from that palace (all that time). 
เรื่องยสกุลบุตร [๒๕] ก็โดยสมัยนั้นแล ในพระนครพาราณสี มีกุลบุตร ชื่อ ยส เป็นบุตรเศรษฐีสุขุมาลชาติ.  ยสกุลบุตรนั้นมีปราสาท ๓ หลัง คือ หลังหนึ่งเป็นที่อยู่ในฤดูหนาว หลังหนึ่งเป็นที่อยู่ในฤดูร้อน หลังหนึ่งเป็นที่อยู่ในฤดูฝน.  ยสกุลบุตรนั้นรับบำเรอด้วยพวกดนตรี ไม่มีบุรุษเจือปน ในปราสาทฤดูฝนตลอด ๔ เดือน ไม่ลงมาเบื้องล่างปราสาท.  ค่ำวันหนึ่ง เมื่อยสกุลบุตรอิ่มเอิบพร้อมพรั่งบำเรออยู่ด้วยกามคุณ ๕ ได้นอนหลับก่อน ส่วนพวกบริวารชนนอนหลับภายหลัง. ประทีปน้ำมันตามสว่างอยู่ตลอดคืน. 
(๗. ปพฺพชฺชากถา) ๒๕. เตน โข ปน สมเยน พาราณสิยํ ยโส นาม กุลปุตฺโต เสฏฺฐิปุตฺโต สุขุมาโล โหติ.  ตสฺส ตโย ปาสาทา โหนฺติ เอโก เหมนฺติโก เอโก คิมฺหิโก เอโก วสฺสิโก.  โส วสฺสิเก ปาสาเท จตฺตาโร มาเส นิปฺปุริเสหิ ตูริเยหิ ปริจารยมาโน น เหฏฺฐาปาสาทํ โอโรหติ.  อถ โข ยสสฺส กุลปุตฺตสฺส ปญฺจหิ กามคุเณหิ สมปฺปิตสฺส สมงฺคีภูตสฺส ปริจารยมานสฺส ปฏิกจฺเจว นิทฺทา โอกฺกมิ ปริชนสฺสปิ นิทฺทา โอกฺกมิ สพฺพรตฺติโย จ เตลปทีโป ฌายติ. 
atha kho Yaso kulaputto paṭigacc ’eva paṭibujjhitvā addasa sakaṃ parijanaṃ supantaṃ, aññissā kacche vīṇaṃ, aññissā kaṇṭhe mutiṅgaṃ, aññissā kacche ālambaraṃ, aññaṃ vikesikaṃ, aññaṃ vikkheḷikaṃ, vippalapantiyo, hatthappattaṃ susānaṃ maññe.  disvān’ assa ādīnavo pāturahosi, nibbidāya cittaṃ saṇṭhāsi.  atha kho Yaso kulaputto udānaṃ udānesi:  upaddutaṃ vata bho, upassaṭṭhaṃ vata bho ’ti. |2| 
Now one day Yasa, the noble youth, who was endowed with, and possessed of the five pleasures of sense, while he was attended (by those female musicians), fell asleep sooner than usual; and after him his attendants also fell asleep. Now an oil lamp was burning through the whole night.  And Yasa, the noble youth, awoke sooner than usual; and he saw his attendants sleeping; one had her lute leaning against her arm-pit; one had her tabor leaning against her neck; one had her drum leaning against her arm-pit; one had dishevelled hair; one had saliva flowing from her mouth; and they were muttering in their sleep. One would think it was a cemetery one had fallen into.  When he saw that, the evils (of the life he led) manifested themselves to him; his mind became weary (of worldly pleasures).  And Yasa, the noble youth, gave utterance to this solemn exclamation: 
คืนนั้นยสกุลบุตรตื่นขึ้นก่อน ได้เห็นบริวารชนของตนกำลังนอนหลับ บางนางมีพิณตกอยู่ที่รักแร้ บางนางมีตะโพนวางอยู่ข้างคอ บางนางมีเปิงมางตกอยู่ที่อก บางนางสยายผม บางนางมีน้ำลายไหล บางนางบ่นละเมอต่างๆ ปรากฏแก่ยสกุลบุตรดุจป่าช้าผีดิบ.  ครั้นแล้วความเห็นเป็นโทษได้ปรากฏแก่ยสกุลบุตร จิตตั้งอยู่ในความเบื่อหน่าย  จึงยสกุลบุตรเปล่งอุทานว่า  ท่านผู้เจริญ ที่นี่วุ่นวายหนอ ที่นี่ขัดข้องหนอ 
อถ โข ยโส กุลปุตฺโต ปฏิกจฺเจว ปพุชฺฌิตฺวา อทฺทส สกํ ปริชนํ สุปนฺตํ อญฺญิสฺสา กจฺเฉ วีณํ อญฺญิสฺสา กณฺเฐ มุทิงฺคํ อญฺญิสฺสา กจฺเฉ อาฬมฺพรํ อญฺญํ วิเกสิกํ อญฺญํ วิกฺเขฬิกํ อญฺญา วิปฺปลปนฺติโย หตฺถปฺปตฺตํ สุสานํ มญฺเญ.  ทิสฺวานสฺส อาทีนโว ปาตุรโหสิ นิพฺพิทาย จิตฺตํ สณฺฐาสิ.  อถ โข ยโส กุลปุตฺโต อุทานํ อุทาเนสิ  “อุปทฺทุตํ วต โภ อุปสฺสฏฺฐํ วต โภ”ติ. 
atha kho Yaso kulaputto suvaṇṇapādukāyo ārohitvā yena nivesanadvāraṃ ten’ upasaṃkami, amanussā dvāraṃ vivariṃsu mā Yasassa kulaputtassa koci antarāyaṃ akāsi agārasmā anagāriyaṃ pabbajjāyā ’ti.  atha kho Yaso kulaputto yena nagaradvāraṃ ten’ upasaṃkami, amanussā dvāraṃ vivariṃsu mā Yasassa kulaputtassa koci antarāyaṃ akāsi agārasmā anagāriyaṃ pabbajjāyā ’ti.  atha kho Yaso kulaputto yena Isipatanaṃ migadāyo ten’ upasaṃkami. |3| 
'Alas! what distress; alas! what danger!'  And Yasa, the noble youth, put on his gilt slippers, and went to the gate of his house. Non-human beings opened the gate, in order that no being might prevent Yasa the noble youth's leaving the world, and going forth into the houseless state.  And Yasa, the noble youth, went to the gate of the city. Non-human beings opened the gate, in order that no being might prevent Yasa the noble youth's leaving the world, and going forth into the houseless state. 
แล้วสวมรองเท้าทองเดินตรงไปยังประตูนิเวศน์ พวกอมนุษย์เปิดประตูให้ด้วยหวังใจว่า ใครๆ อย่าได้ทำอันตรายแก่การออกจากเรือนบวชเป็นบรรพชิตของยสกุลบุตรเลย.  ลำดับนั้น ยสกุลบุตรเดินตรงไปทางประตูพระนคร. พวกอมนุษย์เปิดประตูให้ด้วยหวังใจว่า ใครๆ อย่าได้ทำอันตรายแก่การออกจากเรือนบวชเป็นบรรพชิตของยสกุลบุตร.  ทีนั้น ยสกุลบุตรได้เดินตรงไปทางป่าอิสิปตนมฤคทายวัน. 
อถ โข ยโส กุลปุตฺโต สุวณฺณปาทุกาโย อาโรหิตฺวา เยน นิเวสนทฺวารํ เตนุปสงฺกมิ. อมนุสฺสา ทฺวารํ วิวรึสุ มา ยสสฺส กุลปุตฺตสฺส โกจิ อนฺตรายมกาสิ อคารสฺมา อนคาริยํ ปพฺพชฺชายาติ  อถ โข ยโส กุลปุตฺโต เยน นครทฺวารํ เตนุปสงฺกมิ. อมนุสฺสา ทฺวารํ วิวรึสุ มา ยสสฺส กุลปุตฺตสฺส โกจิ อนฺตรายมกาสิ อคารสฺมา อนคาริยํ ปพฺพชฺชายาติ.  อถ โข ยโส กุลปุตฺโต เยน อิสิปตนํ มิคทาโย เตนุปสงฺกมิ. 
tena kho pana samayena bhagavā rattiyā paccūsasamayaṃ paccuṭṭhāya ajjhokāse caṅkamati.  addasa kho bhagavā Yasaṃ kulaputtaṃ dūrato ’va āgacchantaṃ, disvāna caṅkamā orohitvā paññatte āsane nisīdi.  atha kho Yaso kulaputto bhagavato avidūre udānaṃ udānesi:  upaddutaṃ vata bho, upassaṭṭhaṃ vata bho ’ti.  atha kho bhagavā Yasaṃ kulaputtaṃ etad avoca:  idaṃ kho Yasa anupaddutaṃ, idaṃ anupassaṭṭhaṃ.  ehi Yasa nisīda, dhammaṃ te desessāmīti. |4| 
And Yasa, the noble youth, went to the deer park Isipatana.  At that time the Blessed One, having arisen in the night, at dawn was walking up and down in the open air.  And the Blessed One saw Yasa, the noble youth, coming from afar. And when he saw him, he left the place where he was walking, and sat down on a seat laid out (for him).  And Yasa, the noble youth, gave utterance near the Blessed One to that solemn exclamation:  'Alas! what distress; alas! what danger!'  And the Blessed One said to Yasa, the noble youth:  'Here is no distress, Yasa, here is no danger. 
[๒๖] ครั้นปัจจุสสมัยแห่งราตรี พระผู้มีพระภาคตื่นบรรทมแล้วเสด็จจงกรมอยู่ ณ ที่แจ้ง  ได้ทอดพระเนตรเห็นยสกุลบุตรเดินมาแต่ไกล ครั้นแล้วเสด็จลงจากที่จงกรมประทับนั่งบนอาสนะที่ปูลาดไว้.  ขณะนั้น ยสกุลบุตรเปล่งอุทานในที่ไม่ไกลพระผู้มีพระภาคว่า  ท่านผู้เจริญ ที่นี่วุ่นวายหนอ ที่นี่ขัดข้องหนอ.  ทันทีนั้น พระผู้มีพระภาคตรัสกะยสกุลบุตรว่า  ดูกรยส ที่นี่ไม่วุ่นวาย ที่นี่ไม่ขัดข้อง  มาเถิดยส นั่งลง เราจักแสดงธรรมแก่เธอ. 
๒๖. เตน โข ปน สมเยน ภควา รตฺติยา ปจฺจูสสมยํ ปจฺจุฏฺฐาย อชฺโฌกาเส จงฺกมติ.  อทฺทสา โข ภควา ยสํ กุลปุตฺตํ ทูรโตว อาคจฺฉนฺตํ ทิสฺวาน จงฺกมา โอโรหิตฺวา ปญฺญตฺเต อาสเน นิสีทิ.  อถ โข ยโส กุลปุตฺโต ภควโต อวิทูเร อุทานํ อุทาเนสิ  “อุปทฺทุตํ วต โภ อุปสฺสฏฺฐํ วต โภ”ติ.  อถ โข ภควา ยสํ กุลปุตฺตํ เอตทโวจ  “อิทํ โข ยส อนุปทฺทุตํ อิทํ อนุปสฺสฏฺฐํ.  เอหิ ยส นิสีท ธมฺมํ เต เทเสสฺสามี”ติ. 
atha kho Yaso kulaputto idaṃ kira anupaddutaṃ, idaṃ anupassaṭṭhan ti haṭṭho udaggo suvaṇṇapādukāhi orohitvā yena bhagavā ten’ upasaṃkami, upasaṃkamitvā bhagavantaṃ abhivādetvā ekamantaṃ nisīdi.  ekamantaṃ nisinnassa kho Yasassa kulaputtassa bhagavā anupubbikathaṃ kathesi seyyath’ īdaṃ:  dānakathaṃ sīlakathaṃ saggakathaṃ kāmānaṃ ādīnavaṃ okāraṃ saṃkilesaṃ nekkhamme ānisaṃsaṃ pakāsesi. |5| 
Come here, Yasa, sit down; I will teach you the Truth (Dhamma).'  And Yasa, the noble youth, when he heard that there was no distress, and that there was no danger, became glad and joyful; and he put off his gilt slippers, and went to the place where the Blessed One was; having approached him and having respectfully saluted the Blessed One, he sat down near him.  When Yasa, the noble youth, was sitting near him, the Blessed One preached to him in due course: 
ที่นั้น ยสกุลบุตรร่าเริงบันเทิงใจว่า ได้ยินว่า ที่นี่ไม่วุ่นวาย ที่นี่ไม่ขัดข้อง ดังนี้ แล้วถอดรองเท้าทองเข้าไปเฝ้าพระผู้มีพระภาคถวายบังคมพระผู้มีพระภาคแล้วนั่ง ณ ที่ควรส่วนข้างหนึ่ง  เมื่อยสกุลบุตรนั่งเรียบร้อยแล้ว พระผู้มีพระภาคได้ทรงแสดงอนุปุพพิกถา คือ  ทรงประกาศทานกถา สีลกถา สัคคกถา โทษความต่ำทราม ความเศร้าหมองของกามทั้งหลาย และอานิสงส์ในความออกจากกาม. 
อถ โข ยโส กุลปุตฺโต อิทํ กิร อนุปทฺทุตํ อิทํ อนุปสฺสฏฺฐนฺติ หฏฺโฐ อุทคฺโค สุวณฺณปาทุกาหิ โอโรหิตฺวา เยน ภควา เตนุปสงฺกมิ อุปสงฺกมิตฺวา ภควนฺตํ อภิวาเทตฺวา เอกมนฺตํ นิสีทิ.  เอกมนฺตํ นิสินฺนสฺส โข ยสสฺส กุลปุตฺตสฺส ภควา อนุปุพฺพิ๎ กถํ กเถสิ เสยฺยถิทํ  ทานกถํ สีลกถํ สคฺคกถํ กามานํ อาทีนวํ โอการํ สํกิเลสํ เนกฺขมฺเม อานิสํสํ ปกาเสสิ. 
yadā bhagavā (16) āññāsi Yasaṃ kulaputtaṃ kallacittaṃ muducittaṃ vinīvaraṇacittaṃ udaggacittaṃ pasannacittaṃ, atha yā buddhānaṃ sāmukkaṃsikā dhammadesanā taṃ pakāsesi, dukkhaṃ samudayaṃ nirodhaṃ maggaṃ.  seyyathāpi nāma suddhaṃ {vatthaṃ} apagatakāḷakaṃ sammad eva rajanaṃ paṭigaṇheyya, evam eva Yasassa kulaputtassa tasmiṃ yeva āsane virajaṃ vītamalaṃ dhammacakkhuṃ udapādi yaṃ kiñci samudayadhammaṃ sabbaṃ taṃ nirodhadhamman ti. |6| 
that is to say, he talked about the merits obtained by alms-giving, about the duties of morality, about heaven, about the evils, the vanity, and the sinfulness of desires, and about the blessings of the abandonment of desire.  When the Blessed One saw that the mind of Yasa, the noble youth, was prepared, impressible, free from obstacles (to understanding the Truth), elated, and believing, then he preached what is the principal doctrine of the Buddhas, namely, Suffering, the Cause of stiffering, the Cessation of suffering, the Path. 
เมื่อพระองค์ทรงทราบว่า ยสกุลบุตรมีจิตสงบ มีจิตอ่อน มีจิตปลอดจากนิวรณ์ มีจิตเบิกบาน มีจิตผ่องใสแล้ว จึงทรงประกาศพระธรรมเทศนา ที่พระพุทธเจ้าทั้งหลายทรงยกขึ้นแสดงด้วยพระองค์เอง คือ ทุกข์ สมุทัย นิโรธ มรรค.  ดวงตาเห็นธรรม ปราศจากธุลี ปราศจากมลทิน ว่า สิ่งใดสิ่งหนึ่งมีความเกิดขึ้นเป็นธรรมดา สิ่งนั้นทั้งมวลมีความดับเป็นธรรมดา ได้เกิดแก่ยสกุลบุตร ณ ที่นั่งนั้นแล ดุจผ้าที่สะอาดปราศจากมลทิน ควรได้รับน้ำย้อมเป็นอย่างดี ฉะนั้น. 
ยทา ภควา อญฺญาสิ ยสํ กุลปุตฺตํ กลฺลจิตฺตํ มุทุจิตฺตํ วินีวรณจิตฺตํ อุทคฺคจิตฺตํ ปสนฺนจิตฺตํ อถ ยา พุทฺธานํ สามุกฺกํสิกา ธมฺมเทสนา ตํ ปกาเสสิ ทุกฺขํ สมุทยํ นิโรธํ มคฺคํ.  เสยฺยถาปิ นาม สุทฺธํ วตฺถํ อปคตกาฬกํ สมฺมเทว รชนํ ปฏิคฺคณฺเหยฺย เอวเมว ยสสฺส กุลปุตฺตสฺส ตสฺมึเยว อาสเน วิรชํ วีตมลํ ธมฺมจกฺขุํ อุทปาทิ ยํ กิญฺจิ สมุทยธมฺมํ สพฺพํ ตํ นิโรธธมฺมนฺติ. 
atha kho Yasassa kulaputtassa mātā pāsādaṃ abhirūhitvā Yasaṃ kulaputtaṃ apassantī yena seṭṭhi gahapati ten’ upasaṃkami, upasaṃkamitvā seṭṭhiṃ gahapatiṃ etad avoca:  putto te gahapati Yaso na dissatīti.  atha kho seṭṭhi gahapati catuddisā assadūte uyyojetvā sāmaṃ yeva yena Isipatanaṃ migadāyo ten’ upasaṃkami.  addasa kho seṭṭhi gahapati suvaṇṇapādukānaṃ nikkhepaṃ, disvāna taṃ yeva anugamāsi. |7| 
Just as a clean cloth free from black specks properly takes the dye, thus Yasa, the noble youth, even while sitting there, obtained the pure and spotless Eye of the Truth (that is, the knowledge): 'Whatsoever is subject to the condition of origination is subject also to the condition of cessation.'  Now the mother of Yasa, the noble youth, having gone up to his palace, did not see Yasa, the noble youth, and she went to the setthi, the householder (her husband), and having approached him, she said to the setthi, the householder:  'Your son Yasa, O householder, has disappeared.'  Then the setthi, the householder, sent messengers on horseback to the four quarters of the horizon; and he went himself to the deer park Isipatana. 
บิดาของยสกุลบุตรตามหา [๒๗] ครั้นรุ่งเช้า มารดาของยสกุลบุตรขึ้นไปยังปราสาท ไม่เห็นยสกุลบุตร จึงเข้าไปหาเศรษฐีผู้คหบดี แล้วได้ถามว่า  ท่านคหบดีเจ้าข้า พ่อยสกุลบุตรของท่านหายไปไหน?  ฝ่ายเศรษฐีผู้คหบดีส่งทูตขี่ม้าไปตามหาทั้ง ๔ ทิศแล้ว ส่วนตัวเองไปหาทางป่าอิสิปตนมฤคทายวัน.  ได้พบรองเท้าทองวางอยู่ ครั้นแล้วจึงตามไปสู่ที่นั้น. 
๒๗. อถ โข ยสสฺส กุลปุตฺตสฺส มาตา ปาสาทํ อภิรุหิตฺวา ยสํ กุลปุตฺตํ อปสฺสนฺตี เยน เสฏฺฐิ คหปติ เตนุปสงฺกมิ อุปสงฺกมิตฺวา เสฏฺฐึ คหปตึ เอตทโวจ  “ปุตฺโต เต คหปติ ยโส น ทิสฺสตี”ติ.  อถ โข เสฏฺฐิ คหปติ จตุทฺทิสา อสฺสทูเต อุยฺโยเชตฺวา สามํเยว เยน อิสิปตนํ มิคทาโย เตนุปสงฺกมิ.  อทฺทสา โข เสฏฺฐิ คหปติ สุวณฺณปาทุกานํ นิกฺเขปํ ทิสฺวาน ตํเยว อนุคมาสิ . 
addasa kho bhagavā seṭṭhiṃ gahapatiṃ dūrato ’va āgacchantaṃ, disvāna bhagavato etad ahosi:  yaṃ nūnāhaṃ tathārūpaṃ iddhābhisaṃkhāraṃ abhisaṃkhāreyyaṃ, yathā seṭṭhi gahapati idha nisinno idha nisinnaṃ Yasaṃ kulaputtaṃ na passeyyā ’ti.  atha kho bhagavā tathārūpaṃ iddhābhisaṃkhāraṃ abhisaṃkhāresi. |8| 
Then the setthi, the householder, saw on the ground the marks of the gilt slippers; and when he saw them, he followed them up.  And the Blessed One saw the setthi, the householder, coming from afar. On seeing him, he thought:  'What if I were to effect such an exercise of miraculous power, that the setthi, the householder, sitting here, should not see Yasa, the noble youth, who is sitting here also.' 
พระผู้มีพระภาคได้ทอดพระเนตรเห็นเศรษฐีผู้คหบดีมาแต่ไกล. ครั้นแล้วทรงพระดำริว่า  ไฉนหนอ เราพึงบันดาลอิทธาภิสังขารให้เศรษฐีคหบดีนั่งอยู่ ณ ที่นี้ ไม่เห็นยสกุลบุตรผู้นั่งอยู่ ณ ที่นี้  แล้วทรงบันดาลอิทธาภิสังขาร ดังพระพุทธดำริ. 
อทฺทสา โข ภควา เสฏฺฐึ คหปตึ ทูรโตว อาคจฺฉนฺตํ ทิสฺวาน ภควโต เอตทโหสิ  “ยํนูนาหํ ตถารูปํ อิทฺธาภิสงฺขารํ อภิสงฺขเรยฺยํ ยถา เสฏฺฐิ คหปติ อิธ นิสินฺโน อิธ นิสินฺนํ ยสํ กุลปุตฺตํ น ปสฺเสยฺยา”ติ.  อถ โข ภควา ตถารูปํ อิทฺธาภิสงฺขารํ อภิสงฺขเรสิ. 
atha kho seṭṭhi gahapati yena bhagavā ten’ upasaṃkami, upasaṃkamitvā bhagavantaṃ etad avoca:  api bhante bhagavā Yasaṃ kulaputtaṃ passeyyā ’ti.  tena hi gahapati nisīda. app eva nāma idha nisinno idha nisinnaṃ Yasaṃ kulaputtaṃ passeyyāsīti.  atha kho seṭṭhi gahapati idh’ eva kirāhaṃ nisinno idha nisinnaṃ Yasaṃ kulaputtaṃ passissāmīti haṭṭho udaggo bhagavantaṃ abhivādetvā ekamantaṃ nisīdi. |9| 
And the Blessed One effected such an exercise of his miraculous power.  And the setthi, the householder, went to the place where the Blessed One was; having approached him, he said to the Blessed One:  'Pray, Lord, has the Blessed One seen Yasa, the noble youth?'  'Well, householder, sit down. Perhaps, sitting here, you may see Yasa, the noble youth, sitting here also.' 
ครั้งนั้น เศรษฐีผู้คหบดีได้เข้าเฝ้าพระผู้มีพระภาคแล้วทูลถามว่า  พระผู้มีพระภาคทรงเห็นยสกุลบุตรบ้างไหม พระพุทธเจ้าข้า?  พระผู้มีพระภาคตรัสว่า ดูกรคหบดี ถ้าอย่างนั้น เชิญนั่ง บางทีท่านนั่งอยู่ ณ ที่นี้ จะพึงได้เห็นยสกุลบุตรผู้นั่งอยู่ ณ ที่นี้.  ครั้งนั้น เศรษฐีผู้คหบดีร่าเริงบันเทิงใจว่า ได้ยินว่า เรานั่งอยู่ ณ ที่นี้แหละ จักเห็นยสกุลบุตรผู้นั่งอยู่ ณ ที่นี้ จึงถวายบังคมพระผู้มีพระภาค แล้วนั่ง ณ ที่ควรส่วนข้างหนึ่ง. 
อถ โข เสฏฺฐิ คหปติ เยน ภควา เตนุปสงฺกมิ อุปสงฺกมิตฺวา ภควนฺตํ เอตทโวจ  “อปิ ภนฺเต ภควา ยสํ กุลปุตฺตํ ปสฺเสยฺยา”ติ?  เตน หิ คหปติ นิสีท อปฺเปว นาม อิธ นิสินฺโน อิธ นิสินฺนํ ยสํ กุลปุตฺตํ ปสฺเสยฺยาสีติ.  อถ โข เสฏฺฐิ คหปติ อิเธว กิราหํ นิสินฺโน อิธ นิสินฺนํ ยสํ กุลปุตฺตํ ปสฺสิสฺสามีติ หฏฺโฐ อุทคฺโค ภควนฺตํ อภิวาเทตฺวา เอกมนฺตํ นิสีทิ. 
ekamantaṃ nisinnassa kho seṭṭhissa gahapatissa bhagavā anupubbikathaṃ kathesi -- la -- aparappaccayo satthu sāsane bhagavantaṃ etad avoca:  abhikkantaṃ bhante, abhikkantaṃ bhante, seyyathāpi bhante nikkujjitaṃ vā ukkujjeyya, paṭicchannaṃ vā vivareyya, mūḷhassa vā maggaṃ ācikkheyya, andhakāre vā telapajjotaṃ dhāreyya cakkhumanto rūpāni dakkhintīti, evam eva bhagavatā anekapariyāyena dhammo pakāsito.  es’ āhaṃ bhante bhagavantaṃ saraṇaṃ gacchāmi dhammañ ca bhikkhusaṃghañ ca, upāsakaṃ maṃ bhagavā dhāretu ajjatagge pāṇupetaṃ saraṇaṃ gatan ti.  so ’va loke paṭhamaṃ upāsako ahosi (17) tevāciko. |10| 
And the setthi, the householder, who thought: 'Indeed, sitting here I shall see Yasa, the noble youth, sitting here also I became glad and joyful, and having respectfully saluted the Blessed One, he sat down near him.  When the setthi, the householder, was sitting near him, the Blessed One preached to him in due course; that is to say, he talked about the merits obtained by alms-giving, . . . . (&c., as at end of § 5). And the setthi, the householder, having seen the Truth, having mastered the Truth, having penetrated the Truth, having overcome uncertainty, having dispelled all doubts, having gained full knowledge, dependent on nobody else for the knowledge of the doctrine of the Teacher, said to the Blessed One:  'Glorious, Lord! glorious, Lord! Just as if one should set up, Lord, what had been overturned, or should reveal what had been hidden, or should point out the way to one who had lost his way, or should bring a lamp into the darkness, in order that those who had eyes might see visible things, thus has the Blessed One preached the doctrine in many ways.  I take my refuge, Lord, in the Blessed One, and in the Dhamma, and in the fraternity of Bhikkhus; may the Blessed One receive me from this day forth while my life lasts as a disciple who has taken his refuge in Him.' 
เมื่อเศรษฐีผู้คหบดีนั่งเรียบร้อยแล้ว พระผู้มีพระภาคได้ทรงแสดงอนุปุพพิกถา คือ ทรงประกาศทานกถา สีลกถา สัคคกถา โทษ ความต่ำทราม ความเศร้าหมองของกามทั้งหลาย และอานิสงส์ในความออกจากกาม. เมื่อพระผู้มีพระภาคทรงทราบว่า เศรษฐีผู้คหบดี มีจิตสงบ มีจิตอ่อน มีจิตปลอดจากนิวรณ์ มีจิตเบิกบาน มีจิตผ่องใสแล้ว จึงทรงประกาศพระธรรมเทศนาที่พระพุทธเจ้าทั้งหลายทรงยกขึ้นแสดงด้วยพระองค์เอง คือ ทุกข์ สมุทัย นิโรธ มรรค. ดวงตาเห็นธรรม ปราศจากธุลี ปราศจากมลทินว่า สิ่งใดสิ่งหนึ่งมีความเกิดขึ้นเป็นธรรมดา สิ่งนั้นทั้งมวลมีความดับเป็นธรรมดา ได้เกิดแก่เศรษฐีผู้คหบดี ณ ที่นั่งนั้นแล ดุจผ้าที่สะอาดปราศจากมลทิน ควรได้รับน้ำย้อม ฉะนั้น. ครั้นเศรษฐีผู้คหบดี ได้เห็นธรรมแล้ว ได้บรรลุธรรมแล้ว ได้รู้ธรรมแจ่มแจ้งแล้ว มีธรรมอันหยั่งลงแล้ว ข้ามความสงสัยได้แล้ว ปราศจากถ้อยคำแสดงความสงสัย ถึงความเป็นผู้แกล้วกล้า ไม่ต้องเชื่อผู้อื่นในคำสอนของพระศาสดา ได้ทูลคำนี้แด่พระผู้มีพระภาคว่า  ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ ภาษิตของพระองค์แจ่มแจ้งนัก ภาษิตของพระองค์ไพเราะนัก พระพุทธเจ้าข้า พระองค์ทรงประกาศธรรมโดยอเนกปริยายอย่างนี้ เปรียบเหมือนบุคคลหงายของที่คว่ำ เปิดของที่ปิด บอกทางแก่คนหลงทาง หรือส่องประทีปในที่มืดด้วยตั้งใจว่า คนมีจักษุจักเห็นรูปดังนี้  ข้าพระพุทธเจ้านี้ ขอถึงพระผู้มีพระภาค พระธรรม และพระสงฆ์ ว่าเป็นสรณะ ขอพระองค์จงทรงจำข้าพระพุทธเจ้าว่า เป็นอุบาสกผู้มอบชีวิตถึงสรณะจำเดิมแต่วันนี้เป็นต้นไป.  ก็เศรษฐีผู้คหบดีนั้น ได้เป็นอุบาสกกล่าวอ้างพระรัตนตรัย เป็นคนแรกในโลก. 
เอกมนฺตํ นิสินฺนสฺส โข เสฏฺฐิสฺส คหปติสฺส ภควา อนุปุพฺพิ๎ กถํ กเถสิ เสยฺยถิทํ ทานกถํ สีลกถํ สคฺคกถํ กามานํ อาทีนวํ โอการํ สํกิเลสํ เนกฺขมฺเม อานิสํสํ ปกาเสสิ. ยทา ภควา อญฺญาสิ เสฏฺฐึ คหปตึ กลฺลจิตฺตํ มุทุจิตฺตํ วินีวรณจิตฺตํ อุทคฺคจิตฺตํ ปสนฺนจิตฺตํ อถ ยา พุทฺธานํ สามุกฺกํสิกา ธมฺมเทสนา ตํ ปกาเสสิ ทุกฺขํ สมุทยํ นิโรธํ มคฺคํ. เสยฺยถาปิ นาม สุทฺธํ วตฺถํ อปคตกาฬกํ สมฺมเทว รชนํ ปฏิคฺคณฺเหยฺย เอวเมว เสฏฺฐิสฺส คหปติสฺส ตสฺมึเยว อาสเน วิรชํ วีตมลํ ธมฺมจกฺขุํ อุทปาทิ ยํ กิญฺจิ สมุทยธมฺมํ สพฺพํ ตํ นิโรธธมฺมนฺติ. อถ โข เสฏฺฐิ คหปติ ทิฏฺฐธมฺโม ปตฺตธมฺโม วิทิตธมฺโม ปริโยคาฬฺหธมฺโม ติณฺณวิจิกิจฺโฉ วิคตกถํกโถ เวสารชฺชปฺปตฺโต อปรปฺปจฺจโย สตฺถุสาสเน ภควนฺตํ เอตทโวจ  “อภิกฺกนฺตํ ภนฺเต อภิกฺกนฺตํ ภนฺเต เสยฺยถาปิ ภนฺเต นิกฺกุชฺชิตํ วา อุกฺกุชฺเชยฺย ปฏิจฺฉนฺนํ วา วิวเรยฺย มูฬฺหสฺส วา มคฺคํ อาจิกฺเขยฺย อนฺธกาเร วา เตลปชฺโชตํ ธาเรยฺย จกฺขุมนฺโต รูปานิ ทกฺขนฺตีติ เอวเมวํ ภควตา อเนกปริยาเยน ธมฺโม ปกาสิโต.  เอสาหํ ภนฺเต ภควนฺตํ สรณํ คจฺฉามิ ธมฺมญฺจ ภิกฺขุสงฺฆญฺจ. อุปาสกํ มํ ภควา ธาเรตุ อชฺชตคฺเค ปาณุเปตํ สรณํ คต”นฺติ  โสว โลเก ปฐมํ อุปาสโก อโหสิ เตวาจิโก 
atha kho Yasassa kulaputtassa pituno dhamme desiyamāne yathādiṭṭhaṃ yathāviditaṃ bhūmiṃ paccavekkhantassa anupādāya āsavehi cittaṃ vimucci.  atha kho bhagavato etad ahosi:  Yasassa kulaputtassa pituno dhamme desiyamāne yathādiṭṭhaṃ yathāviditaṃ bhūmiṃ paccavekkhantassa anupādāya āsavehi cittaṃ vimuttaṃ.  abhabbo kho Yaso kulaputto hīnāyāvattitvā kāme paribhuñjituṃ seyyathāpi pubbe agārikabhūto.  yaṃ nūnāhaṃ taṃ iddhābhisaṃkhāraṃ paṭippassambheyyan ti.  atha kho bhagavā taṃ iddhābhisaṃkhāraṃ paṭippassambhesi. |11| 
This was the first person in the world who became a lay-disciple by the formula of the holy triad  And Yasa, the noble youth, while instruction was administered (by the Buddha) to his father, contemplated the stage of knowledge which he had seen with his mind and understood; and his mind became free from attachment to the world, and was released from the Âsavas.  Then the Blessed One thought:  'Yasa, the noble youth, while instruction was administered to his father, has contemplated the stage of knowledge which he had seen with his mind and understood; and his mind has become free from attachment to the world, and has become released from the Âsavas.  It is impossible that Yasa, the noble youth, should return to the world and enjoy pleasures, as he did before, when he lived in his house.  What if I were now to put an end to that exertion of my miraculous power.' 
ยสกุลบุตรสำเร็จพระอรหัตต์ [๒๘] คราวเมื่อพระผู้มีพระภาคทรงแสดงธรรมแก่บิดาของยสกุลบุตร จิตของยสกุลบุตร ผู้พิจารณาภูมิธรรมตามที่ตนได้เห็นแล้ว ได้รู้แจ้งแล้ว ก็พ้นจากอาสวะทั้งหลาย เพราะไม่ถือมั่น.  ครั้งนั้น พระผู้มีพระภาคได้ทรงพระดำริว่า  เมื่อเราแสดงธรรมแก่บิดาของยสกุลบุตรอยู่ จิตของยสกุลบุตร ผู้พิจารณาเห็นภูมิธรรมตามที่ตนได้เห็นแล้ว ได้รู้แจ้งแล้ว พ้นแล้วจากอาสวะทั้งหลาย เพราะไม่ถือมั่น.  ยสกุลบุตรไม่ควรจะกลับเป็นคฤหัสถ์บริโภคกาม เหมือนเป็นคฤหัสถ์ครั้งก่อน  ถ้ากระไร เราพึงคลายอิทธาภิสังขารนั้นได้แล้ว.  พระองค์ก็ได้ทรงคลายอิทธาภิสังขารนั้น. 
๒๘. อถ โข ยสสฺส กุลปุตฺตสฺส ปิตุโน ธมฺเม เทสิยมาเน ยถาทิฏฺฐํ ยถาวิทิตํ ภูมึ ปจฺจเวกฺขนฺตสฺส อนุปาทาย อาสเวหิ จิตฺตํ วิมุจฺจิ.  อถ โข ภควโต เอตทโหสิ  “ยสสฺส โข กุลปุตฺตสฺส ปิตุโน ธมฺเม เทสิยมาเน ยถาทิฏฺฐํ ยถาวิทิตํ ภูมึ ปจฺจเวกฺขนฺตสฺส อนุปาทาย อาสเวหิ จิตฺตํ วิมุตฺตํ.  อภพฺโพ โข ยโส กุลปุตฺโต หีนายาวตฺติตฺวา กาเม ปริภุญฺชิตุํ เสยฺยถาปิ ปุพฺเพ อคาริกภูโต  ยํนูนาหํ ตํ อิทฺธาภิสงฺขารํ ปฏิปฺปสฺสมฺเภยฺย”นฺติ.  อถ โข ภควา ตํ อิทฺธาภิสงฺขารํ ปฏิปฺปสฺสมฺเภสิ. 
addasa kho seṭṭhi gahapati Yasaṃ kulaputtaṃ nisinnaṃ, disvāna Yasaṃ kulaputtaṃ etad avoca:  mātā tetāta Yasa paridevasokasampannā, dehi mātu jīvitan ti. |12| 
And the Blessed One put an end to that exertion of his miraculous Power.  Then the setthi, the householder, saw Yasa, the noble youth, sitting there. On seeing him he said to Yasa, the noble youth: 
เศรษฐีผู้คหบดีได้เห็นยสกุลบุตรนั่งอยู่ ครั้นแล้วได้พูดกะยสกุลบุตรว่า  พ่อยส มารดาของเจ้าโศกเศร้าคร่ำครวญถึง เจ้าจงให้ชีวิตแก่มารดาของเจ้าเถิด. 
อทฺทสา โข เสฏฺฐิ คหปติ ยสํ กุลปุตฺตํ นิสินฺนํ ทิสฺวาน ยสํ กุลปุตฺตํ เอตทโวจ  “มาตา เต ตาต ยส ปริเทว โสกสมาปนฺนา เทหิ มาตุยา ชีวิต”นฺติ. 
atha kho Yaso kulaputto bhagavantaṃ ullokesi.  atha kho bhagavā seṭṭhiṃ gahapatiṃ etad avoca: taṃ kiṃ maññasi gahapati, Yasassa sekhena ñāṇena sekhena dassanena dhammo diṭṭho seyyathāpi tayā.  tassa yathādiṭṭhaṃ yathāviditaṃ bhūmiṃ paccavekkhantassa anupādāya āsavehi cittaṃ vimuttaṃ.  bhabbo nu kho Yaso gahapati hīnāyāvattitvā kāme paribhuñjituṃ seyyathāpi pubbe agārikabhūto ’ti.  no h’ etaṃ bhante.  Yasassa kho gahapati kulaputtassa sekhena ñāṇena sekhena dassanena dhammo diṭṭho seyyathāpi tayā.  tassa yathādiṭṭhaṃ yathāviditaṃ bhūmiṃ paccavekkhantassa anupādāya āsavehi cittaṃ vimuttaṃ.  abhabbo kho gahapati Yaso kulaputto hīnāyāvattitvā kāme paribhuñjituṃ seyyathāpi pubbe agārikabhūto ’ti. |13| 
'My son Yasa, your mother is absorbed in lamentation and grief; restore your mother to life.'  Then Yasa, the noble youth, looked at the Blessed One.  And the Blessed One said to the setthi, the householder: 'What do you think then, O householder? That Yasa has (first) won only an imperfect degree of knowledge and insight into the Truth, as you have yourself?  Or that rather he was contemplating the stage of knowledge which he had seen with his mind and understood; and that his mind has thus become free from attachment to the world, and has become released from the Âsavas?  Now would it then be possible, O householder, that Yasa should return to the world and enjoy pleasures as he did before, when he lived in his house?'  'Not so, Lord.'  'Yasa, the noble youth, O householder, had (first) won, like yourself, an imperfect degree of knowledge and insight into the Truth.  But when he was contemplating the stage of knowledge which he had seen with his mind and understood, his mind has become free from attachment to the world, and has become released from the Âsavas. 
ครั้งนั้น ยสกุลบุตรได้ชำเลืองดู พระผู้มีพระภาค  พระผู้มีพระภาคได้ตรัสแก่เศรษฐีผู้คหบดีว่า ดูกรคหบดี ท่านจะสำคัญความข้อนั้นเป็นไฉน? ยสกุลบุตรได้เห็นธรรมด้วยญาณทัสสนะเพียงเสขภูมิเหมือนท่าน  เมื่อเธอพิจารณาภูมิธรรมตามที่ตนได้เห็นแล้ว ได้รู้แจ้งแล้ว จิตพ้นแล้วจากอาสวะทั้งหลาย เพราะไม่ถือมั่น  ดูกรคหบดี ยสกุลบุตรควรหรือเพื่อจะกลับเป็นคฤหัสถ์บริโภคกาม เหมือนเป็นคฤหัสถ์ครั้งก่อน?.  เศรษฐีผู้คหบดีกราบทูลว่า ข้อนั้นไม่ควรเลย พระพุทธเจ้าข้า.  พระผู้มีพระภาคตรัสรับรองว่า ดูกรคหบดี ยสกุลบุตรได้เห็นธรรมด้วยญาณทัสสนะเพียงเสขภูมิเหมือนท่าน  เมื่อเธอพิจารณาภูมิธรรมตามที่ตนได้เห็นแล้ว ได้รู้แจ้งแล้ว จิตพ้นแล้วจากอาสวะทั้งหลาย เพราะไม่ถือมั่น  ดูกรคหบดี ยสกุลบุตรไม่ควรจะกลับเป็นคฤหัสถ์บริโภคกามเหมือนเป็นคฤหัสถ์ครั้งก่อน. 
อถ โข ยโส กุลปุตฺโต ภควนฺตํ อุลฺโลเกสิ.  อถ โข ภควา เสฏฺฐึ คหปตึ เอตทโวจ “ตํ กึ มญฺญสิ คหปติ ยสฺส เสกฺเขน ญาเณน เสกฺเขน ทสฺสเนน ธมฺโม ทิฏฺโฐ วิทิโต เสยฺยถาปิ ตยา?  ตสฺส ยถาทิฏฺฐํ ยถาวิทิตํ ภูมึ ปจฺจเวกฺขนฺตสฺส อนุปาทาย อาสเวหิ จิตฺตํ วิมุตฺตํ.  ภพฺโพ นุ โข โส คหปติ หีนายาวตฺติตฺวา กาเม ปริภุญฺชิตุํ เสยฺยถาปิ ปุพฺเพ อคาริกภูโต”ติ?  “โน เหตํ ภนฺเต”.  “ยสสฺส โข คหปติ กุลปุตฺตสฺส เสกฺเขน ญาเณน เสกฺเขน ทสฺสเนน ธมฺโม ทิฏฺโฐ วิทิโต เสยฺยถาปิ ตยา.  ตสฺส ยถาทิฏฺฐํ ยถาวิทิตํ ภูมึ ปจฺจเวกฺขนฺตสฺส อนุปาทาย อาสเวหิ จิตฺตํ วิมุตฺตํ.  อภพฺโพ โข คหปติ ยโส กุลปุตฺโต หีนายาวตฺติตฺวา กาเม ปริภุญฺชิตุํ เสยฺยถาปิ ปุพฺเพ อคาริกภูโต”ติ. 
lābhā bhante Yasassa kulaputtassa, suladdhaṃ bhante Yasassa kulaputtassa, yathā Yasassa kulaputtassa anupādāya āsavehi cittaṃ vimuttaṃ.  adhivāsetu me bhante bhagavā ajjatanāya bhattaṃ Yasena kulaputtena pacchāsamaṇenā ’ti.  adhivāsesi bhagavā tuṇhibhāvena.  atha kho seṭṭhi gahapati bhagavato adhivāsanaṃ viditvā uṭṭhāyāsanā bhagavantaṃ abhivādetvā padakkhiṇaṃ katvā pakkāmi. |14| 
It is impossible, O householder, that Yasa, the noble youth, should return to the world and enjoy pleasures as he did before, when he lived in his house.'  'It is all gain, Lord, to Yasa, the noble youth, it is high bliss, Lord, for Yasa, the noble youth, that the mind of Yasa, the noble youth, has become free from attachment to the world, and has become released from the Âsavas.  Might, Lord, the Blessed One consent to take his meal with me to-day together with Yasa, the noble youth, as his attendant?'  The Blessed One expressed his consent by remaining silent. 
เศรษฐีผู้คหบดีกราบทูลว่า การที่จิตของยสกุลบุตรพ้นจากอาสวะทั้งหลาย เพราะไม่ถือมั่นนั้น เป็นลาภของยสกุลบุตร ยสกุลบุตรได้ดีแล้ว พระพุทธเจ้าข้า  ขอพระผู้มีพระภาคมียสกุลบุตรเป็นปัจฉาสมณะ จงทรงรับภัตตาหารของข้าพระพุทธเจ้า เพื่อเสวยในวันนี้เถิด พระพุทธเจ้าข้า.  พระผู้มีพระภาคทรงรับโดยดุษณีภาพ.  ครั้นเศรษฐีผู้คหบดีทราบการรับนิมนต์ของพระผู้มีพระภาคแล้ว ได้ลุกจากที่นั่ง ถวายบังคมพระผู้มีพระภาค ทำประทักษิณแล้วกลับไป. 
“ลาภา ภนฺเต ยสสฺส กุลปุตฺตสฺส สุลทฺธํ ภนฺเต ยสสฺส กุลปุตฺตสฺส ยถา ยสสฺส กุลปุตฺตสฺส อนุปาทาย อาสเวหิ จิตฺตํ วิมุตฺตํ.  อธิวาเสตุ เม ภนฺเต ภควา อชฺชตนาย ภตฺตํ ยเสน กุลปุตฺเตน ปจฺฉาสมเณนา”ติ.  อธิวาเสสิ ภควา ตุณฺหีภาเวน.  อถ โข เสฏฺฐิ คหปติ ภควโต อธิวาสนํ วิทิตฺวา อุฏฺฐายาสนา ภควนฺตํ อภิวาเทตฺวา ปทกฺขิณํ กตฺวา ปกฺกามิ. 
atha kho Yaso kulaputto acirappakkante seṭṭhimhi gahapatimhi bhagavantaṃ etad avoca: labheyyāhaṃ bhante bhagavato santike pabbajjaṃ, {labheyyaṃ} upasampadan ti.  ehi bhikkhū ’ti bhagavā avoca, svākkhāto dhammo, cara brahmacariyaṃ sammā dukkhassa antakiriyāyā ’ti.  sā (18) ’va tassa āyasmato upasampadā ahosi.  tena kho pana samayena satta loke arahanto honti. |15| 
Then the setthi, the householder, when he understood that the Blessed One had accepted his invitation, rose from his seat, respectfully saluted the Blessed One, and passing round him with his right side towards him, departed thence.  And Vasâ, the noble youth, soon after the setthi, the householder, was gone, said to the Blessed One: 'Lord, let me receive the pabbaggâ and upasampadâ ordinations from the Blessed One.'  'Come, O Bhikkhu,' said the Blessed One, 'well taught is the doctrine; lead a holy life for the sake of the complete extinction of suffering.'  Thus this venerable person received the upasampadâ ordination. 
กาลเมื่อเศรษฐีผู้คหบดีกลับไปแล้วไม่นาน ยสกุลบุตรได้ทูลคำนี้ต่อพระผู้มีพระภาคว่า พระพุทธเจ้าข้า ขอข้าพระองค์พึงได้บรรพชา พึงได้อุปสมบทในสำนักพระผู้มีพระภาค.  พระผู้มีพระภาคตรัสว่า เธอจงเป็นภิกษุมาเถิด แล้วได้ตรัสต่อไปว่า ธรรมอันเรากล่าวดีแล้ว เธอจงประพฤติพรหมจรรย์เถิด.  พระวาจานั้นแล ได้เป็นอุปสมบทของท่านผู้มีอายุนั้น  สมัยนั้น มีพระอรหันต์เกิดขึ้นในโลก ๗ องค์. 
อถ โข ยโส กุลปุตฺโต อจิรปกฺกนฺเต เสฏฺฐิมฺหิ คหปติมฺหิ ภควนฺตํ เอตทโวจ “ลเภยฺยาหํ ภนฺเต ภควโต สนฺติเก ปพฺพชฺชํ ลเภยฺยํ อุปสมฺปท”นฺติ.  “เอหิ ภิกฺขู”ติ ภควา อโวจ “สฺวากฺขาโต ธมฺโม จร พฺรหฺมจริยํ สมฺมา ทุกฺขสฺส อนฺตกิริยายา”ติ.  สาว ตสฺส อายสฺมโต อุปสมฺปทา อโหสิ.  เตน โข ปน สมเยน สตฺต โลเก อรหนฺโต โหนฺติ. 
Yasapabbajjā niṭṭhitā. ||7|| 
At that time there were seven Arahats in the world. 
ยสบรรพชา จบ 
ยสสฺส ปพฺพชฺชา นิฏฺฐิตา. 
atha kho bhagavā pubbaṇhasamayaṃ nivāsetvā pattacīvaraṃ ādāya āyasmatā Yasena pacchāsamaṇena yena seṭṭhissa gahapatissa nivesanaṃ ten’ upasaṃkami, upasaṃkamitvā paññatte āsane nisīdi.  atha kho āyasmato Yasassa mātā ca purāṇadutiyikā ca yena bhagavā ten’ upasaṃkamiṃsu, upasaṃkamitvā bhagavantaṃ abhivādetvā ekamantam {nisīdiṃsu.} |1| 
End of the story of Yasa's pabbaggâ.  And in the forenoon the blessed One, having put on his under-robes, took his alms-bowl, and, with his kîvara on, went with the venerable Yasa as his attendant to the house of the setthi, the householder. When he had arrived there, he sat down on a seat laid out for him. 
มารดาและภรรยาเก่าของพระยสได้ธรรมจักษุ [๒๙] ขณะนั้นเป็นเวลาเช้า พระผู้มีพระภาคทรงอันตรวาสกแล้ว ถือบาตรจีวรมีท่านพระยสเป็นปัจฉาสมณะ เสด็จพระพุทธดำเนินไปสู่นิเวศน์ของเศรษฐีผู้คหบดี ครั้นถึงแล้ว ประทับนั่งเหนือพุทธอาสน์ที่เขาปูลาดถวาย.  ลำดับนั้น มารดาและภรรยาเก่าของท่านพระยส พากันเข้าเฝ้าพระผู้มีพระภาค ถวายบังคมแล้วนั่ง ณ ที่ควรส่วนข้างหนึ่ง. 
๒๙. อถ โข ภควา ปุพฺพณฺหสมยํ นิวาเสตฺวา ปตฺตจีวรมาทาย อายสฺมตา ยเสน ปจฺฉาสมเณน เยน เสฏฺฐิสฺส คหปติสฺส นิเวสนํ เตนุปสงฺกมิ อุปสงฺกมิตฺวา ปญฺญตฺเต อาสเน นิสีทิ. ข  อถ โข อายสฺมโต ยสสฺส มาตา จ ปุราณทุติยิกา จ เยน ภควา เตนุปสงฺกมึสุ อุปสงฺกมิตฺวา ภควนฺตํ อภิวาเทตฺวา เอกมนฺตํ นิสีทึสุ. 
tāsaṃ bhagavā anupubbikathaṃ kathesi seyyath’ īdaṃ: dānakathaṃ sīlakathaṃ saggakathaṃ kāmānaṃ ādīnavaṃ okāraṃ saṃkilesaṃ nekkhamme ānisaṃsaṃ pakāsesi.  yadā tā bhagavā aññāsi kallacittā muducittā vinīvaraṇacittā uddaggacittā pasannacittā, atha yā buddhānaṃ sāmukkaṃsikā dhammadesanā taṃ pakāsesi, dukkhaṃ samudayaṃ nirodhaṃ maggaṃ.  seyyathāpi nāma suddhaṃ vatthaṃ apagatakāḷakaṃ sammad eva rajanaṃ paṭigaṇheyya, evam eva tāsaṃ tasmiṃ yeva āsane virajaṃ vītamalaṃ dhammacakkhuṃ udapādi yaṃ kiñci samudayadhammaṃ sabbaṃ taṃ nirodhadhamman ti. |2| 
Then the mother and the former wife of the venerable Yasa went to the place where the Blessed One was; having approached him and having respectfully saluted the Blessed One. they sat down near him.  Then the Blessed One preached to them in due course; that is to say, he talked about the merits obtained by alms-giving, . . . . (&c., as in chap. 7. 5, 6, down to:);   
พระผู้มีพระภาคตรัสอนุปุพพิกถาแก่นางทั้งสอง คือ ทรงประกาศทานกถา สีลกถา สัคคกถา โทษ ความต่ำทราม ความเศร้าหมองของกามทั้งหลาย และอานิสงส์ในความออกจากกาม.  เมื่อพระผู้มีพระภาคทรงทราบว่า นางทั้งสองมีจิตสงบ มีจิตอ่อน มีจิตปลอดจากนิวรณ์ มีจิตเบิกบาน มีจิตผ่องใสแล้ว จึงทรงประกาศพระธรรมเทศนาที่พระพุทธเจ้าทั้งหลายทรงยกขึ้นแสดงด้วยพระองค์เอง คือ ทุกข์ สมุทัย นิโรธ มรรค.  ดวงตาเห็นธรรม ปราศจากธุลี ปราศจากมลทินว่า สิ่งใดสิ่งหนึ่งมีความเกิดขึ้นเป็นธรรมดา สิ่งนั้นทั้งมวลมีความดับเป็นธรรมดา ได้เกิดแก่นางทั้งสอง ณ ที่นั่งนั้นแล ดุจผ้าที่สะอาดปราศจากมลทิน ควรได้รับน้ำย้อมเป็นอย่างดี ฉะนั้น. 
ตาสํ ภควา อนุปุพฺพิ๎ กถํ กเถสิ เสยฺยถิทํ ทานกถํ สีลกถํ สคฺคกถํ กามานํ อาทีนวํ โอการํ สํกิเลสํ เนกฺขมฺเม อานิสํสํ ปกาเสสิ.  ยทา ตา ภควา อญฺญาสิ กลฺลจิตฺตา มุทุจิตฺตา วินีวรณจิตฺตา อุทคฺคจิตฺตา ปสนฺนจิตฺตา อถ ยา พุทฺธานํ สามุกฺกํสิกา ธมฺมเทสนา ตํ ปกาเสสิ ทุกฺขํ สมุทยํ นิโรธํ มคฺคํ  เสยฺยถาปิ นาม สุทฺธํ วตฺถํ อปคตกาฬกํ สมฺมเทว รชนํ ปฏิคฺคณฺเหยฺย เอวเมว ตาสํ ตสฺมึเยว อาสเน วิรชํ วีตมลํ ธมฺมจกฺขุํ อุทปาทิ ยํ กิญฺจิ สมุทยธมฺมํ สพฺพํ ตํ นิโรธธมฺมนฺติ. 
tā diṭṭhadhammā pattadhammā viditadhammā pariyogāḷhadhammā tiṇṇavicikicchā vigatakathaṃkathā vesārajjappattā aparappaccayā satthu sāsane bhagavantaṃ etad avocuṃ:  abhikkantaṃ bhante, abhikkantaṃ bhante --la-- etā mayaṃ bhante bhagavantaṃ saraṇaṃ gacchāma dhammañ ca bhikkhusaṃghañ ca, upāsikāyo no bhagavā dhāretu ajjatagge pāṇupetā saraṇaṃ gatā ’ti.  tā ’va loke paṭhamaṃ upāsikā ahesuṃ tevācikā. |3| 
thus they obtained, while sitting there, the pure and spotless Eye of theTruth (that is, the knowledge): 'Whatsoever is subject to the condition of origination is subject also to the condition of cessation.'  And having seen the Truth, . . . . (&c., as above, §§ 5, 6, down to:), dependent on nobody else for knowledge of the Teacher's doctrine, they thus spoke to the Blessed One:  'Glorious, Lord! glorious Lord! Just as if one should set up' (&c., as in chap. 7. 10, down to:). We take our refuge, Lord, in the Blessed One, and in the Dhamma, and in the fraternity of Bhikkhus; may the Blessed One receive us from this day forth, while our life lasts, as disciples who have taken their refuge in Him.' 
มารดาและภรรยาเก่าของท่านพระยสได้เห็นธรรมแล้ว ได้บรรลุธรรมแล้ว ได้รู้ธรรมแจ่มแจ้งแล้ว มีธรรมอันหยั่งลงแล้ว ข้ามความสงสัยได้แล้ว ปราศจากถ้อยคำแสดงความสงสัย ถึงความเป็นผู้แกล้วกล้า ไม่ต้องเชื่อผู้อื่นในคำสอนของพระศาสดา ได้ทูลคำนี้ต่อพระผู้มีพระภาคว่า  ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญภาษิตของพระองค์แจ่มแจ้งนัก ภาษิตของพระองค์ไพเราะนัก พระพุทธเจ้าข้า พระองค์ทรงประกาศธรรมโดยอเนกปริยาย เปรียบเหมือนบุคคลหงายของที่คว่ำ เปิดของที่ปิด บอกทางแก่คนหลงทาง หรือส่องประทีปในที่มืดด้วยตั้งใจว่า คนมีจักษุจักเห็นรูป ดังนี้ หม่อมฉันทั้งสองนี้ ขอถึงพระผู้มีพระภาค พระธรรม และพระภิกษุสงฆ์ว่าเป็นสรณะ ขอพระองค์จงทรงจำหม่อมฉันทั้งสองว่า เป็นอุบาสิกาผู้มอบชีวิตถึงสรณะ จำเดิมแต่วันนี้เป็นต้นไป.  ก็มารดาและภรรยาเก่าของท่านพระยส ได้เป็นอุบาสิกา กล่าวอ้างพระรัตนตรัยเป็นชุดแรกในโลก. 
ตา ทิฏฺฐธมฺมา ปตฺตธมฺมา วิทิตธมฺมา ปริโยคาฬฺหธมฺมา ติณฺณวิจิกิจฺฉา วิคตกถํกถา เวสารชฺชปฺปตฺตา อปรปฺปจฺจยา สตฺถุสาสเน ภควนฺตํ เอตทโวจุํ  “อภิกฺกนฺตํ ภนฺเต อภิกฺกนฺตํ ภนฺเตฯเปฯ เอตา มยํ ภนฺเต ภควนฺตํ สรณํ คจฺฉาม ธมฺมญฺจ ภิกฺขุสงฺฆญฺจ. อุปาสิกาโย โน ภควา ธาเรตุ อชฺชตคฺเค ปาณุเปตา สรณํ คตา”ติ.  ตา จ โลเก ปฐมํ อุปาสิกา อเหสุํ เตวาจิกา. 
atha kho āyasmato Yasassa mātā ca pitā ca purāṇadutiyikā ca bhagavantañ ca āyasmantañ ca Yasaṃ paṇītena khādaniyena bhojaniyena sahatthā santappetvā sampavāretvā bhagavantaṃ bhuttāviṃ onītapattapāṇiṃ ekamantaṃ nisīdiṃsu.  atha kho bhagavā āyasmato Yasassa mātarañ ca pitarañ ca purāṇadutiyikañ ca dhammiyā kathāya sandassetvā samādapetvā samuttejetvā sampahaṃsetvā uṭṭhāyāsanā pakkāmi. |4| 
These were the first females in the world who became lay-disciples by the formula of the holy triad.  And the mother and the father and the former wife of the venerable Yasa with their own hands served and offered excellent food, both hard and soft, to the Blessed One and to the venerable Yasa; and when the Blessed One had finished his meal, and cleansed his bowl and his hands, they sat down near him. 
ครั้งนั้น มารดาบิดาและภรรยาเก่าของท่านพระยสได้อังคาสพระผู้มีพระภาคและท่านพระยส ด้วยขาทนียโภชนียาหารอันประณีตด้วยมือของตนๆ จนให้ห้ามภัต ทรงนำพระหัตถ์ออกจากบาตรแล้ว จึงนั่ง ณ ที่ควรส่วนข้างหนึ่ง.  ขณะนั้น พระผู้มีพระภาคทรงชี้แจงให้มารดาบิดา และภรรยาเก่าของท่านพระยส เห็นแจ้ง สมาทาน อาจหาญ ร่าเริง ด้วยธรรมีกถา แล้วเสด็จลุกจากอาสนะกลับไป. 
อถ โข อายสฺมโต ยสสฺส มาตา จ ปิตา จ ปุราณทุติยิกา จ ภควนฺตญฺจ อายสฺมนฺตญฺจ ยสํ ปณีเตน ขาทนีเยน โภชนีเยน สหตฺถา สนฺตปฺเปตฺวา สมฺปวาเรตฺวา ภควนฺตํ ภุตฺตาวึ โอนีตปตฺตปาณึ เอกมนฺตํ นิสีทึสุ.  อถ โข ภควา อายสฺมโต ยสสฺส มาตรญฺจ ปิตรญฺจ ปุราณทุติยิกญฺจ ธมฺมิยา กถาย สนฺทสฺเสตฺวา สมาทเปตฺวา สมุตฺเตเชตฺวา สมฺปหํเสตฺวา อุฏฺฐายาสนา ปกฺกามิ. 
||8|| 
Then the Blessed One taught, incited, animated, and gladdened the mother, and father, and the former wife of the venerable Yasa by religious discourse; and then he rose from his seat and went away. 
 
assosuṃ kho āyasmato Yasassa cattāro gihisahāyakā Bārāṇasiyaṃ seṭṭhānuseṭṭhīnaṃ kulānaṃ puttā Vimalo (19) Subāhu Puṇṇaji Gavampati: Yaso kira kulaputto kesamassuṃ ohāretvā kāsāyāni vatthāni acchādetvā agārasmā anagāriyaṃ pabbajito ’ti.  sutvāna nesaṃ etad ahosi: na hi nūna so orako dhammavinayo, na sā orakā pabbajjā, yattha Yaso kulaputto kesamassuṃ ohāretvā kāsāyāni vatthāni acchādetvā agārasmā anagāriyaṃ pabbajito ’ti. |1| 
Now four lay persons, friends of the venerable Yasa, belonging to the setthi families of Benares, and to the highest after the setthi families, by name Vimala, Subâhu, Punnagi, and Gavampati, heard: 'Yasa, the noble youth, has cut off his hair and beard, and has put on yellow robes, and has given up the world, and gone forth into the houseless state.' 
สหายคฤหัสถ์ ๔ คนของพระยสออกบรรพชา [๓๐] สหายคฤหัสถ์ ๔ คนของท่านพระยส คือ วิมล ๑ สุพาหุ ๑ ปุณณชิ ๑ ควัมปติ ๑ เป็นบุตรของสกุลเศรษฐีสืบๆ มา ในพระนครพาราณสี ได้ทราบข่าวว่า ยสกุลบุตรปลงผมและหนวด นุ่งห่มผ้ากาสายะ ออกจากเรือน บวชเป็นบรรพชิตแล้ว.  ครั้นทราบดังนั้นแล้ว ได้ดำริว่า ธรรมวินัยและบรรพชาที่ยสกุลบุตร ปลงผมและหนวดนุ่งห่มผ้ากาสายะออกจากเรือนบวชเป็นบรรพชิตแล้วนั้น คงไม่ต่ำทรามแน่นอน 
  ๓๐. อสฺโสสุํ โข อายสฺมโต ยสสฺส จตฺตาโร คิหิสหายกา พาราณสิยํ เสฏฺฐานุเสฏฺฐีนํ กุลานํ ปุตฺตา วิมโล สุพาหุ ปุณฺณชิ ควมฺปติ ยโส กิร กุลปุตฺโต เกสมสฺสุํ โอหาเรตฺวา กาสายานิ วตฺถานิ อจฺฉาเทตฺวา อคารสฺมา อนคาริยํ ปพฺพชิโตติ. 
te cattāro janā yenāyasmā Yaso ten’ upasaṃkamiṃsu, upasaṃkamitvā āyasmantaṃ Yasaṃ abhivādetvā ekamantaṃ aṭṭhaṃsu.  atha kho āyasmā Yaso te cattāro gihisahāyake ādāya yena bhagavā ten’ upasaṃkami, upasaṃkamitvā bhagavantaṃ abhivādetvā ekamantaṃ nisīdi. ekamantaṃ nisinno kho āyasmā Yaso bhagavantaṃ etad avoca:  ime me bhante cattāro gihisahāyakā Bārāṇasiyaṃ seṭṭhānuseṭṭhīnaṃ kulānaṃ puttā Vimalo Subāhu Puṇṇaji Gavampati, ime cattāro bhagavā ovadatu anusāsatū ’ti. |2| 
When they had heard that, they thought: 'Surely that cannot be a common doctrine and discipline, that cannot be a common renunciation of the world, if Yasa, the noble youth, has cut off his hair and beard, and has put on yellow robes, and has given up the world, and gone forth into the houseless state.'  Those four persons went to the place where the venerable Yasa was; having approached him and having respectfully saluted the venerable Yasa, they stood by his side.  And the venerable Yasa went with his four lay-friends to the place where the Blessed One was; having approached him and having respectfully saluted the Blessed One, he sat down near him. Sitting near him the venerable Yasa said to the Blessed One: 
ดังนี้ จึงพากันเข้าไปหาท่านพระยส อภิวาทแล้วได้ยืนอยู่ ณ ที่ควรส่วนข้างหนึ่ง  จึงท่านพระยสพาสหายคฤหัสถ์ทั้ง ๔ นั้น เข้าเฝ้าพระผู้มีพระภาคถวายบังคมแล้วนั่ง ณ ที่ควรส่วนข้างหนึ่ง ได้กราบทูลว่า  พระพุทธเจ้าข้า สหายคฤหัสถ์ของข้าพระองค์ ๔ คนนี้ ชื่อ วิมล ๑ สุพาหุ ๑ ปุณณชิ ๑ ควัมปติ ๑ เป็นบุตรของสกุลเศรษฐี สืบๆ มาในพระนครพาราณสี ขอพระผู้มีพระภาคโปรดประทานโอวาทสั่งสอนสหายของข้าพระองค์เหล่านี้. 
สุตฺวาน เนสํ เอตทโหสิ “น หิ นูน โส โอรโก ธมฺมวินโย น สา โอรกา ปพฺพชฺชา ยตฺถ ยโส กุลปุตฺโต เกสมสฺสุํ โอหาเรตฺวา กาสายานิ วตฺถานิ อจฺฉาเทตฺวา อคารสฺมา อนคาริยํ ปพฺพชิโต”ติ.  เต เยนายสฺมา ยโส เตนุปสงฺกมึสุ อุปสงฺกมิตฺวา อายสฺมนฺตํ ยสํ อภิวาเทตฺวา เอกมนฺตํ อฏฺฐํสุ.  อถ โข อายสฺมา ยโส เต จตฺตาโร คิหิสหายเก อาทาย เยน ภควา เตนุปสงฺกมิ อุปสงฺกมิตฺวา ภควนฺตํ อภิวาเทตฺวา เอกมนฺตํ นิสีทิ. เอกมนฺตํ นิสินฺโน โข อายสฺมา ยโส ภควนฺตํ เอตทโวจ 
tesaṃ bhagavā anupubbikathaṃ kathesi seyyath’ īdaṃ: dānakathaṃ sīlakathaṃ saggakathaṃ kāmānaṃ ādīnavaṃ okāraṃ saṃkilesaṃ nekkhamme ānisaṃsaṃ pakāsesi.  yadā te bhagavā aññāsi kallacitte muducitte vinīvaraṇacitte udaggacitte pasannacitte, atha yā buddhānaṃ sāmukkaṃsikā dhammadesanā taṃ pakāsesi, dukkhaṃ samudayaṃ nirodhaṃ maggaṃ.  seyyathāpi nāma suddhaṃ vatthaṃ apagatakāḷakaṃ sammad eva rajanaṃ paṭigaṇheyya, evam eva tesaṃ tasmiṃ yeva āsane virajaṃ vītamalaṃ dhammacakkhuṃ udapādi yaṃ kiñci samudayadhammaṃ sabbaṃ taṃ nirodhadhamman ti. |3| 
'Lord, here are four lay-friends of mine, belonging to the setthi families of Benares and to the highest after the setthi families; their names are Vimala, Subâhu, Punnagi, and Gavampati. May the Blessed One administer exhortation and. instruction to these four persons.  Then the Blessed One preached to them, . . . . (&c., as in chap. 8. 2).   
พระผู้มีพระภาคทรงแสดงอนุปุพพิกถาแก่พวกเขา คือ ทรงประกาศทานกถา สีลกถา สัคคกถา โทษ ความต่ำทราม ความเศร้าหมองของกามทั้งหลาย และอานิสงส์ในความออกจากกาม.  เมื่อพระผู้มีพระภาคทรงทราบว่า พวกเขามีจิตสงบ มีจิตอ่อน มีจิตปลอดจากนิวรณ์ มีจิตเบิกบาน มีจิตผ่องใสแล้ว จึงทรงประกาศพระธรรมเทศนาที่พระพุทธเจ้าทั้งหลายทรงยกขึ้นแสดงด้วยพระองค์เอง คือ ทุกข์ สมุทัย นิโรธ มรรค.  ดวงตาเห็นธรรมปราศจากธุลี ปราศจากมลทิน ว่า สิ่งใดสิ่งหนึ่งมีความเกิดขึ้นเป็นธรรมดา สิ่งนั้นทั้งมวลมีความดับเป็นธรรมดา ได้เกิดแก่พวกเขา ณ ที่นั่งนั้นแล ดุจผ้าที่สะอาดปราศจากมลทิน ควรได้รับน้ำย้อมเป็นอย่างดี ฉะนั้น. 
“อิเม เม ภนฺเต จตฺตาโร คิหิสหายกา พาราณสิยํ เสฏฺฐานุเสฏฺฐีนํ กุลานํ ปุตฺตา วิมโล สุพาหุ ปุณฺณชิ ควมฺปติ. อิเม ภควา โอวทตุ อนุสาสตู”ติ  เตสํ ภควา อนุปุพฺพิ๎ กถํ กเถสิ เสยฺยถิทํ ทานกถํ สีลกถํ สคฺคกถํ กามานํ อาทีนวํ โอการํ สํกิเลสํ เนกฺขมฺเม อานิสํสํ ปกาเสสิ  ยทา เต ภควา อญฺญาสิ กลฺลจิตฺเต มุทุจิตฺเต วินีวรณจิตฺเต อุทคฺคจิตฺเต ปสนฺนจิตฺเต อถ ยา พุทฺธานํ สามุกฺกํสิกา ธมฺมเทสนา ตํ ปกาเสสิ ทุกฺขํ สมุทยํ นิโรธํ มคฺคํ 
te diṭṭhadhammā pattadhammā viditadhammā {pariyogāḷhadhammā} tiṇṇavicikicchā vigatakathaṃkathā vesārajjappattā aparappaccayā satthu sāsane bhagavantaṃ etad avocuṃ:  labheyyāma mayaṃ bhante bhagavato santike pabbajjaṃ, labheyyāma upasampadan ti.  etha bhikkhavo ’ti bhagavā avoca, svākkhāto dhammo, caratha brahmacariyaṃ sammā dukkhassa antakiriyāyā ’ti.  sā ’va tesaṃ āyasmantānaṃ upasampadā ahosi.  atha kho bhagavā te {bhikkhū} dhammiyā kathāya ovadi anusāsi.  tesaṃ bhagavatā dhammiyā kathāya ovadiyamānānaṃ anusāsiyamānānaṃ anupādāya āsavehi cittāni vimucciṃsu.  tena kho pana samayena ekādasa loke arahanto honti. |4| 
  And having seen the Truth, . . . . (&c., down to:) dependent on nobody else for the knowledge of the Teacher's doctrine, they thus spoke to the Blessed One:  'Lord, let us receive the pabbaggâ and upasampadâ ordinations from the Blessed One.'  'Come, O Bhikkhus,' said the Blessed One, 'well taught is the doctrine; lead a holy life for the sake of the complete extinction of suffering.'  Thus these venerable persons received the upasampadâ ordination.  And the Blessed One administered to these Bhikkhus exhortation and instruction by discourse relating to the Dhamma.  While they received exhortation and instruction from the Blessed One by discourse relating to the Dhamma. their minds became free from attachment to the world, and were released from the Âsavas. 
พวกเขาได้เห็นธรรมแล้ว ได้บรรลุธรรมแล้ว ได้รู้ธรรมแจ่มแจ้งแล้ว มีธรรมอันหยั่งลงแล้ว ข้ามความสงสัยได้แล้ว ปราศจากถ้อยคำแสดงความสงสัย ถึงความเป็นผู้แกล้วกล้า ไม่ต้องเชื่อผู้อื่นในคำสอนของพระศาสดา ได้ทูลคำนี้ต่อพระผู้มีพระภาคว่า  พระพุทธเจ้าข้า ขอพวกข้าพระองค์พึงได้บรรพชา พึงได้อุปสมบทในสำนักพระผู้มีพระภาค.  พระผู้มีพระภาคตรัสว่า พวกเธอจงเป็นภิกษุมาเถิด ดังนี้ แล้วได้ตรัสต่อไปว่า ธรรมอันเรากล่าวดีแล้ว พวกเธอจงประพฤติพรหมจรรย์ เพื่อทำที่สุดทุกข์โดยชอบเถิด.  พระวาจานั้นแล ได้เป็นอุปสมบทของท่านผู้มีอายุเหล่านั้น.  ต่อมา พระผู้มีพระภาคทรงประทานโอวาทสั่งสอนภิกษุเหล่านั้นด้วยธรรมีกถา.  เมื่อพระผู้มีพระภาคทรงประทานโอวาทสั่งสอนภิกษุเหล่านั้นด้วยธรรมีกถา จิตของภิกษุเหล่านั้น พ้นแล้วจากอาสวะทั้งหลาย เพราะไม่ถือมั่น.  สมัยนั้น มีพระอรหันต์เกิดขึ้นในโลก ๑๑ องค์. 
เสยฺยถาปิ นาม สุทฺธํ วตฺถํ อปคตกาฬกํ สมฺมเทว รชนํ ปฏิคฺคณฺเหยฺย เอวเมว เตสํ ตสฺมึเยว อาสเน วิรชํ วีตมลํ ธมฺมจกฺขุํ อุทปาทิ “ยํ กิญฺจิ สมุทยธมฺมํ สพฺพํ ตํ นิโรธธมฺม”นฺติ.  เต ทิฏฺฐธมฺมา ปตฺตธมฺมา วิทิตธมฺมา ปริโยคาฬฺหธมฺมา ติณฺณวิจิกิจฺฉา วิคตกถํกถา เวสารชฺชปฺปตฺตา อปรปฺปจฺจยา สตฺถุสาสเน ภควนฺตํ เอตทโวจุํ  “ลเภยฺยาม มยํ ภนฺเต ภควโต สนฺติเก ปพฺพชฺชํ ลเภยฺยาม อุปสมฺปท”นฺติ.  “เอถ ภิกฺขโว”ติ ภควา อโวจ “สฺวากฺขาโต ธมฺโม จรถ พฺรหฺมจริยํ สมฺมา ทุกฺขสฺส อนฺตกิริยายา”ติ.  สาว เตสํ อายสฺมนฺตานํ อุปสมฺปทา อโหสิ.  อถ โข ภควา เต ภิกฺขู ธมฺมิยา กถาย โอวทิ อนุสาสิ.  เตสํ ภควตา ธมฺมิยา กถาย โอวทิยมานานํ อนุสาสิยมานานํ อนุปาทาย อาสเวหิ จิตฺตานิ วิมุจฺจึสุ. 
Catugihipabbajjā niṭṭhitā. ||9|| 
At that time there were eleven Arahats in the world. 
สหายคฤหัสถ์ ๔ คน ของพระยสออกบรรพชา จบ. 
เตน โข ปน สมเยน เอกาทส โลเก อรหนฺโต โหนฺติ. 
([page 020] 20 MAHĀVAGGA. [I. 10-11. 1.) assosuṃ kho āyasmato Yasassa paññāsamattā gihisahāyakā janapadā pubbānupubbakānaṃ kulānaṃ puttā:  Yaso kira kulaputto kesamassuṃ ohāretvā kāsāyāni vatthāni acchādetvā agārasmā anagāriyaṃ pabbajito ’ti.  sutvāna nesaṃ etad ahosi: na hi nūna so orako dhammavinayo, na sā orakā pabbajjā, yattha Yaso kulaputto kesamassuṃ ohāretvā kāsāyāni vatthāni acchādetvā agārasmā anagāriyaṃ pabbajito ’ti. |1| 
Here ends the story of the ordination of the four laymen.  Now fifty lay persons, friends of the venerable Yasa, belonging to the highest families in the country and to those next to the highest, heard, . . . . ( &c., as in chap. 9, §§ 1, 2, 3, 4, down to:).   
สหายคฤหัสถ์ ๕๐ คน ของพระยสออกบรรพชา [๓๑] สหายคฤหัสถ์ของท่านพระยส เป็นชาวชนบทจำนวน ๕๐ คน เป็นบุตรของสกุลเก่าสืบๆ กันมา ได้ทราบข่าวว่า  ยสกุลบุตร ปลงผมและหนวด นุ่งห่มผ้ากาสายะ ออกจากเรือนบวชเป็นบรรพชิตแล้ว.  ครั้นทราบดังนั้นแล้วได้ดำริว่า ธรรมวินัยและบรรพชาที่ยสกุลบุตรปลงผมและหนวด นุ่งห่มผ้ากาสายะออกจากเรือนบวชเป็นบรรพชิตแล้วนั้น คงไม่ต่ำทรามแน่นอน 
จตุคิหิสหายกปพฺพชฺชา นิฏฺฐิตา.  ๓๑. อสฺโสสุํ โข อายสฺมโต ยสสฺส ปญฺญาสมตฺตา คิหิสหายกา ชานปทา ปุพฺพานุปุพฺพกานํ กุลานํ ปุตฺตา  ยโส กิร กุลปุตฺโต เกสมสฺสุํ โอหาเรตฺวา กาสายานิ วตฺถานิ อจฺฉาเทตฺวา อคารสฺมา อนคาริยํ ปพฺพชิโตติ. 
te yenāyasmā Yaso ten’ upasaṃkamiṃsu, upasaṃkamitvā āyasmantaṃ Yasaṃ abhivādetvā ekamantaṃ aṭṭhaṃsu.  atha kho āyasmā Yaso te paññāsamatte gihisahāyake ādāya yena bhagavā ten’ upasaṃkami, upasaṃkamitvā bhagavantaṃ abhivādetvā ekamantaṃ nisīdi. ekamantaṃ nisinno kho āyasmā Yaso bhagavantaṃ etad avoca:  ime me bhante paññāsamattā gihisahāyakā janapadā pubbānupubbakānaṃ kulānaṃ puttā, ime bhagavā ovadatu anusāsatū ’ti. |2| 
     
ดังนี้ จึงพากันเข้าไปหาท่านพระยส อภิวาทแล้วได้ยืนอยู่ ณ ที่ควรส่วนข้างหนึ่ง  จึงท่านพระยสพาสหายคฤหัสถ์จำนวน ๕๐ คนนั้นเข้าเฝ้าพระผู้มีพระภาค ถวายบังคมแล้วนั่ง ณ ที่ควรส่วนข้างหนึ่ง ได้กราบทูลว่า  พระพุทธเจ้าข้า สหายคฤหัสถ์ของข้าพระองค์เหล่านี้เป็นชาวชนบท เป็นบุตรของสกุลเก่าสืบๆ กันมา ขอพระผู้มีพระภาคโปรดประทานโอวาทสั่งสอนสหายของข้าพระองค์เหล่านี้. 
สุตฺวาน เนสํ เอตทโหสิ “น หิ นูน โส โอรโก ธมฺมวินโย น สา โอรกา ปพฺพชฺชา ยตฺถ ยโส กุลปุตฺโต เกสมสฺสุํ โอหาเรตฺวา กาสายานิ วตฺถานิ อจฺฉาเทตฺวา อคารสฺมา อนคาริยํ ปพฺพชิโต”ติ.  เต เยนายสฺมา ยโส เตนุปสงฺกมึสุ อุปสงฺกมิตฺวา อายสฺมนฺตํ ยสํ อภิวาเทตฺวา เอกมนฺตํ อฏฺฐํสุ.  อถ โข อายสฺมา ยโส เต ปญฺญาสมตฺเต คิหิสหายเก อาทาย เยน ภควา เตนุปสงฺกมิ อุปสงฺกมิตฺวา ภควนฺตํ อภิวาเทตฺวา เอกมนฺตํ นิสีทิ. เอกมนฺตํ นิสินฺโน โข อายสฺมา ยโส ภควนฺตํ เอตทโวจ 
tesaṃ bhagavā anupubbikathaṃ kathesi seyyath’ īdaṃ: dānakathaṃ sīlakathaṃ saggakathaṃ kāmānaṃ ādīnavaṃ okāraṃ saṃkilesaṃ nekkhamme ānisaṃsaṃ pakāsesi --pa-- dukkhaṃ samudayaṃ nirodhaṃ maggaṃ.  seyyathāpi nāma suddhaṃ vatthaṃ apagatakāḷakaṃ sammad eva rajanaṃ paṭigaṇheyya, evam eva tesaṃ tasmiṃ yeva āsane virajaṃ vītamalaṃ dhammacakkhuṃ udapādi yaṃ kiñci samudayadhammaṃ sabbaṃ taṃ nirodhadhamman ti. |3| 
   
พระผู้มีพระภาคทรงแสดงอนุปุพพิกถาแก่พวกเขา คือ ทรงประกาศทานกถา สีลกถา สัคคกถา โทษ ความต่ำทราม ความเศร้าหมองของกามทั้งหลาย และอานิสงส์ในความออกจากกาม. เมื่อพระผู้มีพระภาคทรงทราบว่า พวกเขามีจิตสงบ มีจิตอ่อน มีจิตปลอดจากนิวรณ์ มีจิตเบิกบาน มีจิตผ่องใสแล้ว จึงทรงประกาศพระธรรมเทศนา ที่พระพุทธเจ้าทั้งหลายทรงยกขึ้นแสดงด้วยพระองค์เอง คือ ทุกข์ สมุทัย นิโรธ มรรค.  ดวงตาเห็นธรรม ปราศจากธุลี ปราศจากมลทิน ว่า สิ่งใดสิ่งหนึ่งมีความเกิดขึ้นเป็นธรรมดา สิ่งนั้นทั้งมวลมีความดับเป็นธรรมดา ได้เกิดแก่พวกเขา ณ ที่นั่งนั้นแล ดุจผ้าที่สะอาดปราศจากมลทิน ควรได้รับน้ำย้อมเป็นอย่างดี ฉะนั้น. 
“อิเม เม ภนฺเต ปญฺญาสมตฺตา คิหิสหายกา ชานปทา ปุพฺพานุปุพฺพกานํ กุลานํ ปุตฺตา. อิเม ภควา โอวทตุ อนุสาสตู”ติ.  เตสํ ภควา อนุปุพฺพิ๎ กถํ กเถสิ เสยฺยถิทํ ทานกถํ สีลกถํ สคฺคกถํ กามานํ อาทีนวํ โอการํ สํกิเลสํ เนกฺขมฺเม อานิสํสํ ปกาเสสิ. ยทา เต ภควา อญฺญาสิ กลฺลจิตฺเต มุทุจิตฺเต วินีวรณจิตฺเต อุทคฺคจิตฺเต ปสนฺนจิตฺเต อถ ยา พุทฺธานํ สามุกฺกํสิกา ธมฺมเทสนา ตํ ปกาเสสิ ทุกฺขํ สมุทยํ นิโรธํ มคฺคํ 
te diṭṭhadhammā pattadhammā viditadhammā pariyogāḷhadhammā tiṇṇavicikicchā vigatakathaṃkathā vesārajjappattā aparappaccayā satthu sāsane bhagavantaṃ etad avocuṃ:  labheyyāma mayaṃ bhante bhagavato santike pabbajjaṃ, labheyyāma upasampadan ti.  etha bhikkhavo ’ti bhagavā avoca, svākkhāto dhammo, caratha brahmacariyaṃ sammā dukkhassa antakiriyāyā ’ti.  sā ’va tesaṃ āyasmantānaṃ upasampadā ahosi.  atha kho bhagavā te bhikkhū dhammiyā kathāya ovadi anusāsi.  tesaṃ bhagavatā dhammiyā kathāya ovadiyamānānaṃ anusāsiyamānānaṃ anupādāya āsavehi cittāni vimucciṃsu.  tena kho pana samayena ekasaṭṭhi loke arahanto honti. |4| 
            While they received exhortation and instruction from the Blessed One by discourse relating to the Dhamma, their minds became free from attachment to the world, and were released from the Âsavas. 
พวกเขาได้เห็นธรรมแล้ว ได้บรรลุธรรมแล้ว ได้รู้ธรรมแจ่มแจ้งแล้ว มีธรรมอันหยั่งลงแล้ว ข้ามความสงสัยได้แล้ว ปราศจากถ้อยคำแสดงความสงสัย ถึงความเป็นผู้แกล้วกล้า ไม่ต้องเชื่อผู้อื่นในคำสอนของพระศาสดา ได้ทูลคำนี้ต่อพระผู้มีพระภาคว่า  พระพุทธเจ้าข้า ขอพวกข้าพระองค์พึงได้บรรพชา พึงได้อุปสมบทในสำนักพระผู้มีพระภาค.  พระผู้มีพระภาคตรัสว่า พวกเธอจงเป็นภิกษุมาเถิด ดังนี้ แล้วได้ตรัสต่อไปว่า ธรรมอันเรากล่าวดีแล้ว พวกเธอจงประพฤติพรหมจรรย์เพื่อทำที่สุดทุกข์โดยชอบเถิด.  พระวาจานั้นแล ได้เป็นอุปสมบทของท่านผู้มีอายุเหล่านั้น.  ต่อมาพระผู้มีพระภาคทรงประทานโอวาทสั่งสอนภิกษุเหล่านั้น ด้วยธรรมีกถา.  เมื่อพระผู้มีพระภาคทรงประทานโอวาทสั่งสอนภิกษุเหล่านั้นด้วยธรรมีกถา จิตของภิกษุเหล่านั้นพ้นแล้วจากอาสวะทั้งหลาย เพราะไม่ถือมั่น.  สมัยนั้น มีพระอรหันต์เกิดขึ้นในโลก ๖๑ องค์. 
เสยฺยถาปิ นาม สุทฺธํ วตฺถํ อปคตกาฬกํ สมฺมเทว รชนํ ปฏิคฺคณฺเหยฺย เอวเมว เตสํ ตสฺมึเยว อาสเน วิรชํ วีตมลํ ธมฺมจกฺขุํ อุทปาทิ ยํ กิญฺจิ สมุทยธมฺมํ สพฺพํ ตํ นิโรธธมฺมนฺติ.  เต ทิฏฺฐธมฺมา ปตฺตธมฺมา วิทิตธมฺมา ปริโยคาฬฺหธมฺมา ติณฺณวิจิกิจฺฉา วิคตกถํกถา เวสารชฺชปฺปตฺตา อปรปฺปจฺจยา สตฺถุสาสเน ภควนฺตํ เอตทโวจุํ  “ลเภยฺยาม มยํ ภนฺเต ภควโต สนฺติเก ปพฺพชฺชํ ลเภยฺยาม อุปสมฺปท”นฺติ.  “เอถ ภิกฺขโว”ติ ภควา อโวจ “สฺวากฺขาโต ธมฺโม จรถ พฺรหฺมจริยํ สมฺมา ทุกฺขสฺส อนฺตกิริยายา”ติ.  สาว เตสํ อายสฺมนฺตานํ อุปสมฺปทา อโหสิ.  อถ โข ภควา เต ภิกฺขู ธมฺมิยา กถาย โอวทิ อนุสาสิ.  เตสํ ภควตา ธมฺมิยา กถาย โอวทิยมานานํ อนุสาสิยมานานํ อนุปาทาย อาสเวหิ จิตฺตานิ วิมุจฺจึสุ. 
||10|| 
At that time there were sixty-one Arahats in the world. 
สหายคฤหัสถ์ ๕๐ คน ของพระยสออกบรรพชา จบ. 
เตน โข ปน สมเยน เอกสฏฺฐิ โลเก อรหนฺโต โหนฺติ. (ปญฺญาสคิหิสหายกปพฺพชฺชา นิฏฺฐิตา.) 
atha kho bhagavā bhikkhū āmantesi: mutt’ āhaṃ bhikkhave sabbapāsehi ye dibbā ye ca mānusā.  tumhe pi bhik-(21)khave muttā sabbapāsehi ye dibbā ye ca mānusā.  caratha bhikkhave cārikaṃ bahujanahitāya bahujanasukhāya lokānukampāya atthāya hitāya sukhāya devamanussānaṃ.  mā ekena dve agamittha. desetha bhikkhave dhammaṃ ādikalyāṇaṃ majjhekalyāṇaṃ pariyosānakalyāṇaṃ sātthaṃ savyañjanaṃ kevalaparipuṇṇaṃ parisuddhaṃ brahmacariyaṃ pakāsetha.  santi sattā apparajakkhajātikā assavanatā dhammassa parihāyanti, bhavissanti dhammassa aññātāro.  aham pi bhikkhave yena Uruvelā yena Senāninigamo ten’ upasaṃkamissāmi dhammadesanāyā ’ti. |1| 
And the Blessed One said to the Bhikkhus: 'I am delivered, O Bhikkhus, from all fetters, human and divine.  You, O Bhikkhus, are also delivered from all fetters, human and divine.  Go ye now, O Bhikkhus, and wander, for the gain of the many, for the welfare of the many, out of compassion for the world, for the good, for the gain, and for the welfare of gods and men,  Let not two of you go the same way, Preach, O Bhikkhus, the doctrine which is glorious in the beginning, glorious in the middle, glorious at the end, in the spirit and in the letter; proclaim a consummate, perfect, and pure life of holiness.  There are beings whose mental eyes are covered by scarcely any dust, but if the doctrine is not preached to them, they cannot attain salvation. They will understand the doctrine. 
เรื่องพ้นจากบ่วง [๓๒] ครั้งนั้น พระผู้มีพระภาครับสั่งกะภิกษุทั้งหลายว่า ดูกรภิกษุทั้งหลาย เราพ้นแล้วจากบ่วงทั้งปวง ทั้งที่เป็นของทิพย์ ทั้งที่เป็นของมนุษย์  แม้พวกเธอก็พ้นแล้วจากบ่วงทั้งปวงทั้งที่เป็นของทิพย์ ทั้งที่เป็นของมนุษย์  พวกเธอจงเที่ยวจาริก เพื่อประโยชน์และความสุขแก่ชนหมู่มาก เพื่ออนุเคราะห์โลก เพื่อประโยชน์เกื้อกูลและความสุขแก่ทวยเทพและมนุษย์  พวกเธออย่าได้ไปรวมทางเดียวกันสองรูป จงแสดงธรรมงามในเบื้องต้น งามในท่ามกลาง งามในที่สุด จงประกาศพรหมจรรย์พร้อมทั้งอรรถทั้งพยัญชนะครบบริบูรณ์ บริสุทธิ์  สัตว์ทั้งหลายจำพวกที่มีธุลีคือกิเลสในจักษุน้อย มีอยู่ เพราะไม่ได้ฟังธรรมย่อมเสื่อม ผู้รู้ทั่วถึงธรรม จักมี  ดูกรภิกษุทั้งหลาย แม้เราก็จักไปยังตำบลอุรุเวลาเสนานิคม เพื่อแสดงธรรม. เรื่องพ้นจากบ่วง จบ. 
    (นิฏฺฐิตา จ ปพฺพชฺชากถา. ๘. มารกถา) ๓๒. อถ โข ภควา เต ภิกฺขู อามนฺเตสิ “มุตฺตาหํ ภิกฺขเว สพฺพปาเสหิ เย ทิพฺพา เย จ มานุสา.  ตุมฺเหปิ ภิกฺขเว มุตฺตา สพฺพปาเสหิ เย ทิพฺพา เย จ มานุสา.  จรถ ภิกฺขเว จาริกํ พหุชนหิตาย พหุชนสุขาย โลกานุกมฺปาย อตฺถาย หิตาย สุขาย เทวมนุสฺสานํ.  มา เอเกน ทฺเว อคมิตฺถ. เทเสถ ภิกฺขเว ธมฺมํ อาทิกลฺยาณํ มชฺเฌกลฺยาณํ ปริโยสานกลฺยาณํ สาตฺถํ สพฺยญฺชนํ เกวลปริปุณฺณํ ปริสุทฺธํ พฺรหฺมจริยํ ปกาเสถ. 
atha kho Māro pāpimā yena bhagavā ten’ upasaṃkami, upasaṃkamitvā bhagavantaṃ gāthāya ajjhabhāsi:  baddho ’si sabbapāsehi ye dibbā ye ca mānusā, mahābandhanabaddho ’si, na me samaṇa mokkhasīti. |  mutt’ āhaṃ sabbapāsehi ye dibbā ye ca mānusā, mahābandhanamutto ’mhi, nihato tvam asi Antakā ’ti. |  antalikkhacaro pāso yv’ āyaṃ carati mānaso tena taṃ bādhayissāmi, na me samaṇa mokkhasīti. |  rūpā saddā gandhā rasā phoṭṭhabbā ca manoramā ettha me vigato chando, nihato tvam asi Antakā ’ti.  atha kho Māro pāpimā jānāti maṃ bhagavā, jānāti maṃ sugato ’ti dukkhī dummano tatth’ ev’ antaradhāyīti. |2| 
And I will go also, O Bhikkhus, to Uruvelâ, to Senâninigama, in order to preach the doctrine.'  And Mâra the wicked One went to the place where the Blessed One was; having approached him, he addressed the Blessed One in the following stanza:  'Thou art bound by all fetters, human and divine. Thou art bound by strong fetters. Thou wilt not be delivered from me, O Samana.'  Buddha replied: 'I am delivered from all fetters, human and divine. I am delivered from the strong fetters. Thou art struck down, O Death.'  (Mâra said): 'The fetter which pervades the sky, with which mind is bound, with that fetter I will bind thee. Thou wilt not be delivered from me, O Samana.'  (Buddha replied): 'Whatever forms, sounds, odours, flavours, or contacts there are which please the senses, in me desire for them has ceased. Thou art struck down, O Death.' 
เรื่องมาร [๓๓] ครั้งนั้น มารผู้มีใจบาปเข้าไปเฝ้าพระผู้มีพระภาค ครั้นแล้วได้ทูลพระผู้มีพระภาค ด้วยคาถาว่า  ท่านเป็นผู้อันบ่วงทั้งปวง ทั้งที่เป็นของทิพย์ ทั้งที่เป็นของมนุษย์ ผูกพันไว้แล้ว ท่านเป็นผู้อันเครื่องผูกใหญ่รัดรึงแล้ว แน่ะสมณะ ท่านจักไม่พ้นเรา.  พระผู้มีพระภาคตรัสตอบว่า เราเป็นผู้พ้นแล้วจากบ่วงทั้งปวง ทั้งที่เป็นของทิพย์ ทั้งที่เป็นของมนุษย์ เราเป็นผู้พ้นแล้วจากเครื่องผูกใหญ่ ดูกรมาร ท่านถูกเรากำจัดเสียแล้ว.  มารกราบทูลว่า บ่วงนี้เที่ยวไปได้ในอากาศ เป็นของมีในจิต สัญจรอยู่ เราจักผูกรัดท่านด้วยบ่วงนั้น แน่ะสมณะ ท่านจักไม่พ้นเรา.  พระผู้มีพระภาคตรัสตอบว่า เราปราศจากความพอใจในอารมณ์เหล่านี้ คือ รูป เสียง กลิ่น รส โผฏฐัพพะ อันเป็นที่รื่นรมย์ใจ ดูกรมาร ท่านถูกเรากำจัดเสียแล้ว.  ครั้งนั้น มารผู้มีใจบาปรู้ว่า พระผู้มีพระภาคทรงรู้จักเรา พระสุคตทรงรู้จักเรา ดังนี้แล้ว มีทุกข์ เสียใจ หายไปในที่นั้นเอง. 
สนฺติ สตฺตา อปฺปรชกฺขชาติกา อสฺสวนตา ธมฺมสฺส ปริหายนฺติ ภวิสฺสนฺติ ธมฺมสฺส อญฺญาตาโร.  อหมฺปิ ภิกฺขเว เยน อุรุเวลา เสนานิคโม เตนุปสงฺกมิสฺสามิ ธมฺมเทสนายา”ติ.  ๓๓. อถ โข มาโร ปาปิมา เยน ภควา เตนุปสงฺกมิ อุปสงฺกมิตฺวา ภควนฺตํ คาถาย อชฺฌภาสิ  “พทฺโธสิ สพฺพปาเสหิ เย ทิพฺพา เย จ มานุสา. มหาพนฺธนพทฺโธสิ น เม สมณ โมกฺขสี”ติฯ  “มุตฺตาหํ สพฺพปาเสหิ เย ทิพฺพา เย จ มานุสา. มหาพนฺธนมุตฺโตมฺหิ นิหโต ตฺวมสิ อนฺตกาติฯ  “อนฺตลิกฺขจโร ปาโส ยฺวายํ จรติ มานโส. เตน ตํ พาธยิสฺสามิ น เม สมณ โมกฺขสีติฯ 
Mārakathā niṭṭhitā. ||11|| 
Then Mâra the wicked One understood: 'The Blessed One knows me, the perfect One knows me,' and, sad and afflicted, he vanished away. 
เรื่องมาร จบ. 
“รูปา สทฺทา รสา คนฺธา โผฏฺฐพฺพา จ มโนรมา. เอตฺถ เม วิคโต ฉนฺโท นิหโต ตฺวมสิ อนฺตกา”ติฯ 
tena kho pana samayena bhikkhū nānādisā nānājanapadā pabbajjāpekkhe ca upasampadāpekkhe ca ānenti bhagavā ne pabbājessati upasampādessatīti, tattha bhikkhū c’ eva kilamanti pabbajjāpekkhā ca upasampadāpekkhā ca.  atha kho bhagavato rahogatassa paṭisallīnassa evaṃ cetaso parivitakko udapādi:  etarahi kho bhikkhū nānādisā nānājanapadā pabbajjāpekkhe ca upasampadāpekkhe ca ānenti bhagavā ne pabbājessati upasampādessatīti, tattha bhikkhū c’ eva kilamanti pabbajjāpekkhā ca upasampadāpekkhā ca.  yaṃ nūnāhaṃ bhikkhūnaṃ anujāneyyaṃ tumheva dāni bhikkhave tāsu-tāsu disāsu tesu-tesu janapadesu pabbājetha upasampādethā ’ti. |1| 
Here ends the story of Mâra.  At that time the Bhikkhus brought (to Buddha), from different regions and different countries, persons who desired to obtain the pabbaggâ andupasampadâ ordinations, thinking: 'The Blessed One will confer on them the pabbaggâ and upasampadâ ordinations.' Thus both the Bhikkhus became tired (from the journey), and also those who desired to obtain the pabbaggâ and upasampadâ ordinations.  Now when the Blessed One was alone and had retired into solitude, the following consideration presented itself to his mind:  'The Bhikkhus now bring to me from different regions and different countries persons who desire to obtain the pabbaggâ and upasampadâ ordinations, thinking: "The Blessed One will confer on them the pabbaggâ and upasampadâ ordinations." Now both the Bhikkhus become tired, and also those who desire to obtain the pabbaggâ and upasampadâ ordinations. 
ทรงอนุญาตบรรพชาและอุปสมบทด้วยไตรสรณคมน์ [๓๔] ก็โดยสมัยนั้น ภิกษุทั้งหลายพากุลบุตรผู้มุ่งบรรพชาและผู้มุ่งอุปสมบท มาจากทิศต่างๆ จากชนบทต่างๆ ด้วยตั้งใจว่า พระผู้มีพระภาคจักให้พวกเขาบรรพชาอุปสมบท. ในเพราะเหตุนั้น ทั้งพวกภิกษุ ทั้งกุลบุตรผู้มุ่งบรรพชาและกุลบุตรผู้มุ่งอุปสมบท ย่อมลำบาก.  ครั้งนั้น พระผู้มีพระภาคประทับในที่สงัด หลีกเร้นอยู่ มีพระทัยปริวิตกเกิดขึ้นอย่างนี้ว่า  บัดนี้ ภิกษุทั้งหลายพากุลบุตรผู้มุ่งบรรพชาและผู้มุ่งอุปสมบทมาจากทิศต่างๆ จากชนบทต่างๆ ด้วยตั้งใจว่า พระผู้มีพระภาคจักให้พวกเขาบรรพชา อุปสมบท ในเพราะเหตุนั้น ทั้งพวกภิกษุ ทั้งกุลบุตรผู้มุ่งบรรพชาและกุลบุตรผู้มุ่งอุปสมบท ย่อมลำบาก  ผิฉะนั้น เราพึงอนุญาตแก่ภิกษุทั้งหลายว่า ดูกรภิกษุทั้งหลาย บัดนี้ พวกเธอนั่นแหละจงให้กุลบุตรทั้งหลายบรรพชาอุปสมบทในทิศนั้นๆ ในชนบทนั้นๆ เถิด. 
อถ โข มาโร ปาปิมา ชานาติ มํ ภควา ชานาติ มํ สุคโตติ ทุกฺขี ทุมฺมโน ตตฺเถวนฺตรธายีติ.  มารกถา นิฏฺฐิตา.  (๙. ปพฺพชฺชูปสมฺปทากถา) ๓๔. เตน โข ปน สมเยน ภิกฺขู นานาทิสา นานาชนปทา ปพฺพชฺชาเปกฺเข จ อุปสมฺปทาเปกฺเข จ อาเนนฺติ ภควา เน ปพฺพาเชสฺสติ อุปสมฺปาเทสฺสตีติ. ตตฺถ ภิกฺขู เจว กิลมนฺติ ปพฺพชฺชาเปกฺขา จ อุปสมฺปทาเปกฺขา จ.  อถ โข ภควโต รโหคตสฺส ปฏิสลฺลีนสฺส เอวํ เจตโส ปริวิตกฺโก อุทปาทิ 
atha kho bhagavā sāyaṇhasamayaṃ paṭisallānā vuṭṭhito etasmiṃ nidāne --pa-- dhammiṃ kathaṃ katvā (22) bhikkhū āmantesi:  idha mayhaṃ bhikkhave rahogatassa paṭisallīnassa evaṃ cetaso parivitakko udapādi:  etarahi kho bhikkhū nānādisā nānājanapadā pabbajjāpekkhe ca upasampadāpekkhe ca ānenti bhagavā ne pabbājessati upasampādessatīti, tattha bhikkhū c’ eva kilamanti pabbajjāpekkhā ca upasampadāpekkhā ca.  yaṃ nūnāhaṃ bhikkhūnaṃ anujāneyyaṃ tumheva dāni bhikkhave tāsu-tāsu disāsu tesu-tesu janapadesu pabbājetha upasampādethā ’ti. |2| 
What if I were to grant permission to the Bhikkhus, saying: "Confer henceforth, O Bhikkhus, in the different regions, and in the different countries, the pabbaggâ and upasampadâ ordinations yourselves (on those who desire to receive them)."'  And the Blessed One, having left the solitude in the evening, in consequence of that, and on this occasion, after having delivered a religious discourse, thus addressed the Bhikkhus:  'When I was alone, a Bhikkhus, and had retired into solitude, the following consideration, &c. What if I were to permit, . . . .' (&c., as in § 1).   
ครั้นเวลาเย็น เสด็จออกจากที่เร้น รับสั่งให้ประชุมภิกษุสงฆ์ ในเพราะเหตุเป็นเค้ามูลนั้น ในเพราะเหตุแรกเกิดนั้น ทรงทำธรรมีกถาแล้ว รับสั่งกะภิกษุทั้งหลายว่า  ดูกรภิกษุทั้งหลาย เราไปในที่สงัด หลีกเร้นอยู่ ณ ที่นี้ ได้มีใจปริวิตกเกิดขึ้นอย่างนี้ว่า  บัดนี้ ภิกษุทั้งหลายพากุลบุตรผู้มุ่งบรรพชาและผู้มุ่งอุปสมบท มาจากทิศต่างๆ จากชนบทต่างๆ ด้วยตั้งใจว่า พระผู้มีพระภาคจักให้พวกเขาบรรพชาอุปสมบท ในเพราะเหตุนั้น ทั้งพวกภิกษุ ทั้งกุลบุตรผู้มุ่งบรรพชา และกุลบุตรผู้มุ่งอุปสมบท ย่อมลำบาก  ผิฉะนั้น เราพึงอนุญาตแก่ภิกษุทั้งหลายว่า ดูกรภิกษุทั้งหลาย บัดนี้ พวกเธอนั่นแหละจงให้กุลบุตรทั้งหลายบรรพชาอุปสมบทในทิศนั้นๆ ในชนบทนั้นๆ เถิด. 
“เอตรหิ โข ภิกฺขู นานาทิสา นานาชนปทา ปพฺพชฺชาเปกฺเข จ อุปสมฺปทาเปกฺเข จ อาเนนฺติ ภควา เน ปพฺพาเชสฺสติ อุปสมฺปาเทสฺสตีติ. ตตฺถ ภิกฺขู เจว กิลมนฺติ ปพฺพชฺชาเปกฺขา จ อุปสมฺปทาเปกฺขา จ.  ยํนูนาหํ ภิกฺขูนํ อนุชาเนยฺยํ ตุมฺเหว ทานิ ภิกฺขเว ตาสุ ตาสุ ทิสาสุ เตสุ เตสุ ชนปเทสุ ปพฺพาเชถ อุปสมฺปาเทถา”ติ.  อถ โข ภควา สายนฺหสมยํ ปฏิสลฺลานา วุฏฺฐิโต เอตสฺมึ นิทาเน เอตสฺมึ ปกรเณ ธมฺมึ กถํ กตฺวา ภิกฺขู อามนฺเตสิ  “อิธ มยฺหํ ภิกฺขเว รโหคตสฺส ปฏิสลฺลีนสฺส เอวํ เจตโส ปริวิตกฺโก อุทปาทิ 
anujānāmi bhikkhave tumheva dāni tāsu-tāsu disāsu tesu-tesu janapadesu pabbājetha upasampādetha.  evañ ca pana bhikkhave pabbājetabbo upasampādetabbo:  paṭhamaṃ kesamassuṃ ohārāpetvā, kāsāyāni vatthāni acchādāpetvā, ekaṃsaṃ uttarāsaṅgaṃ kārāpetvā, bhikkhūnaṃ pāde vandāpetvā, ukkuṭikaṃ nisīdāpetvā, añjaliṃ paggaṇhāpetvā evaṃ vadehīti vattabbo: |3| 
  'I grant you, O Bhikkhus, this permission: Confer henceforth in the different regions and in the different countries the pabbaggâ and upasampadâ ordinations yourselves (on those who desire to receive them).  And you ought, O Bhikkhus, to confer the pabbaggâ and upasampadâ ordinations in this way: 
ดูกรภิกษุทั้งหลาย บัดนี้ เราอนุญาต พวกเธอนั่นแหละจงให้กุลบุตรทั้งหลายบรรพชาอุปสมบท ในทิศนั้นๆ ในชนบทนั้นๆ เถิด.  ดูกรภิกษุทั้งหลาย ก็แลพวกเธอพึงให้กุลบุตรบรรพชาอุปสมบทอย่างนี้:-  ชั้นแรก พวกเธอพึงให้กุลบุตรผู้มุ่งบรรพชาและผู้มุ่งอุปสมบท ปลงผมและหนวด แล้ว ให้ครองผ้ากาสายะ ให้ทำผ้าอุตราสงค์เฉวียงบ่า ให้กราบเท้าภิกษุทั้งหลายแล้ว ให้นั่งกระหย่ง ประคองอัญชลีสั่งว่า เธอจงว่าอย่างนี้ แล้วให้ว่าสรณคมน์ ดังนี้:- 
‘เอตรหิ โข ภิกฺขู นานาทิสา นานาชนปทา ปพฺพชฺชาเปกฺเข จ อุปสมฺปทาเปกฺเข จ อาเนนฺติ ภควา เน ปพฺพาเชสฺสติ อุปสมฺปาเทสฺสตีติ ตตฺถ ภิกฺขู เจว กิลมนฺติ ปพฺพชฺชาเปกฺขา จ อุปสมฺปทาเปกฺขา จ  ยํนูนาหํ ภิกฺขูนํ อนุชาเนยฺยํ ตุมฺเหว ทานิ ภิกฺขเว ตาสุ ตาสุ ทิสาสุ เตสุ เตสุ ชนปเทสุ ปพฺพาเชถ อุปสมฺปาเทถา”’ติ  อนุชานามิ ภิกฺขเว ตุมฺเหว ทานิ ตาสุ ตาสุ ทิสาสุ เตสุ เตสุ ชนปเทสุ ปพฺพาเชถ อุปสมฺปาเทถ. 
buddhaṃ saraṇaṃ gacchāmi, dhammaṃ saraṇaṃ gacchāmi, saṃghaṃ saraṇaṃ gacchāmi, dutiyam pi buddhaṃ saraṇaṃ gacchāmi, dutiyam pi dhammaṃ saraṇaṃ gacchāmi, dutiyam pi saṃghaṃ saraṇaṃ gacchāmi, tatiyam pi buddhaṃ saraṇaṃ gacchāmi, tatiyam pi dhammaṃ saraṇaṃ gacchāmi, tatiyam pi saṃghaṃ saraṇaṃ gacchāmīti.  anujānāmi bhikkhave imehi tīhi saraṇagamanehi pabbajjaṃ upasampadan ti. |4| 
Let him (who desires to receive the ordination), first have his hair and beard cut off; let him put on yellow robes, adjust his upper robe so as to cover one shoulder, salute the feet of the Bhikkhus (with his head), and sit down squatting; then let him raise his joined hands and tell him to say:  '"I take my refuge in the Buddha, I take my refuge in the Dhamma, I take my refuge in the Samgha. And for the second time I take (&c. . . . . Samgha). And for the third time I take my refuge in the Buddha, and for the third time I take my refuge in the Dhamma, and for the third time I take my refuge in the Samgha." 
ข้าพเจ้าถึงพระพุทธเจ้าเป็นที่พึ่ง ข้าพเจ้าถึงพระธรรมเป็นที่พึ่ง ข้าพเจ้าถึงพระสงฆ์เป็นที่พึ่ง แม้วาระที่ ๒ ข้าพเจ้าถึงพระพุทธเจ้าเป็นที่พึ่ง แม้วาระที่ ๒ ข้าพเจ้าถึงพระธรรมเป็นที่พึ่ง แม้วาระที่ ๒ ข้าพเจ้าถึงพระสงฆ์เป็นที่พึ่ง แม้วาระที่ ๓ ข้าพเจ้าถึงพระพุทธเจ้าเป็นที่พึ่ง แม้วาระที่ ๓ ข้าพเจ้าถึงพระธรรมเป็นที่พึ่ง แม้วาระที่ ๓ ข้าพเจ้าถึงพระสงฆ์เป็นที่พึ่ง  ดูกรภิกษุทั้งหลาย เราอนุญาตบรรพชาอุปสมบท ด้วยไตรสรณคมน์นี้. 
เอวญฺจ ปน ภิกฺขเว ปพฺพาเชตพฺโพ อุปสมฺปาเทตพฺโพ  ปฐมํ เกสมสฺสุํ โอหาราเปตฺวา กาสายานิ วตฺถานิ อจฺฉาทาเปตฺวา เอกํสํ อุตฺตราสงฺคํ การาเปตฺวา ภิกฺขูนํ ปาเท วนฺทาเปตฺวา อุกฺกุฏิกํ นิสีทาเปตฺวา อญฺชลึ ปคฺคณฺหาเปตฺวา เอวํ วเทหีติ วตฺตพฺโพ 
tīhisaraṇagamanehi upasampadākathā niṭṭhitā. ||12|| 
'I prescribe, a Bhikkhus, the pabbaggâ and upasampadâ ordinations consisting in the three times repeated declaration of taking refuge (in the holy triad).' 
กถาว่าด้วยอุปสมบทด้วยไตรสรณคมน์ จบ. 
พุทฺธํ สรณํ คจฺฉามิ ธมฺมํ สรณํ คจฺฉามิ สงฺฆํ สรณํ คจฺฉามิ ทุติยมฺปิ พุทฺธํ สรณํ คจฺฉามิ ทุติยมฺปิ ธมฺมํ สรณํ คจฺฉามิ ทุติยมฺปิ สงฺฆํ สรณํ คจฺฉามิ ตติยมฺปิ พุทฺธํ สรณํ คจฺฉามิ ตติยมฺปิ ธมฺมํ สรณํ คจฺฉามิ ตติยมฺปิ สงฺฆํ สรณํ คจฺฉามี”ติ. 
atha kho bhagavā vassaṃ vuttho bhikkhū āmantesi:  mayhaṃ kho bhikkhave yonisomanasikārā yonisosammappadhānā anuttarā vimutti anuppattā anuttarā vimutti sacchikatā.  tumhe pi bhikkhave yonisomanasikārā yonisosammappadhānā anuttaraṃ vimuttiṃ anupāpuṇātha anuttaraṃ vimuttiṃ sacchikarothā ’ti. |1| 
End of the account of the upasampadâ ordination by the threefold declaration of taking refuge.  And the Blessed One, after having kept the vassa residence, thus addressed the Bhikkhus:  'By wise contemplation, O Bhikkhus, and by wise firmness of exertion have I attained the highest emancipation, have I realised the highest emancipation. 
ทรงประทานโอวาทแก่ภิกษุสงฆ์ [๓๕] ครั้งนั้น พระผู้มีพระภาคทรงจำพรรษาแล้ว รับสั่งกะภิกษุทั้งหลายว่า  ดูกรภิกษุทั้งหลาย เพราะทำในใจโดยแยบคาย เพราะตั้งความเพียรชอบโดยแยบคาย เราจึงได้บรรลุอนุตตรวิมุติ จึงได้ทำอนุตตรวิมุติให้แจ้ง  แม้พวกเธอก็ได้บรรลุอนุตตรวิมุติ ทำอนุตตรวิมุติให้แจ้ง เพราะทำในใจโดยแยบคาย เพราะตั้งความเพียรชอบโดยแยบคาย. 
“อนุชานามิ ภิกฺขเว อิเมหิ ตีหิ สรณคมเนหิ ปพฺพชฺชํ อุปสมฺปท”นฺติ.  ตีหิ สรณคมเนหิ อุปสมฺปทากถา นิฏฺฐิตา.  (๑๐. ทุติยมารกถา) ๓๕. อถ โข ภควา วสฺสํวุฏฺโฐ ภิกฺขู อามนฺเตสิ 
atha kho Māro pāpimā yena bhagavā ten’ upasaṃkami, upasaṃkamitvā bhagavantaṃ gāthāya ajjhabhāsi:  baddho ’si Mārapāsehi ye dibbā ye ca mānusā, mahābandhanabaddho ’si, na me samaṇa mokkhasīti. |  mutt’ āhaṃ Mārapāsehi ye dibbā ye ca mānusā, mahābandhanamutto ’mhi nihato tvam asi Antakā ’ti. |  atha kho Māro pāpimā jānāti maṃ bhagavā, jānāti maṃ sugato ’ti dukkhī dummano tatth’ ev’ antaradhāyi. |2| 
Attain ye also, O Bhikkhus, the highest emancipation, realise the highest emancipation, by wise contemplation and by wise firmness of exertion.'  And Mâra the wicked One went to the place where the Blessed One was; having approached him, he addressed the Blessed One by the following stanza:  'Thou art bound by Mâra's fetters, human and divine. Thou art bound by strong fetters. Thou wilt not be delivered from me, O Samana.'  (Buddha replied): 'I am delivered from Mâra's fetters, human and divine. I am delivered from the strong fetters. Thou art struck down; O Death.' 
ครั้งนั้น มารผู้มีใจบาปเข้าไปเฝ้าพระผู้มีพระภาค ครั้นแล้วได้ทูลพระผู้มีพระภาคด้วยคาถาว่า  ท่านเป็นผู้อันบ่วงมาร ทั้งที่เป็นของทิพย์ ทั้งที่เป็นของมนุษย์ผูกพันไว้แล้ว ท่านเป็นผู้อันเครื่องผูกแห่งมารรัดรึงแล้ว แน่ะสมณะ ท่านจักไม่พ้นเรา.  พระผู้มีพระภาคตรัสตอบว่า เราเป็นผู้พ้นแล้วจากบ่วงมาร ทั้งที่เป็นของทิพย์ ทั้งที่เป็นของมนุษย์ เราเป็นผู้พ้นแล้วจากเครื่องผูกแห่งมาร ดูกรมาร ท่านถูกเรากำจัดเสียแล้ว.  ครั้งนั้น มารผู้มีใจบาปรู้ว่า พระผู้มีพระภาคทรงรู้จักเรา พระสุคตทรงรู้จักเรา ดังนี้แล้ว มีทุกข์ เสียใจ หายไปในที่นั้นเอง. 
“มยฺหํ โข ภิกฺขเว โยนิโส มนสิการา โยนิโส สมฺมปฺปธานา อนุตฺตรา วิมุตฺติ อนุปฺปตฺตา อนุตฺตรา วิมุตฺติ สจฺฉิกตา  ตุมฺเหปิ ภิกฺขเว โยนิโส มนสิการา โยนิโส สมฺมปฺปธานา อนุตฺตรํ วิมุตฺตึ อนุปาปุณาถ อนุตฺตรํ วิมุตฺตึ สจฺฉิกโรถา”ติ.  อถ โข มาโร ปาปิมา เยน ภควา เตนุปสงฺกมิ อุปสงฺกมิตฺวา ภควนฺตํ คาถาย อชฺฌภาสิ  “พทฺโธสิ มารปาเสหิ เย ทิพฺพา เย จ มานุสา. มหาพนฺธนพทฺโธสิ น เม สมณ โมกฺขสี”ติฯ 
||13|| 
Then Mâra the wicked One understood: 'The Blessed One knows me, the perfect One knows me;' and, sad and afflicted, he vanished away. 
“มุตฺตาหํ มารปาเสหิ เย ทิพฺพา เย จ มานุสา. มหาพนฺธนมุตฺโตมฺหิ นิหโต ตฺวมสิ อนฺตกา”ติฯ 
(23) atha kho bhagavā Bārāṇasiyaṃ yathābhirantaṃ viharitvā yena Uruvelā tena cārikaṃ pakkāmi.  atha kho bhagavā maggā okkamma yena aññataro vanasaṇḍo ten’ upasaṃkami, upasaṃkamitvā taṃ vanasaṇḍaṃ ajjhogāhetvā aññatarasmiṃ rukkhamūle nisīdi.  tena kho pana samayena tiṃsamattā Bhaddavaggiyā sahāyakā sapajāpatikā tasmiṃ yeva vanasaṇḍe paricārenti.  ekassa pajāpati nāhosi, tass’ atthāya vesī ānītā ahosi.  atha kho sā vesī tesu pamattesu paricārentesu bhaṇḍaṃ ādāya palāyittha. |1| 
And the Blessed One, after having dwelt at Benares as long as he thought fit, went forth to Uruvelâ.  And the Blessed One left the road and went to a certain grove; having gone there, and having entered it, he sat down at the foot of a tree.  At that time there was a party of thirty friends, rich young men, who were sporting in that same grove together with their wives.  One of them had no wife; 
เรื่องสหายภัททวัคคีย์ [๓๖] ครั้นพระผู้มีพระภาคประทับอยู่ที่พระนครพาราณสีตามพระพุทธาภิรมย์ แล้วเสด็จจาริกไปโดยมรรคาอันจะไปสู่ตำบลอุรุเวลา  และทรงแวะจากทาง แล้วเสด็จเข้าไปยังไพรสณฑ์แห่งหนึ่ง ครั้นถึงไพรสณฑ์นั้นแล้ว ประทับนั่ง ณ โคนไม้ต้นหนึ่ง.  ก็โดยสมัยนั้นแล สหายภัททวัคคีย์จำนวน ๓๐ คน พร้อมด้วยปชาบดีบำเรอกันอยู่ ณ ไพรสณฑ์แห่งนั้น.  สหายคนหนึ่งไม่มีประชาบดี.  สหายทั้งหลายจึงได้นำหญิงแพศยามาเพื่อประโยชน์แก่เขา. 
อถ โข มาโร ปาปิมา ชานาติ มํ ภควา ชานาติ มํ สุคโตติ ทุกฺขี ทุมฺมโน ตตฺเถวนฺตรธายิ. (ทุติยมารกถา นิฏฺฐิตา.)      (๑๑. ภทฺทวคฺคิยวตฺถุ) ๓๖. อถ โข ภควา พาราณสิยํ ยถาภิรนฺตํ วิหริตฺวา เยน อุรุเวลา เตน จาริกํ ปกฺกามิ.  อถ โข ภควา มคฺคา โอกฺกมฺม เยน อญฺญตโร วนสณฺโฑ เตนุปสงฺกมิ อุปสงฺกมิตฺวา ตํ วนสณฺฑํ อชฺโฌคาเหตฺวา อญฺญตรสฺมึ รุกฺขมูเล นิสีทิ. 
atha kho te sahāyakā sahāyakassa veyyāvaccaṃ karontā taṃ itthiṃ gavesantā taṃ vanasaṇḍaṃ āhiṇḍantā addasaṃsu bhagavantaṃ aññatarasmiṃ rukkhamūle nisinnaṃ, disvāna yena bhagavā ten’ upasaṃkamiṃsu, upasaṃkamitvā bhagavantaṃ etad avocuṃ:  api bhante bhagavā ekaṃ itthiṃ passeyyā ’ti.  kiṃ pana vo kumārā itthiyā ’ti.  idha mayaṃ bhante tiṃsamattā Bhaddavaggiyā sahāyakā sapajāpatikā imasmiṃ vanasaṇḍe paricārayimhā, ekassa pajāpati nāhosi, tass’ atthāya vesī ānītā ahosi.  atha kho sā bhante vesī amhesu pamattesu paricārentesu bhaṇḍaṃ ādāya palāyittha.  tena mayaṃ bhante sahāyakā sahāyakassa veyyāvaccaṃ karontā taṃ itthiṃ gavesantā imaṃ vanasaṇḍaṃ āhiṇḍāmā ’ti. |2| 
for him they had procured a harlot.  Now while they did not pay attention, and were indulging in their sports, that harlot took up the articles belonging to them, and ran away. Then those companions, doing service to their friend, went in search of that woman; and, roaming about that grove, they saw the Blessed One sitting at the foot of a tree. Seeing him they went to the place where the Blessed One was; having approached him, they said to the Blessed One:  'Pray, Lord, has the Blessed One seen a woman passing by?'  'What have you to do, young men, with the woman?'  'We were sporting, Lord, in this grove, thirty friends, rich young men, together with our wives. One of us had no wife; for him we had procured a harlot.  Now, Lord, while we did not pay attention, and were indulging in our sports, that harlot has taken up the articles belonging to us, and has run away. 
ต่อมาหญิงแพศยานั้น เมื่อพวกสหายนั้นเผลอตัวมัวบำเรอกันอยู่ ได้ลักเครื่องประดับหนีไป. จึงพวกสหายนั้น เมื่อจะทำการช่วยเหลือสหาย เที่ยวตามหาหญิงแพศยานั้น ไปถึงไพรสณฑ์แห่งนั้น ได้เห็นพระผู้มีพระภาคประทับนั่งอยู่ ณ โคนไม้ต้นหนึ่ง ครั้นแล้วจึงเข้าไปเฝ้าพระผู้มีพระภาค แล้วได้ทูลถามพระผู้มีพระภาคว่า  พระผู้มีพระภาคเห็นหญิงบ้างไหมเจ้าข้า?  พระผู้มีพระภาคทรงย้อนถามว่า ดูกรกุมารทั้งหลาย พวกเธอจะต้องการอะไรด้วยหญิงเล่า?  ภัท. เจ้าข้า พวกข้าพเจ้าเป็นสหายภัททวัคคีย์จำนวน ๓๐ คน ในตำบลนี้ พร้อมด้วยปชาบดี บำเรอกันอยู่ในไพรสณฑ์แห่งนี้ สหายคนหนึ่งไม่มีปชาบดี พวกข้าพเจ้าจึงได้นำหญิงแพศยามาเพื่อประโยชน์แก่เขา  ต่อมา หญิงแพศยานั้น เมื่อพวกข้าพเจ้าเผลอตัวมัวบำเรอกันอยู่ ได้ลักเครื่องประดับหนีไป  เพราะเหตุนั้น พวกข้าพระองค์ผู้เป็นสหายกัน เมื่อจะทำการช่วยเหลือสหาย จึงเที่ยวตามหาหญิงนั้นมาถึงไพรสณฑ์แห่งนี้ เจ้าข้า. 
เตน โข ปน สมเยน ตึสมตฺตา ภทฺทวคฺคิยา สหายกา สปชาปติกา ตสฺมึ วนสณฺเฑ ปริจาเรนฺติ.  เอกสฺส ปชาปติ นาโหสิ ตสฺส อตฺถาย เวสี อานีตา อโหสิ.  อถ โข สา เวสี เตสุ ปมตฺเตสุ ปริจาเรนฺเตสุ ภณฺฑํ อาทาย ปลายิตฺถ.  อถ โข เต สหายกา สหายกสฺส เวยฺยาวจฺจํ กโรนฺตา ตํ อิตฺถึ คเวสนฺตา ตํ วนสณฺฑํ อาหิณฺฑนฺตา อทฺทสํสุ ภควนฺตํ อญฺญตรสฺมึ รุกฺขมูเล นิสินฺนํ. ทิสฺวาน เยน ภควา เตนุปสงฺกมึสุ อุปสงฺกมิตฺวา ภควนฺตํ เอตทโวจุํ  “อปิ ภนฺเต ภควา เอกํ อิตฺถึ ปสฺเสยฺยา”ติ?  “กึ ปน โว กุมารา อิตฺถิยา”ติ? 
taṃ kiṃ maññatha vo kumārā, katamaṃ nu kho tumhākaṃ varaṃ, yaṃ vā tumhe itthiṃ gaveseyyātha yaṃ vā attānaṃ gaveseyyāthā ’ti.  etad eva bhante amhākaṃ varaṃ yaṃ mayaṃ attānaṃ gaveseyyāmā ’ti.  tena hi vo kumārā nisīdatha, dhammaṃ vo desessāmīti.  evaṃ bhante ’ti kho te Bhaddavaggiyā sahāyakā bhagavantaṃ abhivādetvā ekamantaṃ nisīdiṃsu. |3| 
Therefore, Lord, we companions, doing service to our friend, go in search of that woman, and roam about this grove.'  'Now what think you, young men? Which would be the better for you; that you should go in search of a woman, or that you should go in search of yourselves?'  'That, Lord, would be the better for us, that we should go in search of ourselves.'  'If so, young men, sit down, I will preach to you the Truth (Dhamma).' 
ภ. ดูกรกุมารทั้งหลาย พวกเธอสำคัญความข้อนั้นเป็นไฉน ข้อที่พวกเธอแสวงหาหญิง หรือแสวงหาตนนั้น อย่างไหนเป็นความดีของพวกเธอเล่า?  ภัท. ข้อที่พวกข้าพระองค์แสวงหาตนนั่นแล เป็นความดีของพวกข้าพเจ้า เจ้าข้า.  ภ. ดูกรกุมารทั้งหลาย ถ้าอย่างนั้นพวกเธอนั่งลงเถิด เราจักแสดงธรรมแก่พวกเธอ.  พวกสหายภัททวัคคีย์เหล่านั้น รับพระพุทธาณัติพจน์ว่า อย่างนั้น เจ้าข้า ถวายบังคมพระผู้มีพระภาคแล้ว นั่งอยู่ ณ ที่ควรส่วนข้างหนึ่ง. 
“อิธ มยํ ภนฺเต ตึสมตฺตา ภทฺทวคฺคิยา สหายกา สปชาปติกา อิมสฺมึ วนสณฺเฑ ปริจาริมฺหา. เอกสฺส ปชาปติ นาโหสิ ตสฺส อตฺถาย เวสี อานีตา อโหสิ.  อถ โข สา ภนฺเต เวสี อมฺเหสุ ปมตฺเตสุ ปริจาเรนฺเตสุ ภณฺฑํ อาทาย ปลายิตฺถ.  เต มยํ ภนฺเต สหายกา สหายกสฺส เวยฺยาวจฺจํ กโรนฺตา ตํ อิตฺถึ คเวสนฺตา อิมํ วนสณฺฑํ อาหิณฺฑามา”ติ.  “ตํ กึ มญฺญถ โว กุมารา กตมํ นุ โข ตุมฺหากํ วรํ ยํ วา ตุมฺเห อิตฺถึ คเวเสยฺยาถ ยํ วา อตฺตานํ คเวเสยฺยาถา”ติ? 
tesaṃ bhagavā anupubbikathaṃ kathesi seyyath’ īdaṃ: dānakathaṃ sīlakathaṃ saggakathaṃ kāmānaṃ ādīnavaṃ okāraṃ saṃkilesaṃ nekkhamme ānisaṃsaṃ pakāsesi.  yadā te bhagavā aññāsi kallacitte muducitte vinīvaraṇacitte udaggacitte pasannacitte, atha yā buddhānaṃ sāmukkaṃsikā dhammadesanā, taṃ pakāsesi, dukkhaṃ samudayaṃ nirodhaṃ maggaṃ.  seyyathāpi nāma suddhaṃ vatthaṃ apagatakāḷakaṃ sammad eva rajanaṃ paṭigaṇheyya, evam eva tesaṃ tasmiṃ yeva āsane virajaṃ vītamalaṃ dhammacakkhuṃ udapādi yaṃ kiñci samudayadhammaṃ sabbaṃ taṃ nirodhadhammaṃ ti. |4| 
The rich young companions replied: 'Yes, Lord,' and respectfully saluted the Blessed One, and sat down near him.  Then the Blessed One preached to them, . . . . (&c., as in chap. 8. 2, or 9. 3).   
พระผู้มีพระภาคทรงแสดงอนุปุพพิกถาแก่พวกเขา คือทรงประกาศทานกถา สีลกถา สัคคกถา โทษ ความต่ำทราม ความเศร้าหมองของกามทั้งหลาย และอานิสงส์ในความออกจากกาม.  เมื่อพระองค์ทรงทราบว่า พวกเขามีจิตสงบ มีจิตอ่อน มีจิตปลอดจากนิวรณ์ มีจิตเบิกบาน มีจิตผ่องใสแล้ว จึงทรงประกาศพระธรรมเทศนา ที่พระพุทธเจ้าทั้งหลายทรงยกขึ้นแสดงด้วยพระองค์เอง คือ ทุกข์ สมุทัย นิโรธ มรรค.  ดวงตาเห็นธรรม ปราศจากธุลี ปราศจากมลทินว่า สิ่งใดสิ่งหนึ่งมีความเกิดขึ้นเป็นธรรมดา สิ่งนั้นทั้งมวลมีความดับเป็นธรรมดา ได้เกิดแก่พวกเขา ณ ที่นั่งนั่นแล ดุจผ้าที่สะอาด ปราศจากมลทิน ควรได้รับน้ำย้อมเป็นอย่างดี ฉะนั้น. 
“เอตเทว ภนฺเต อมฺหากํ วรํ ยํ มยํ อตฺตานํ คเวเสยฺยามา”ติ.  “เตน หิ โว กุมารา นิสีทถ ธมฺมํ โว เทเสสฺสามี”ติ.  “เอวํ ภนฺเต”ติ โข เต ภทฺทวคฺคิยา สหายกา ภควนฺตํ อภิวาเทตฺวา เอกมนฺตํ นิสีทึสุ. 
te diṭṭhadhammā pattadhammā viditadhammā pariyogāḷhadhammā (24) tiṇṇavicikicchā vigatakathaṃkathā vesārajjappattā aparappaccayā satthu sāsane bhagavantaṃ etad avocuṃ:  labheyyāma mayaṃ bhante bhagavato santike pabbajjaṃ, labheyyāma upasampadan ti.  etha bhikkhavo ’ti bhagavā avoca, svākkhāto dhammo, caratha brahmacariyaṃ sammā dukkhassa antakiriyāyā ’ti.  sā ’va tesaṃ āyasmantānaṃ upasampadā ahosi. |5| 
  And having seen the Truth, . . . . (&c., as in chap. 9. 4 down to:).     
พวกเขาได้เห็นธรรมแล้ว ได้บรรลุธรรมแล้ว ได้รู้ธรรมแจ่มแจ้งแล้ว มีธรรมอันหยั่งลงแล้ว ข้ามความสงสัยได้แล้ว ปราศจากถ้อยคำแสดงความสงสัย ถึงความเป็นผู้แกล้วกล้า ไม่ต้องเชื่อผู้อื่นในคำสอนของพระศาสดา ได้ทูลคำนี้ต่อพระผู้มีพระภาคว่า  พระเจ้าข้า พวกข้าพระองค์พึงได้บรรพชา พึงได้อุปสมบทในสำนักพระผู้มีพระภาค.  พระผู้มีพระภาคตรัสว่า พวกเธอจงเป็นภิกษุมาเถิด ดังนี้ แล้วได้ตรัสต่อไปว่า ธรรมอันเรากล่าวดีแล้ว พวกเธอจงประพฤติพรหมจรรย์ เพื่อทำที่สุดทุกข์โดยชอบเถิด.  พระวาจานั้นแล ได้เป็นอุปสมบทของท่านผู้มีอายุเหล่านั้น. 
เตสํ ภควา อนุปุพฺพิ๎ กถํ กเถสิ เสยฺยถิทํ ทานกถํ สีลกถํ สคฺคกถํ กามานํ อาทีนวํ โอการํ สํกิเลสํ เนกฺขมฺเม อานิสํสํ ปกาเสสิ  ยทา เต ภควา อญฺญาสิ กลฺลจิตฺเต มุทุจิตฺเต วินีวรณจิตฺเต อุทคฺคจิตฺเต ปสนฺนจิตฺเต อถ ยา พุทฺธานํ สามุกฺกํสิกา ธมฺมเทสนา ตํ ปกาเสสิ ทุกฺขํ สมุทยํ นิโรธํ มคฺคํ  เสยฺยถาปิ นาม สุทฺธํ วตฺถํ อปคตกาฬกํ สมฺมเทว รชนํ ปฏิคฺคณฺเหยฺย เอวเมว เตสํ ตสฺมึเยว อาสเน วิรชํ วีตมลํ ธมฺมจกฺขุํ อุทปาทิ “ยํ กิญฺจิ สมุทยธมฺมํ สพฺพํ ตํ นิโรธธมฺม”นฺติ.  เต ทิฏฺฐธมฺมา ปตฺตธมฺมา วิทิตธมฺมา ปริโยคาฬฺหธมฺมา ติณฺณวิจิกิจฺฉา วิคตกถํกถา เวสารชฺชปฺปตฺตา อปรปฺปจฺจยา สตฺถุสาสเน ภควนฺตํ เอตทโวจุํ 
Bhaddavaggiyasahāyakānaṃ vatthuṃ niṭṭhitaṃ ||14|| 
Thus these venerable persons received the upasampadâ ordination. 
เรื่องสหายภัททวัคคีย์ จบ 
“ลเภยฺยาม มยํ ภนฺเต ภควโต สนฺติเก ปพฺพชฺชํ ลเภยฺยาม อุปสมฺปท”นฺติ. 
dutiyakabhāṇavāraṃ. 
Here ends the story of the thirty rich young companions. 
ทุติยภาณวาร จบ. 
“เอถ ภิกฺขโว”ติ ภควา อโวจ “สฺวากฺขาโต ธมฺโม จรถ พฺรหฺมจริยํ สมฺมา ทุกฺขสฺส อนฺตกิริยายา”ติ. 
atha kho bhagavā anupubbena cārikaṃ caramāno yena Uruvelā tad avasari. tena kho pana samayena Uruvelāyaṃ tayo jaṭilā paṭivasanti Uruvelakassapo Nadīkassapo Gayākassapo ’ti.  tesu Uruvelakassapo jaṭilo pañcannaṃ jaṭilasatānaṃ nāyako hoti vināyako aggo pamukho pāmokkho, Nadīkassapo jaṭilo tiṇṇaṃ jaṭilasatānaṃ nāyako hoti vināyako aggo pamukho pāmokkho, Gayākassapo jaṭilo dvinnaṃ jaṭilasatānaṃ nāyako hoti vināyako aggo pamukho pāmokkho. |1| 
End of the second Bhânavâra.  And the Blessed One, wandering from place to place, came to Uruvelâ. 
เรื่องชฎิล ๓ พี่น้อง [๓๗] ครั้งนั้น พระผู้มีพระภาคเสด็จจาริกโดยลำดับ ถึงตำบลอุรุเวลาแล้ว. ก็โดยสมัยนั้นแล ชฎิล ๓ คน คือ อุรุเวลกัสสป ๑ นทีกัสสป ๑ คยากัสสป ๑ อาศัยอยู่ในตำบลอุรุเวลา.  บรรดาชฎิล ๓ คนนั้น ชฎิลชื่ออุรุเวลกัสสป เป็นผู้นำ เป็นผู้ฝึกสอน เป็นผู้เลิศ เป็นหัวหน้า เป็นประธาน ของชฎิล ๕๐๐ คน. ชฎิลชื่อนทีกัสสป เป็นผู้นำ เป็นผู้ฝึกสอน เป็นผู้เลิศ เป็นหัวหน้า เป็นประธาน ของชฎิล ๓๐๐ คน. ชฎิลชื่อคยากัสสป เป็นผู้นำ เป็นผู้ฝึกสอน เป็นผู้เลิศ เป็นหัวหน้า เป็นประธาน ของชฎิล ๒๐๐ คน. 
สาว เตสํ อายสฺมนฺตานํ อุปสมฺปทา อโหสิ.  ภทฺทวคฺคิยสหายกานํ วตฺถุ นิฏฺฐิตํ. 
atha kho bhagavā yena Uruvelakassapassa jaṭilassa assamo ten’ upasaṃkami, upasaṃkamitvā Uruvelakassapaṃ jaṭilaṃ etad avoca: sace te Kassapa agaru, vaseyyāma ekarattaṃ agyāgāre ’ti.  na kho me mahāsamaṇa garu, caṇḍ’ ettha nāgarājā iddhimā āsiviso ghoraviso, so taṃ mā viheṭhesīti.  dutiyam pi kho bhagavā Uruvelakassapaṃ jaṭilaṃ etad avoca: sace te Kassapa agaru, vaseyyāma ekarattaṃ agyāgāre ’ti.  na kho me mahāsamaṇa garu, caṇḍ’ ettha nāgarājā iddhimā āsiviso ghoraviso, so taṃ mā viheṭhesīti.  tatiyam pi kho bhagavā Uruvelakassapaṃ jaṭilaṃ etad avoca: sace te Kassapa agaru, vaseyyāma ekarattaṃ agyāgāre ’ti.  na kho me mahāsamaṇa garu, caṇḍ’ ettha nāgarājā iddhimā āsiviso ghoraviso, so taṃ mā viheṭhesīti.  app eva maṃ na viheṭheyya, iṅgha tvaṃ Kassapa anujānāhi agyāgāran ti.  vihara mahāsamaṇa yathāsukhan ti. |2| 
At that time there lived in Uruvelâ three Gatilas, Uruvelâ Kassapa, Nadî Kassapa (Kassapa of the River, i.e. the Nerañgarâ), and Gayâ Kassapa (Kassapa of the village Gayâ.). Of these the Gatila Uruvelâ Kassapa was chief, leader, foremost, first, and highest over five hundred Gatilas; Nadî Kassapa was chief . . . . (&c., down to highest over) three hundred Gatilas, Gayâ Kassapa was chief (&c., down to highest over) two hundred Gatilas.  And the Blessed One went to the hermitage of the Gatila Uruvelâ Kassapa; having gone there, he said to the Gatila Uruvelâ Kassapa: 'If it is not disagreeable to you, Kassapa, let me spend one night in the room where your (sacred) fire is kept.'  'It is not disagreeable to me, great Samana, but there is a savage Nâga (or Serpent) king of great magical power, a dreadfully venomous serpent; let him do no harm to you.'  And a second time the Blessed One said to the Gatila Uruvelâ Kassapa: 'If it is not disagreeable,' &c. . . . .  'It is not disagreeable,' &c.  And a third time the Blessed One said: 'If it not disagreeable,' &c. . . . .  'It is not disagreeable,' &c. . . . .  'He is not likely to do any harm to me. Pray, Kassapa, allow me a place in the room where your fire is kept.' 
ครั้งนั้น พระผู้มีพระภาคได้เสด็จเข้าไปสู่อาศรมของชฎิลชื่ออุรุเวลกัสสป แล้วได้ตรัสกะชฎิลชื่ออุรุเวลกัสสปว่า ดูกรกัสสป ถ้าท่านไม่หนักใจ เราขออาศัยอยู่ในโรงบูชาเพลิงสักคืนหนึ่ง.  อุรุ. ข้าแต่มหาสมณะ ข้าพเจ้าไม่หนักใจเลย แต่ในโรงบูชาเพลิงนั้นมีพญานาคดุร้ายมีฤทธิ์ เป็นอสรพิษ มีพิษร้ายแรง อย่าเลย มันจะทำให้ท่านลำบาก.  แม้ครั้งที่สอง พระผู้มีพระภาคได้ตรัสแก่ชฎิลชื่ออุรุเวลกัสสปว่า ดูกรกัสสป ถ้าท่านไม่หนักใจ เราขออาศัยอยู่ในโรงบูชาเพลิงสักคืนหนึ่ง.  อุรุ. ข้าแต่มหาสมณะ ข้าพเจ้าไม่หนักใจเลย แต่ในโรงบูชาเพลิงนั้นมีพญานาคดุร้ายมีฤทธิ์ เป็นอสรพิษ มีพิษร้ายแรง อย่าเลย มันจะทำให้ท่านลำบาก.  แม้ครั้งที่สาม พระผู้มีพระภาคได้ตรัสแก่ชฎิลชื่ออุรุเวลกัสสปว่า ดูกรกัสสป ถ้าท่านไม่หนักใจ เราขออาศัยอยู่ในโรงบูชาเพลิงสักคืนหนึ่ง.  อุรุ. ข้าแต่มหาสมณะ ข้าพเจ้าไม่หนักใจเลย แต่ในโรงบูชาเพลิงนั้นมีพญานาคดุร้ายมีฤทธิ์ เป็นอสรพิษ มีพิษร้ายแรง อย่าเลย มันจะทำให้ท่านลำบาก.  ภ. ลางที พญานาคจะไม่ทำให้เราลำบาก ดูกรกัสสป เอาเถิด ขอท่านจงอนุญาตโรงบูชาเพลิง.  อุรุ. ข้าแต่มหาสมณะ เชิญท่านอยู่ตามสบายเถิด. 
ทุติยภาณวาโร.  (๑๒. อุรุเวลปาฏิหาริยกถา) ๓๗. อถ โข ภควา อนุปุพฺเพน จาริกํ จรมาโน เยน อุรุเวลา ตทวสริ. เตน โข ปน สมเยน อุรุเวลายํ ตโย ชฏิลา ปฏิวสนฺติ อุรุเวลกสฺสโป นทีกสฺสโป คยากสฺสโปติ.  เตสุ อุรุเวลกสฺสโป ชฏิโล ปญฺจนฺนํ ชฏิลสตานํ นายโก โหติ วินายโก อคฺโค ปมุโข ปาโมกฺโข. นทีกสฺสโป ชฏิโล ติณฺณํ ชฏิลสตานํ นายโก โหติ วินายโก อคฺโค ปมุโข ปาโมกฺโข. คยากสฺสโป ชฏิโล ทฺวินฺนํ ชฏิลสตานํ นายโก โหติ วินายโก อคฺโค ปมุโข ปาโมกฺโข.  อถ โข ภควา เยน อุรุเวลกสฺสปสฺส ชฏิลสฺส อสฺสโม เตนุปสงฺกมิ อุปสงฺกมิตฺวา อุรุเวลกสฺสปํ ชฏิลํ เอตทโวจ “สเจ เต กสฺสป อครุ วเสยฺยาม เอกรตฺตํ อคฺยาคาเร”ติ?  “น โข เม มหาสมณ ครุ จณฺเฑตฺถ นาคราชา อิทฺธิมา อาสิวิโส โฆรวิโส โส ตํ มา วิเหเฐสี”ติ.  ทุติยมฺปิ โข ภควา อุรุเวลกสฺสปํ ชฏิลํ เอตทโวจ “สเจ เต กสฺสป อครุ วเสยฺยาม เอกรตฺตํ อคฺยาคาเร”ติ?  “น โข เม มหาสมณ ครุ จณฺเฑตฺถ นาคราชา อิทฺธิมา อาสิวิโส โฆรวิโส โส ตํ มา วิเหเฐสี”ติ.  ตติยมฺปิ โข ภควา อุรุเวลกสฺสปํ ชฏิลํ เอตทโวจ “สเจ เต กสฺสป อครุ วเสยฺยาม เอกรตฺตํ อคฺยาคาเร”ติ? 
atha kho bhagavā agyāgāraṃ pavisitvā tiṇasantharakaṃ paññāpetvā nisīdi pallaṅkaṃ ābhuñjitvā ujuṃ kāyaṃ paṇidhāya parimukhaṃ satiṃ upaṭṭhāpetvā.  atha kho so nāgo bhagavantaṃ paviṭṭhaṃ addasa, disvāna dukkhī dummano padhūpāsi.  atha kho bhagavato etad ahosi: yaṃ nūnāhaṃ imassa nāgassa anupahacca (25) chaviñ ca cammañ ca maṃsañ ca nhāruñ ca aṭṭhiñ ca aṭṭhimiñjañ ca tejasā tejaṃ pariyādiyeyyan ti. |3| 
'Stay there, great Samana, as you wish it.'  Then the Blessed One entered the room where the fire was kept, made himself a couch of grass, and sat down cross-legged, keeping the body erect and surrounding himself with watchfulness of mind.  And the Nâga saw that the Blessed One had entered; when he saw that, he became annoyed, and irritated, and sent forth a cloud of smoke. 
ครั้งนั้น พระผู้มีพระภาคเสด็จเข้าไปสู่โรงบูชาเพลิง แล้วทรงปูหญ้า เครื่องลาด ประทับนั่งคู้บัลลังก์ ตั้งพระกายตรง ดำรงพระสติมั่น.  ปาฏิหาริย์ที่ ๑ [๓๘] ครั้งนั้น พญานาคนั้นได้เห็นพระผู้มีพระภาคเสด็จเข้าไปดังนั้น ครั้นแล้ว มีความขึ้งเคียดไม่พอใจ จึงบังหวนควันขึ้น.  ลำดับนั้น พระผู้มีพระภาคได้ทรงดำริว่า ไฉนหนอ เราพึงครอบงำเดชของพญานาคนี้ด้วยเดชของตน ไม่กระทบกระทั่งผิวหนัง เนื้อ เอ็น กระดูก และเยื่อในกระดูก 
“น โข เม มหาสมณ ครุ จณฺเฑตฺถ นาคราชา อิทฺธิมา อาสิวิโส โฆรวิโส โส ตํ มา วิเหเฐสี”ติ.  “อปฺเปว มํ น วิเหเฐยฺย อิงฺฆ ตฺวํ กสฺสป อนุชานาหิ อคฺยาคาร”นฺติ.  “วิหร มหาสมณ ยถาสุข”นฺติ. 
atha kho bhagavā tathārūpaṃ iddhābhisaṃkhāraṃ abhisaṃkharitvā padhūpāsi.  atha kho so nāgo makkhaṃ asahamāno pajjali.  bhagavāpi tejodhātuṃ samāpajjitvā pajjali.  ubhinnaṃ sajotibhūtānaṃ agyāgāraṃ ādittaṃ viya hoti sampajjalitaṃ sajotibhūtaṃ.  atha kho te jaṭilā agyāgāraṃ parivāretvā evaṃ āhaṃsu: abhirūpo vata bho mahāsamaṇo, nāgena viheṭhiyissatīti. |4| 
Then the Blessed One thought: 'What if I were to leave intact the skin, and hide, and flesh, and ligaments, and bones, and marrow of this Nâga; but were to conquer the fire, which he will send forth, by my fire.'  And the Blessed One effected the appropriate exercise of miraculous power and sent forth a cloud of smoke.  Then the Nâga, who could not master his rage, sent forth flames.  And the Blessed One, converting his body into fire, sent forth flames.  When they both shone forth with their flames, the fire room looked as if it were burning and blazing, as if it were all in flames. 
ดังนี้ แล้วทรงบันดาลอิทธาภิสังขารเช่นนั้น ทรงบังหวนควันแล้ว.  พญานาคนั้นทนความลบหลู่ไม่ได้ จึงพ่นไฟสู้ในทันที.  แม้พระผู้มีพระภาคก็ทรงเข้ากสิณสมาบัติมีเตโชธาตุเป็นอารมณ์ บันดาลไฟต้านทานไว้.  เมื่อทั้งสองฝ่ายโพลงไฟขึ้น โรงบูชาเพลิงรุ่งโรจน์เป็นเปลวเพลิงดุจไฟลุกไหม้ทั่วไป.  จึงชฎิลพวกนั้นพากันล้อมโรงบูชาเพลิง แล้วกล่าวอย่างนี้ว่า ชาวเราพระมหาสมณะรูปงามคงถูกพญานาคเบียดเบียนแน่. 
อถ โข ภควา อคฺยาคารํ ปวิสิตฺวา ติณสนฺถารกํ ปญฺญเปตฺวา นิสีทิ ปลฺลงฺกํ อาภุชิตฺวา อุชุํ กายํ ปณิธาย ปริมุขํ สตึ อุปฏฺฐเปตฺวา.  ๓๘. อทฺทสา โข โส นาโค ภควนฺตํ ปวิฏฺฐํ ทิสฺวาน ทุมฺมโน ปธูปายิ .  อถ โข ภควโต เอตทโหสิ “ยํนูนาหํ อิมสฺส นาคสฺส อนุปหจฺจ ฉวิญฺจ จมฺมญฺจ มํสญฺจ นฺหารุญฺจ อฏฺฐิญฺจ อฏฺฐิมิญฺชญฺจ เตชสา เตชํ ปริยาทิเยยฺย”นฺติ.  อถ โข ภควา ตถารูปํ อิทฺธาภิสงฺขารํ อภิสงฺขริตฺวา ปธูปายิ.  อถ โข โส นาโค มกฺขํ อสหมาโน ปชฺชลิ. 
atha kho bhagavā tassā rattiyā accayena tassa nāgassa anupahacca chaviñ ca cammañ ca maṃsañ ca nhāruñ ca aṭṭhiñ ca aṭṭhimiñjañ ca tejasā tejaṃ pariyādiyitvā patte pakkhipitvā Uruvelakassapassa jaṭilassa dassesi:  ayaṃ te Kassapa nāgo, pariyādinno assa tejasā tejo ’ti.  atha kho Uruvelakassapassa jaṭilassa etad ahosi:  mahiddhiko kho mahāsamaṇo mahānubhāvo, yatra hi nāma caṇḍassa nāgarājassa iddhimato āsivisassa ghoravisassa tejasā tejaṃ pariyādiyissati, na tv eva ca kho arahā yathā ahan ti. |5| 
And the Gatilas, surrounding the fire room, said: 'Truly, the countenance of the great Samana is beautiful, but the Nâga will do harm to him.'  That night having elapsed, the Blessed One, leaving intact the skin and hide and flesh and ligaments and bones and marrow of that Nâga, and conquering the Nâga's fire by his fire, threw him into his alms-bowl, and showed him to the Gatila Uruvelâ Kassapa (saying),  'Here you see the Nâga, Kassapa; his fire has been conquered by my fire.'  Then the Gatila Uruvelâ Kassapa thought: 
ต่อมา พระผู้มีพระภาคได้ทรงครอบงำเดชของพญานาคนั้น ด้วยเดชของพระองค์ ไม่กระทบกระทั่งผิวหนัง เนื้อ เอ็น กระดูก และเยื่อในกระดูก ทรงขดพญานาคไว้ในบาตร โดยผ่านราตรีนั้น แล้วทรงแสดงแก่ชฎิลอุรุเวลกัสสปด้วยพระพุทธดำรัสว่า  ดูกรกัสสป นี่พญานาคของท่าน เราครอบงำเดชของมันด้วยเดชของเราแล้ว  จึงชฎิลอุรุเวลกัสสปได้ดำริว่า  พระมหาสมณะมีฤทธิ์มาก มีอานุภาพมากแท้ จึงครอบงำเดชของพญานาคที่ดุร้าย มีฤทธิ์ เป็นอสรพิษ มีพิษร้ายแรง ด้วยเดชของตนได้ แต่พระมหาสมณะนี้ก็ไม่เป็นพระอรหันต์เหมือนเราแน่. 
ภควาปิ เตโชธาตุํ สมาปชฺชิตฺวา ปชฺชลิ.  อุภินฺนํ สโชติภูตานํ อคฺยาคารํ อาทิตฺตํ วิย โหติ สมฺปชฺชลิตํ สโชติภูตํ.  อถ โข เต ชฏิลา อคฺยาคารํ ปริวาเรตฺวา เอวมาหํสุ “อภิรูโป วต โภ มหาสมโณ นาเคน วิเหฐิยตี”ติ.  อถ โข ภควา ตสฺสา รตฺติยา อจฺจเยน ตสฺส นาคสฺส อนุปหจฺจ ฉวิญฺจ จมฺมญฺจ มํสญฺจ นฺหารุญฺจ อฏฺฐิญฺจ อฏฺฐิมิญฺชญฺจ เตชสา เตชํ ปริยาทิยิตฺวา ปตฺเต ปกฺขิปิตฺวา อุรุเวลกสฺสปสฺส ชฏิลสฺส ทสฺเสสิ 
Nerañjarāyaṃ bhagavā Uruvelakassapaṃ jaṭilam avoca: sace te Kassapa agaru, viharemu ajjuṇho aggisālamhīti.  na kho me mahāsamaṇa gara, phāsukāmo ’va taṃ nivāremi, caṇḍ’ ettha nāgarājā iddhimā āsiviso ghoraviso, so taṃ mā viheṭhesīti.  app eva maṃ na viheṭheyya, iṅgha tvaṃ Kassapa anujānāhi agyāgāran ti.  dinnan ti naṃ viditvā asambhīto pāvisi bhayamatīto.  disvā isiṃ paviṭṭhaṃ ahināgo dummano padhūpāsi.  sumānaso avimano manussanāgo pi tattha padhūpāsi.  makkhañ ca asahamāno ahināgo pāvako va pajjali.  tejodhātusukusalo manussanāgo pi tattha pajjali.  ubhinnaṃ sajotibhūtānaṃ agyāgāraṃ udiccare jaṭilā:  abhirūpo vata bho mahāsamaṇo nāgena viheṭhiyissatīti bhaṇanti. |6| 
'Truly the great Samana possesses high magical powers and great faculties, in that he is able to conquer by his fire the fire of that savage Nâga king, who is possessed of magical power, that dreadfully venomous serpent. He is not, however, holy (arahâ) as I am.'  Near the Nerañgarâ river the Blessed One said to the Gatila Uruvelâ Kassapa: 'If it is not disagreeable to you, Kassapa, let me dwell this moonlight night in your fire room.'  'It is not disagreeable to me, great Samana, but in your own behalf I warn you off. There is a savage Snake king there possessed of magical power, a dreadfully venomous serpent; let him do no harm to you.'  'He is not likely to do any harm to me; pray, Kassapa, allow me a place in your fire room.'  When he saw that Kassapa had given his permission, fearlessly He, who had overcome all fear, entered.  When the chief of Serpents saw that the Sage had entered, he became irritated, and sent forth a cloud of smoke.  Then the chief of men, joyful and unperplexed, also sent forth a cloud of smoke.  Unable to master his rage, the chief of Serpents sent forth flames like a burning fire.  Then the chief of men, the perfect master of the element of fire, also sent forth flames.  When they shone forth both with their flames, 
[๓๙] ที่แม่น้ำเนรัญชรา พระผู้มีพระภาคได้ตรัสกะชฎิลอุรุเวลกัสสป ว่าดังนี้:ดูกรกัสสป ถ้าท่านไม่หนักใจ เราขออาศัยอยู่ในโรงบูชาเพลิงสักวันหนึ่ง.  อุรุ. ข้าแต่มหาสมณะ ข้าพเจ้าไม่หนักใจเลย แต่ข้าพเจ้าหวังความสำราญจึงห้ามท่านว่า ในโรงบูชาเพลิงนั้นมีพญานาคดุร้าย มีฤทธิ์ เป็นอสรพิษ มีพิษร้ายแรง อย่าเลย มันจะทำให้ท่านลำบาก.  ภ. ลางที พญานาคนั้นจะไม่ทำให้เราลำบาก ดูกรกัสสป เอาเถิด ท่านจงอนุญาตโรงบูชาเพลิง.  พระผู้มีพระภาคทรงทราบอุรุเวลกัสสปนั้นว่า อนุญาตให้แล้ว ไม่ทรงครั่นคร้าม ปราศจากความกลัว เสด็จเข้าไป.  พญานาคเห็นพระผู้มีพระภาคผู้แสวงคุณความดี เสด็จเข้าไปแล้ว ไม่พอใจ จึงบังหวนควันขึ้น.  ส่วนพระพุทธเจ้าผู้เป็นมนุษย์ประเสริฐ มีพระทัยดี มีพระทัยไม่ขัดเคือง ทรงบังหวนควันขึ้นในที่นั้น.  แต่พญานาคทนความลบหลู่ไม่ได้ จึงพ่นไฟสู้.  ส่วนพระพุทธเจ้าผู้เป็นมนุษย์ประเสริฐ ทรงฉลาดในกสิณสมาบัติมีเตโชธาตุเป็นอารมณ์ได้ทรงบันดาลไฟต้านทานไว้ในที่นั้น.  เมื่อทั้งสองฝ่ายโพลงไฟขึ้นแล้ว โรงบูชาเพลิงรุ่งโรจน์เป็นเปลวเพลิง.  พวกชฎิลกล่าวกันว่า ชาวเรา พระสมณะรูปงามคงถูกพญานาคเบียดเบียนแน่. 
“อยํ เต กสฺสป นาโค ปริยาทินฺโน อสฺส เตชสา เตโช”ติ.  อถ โข อุรุเวลกสฺสปสฺส ชฏิลสฺส เอตทโหสิ  “มหิทฺธิโก โข มหาสมโณ มหานุภาโว ยตฺร หิ นาม จณฺฑสฺส นาคราชสฺส อิทฺธิมโต อาสิวิสสฺส โฆรวิสสฺส เตชสา เตชํ ปริยาทิยิสฺสติ นตฺเวว จ โข อรหา ยถา อห”นฺติ.  ๓๙. เนรญฺชรายํ ภควา อุรุเวลกสฺสปํ ชฏิลํ อโวจ. “สเจ เต กสฺสป อครุ วิหเรมุ อชฺชณฺโห อคฺคิสาลมฺหี”ติ ฯ  “น โข เม มหาสมณ ครุ. ผาสุกาโมว ตํ นิวาเรมิ. จณฺเฑตฺถ นาคราชา. อิทฺธิมา อาสิวิโส โฆรวิโส. โส ตํ มา วิเหเฐสี”ติฯ  “อปฺเปว มํ น วิเหเฐยฺย. อิงฺฆ ตฺวํ กสฺสป อนุชานาหิ อคฺยาคาร”นฺติ.  ทินฺนนฺติ นํ วิทิตฺวา. อภีโต ปาวิสิ ภยมตีโตฯ  ทิสฺวา อิสึ ปวิฏฺฐํ อหินาโค ทุมฺมโน ปธูปายิ.  สุมนมนโส อธิมโน มนุสฺสนาโคปิ ตตฺถ ปธูปายิฯ  มกฺขญฺจ อสหมาโน อหินาโค ปาวโกว ปชฺชลิ. 
atha kho tassā rattiyā accayena hatā nāgassa acciyo honti, iddhimato pana ṭhitā anekavaṇṇā acciyo honti, nīlā atha lohitikā mañjeṭṭhā pītakā phalikavaṇṇāyo Aṅgirasassa kāye anekavaṇṇā acciyo honti.  pattamhi odahitvā ahināgaṃ brāhmaṇassa dassesi: ayaṃ te Kassapa nāgo, pariyādinno assa tejasā tejo ’ti.  atha kho Uruvelakassapo jaṭilo bhagavato iminā iddhipāṭihāriyena abhippasanno bhagavantaṃ etad avoca:  idh’ eva mahāsamaṇa vihara, ahan te dhuvabhattenā ’ti. |7| 
the Gatilas looked at the fire room (saying), 'Truly the countenance of the great Samana is beautiful, but the Nâga will do harm to him.'  And when that night had elapsed, the flames of the Nâga were extinguished, but the various-coloured flames of Him who is possessed of magical powers remained. Dark blue and red, light red, yellow, and crystal-coloured flames of various colours appeared on the Angirasa's body.  Having put the chief of Serpents into his alms-bowl, he showed him to the Brâhmana (saying), 'Here you see the Nâga, Kassapa; his fire has been conquered by my fire.'  And the Gatila Uruvelâ Kassapa, having conceived an affection for the Blessed One in consequence of this wonder, said to the Blessed One: 
ครั้นราตรีผ่านไป เปลวไฟของพญานาคไม่ปรากฏ. แต่เปลวไฟสีต่างๆ ของพระผู้มีพระภาคผู้ทรงฤทธิ์ยังสถิตอยู่. พระรัศมีสีต่างๆ คือสีเขียว สีแดง สีหงสบาท สีเหลือง สีแก้วผลึก ปรากฏที่พระกายพระอังคีรส.  พระพุทธองค์ทรงขดพญานาคไว้ในบาตรแล้ว ทรงแสดงแก่พราหมณ์ว่า ดูกรกัสสปนี่พญานาคของท่าน เราครอบงำเดชของมันด้วยเดชของเราแล้ว.  ครั้งนั้น ชฎิลอุรุเวลกัสสป เลื่อมใสยิ่งนัก เพราะอิทธิปาฏิหารย์นี้ของพระผู้มีพระภาค ได้ทูลคำนี้ต่อพระผู้มีพระภาคว่า  ข้าแต่มหาสมณะ นิมนต์อยู่ในที่นี้แหละ ข้าพเจ้าจักบำรุงท่านด้วยภัตตาหารประจำ. 
เตโชธาตุสุ กุสโล มนุสฺสนาโคปิ ตตฺถ ปชฺชลิฯ  อุภินฺนํ สโชติภูตานํ. อคฺยาคารํ อาทิตฺตํ โหติ สมฺปชฺชลิตํ สโชติภูตํ. อุทิจฺฉเร ชฏิลา.  “อภิรูโป วต โภ มหาสมโณ. นาเคน วิเหฐิยตี”ติ ภณนฺติฯ  อถ ตสฺสา รตฺติยา อจฺจเยน. หตา นาคสฺส อจฺจิโย โหนฺติ . อิทฺธิมโต ปน ฐิตา . อเนกวณฺณา อจฺจิโย โหนฺติฯ นีลา อถ โลหิติกา. มญฺชิฏฺฐา ปีตกา ผลิกวณฺณาโย. องฺคีรสสฺส กาเย. อเนกวณฺณา อจฺจิโย โหนฺติฯ 
paṭhamaṃ pāṭihāriyaṃ. ||15|| 
'Stay with me, great Samana, I will daily provide you with food.' 
ปาฏิหาริย์ที่ ๑ จบ 
ปตฺตมฺหิ โอทหิตฺวา. อหินาคํ พฺราหฺมณสฺส ทสฺเสสิ. “อยํ เต กสฺสป นาโค. ปริยาทินฺโน อสฺส เตชสา เตโช”ติฯ 
(26) atha kho bhagavā Uruvelakassapassa jaṭilassa assamassa avidūre aññatarasmiṃ vanasaṇḍe vihāsi.  atha kho cattāro Mahārājāno abhikkantāya rattiyā abhikkantavaṇṇā kevalakappaṃ vanasaṇḍaṃ obhāsetvā yena bhagavā ten’ upasaṃkamiṃsu, upasaṃkamitvā bhagavantaṃ abhivādetvā catuddisā aṭṭhaṃsu seyyathāpi mahantā aggikkhandhā. |1| 
End of the first Wonder.  And the Blessed One resided in a certain grove near the hermitage of the Gatila Uruvelâ Kassapa. 
ปาฏิหาริย์ที่ ๒ [๔๐] ครั้งนั้น พระผู้มีพระภาคประทับอยู่ ณ ไพรสณฑ์แห่งหนึ่ง ไม่ไกลจากอาศรมของชฎิลอุรุเวลกัสสป.  ครั้งนั้น ท้าวมหาราชทั้ง ๔ เมื่อราตรีปฐมยามผ่านไปแล้ว เปล่งรัศมีงามยังไพรสณฑ์ทั้งสิ้นให้สว่างไสว แล้วเข้าไปเฝ้าพระผู้มีพระภาค ครั้นถึงแล้วจึงถวายบังคมพระผู้มีพระภาค ได้ยืนเฝ้าอยู่ทั้ง ๔ ทิศ ดุจกองไฟใหญ่ฉะนั้น. 
อถ โข อุรุเวลกสฺสโป ชฏิโล ภควโต อิมินา อิทฺธิปาฏิหาริเยน อภิปฺปสนฺโน ภควนฺตํ เอตทโวจ  “อิเธว มหาสมณ วิหร อหํ เต ธุวภตฺเตนา”ติ. 
atha kho Uruvelakassapo jaṭilo tassā rattiyā accayena yena bhagavā ten’ upasaṃkami, upasaṃkamitvā bhagavantaṃ etad avoca: kālo mahāsamaṇa niṭṭhitaṃ bhattaṃ.  ke nu kho te mahāsamaṇa abhikkantāya rattiyā abhikkantavaṇṇā kevalakappaṃ vanasaṇḍaṃ obhāsetvā yena tvaṃ ten’ upasaṃkamiṃsu, upasaṃkamitvā taṃ abhivādetvā catuddisā aṭṭhaṃsu seyyathāpi mahantā aggikkhandhā ’ti.  ete kho Kassapa cattāro Mahārājāno yenāhaṃ ten’ upasaṃkamiṃsu dhammasavanāyā ’ti.  atha kho Uruvelakassapassa jaṭilassa etad ahosi:  mahiddhiko kho mahāsamaṇo mahānubhavo, yatra hi nāma cattāro pi Mahārājāno upasaṃkamissanti dhammasavanāya, na tv eva ca kho arahā yathā ahan ti.  atha kho bhagavā Uruvelakassapassa jaṭilassa bhattaṃ bhuñjitvā tasmiṃ yeva vanasaṇḍe vihāsi. |2| 
And on a beautiful night the four Mahârâgas, filling the whole grove with light by the brilliancy of their complexion, went to the place where the Blessed One was; having approached him and respectfully saluted the Blessed One, they stood in the four directions like great firebrands.  And when that night had elapsed, the Gatila Uruvelâ Kassapa went to the place where the Blessed One was; having approached him, he said to the Blessed One: 'It is time, great Samana, the meal is ready.  Who were they, great Samana, who came, this beautiful night, filling the whole grove with light by the brilliancy of their complexion, to the place where you were, and having approached you and respectfully saluted you, stood in the four directions like great firebrands?'  'They were the four Mahârâgas, Kassapa, who came to me in order to hearmy preaching.'  Then the Gatila Uruvelâ Kassapa thought:  'Truly the great Samana possesses high magical powers and great faculties, since even the four Mahârâgas come to hear his preaching. He is not, however, holy like me.' 
ต่อมาชฎิลอุรุเวลกัสสป เข้าไปเฝ้าพระผู้มีพระภาคโดยผ่านราตรีนั้น ครั้นถึงแล้วได้ทูลคำนี้ต่อพระผู้มีพระภาคว่า ถึงเวลาแล้วมหาสมณะ ภัตตาหารเสร็จแล้ว  พวกนั้นคือใครกันหนอ เมื่อราตรีปฐมยามผ่านไปแล้ว มีรัศมีงาม ยังไพรสณฑ์ทั้งสิ้นให้สว่างไสว เข้าไปหาท่าน ครั้นถึงแล้วอภิวาทท่าน ได้ยืนอยู่ทั้ง ๔ ทิศ ดุจกองไฟใหญ่ฉะนั้น?  พระผู้มีพระภาคตรัสตอบว่า ดูกรกัสสป พวกนั้นคือท้าวมหาราชทั้ง ๔ เข้ามาหาเราเพื่อฟังธรรม.  ครั้งนั้น ชฎิลอุรุเวลกัสสปได้มีความดำริว่า  พระมหาสมณะมีฤทธิ์มาก มีอานุภาพมากแท้ ถึงกับท้าวมหาราชทั้ง ๔ เข้ามาหาเพื่อฟังธรรม แต่ก็ไม่เป็นพระอรหันต์เหมือนเราแน่.  ครั้งนั้น พระผู้มีพระภาคเสวยภัตตาหารของชฎิลอุรุเวลกัสสป แล้วประทับอยู่ในไพรสณฑ์ตำบลนั้นแล. 
ปฐมํ ปาฏิหาริยํ.  ๔๐. อถ โข ภควา อุรุเวลกสฺสปสฺส ชฏิลสฺส อสฺสมสฺส อวิทูเร อญฺญตรสฺมึ วนสณฺเฑ วิหาสิ.  อถ โข จตฺตาโร มหาราชาโน อภิกฺกนฺตาย รตฺติยา อภิกฺกนฺตวณฺณา เกวลกปฺปํ วนสณฺฑํ โอภาเสตฺวา เยน ภควา เตนุปสงฺกมึสุ อุปสงฺกมิตฺวา ภควนฺตํ อภิวาเทตฺวา จตุทฺทิสา อฏฺฐํสุ เสยฺยถาปิ มหนฺตา อคฺคิกฺขนฺธา.  อถ โข อุรุเวลกสฺสโป ชฏิโล ตสฺสา รตฺติยา อจฺจเยน เยน ภควา เตนุปสงฺกมิ อุปสงฺกมิตฺวา ภควนฺตํ เอตทโวจ “กาโล มหาสมณ นิฏฺฐิตํ ภตฺตํ.  เก นุ โข เต มหาสมณ อภิกฺกนฺตาย รตฺติยา อภิกฺกนฺตวณฺณา เกวลกปฺปํ วนสณฺฑํ โอภาเสตฺวา เยน ตฺวํ เตนุปสงฺกมึสุ อุปสงฺกมิตฺวา ตํ อภิวาเทตฺวา จตุทฺทิสา อฏฺฐํสุ “เสยฺยถาปิ มหนฺตา อคฺคิกฺขนฺธา”ติ.  “เอเต โข กสฺสป จตฺตาโร มหาราชาโน เยนาหํ เตนุปสงฺกมึสุ ธมฺมสฺสวนายา”ติ. 
dutiyakapāṭihāriyaṃ. ||16|| 
And the Blessed One ate the food offered by the Gatila Uruvelâ Kassapa, and continued to stay in that same grove. 
ปาฏิหาริย์ที่ ๒ จบ 
อถ โข อุรุเวลกสฺสปสฺส ชฏิลสฺส เอตทโหสิ 
atha kho Sakko devānam indo abhikkantāya rattiyā abhikkantavaṇṇā kevalakappaṃ vanasaṇḍaṃ obhāsetvā yena bhagavā ten’ upasaṃkami, upasaṃkamitvā bhagavantaṃ abhivādetvā ekamantaṃ aṭṭhāsi seyyathāpi mahā aggikkhandho, pūrimāhi vaṇṇanibhāhi abhikkantataro ca paṇītataro ca. |1| 
End of the second Wonder. 
ปาฏิหาริย์ที่ ๓ [๔๑] ครั้งนั้น ท้าวสักกะจอมทวยเทพ เมื่อราตรีปฐมยามล่วงไปแล้ว เปล่งรัศมีงาม ยังไพรสณฑ์ทั้งสิ้นให้สว่างไสว เข้าไปเฝ้าพระผู้มีพระภาค ครั้นถึงแล้วจึงถวายบังคมพระผู้มีพระภาคได้ประทับยืนอยู่ ณ ที่ควรส่วนข้างหนึ่ง ดุจกองไฟใหญ่ งามและประณีตกว่ารัศมีแต่ก่อน. 
“มหิทฺธิโก โข มหาสมโณ มหานุภาโว ยตฺร หิ นาม จตฺตาโรปิ มหาราชาโน อุปสงฺกมิสฺสนฺติ ธมฺมสฺสวนาย น ตฺเวว จ โข อรหา ยถา อห”นฺติ. 
atha kho Uruvelakassapo jaṭilo tassā rattiyā accayena yena bhagavā ten’ upasāmi, upasaṃkamitvā bhagavantaṃ etad avoca: kālo mahāsamaṇa niṭṭhitaṃ bhattaṃ.  ko nu kho so mahāsamaṇa abhikkantāya rattiyā abhikkantavaṇṇā kevalakappaṃ vanasaṇḍaṃ obhāsetvā yena tvaṃ ten’ upasaṃkami, upasaṃkamitvā taṃ abhivādetvā ekamantaṃ aṭṭhāsi seyyathāpi mahā aggikkhandho purimāhi vaṇṇanibhāhi abhikkantataro ca paṇītataro cā ’ti.  eso kho Kassapa Sakko devānam indo yenāhaṃ ten’ upasaṃkami dhammasavanāyā ’ti.  atha kho Uruvelakassapassa jaṭilassa etad ahosi:  mahiddhiko kho mahāsamaṇo mahānubhāvo, yatra hi nāma (27) Sakko pi devānam indo upasaṃkamissati dhammasavanāya, na tv eva ca kho arahā yathā ahan ti.  atha kho bhagavā Uruvelakassapassa jaṭilassa bhattaṃ bhuñjitvā tasmiṃ yeva vanasaṇḍe vihāsi. |2| 
And on a beautiful night Sakka (Sakra or Indra) the king of the devas, filling the whole grove with light by the brilliancy of his complexion, went to the place where the Blessed One was; having approached him and respectfully saluted the Blessed One, he stood near him like a great firebrand, surpassing in beauty and brilliancy the splendour of the former appearances.  And when that night had elapsed (&c., as in chap. 16. 2).         
ต่อมาชฎิลอุรุเวลกัสสปเข้าไปเฝ้าพระผู้มีพระภาคโดยผ่านราตรีนั้น ครั้นถึงแล้วได้ทูลคำนี้ต่อพระผู้มีพระภาคว่า ถึงเวลาแล้ว มหาสมณะ ภัตตาหารเสร็จแล้ว  ผู้นั้นคือใครกันหนอ เมื่อราตรีปฐมยามผ่านไปแล้ว เปล่งรัศมีงาม ยังไพรสณฑ์ทั้งสิ้นให้สว่างไสว เข้ามาหาท่าน ครั้นถึงแล้วอภิวาทท่าน ได้ยืนอยู่ ณ ที่ควรส่วนข้างหนึ่ง ดุจกองไฟใหญ่ งามและประณีตกว่ารัศมีแต่ก่อน?  พระผู้มีพระภาคตรัสตอบว่า ดูกรกัสสป ผู้นั้น คือ ท้าวสักกะจอมทวยเทพเข้ามาหาเราเพื่อฟังธรรม.  ครั้งนั้น ชฎิลอุรุกัสสปได้มีความดำริว่า  พระมหาสมณะมีฤทธิ์มาก มีอานุภาพมากแท้ถึงกับท้าวสักกะจอมทวยเทพเข้ามาหาเพื่อฟังธรรม แต่ก็ไม่เป็นพระอรหันต์เหมือนเราแน่.  ครั้งนั้น พระผู้มีพระภาคเสวยภัตตาหารของชฎิลอุรุเวลกัสสป แล้วประทับอยู่ในไพรสณฑ์ตำบลนั้นแล. 
อถ โข ภควา อุรุเวลกสฺสปสฺส ชฏิลสฺส ภตฺตํ ภุญฺชิตฺวา ตสฺมึเยว วนสณฺเฑ วิหาสิ.  ทุติยํ ปาฏิหาริยํ.  ๔๑. อถ โข สกฺโก เทวานมินฺโท อภิกฺกนฺตาย รตฺติยา อภิกฺกนฺตวณฺโณ เกวลกปฺปํ วนสณฺฑํ โอภาเสตฺวา เยน ภควา เตนุปสงฺกมิ อุปสงฺกมิตฺวา ภควนฺตํ อภิวาเทตฺวา เอกมนฺตํ อฏฺฐาสิ เสยฺยถาปิ มหาอคฺคิกฺขนฺโธ ปุริมาหิ วณฺณนิภาหิ อภิกฺกนฺตตโร จ ปณีตตโร จ.  อถ โข อุรุเวลกสฺสโป ชฏิโล ตสฺสา รตฺติยา อจฺจเยน เยน ภควา เตนุปสงฺกมิ อุปสงฺกมิตฺวา ภควนฺตํ เอตทโวจ “กาโล มหาสมณ นิฏฺฐิตํ ภตฺตํ.  โก นุ โข โส มหาสมณ อภิกฺกนฺตาย รตฺติยา อภิกฺกนฺตวณฺโณ เกวลกปฺปํ วนสณฺฑํ โอภาเสตฺวา เยน ตฺวํ เตนุปสงฺกมิ อุปสงฺกมิตฺวา ตํ อภิวาเทตฺวา เอกมนฺตํ อฏฺฐาสิ เสยฺยถาปิ มหาอคฺคิกฺขนฺโธ ปุริมาหิ วณฺณนิภาหิ อภิกฺกนฺตตโร จ ปณีตตโร จา”ติ?  “เอโส โข กสฺสป สกฺโก เทวานมินฺโท เยนาหํ เตนุปสงฺกมิ ธมฺมสฺสวนายา”ติ. 
tatiyakapāṭihāriyaṃ. ||17|| 
 
ปาฏิหาริย์ที่ ๓ จบ 
อถ โข อุรุเวลกสฺสปสฺส ชฏิลสฺส เอตทโหสิ 
atha kho Brahmā Sahaṃpati abhikkantāya rattiyā abhikkantavaṇṇā kevalakappaṃ vanasaṇḍaṃ obhāsetvā yena bhagavā ten’ upasaṃkami, upasaṃkamitvā bhagavantaṃ abhivādetvā ekamantaṃ aṭṭhāsi seyyathāpi mahā aggikkhandho purimāhi vaṇṇanibhāhi abhikkantataro ca paṇītataro ca. |1| 
End of the third Wonder. 
ปาฏิหาริย์ที่ ๔ [๔๒] ครั้งนั้น ท้าวสหัมบดีพรหม เมื่อราตรีปฐมยามล่วงไปแล้ว เปล่งรัศมีงาม ยังไพรสณฑ์ทั้งสิ้นให้สว่างไสว เข้าไปเฝ้าพระผู้มีพระภาค ครั้นถึงแล้วจึงถวายบังคมพระผู้มีพระภาคได้ยืนอยู่ ณ ที่ควรส่วนข้างหนึ่ง ดุจกองไฟใหญ่ งามและประณีตกว่ารัศมีแต่ก่อน. 
“มหิทฺธิโก โข มหาสมโณ มหานุภาโว ยตฺร หิ นาม สกฺโกปิ เทวานมินฺโท อุปสงฺกมิสฺสติ ธมฺมสฺสวนาย น ตฺเวว จ โข อรหา ยถา อห”นฺติ. 
atha kho Uruvelakassapo jaṭilo tassā rattiyā accayena yena bhagavā ten’ upasaṃkami, upasaṃkamitvā bhagavantaṃ etad avoca: kālo mahāsamaṇa niṭṭhitaṃ bhattaṃ.  ko nu kho so mahāsamaṇa abhikkantāya rattiyā abhikkantavaṇṇā kevalakappaṃ vanasaṇḍaṃ obhāsetvā yena tvaṃ ten’ upasaṃkami, upasaṃkamitvā taṃ abhivādetvā ekamantaṃ aṭṭhāsi seyyathāpi mahā aggikkhandho purimāhi vaṇṇanibhāhi abhikkantataro ca paṇītataro cā ’ti.  eso kho Kassapa Brahmā Sahaṃpati yenāhaṃ ten’ upasaṃkami dhammasavanāyā ’ti.  atha kho Uruvelakassapassa jaṭilassa etad ahosi: mahiddhiko kho mahāsamaṇo mahānubhāvo, yatra hi nāma Brahmāpi Sahaṃpati upasaṃkamissati dhammasavanāya, na tv eva ca kho arahā yathā ahan ti.  atha kho bhagavā Uruvelakassapassa jaṭilassa bhattaṃ bhuñjitvā tasmiṃ yeva vanasaṇḍe vihāsi. |2| 
And on a beautiful night Brahmâ Sahampati (&c., as in chap. 17).         
ครั้นล่วงราตรีนั้น ชฎิลอุรุเวลกัสสป ได้เข้าไปเฝ้าพระผู้มีพระภาค ครั้นถึงแล้วได้ทูลคำนี้ต่อพระผู้มีพระภาคว่า ถึงเวลาแล้ว มหาสมณะ ภัตตาหารเสร็จแล้ว  ผู้นั้นคือใครกันหนอ เมื่อราตรีปฐมยามผ่านไปแล้ว เปล่งรัศมีงาม ยังไพรสนฑ์ทั้งสิ้นให้สว่างไสว เข้ามาหาท่าน ครั้นถึงแล้วอภิวาทท่าน ได้ยืนอยู่ ณ ที่ควรส่วนข้างหนึ่ง ดุจกองไฟใหญ่ งามและประณีตกว่ารัศมีแต่ก่อน?  พระผู้มีพระภาคตรัสตอบว่า ดูกรกัสสป ผู้นั้น คือ ท้าวสหัมบดีพรหมเข้ามาหาเราเพื่อฟังธรรม.  ครั้งนั้น ชฎิลอุรุเวลกัสสปได้ดำริว่า พระมหาสมณะมีฤทธิ์มาก มีอานุภาพมากแท้ถึงกับท้าวสหัมบดีพรหมเข้ามาหาเพื่อฟังธรรม แต่ก็ไม่เป็นพระอรหันต์เหมือนเราแน่.  ครั้งนั้น พระผู้มีพระภาคเสวยภัตตาหารของชฎิลอุรุเวลกัสสป แล้วประทับอยู่ในไพรสณฑ์ตำบลนั้นแล. 
อถ โข ภควา อุรุเวลกสฺสปสฺส ชฏิลสฺส ภตฺตํ ภุญฺชิตฺวา ตสฺมึเยว วนสณฺเฑ วิหาสิ.  ตติยํ ปาฏิหาริยํ.  ๔๒. อถ โข พฺรหฺมา สหมฺปติ อภิกฺกนฺตาย รตฺติยา อภิกฺกนฺตวณฺโณ เกวลกปฺปํ วนสณฺฑํ โอภาเสตฺวา เยน ภควา เตนุปสงฺกมิ อุปสงฺกมิตฺวา ภควนฺตํ อภิวาเทตฺวา เอกมนฺตํ อฏฺฐาสิ เสยฺยถาปิ มหาอคฺคิกฺขนฺโธ ปุริมาหิ วณฺณนิภาหิ อภิกฺกนฺตตโร จ ปณีตตโร จ.  อถ โข อุรุเวลกสฺสโป ชฏิโล ตสฺสา รตฺติยา อจฺจเยน เยน ภควา เตนุปสงฺกมิ อุปสงฺกมิตฺวา ภควนฺตํ เอตทโวจ “กาโล มหาสมณ นิฏฺฐิตํ ภตฺตํ.  โก นุ โข โส มหาสมณ อภิกฺกนฺตาย รตฺติยา อภิกฺกนฺตวณฺโณ เกวลกปฺปํ วนสณฺฑํ โอภาเสตฺวา เยน ตฺวํ เตนุปสงฺกมิ อุปสงฺกมิตฺวา ตํ อภิวาเทตฺวา เอกมนฺตํ อฏฺฐาสิ เสยฺยถาปิ มหาอคฺคิกฺขนฺโธ ปุริมาหิ วณฺณนิภาหิ อภิกฺกนฺตตโร จ ปณีตตโร จา”ติ? 
catutthapātihāriyaṃ. ||18|| 
 
ปาฏิหาริย์ที่ ๔ จบ 
“เอโส โข กสฺสป พฺรหฺมา สหมฺปติ เยนาหํ เตนุปสงฺกมิ ธมฺมสฺสวนายา”ติ. 
tena kho pana samayena Uruvelakassapassa jaṭilassa mahāyañño paccupaṭṭhito hoti kevalakappā ca Aṅgamagadhā pahūtaṃ khādaniyaṃ bhojaniyaṃ ādāya abhikkamitukāmā honti.  atha kho Uruvelakassapassa jaṭilassa etad ahosi:  etarahi kho me mahāyañño paccupaṭṭhito kevalakappā ca Aṅgamagadhā pahūtaṃ khādaniyaṃ bhojaniyaṃ ādāya abhikkamissanti.  sace mahāsamaṇo mahājanakāye iddhipāṭihāriyaṃ karissati, mahāsamaṇassa lābhasakkāro abhivaḍḍhissati, mama lābhasakkāro parihāyissati.  aho nūna mahāsamaṇo svātanāya nāgaccheyyā ’ti. |1| 
End of the fourth Wonder.  At that time a great sacrifice which the Gatila Uruvelâ Kassapa used to celebrate was approaching, and all the people of Anga and Magadha wished to go to that sacrifice carrying abundant food, both hard and soft.  Now the Gatila Uruvelâ Kassapa thought:  'Presently my great sacrifice is approaching, and all the people of Anga and Magadha will come and bring with them abundant food, both hard and soft.  If the great Samana should perform a wonder before that great assembly, gain and honour would increase to the great Samana, and my gain and honour would diminish. 
ปาฏิหาริย์ที่ ๕ [๔๓] ก็โดยสมัยนั้นแล ชฎิลอุรุเวลกัสสปได้เตรียมการบูชายัญเป็นการใหญ่. และประชาชนชาวอังคะและมคธทั้งสิ้น ถือของเคี้ยวของบริโภคเป็นอันมาก บ่ายหน้ามุ่งไปหา.  จึงชฎิลอุรุเวลกัสสปได้ดำริว่า  บัดนี้ เราได้เตรียมการบูชายัญเป็นการใหญ่ และประชาชนชาวอังคะและมคธทั้งสิ้น ได้นำของเคี้ยวของบริโภคเป็นอันมากบ่ายหน้ามุ่งมาหา  ถ้าพระมหาสมณะจักทำอิทธิปาฏิหาริย์ในหมู่มหาชน ลาภสักการะจักเจริญยิ่งแก่พระมหาสมณะ ลาภสักการะของเราจักเสื่อม  โอ ทำไฉน วันพรุ่งนี้ พระมหาสมณะจึงจะไม่มาฉัน. 
อถ โข อุรุเวลกสฺสปสฺส ชฏิลสฺส เอตทโหสิ “มหิทฺธิโก โข มหาสมโณ มหานุภาโว ยตฺร หิ นาม พฺรหฺมาปิ สหมฺปติ อุปสงฺกมิสฺสติ ธมฺมสฺสวนาย น ตฺเวว จ โข อรหา ยถา อห”นฺติ.  อถ โข ภควา อุรุเวลกสฺสปสฺส ชฏิลสฺส ภตฺตํ ภุญฺชิตฺวา ตสฺมึเยว วนสณฺเฑ วิหาสิ.  จตุตฺถํ ปาฏิหาริยํ.  ๔๓. เตน โข ปน สมเยน อุรุเวลกสฺสปสฺส ชฏิลสฺส มหายญฺโญ ปจฺจุปฏฺฐิโต โหติ เกวลกปฺปา จ องฺคมคธา ปหูตํ ขาทนียํ โภชนียํ อาทาย อภิกฺกมิตุกามา โหนฺติ  อถ โข อุรุเวลกสฺสปสฺส ชฏิลสฺส เอตทโหสิ 
atha kho bhagavā ([page 028] 28 MAHĀVAGGA. [I. 19. 2-20. 2.) Uruvelakassapassa jaṭilassa cetasā cetoparivitakkaṃ aññāya Uttarakuruṃ gantvā tato piṇḍapātaṃ āharitvā Anotattadahe paribhuñjitvā tatth’ eva divāvihāraṃ akāsi.  atha kho Uruvelakassapo jaṭilo tassā rattiyā accayena yena bhagavā ten’ upasaṃkami, upasaṃkamitvā bhagavantaṃ etad avoca: kālo mahāsamaṇa, niṭṭhitaṃ bhattaṃ.  kiṃ nu kho mahāsamaṇa hiyyo nāgamāsi.  api ca mayaṃ taṃ sarāma kiṃ nu kho mahāsamaṇo nāgacchatīti, khādaniyassa ca bhojaniyassa ca te paṭiviso ṭhapito ’ti. |2| 
Well, the great Samana shall not appear here to-morrow.'  Then the Blessed One, understanding by the power of his mind this reflection which had arisen in the mind of the Gatila Uruvelâ Kassapa, went to Uttara Kuru; having begged alms there, he took the food (he had received) to the Anotatta lake; there he took his meal and rested during the heat of the day at the same place.  And when the night had elapsed, the Gatila Uruvelâ Kassapa went to the place where the Blessed One was; having approached him, he said to the Blessed One: 'It is time, great Samana, the meal is ready.  Why did you not come yesterday, great Samana? 
ครั้งนั้น พระผู้มีพระภาคทรงทราบความปริวิตกแห่งจิตของชฎิลอุรุเวลกัสสปด้วยพระทัยแล้ว เสด็จไปอุตตรกุรุทวีป ทรงนำบิณฑบาตมาจากอุตตรกุรุทวีปนั้น แล้วเสวยที่ริมสระอโนดาต ประทับกลางวันอยู่ ณ ที่นั้นแหละ.  ครั้นล่วงราตรีนั้น ชฎิลอุรุเวลกัสสปได้เข้าไปเฝ้าพระผู้มีพระภาค ครั้นถึงแล้วได้ทูลคำนี้ต่อพระผู้มีพระภาคว่า ถึงเวลาแล้ว มหาสมณะ ภัตตาหารเสร็จแล้ว  เพราะเหตุไรหนอ วานนี้ท่านจึงไม่มา  เป็นความจริง พวกข้าพเจ้าระลึกถึงท่านว่า เพราะเหตุไรหนอ พระมหาสมณะจึงไม่มาแต่ส่วนแห่งขาทนียาหาร ข้าพเจ้าได้จัดไว้เพื่อท่าน 
“เอตรหิ โข เม มหายญฺโญ ปจฺจุปฏฺฐิโต เกวลกปฺปา จ องฺคมคธา ปหูตํ ขาทนียํ โภชนียํ อาทาย อภิกฺกมิสฺสนฺติ.  สเจ มหาสมโณ มหาชนกาเย อิทฺธิปาฏิหาริยํ กริสฺสติ มหาสมณสฺส ลาภสกฺกาโร อภิวฑฺฒิสฺสติ มม ลาภสกฺกาโร ปริหายิสฺสติ.  อโห นูน มหาสมโณ สฺวาตนาย นาคจฺเฉยฺยา”ติ.  อถ โข ภควา อุรุเวลกสฺสปสฺส ชฏิลสฺส เจตสา เจโตปริวิตกฺกมญฺญาย อุตฺตรกุรุํ คนฺตฺวา ตโต ปิณฺฑปาตํ อาหริตฺวา อโนตตฺตทเห ปริภุญฺชิตฺวา ตตฺเถว ทิวาวิหารํ อกาสิ. 
nanu te Kassapa etad ahosi: etarahi kho me mahāyañño paccupaṭṭhito kevalakappā ca Aṅgamagadhā pahūtaṃ khādaniyaṃ bhojaniyaṃ ādāya abhikkamissanti.  sace mahāsamaṇo mahājanakāye iddhipāṭihāriyaṃ karissati, mahāsamaṇassa lābhasakkāro abhivaḍḍhissati, mama lābhasakkāro parihāyissati.  aho nūna mahāsamaṇo svātanāya nāgaccheyyā ’ti. |3| 
We have thought of you: "Why does the great Samana not come?" and your portions of food, both hard and soft, were served up for you.'  (Buddha replied): 'Did you not think, Kassapa: "Presently my great sacrifice (&c., as above down to:).   
พระผู้มีพระภาคตรัสย้อนถามว่า ดูกรกัสสป ท่านได้ดำริอย่างนี้มิใช่หรือว่า บัดนี้เราได้เตรียมการบูชายัญเป็นการใหญ่ และประชาชนชาวอังคะและมคธทั้งสิ้นได้นำของเคี้ยวและของบริโภคเป็นอันมากบ่ายหน้ามุ่งมาหา  ถ้าพระมหาสมณะจักทำอิทธิปาฏิหาริย์ ในหมู่มหาชนลาภสักการะจักเจริญยิ่งแก่พระมหาสมณะ ลาภสักการะของเราจักเสื่อม  โอ ทำไฉน วันพรุ่งนี้พระมหาสมณะจึงจะไม่มาฉัน 
อถ โข อุรุเวลกสฺสโป ชฏิโล ตสฺสา รตฺติยา อจฺจเยน เยน ภควา เตนุปสงฺกมิ อุปสงฺกมิตฺวา ภควนฺตํ เอตทโวจ “กาโล มหาสมณ นิฏฺฐิตํ ภตฺตํ.  กึ นุ โข มหาสมณ หิยฺโย นาคมาสิ?  อปิ จ มยํ ตํ สราม กึ นุ โข มหาสมโณ นาคจฺฉตีติ? ขาทนียสฺส จ โภชนียสฺส จ เต ปฏิวีโส ฐปิโต”ติ. 
so kho ahaṃ Kassapa tava cetasā cetoparivitakkaṃ aññāya Uttarakuruṃ gantvā tato piṇḍapātaṃ āharitvā Anotattadahe paribhuñjitvā tatth’ eva divāvihāraṃ akāsin ti.  atha kho Uruvelakassapassa jaṭilassa etad ahosi: mahiddhiko kho mahāsamaṇo mahānubhāvo, yatra hi nāma cetasāpi cittaṃ pajānissati, na tv eva ca kho arahā yathā ahan ti.  atha kho bhagavā Uruvelakassapassa jaṭilassa bhattaṃ paribhuñjitvā tasmiṃ yeva vanasaṇḍe vihāsi. |4| 
Well, the great Samana shall not appear here tomorrow?"  'Now I understood, Kassapa, by the power of my mind this reflection which had arisen in your mind, and I went to Uttara Kuru; having begged alms there, I took the food to the Anotatta lake; there I took my meal and rested during the heat of the day at the same place.'  Then the Gatila Uruvelâ Kassapa thought: 'Truly the great Samana possesses high magical powers and great faculties, since he is able to understand by the power of his mind the thoughts of other people. He is not, however, holy like fie.' 
ดูกรกัสสป เรานั้นแลทราบความปริวิตกแห่งจิตของท่านด้วยใจของเรา จึงไปอุตตรกุรุทวีป นำบิณฑบาตมาจากอุตตรกุรุทวีปนั้น มาฉันที่ริมสระอโนดาตแล้ว ได้พักกลางวันอยู่ ณ ที่นั้นแหละ.  ทีนั้น ชฎิลอุรุเวลกัสสปได้ดำริว่า พระมหาสมณะมีฤทธิ์มาก มีอานุภาพมากแท้ จึงได้ทราบความคิดนึกแม้ด้วยใจได้ แต่ก็ไม่เป็นพระอรหันต์เหมือนเราแน่.  ครั้งนั้น พระผู้มีพระภาคเสวยภัตตาหารของชฎิลอุรุเวลกัสสป แล้วประทับอยู่ ณ ไพรสณฑ์ตำบลนั้นแล. 
นนุ เต กสฺสป เอตทโหสิ “‘เอตรหิ โข เม มหายญฺโญ ปจฺจุปฏฺฐิโต เกวลกปฺปา จ องฺคมคธา ปหูตํ ขาทนียํ โภชนียํ อาทาย อภิกฺกมิสฺสนฺติ  สเจ มหาสมโณ มหาชนกาเย อิทฺธิปาฏิหาริยํ กริสฺสติ มหาสมณสฺส ลาภสกฺกาโร อภิวฑฺฒิสฺสติ มม ลาภสกฺกาโร ปริหายิสฺสติ  อโห นูน มหาสมโณ สฺวาตนาย นาคจฺเฉยฺยา’ติ. 
pañcamaṃ paṭihāriyaṃ. ||19|| 
And the Blessed One ate (&c., as in chap. 16, 2). 
ปาฏิหาริย์ที่ ๕ จบ 
โส โข อหํ กสฺสป ตว เจตสา เจโตปริวิตกฺกํ อญฺญาย อุตฺตรกุรุํ คนฺตฺวา ตโต ปิณฺฑปาตํ อาหริตฺวา อโนตตฺตทเห ปริภุญฺชิตฺวา ตตฺเถว ทิวาวิหารํ อกาสิ”นฺติ. 
tena kho pana samayena bhagavato paṃsukūlaṃ uppannaṃ hoti.  atha kho bhagavato etad ahosi: kattha nu kho ahaṃ paṃsukūlaṃ dhoveyyan ti.  atha kho Sakko devānam indo bhagavato cetasā cetoparivitakkaṃ aññāya pāṇinā pokkharaṇiṃ khanitvā bhagavantaṃ etad avoca:  idha bhante bhagavā paṃsukūlaṃ dhovatū ’ti.  atha kho bhagavato etad ahosi: kimhi nu kho ahaṃ paṃsukūlaṃ parimaddeyyan ti.  atha kho Sakko devānam indo bhagavato cetasā cetoparivitakkaṃ aññāya mahatiṃ silaṃ upanikkhipi idha bhante bhagavā paṃsukūlaṃ parimaddatū ’ti. |1| 
End of the fifth Wonder.  At that time the Blessed One had rags taken from a dust heap (of which he was going to make himiself a dress).  Now the Blessed One thought: 'Where shall I wash these rags?'  Then Sakka the king of the devas, understanding in his mind the thought which had arisen in the mind of the Blessed One, dug a tank with his own hand, and said to the Blessed One:  'Lord, might the Blessed One wash the rags here.'  And the Blessed One thought: 'What shall I rub the rags upon?' 
ผ้าบังสุกุล [๔๔] ก็โดยสมัยนั้น ผ้าบังสุกุลบังเกิดแก่พระผู้มีพระภาค.  จึงพระองค์ได้ทรงพระดำริว่า เราจะพึงซักผ้าบังสุกุล ณ ที่ไหนหนอ.  ลำดับนั้น ท้าวสักกะจอมทวยเทพ ทรงทราบพระดำริในพระทัยของพระผู้มีพระภาคด้วยพระทัยของพระองค์ จึงขุดสระโบกขรณีด้วยพระหัตถ์ แล้วได้ทูลพระผู้มีพระภาคว่า  พระพุทธเจ้าข้า ขอพระผู้มีพระภาคโปรดซักผ้าบังสุกุลในสระนี้.  ที่นั้น พระผู้มีพระภาคได้ทรงพระดำริว่า เราจะพึงขยำผ้าบังสุกุล ณ ที่ไหนหนอ.  ลำดับนั้น ท้าวสักกะจอมทวยเทพ ทรงทราบพระดำริในพระทัยของพระผู้มีพระภาคด้วยพระทัยของพระองค์แล้ว ได้ยกศิลาแผ่นใหญ่มาวางพลางทูลว่า พระพุทธเจ้าข้า ขอพระผู้มีพระภาคโปรดทรงขยำผ้าบังสุกุลบนศิลาแผ่นนี้. 
อถ โข อุรุเวลกสฺสปสฺส ชฏิลสฺส เอตทโหสิ “มหิทฺธิโก โข มหาสมโณ มหานุภาโว ยตฺร หิ นาม เจตสาปิ จิตฺตํ ปชานิสฺสติ น ตฺเวว จ โข อรหา ยถา อห”นฺติ.  อถ โข ภควา อุรุเวลกสฺสปสฺส ชฏิลสฺส ภตฺตํ ภุญฺชิตฺวา ตสฺมึเยว วนสณฺเฑ วิหาสิ.  ปญฺจมํ ปาฏิหาริยํ.  ๔๔. เตน โข ปน สมเยน ภควโต ปํสุกูลํ อุปฺปนฺนํ โหติ.  อถ โข ภควโต เอตทโหสิ “กตฺถ นุ โข อหํ ปํสุกูลํ โธเวยฺย”นฺติ?  อถ โข สกฺโก เทวานมินฺโท ภควโต เจตสา เจโตปริวิตกฺกมญฺญาย ปาณินา โปกฺขรณึ ขณิตฺวา ภควนฺตํ เอตทโวจ 
atha kho bhagavato etad ahosi: kimhi nu kho ahaṃ ālambitvā uttareyyan ti.  atha kho kakudhe adhivatthā devatā bhagavato cetasā cetoparivitakkaṃ aññāya sākhaṃ onamesi idha bhante bhagavā (29) ālambitvā uttaratū ’ti.  atha kho bhagavato etad ahosi: kimhi nu kho ahaṃ paṃsukūlaṃ vissajjeyyan ti.  atha kho Sakko devānam indo bhagavato cetasā cetoparivitakkaṃ aññāya mahatiṃ silaṃ upanikkhipi idha bhante bhagavā paṃsukūlaṃ vissajjetū ’ti. |2| 
Then Sakka the king of the devas, understanding, &c., put there a great stone and said: 'Lord, might the Blessed One rob the rags upon this stone.'  And the Blessed One thought: 'What shall I take hold of when going up (from the tank)?'  Then a deity that resided in a Kakudha tree, understanding, &c., bent down a branch and said: 'Lord, might the Blessed One take hold of this branch when going up (from the tank).'  And the Blessed One thought: 'What shall I lay the rags upon (in order to dry them)?' 
ลำดับนั้น พระผู้มีพระภาคได้ทรงพระดำริว่า เราจะพึงพาดผ้าบังสุกุลไว้ ณ ที่ไหนหนอ.  ครั้งนั้น เทพยดาที่สิงสถิตอยู่ที่ต้นกุ่มบก ทราบพระดำริในพระหทัยของพระผู้มีพระภาคด้วยใจของตน จึงน้อมกิ่งกุ่มลงมา พลางกราบทูลว่า พระพุทธเจ้าข้า ขอพระผู้มีพระภาคโปรดทรงพาดผ้าบังสุกุลไว้ที่กิ่งกุ่มนี้.  ครั้งนั้น พระผู้มีพระภาคได้ทรงพระดำริว่า เราจะผึ่งผ้าบังสุกุล ณ ที่ไหนหนอ.  ครั้งนั้น ท้าวสักกะจอมทวยเทพ ทรงทราบพระดำริในพระหทัยของพระผู้มีพระภาคด้วยพระทัยของพระองค์แล้ว ได้ยกแผ่นศิลาใหญ่มาวางไว้ พลางกราบทูลว่า พระพุทธเจ้าข้า ขอพระผู้มีพระภาคโปรดทรงผึ่งผ้าบังสุกุลบนศิลาแผ่นนี้. 
“อิธ ภนฺเต ภควา ปํสุกูลํ โธวตู”ติ.  อถ โข ภควโต เอตทโหสิ “กิมฺหิ นุ โข อหํ ปํสุกูลํ ปริมทฺเทยฺย”นฺติ?  อถ โข สกฺโก เทวานมินฺโท ภควโต เจตสา เจโตปริวิตกฺกมญฺญาย มหตึ สิลํ อุปนิกฺขิปิ อิธ ภนฺเต ภควา ปํสุกูลํ ปริมทฺทตูติ.  อถ โข ภควโต เอตทโหสิ “กิมฺหิ นุ โข อหํ อาลมฺพิตฺวา อุตฺตเรยฺย”นฺติ? 
atha kho Uruvelakassapo jaṭilo tassā rattiyā accayena yena bhagavā ten’ upasaṃkami, upasaṃkamitvā bhagavantaṃ etad avoca: kālo mahāsamaṇa, niṭṭhitaṃ bhattaṃ.  kiṃ nu kho mahāsamaṇa nāyaṃ pubbe idha pokkharaṇī, sāyaṃ idha pokkharaṇī, na yimā silā pubbe upanikkhittā, ken’ imā silā upanikkhittā, na yimassa kakudhassa pubbe sākhā onatā, sāyaṃ sākhā onatā ’ti. |3| 
Then Sakka the king of the devas, understanding, &c., put there a great stone and sald: 'Lord, might the Blessed One lay the rags upon this stone.'  And when that night had elapsed, the Gatila Uruvelâ Kassapa went to the place where the Blessed One was; having approached him, he said to the Blessed One: 'It is time, great Samana, the meal is ready. 
หลังจากนั้น ชฎิลอุรุเวลกัสสปเข้าไปเฝ้าพระผู้มีพระภาคโดยล่วงราตรีนั้น ครั้นถึงแล้ว ได้ทูลคำนี้ต่อพระผู้มีพระภาคว่า ถึงเวลาแล้ว มหาสมณะ ภัตตาหารเสร็จแล้ว  เพราะเหตุไรหนอ มหาสมณะ เมื่อก่อนสระนี้ไม่มีที่นี้ เดี๋ยวนี้มีสระอยู่ที่นี้ เมื่อก่อนศิลาเหล่านี้ไม่มีวางอยู่ ใครยกศิลาเหล่านี้มาวางไว้ เมื่อก่อนกิ่งกุ่มบกต้นนี้ไม่น้อมลง เดี๋ยวนี้กิ่งนั้นน้อมลง? 
อถ โข กกุเธ อธิวตฺถา เทวตา ภควโต เจตสา เจโตปริวิตกฺกมญฺญาย สาขํ โอนาเมสิ อิธ ภนฺเต ภควา อาลมฺพิตฺวา อุตฺตรตูติ.  อถ โข ภควโต เอตทโหสิ “กิมฺหิ นุ โข อหํ ปํสุกูลํ วิสฺสชฺเชยฺย”นฺติ? 
idha me Kassapa paṃsukūlaṃ uppannaṃ ahosi, tassa mayhaṃ Kassapa etad ahosi: kattha nu kho ahaṃ paṃsukūlaṃ dhoveyyan ti.  atha kho Kassapa Sakko devānam indo mama cetasā cetoparivitakkaṃ aññāya pāṇinā pokkharaṇiṃ khanitvā maṃ etad avoca: idha bhante bhagavā paṃsukūlaṃ dhovatū ’ti.  sāyaṃ amanussena pāṇinā khanitā pokkharaṇī.  tassa mayhaṃ Kassapa etad ahosi: kimhi nu kho ahaṃ paṃsukūlaṃ parimaddeyyan ti.  atha kho Kassapa Sakko devānam indo mama cetasā cetoparivitakkaṃ aññāya mahatiṃ silaṃ upanikkhipi idha bhante paṃsukūlaṃ parimaddatū ’ti.  sāyaṃ amanussena nikkhittā silā. |4| 
What is this, great Samana? Formerly there was here no tank, and now here is this tank. Formerly no stone was put here; by whom has this stone been put here? Formerly this Kakudha tree did not bend down its branch, and now this branch is bent down.'  'I had rags, Kassapa, taken from a dust heap; and I thought, Kassapa: "Where shall I wash these rags?"  Then, Kassapa, Sakka the king of the devas, understanciing in his mind the thought which had arisen in my mind, dug a tank with his hand and said to me: "Lord, might the Blessed One wash the rags here."  Thus this tank has been dug by the hand of a non-human being.  'And I thought, Kassapa: "What shall I rub the rags upon?" Then, Kassapa, Sakka, &c.   
พระผู้มีพระภาคตรัสตอบว่า ดูกรกัสสป ผ้าบังสุกุลบังเกิดแก่เรา ณ ที่นี้ เรานั้นได้ดำริว่า จะพึงซักผ้าบังสุกุล ณ ที่ไหนหนอ  ครั้งนั้น ท้าวสักกะจอมทวยเทพ ทรงทราบความดำริในจิตของเราด้วยพระทัยของพระองค์แล้ว จึงขุดสระโบกขรณีด้วยพระหัตถ์ แล้วตรัสบอกแก่เราว่า พระพุทธเจ้าข้า ขอพระผู้มีพระภาคโปรดทรงซักผ้าบังสุกุลในสระนี้  สระนี้อันผู้มิใช่มนุษย์ได้ขุดแล้วด้วยมือ  ดูกรกัสสป เรานั้นได้ดำริว่า จะพึงขยำผ้าบังสุกุล ณ ที่ไหนหนอ  ครั้งนั้นท้าวสักกะจอมทวยเทพ ทราบความดำริในจิตของเราด้วยพระทัยของพระองค์แล้ว ได้ทรงยกศิลาแผ่นใหญ่มาวางไว้ โดยทูลว่า พระพุทธเจ้าข้า ขอพระผู้มีพระภาคโปรดทรงขยำผ้าบังสุกุลบนศิลาแผ่นนี้  ศิลาแผ่นนี้อันผู้มิใช่มนุษย์ได้ยกมาวางไว้ 
อถ โข สกฺโก เทวานมินฺโท ภควโต เจตสา เจโตปริวิตกฺกมญฺญาย มหตึ สิลํ อุปนิกฺขิปิ อิธ ภนฺเต ภควา ปํสุกูลํ วิสฺสชฺเชตูติ.  อถ โข อุรุเวลกสฺสโป ชฏิโล ตสฺสา รตฺติยา อจฺจเยน เยน ภควา เตนุปสงฺกมิ อุปสงฺกมิตฺวา ภควนฺตํ เอตทโวจ “กาโล มหาสมณ นิฏฺฐิตํ ภตฺตํ.  กึ นุ โข มหาสมณ นายํ ปุพฺเพ อิธ โปกฺขรณี สายํ อิธ โปกฺขรณี. นยิมา สิลา ปุพฺเพ อุปนิกฺขิตฺตา. เกนิมา สิลา อุปนิกฺขิตฺตา? นยิมสฺส กกุธสฺส ปุพฺเพ สาขา โอนตา สายํ สาขา โอนตา”ติ.  อิธ เม กสฺสป ปํสุกูลํ อุปฺปนฺนํ อโหสิ. ตสฺส มยฺหํ กสฺสป เอตทโหสิ “กตฺถ นุ โข อหํ ปํสุกูลํ โธเวยฺย”นฺติ?  อถ โข กสฺสป สกฺโก เทวานมินฺโท มม เจตสา เจโตปริวิตกฺกมญฺญาย ปาณินา โปกฺขรณึ ขณิตฺวา มํ เอตทโวจ “อิธ ภนฺเต ภควา ปํสุกูลํ โธวตู”ติ.  สายํ กสฺสป อมนุสฺเสน ปาณินา ขณิตา โปกฺขรณี. 
tassa mayhaṃ Kassapa etad ahosi: kimhi nu kho ahaṃ ālambitvā uttareyyan ti.  atha kho Kassapa kakudhe adhivatthā devatā mama cetasā cetoparivitakkaṃ aññāya sākhaṃ onamesi idha bhante bhagavā ālambitvā uttaratū ’ti.  sv āyaṃ āharahattho kakudho.  tassa mayhaṃ Kassapa etad ahosi: kimhi nu kho ahaṃ paṃsukūlaṃ vissajjeyyan ti.  atha kho Sakko devānam indo mama cetasā cetoparivitakkaṃ aññāya mahatiṃ silaṃ upanikkhipi idha bhante bhagavā paṃsukūlaṃ vissajjetū ’ti.  sāyaṃ amanussena nikkhittā silā ’ti. |5| 
Thus this stone has been put here by a non-human being.  'And I thought, Kassapa: "What shall I take hold of when going up (from the tank)?"  Then, Kassapa, a deity, &c.  Thus this Kakudha tree has served me as a hold for my hand.  'And I thought, Kassapa: "Where shall I lay the rags upon (in order to dry them)?"  Then, Kassapa, Sakka, &c. 
ดูกรกัสสป เรานั้นได้ดำริว่า จะพึงพาดผ้าบังสุกุล ณ ที่ไหนหนอ  ครั้งนั้น เทพดาที่สิงสถิตอยู่ที่ต้นกุ่มบก ทราบความดำริในจิตของเราด้วยใจของตนแล้ว จึงน้อมกิ่งกุ่มลงมาโดยทูลว่า พระพุทธเจ้าข้า ขอพระผู้มีพระภาคโปรดทรงพาดผ้าบังสุกุลไว้บนกิ่งกุ่มนี้  ต้นกุ่มบกนี้นั้นประหนึ่งจะกราบทูลว่า ขอพระองค์จงทรงนำพระหัตถ์มาแล้วน้อมลง  ดูกรกัสสป เรานั้นได้ดำริว่า จะพึงผึ่งผ้าบังสุกุล ณ ที่ไหนหนอ  ครั้งนั้น ท้าวสักกะจอมทวยเทพ ทรงทราบความดำริแห่งจิตของเราด้วยพระทัยของพระองค์แล้ว ได้ยกศิลาแผ่นใหญ่มาวางไว้ โดยทูลว่า พระพุทธเจ้า ขอพระผู้มีพระภาคโปรดทรงผึ่งผ้าบังสุกุลบนศิลาแผ่นนี้  ศิลาแผ่นนี้อันผู้มิใช่มนุษย์ได้ยกมาวางไว้. 
ตสฺส มยฺหํ กสฺสป เอตทโหสิ “กิมฺหิ นุ โข อหํ ปํสุกูลํ ปริมทฺเทยฺย”นฺติ?  อถ โข กสฺสป สกฺโก เทวานมินฺโท มม เจตสา เจโตปริวิตกฺกมญฺญาย มหตึ สิลํ อุปนิกฺขิปิ “อิธ ภนฺเต ภควา ปํสุกูลํ ปริมทฺทตู”ติ.  สายํ กสฺสป อมนุสฺเสน อุปนิกฺขิตฺตา สิลา.  ตสฺส มยฺหํ กสฺสป เอตทโหสิ “กิมฺหิ นุ โข อหํ อาลมฺพิตฺวา อุตฺตเรยฺย”นฺติ?  อถ โข กสฺสป กกุเธ อธิวตฺถา เทวตาชฺ มม เจตสา เจโตปริวิตกฺกมญฺญาย สาขํ โอนาเมสิ “อิธ ภนฺเต ภควา อาลมฺพิตฺวา อุตฺตรชฺตู”ติ.  สฺวายํ อาหรหตฺโถ กกุโธ. 
atha kho Uruvelakassapassa jaṭilassa etad ahosi: mahiddhiko kho mahāsamaṇo mahānubhāvo, yatra hi nāma Sakko devānam indo veyyāvaccaṃ karissati, na tv eva ca kho arahā yathā ahan ti.  atha kho bhagavā Uruvelakassapassa jaṭilassa bhattaṃ bhuñjitvā tasmiṃ yeva vanasaṇḍe vihāsi. |6| 
Thus this stone has been put here by a non-human being.'  Then the Gatila Uruvelâ Kassapa thought: 'Truly the great Samana possesses high magical powers and great faculties, since Sakka the king of the devas does service to him. He is not, however, holy like me.' 
ครั้งนั้น ชฎิลอุรุเวลกัสสปได้ดำริว่า พระมหาสมณะมีฤทธิ์มาก มีอานุภาพมากแท้ ถึงกับท้าวสักกะจอมทวยเทพได้ทำการช่วยเหลือ แต่ก็ไม่เป็นพระอรหันต์เหมือนเราแน่.  ครั้งนั้น พระผู้มีพระภาคเสวยภัตตาหารของชฎิลอุรุเวลกัสสป แล้วประทับอยู่ในไพรสณฑ์ตำบลนั้นแล. ผ้าบังสุกุล จบ. 
ตสฺส มยฺหํ กสฺสป เอตทโหสิ “กิมฺหิ นุ โข อหํ ปํสุกูลํ วิสฺสชฺเชยฺย”นฺติ?  อถ โข กสฺสป สกฺโก เทวานมินฺโท มม เจตสา เจโตปริวิตกฺกมญฺญาย มหตึ สิลํ อุปนิกฺขิปิ “อิธ ภนฺเต ภควา ปํสุกูลํ วิสฺสชฺเชตู”ติ 
atha kho Uruvelakassapo jaṭilo tassā rattiyā accayena yena bhagavā ten’ upasaṃkami, upasaṃkamitvā bhaga-(30)vato kālaṃ ārocesi: kālo mahāsamaṇa niṭṭhitaṃ bhattan ti.  gaccha tvaṃ Kassapa, āyām’ ahan ti Uruvelakassapaṃ jaṭilaṃ uyyojetvā yāya jambuyāyaṃ Jambudīpo paññāyati, tato phalaṃ gahetvā paṭhamataraṃ āgantvā agyāgāre nisīdi. |7| 
And the Blessed One ate (&c., as in chap. 16. 2 ).  And when that night had elapsed, the Gatila Uruvelâ Kassapa went to the place where the Blessed One was; having approached him, he announced to the Blessed One that it was time, by saying, 'It is time, great Samana, the meal is ready.' 
ปาฏิหาริย์เก็บผลหว้าเป็นต้น [๔๕] ครั้นล่วงราตรีนั้นไป ชฎิลอุรุเวลกัสสปเข้าไปเฝ้าพระผู้มีพระภาค ครั้นแล้วจึงกราบทูลภัตตกาลแด่พระผู้มีพระภาคว่า ถึงเวลาแล้ว มหาสมณะ ภัตตาหารเสร็จแล้ว.  พระผู้มีพระภาคตรัสว่า ดูกรกัสสป ท่านไปเถิด เราจะตามไป. พระผู้มีพระภาคทรงส่งชฎิลอุรุเวลกัสสปไปแล้ว ทรงเก็บผลหว้าจากต้นหว้าประจำชมพูทวีป แล้วเสด็จมาประทับนั่งในโรงบูชาเพลิงก่อน. 
สายํ กสฺสป อมนุสฺเสน อุปนิกฺขิตฺตา สิลาติ.  อถ โข อุรุเวลกสฺสปสฺส ชฏิลสฺส เอตทโหสิ “มหิทฺธิโก โข มหาสมโณ มหานุภาโว ยตฺร หิ นาม สกฺโกปิ เทวานมินฺโท เวยฺยาวจฺจํ กริสฺสติ น ตฺเวว จ โข อรหา ยถา อห”นฺติ. 
addasa kho Uruvelakassapo jaṭilo bhagavantaṃ agyāgāre nisinnaṃ, disvāna bhagavantaṃ etad avoca: katamena tvaṃ mahāsamaṇa maggena āgato.  ahaṃ tayā paṭhamataraṃ pakkanto, so tvaṃ paṭhamataraṃ āgantvā agyāgāre nisinno ’ti. |8| 
(Buddha replied): 'Go you, Kassapa; I will follow you.' Having thus sent away the Gatila Uruvelâ Kassapa, he went to pluck a fruit from the gambu tree after which this continent of Gambudîpa (the Gambu Island, or India) is named; then arriving before Kassapa he sat down in the room where Kassapa's (sacred) fire was kept.  Then the Gatila Uruvelâ Kassapa saw the Blessed One sitting in the fire room; seeing him he said to the Blessed One: 'By what way have you come, great Samana? 
ชฎิลอุรุเวลกัสสปได้เห็นพระผู้มีพระภาคประทับนั่งในโรงบูชาเพลิงแล้ว ได้ทูลคำนี้ต่อพระผู้มีพระภาคว่า ข้าแต่มหาสมณะ ท่านมาทางไหน  ข้าพเจ้ากลับมาก่อนท่าน แต่ท่านยังมานั่งในโรงบูชาเพลิงก่อน? 
อถ โข ภควา อุรุเวลกสฺสปสฺส ชฏิลสฺส ภตฺตํ ภุญฺชิตฺวา ตสฺมึเยว วนสณฺเฑ วิหาสิ.  อถ โข อุรุเวลกสฺสโป ชฏิโล ตสฺสา รตฺติยา อจฺจเยน เยน ภควา เตนุปสงฺกมิ อุปสงฺกมิตฺวา ภควโต กาลํ อาโรเจสิ “กาโล มหาสมณ นิฏฺฐิตํ ภตฺต”นฺติ. 
idhāhaṃ Kassapa taṃ uyyojetvā yāya jambuyāyaṃ Jambudīpo paññāyati, tato phalaṃ gahetvā paṭhamataraṃ āgantvā agyāgāre nisinno.  idaṃ kho Kassapa jambuphalaṃ vaṇṇasampannaṃ gandhasampannaṃ rasasampannaṃ, sace ākaṅkhasi, paribhuñjā ’ti.  alaṃ mahāsamaṇa, tvaṃ yev’ etaṃ arahasi, tvaṃ yev’ etaṃ paribhuñjāhīti.  atha kho Uruvelakassapassa jaṭilassa etad ahosi:  mahiddhiko kho mahāsamaṇo mahānubhāvo, yatra hi nāma maṃ paṭhamataraṃ uyyojetvā yāya jambuyāyaṃ Jambūdipo paññāyati, tato phalaṃ gahetvā paṭhamataraṃ āgantvā agyāgāre nisīdissati, na tv eva ca kho arahā yathā ahan ti.  atha kho bhagavā Uruvelakassapassa jaṭilassa bhattaṃ bhuñjitvā tasmiṃ yeva vanasaṇḍe vihāsi. |9| 
I have departed before you, and you have arrived before me and are sitting in the fire room.'  'When I had sent you away, Kassapa, I went to pluck a fruit from the garnbu tree after which this continent of Gambudîpa is named; then I arrived before you and sat down in the fire room.  Here is the gambu fruit, Kassapa, it is beautiful, fragrant, and full of flavour; you may eat it, if you like.'  'Nay, great Samana, to you alone it is becoming to eat it; eat it yourself.'  And the Gatila Uruvelâ Kassapa thought:  'Truly the great Samana possesses high magical powers and great faculties, since he is able, having sent me away before him, to go and pluck a fruit from the gambu tree after which this continent of Gambudîpa is named, and then to arrive before me and to sit down in the fire room. He is not however, holy like me.' 
ภ. ดูกรกัสสป เราส่งท่านไปแล้ว ได้เก็บผลหว้าจากต้นหว้าประจำชมพูทวีป แล้วมานั่งในโรงบูชาเพลิงนี้ก่อน  ดูกรกัสสป ผลหว้านี้แล สมบูรณ์ด้วยสี กลิ่น รส ถ้าท่านต้องการ เชิญบริโภคเถิด.  อุรุ. อย่าเลย มหาสมณะ ท่านนั่นแหละเก็บผลไม้นี้มา ท่านนั่นแหละ จงฉันผลไม้นี้เถิด.  ลำดับนั้น ชฎิลอุรุเวลกัสสปได้มีความดำริว่า  พระมหาสมณะมีฤทธิ์มาก มีอานุภาพมากแท้ เพราะส่งเรามาก่อนแล้ว ยังเก็บผลหว้าจากต้นหว้าประจำชมพูทวีปแล้วมานั่งในโรงบูชาเพลิงก่อน แต่ก็ไม่เป็นพระอรหันต์เหมือนเราแน่.  ครั้งนั้น พระผู้มีพระภาคเสวยภัตตาหารของชฎิลอุรุเวลกัสสปแล้ว ประทับอยู่ในไพรสณฑ์ตำบลนั้นแล. 
“คจฺฉ ตฺวํ กสฺสป อายามห”นฺติ อุรุเวลกสฺสปํ ชฏิลํ อุยฺโยเชตฺวา ยาย ชมฺพุยา ‘ชมฺพุทีโป’ ปญฺญายติ ตโต ผลํ คเหตฺวา ปฐมตรํ อาคนฺตฺวา อคฺยาคาเร นิสีทิ.  อทฺทสา โข อุรุเวลกสฺสโป ชฏิโล ภควนฺตํ อคฺยาคาเร นิสินฺนํ ทิสฺวาน ภควนฺตํ เอตทโวจ “กตเมน ตฺวํ มหาสมณ มคฺเคน อาคโต?  อหํ ตยา ปฐมตรํ ปกฺกนฺโต โส ตฺวํ ปฐมตรํ อาคนฺตฺวา อคฺยาคาเร นิสินฺโน”ติ.  “อิธาหํ กสฺสป ตํ อุยฺโยเชตฺวา ยาย ชมฺพุยา ‘ชมฺพุทีโป’ ปญฺญายติ ตโต ผลํ คเหตฺวา ปฐมตรํ อาคนฺตฺวา อคฺยาคาเร นิสินฺโน.  อิทํ โข กสฺสป ชมฺพุผลํ วณฺณสมฺปนฺนํ คนฺธสมฺปนฺนํ รสสมฺปนฺนํ. สเจ อากงฺขสิ ปริภุญฺชา”ติ.  “อลํ มหาสมณ ตฺวํเยว ตํ อรหสิ ตฺวํเยว ตํ ปริภุญฺชาหี”ติ. 
atha kho Uruvelakassapo jaṭilo tassā rattiyā accayena yena bhagavā ten’ upasaṃkami, upasaṃkamitvā bhagavato kālaṃ ārocesi: kālo mahāsamaṇa niṭṭhitaṃ bhattan ti.  gaccha tvaṃ Kassapa, āyām’ ahan ti Uruvelakassapaṃ jaṭilaṃ uyyojetvā yāya jambuyāyaṃ Jambudīpo paññāyati, tassā avidūre ambo --gha-- tassā avidūre āmalakī --la-- tassā avidūre harītakī --la-- Tāvatiṃsaṃ gantvā pāricchattakapupphaṃ gahetvā paṭhamataraṃ āgantvā agyāgāre nisīdi.  addasa kho Uruvelakassapo jaṭilo bhagavantaṃ agyāgāre nisinnaṃ, disvāna bhagavantaṃ etad avoca: katamena tvaṃ mahāsamaṇa maggena āgato.  ahaṃ tayā paṭhamataraṃ pakkanto, so tvaṃ paṭhamataraṃ āgantvā agyāgāre nisinno ’ti. |10| 
And the Blessed One ate (&c., as in chap. 16. 2).  And when that night had elapsed (&c., as in § 7, down to:).  Having thus sent away the Gatila Uruvelâ Kassapa, he went to pluck a fruit from a mango tree growing near the gambu tree after which this continent of Gambudîpa is named, &c. He went to pluck a fruit from an emblic myrobalan tree, &c., from a yellow myrobalan tree growing near the gambu tree, &c. He went to the Tâvatimsa heaven to pluck a pârikkhattaka (or pârigâtaka) flower; then arriving before Kassapa he sat down in the fire room. Then the Gatila Uruvelâ Kassapa saw (&c., as in § 8).   
ครั้นล่วงราตรีนั้นไป ชฎิลอุรุเวลกัสสปไปเฝ้าพระผู้มีพระภาค ครั้นแล้ว จึงทูลภัตตกาลแด่พระผู้มีพระภาคว่า ถึงเวลาแล้ว มหาสมณะ ภัตตาหารเสร็จแล้ว.  พระผู้มีพระภาคทรงส่งชฎิลอุรุเวลกัสสปไปด้วยพระดำรัสว่า ดูกรกัสสป ท่านไปเถิด เราจักตามไป แล้วทรงเก็บผลมะม่วง ... ผลมะขามป้อม ... ผลสมอ ในที่ไม่ไกลต้นหว้าประจำชมพูทวีปนั้น ... เสด็จไปสู่ภพดาวดึงส์ ทรงเก็บดอกปาริฉัตตกะ แล้วมาประทับนั่งในโรงบูชาเพลิงก่อน.  ชฎิลอุรุเวลกัสสปได้เห็นพระผู้มีพระภาคประทับนั่งในโรงบูชาเพลิง ครั้นแล้วได้ทูลคำนี้ต่อพระผู้มีพระภาคว่า ข้าแต่มหาสมณะ ท่านมาทางไหน  ข้าพเจ้ากลับมาก่อนท่าน แต่ท่านยังมานั่งในโรงบูชาเพลิงก่อน?. 
อถ โข อุรุเวลกสฺสปสฺส ชฏิลสฺส เอตทโหสิ  “มหิทฺธิโก โข มหาสมโณ มหานุภาโว ยตฺร หิ นาม มํ ปฐมตรํ อุยฺโยเชตฺวา ยาย ชมฺพุยา ‘ชมฺพุทีโป’ ปญฺญายติ ตโต ผลํ คเหตฺวา ปฐมตรํ อาคนฺตฺวา อคฺยาคาเร นิสีทิสฺสติ น ตฺเวว จ โข อรหา ยถา อห”นฺติ.  อถ โข ภควา อุรุเวลกสฺสปสฺส ชฏิลสฺส ภตฺตํ ภุญฺชิตฺวา ตสฺมึเยว วนสณฺเฑ วิหาสิ.  ๔๕. อถ โข อุรุเวลกสฺสโป ชฏิโล ตสฺสา รตฺติยา อจฺจเยน เยน ภควา เตนุปสงฺกมิ อุปสงฺกมิตฺวา ภควโต กาลํ อาโรเจสิ “กาโล มหาสมณ นิฏฺฐิตํ ภตฺต”นฺติ. 
idhāhaṃ Kassapa taṃ uyyojetvā Tāvatiṃsaṃ gantvā pāricchattakapupphaṃ gahetvā paṭhamataraṃ āgantvā agyāgāre nisinno.  idaṃ kho Kassapa pāricchattakapupphaṃ vaṇṇasampannaṃ gandhasampannaṃ, sace ākaṅkhasi, gaṇhā ’ti.  alaṃ mahāsamaṇa, tvaṃ yev’ etaṃ arahasi, tvaṃ yev’ etaṃ (31) gaṇhā ’ti.  atha kho Uruvelakassapassa jaṭilassa etad ahosi:  mahiddhiko kho mahāsamaṇo mahānubhāvo, yatra hi nāma maṃ paṭhamataraṃ uyyojetvā Tāvatiṃsaṃ gantvā pāricchattakapupphaṃ gahetvā paṭhamataraṃ āgantvā agyāgāre nisīdissati, na tv eva ca kho arahā yathā ahan ti. |11| 
  'When I had sent you away, Kassapa, I went to the Tâvatimsa heaven to pluck a pârikkhattaka flower; then I arrived before you and sat down in the fire room.  Here is the pârikkhattaka flower, Kassapa; it is beautiful and fragrant; you may take it, if you like.'  'Nay, great Samana, to you alone it is becoming to keep it; keep it yourself.'  And the Gatila (&c., as in § 9). 
พระผู้มีพระภาคตรัสตอบว่า ดูกรกัสสป เราส่งท่านแล้วได้ไปสู่ภพดาวดึงส์ เก็บดอกปาริฉัตตกะแล้ว มานั่งในโรงบูชาเพลิงก่อน  ดูกรกัสสป ดอกปาริฉัตตกะนี้แล สมบูรณ์ด้วยสีและกลิ่น.  ครั้งนั้น ชฎิลอุรุเวลกัสสปได้มีความดำริว่า  พระมหาสมณะมีฤทธิ์มาก มีอานุภาพมากแท้ เพราะส่งเรามาก่อนแล้วยังไปสู่ภพดาวดึงส์ เก็บดอกปาริฉัตตกะแล้ว มานั่งในโรงบูชาเพลิงก่อน แต่ก็ไม่เป็นพระอรหันต์เหมือนเราแน่. 
คจฺฉ ตฺวํ กสฺสป อายามหนฺติ อุรุเวลกสฺสปํ ชฏิลํ อุยฺโยเชตฺวา ยาย ชมฺพุยา ‘ชมฺพุทีโป’ ปญฺญายติ ตสฺสา อวิทูเร อมฺโพฯเปฯ ตสฺสา อวิทูเร อามลกีฯเปฯ ตสฺสา อวิทูเร หรีตกีฯเปฯ ตาวตึสํ คนฺตฺวา ปาริจฺฉตฺตกปุปฺผํ คเหตฺวา ปฐมตรํ อาคนฺตฺวา อคฺยาคาเร นิสีทิ.  อทฺทสา โข อุรุเวลกสฺสโป ชฏิโล ภควนฺตํ อคฺยาคาเร นิสินฺนํ ทิสฺวาน ภควนฺตํ เอตทโวจ “กตเมน ตฺวํ มหาสมณ มคฺเคน อาคโต?  อหํ ตยา ปฐมตรํ ปกฺกนฺโต โส ตฺวํ ปฐมตรํ อาคนฺตฺวา อคฺยาคาเร นิสินฺโน”ติ.  “อิธาหํ กสฺสป ตํ อุยฺโยเชตฺวา ตาวตึสํ คนฺตฺวา ปาริจฺฉตฺตกปุปฺผํ คเหตฺวา ปฐมตรํ อาคนฺตฺวา อคฺยาคาเร นิสินฺโน.  อิทํ โข กสฺสป ปาริจฺฉตฺตกปุปฺผํ วณฺณสมฺปนฺนํ คนฺธสมฺปนฺนํ . (สเจ อากงฺขสิ คณฺหา”ติ. 
tena kho pana samayena te jaṭilā aggī paricaritukāmā na sakkonti kaṭṭhāni phāletuṃ.  atha kho tesaṃ jaṭilānaṃ etad ahosi: nissaṃsayaṃ kho mahāsamaṇassa iddhānubhāvo, yathā mayaṃ na sakkoma kaṭṭhāni phāletun ti.  atha kho bhagavā Uruvelakassapaṃ jaṭilaṃ etad avoca: phāliyantu Kassapa kaṭṭhānīti.  phāliyantu mahāsamaṇā ’ti.  sakid eva pañcakaṭṭhasatāni phāliyiṃsu.  atha kho Uruvelakassapassa jaṭilassa etad ahosi:  mahiddhiko kho mahāsamaṇo mahānubhāvo, yatra hi nāma kaṭṭhāni pi phāliyissanti, na tv eva ca kho arahā yathā ahan ti. |12| 
'He is not, however, holy as I am.'  At that time one day the Gatilas, who wished to attend on their sacred fires, could not succeed in splitting fire-wood.  Now these Gatilas thought: 'Doubtless this is the magical power and the high faculty of the great Samana that we cannot succeed in splitting fire-wood.'  Then the Blessed One said to the Gatila Uruvelâ Kassapa: 'Shall the fire-wood be split, Kassapa?'  'Let it be split, great Samana.'  Then in a moment the five hundred pieces of fire-wood were split.  And the Gatila Uruvelâ Kassapa thought: 
ปาฏิหาริย์ผ่าฟืน [๔๖] ก็โดยสมัยนั้นแล ชฎิลเหล่านั้นปรารถนาจะบำเรอไฟ แต่ไม่อาจจะฝ่าฟืนได้.  จึงชฎิลเหล่านั้นได้มีความดำริต้องกันว่า ข้อที่พวกเราไม่อาจผ่าฟืนได้นั้น คงเป็นอิทธานุภาพของพระมหาสมณะ ไม่ต้องสงสัยเลย.  ครั้งนั้น พระผู้มีพระภาคได้ตรัสกะชฎิลอุรุเวลกัสสปว่า ดูกรกัสสป พวกชฎิลจงผ่าฟืนเถิด.  ชฎิลอุรุเวลกัสสป รับพระพุทธดำรัสว่า ข้าแต่มหาสมณะ พวกชฎิลจงผ่าฟืนกัน.  ชฎิลทั้งหลายได้ผ่าฟืน ๕๐๐ ท่อนคราวเดียวเท่านั้น.  ครั้งนั้นแล ชฎิลอุรุเวลกัสสปได้มีความดำริว่า  พระมหาสมณะมีฤทธิ์มาก มีอานุภาพมากแท้ ถึงกับให้พวกชฎิลผ่าฟืนได้ แต่ก็ไม่เป็นพระอรหันต์เหมือนเราแน่. 
“อลํ มหาสมณ ตฺวํเยว ตํ อรหสิ ตฺวํเยว ตํ คณฺหา”ติ) .  อถ โข อุรุเวลกสฺสปสฺส ชฏิลสฺส เอตทโหสิ  “มหิทฺธิโก โข มหาสมโณ มหานุภาโว ยตฺร หิ นาม มํ ปฐมตรํ อุยฺโยเชตฺวา ตาวตึสํ คนฺตฺวา ปาริจฺฉตฺตกปุปฺผํ คเหตฺวา ปฐมตรํ อาคนฺตฺวา อคฺยาคาเร นิสีทิสฺสติ น ตฺเวว จ โข อรหา ยถา อห”นฺติ.  ๔๖. เตน โข ปน สมเยน เต ชฏิลา อคฺคิ๎ ปริจริตุกามา น สกฺโกนฺติ กฏฺฐานิ ผาเลตุํ  อถ โข เตสํ ชฏิลานํ เอตทโหสิ “นิสฺสํสยํ โข มหาสมณสฺส อิทฺธานุภาโว ยถา มยํ น สกฺโกม กฏฺฐานิ ผาเลตุ”นฺติ.  อถ โข ภควา อุรุเวลกสฺสปํ ชฏิลํ เอตทโวจ “ผาลิยนฺตุ กสฺสป กฏฺฐานี”ติ.  “ผาลิยนฺตุ มหาสมณา”ติ. 
tena kho pana samayena te jaṭilā aggī paricaritukāmā na sakkonti aggī ujjaletuṃ.  atha kho tesaṃ jaṭilānaṃ etad ahosi: nissaṃsayaṃ kho mahāsamaṇassa iddhānubhāvo, yathā mayaṃ na sakkoma aggī ujjaletun ti.  atha kho bhagavā Uruvelakassapaṃ jaṭilaṃ etad avoca: ujjaliyantu Kassapa aggīti.  ujjaliyantu mahāsamaṇā ’ti.  sakid eva pañca aggisatāni ujjaliṃsu.  atha kho Uruvelakassapassa jaṭilassa etad ahosi: mahiddhiko kho mahāsamaṇo mahānubhāvo, yatra hi nāma aggī pi ujjaliyissanti, na tv eva ca kho arahā yathā ahan ti. |13| 
'Truly the great Samana possesses high magical powers and great faculties, since even the fire-wood splits itself (at his command). He is not, however, holy like me.'  At that time the Gatilas who wished to attend on their sacred fires, could not succeed in lighting up the fires (&c., as in the preceding story).         
ปาฏิหาริย์ก่อไฟ [๔๗] ก็โดยสมัยนั้นแล ชฎิลเหล่านั้นปรารถนาจะบำเรอไฟ แต่ไม่อาจจะก่อไฟให้ลุกได้.  จึงชฎิลเหล่านั้นได้มีความดำริต้องกันว่า ข้อที่พวกเราไม่อาจจะก่อไฟให้ลุกขึ้นได้นั้น คงเป็นอิทธานุภาพของพระมหาสมณะ ไม่ต้องสงสัยเลย.  ครั้งนั้น พระผู้มีพระภาคได้ตรัสกะชฎิลอุรุเวลกัสสปว่า ดูกรกัสสป พวกชฎิลจงก่อไฟให้ลุกเถิด.  ชฎิลอุรุเวลกัสสป รับพระพุทธดำรัสว่า ข้าแต่มหาสมณะ พวกชฎิลจงก่อไฟให้ลุก.  ไฟทั้ง ๕๐๐ กอง ได้ลุกขึ้นคราวเดียวกันเทียว.  ลำดับนั้น ชฎิลอุรุเวลกัสสป ได้มีความดำริว่า พระมหาสมณะมีฤทธิ์มาก มีอานุภาพมากแท้ ถึงกับให้ไฟลุกขึ้นได้ แต่ก็ไม่เป็นพระอรหันต์เหมือนเราแน่. 
สกิเทว ปญฺจ กฏฺฐสตานิ ผาลิยิ๎สุ.  อถ โข อุรุเวลกสฺสปสฺส ชฏิลสฺส เอตทโหสิ  “มหิทฺธิโก โข มหาสมโณ มหานุภาโว ยตฺร หิ นาม กฏฺฐานิปิ ผาลิยิสฺสนฺติ น ตฺเวว จ โข อรหา ยถา อห”นฺติ.  ๔๗. เตน โข ปน สมเยน เต ชฏิลา อคฺคิ๎ ปริจริตุกามา น สกฺโกนฺติ อคฺคิ๎ อุชฺชเลตุํ .  อถ โข เตสํ ชฏิลานํ เอตทโหสิ “นิสฺสํสยํ โข มหาสมณสฺส อิทฺธานุภาโว ยถา มยํ น สกฺโกม อคฺคิ๎ อุชฺชเลตุ”นฺติ.  อถ โข ภควา อุรุเวลกสฺสปํ ชฏิลํ เอตทโวจ “อุชฺชลิยนฺตุ กสฺสป อคฺคี”ติ. 
tena kho pana samayena te jaṭilā aggī paricaritvā na sakkonti aggī vijjhāpetuṃ.  atha kho tesaṃ jaṭilānaṃ etad ahosi: nissaṃsayaṃ kho mahāsamaṇassa iddhānubhāvo, yathā mayaṃ na sakkoma aggī vijjhāpetun ti.  atha kho bhagavā Uruvelakassapaṃ jaṭilaṃ etad avoca: vijjhāyantu Kassapa aggīti.  vijjhāyantu mahāsamaṇā ’ti.  sakid eva pañca aggisatāni vijjhāyiṃsu.  atha kho Uruvelakassapassa jaṭilassa etad ahosi:  mahiddhiko kho mahāsamaṇo mahānubhāvo, yatra hi nāma aggī pi vijjhāyissanti, na tv eva ca kho arahā yathā ahan ti. |14| 
  At that time the Gatilas, after having attended on their sacred fires, could not succeed in extinguishing the fires (&c., as above).           
ปาฏิหาริย์ดับไฟ [๔๘] ก็โดยสมัยนั้นแล ชฎิลเหล่านั้นบำเรอไฟกันแล้วไม่อาจดับไฟได้.  จึงได้คิดต้องกันว่า ข้อที่พวกเราไม่อาจดับไฟได้นั้น คงเป็นอิทธานุภาพของพระสมณะ ไม่ต้องสงสัยเลย.  ครั้งนั้น พระผู้มีพระภาคได้ตรัสกะชฎิลอุรุเวลกัสสปว่า ดูกรกัสสป พวกชฎิลจงดับไฟเถิด.  ชฎิลอุรุเวลกัสสป รับพระพุทธดำรัสว่า ข้าแต่มหาสมณะ พวกชฎิลจงดับไฟกัน.  ไฟทั้ง ๕๐๐ กอง ได้ดับคราวเดียวกันเทียว.  ครั้งนั้นแล ชฎิลอุรุเวลกัสสปได้มีความดำริว่า  พระมหาสมณะมีฤทธิ์มาก มีอานุภาพมากแท้ ถึงกับให้พวกชฏิลดับไฟได้ แต่ก็ไม่เป็นพระอรหันต์เหมือนเราแน่. 
“อุชฺชลิยนฺตุ มหาสมณา”ติ.  สกิเทว ปญฺจ อคฺคิสตานิ อุชฺชลิยิ๎สุ.  อถ โข อุรุเวลกสฺสปสฺส ชฏิลสฺส เอตทโหสิ “มหิทฺธิโก โข มหาสมโณ มหานุภาโว ยตฺร หิ นาม อคฺคีปิ อุชฺชลิยิสฺสนฺติ น ตฺเวว จ โข อรหา ยถา อห”นฺติ.  ๔๘. เตน โข ปน สมเยน เต ชฏิลา อคฺคิ๎ ปริจริตฺวา น สกฺโกนฺติ อคฺคิ๎ วิชฺฌาเปตุํ.  อถ โข เตสํ ชฏิลานํ เอตทโหสิ “นิสฺสํสยํ โข มหาสมณสฺส อิทฺธานุภาโว ยถา มยํ น สกฺโกม อคฺคิ๎ วิชฺฌาเปตุ”นฺติ.  อถ โข ภควา อุรุเวลกสฺสปํ ชฏิลํ เอตทโวจ “วิชฺฌายนฺตุ กสฺสป อคฺคี”ติ.  “วิชฺฌายนฺตุ มหาสมณา”ติ. 
tena kho pana samayena te jaṭilā sītāsu hemantikāsu rattisu antaraṭṭhakāsu himapātasamaye najjā Nerañjarāyaṃ nimujjanti pi, ummujjanti pi, ummujjanimujjam pi karonti.  atha kho bhagavā pañcamattāni mandāmukhisatāni abhinimmini, yattha te jaṭilā uttaritvā visib-(32)besuṃ.  atha kho tesaṃ jaṭilānaṃ etad ahosi: nissaṃsayaṃ kho mahāsamaṇassa iddhānubhāvo, yathā h’ imā mandāmukhiyo nimmitā ’ti.  atha kho Uruvelakassapassa jaṭilassa etad ahosi:  mahiddhiko kho mahāsamaṇo mahānubhāvo, yatra hi nāma mahāmandāmukhiyo abhinimminissati, na tv eva ca kho arahā yathā ahan ti. |15| 
  At that time in the cold winter nights, in the time between the ashtakâ festivals, when snow falls, the Gatilas plunged into the river Nerañgarâ, and emerged again, and repeatedly plunged into the water and emerged.  And the Blessed One created five hundred vessels with burning fire; at those the Gatilas coming out of the river warmed themselves.  And the Gatilas thought: 'Doubtless this is the magical power and the high faculty of the great Samana that these vessels with fire have been caused to appear here.  'And the Gatila Uruvelâ Kassapa thought: 
ปาฏิหาริย์กองไฟ [๔๙] ก็โดยสมัยนั้นแล ชฎิลเหล่านั้น พากันดำลงบ้าง ผุดขึ้นบ้าง ทั้งดำทั้งผุดบ้างในแม่น้ำเนรัญชรา ในราตรีหนาวเหมันตฤดู ระหว่างท้ายเดือน ๓ ต้นเดือน ๔ ในสมัยน้ำค้างตก.  ครั้งนั้น พระผู้มีพระภาคได้ทรงนิรมิตกองไฟไว้ ๕๐๐ กอง สำหรับให้ชฎิลเหล่านั้นขึ้นจากน้ำแล้วจะได้ผิง.  จึงชฎิลเหล่านั้นได้มีความดำริต้องกันว่า ข้อที่กองไฟเหล่านี้ถูกนิรมิตไว้นั้น คงต้องเป็นอิทธานุภาพของพระมหาสมณะ ไม่ต้องสงสัยเลย.  ครั้งนั้น ชฎิลอุรุเวลกัสสปได้มีความดำริว่า  พระมหาสมณะมีฤทธิ์มาก มีอานุภาพมากแท้ ถึงกับนิรมิตกองไฟได้มากมายถึงเพียงนั้น แต่ก็ไม่เป็นพระอรหันต์เหมือนเราแน่. 
สกิเทว ปญฺจ อคฺคิสตานิ วิชฺฌายิ๎สุ.  อถ โข อุรุเวลกสฺสปสฺส ชฏิลสฺส เอตทโหสิ  “มหิทฺธิโก โข มหาสมโณ มหานุภาโว ยตฺร หิ นาม อคฺคีปิ วิชฺฌายิสฺสนฺติ น ตฺเวว จ โข อรหา ยถา อห”นฺติ.  ๔๙. เตน โข ปน สมเยน เต ชฏิลา สีตาสุ เหมนฺติกาสุ รตฺตีสุ อนฺตรฏฺฐกาสุ หิมปาตสมเย นชฺชา เนรญฺชราย อุมฺมุชฺชนฺติปิ นิมุชฺชนฺติปิ อุมฺมุชฺชนนิมุชฺชนมฺปิ กโรนฺติ.  อถ โข ภควา ปญฺจมตฺตานิ มนฺทามุขิสตานิ อภินิมฺมินิ ยตฺถ เต ชฏิลา อุตฺตริตฺวา วิสิพฺเพสุํ 
tena kho pana samayena mahāakālamegho vassi, mahāudakavāhako sañjāyi.  yasmiṃ padese bhagavā viharati, so padeso udakena anuotthaṭo hoti.  atha kho bhagavato etad ahosi: yaṃ nūnāhaṃ samantā udakaṃ ussāretvā majjhe reṇuhatāya bhūmiyā caṅkameyyan ti.  atha kho bhagavā samantā udakaṃ ussāretvā majjhe reṇuhatāya bhūmiyā caṅkami.  atha kho Uruvelakassapo jaṭilo mā h’ eva kho mahāsamaṇo udakena vuḷho ahosīti nāvāya sambahulehi jaṭilehi saddhiṃ yasmiṃ padese bhagavā viharati taṃ padesaṃ agamāsi.  addasa kho Uruvelakassapo jaṭilo bhagavantaṃ samantā udakaṃ ussāretvā majjhe reṇuhatāya bhūmiyā caṅkamantaṃ, disvāna bhagavantaṃ etad avoca: idha nu tvaṃ mahāsamaṇā ’ti.  ayam ah’ asmi Kassapā ’ti bhagavā vehāsaṃ abbhuggantvā nāvāya paccuṭṭhāsi.  atha kho Uruvelakassapassa jaṭilassa etad ahosi: mahiddhiko kho mahāsamaṇo mahānubhāvo, yatra hi nāma udakam pi na pavahissati, na tv eva ca kho arahā yathā ahan ti. |16| 
'Truly the great Samana possesses high magical powers and great faculties, since he can create such great vessels with fire. He is not, however, holy like me.'  At that time a great rain fell out of season; and a great inundation arose.  The place where the Blessed One livcd was covered with water.  Then the Blessed One thought: 'What if I were to cause the water to recede round about, and if I were to walk up and down in the midst of the water on a dust-covered spot.  'And the Blessed One caused the water to recede round about, and he walked up and down in the midst of the water on a dust-covered spot.  And the Gatila Uruvelâ Kassapa, who was afraid that the water might have carried away the great Samana, went with a boat together with many Gatilas to the place where the Blessed One lived.  Then the Gatila Uruvelâ Kassapa saw the Blessed One, who had caused the water to recede round about, walking up and down in the midst of the water on a dust-covered spot. Seeing him, he said to the Blessed One: 'Are you there, great Samana?'  'Here I am, Kassapa,' replied the Blessed One, and he rose in the air and stationed himself in the boat. 
ปาฏิหาริย์น้ำท่วม [๕๐] ก็โดยสมัยนั้นแล เมฆใหญ่ในสมัยที่มิใช่ฤดูกาลยังฝนให้ตกแล้ว ห้วงน้ำใหญ่ได้ไหลนองไป.  ประเทศที่พระผู้มีพระภาคประทับอยู่นั้นถูกน้ำท่วม.  ขณะนั้น พระผู้มีพระภาคได้ทรงพระดำริว่า ไฉนหนอ เราพึงบันดาลให้น้ำห่างออกไปโดยรอบ แล้วจงกรมอยู่บนภาคพื้นอันมีฝุ่นฟุ้งขึ้นตอนกลาง.  ครั้นแล้วจึงทรงบันดาลให้น้ำห่างออกไปโดยรอบแล้วเสด็จจงกรมอยู่บนภาคพื้น อันมีฝุ่นฟุ้งขึ้นตอนกลาง.  ต่อมา ชฎิลอุรุเวลกัสสปกล่าวว่า พระมหาสมณะอย่าได้ถูกน้ำพัดไปเสียเลย ดังนี้ แล้วพร้อมด้วยชฎิลมากด้วยกัน ได้เอาเรือไปสู่ประเทศที่พระผู้มีพระภาคประทับอยู่.  ได้เห็นพระผู้มีพระภาคผู้ทรงบันดาลให้น้ำห่างออกไปโดยรอบแล้ว เสด็จจงกรมอยู่บนภาคพื้นอันมีฝุ่นฟุ้งขึ้นตอนกลาง แล้วได้ทูลพระผู้มีพระภาคว่า ข้าแต่มหาสมณะ ท่านยังอยู่ที่นี่ดอกหรือ?  พระผู้มีพระภาคตรัสตอบว่าถูกละ กัสสป เรายังอยู่ที่นี่ ดังนี้แล้วเสด็จขึ้นสู่เวหาสปรากฏอยู่ที่เรือ.  จึงชฎิลอุรุเวลกัสสปได้มีความดำริว่า พระมหาสมณะมีฤทธิ์มาก มีอานุภาพมากแท้ ถึงกับบันดาลไม่ให้น้ำไหลไปได้ แต่ก็ไม่เป็นพระอรหันต์เหมือนเราแน่. 
อถ โข เตสํ ชฏิลานํ เอตทโหสิ “นิสฺสํสยํ โข มหาสมณสฺส อิทฺธานุภาโว ยถยิมา มนฺทามุขิโย นิมฺมิตา”ติ.  อถ โข อุรุเวลกสฺสปสฺส ชฏิลสฺส เอตทโหสิ  “มหิทฺธิโก โข มหาสมโณ มหานุภาโว ยตฺร หิ นาม ตาว พหู มนฺทามุขิโยปิ อภินิมฺมินิสฺสติ น ตฺเวว จ โข อรหา ยถา อห”นฺติ.  ๕๐. เตน โข ปน สมเยน มหา อกาลเมโฆ ปาวสฺสิ มหา อุทกวาหโก สญฺชายิ.  ยสฺมึ ปเทเส ภควา วิหรติ โส ปเทโส อุทเกน น โอตฺถโฏ โหติ.  อถ โข ภควโต เอตทโหสิ “ยํนูนาหํ สมนฺตา อุทกํ อุสฺสาเรตฺวา มชฺเฌ เรณุหตาย ภูมิยา จงฺกเมยฺย”นฺติ.  อถ โข ภควา สมนฺตา อุทกํ อุสฺสาเรตฺวา มชฺเฌ เรณุหตาย ภูมิยา จงฺกมิ.  อถ โข อุรุเวลกสฺสโป ชฏิโล มาเหว โข มหาสมโณ อุทเกน วูฬฺโห อโหสีติ นาวาย สมฺพหุเลหิ ชฏิเลหิ สทฺธึ ยสฺมึ ปเทเส ภควา วิหรติ ตํ ปเทสํ อคมาสิ. 
atha kho bhagavato etad ahosi:  ciram pi kho imassa moghapurisassa evaṃ bhavissati:  mahiddhiko kho mahāsamaṇo mahānubhāvo, na tv eva ca kho arahā yathā ahan ti.  yaṃ nūnāhaṃ imaṃ jaṭilaṃ saṃvejeyyan ti.  atha kho bhagavā Uruvelakassapaṃ {jaṭilaṃ} etad avoca:  n’ eva kho tvaṃ Kassapa arahā, na pi arahattamaggaṃ samāpanno, sā pi te paṭipadā n’ atthi, yāya tvaṃ arahā vā assa arahattamaggaṃ vā samāpanno ’ti.  atha kho Uruvelakassapo jaṭilo bhagavato pādesu sirasā nipatitvā bhagavantaṃ etad avoca:  labheyyāhaṃ bhante bhagavato santike pabbajjaṃ, labheyyaṃ upasampadan ti. |17| 
And the Gatila Uruvelâ Kassapa thought: 'Truly the great Samana possesses high magical powers and great faculties, since the water does not carry him away. He is not, however, holy like me.'  Then the Blessed One thought:  'This foolish man will still for a long time think thus:  "Truly the great Samana possesses high magical powers and great faculties; he is not, however, holy like me."  What if I were to move the mind of this Gatila (in order to show him my superiority).'  And the Blessed One said to the Gatila Uruvelâ Kassapa:  'You are not holy (arahâ), Kassapa, nor have you entered the path of Arahatship, nor do you walk in such a practice as will lead you to Arahatship. or to entering the path of Arahatship.'  Then the Gatila Uruvelâ. Kassapa prostrated himself, inclining his head to the feet of the Blessed One, and said to the Blessed One: 
ทูลขอบรรพชาและอุปสมบท [๕๑] ลำดับนั้น พระผู้มีพระภาคได้ทรงพระดำริว่า  โมฆบุรุษนี้ ได้มีความคิดอย่างนี้มานานแล้วว่า  พระมหาสมณะมีฤทธิ์มาก มีอานุภาพมากแท้ แต่ก็ไม่เป็นพระอรหันต์เหมือนเราแน่  ถ้ากระไร เราพึงให้ชฎิลนี้สลดใจ  แล้วจึงตรัสกะชฎิลอุรุเวลกัสสปว่า  ดูกรกัสสป ท่านไม่ใช่พระอรหันต์แน่ ทั้งยังไม่พบทางแห่งความเป็นพระอรหันต์ แม้ปฏิปทาของท่านที่จะเป็นเหตุให้เป็นพระอรหันต์ หรือพบทางแห่งความเป็นพระอรหันต์ ก็ไม่มี.  ทีนั้น ชฎิลอุรุเวลกัสสปได้ซบเศียรลงที่พระบาทของพระผู้มีพระภาค แล้วทูลขอบรรพชาอุปสมบทต่อพระผู้มีพระภาคว่า  ขอข้าพระพุทธเจ้าพึงได้บรรพชา พึงได้อุปสมบทในสำนักพระผู้มีพระภาค พระพุทธเจ้าข้า. 
อทฺทสา โข อุรุเวลกสฺสโป ชฏิโล ภควนฺตํ สมนฺตา อุทกํ อุสฺสาเรตฺวา มชฺเฌ เรณุหตาย ภูมิยา จงฺกมนฺตํ ทิสฺวาน ภควนฺตํ เอตทโวจ “อิทํ นุ ตฺวํ มหาสมณา”ติ?  “อยมหมสฺมิ กสฺสปา”ติ ภควา เวหาสํ อพฺภุคฺคนฺตฺวา นาวาย ปจฺจุฏฺฐาสิ.  อถ โข อุรุเวลกสฺสปสฺส ชฏิลสฺส เอตทโหสิ “มหิทฺธิโก โข มหาสมโณ มหานุภาโว ยตฺร หิ นาม อุทกมฺปิ น ปวาหิสฺสติ น ตฺเวว จ โข อรหา ยถา อห”นฺติ.  ๕๑. อถ โข ภควโต เอตทโหสิ  “จิรมฺปิ โข อิมสฺส โมฆปุริสสฺส เอวํ ภวิสฺสติ  ‘มหิทฺธิโก โข มหาสมโณ มหานุภาโว น ตฺเวว จ โข อรหา ยถา อห’นฺติ  ยํนูนาหํ อิมํ ชฏิลํ สํเวเชยฺย”นฺติ.  อถ โข ภควา อุรุเวลกสฺสปํ ชฏิลํ เอตทโวจ 
tvaṃ kho ’si Kassapa pañcannaṃ jaṭilasatānaṃ nāyako vināyako aggo pamukho pāmokkho, te pi tāva apalokehi, yathā te maññissanti tathā karissantīti.  atha kho Uruvelakassapo jaṭilo yena te jaṭilā ten’ upasaṃkami, upasaṃkamitvā te jaṭile etad avoca:  icchām’ (33) ahaṃ bho mahāsamaṇe brahmacariyaṃ carituṃ, yathā bhavanto maññanti tathā karontū ’ti.  cirapaṭikā mayaṃ bho mahāsamaṇe abhippasannā, sace bhavaṃ mahāsamaṇe brahmacariyaṃ carissati, sabbeva mayaṃ mahāsamaṇe brahmacariyaṃ carissāmā ’ti. |18| 
'Lord, let me receive the pabbaggâ and upasampadâ ordinations from the Blessed One.'  (Buddha replied): 'You, Kassapa, are chief, leader, foremost, first, and highest of five hundred Gatilas; go first and inform them of your intention, and let them do what they think fit.'  Then the Gatila Uruvelâ Kassapa went to those Gatilas; having gone to them, he said to those Gatilas:  'I wish, Sirs, to lead a religious life under the direction of the great Samana; you may do, Sirs, what you think fit.' 
พระผู้มีพระภาคตรัสว่า ดูกรกัสสป ท่านเป็นผู้นำ เป็นผู้ฝึกสอน เป็นผู้เลิศ เป็นหัวหน้า เป็นประธานของชฎิล ๕๐๐ คน ท่านจงบอกกล่าวพวกนั้นก่อน พวกนั้นจักทำตามที่เข้าใจ.  ลำดับนั้น ชฎิลอุรุเวลกัสสปเข้าไปหาชฎิลเหล่านั้น ครั้นแล้วได้แจ้งความประสงค์ต่อชฎิลเหล่านั้นว่า  ผู้เจริญทั้งหลาย เราปรารถนาจะประพฤติพรหมจรรย์ในพระมหาสมณะ ท่านผู้เจริญทั้งหลาย จงทำตามที่เข้าใจ.  ชฎิลพวกนั้นกราบเรียนว่า พวกข้าพเจ้าเลื่อมใสยิ่งในพระมหาสมณะมานานแล้ว ขอรับ ถ้าท่านอาจารย์จักประพฤติพรหมจรรย์ในพระมหาสมณะ พวกข้าพเจ้าทั้งหมดก็จักประพฤติพรหมจรรย์ในพระมหาสมณะเหมือนกัน. 
“เนว จ โข ตฺวํ กสฺสป อรหา นาปิ อรหตฺตมคฺคสมาปนฺโน. สาปิ เต ปฏิปทา นตฺถิ ยาย ตฺวํ อรหา วา อสฺสสิ อรหตฺตมคฺคํ วา สมาปนฺโน”ติ.  อถ โข อุรุเวลกสฺสโป ชฏิโล ภควโต ปาเทสุ สิรสา นิปติตฺวา ภควนฺตํ เอตทโวจ  “ลเภยฺยาหํ ภนฺเต ภควโต สนฺติเก ปพฺพชฺชํ ลเภยฺยํ อุปสมฺปท”นฺติ.  ตฺวํ โขสิ กสฺสป ปญฺจนฺนํ ชฏิลสตานํ นายโก วินายโก อคฺโค ปมุโข ปาโมกฺโข. เตปิ ตาว อปโลเกหิ ยถา เต มญฺญิสฺสนฺติ ตถา เต กริสฺสนฺตีติ. 
atha kho te jaṭilā kesamissaṃ jaṭāmissaṃ khārikājamissaṃ aggihuttamissaṃ udake pavāhetvā yena bhagavā ten’ upasaṃkamiṃsu, upasaṃkamitvā bhagavato pādesu sirasā nipatitvā bhagavantaṃ etad avocuṃ: labheyyāma mayaṃ bhante bhagavato santike pabbajjaṃ, labheyyāma upasampadan ti.  etha bhikkhavo ’ti bhagavā avoca, svākkhāto dhammo, caratha brahmacariyaṃ sammā dukkhassa antakiriyāyā ’ti.  sā ’va tesaṃ āyasmantānaṃ upasampadā ahosi. |19| 
(The Gatilas replied): 'We have conceived, Sir, an affection for the great Samana long since; if you will lead. Sir, a religious life under the great Samana' s direction; we will all lead a religious life under the great Samana's direction.'  Then the Gatilas flung their hair, their braids, their provisions, and the things for the agnihotra sacrifice into the river, and went to the place where the Blessed One was; having approached him and prostrated themselves before him, inclining their heads to the feet of the Blessed One, they said to the Blessed One: 'Lord, let us receive the pabbaggâ and upasampadâ ordinations from the Blessed One.'  'Come, O Bhikkhus,' said the Blessed One, 'well taught is the doctrine; lead a holy life for the sake of the complete extinction of suffering.' 
ต่อมา ชฎิลเหล่านั้นได้ลอยผม ชฎา เครื่องบริขาร และเครื่องบูชาเพลิงในน้ำ แล้วพากันเข้าเฝ้าพระผู้มีพระภาค ซบเศียรลงแทบพระบาทของพระผู้มีพระภาค แล้วได้ทูลขอบรรพชาอุปสมบทต่อพระผู้มีพระภาคว่า ขอพวกข้าพระองค์พึงได้บรรพชา พึงได้อุปสมบทในสำนักพระผู้มีพระภาค พระพุทธเจ้าข้า.  พระผู้มีพระภาคตรัสว่า พวกเธอจงเป็นภิกษุมาเถิด ดังนี้แล้ว ได้ตรัสต่อไปว่า ธรรมอันเรากล่าวดีแล้ว พวกเธอจงประพฤติพรหมจรรย์เพื่อทำที่สุดทุกข์โดยชอบเถิด.  พระวาจานั้นแล ได้เป็นอุปสมบทของท่านผู้มีอายุเหล่านั้น. 
อถ โข อุรุเวลกสฺสโป ชฏิโล เยน เต ชฏิลา เตนุปสงฺกมิ อุปสงฺกมิตฺวา เต ชฏิเล เอตทโวจ  “อิจฺฉามหํ โภ มหาสมเณ พฺรหฺมจริยํ จริตุํ ยถา ภวนฺโต มญฺญนฺติ ตถา กโรนฺตู”ติ.  “จิรปฏิกา มยํ โภ มหาสมเณ อภิปฺปสนฺนา สเจ ภวํ มหาสมเณ พฺรหฺมจริยํ จริสฺสติ สพฺเพว มยํ มหาสมเณ พฺรหฺมจริยํ จริสฺสามา”ติ. 
addasa kho Nadīkassapo jaṭilo kesamissaṃ jaṭāmissaṃ khārikājamissaṃ aggihuttamissaṃ udake vuyhamāne, disvān’ assa etad ahosi:  mā h’ eva me bhātuno upasaggo ahosīti, jaṭile pāhesi gacchatha me bhātaraṃ jānāthā ’ti, sāmañ ca tīhi jaṭilasatehi saddhiṃ yenāyasmā Uruvelakassapo ten’ upasaṃkami, upasaṃkamitvā āyasmantaṃ Uruvelakassapaṃ etad avoca: idaṃ nu kho Kassapa seyyo ’ti.  āmāvuso idaṃ seyyo ’ti. |20| 
Thus these venerable persons received the upasampadâ ordination.  And the Gatila Nadî Kassapa saw the hair, the braids, the provisions, the things for the agnihotra sacrifice, which were carried down by the river; when he saw that, he became afraid that some misfortune might have befallen his brother. He sent some Gatilas, saying,  'Go and look after my brother,' and went himself with his three hundred Gatilas to the venerable Uruvelâ Kassapa; having approached him, he said to the venerable Uruvelâ Kassapa: 'Now, Kassapa, is this bliss?' 
[๕๒] ชฎิลนทีกัสสปได้เห็นผม ชฎา เครื่องบริขาร และเครื่องบูชาเพลิงลอยน้ำมา ครั้นแล้วได้มีความดำริว่า  อุปสรรคอย่าได้มีแก่พี่ชายเราเลย จึงส่งชฎิลไปด้วยคำสั่งว่า พวกเธอจงไป จงรู้พี่ชายของเรา ดังนี้แล้ว ทั้งตนเองกับชฎิล ๓๐๐ ได้เข้าไปหาท่านพระอุรุเวลกัสสป แล้วเรียนถามว่า ข้าแต่พี่กัสสป พรหมจรรย์นี้ประเสริฐแน่หรือ?  พระอุรุเวลกัสสปตอบว่า แน่ละเธอ พรหมจรรย์นี้ประเสริฐ. 
อถ โข เต ชฏิลา เกสมิสฺสํ ชฏามิสฺสํ ขาริกาชมิสฺสํ อคฺคิหุตมิสฺสํ อุทเก ปวาเหตฺวา เยน ภควา เตนุปสงฺกมึสุ อุปสงฺกมิตฺวา ภควโต ปาเทสุ สิรสา นิปติตฺวา ภควนฺตํ เอตทโวจุํ “ลเภยฺยาม มยํ ภนฺเต ภควโต สนฺติเก ปพฺพชฺชํ ลเภยฺยาม อุปสมฺปท”นฺติ.  “เอถ ภิกฺขโว”ติ ภควา อโวจ “สฺวากฺขาโต ธมฺโม จรถ พฺรหฺมจริยํ สมฺมา ทุกฺขสฺส อนฺตกิริยายา”ติ.  สาว เตสํ อายสฺมนฺตานํ อุปสมฺปทา อโหสิ. 
atha kho te jaṭilā kesamissaṃ jaṭāmissaṃ khārikājamissaṃ aggihuttamissaṃ udake pavāhetvā yena bhagavā ten’ upasaṃkamiṃsu, upasaṃkamitvā bhagavato pādesu sirasā nipatitvā bhagavantaṃ etad avocuṃ: labheyyāma mayaṃ bhante bhagavato santike pabbajjaṃ, labheyyāma upasampadan ti.  etha bhikkhavo ’ti bhagavā avoca, svākkhāto dhammo, caratha brahmacariyaṃ sammā dukkhassa antakiriyāyā ’ti.  sā ’va tesaṃ āyasmantānaṃ upasampadā ahosi. |21| 
(Uruvelâ Kassapa replied): 'Yes, friend, this is bliss.'  And the Gatilas (who had come with Nadî Kassapa) (&c., as in § 19).   
หลังจากนั้น ชฎิลเหล่านั้นลอยผม ชฎา เครื่องบริขารและเครื่องบูชาเพลิงในน้ำ แล้วพากันเข้าเฝ้าพระผู้มีพระภาค ซบเศียรลงแทบพระบาทของพระผู้มีพระภาค แล้วได้ทูลขอบรรพชาอุปสมบทต่อพระผู้มีพระภาคว่า ขอพวกข้าพระพุทธเจ้าพึงได้บรรพชา พึงได้อุปสมบทในสำนักพระผู้มีพระภาค พระพุทธเจ้าข้า.  พระผู้มีพระภาคตรัสว่า พวกเธอจงเป็นภิกษุมาเถิด ดังนี้แล้ว ได้ตรัสต่อไปว่า ธรรมอันเรากล่าวดีแล้ว พวกเธอจงประพฤติพรหมจรรย์เพื่อทำที่สุดทุกข์โดยชอบเถิด.  พระวาจานั้นแล ได้เป็นอุปสมบทของท่านผู้มีอายุเหล่านั้น. 
๕๒. อทฺทสา โข นทีกสฺสโป ชฏิโล เกสมิสฺสํ ชฏามิสฺสํ ขาริกาชมิสฺสํ อคฺคิหุตมิสฺสํ อุทเก วุยฺหมาเน ทิสฺวานสฺส เอตทโหสิ  “มาเหว เม ภาตุโน อุปสคฺโค อโหสี”ติ. ชฏิเล ปาเหสิ คจฺฉถ เม ภาตรํ ชานาถาติ. สามญฺจ ตีหิ ชฏิลสเตหิ สทฺธึ เยนายสฺมา อุรุเวลกสฺสโป เตนุปสงฺกมิ อุปสงฺกมิตฺวา อายสฺมนฺตํ อุรุเวลกสฺสปํ เอตทโวจ “อิทํ นุ โข กสฺสป เสยฺโย”ติ?  “อามาวุโส อิทํ เสยฺโย”ติ. 
addasa kho Gayākassapo jaṭilo kesamissaṃ jaṭāmissaṃ khārikājamissaṃ aggihuttamissaṃ udake vuyhamāne, disvān’ assa etad ahosi:  mā h’ eva me bhātūnaṃ upasaggo ahosīti, jaṭile pāhesi gacchatha me bhātaro jānāthā ’ti, sāmañ ca dvīhi jaṭilasatehi saddhiṃ yenāyasmā Uruvelakassapo ten’ upasaṃkami, upasaṃkamitvā āyasmantaṃ Uruvelakassapaṃ etad avoca: idaṃ nu kho Kassapa seyyo ’ti.  āmāvuso idaṃ seyyo ’ti. |22| 
  And the Gatila Gayâ Kassapa saw (&c., as in § 20); when he saw that, he became afraid that some misfortune might have befallen his brothers. He sent some Gatilas, saying, 'Go and look after my brothers,' and went himself with his two hundred Gatilas to the venerable Uruvelâ Kassapa (&c., as above).   
[๕๓] ชฎิลคยากัสสปได้เห็นผม ชฎา เครื่องบริขาร และเครื่องบูชาเพลิง ลอยน้ำมา. ครั้นแล้ว ได้มีความดำริว่า  อุปสรรคอย่าได้มีแก่พี่ชายทั้งสองของเราเลย แล้วส่งชฎิลไปด้วยคำสั่งว่า พวกเธอจงไป จงรู้พี่ชายทั้งสองของเรา ดังนี้แล้ว ทั้งตนเองกับชฎิล ๒๐๐ คน ได้เข้าไปหาท่านพระอุรุเวลกัสสป แล้วเรียนถามว่า ข้าแต่พี่กัสสป พรหมจรรย์นี้ประเสริฐแน่หรือ?  พระอุรุเวลกัสสปตอบว่า แน่ละเธอ พรหมจรรย์นี้ประเสริฐ. 
อถ โข เต ชฏิลา เกสมิสฺสํ ชฏามิสฺสํ ขาริกาชมิสฺสํ อคฺคิหุตมิสฺสํ อุทเก ปวาเหตฺวา เยน ภควา เตนุปสงฺกมึสุ อุปสงฺกมิตฺวา ภควโต ปาเทสุ สิรสา นิปติตฺวา ภควนฺตํ เอตทโวจุํ “ลเภยฺยาม มยํ ภนฺเต ภควโต สนฺติเก ปพฺพชฺชํ ลเภยฺยาม อุปสมฺปท”นฺติ.  “เอถ ภิกฺขโว”ติ ภควา อโวจ “สฺวากฺขาโต ธมฺโม จรถ พฺรหฺมจริยํ สมฺมา ทุกฺขสฺส อนฺตกิริยายา”ติ.  สาว เตสํ อายสฺมนฺตานํ อุปสมฺปทา อโหสิ. 
atha kho te jaṭilā kesamissaṃ jaṭāmissaṃ khārikājamissaṃ aggihuttamissaṃ udake pavāhetvā yena bhagavā ten’ upasaṃkamiṃsu, upasaṃkamitvā bhagavato (34) pādesu sirasā nipatitvā bhagavantaṃ etad avocuṃ:  labheyyāma mayaṃ bhante bhagavato santike pabbajjaṃ, labheyyāma upasampadan ti.  etha bhikkhavo ’ti bhagavā avoca, svākkhāto dhammo, caratha brahmacariyaṃ sammā dukkhassa antakiriyāyā ’ti.  sā ’va tesaṃ āyasmantānaṃ upasampadā ahosi. |23| 
  And the Gatilas (who had come with Gayâ Kassapa) (&c., as in § 19).     
หลังจากนั้น ชฎิลเหล่านั้นลอยผม ชฎา เครื่องบริขาร และเครื่องบูชาเพลิงในน้ำ แล้วพากันเข้าเฝ้าพระผู้มีพระภาค ซบเศียรลงแทบพระบาทของพระผู้มีพระภาคแล้ว ได้ทูลขอบรรพชาอุปสมบทต่อพระผู้มีพระภาคว่า  ขอพวกข้าพระพุทธเจ้าพึงได้บรรพชา พึงได้อุปสมบทในสำนักพระผู้มีพระภาค พระพุทธเจ้าข้า.  พระผู้มีพระภาคตรัสว่า พวกเธอจงเป็นภิกษุมาเถิด ดังนี้แล้ว ได้ตรัสต่อไปว่า ธรรมอันเรากล่าวดีแล้ว พวกเธอจงประพฤติพรหมจรรย์เพื่อทำที่สุดทุกข์โดยชอบเถิด.  พระวาจานั้นแล ได้เป็นอุปสมบทของท่านผู้มีอายุเหล่านั้น. 
๕๓. อทฺทสา โข คยากสฺสโป ชฏิโล เกสมิสฺสํ ชฏามิสฺสํ ขาริกาชมิสฺสํ อคฺคิหุตมิสฺสํ อุทเก วุยฺหมาเน ทิสฺวานสฺส เอตทโหสิ  “มาเหว เม ภาตูนํ อุปสคฺโค อโหสี”ติ. ชฏิเล ปาเหสิ คจฺฉถ เม ภาตโร ชานาถาติ. สามญฺจ ทฺวีหิ ชฏิลสเตหิ สทฺธึ เยนายสฺมา อุรุเวลกสฺสโป เตนุปสงฺกมิ อุปสงฺกมิตฺวา อายสฺมนฺตํ อุรุเวลกสฺสปํ เอตทโวจ “อิทํ นุ โข กสฺสป เสยฺโย”ติ?  “อามาวุโส อิทํ เสยฺโย”ติ.  อถ โข เต ชฏิลา เกสมิสฺสํ ชฏามิสฺสํ ขาริกาชมิสฺสํ อคฺคิหุตมิสฺสํ อุทเก ปวาเหตฺวา เยน ภควา เตนุปสงฺกมึสุ อุปสงฺกมิตฺวา ภควโต ปาเทสุ สิรสา นิปติตฺวา ภควนฺตํ เอตทโวจุํ 
bhagavato adhiṭṭhānena pañca kaṭṭhasatāni na phāliyiṃsu, phāliyiṃsu, aggī na ujjaliṃsu, ujjaliṃsu, na vijjhāyiṃsu, vijjhāyiṃsu, pañca mandāmukhisatāni abhinimmini.  etena nayena aḍḍhuḍḍhapāṭihāriyasahassāni honti. |24| 
  At the command of the Blessed One the five hundred pieces of fire-wood could not be split and were split, the fires could not be lit up and were lit up, could not be extinguished and were extinguished; besides he created five hundred vessels with fire. 
[๕๔] พวกชฎิลนั้น ผ่าฟืน ๕๐๐ ท่อนไม่ได้ แล้วผ่าได้ ก่อไฟไม่ติด แล้วก่อไฟติดขึ้นได้ ดับไฟไม่ดับ แล้วดับได้ ด้วยการเพ่งอธิษฐานของพระผู้มีพระภาค พระผู้มีพระภาคทรงนิรมิตกองไฟไว้ ๕๐๐ กอง.  ปาฏิหาริย์ ๓๕๐๐ วิธี ย่อมมีโดยนัยนี้. 
“ลเภยฺยาม มยํ ภนฺเต ภควโต สนฺติเก ปพฺพชฺชํ ลเภยฺยาม อุปสมฺปท”นฺติ.  “เอถ ภิกฺขโว”ติ ภควา อโวจ “สฺวากฺขาโต ธมฺโม จรถ พฺรหฺมจริยํ สมฺมา ทุกฺขสฺส อนฺตกิริยายา”ติ. 
||20|| 
Thus the number of these miracles amounts to three thousand five hundred. 
สาว เตสํ อายสฺมนฺตานํ อุปสมฺปทา อโหสิ. 
atha kho bhagavā Uruvelāyaṃ yathābhirantaṃ viharitvā yena Gayāsīsaṃ tena cārikaṃ pakkāmi mahatā bhikkhusaṃghena saddhiṃ bhikkhusahassena sabbeh’ eva purāṇajaṭilehi.  tatra sudaṃ bhagavā Gayāyaṃ viharati Gayāsīse saddhiṃ bhikkhusahassena. |1| 
And the Blessed One, after having dwelt at Uruvelâ as long as he thought fit, went forth to Gayâsîsa, accompanied by a great number of Bhikkhus, by one thousand Bhikkhus who all had been Gatilas before. 
อาทิตตปริยายสูตร [๕๕] ครั้นพระผู้มีพระภาคประทับอยู่ ณ ตำบลอุรุเวลา ตามพระพุทธาภิรมย์แล้ว เสด็จจาริกไปโดยมรรคาอันจะไปสู่ตำบลคยาสีสะ พร้อมด้วยภิกษุสงฆ์หมู่ใหญ่ ๑๐๐๐ รูป ล้วนเป็นปุราณชฎิล.  ได้ยินว่า พระองค์ประทับอยู่ที่ตำบลคยาสีสะ ใกล้แม่น้ำคยานั้น พร้อมด้วยภิกษุ ๑๐๐๐ รูป. 
ภควโต อธิฏฺฐาเนน ปญฺจ กฏฺฐสตานิ น ผาลิยิ๎สุ ผาลิยิ๎สุ อคฺคี น อุชฺชลิยิ๎สุ อุชฺชลิยิ๎สุ น วิชฺฌายิ๎สุ วิชฺฌายิ๎สุ ปญฺจมนฺทามุขิสตานิ อภินิมฺมินิ.  เอเตน นเยน อฑฺฒุฑฺฒปาฏิหาริยสหสฺสานิ โหนฺติ. 
tatra kho bhagavā bhikkhū āmantesi: sabbaṃ bhikkhave ādittaṃ. kiñ ca bhikkhave sabbaṃ ādittaṃ. cakkhuṃ bhikkhave ādittaṃ, rūpā ādittā, cakkhuviññāṇaṃ ādittaṃ, cakkhusamphasso āditto, yad idaṃ cakkhusamphassapaccayā uppajjati vedayitaṃ sukhaṃ vā dukkhaṃ vā adukkhamasukhaṃ vā, tam pi ādittaṃ. kena ādittaṃ, rāgagginā dosagginā mohagginā ādittaṃ, jātiyā jarāya maraṇena sokehi paridevehi dukkhehi domanassehi upāyāsehi ādittan ti vadāmi. |2| 
There near Gayâ, at Gayâsîsa, the Blessed One dwelt together with those thousand Bhikkhus. 
ณ ที่นั้น พระผู้มีพระภาครับสั่งกะภิกษุทั้งหลาย ว่าดังนี้:- ดูกรภิกษุทั้งหลาย สิ่งทั้งปวงเป็นของร้อน ก็อะไรเล่าชื่อว่าสิ่งทั้งปวงเป็นของร้อน? ดูกรภิกษุทั้งหลาย จักษุเป็นของร้อน รูปทั้งหลายเป็นของร้อน วิญญาณอาศัยจักษุเป็นของร้อน สัมผัสอาศัยจักษุเป็นของร้อน ความเสวยอารมณ์ เป็นสุขเป็นทุกข์ หรือมิใช่สุขมิใช่ทุกข์ ที่เกิดขึ้นเพราะจักษุสัมผัสเป็นปัจจัย แม้นั้นก็เป็นของร้อน ร้อนเพราะอะไร? เรากล่าวว่า ร้อนเพราะไฟคือราคะ เพราะไฟคือโทสะ เพราะไฟคือโมหะ ร้อนเพราะความเกิด เพราะความแก่ และความตาย ร้อนเพราะความโศก เพราะความรำพัน เพราะทุกข์กาย เพราะทุกข์ใจ เพราะความคับแค้น. 
 
sotaṃ ādittaṃ, saddā ādittā, --la-- ghānaṃ ādittaṃ, gandhā ādittā, jivhā ādittā, rasā ādittā, kāyo āditto, phoṭṭhabbā ādittā, mano āditto, dhammā ādittā, manoviññāṇaṃ ādittaṃ, manosamphasso āditto, yad idaṃ manosamphassapaccayā uppajjati vedayitaṃ sukhaṃ vā dukkhaṃ vā adukkhamasukhaṃ vā, tam pi ādittaṃ.  kena ādittaṃ, rāgagginā dosagginā mohagginā ādittaṃ, jātiyā jarāya maraṇena sokehi paridevehi dukkhehi domanassehi upāyāsehi ādittan ti vadāmi. |3| 
There the Blessed One thus addressed the Bhikkhus: 'Everything, O Bhikkhus, is burning. And how, O Bhikkhus, is everything burning? 'The eye, O Bhikkhus, is burning; visible things are burning; the mental impressions based on the eye are burning; the contact of the eye (with visible things) is burning; the sensation produced by the contact of the eye (with visible things), be it pleasant, be it painful, be it neither pleasant nor painful, that also is burning. With what fire is it burning? I declare unto you that it is burning with the fire of lust, with the fire of anger, with the fire of ignorance; it is burning with (the anxieties of) birth, decay, death, grief, lamentation, suffering, dejection, and despair.  'The ear is burning, sounds are burning, &c. . . . . The nose is burning, odours are burning, &c. . . . . The tongue is burning, tastes are burning, &c. . . . . The body is burning, objects of contact are burning, &c. . . . . The mind is burning, thoughts are burning, &c. . . . . 
โสตเป็นของร้อน เสียงทั้งหลายเป็นของร้อน ... ฆานะเป็นของร้อน กลิ่นทั้งหลายเป็นของร้อน ... ชิวหาเป็นของร้อน รสทั้งหลายเป็นของร้อน ... กายเป็นของร้อน โผฏฐัพพะทั้งหลายเป็นของร้อน ... มนะเป็นของร้อน ธรรมทั้งหลายเป็นของร้อน วิญญาณอาศัยมนะเป็นของร้อน สัมผัสอาศัยมนะเป็นของร้อน ความเสวยอารมณ์เป็นสุข เป็นทุกข์หรือมิใช่ทุกข์มิใช่สุข ที่เกิดขึ้นเพราะมโนสัมผัสเป็นปัจจัย แม้นั้นก็เป็นของร้อน ร้อนเพราะอะไร?  เรากล่าวว่า ร้อนเพราะไฟคือราคะ เพราะไฟคือโทสะ เพราะไฟคือโมหะ ร้อนเพราะความเกิด เพราะความแก่ และความตาย ร้อนเพราะความโศก เพราะความรำพัน เพราะทุกข์กาย เพราะทุกข์ใจ เพราะความคับแค้น. 
  ๕๔. อถ โข ภควา อุรุเวลายํ ยถาภิรนฺตํ วิหริตฺวา เยน คยาสีสํ เตน ปกฺกามิ มหตา ภิกฺขุสงฺเฆน สทฺธึ ภิกฺขุสหสฺเสน สพฺเพเหว ปุราณชฏิเลหิ. 
evam passaṃ bhikkhave sutavā ariyasāvako cakkhusmiṃ pi nibbindati, rūpesu pi nibbindati, cakkhuviññāṇe pi nibbindati, cakkhusamphasse pi nibbindati, yad idaṃ cakkhusamphassapaccayā uppajjati vedayitaṃ sukhaṃ vā dukkhaṃ vā adukkhamasukhaṃ vā, tasmiṃ pi nibbindati.  sotasmiṃ pi nibbindati, saddesu pi nibbindati, ghānasmiṃ pi nibbin-(35)dati, gandhesu pi nibbindati, jivhāya pi nibbindati, rasesu pi nibbindati, kāyasmiṃ pi nibbindati, phoṭṭhabbesu pi nibbindati, manasmiṃ pi nibbindati, dhammesu pi nibbindati, manoviññāṇe pi nibbindati, manosamphasse pi nibbindati, yad idaṃ manosamphassapaccayā uppajjati vedayitaṃ sukhaṃ vā dukkhaṃ vā adukkhamasukhaṃ vā, tasmiṃ pi nibbindati, nibbindaṃ virajjati, virāgā vimuccati, vimuttasmiṃ vimutt’ amhīti ñāṇaṃ hoti, khīṇā jāti, vusitaṃ brahmacariyaṃ, kataṃ karaṇīyaṃ, nāparaṃ itthattāyā ’ti pajānātīti.  imasmiṃ ca pana veyyākaraṇasmiṃ bhaññamāne tassa bhikkhusahassassa anupādāya āsavehi cittāni vimucciṃsu. |4| 
  'Considering this, O Bhikkhus, a disciple learned (in the scriptures), walking in the Noble Path, becomes weary of the eye, weary of visible things, weary of the mental impressions based on the eye, weary of the contact of the eye (with visible things), weary also of the sensation produced by the contact of the eye (with visible things), be it pleasant, be it painful, be it neither pleasant nor painful.  He becomes weary of the ear (&c. . . . . , down to . . . . thoughts). Becoming weary of all that, he divests himself of passion; by absence of passion he is made free; when he is free, he becomes aware that he is free; and he realises that re-birth is exhausted; that holiness is completed; that duty is fulfilled; and that there is no further return to this world.' 
ดูกรภิกษุทั้งหลาย อริยสาวกผู้ได้ฟังแล้วเห็นอยู่อย่างนี้ ย่อมเบื่อหน่ายแม้ในจักษุ ย่อมเบื่อหน่ายแม้ในรูปทั้งหลาย ย่อมเบื่อหน่ายแม้ในวิญญาณอาศัยจักษุ ย่อมเบื่อหน่ายแม้ในสัมผัสอาศัยจักษุ ย่อมเบื่อหน่ายแม้ในความเสวยอารมณ์ ที่เป็นสุข เป็นทุกข์ หรือมิใช่ทุกข์ มิใช่สุข ที่เกิดขึ้นเพราะจักษุสัมผัสเป็นปัจจัย ย่อมเบื่อหน่ายแม้ในโสต ย่อมเบื่อหน่ายแม้ในเสียงทั้งหลาย ... ย่อมเบื่อหน่ายแม้ในฆานะ ย่อมเบื่อหน่ายแม้ในกลิ่นทั้งหลาย ... ย่อมเบื่อหน่ายแม้ในชิวหา ย่อมเบื่อหน่ายแม้ในรสทั้งหลาย ... ย่อมเบื่อหน่ายแม้ในกาย ย่อมเบื่อหน่ายแม้ในโผฏฐัพพะทั้งหลาย ... ย่อมเบื่อหน่ายแม้ในมนะ ย่อมเบื่อหน่ายแม้ในธรรมทั้งหลาย ย่อมเบื่อหน่ายแม้ในวิญญาณอาศัยมนะ ย่อมเบื่อหน่ายแม้ในสัมผัสอาศัยมนะ ย่อมเบื่อหน่ายแม้ในความเสวยอารมณ์ที่เป็นสุข เป็นทุกข์ หรือมิใช่ทุกข์มิใช่สุข ที่เกิดขึ้นเพราะมโนสัมผัสเป็นปัจจัย.  เมื่อเบื่อหน่าย ย่อมสิ้นกำหนัด เพราะสิ้นกำหนัด จิตก็พ้น เมื่อจิตพ้นแล้ว ก็รู้ว่าพ้นแล้ว อริยสาวกนั้นทราบชัดว่า ชาติสิ้นแล้ว พรหมจรรย์ได้อยู่จบแล้ว กิจที่ควรทำได้ทำเสร็จแล้ว กิจอื่นอีกเพื่อความเป็นอย่างนี้ไม่มี.  ก็แล เมื่อพระผู้มีพระภาคตรัสไวยากรณภาษิตนี้อยู่ จิตของภิกษุ ๑๐๐๐ รูปนั้น พ้นแล้วจากอาสวะทั้งหลาย เพราะไม่ถือมั่น. 
ตตฺร สุทํ ภควา คยายํ วิหรติ คยาสีเส สทฺธึ ภิกฺขุสหสฺเสน.  ตตฺร โข ภควา ภิกฺขู อามนฺเตสิ “สพฺพํ ภิกฺขเว อาทิตฺตํ. กิญฺจ ภิกฺขเว สพฺพํ อาทิตฺตํ? จกฺขุ อาทิตฺตํ รูปา อาทิตฺตา จกฺขุวิญฺญาณํ อาทิตฺตํ จกฺขุสมฺผสฺโส อาทิตฺโต ยมิทํ จกฺขุสมฺผสฺสปจฺจยา อุปฺปชฺชติ เวทยิตํ สุขํ วา ทุกฺขํ วา อทุกฺขมสุขํ วา ตมฺปิ อาทิตฺตํ. เกน อาทิตฺตํ? ราคคฺคินา โทสคฺคินา โมหคฺคินา อาทิตฺตํ ชาติยา ชราย มรเณน โสเกหิ ปริเทเวหิ ทุกฺเขหิ โทมนสฺเสหิ อุปายาเสหิ อาทิตฺตนฺติ วทามิ.  โสตํ อาทิตฺตํ สทฺทา อาทิตฺตา โสตวิญฺญาณํ อาทิตฺตํ โสตสมฺผสฺโส อาทิตฺโต ยมิทํ โสตสมฺผสฺสปจฺจยา อุปฺปชฺชติ เวทยิตํ สุขํ วา ทุกฺขํ วา อทุกฺขมสุขํ วา ตมฺปิ อาทิตฺตํ. เกน อาทิตฺตํ? ราคคฺคินา โทสคฺคินา โมหคฺคินา อาทิตฺตํ ชาติยา ชราย มรเณน โสเกหิ ปริเทเวหิ ทุกฺเขหิ โทมนสฺเสหิ อุปายาเสหิ อาทิตฺตนฺติ วทามิ. ฆานํ อาทิตฺตํ คนฺธา อาทิตฺตา ฆานวิญฺญาณํ อาทิตฺตํ ฆานสมฺผสฺโส อาทิตฺโต ยมิทํ ฆานสมฺผสฺสปจฺจยา อุปฺปชฺชติ เวทยิตํ สุขํ วา ทุกฺขํ วา อทุกฺขมสุขํ วา ตมฺปิ อาทิตฺตํ. เกน อาทิตฺตํ? ราคคฺคินา โทสคฺคินา โมหคฺคินา อาทิตฺตํ ชาติยา ชราย มรเณน โสเกหิ ปริเทเวหิ ทุกฺเขหิ โทมนสฺเสหิ อุปายาเสหิ อาทิตฺตนฺติ วทามิ. ชิวฺหา อาทิตฺตา รสา อาทิตฺตา ชิวฺหาวิญฺญาณํ อาทิตฺตํ ชิวฺหาสมฺผสฺโส อาทิตฺโต ยมิทํ ชิวฺหาสมฺผสฺสปจฺจยา อุปฺปชฺชติ เวทยิตํ สุขํ วา ทุกฺขํ วา อทุกฺขมสุขํ วา ตมฺปิ อาทิตฺตํ. เกน อาทิตฺตํ? ราคคฺคินา โทสคฺคินา โมหคฺคินา อาทิตฺตํ ชาติยา ชราย มรเณน โสเกหิ ปริเทเวหิ ทุกฺเขหิ โทมนสฺเสหิ อุปายาเสหิ อาทิตฺตนฺติ วทามิ. กาโย อาทิตฺโต โผฏฺฐพฺพา อาทิตฺตา กายวิญฺญาณํ อาทิตฺตํ กายสมฺผสฺโส อาทิตฺโต ยมิทํ กายสมฺผสฺสปจฺจยา อุปฺปชฺชติ เวทยิตํ สุขํ วา ทุกฺขํ วา อทุกฺขมสุขํ วา ตมฺปิ อาทิตฺตํ. เกน อาทิตฺตํ? ราคคฺคินา โทสคฺคินา โมหคฺคินา อาทิตฺตํ ชาติยา ชราย มรเณน โสเกหิ ปริเทเวหิ ทุกฺเขหิ โทมนสฺเสหิ อุปายาเสหิ อาทิตฺตนฺติ วทามิ. มโน อาทิตฺโต ธมฺมา อาทิตฺตา มโนวิญฺญาณํ อาทิตฺตํ มโนสมฺผสฺโส อาทิตฺโต ยมิทํ มโนสมฺผสฺสปจฺจยา อุปฺปชฺชติ เวทยิตํ สุขํ วา ทุกฺขํ วา อทุกฺขมสุขํ วา ตมฺปิ อาทิตฺตํ. 
ādittapariyāyaṃ niṭṭhitaṃ. ||21|| 
When this exposition was propounded, the minds of those thousand Bhikkhus became free from attachment to the world, and were released from the Âsavas. 
อาทิตตปริยายสูตร จบ 
เกน อาทิตฺตํ? ราคคฺคินา โทสคฺคินา โมหคฺคินา อาทิตฺตํ ชาติยา ชราย มรเณน โสเกหิ ปริเทเวหิ ทุกฺเขหิ โทมนสฺเสหิ อุปายาเสหิ อาทิตฺตนฺติ วทามิ. 
Uruvelapāṭihāriyaṃ tatiyakabhāṇavāraṃ niṭṭhitaṃ. 
Here ends the sermon on 'The Burning.' 
อุรุเวลปาฏิหาริย์ ตติยภาณวาร จบ. 
“เอวํ ปสฺสํ ภิกฺขเว สุตวา อริยสาวโก จกฺขุสฺมิมฺปิ นิพฺพินฺทติ รูเปสุปิ นิพฺพินฺทติ จกฺขุวิญฺญาเณปิ นิพฺพินฺทติ จกฺขุสมฺผสฺเสปิ นิพฺพินฺทติ ยมิทํ จกฺขุสมฺผสฺสปจฺจยา อุปฺปชฺชติ เวทยิตํ สุขํ วา ทุกฺขํ วา อทุกฺขมสุขํ วา ตสฺมิมฺปิ นิพฺพินฺทติ. 
atha kho bhagavā Gayāsīse yathābhirantaṃ viharitvā yena Rājagahaṃ tena cārikaṃ pakkāmi mahatā bhikkhusaṃghena saddhiṃ bhikkhusahassena sabbeh’ eva purāṇajaṭilehi.  atha kho bhagavā anupubbena cārikaṃ caramāno yena Rājagahaṃ tad avasari.  tatra sudaṃ bhagavā Rājagahe viharati Laṭṭhivanuyyāne Supatiṭṭhe cetiye. |1| 
End of the third Bhânavâra concerning the Wonders done at Uruvelâ.  And the Blessed One, after having dwelt at Gayâsisa as long as he thought fit, went forth to Râgaha, accompanied by a great number of Bhikkhus, by one thousand Bhikkhus who all had been Gatilas before. And the Blessed One, wandering from place to place, came to Râgagaha.  There the Blessed One dwelt near Râgagaha, 
ทรงเทศนาโปรดพระเจ้าพิมพิสาร เสด็จพระนครราชคฤห์ครั้งแรก [๕๖] ครั้งนั้น พระผู้มีพระภาคประทับอยู่ ณ ตำบลคยาสีสะตามพระพุทธาภิรมย์แล้วเสด็จจาริกไป โดยมรรคาอันจะไปสู่พระนครราชคฤห์ พร้อมด้วยภิกษุสงฆ์หมู่ใหญ่จำนวน ๑๐๐๐ รูป ล้วนเป็นปุราณชฎิล.  เสด็จจาริกโดยลำดับถึงพระนครราชคฤห์แล้ว.  ทราบว่า พระองค์ประทับอยู่ใต้ต้นไทรชื่อสุประดิษฐเจดีย์ ในสวนตาลหนุ่ม เขตพระนครราชคฤห์นั้น. 
โสตสฺมิมฺปิ นิพฺพินฺทติ สทฺเทสุปิ นิพฺพินฺทติฯเปฯ ฆานสฺมิมฺปิ นิพฺพินฺทติ คนฺเธสุปิ นิพฺพินฺทติฯเปฯ ชิวฺหายปิ นิพฺพินฺทติ รเสสุปิ นิพฺพินฺทติฯเปฯ กายสฺมิมฺปิ นิพฺพินฺทติ โผฏฺฐพฺเพสุปิ นิพฺพินฺทติฯเปฯ มนสฺมิมฺปิ นิพฺพินฺทติ ธมฺเมสุปิ นิพฺพินฺทติ มโนวิญฺญาเณปิ นิพฺพินฺทติ มโนสมฺผสฺเสปิ นิพฺพินฺทติ ยมิทํ มโนสมฺผสฺสปจฺจยา อุปฺปชฺชติ เวทยิตํ สุขํ วา ทุกฺขํ วา อทุกฺขมสุขํ วา ตสฺมิมฺปิ นิพฺพินฺทติ นิพฺพินฺทํ วิรชฺชติ วิราคา วิมุจฺจติ วิมุตฺตสฺมึ วิมุตฺตมิติ ญาณํ โหติ. ขีณา ชาติ วุสิตํ พฺรหฺมจริยํ กตํ กรณียํ นาปรํ อิตฺถตฺตายาติ ปชานาตี”ติ.  อิมสฺมิญฺจ ปน เวยฺยากรณสฺมึ ภญฺญมาเน ตสฺส ภิกฺขุสหสฺสสฺส อนุปาทาย อาสเวหิ จิตฺตานิ วิมุจฺจึสุ.  อาทิตฺตปริยายสุตฺตํ นิฏฺฐิตํ. 
assosi kho rājā Māgadho Seniyo Bimbisāro: samaṇo khalu bho Gotamo Sakyaputto Sakyakulā pabbajito Rājagahaṃ anuppatto Rājagahe viharati Laṭṭhivanuyyāne Supatiṭṭhe cetiye.  taṃ kho pana bhagavantaṃ Gotamaṃ evaṃ kalyāṇo kittisaddo abbhuggato iti pi, so bhagavā arahaṃ sammāsambuddho vijjācaraṇasampanno sugato lokavidū anuttaro purisadammasārathi satthā devamanussānaṃ buddho bhagavā, so imaṃ lokaṃ sadevakaṃ samārakaṃ sabrahmakaṃ sassamaṇabrāhmaṇiṃ pajaṃ sadevamanussaṃ sayaṃ abhiññā sacchikatvā pavedeti, so dhammaṃ deseti ādikalyāṇaṃ majjhekalyāṇaṃ pariyosānakalyāṇaṃ sātthaṃ savyañjanaṃ kevalaparipuṇṇaṃ parisuddhaṃ brahmacariyaṃ pakāseti.  sādhu kho pana tathārūpānaṃ arahataṃ dassanaṃ hotīti. |2| 
in the Latthivana pleasure garden, near the sacred shrine of Supatittha.  Then the Magadha king Seniya Bimbisâra heard: 'The Samana Gotama Sakyaputta, an ascetic of the Sakya tribe, has just arrived at Râgagaha and is staying near Râgagaha, in the Latthivana pleasure garden, near the sacred shrine of Supatittha.  Of Him the blessed Gotama such a glorious fame is spread abroad: "Truly he is the blessed, holy, absolute Sambuddha, endowed with knowledge and conduct, the most happy One, who understands all worlds, the highest One, who guides men as a driver curbs a bullock, the teacher of gods and men, the blessed Buddha. He makes known the Truth, which he has understood himself and seen face to face, to this world system with its devas, its Mâras, and its Brahmâs; to all beings, Samanas and Brâhmanas, gods and men; he preaches that Truth (Dhamma) which is glorious in the beginning, glorious in the middle, glorious at the end, in the spirit and in the letter; he proclaims a consummate, perfect, and pure life." 
[๕๗] พระเจ้าพิมพิสารจอมเสนามาคธราช ได้ทรงสดับข่าวถนัดแน่ว่า พระสมณโคดมศากยบุตรทรงผนวชจากศากยตระกูล เสด็จพระนครราชคฤห์โดยลำดับ ประทับอยู่ใต้ต้นไทร ชื่อสุประดิษฐเจดีย์ ในสวนตาลหนุ่ม เขตพระนครราชคฤห์  ก็แลพระกิตติศัพท์อันงามของท่านพระโคดมพระองค์นั้น ขจรไปแล้วอย่างนี้ว่า แม้เพราะเหตุนี้ๆ พระผู้มีพระภาคพระองค์นั้นทรง เป็นพระอรหันต์ ตรัสรู้เองโดยชอบ สมบูรณ์ด้วยวิชชาและจรณะ เสด็จไปดี ทรงทราบโลก ทรงเป็นสารถีฝึกบุรุษที่ควรฝึก ไม่มีผู้อื่นยิ่งกว่า เป็นศาสดาของเทพและมนุษย์ทั้งหลาย เป็นผู้เบิกบานแล้ว เป็นผู้จำแนกธรรม พระองค์ทรงทำโลกนี้ พร้อมทั้งเทวโลก มารโลก พรหมโลก ให้แจ้งชัด ด้วยพระปัญญาอันยิ่งของพระองค์เอง แล้วทรงสอนหมู่สัตว์พร้อมทั้งสมณะ พราหมณ์ เทพ และมนุษย์ ให้รู้ ทรงแสดงธรรมงามในเบื้องต้น งามในท่ามกลาง งามในที่สุด ทรงประกาศพรหมจรรย์ พร้อมทั้งอรรถทั้งพยัญชนะบริบูรณ์บริสุทธิ์  อนึ่ง การเห็นพระอรหันต์ทั้งหลายเห็นปานนั้น เป็นความดี. 
อุรุเวลปาฏิหาริยํ ตติยภาณวาโร นิฏฺฐิโต.  (๑๓. พิมฺพิสารสมาคมกถา) ๕๕. อถ โข ภควา คยาสีเส ยถาภิรนฺตํ วิหริตฺวา เยน ราชคหํ เตน จาริกํ ปกฺกามิ มหตา ภิกฺขุสงฺเฆน สทฺธึ ภิกฺขุสหสฺเสน สพฺเพเหว ปุราณชฏิเลหิ.  อถ โข ภควา อนุปุพฺเพน จาริกํ จรมาโน เยน ราชคหํ ตทวสริ. 
atha kho rājā Māgadho Seniyo Bimbisāro dvādasanahutehi Māgadhikehi brāhmaṇagahapatikehi parivuto yena bhagavā ten’ upasaṃkami, upasaṃkamitvā bhagavantaṃ abhivādetvā ekamantaṃ nisīdi.  te pi kho dvādasanahutā Māgadhikā brāh-(36)maṇagahapatikā appekacce bhagavantaṃ abhivādetvā ekamantaṃ nisīdiṃsu, appekacce bhagavatā saddhiṃ sammodiṃsu, sammodanīyaṃ kathaṃ sāraṇīyaṃ vītisāretvā ekamantaṃ nisīdiṃsu, appekacce yena bhagavā ten’ añjaliṃ paṇāmetvā ekamantaṃ nisīdiṃsu, appekacce bhagavato santike nāmagottaṃ sāvetvā ekamantam nisīdiṃsu, {appekacce} tuṇhibhūtā ekamantaṃ nisīdiṃsu. |3| 
It is good to obtain the sight of holy men (Arahats) like that.'  And the Magadha king Seniya Bimbisâra, surrounded by twelve myriads of Magadha Brâhmanas and householders, went to the place where the Blessed One was; having approached him and respectfully saluted the Blessed One, he sat down near him. 
หลังจากนั้น พระเจ้าพิมพิสารจอมเสนามาคธราช ทรงแวดล้อมด้วยพราหมณ์คหบดีชาวมคธ ๑๒ นหุต เสด็จเข้าไปเฝ้าพระผู้มีพระภาค ครั้นถึงจึงถวายบังคมพระผู้มีพระภาค แล้วประทับนั่ง ณ ที่ควรส่วนข้างหนึ่ง.  ส่วนพราหมณ์คหบดีชาวมคธ ๑๒ นหุต นั้นแล บางพวกถวายบังคมพระผู้มีพระภาคแล้วนั่ง ณ ที่ควรส่วนข้างหนึ่ง บางพวกได้ทูลปราศรัยกับพระผู้มีพระภาค ครั้นผ่านการทูลปราศรัยพอให้เป็นที่บันเทิง เป็นที่ระลึกถึงกันไปแล้ว จึงนั่ง ณ ที่ควรส่วนข้างหนึ่ง บางพวกประคองอัญชลีไปทางที่พระผู้มีพระภาคประทับ แล้วนั่ง ณ ที่ควรส่วนข้างหนึ่ง บางพวกประกาศนามและโคตรในสำนักพระผู้มีพระภาค แล้วนั่ง ณ ที่ควรส่วนข้างหนึ่ง บางพวกนั่งนิ่งอยู่ ณ ที่ควรส่วนข้างหนึ่ง. 
ตตฺร สุทํ ภควา ราชคเห วิหรติ ลฏฺฐิวเน สุปฺปติฏฺเฐ เจติเย.  อสฺโสสิ โข ราชา มาคโธ เสนิโย พิมฺพิสาโร สมโณ ขลุ โภ โคตโม สกฺยปุตฺโต สกฺยกุลา ปพฺพชิโต ราชคหํ อนุปฺปตฺโต ราชคเห วิหรติ ลฏฺฐิวเน สุปฺปติฏฺเฐ เจติเย. 
atha kho tesaṃ dvādasanahutānaṃ Māgadhikānaṃ brāhmaṇagahapatikānaṃ etad ahosi:  kiṃ nu kho mahāsamaṇo Uruvelakassape brahmacariyaṃ carati, udāhu Uruvelakassapo mahāsamaṇe brahmacariyaṃ caratīti.  atha kho bhagavā tesaṃ dvādasanahutānaṃ Māgadhikānaṃ brāhmaṇagahapatikānaṃ cetasā cetoparivitakkaṃ aññāya āyasmantaṃ Uruvelakassapaṃ gāthāya ajjhabhāsi:  kim eva disvā Uruvelavāsi pahāsi aggiṃ kisako vadāno. pucchāmi taṃ Kassapa etam atthaṃ, kathaṃ pahīnaṃ tava aggihuttan ti. |  rūpe ca sadde ca atho rase ca kāmitthiyo cābhivadanti yaññā. etaṃ malan ti upadhīsu ñatvā, tasmā na yiṭṭhe na hute arañjin ti. |4| 
And of those twelve myriads of Magadha Brâhmanas and householders some also respectfully saluted the Blessed One and sat down near him; some exchanged greeting with the Blessed One, having exchanged with him greeting and complaisant words, they sat down near him; some bent their clasped hands towards the Blessed One and sat down near him; some shouted out their name and their family name before the Blessed One and sat down near him; some silently sat down near him.  Now those twelve myriads of Magadha Brâhmanas and householders thought:  'How now is this? has the great Samana placed himself under the spiritual direction of Uruvelâ Kassapa, or has Uruvelâ Kassapa placed himself under the spiritual direction of the great Samana?'  And the Blessed One, who understood in his mind the reflection which had arisen in the minds of those twelve myriads of Magadha Brâhmanas and householders, addressed the venerable Uruvelâ Kassapa in this stanza:  'What knowledge have you gained, O inhabitant of Uruvelâ, that has induced you, who were renowned for your penances, to forsake your sacred fire? I ask you, Kassapa, this question: How is it that your fire sacrifice has become deserted?' 
ครั้งนั้น พราหมณ์คหบดีชาวมคธ ๑๒ นหุตนั้นได้มีความดำริว่า  พระมหาสมณะประพฤติพรหมจรรย์ในท่านอุรุเวลกัสสป หรือว่าท่านอุรุเวลกัสสปประพฤติพรหมจรรย์ในพระมหาสมณะ.  ลำดับนั้น พระผู้มีพระภาคทรงทราบความดำริในใจของพราหมณ์คหบดีชาวมคธ ๑๒ นหุตนั้น ด้วยพระทัยของพระองค์ ได้ตรัสกะท่านพระอุรุเวลกัสสปด้วยพระคาถาว่า ดังนี้:-  ดูกรท่านผู้อยู่ในอุรุเวลามานาน เคยเป็นอาจารย์สั่งสอนหมู่ชฎิลผู้ผอม เพราะกำลังพรต ท่านเห็นเหตุอะไร จึงยอมละเพลิงเสียเล่า? ดูกรกัสสป เราถามเนื้อความนี้กะท่าน ท่านละเพลิงที่บูชาเสียทำไมเล่า?  ท่านพระอุรุเวลกัสสปทูลตอบว่า ยัญทั้งหลายกล่าวยกย่องรูปเสียงและรสที่น่าปรารถนาและสตรีทั้งหลาย ข้าพระพุทธเจ้ารู้ว่านั่นเป็นมลทินในอุปธิทั้งหลายแล้ว เพราะเหตุนั้น จึงไม่ยินดี ในการเซ่นสรวง ในการบูชา. 
ตํ โข ปน ภควนฺตํ โคตมํ เอวํ กลฺยาโณ กิตฺติสทฺโท อพฺภุคฺคโต อิติปิ โส ภควา อรหํ สมฺมาสมฺพุทฺโธ วิชฺชาจรณสมฺปนฺโน สุคโต โลกวิทู อนุตฺตโร ปุริสทมฺมสารถิ สตฺถา เทวมนุสฺสานํ พุทฺโธ ภควา . โส อิมํ โลกํ สเทวกํ สมารกํ สพฺรหฺมกํ สสฺสมณพฺราหฺมณึ ปชํ สเทวมนุสฺสํ สยํ อภิญฺญา สจฺฉิกตฺวา ปเวเทติ. โส ธมฺมํ เทเสติ อาทิกลฺยาณํ มชฺเฌกลฺยาณํ ปริโยสานกลฺยาณํ สาตฺถํ สพฺยญฺชนํ เกวลปริปุณฺณํ ปริสุทฺธํ พฺรหฺมจริยํ ปกาเสติ.  สาธุ โข ปน ตถารูปานํ อรหตํ ทสฺสนํ โหตีติ.  อถ โข ราชา มาคโธ เสนิโย พิมฺพิสาโร ทฺวาทสนหุเตหิ มาคธิเกหิ พฺราหฺมณคหปติเกหิ ปริวุโต เยน ภควา เตนุปสงฺกมิ อุปสงฺกมิตฺวา ภควนฺตํ อภิวาเทตฺวา เอกมนฺตํ นิสีทิ.  เตปิ โข ทฺวาทสนหุตา มาคธิกา พฺราหฺมณคหปติกา อปฺเปกจฺเจ ภควนฺตํ อภิวาเทตฺวา เอกมนฺตํ นิสีทึสุ อปฺเปกจฺเจ ภควตา สทฺธึ สมฺโมทึสุ สมฺโมทนียํ กถํ สารณียํ วีติสาเรตฺวา เอกมนฺตํ นิสีทึสุ อปฺเปกจฺเจ เยน ภควา เตนญฺชลึ ปณาเมตฺวา เอกมนฺตํ นิสีทึสุ อปฺเปกจฺเจ ภควโต สนฺติเก นามโคตฺตํ สาเวตฺวา เอกมนฺตํ นิสีทึสุ อปฺเปกจฺเจ ตุณฺหีภูตา เอกมนฺตํ นิสีทึสุ.  อถ โข เตสํ ทฺวาทสนหุตานํ มาคธิกานํ พฺราหฺมณคหปติกานํ เอตทโหสิ 
ettha ca te mano na ramittha Kassapā ’ti bhagavā avoca, rūpesu saddesu atho rasesu atha ko carahi devamanussaloke rato mano Kassapa brūhi me tan ti. |  disvā padaṃ santam anupadhīkaṃ akiñcanaṃ kāmabhave asattaṃ anaññathābhāviṃ anaññaneyyaṃ, tasmā na yiṭṭhe na hute arañjin ti. |5| 
(Kassapa replied): 'It is visible things and sounds, and also tastes, pleasures and woman that the sacrifices speak of; because I understood that whatever belongs to existence is filth, therefore I took no more delight in sacrifices and offerings.'  'But if your mind, Kassapa (said the Blessed One), found there no more delight,--either in visible things, or sounds, or tastes,--what is it in the world of men or gods in which your mind, Kassapa, now finds delight? Tell me that.' 
พระผู้มีพระภาคตรัสถามว่า ดูกรกัสสป ก็ใจของท่านไม่ยินดีแล้วในอารมณ์ คือรูป เสียงและรสเหล่านั้น ดูกรกัสสป ก็เมื่อเป็นเช่นนั้น ใจของท่านยินดีในสิ่งไรเล่า ในเทวโลกหรือมนุษยโลก ท่านจงบอกข้อนั้นแก่เรา?  ท่านพระอุรุเวลกัสสปทูลตอบว่า ข้าพระพุทธเจ้าได้เห็นทางอันสงบ ไม่มีอุปธิ ไม่มีกังวล ไม่ติดอยู่ในกามภพ ไม่มีภาวะเป็นอย่างอื่น ไม่ใช่ธรรมที่ผู้อื่นแนะให้บรรลุ เพราะฉะนั้น จึงไม่ยินดีในการเซ่นสรวง ในการบูชา 
“กึ นุ โข มหาสมโณ อุรุเวลกสฺสเป พฺรหฺมจริยํ จรติ อุทาหุ อุรุเวลกสฺสโป มหาสมเณ พฺรหฺมจริยํ จรตี”ติ?  อถ โข ภควา เตสํ ทฺวาทสนหุตานํ มาคธิกานํ พฺราหฺมณคหปติกานํ เจตสา เจโตปริวิตกฺกมญฺญาย อายสฺมนฺตํ อุรุเวลกสฺสปํ คาถาย อชฺฌภาสิ 
atha kho āyasmā Uruvelakassapo uṭṭhāyāsanā ekaṃsaṃ uttarāsaṅgaṃ karitvā bhagavato pādesu sirasā nipatitvā bhagavantaṃ etad avoca: satthā me bhante bhagavā, sāvako ’ham asmi, satthā me bhante bhagavā, sāvako ’ham asmīti.  atha kho tesaṃ dvādasanahutānaṃ Māgadhikānaṃ brāhmaṇagahapatikānaṃ etad ahosi:  Uruvelakassapo mahāsamaṇe brahmacariyaṃ caratīti. |6| 
(Kassapa replied): 'I have seen the state of peace (i.e. Nirvâna) in which the basis of existence (upadhi) and the obstacles to perfection (kiñkana) have ceased, which is free from attachment to sensual existence, which cannot pass over into another state, which cannot be led to another state; therefore I took no more delight in sacrifices and offerings.'  Then the venerable Uruvelâ Kassapa rose from his seat, adjusted his upper robe so as to cover one shoulder, prostrated himself, inclining his head to the feet of the Blessed One, and said to the Blessed One: 'My teacher, Lord, is the Blessed One, I am his pupil; my teacher, Lord, is the Blessed One, I am his pupil.'  Then those twelve myriads of Magadha Brâhmanas and householders understood: 
[๕๘] ลำดับนั้น ท่านพระอุรุเวลกัสสปลุกจากอาสนะ ห่มผ้าอุตราสงค์เฉวียงบ่า ซบเศียรลงที่พระบาทของพระผู้มีพระภาค แล้วได้กราบทูลพระผู้มีพระภาคว่า พระพุทธเจ้าข้า พระผู้มีพระภาคเป็นพระศาสดาของข้าพระพุทธเจ้า ข้าพระพุทธเจ้าเป็นสาวก, พระผู้มีพระภาคเป็นพระศาสดาของข้าพระพุทธเจ้า ข้าพระพุทธเจ้าเป็นสาวก พระพุทธเจ้าข้า.  ลำดับนั้น พราหมณ์คหบดีชาวมคธ ทั้ง ๑๒ นหุต นั้น ได้มีความเข้าใจว่า  ท่านพระอุรุเวลกัสสปประพฤติพรหมจรรย์ในพระมหาสมณะ. 
“กิเมว ทิสฺวา อุรุเวลวาสิ ปหาสิ อคฺคิ๎ กิสโกวทาโน. ปุจฺฉามิ ตํ กสฺสป เอตมตฺถํ กถํ ปหีนํ ตว อคฺคิหุตฺตนฺติฯ  “รูเป จ สทฺเท จ อโถ รเส จ. กามิตฺถิโย จาภิวทนฺติ ยญฺญา. เอตํ มลนฺติ อุปธีสุ ญตฺวา. ตสฺมา น ยิฏฺเฐ น หุเต อรญฺชินฺติฯ  “เอตฺเถว เต มโน น รมิตฺถ (กสฺสปาติ ภควา). รูเปสุ สทฺเทสุ อโถ รเสสุ. อถ โก จรหิ เทวมนุสฺสโลเก. รโต มโน กสฺสป พฺรูหิ เมตนฺติฯ 
atha kho bhagavā tesaṃ dvādasanahutānaṃ Māgadhikānaṃ brāhmaṇagahapatikānaṃ ce-(37)tasā cetoparivitakkaṃ aññāya anupubbikathaṃ kathesi seyyath’ īdaṃ: dānakathaṃ sīlakathaṃ saggakathaṃ kāmānaṃ ādīnavaṃ okāraṃ saṃkilesaṃ nekkhamme ānisaṃsaṃ pakāsesi.  yadā te bhagavā aññāsi kallacitte muducitte vinīvaraṇacitte udaggacitte pasannacitte, atha yā buddhānaṃ sāmukkaṃsikā dhammadesanā, taṃ pakāsesi, dukkhaṃ samudayaṃ nirodhaṃ maggaṃ. |7| 
'Uruvelâ Kassapa has placed himself under the spiritual direction of the great Samana.'  And the Blessed One, who understood in his mind the reflection that had arisen in the minds of those twelve myriads of Magadha Brâhmanas and householders, preached to them in due course 
ครั้งนั้น พระผู้มีพระภาคทรงทราบความปริวิตกแห่งจิตของพราหมณ์คหบดีชาวมคธทั้ง ๑๒ นหุตนั้น ด้วยพระทัยของพระองค์แล้ว ทรงแสดงอนุปุพพิกถา คือทรงประกาศทานกถา สีลกถา สัคคกถา โทษ ความต่ำทราม ความเศร้าหมองของกามทั้งหลายและอานิสงส์ในความออกจากกาม.  เมื่อพระผู้มีพระภาคทรงทราบว่า พวกเขามีจิตสงบ มีจิตอ่อน มีจิตปลอดจากนิวรณ์ มีจิตเบิกบาน มีจิตผ่องใสแล้ว จึงทรงประกาศพระธรรมเทศนาที่พระพุทธเจ้าทั้งหลายทรงยกขึ้นแสดงด้วยพระองค์เอง คือทุกข์ สมุทัย นิโรธ มรรค. 
“ทิสฺวา ปทํ สนฺตมนูปธีกํ. อกิญฺจนํ กามภเว อสตฺตํ. อนญฺญถาภาวิมนญฺญเนยฺยํ. ตสฺมา น ยิฏฺเฐ น หุเต อรญฺชิ”นฺติฯ  ๕๖. อถ โข อายสฺมา อุรุเวลกสฺสโป อุฏฺฐายาสนา เอกํสํ อุตฺตราสงฺคํ กริตฺวา ภควโต ปาเทสุ สิรสา นิปติตฺวา ภควนฺตํ เอตทโวจ “สตฺถา เม ภนฺเต ภควา สาวโกหมสฺมิ สตฺถา เม ภนฺเต ภควา สาวโกหมสฺมี”ติ. 
seyyathāpi nāma suddhaṃ vatthaṃ apagatakāḷakaṃ sammad eva rajanaṃ paṭigaṇheyya, evam eva ekādasanahutānaṃ Māgadhikānaṃ brāhmaṇagahapatikānaṃ Bimbisārapamukhānaṃ tasmiṃ yeva āsane virajaṃ vītamalaṃ dhammacakkhuṃ udapādi yaṃ kiñci samudayadhammaṃ sabbaṃ taṃ nirodhadhamman ti, ekanahutaṃ upāsakattaṃ paṭivedesi. |8| 
(&c., as in chap. 7, §§ 5, 6, down to:). 
ดวงตาเห็นธรรม ปราศจากธุลี ปราศจากมลทิน ว่าสิ่งใดสิ่งหนึ่งมีความเกิดขึ้นเป็นธรรมดาสิ่งนั้นทั้งหมดมีความดับเป็นธรรมดา ได้เกิดแก่พราหมณ์คหบดีชาวมคธ ๑๑ นหุต ซึ่งมีพระเจ้าพิมพิสารเป็นประมุข ณ ที่นั่งนั้นแล ดุจผ้าที่สะอาด ปราศจากมลทิน ควรได้รับน้ำย้อมเป็นอย่างดี ฉะนั้น. พราหมณ์คหบดีอีก ๑ นหุต แสดงตนเป็นอุบาสก. 
อถ โข เตสํ ทฺวาทสนหุตานํ มาคธิกานํ พฺราหฺมณคหปติกานํ เอตทโหสิ 
atha kho rājā Māgadho Seniyo Bimbisāro diṭṭhadhammo pattadhammo viditadhammo pariyogāḷhadhammo tiṇṇavicikiccho vigatakathaṃkatho vesārajjappatto aparappaccayo satthu sāsane bhagavantaṃ etad avoca:  pubbe me bhante kumārassa sato pañca assāsakā ahesuṃ, te me etarahi samiddhā. pubbe me bhante kumārassa sato etad ahosi:  aho vata maṃ rajje abhisiñceyyun ti, ayaṃ kho me bhante paṭhamo assāsako ahosi, so me etarahi samiddho.  tassa ca me vijitaṃ arahaṃ sammāsambuddho okkameyyā ’ti, ayaṃ kho me bhante dutiyo assāsako ahosi, so me etarahi samiddho. |9| 
Just as a clean cloth free from black specks properly takes the dye, thus eleven myriads of those Magadha Brâhmanas and householders with Bimbisâra at their head, while sitting there, obtained the pure and spotless Eye of the Truth (that is, the knowledge): 'Whatsoever is subject to the condition of origination is subject also to the condition of cessation.' One myriad announced their having become lay-pupils.  Then the Magadha king Seniya Bimbisâra, having seen the Truth (&c. . . . . down to) dependent on nobody else for the knowledge of the Teacher's doctrine, said to the Blessed One:  'In former days, Lord, when I was a prince, I entertained five wishes; these are fulfilled now.  In former days, Lord, when I was a prince, I wished: "O that I might be inaugurated as king." This was my first wish, Lord; this is fulfilled now. 
[๕๙] ครั้งนั้น พระเจ้าพิมพิสารจอมเสนามาคธราช ได้ทรงเห็นธรรมแล้ว ได้ทรงบรรลุธรรมแล้ว ได้ทรงรู้ธรรมแจ่มแจ้งแล้ว ทรงมีธรรมอันหยั่งลงแล้ว ทรงข้ามความสงสัยได้แล้วnปราศจากถ้อยคำแสดงความสงสัย ทรงถึงความเป็นผู้แกล้วกล้า ไม่ต้องทรงเชื่อผู้อื่นในคำสอนของพระศาสดา ได้ทูลพระวาจานี้ต่อพระผู้มีพระภาคว่า  ครั้งก่อน เมื่อหม่อมฉันยังเป็นราชกุมารได้มีความปรารถนา ๕ อย่าง บัดนี้ ความปรารถนา ๕ อย่างนั้น ของหม่อมฉันสำเร็จแล้ว.  ความปรารถนา ๕ อย่าง ๑. ครั้งก่อน เมื่อหม่อมฉันยังเป็นราชกุมาร ได้มีความปรารถนาว่า ไฉนหนอ ชนทั้งหลายพึงอภิเษกเราในราชสมบัติดังนี้ นี้เป็นความปรารถนาของหม่อมฉันประการที่ ๑ บัดนี้ความปรารถนานั้น ของหม่อมฉันสำเร็จแล้ว พระพุทธเจ้าข้า  ๒. ขอพระอรหันตสัมมาสัมพุทธเจ้า พึงเสด็จมาสู่แว่นแคว้นของหม่อมฉันนั้น นี้เป็นความปรารถนาของหม่อมฉันประการที่ ๒ บัดนี้ ความปรารถนานั้นของหม่อมฉันสำเร็จแล้ว พระพุทธเจ้าข้า 
“อุรุเวลกสฺสโป มหาสมเณ พฺรหฺมจริยํ จรตี”ติ.  อถ โข ภควา เตสํ ทฺวาทสนหุตานํ มาคธิกานํ พฺราหฺมณคหปติกานํ เจตสา เจโตปริวิตกฺกมญฺญาย อนุปุพฺพิ๎ กถํ กเถสิ เสยฺยถิทํ ทานกถํ สีลกถํ สคฺคกถํ กามานํ อาทีนวํ โอการํ สํกิเลสํ เนกฺขมฺเม อานิสํสํ ปกาเสสิ.  ยทา เต ภควา อญฺญาสิ กลฺลจิตฺเต มุทุจิตฺเต วินีวรณจิตฺเต อุทคฺคจิตฺเต ปสนฺนจิตฺเต อถ ยา พุทฺธานํ สามุกฺกํสิกา ธมฺมเทสนา ตํ ปกาเสสิ ทุกฺขํ สมุทยํ นิโรธํ มคฺคํ.  เสยฺยถาปิ นาม สุทฺธํ วตฺถํ อปคตกาฬกํ สมฺมเทว รชนํ ปฏิคฺคณฺเหยฺย เอวเมว เอกาทสนหุตานํ มาคธิกานํ พฺราหฺมณคหปติกานํ พิมฺพิสารปฺปมุขานํ ตสฺมึ เยว อาสเน วิรชํ วีตมลํ ธมฺมจกฺขุํ อุทปาทิ ยํ กิญฺจิ สมุทยธมฺมํ สพฺพํ ตํ นิโรธธมฺมนฺติ. เอกนหุตํ อุปาสกตฺตํ ปฏิเวเทสิ. 
tañ cāhaṃ bhagavantaṃ payirupāseyyan ti, ayaṃ kho me bhante tatiyo assāsako ahosi, so me etarahi samiddho.  so ca me bhagavā dhammaṃ deseyyā ’ti, ayaṃ kho me bhante catuttho assāsako ahosi, so me etarahi samiddho.  tassa cāhaṃ bhagavato dhammaṃ ājāneyyan ti, ayaṃ kho me bhante pañcamo assāsako ahosi, so me etarahi samiddho.  pubbe me bhante kumārassa sato ime pañca assāsakā ahesuṃ, te me etarahi samiddhā. |10| 
"And might then the holy, absolute Sambuddha come into my kingdom." This was my second wish, Lord; this is fulfilled now.  '"And might I pay my respects to Him, the Blessed One." This was my third wish, Lord; this is fulfilled now.  "And might He the Blessed One preach his doctrine (Dhamma) to me." This was my fourth wish, Lord; this is fulfilled now.  "And might I understand His, the Blessed One's doctrine." This was my fifth wish, Lord; this is fulfilled now. 
๓. ขอหม่อมฉันพึงได้เข้าเฝ้าพระผู้มีพระภาคพระองค์นั้น นี้เป็นความปรารถนาของหม่อมฉันประการที่ ๓ บัดนี้ ความปรารถนานั้น ของหม่อมฉันสำเร็จแล้ว พระพุทธเจ้าข้า  ๔. ขอพระผู้มีพระภาคพระองค์นั้นพึงแสดงธรรมแก่หม่อมฉัน นี้เป็นความปรารถนาของหม่อมฉันประการที่ ๔ บัดนี้ความปรารถนานั้น ของหม่อมฉันสำเร็จแล้ว พระพุทธเจ้าข้า  ๕. ขอหม่อมฉันพึงรู้ทั่วถึงธรรมของพระผู้มีพระภาคพระองค์นั้น นี้เป็นความปรารถนาของหม่อมฉันประการที่ ๕ บัดนี้ ความปรารถนานั้น ของหม่อมฉันสำเร็จแล้ว พระพุทธเจ้าข้า  พระพุทธเจ้าข้า ครั้งก่อนหม่อมฉันยังเป็นราชกุมาร ได้มีความปรารถนา ๕ อย่างนี้ บัดนี้ความปรารถนา ๕ อย่างนั้นของหม่อมฉันสำเร็จแล้ว 
๕๗. อถ โข ราชา มาคโธ เสนิโย พิมฺพิสาโร ทิฏฺฐธมฺโม ปตฺตธมฺโม วิทิตธมฺโม ปริโยคาฬฺหธมฺโม ติณฺณวิจิกิจฺโฉ วิคตกถํกโถ เวสารชฺชปฺปตฺโต อปรปฺปจฺจโย สตฺถุสาสเน ภควนฺตํ เอตทโวจ  “ปุพฺเพ เม ภนฺเต กุมารสฺส สโต ปญฺจ อสฺสาสกา อเหสุํ เต เม เอตรหิ สมิทฺธา. ปุพฺเพ เม ภนฺเต กุมารสฺส สโต เอตทโหสิ  ‘อโห วต มํ รชฺเช อภิสิญฺเจยฺยุ’นฺติ อยํ โข เม ภนฺเต ปฐโม อสฺสาสโก อโหสิ โส เม เอตรหิ สมิทฺโธ.  ‘ตสฺส จ เม วิชิตํ อรหํ สมฺมาสมฺพุทฺโธ โอกฺกเมยฺยา’ติ อยํ โข เม ภนฺเต ทุติโย อสฺสาสโก อโหสิ โส เม เอตรหิ สมิทฺโธ. 
abhikkantaṃ bhante, abhikkantaṃ bhante, seyyathāpi bhante nikkujjitaṃ vā. ukkujjeyya paṭicchannaṃ vā vivareyya mūḷhassa vā maggaṃ ācikkheyya andhakāre vā telapajjotaṃ dhāreyya cakkhumanto rūpāni dakkhintīti, evam eva bhagavatā anekapariyāyena dhammo pakāsito.  es’ āhaṃ bhante bhagavantaṃ saraṇaṃ gacchāmi dhammañ ca bhikkhusaṃghañ ca, upāsakaṃ maṃ bhante bhagavā dhāretu ajjatagge pāṇupetaṃ saraṇaṃ gatan ti, adhivāsetu ca me bhante (38) bhagavā svātanāya bhattaṃ saddhiṃ bhikkhusaṃghenā ’ti.  adhivāsesi bhagavā tunhibhāvena. |11| 
These were the five wishes, Lord, which I entertalned in former days when I was a prince; these are fulfilled now.  'Glorious, Lord! (&c., as in chap. 7. 10, down to:) who has taken his refuge in Him.  And might the Blessed One, Lord, consent to take his meal with me to-morrow together with the fraternity of Bhikkhus.' 
ภาษิตของพระองค์แจ่มแจ้งนัก ภาษิตของพระองค์ไพเราะนัก พระพุทธเจ้าข้า พระองค์ทรงประกาศธรรมโดยอเนกปริยายอย่างนี้ เปรียบเหมือนบุคคลหงายของที่คว่ำ เปิดของที่ปิด บอกทางแก่คนหลงทาง หรือส่องประทีปในที่มืด ด้วยตั้งใจว่า คนมีจักษุจักเห็นรูป ดังนี้  หม่อมฉันนี้ ขอถึงพระผู้มีพระภาค พระธรรมและพระภิกษุสงฆ์ ว่าเป็นสรณะ ขอพระองค์จงทรงจำหม่อมฉันว่า เป็นอุบาสกผู้มอบชีวิตถึงสรณะ จำเดิมแต่วันนี้เป็นต้นไป และขอพระผู้มีพระภาคพร้อมด้วยภิกษุสงฆ์จงทรงรับภัตตาหารของหม่อมฉัน ในวันพรุ่งนี้.  พระผู้มีพระภาคทรงรับด้วยดุษณีภาพ. 
‘ตญฺจาหํ ภควนฺตํ ปยิรุปาเสยฺย’นฺติ อยํ โข เม ภนฺเต ตติโย อสฺสาสโก อโหสิ โส เม เอตรหิ สมิทฺโธ.  ‘โส จ เม ภควา ธมฺมํ เทเสยฺยา’ติ อยํ โข เม ภนฺเต จตุตฺโถ อสฺสาสโก อโหสิ โส เม เอตรหิ สมิทฺโธ.  ‘ตสฺส จาหํ ภควโต ธมฺมํ อาชาเนยฺย’นฺติ อยํ โข เม ภนฺเต ปญฺจโม อสฺสาสโก อโหสิ โส เม เอตรหิ สมิทฺโธ. 
atha kho rājā Māgadho Seniyo Bimbisāro bhagavato adhivāsanaṃ viditvā uṭṭhāyāsanā bhagavantaṃ abhivādetvā padakkhiṇaṃ katvā pakkāmi.  atha kho rājā Māgadho Seniyo Bimbisāro tassā rattiyā accayena paṇītaṃ khādaniyaṃ bhojaniyaṃ paṭiyādāpetvā bhagavato kālaṃ ārocāpesi: kālo bhante, niṭṭhitaṃ bhattan ti.  atha kho bhagavā pubbaṇhasamayaṃ nivāsetvā pattacīvaraṃ ādāya Rājagahaṃ pāvisi mahatā bhikkhusaṃghena saddhiṃ bhikkhusahassena sabbeh’ eva purāṇajaṭilehi. |12| 
The Blessed One expressed his consent by remaining silent.  Then the Magadha king Seniya Bimbisâra, when he understood that the Blessed One had accepted his invitation, rose from his seat, respectfully saluted the Blessed One, and, passing round him with his right side towards him, went away.  And when the night had elapsed, the Magadha king Seniya Bimbisâra ordered excellent food, both hard and soft, to be prepared, and had dinner-time announced to the Blessed One in the words: 'It is time, Lord, the meal is ready.' 
ครั้นพระเจ้าพิมพิสารจอมเสนามาคธราชทรงทราบการรับนิมนต์ของพระผู้มีพระภาคแล้ว เสด็จลุกจากที่ประทับถวายบังคมพระผู้มีพระภาค ทรงทำประทักษิณแล้วเสด็จกลับไป.  [๖๐] หลังจากนั้น พระเจ้าพิมพิสารจอมเสนามาคธราช รับสั่งให้ตกแต่งของเคี้ยวของฉันอันประณีตโดยผ่านราตรีนั้น แล้วให้เจ้าพนักงานไปกราบทูลภัตตกาลแด่พระผู้มีพระภาคว่า ถึงเวลาแล้ว พระพุทธเจ้าข้า ภัตตาหารเสร็จแล้ว.  ขณะนั้นเป็นเวลาเช้า พระผู้มีพระภาคทรงอันตรวาสกแล้ว ทรงถือบาตรจีวร เสด็จพระพุทธดำเนินสู่พระนครราชคฤห์ พร้อมด้วยภิกษุสงฆ์หมู่ใหญ่ จำนวน ๑๐๐๐ รูป ล้วนปุราณชฎิล. 
ปุพฺเพ เม ภนฺเต กุมารสฺส สโต อิเม ปญฺจ อสฺสาสกา อเหสุํ เต เม เอตรหิ สมิทฺธา.  อภิกฺกนฺตํ ภนฺเต อภิกฺกนฺตํ ภนฺเต เสยฺยถาปิ ภนฺเต นิกฺกุชฺชิตํ วา อุกฺกุชฺเชยฺย ปฏิจฺฉนฺนํ วา วิวเรยฺย มูฬฺหสฺส วา มคฺคํ อาจิกฺเขยฺย อนฺธกาเร วา เตลปชฺโชตํ ธาเรยฺย จกฺขุมนฺโต รูปานิ ทกฺขนฺตีติ เอวเมวํ ภควตา อเนกปริยาเยน ธมฺโม ปกาสิโต.  เอสาหํ ภนฺเต ภควนฺตํ สรณํ คจฺฉามิ ธมฺมญฺจ ภิกฺขุสงฺฆญฺจ. อุปาสกํ มํ ภควา ธาเรตุ อชฺชตคฺเค ปาณุเปตํ สรณํ คตํ อธิวาเสตุ จ เม ภนฺเต ภควา สฺวาตนาย ภตฺตํ สทฺธึ ภิกฺขุสงฺเฆนา”ติ 
tena kho pana samayena Sakko devānam indo māṇavakavaṇṇaṃ abhinimminitvā buddhapamukhassa bhikkhusaṃghassa purato-purato gacchati imā gāthāyo gīyamāno:  danto dantehi saha purāṇajaṭilehi vippamutto vippamuttehi siṅgīnikkhasuvaṇṇo Rājagahaṃ pāvisi bhagavā. |  mutto muttehi saha purāṇajaṭilehi vippamutto vippamuttehi siṅgīnikkhasuvaṇṇo Rājagahaṃ pāvisi bhagavā. |  tiṇṇo tiṇṇehi saha purāṇajaṭilehi vippamutto vippamuttehi siṅgīnikkhasuvaṇṇo Rājagahaṃ pāvisi bhagavā. |  dasavāso dasabalo dasadhammavidū dasabhi c’ upeto so dasasataparivāro Rājagahaṃ pāvisi bhagavā ’ti. |13| 
And in the forenoon the Blessed One, having put on his under-robes, took his alms-bowl, and with his kîvara on entered the city of Râgagaha accompanied by a great number of Bhikkhus, by one thousand Bhikkhus who all had been Gatilas before.  At that time Sakka the king of the devas, assuming the appearance of a young Brâhman, walked in front of the Bhikkhu fraternity with Buddha at its head, singing the following stanzas:  'The self-controlled One with the self-controlled, with the former Gatilas, the released One with the released, the Blessed One, gold-coloured like an ornament of singî gold, has entered Râgagaha.  'The emancipated One with the emancipated, with the former Gatilas, &c.  'He who has crossed (the ocean of passion) with them who have crossed (it), with the former Gatilas, the released One with the released, the Blessed One, gold-coloured like an ornament of singi gold, has entered Râgagaha. 
[๖๑] ก็โดยสมัยนั้นแล ท้าวสักกะจอมทวยเทพทรงนิรมิตเพศเป็นมาณพ เสด็จพระดำเนินนำหน้าภิกษุสงฆ์มีพระพุทธเจ้าเป็นประมุข พลางขับคาถาเหล่านี้ ว่าดังนี้:- คาถาสดุดีพระผู้มีพระภาค  พระผู้มีพระภาค มีพระฉวีเสมอด้วยลิ่มทองสิงคี ทรงฝึกอินทรีย์แล้ว ทรงพ้นวิเศษแล้ว เสด็จประเวศสู่พระนครราชคฤห์พร้อมด้วยพระปุราณชฎิลทั้งหลาย ผู้ฝึกอินทรีย์แล้ว ผู้พ้นวิเศษแล้ว.  พระผู้มีพระภาค มีพระฉวีเสมอด้วยลิ่มทองสิงคี ทรงพ้นแล้ว ทรงพ้นวิเศษแล้ว เสด็จประเวศสู่พระนครราชคฤห์พร้อมด้วยพระปุราณชฎิลทั้งหลาย ผู้พ้นแล้ว ผู้พ้นวิเศษแล้ว.  พระผู้มีพระภาค มีพระฉวีเสมอด้วยลิ่มทองสิงคี ทรงสงบแล้ว ทรงพ้นวิเศษแล้ว เสด็จประเวศสู่พระนครราชคฤห์พร้อมด้วยพระปุราณชฎิลทั้งหลาย ผู้สงบแล้ว ผู้พ้นวิเศษแล้ว.  พระผู้มีพระภาคพระองค์นั้นทรงมีอริยวาสธรรม ๑๐ ประการ เป็นเครื่องอยู่ ทรงประกอบด้วยพระกำลัง ๑๐ ทรงทราบธรรม คือ กรรมบถ ๑๐ และทรงประกอบด้วยธรรมอันเป็นองค์ของพระอเสขะ ๑๐ มีภิกษุบริวารพันหนึ่ง เสด็จประเวศสู่พระนครราชคฤห์ 
อธิวาเสสิ ภควา ตุณฺหีภาเวน.  อถ โข ราชา มาคโธ เสนิโย พิมฺพิสาโร ภควโต อธิวาสนํ วิทิตฺวา อุฏฺฐายาสนา ภควนฺตํ อภิวาเทตฺวา ปทกฺขิณํ กตฺวา ปกฺกามิ.  อถ โข ราชา มาคโธ เสนิโย พิมฺพิสาโร ตสฺสา รตฺติยา อจฺจเยน ปณีตํ ขาทนียํ โภชนียํ ปฏิยาทาเปตฺวา ภควโต กาลํ อาโรจาเปสิ “กาโล ภนฺเต นิฏฺฐิตํ ภตฺต”นฺติ.  ๕๘. อถ โข ภควา ปุพฺพณฺหสมยํ นิวาเสตฺวา ปตฺตจีวรมาทาย ราชคหํ ปาวิสิ มหตา ภิกฺขุสงฺเฆน สทฺธึ ภิกฺขุสหสฺเสน สพฺเพเหว ปุราณชฏิเลหิ.  เตน โข ปน สมเยน สกฺโก เทวานมินฺโท มาณวกวณฺณํ อภินิมฺมินิตฺวา พุทฺธปฺปมุขสฺส ภิกฺขุสงฺฆสฺส ปุรโต ปุรโต คจฺฉติ อิมา คาถาโย คายมาโน 
manussā Sakkaṃ devānam indaṃ passitvā evaṃ āhaṃsu:  abhirūpo vatāyaṃ māṇavako, dassanīyo vatāyaṃ māṇavako, pāsādiko vatāyaṃ māṇavako.  kassa nu kho ayaṃ māṇavako ’ti.  evaṃ vutte Sakko devānam indo te manusse gāthāya ajjhabhāsi:  yo dhīro sabbadhī danto buddho appaṭipuggalo arahaṃ sugato loke tassāhaṃ paricārako ’ti. |14| 
'He who is possessed of the ten Noble States and of the ten Powers, who understands the ten Paths of Kamma and possesses the ten (attributes of Arahatship), the Blessed One, surrounded by ten hundred of followers, has entered Râgagaha.'  The people when they saw Sakka the king of the devas, said:  'This youth indeed is handsome; this youth indeed has a lovely appearance; this youth indeed is pleasing. Whose attendant may this youth be?'  When they talked thus,  Sakka the king of the devas addressed those people in this stanza: 
[๖๒] ประชาชนได้เห็นท้าวสักกะจอมทวยเทพแล้วพากันกล่าวอย่างนี้ว่า  พ่อหนุ่มนี้มีรูปงามยิ่งนัก น่าดูนัก น่าชมนัก พ่อหนุ่มนี้ของใครหนอ.  เมื่อประชาชนกล่าวอย่างนี้แล้ว  ท้าวสักกะจอมทวยเทพได้กล่าวตอบประชาชนพวกนั้นด้วยคาถา ว่าดังนี้:-  พระผู้มีพระภาคพระองค์ใดเป็นนักปราชญ์ ทรงฝึกอินทรีย์ทั้งปวงแล้ว เป็นผู้ผ่องแผ้วหาบุคคลเปรียบมิได้ ไกลจากกิเลส เสด็จไปดีแล้วในโลก ข้าพเจ้าเป็นผู้รับใช้ของพระผู้มีพระภาคพระองค์นั้น. 
“ทนฺโต ทนฺเตหิ สห ปุราณชฏิเลหิ วิปฺปมุตฺโต วิปฺปมุตฺเตหิ. สิงฺคีนิกฺขสวณฺโณ ราชคหํ ปาวิสิ ภควาฯ  “มุตฺโต มุตฺเตหิ สห ปุราณชฏิเลหิ วิปฺปมุตฺโต วิปฺปมุตฺเตหิ. สิงฺคีนิกฺขสวณฺโณ ราชคหํ ปาวิสิ ภควาฯ  “ติณฺโณ ติณฺเณหิ สห ปุราณชฏิเลหิ. วิปฺปมุตฺโต วิปฺปมุตฺเตหิ. สิงฺคีนิกฺขสุวณฺโณ. ราชคหํ ปาวิสิ ภควาฯ “สนฺโต สนฺเตหิ สห ปุราณชฏิเลหิ. วิปฺปมุตฺโต วิปฺปมุตฺเตหิ. สิงฺคีนิกฺขสวณฺโณ. ราชคหํ ปาวิสิ ภควาฯ  “ทสวาโส ทสพโล ทสธมฺมวิทู ทสภิ จุเปโต. โส ทสสตปริวาโร ราชคหํ ปาวิสิ ภควา”ติฯ  มนุสฺสา สกฺกํ เทวานมินฺทํ ปสฺสิตฺวา เอวมาหํสุ 
atha kho bhagavā yena rañño Māgadhassa Seniyassa Bimbisārassa nivesanaṃ ten’ upasaṃkami, upasaṃkamitvā paññatte āsane nisīdi saddhiṃ bhikkhusaṃghena.  atha kho rājā Māgadho Seniyo Bimbisāro buddhapamukhaṃ bhikkhusaṃghaṃ paṇītena khādaniyena bhojaniyena sahatthā santappetvā sampavāretvā bhagavantaṃ bhuttāviṃ onītapattapāṇiṃ ekamantaṃ nisīdi. |15| 
'He who is wise, entirely self-controlled, the unrivalled Buddha, tie Arahat, the most happy upon earth: his attendant am I.'  And the Blessed One went to the palace of the Magadha king Seniya Bimbisâra. Having gone there, he sat down with the Bhikkhus who followed him, on seats laid out for them. 
ทรงรับพระเวฬุวันเป็นสังฆิกาวาส [๖๓] ครั้งนั้น พระผู้มีพระภาคเสด็จพระพุทธดำเนินไปสู่พระราชนิเวศน์ของพระเจ้าพิมพิสารจอมเสนามาคธราช ครั้นถึงแล้ว ประทับนั่งเหนือพระพุทธอาสน์ที่เขาจัดถวายพร้อมด้วยภิกษุสงฆ์.  จึงพระเจ้าพิมพิสารจอมเสนามาคธราช ทรงอังคาสภิกษุสงฆ์มีพระพุทธเจ้าเป็นประมุข ด้วยขาทนียโภชนียาหารอันประณีตด้วยพระหัตถ์ของพระองค์ จนให้พระผู้มีพระภาคเสวยเสร็จ ทรงนำพระหัตถ์ออกจากบาตร ห้ามภัตแล้ว จึงประทับนั่ง ณ ที่ควรส่วนข้างหนึ่ง. 
“อภิรูโป วตายํ มาณวโก ทสฺสนีโย วตายํ มาณวโก ปาสาทิโก วตายํ มาณวโก.  กสฺส นุ โข อยํ มาณวโก”ติ? 
ekamantaṃ ni-(39)sinnassa kho rañño Māgadhassa Seniyassa Bimbisārassa etad ahosi:  kattha nu kho bhagavā vihareyya, yaṃ assa gāmato n’ eva avidūre na accāsanne gamanāgamanasampannaṃ atthikānaṃ-atthikānaṃ manussānaṃ abhikkamanīyaṃ, divā appākiṇṇaṃ rattiṃ appasaddaṃ appanigghosaṃ vijanavātaṃ manussarāhaseyyakaṃ paṭisallānasāruppan ti. |16| 
Then the Magadha king Seniya Bimbisâra with his own hands served and offered excellent food, both hard and soft, to the fraternity of Bhikkhus with the Buddha at its head; and when the Blessed One had finished his meal and cleansed his bowl and his hands, he sat down near him.  Sitting near him the Magadha king Seniya Bimbisâra thought: 
ท้าวเธอได้ทรงพระราชดำริว่า  พระผู้มีพระภาคพึงประทับอยู่ ณ ที่ไหนดีหนอ ซึ่งจะเป็นสถานที่ไม่ไกล ไม่ใกล้จากบ้านนัก สะดวกด้วยการคมนาคม ควรที่ประชาชนผู้ต้องประสงค์จะเข้าไปเฝ้าได้ กลางวันไม่พลุกพล่าน กลางคืนเงียบสงัด เสียงไม่กึกก้อง ปราศจากลมแต่ชนที่เดินเข้าออก ควรเป็นที่ประกอบกิจของผู้ต้องการที่สงัด และควรเป็นที่หลีกเร้นอยู่ตามสมณวิสัย. 
เอวํ วุตฺเต สกฺโก เทวานมินฺโท เต มนุสฺเส คาถาย อชฺฌภาสิ  “โย ธีโร สพฺพธิ ทนฺโต สุทฺโธ อปฺปฏิปุคฺคโล. อรหํ สุคโต โลเก ตสฺสาหํ ปริจารโก”ติฯ 
atha kho rañño Māgadhassa Seniyassa Bimbisārassa etad ahosi:  idaṃ kho amhākaṃ Veḷuvanaṃ uyyānaṃ gāmato n’ eva avidūre na accāsanne gamanāgamanasampannaṃ atthikānaṃ-atthikānaṃ manussānaṃ abhikkamanīyaṃ, divā appākiṇṇaṃ, rattiṃ appasaddaṃ appanigghosaṃ vijanavātaṃ manussarāhaseyyakaṃ paṭisallānasāruppaṃ.  yaṃ nūnāhaṃ Veḷuvanaṃ uyyānaṃ buddhapamukhassa bhikkhusaṃghassa dadeyyan ti. |17| 
'Where may I find a place for the Blessed One to live in, not too far from the town and not too near, suitable for going and coming, easily accessible for all people who want (to see him), by day not too crowded, at night not exposed to much noise and alarm, clean of the smell of people, hidden from men, well fitted for a retired life?'  And the Magadha king Seniya Bimbisâra thought:  'There is the Veluvana, my pleasure garden, which is not too far from the town and not too near, suitable for going and coming, . . . . (&c., down to a retired life). 
แล้วได้ทรงพระราชดำริต่อไปว่า  สวนเวฬุวันของเรานี้แล ไม่ไกลไม่ใกล้จากบ้านนัก สะดวกด้วยการคมนาคม ควรที่ประชาชนผู้ต้องประสงค์จะพึงเข้าไปเฝ้าได้ กลางวันไม่พลุกพล่าน กลางคืนเงียบสงัด เสียงไม่กึกก้อง ปราศจากลมแต่ชนที่เข้าออก ควรเป็นที่ประกอบกิจของผู้ต้องการที่สงัด และควรเป็นที่หลีกเร้นอยู่ตามสมณวิสัย  ผิฉะนั้น เราพึงถวายสวนเวฬุวันแก่ภิกษุสงฆ์มีพระพุทธเจ้าเป็นประมุข ดังนี้. 
๕๙. อถ โข ภควา เยน รญฺโญ มาคธสฺส เสนิยสฺส พิมฺพิสารสฺส นิเวสนํ เตนุปสงฺกมิ อุปสงฺกมิตฺวา ปญฺญตฺเต อาสเน นิสีทิ สทฺธึ ภิกฺขุสงฺเฆน.  อถ โข ราชา มาคโธ เสนิโย พิมฺพิสาโร พุทฺธปฺปมุขํ ภิกฺขุสงฺฆํ ปณีเตน ขาทนีเยน โภชนีเยน สหตฺถา สนฺตปฺเปตฺวา สมฺปวาเรตฺวา ภควนฺตํ ภุตฺตาวึ โอนีตปตฺตปาณึ เอกมนฺตํ นิสีทิ.  เอกมนฺตํ นิสินฺนสฺส โข รญฺโญ มาคธสฺส เสนิยสฺส พิมฺพิสารสฺส เอตทโหสิ 
atha kho rājā Māgadho Seniyo Bimbisāro sovaṇṇamayaṃ bhiṅkāraṃ gahetvā bhagavato onojesi etāhaṃ bhante Veḷuvanaṃ uyyānaṃ buddhapamukhassa bhikkhusaṃghassa dammīti.  paṭiggahesi bhagavā ārāmaṃ.  atha kho bhagavā rājānaṃ Māgadhaṃ Seniyaṃ Bimbisāraṃ dhammiyā kathāya sandassetvā samādapetvā samuttejetvā saṃpahaṃsetvā uṭṭhāyāsanā pakkāmi.  atha kho bhagavā etasmiṃ nidāne dhammiṃ kathaṃ katvā bhikkhū āmantesi: anujānāmi bhikkhave ārāman ti. |18| 
What if I were to make an offering of the Veluvana pleasure garden to the fraternity of Bhikkhus with the Buddha at its head?'  And the Magadha king Seniya Bimbisâra took a golden vessel (with water in it, to be poured over the Buddha's hand); and dedicated (the garden) to the Blessed One (by saying), 'I give up this Veluvana pleasure garden, Lord, to the fraternity of Bhikkhus with the Buddha at its head.'  The Blessed One accepted the ârâma (park).  Then the Blessed One, after having taught, incited, animated, and gladdened the Magadha king Seniya Bimbisâra by religious discourse, rose from his seat and went away. 
ลำดับนั้น จึงทรงจับพระสุวรรณภิงคาร ทรงหลั่งน้ำน้อมถวายแด่พระผู้มีพระภาค ด้วยพระราชดำรัสว่า หม่อมฉันถวายสวนเวฬุวันนั่นแก่ภิกษุสงฆ์ มีพระพุทธเจ้าเป็นประมุข พระพุทธเจ้าข้า.  พระผู้มีพระภาคทรงรับอารามแล้ว.  และทรงชี้แจงให้พระเจ้าพิมพิสารจอมเสนามาคธราชทรงเห็นแจ้ง สมาทาน อาจหาญ ร่าเริง ด้วยธรรมีกถา แล้วเสด็จลุกจากที่ประทับเสด็จกลับ.  ต่อมา พระองค์ทรงทำธรรมีกถาในเพราะเหตุเป็นเค้ามูลนั้น แล้วรับสั่งกะภิกษุทั้งหลายว่า ดูกรภิกษุทั้งหลาย เราอนุญาตอาราม. 
“กตฺถ นุ โข ภควา วิหเรยฺย? ยํ อสฺส คามโต เนว อวิทูเร น อจฺจาสนฺเน คมนาคมนสมฺปนฺนํ อตฺถิกานํ อตฺถิกานํ มนุสฺสานํ อภิกฺกมนียํ ทิวา อปฺปากิณฺณํ รตฺตึ อปฺปสทฺทํ อปฺปนิคฺโฆสํ วิชนวาตํ มนุสฺสราหสฺเสยฺยกํ ปฏิสลฺลานสารุปฺป”นฺติ.  อถ โข รญฺโญ มาคธสฺส เสนิยสฺส พิมฺพิสารสฺส เอตทโหสิ  “อิทํ โข อมฺหากํ เวฬุวนํ อุยฺยานํ คามโต เนว อวิทูเร น อจฺจาสนฺเน คมนาคมนสมฺปนฺนํ อตฺถิกานํ อตฺถิกานํ มนุสฺสานํ อภิกฺกมนียํ ทิวา อปฺปากิณฺณํ รตฺตึ อปฺปสทฺทํ อปฺปนิคฺโฆสํ วิชนวาตํ มนุสฺสราหสฺเสยฺยกํ ปฏิสลฺลานสารุปฺปํ.  ยํนูนาหํ เวฬุวนํ อุยฺยานํ พุทฺธปฺปมุขสฺส ภิกฺขุสงฺฆสฺส ทเทยฺย”นฺติ. 
||22|| 
And in consequence of this event the Blessed One, after having delivered a religious discourse, thus addressed the Bhikkhus: 'I allow you, O Bhikkhus, to receive the donation of an ârâma (a park).' 
ทรงเทศนาโปรดพระเจ้าพิมพิสาร จบ. 
อถ โข ราชา มาคโธ เสนิโย พิมฺพิสาโร โสวณฺณมยํ ภิงฺการํ คเหตฺวา ภควโต โอโณเชสิ “เอตาหํ ภนฺเต เวฬุวนํ อุยฺยานํ พุทฺธปฺปมุขสฺส ภิกฺขุสงฺฆสฺส ทมฺมี”ติ. 
tena kho pana samayena Sañjayo paribbājako Rājagahe paṭivasati mahatiyā paribbājakaparisāya saddhiṃ aḍḍhateyyehi paribbājakasatehi.  tena kho pana samayena Sāriputtamoggallānā Sañjaye paribbājake brahmacariyaṃ caranti, tehi katikā katā hoti: yo paṭhamaṃ amataṃ adhigacchati so ārocetū ’ti. |1| 
At that time Sañgaya, a paribbâgaka (wandering ascetic), resided at Râgagaha with a great retinue of paribbâgakas, with two hundred and fifty paribbâgakas. 
พระสารีบุตรและพระโมคคัลลานะบรรพชา/พระอัสสชิเถระ [๖๔] ก็โดยสมัยนั้นแล สญชัยปริพาชกอาศัยอยู่ในพระนครราชคฤห์ พร้อมด้วยปริพาชกบริษัทหมู่ใหญ่ จำนวน ๒๕๐ คน.  ก็ครั้งนั้น พระสารีบุตรพระโมคคัลลานะประพฤติพรหมจรรย์อยู่ในสำนักสญชัยปริพาชก. ท่านทั้งสองได้ทำกติกากันไว้ว่า ผู้ใดบรรลุอมตธรรมก่อน ผู้นั้นจงบอกแก่อีกคนหนึ่ง. 
ปฏิคฺคเหสิ ภควา อารามํ.  อถ โข ภควา ราชานํ มาคธํ เสนิยํ พิมฺพิสารํ ธมฺมิยา กถาย สนฺทสฺเสตฺวา สมาทเปตฺวา สมุตฺเตเชตฺวา สมฺปหํเสตฺวา อุฏฺฐายาสนา ปกฺกามิ. 
atha kho āyasmā Assaji pubbaṇhasamayaṃ nivāsetvā pattacīvaraṃ ādāya Rājagahaṃ piṇḍāya pāvisi pāsādikena abhikkantena paṭikkantena ālokitena vilokitena sammiñjitena pasāritena okkhittacakkhu iriyāpathasampanno.  addasa kho Sāriputto paribbājako āyasmantaṃ Assajiṃ Rājagahe piṇḍāya carantaṃ pāsādikena abhikkantena paṭikkantena ālokitena vilokitena sammiñjitena pasāritena okkhittacakkhuṃ iriyāpathasampannaṃ, disvān’ assa etad ahosi:  ye vata loke arahanto vā arahattamaggaṃ vā samāpannā, ayaṃ tesaṃ bhikkhūnaṃ aññataro, yaṃ nūnā-(40)haṃ imaṃ bhikkhuṃ upasaṃkamitvā puccheyyaṃ: kaṃ ’si tvaṃ āvuso uddissa pabbajito, ko vā te satthā, kassa vā tvaṃ dhammaṃ rocesīti. |2| 
At that time Sâriputta and Moggallâna (two young Brâhmanas) led a religious life as followers of Sañgaya the paribbâgaka; these had given their word to each other: 'He who first attains to the immortal (amata, i.e. Nirvâna) shall tell the other one.'  Now one day the venerable Assagi in the forenoon, having put on his under-robes, and having taken his alms-bowl, and with his kîvara on, entered the city of Râgagaha for alms; his walking, turning back, regarding, looking, drawing (his arms) back, and stretching (them) out was decorous; he turned his eyes to the ground, and was dignified in deportment.  Now the paribbâgaka Sâriputta saw the venerable Assagi, who went through Râgagaha for alms, whose walking, &c., was docorous, who kept his eyes on the ground, and was dignified in deportment. Seeing him he thought: 
ขณะนั้นเป็นเวลาเช้า ท่านพระอัสสชินุ่งอันตรวาสกแล้ว ถือบาตรจีวร เข้าไปบิณฑบาตยังพระนครราชคฤห์ มีมรรยาทก้าวไป ถอยกลับ แลเหลียว คู้แขน เหยียดแขน น่าเลื่อมใส มีนัยน์ตาทอดลง ถึงพร้อมด้วยอิริยาบถ.  สารีบุตรปาริพาชกได้เห็นท่านพระอัสสชิกำลังเที่ยวบิณฑบาตในพระนครราชคฤห์ มีมรรยาทก้าวไป ถอยกลับ แลเหลียว คู้แขน เหยียดแขน น่าเลื่อมใส มีนัยน์ตาทอดลง ถึงพร้อมด้วยอิริยาบถ ครั้นแล้วได้มีความดำริว่า  บรรดาพระอรหันต์ หรือท่านผู้ได้บรรลุพระอรหัตมรรคในโลก ภิกษุรูปนี้คงเป็นผู้ใดผู้หนึ่งแน่ ถ้ากระไร เราพึงเข้าไปหาภิกษุรูปนี้ แล้วถามว่า ท่านบวชเฉพาะใคร ใครเป็นศาสดาของท่าน หรือท่านชอบใจธรรมของใคร? 
อถ โข ภควา เอตสฺมึ นิทาเน เอตสฺมึ ปกรเณ ธมฺมึ กถํ กตฺวา ภิกฺขู อามนฺเตสิ “อนุชานามิ ภิกฺขเว อาราม”นฺติ.  พิมฺพิสารสมาคมกถา นิฏฺฐิตา.  ๑๔. สาริปุตฺตโมคฺคลฺลานปพฺพชฺชากถา 
atha kho Sāriputtassa paribbājakassa etad ahosi: akālo kho imaṃ bhikkhuṃ pucchituṃ, antaragharaṃ paviṭṭho piṇḍāya carati.  yaṃ nūnāhaṃ imaṃ bhikkhuṃ piṭṭhito-piṭṭhito anubandheyyaṃ atthikehi upaññātaṃ maggan ti.  atha kho āyasmā Assaji Rājagahe piṇḍāya caritvā piṇḍapātaṃ ādāya paṭikkami.  atha kho Sāriputto paribbājako yenāyasmā Assaji ten’ upasaṃkami, upasaṃkamitvā āyasmatā Assajinā saddhiṃ sammodi, sammodanīyaṃ kathaṃ sāraṇīyaṃ vītisāretvā ekamantaṃ aṭṭhāsi, ekamantaṃ ṭhito kho Sāriputto paribbājako āyasmantaṃ Assajiṃ etad avoca:  vippasannāni kho te āvuso indriyāni, parisuddho chavivaṇṇo pariyodāto, kaṃ ’si tvaṃ āvuso uddissa pabbajito, ko vā te satthā, kassa vā tvaṃ dhammaṃ rocesīti. |3| 
'Indeed this person is one of those Bhikkhus who are the worthy ones (Arahats) in the world, or who have entered the path of Arahatship. What if I were to approach this Bhikkhu and to ask him: "In whose name, friend, have you retired from the world? Who is your teacher? Whose doctrine do you profess?"'  Now the paribbâgaka Sâriputta thought: 'This is not the time to ask this Bhikkhu; he has entered the interior yard of a house, walking for alms.  What if I were to follow this Bhikkhu step by step, according to the course recognised by those who want something.'  And the venerable Assagi, having finished his alms-pilgrimage through Râgagaha, went back with the food he had received.  Then the paribbâgaka Sâriputta went to the place where the venerable Assagi was; having approached him, he exchanged greeting with the venerable Assagi; having exchanged with him greeting and complaisant words, he stationed himself at his side; standing at his side the paribbâgaka Sâriputta said to the venerable Assagi: 
แล้วได้ดำริต่อไปว่า ยังเป็นกาลไม่สมควรจะถามภิกษุรูปนี้ เพราะท่านกำลังเข้าละแวกบ้านเที่ยวบิณฑบาต  ผิฉะนั้น เราพึงติดตามภิกษุรูปนี้ไปข้างหลังๆ เพราะเป็นทางอันผู้มุ่งประโยชน์ทั้งหลายจะต้องสนใจ.  ครั้งนั้น ท่านพระอัสสชิเที่ยวบิณฑบาตในพระนครราชคฤห์ ถือบิณฑบาตกลับไป.  จึงสารีบุตรปริพาชกเข้าไปหาท่านพระอัสสชิ ถึงแล้วได้พูดปราศรัยกับท่านพระอัสสชิ ครั้นผ่านการพูดปราศรัยพอให้เป็นที่บันเทิง เป็นที่ระลึกถึงกันไปแล้ว ได้ยืนอยู่ ณ ที่ควรส่วนหนึ่ง. สารีบุตรปริพาชกยืนอยู่ ณ ที่ควรส่วนข้างหนึ่งแล้ว ได้กล่าวคำนี้กะท่านพระอัสสชิว่า  อินทรีย์ของท่านผ่องใส ผิวพรรณของท่านบริสุทธิ์ผุดผ่อง ท่านบวชเฉพาะใคร ใครเป็นศาสดาของท่าน หรือท่านชอบใจธรรมของใคร ขอรับ? 
๖๐. เตน โข ปน สมเยน สญฺจโย ปริพฺพาชโก ราชคเห ปฏิวสติ มหติยา ปริพฺพาชกปริสาย สทฺธึ อฑฺฒเตยฺเยหิ ปริพฺพาชกสเตหิ.  เตน โข ปน สมเยน สาริปุตฺตโมคฺคลฺลานา สญฺจเย ปริพฺพาชเก พฺรหฺมจริยํ จรนฺติ. เตหิ กติกา กตา โหติ โย ปฐมํ อมตํ อธิคจฺฉติ โส อิตรสฺส อาโรเจตูติ.  อถ โข อายสฺมา อสฺสชิ ปุพฺพณฺหสมยํ นิวาเสตฺวา ปตฺตจีวรมาทาย ราชคหํ ปิณฺฑาย ปาวิสิ ปาสาทิเกน อภิกฺกนฺเตน ปฏิกฺกนฺเตน อาโลกิเตน วิโลกิเตน สมิญฺชิเตน ปสาริเตน โอกฺขิตฺตจกฺขุ อิริยาปถสมฺปนฺโน.  อทฺทสา โข สาริปุตฺโต ปริพฺพาชโก อายสฺมนฺตํ อสฺสชึ ราชคเห ปิณฺฑาย จรนฺตํ ปาสาทิเกน อภิกฺกนฺเตน ปฏิกฺกนฺเตน อาโลกิเตน วิโลกิเตน สมิญฺชิเตน ปสาริเตน โอกฺขิตฺตจกฺขุํ อิริยาปถสมฺปนฺนํ. ทิสฺวานสฺส เอตทโหสิ  “เย วต โลเก อรหนฺโต วา อรหตฺตมคฺคํ วา สมาปนฺนา อยํ เตสํ ภิกฺขุ อญฺญตโร. ยํนูนาหํ อิมํ ภิกฺขุํ อุปสงฺกมิตฺวา ปุจฺเฉยฺยํ ‘กํสิ ตฺวํ อาวุโส อุทฺทิสฺส ปพฺพชิโต โก วา เต สตฺถา กสฺส วา ตฺวํ ธมฺมํ โรเจสี”’ติ? 
atth’ āvuso mahāsamaṇo Sakyaputto Sakyakulā pabbajito, tāhaṃ bhagavantaṃ uddissa pabbajito, so ca me bhagavā satthā, tassa cāhaṃ bhagavato dhammaṃ rocemīti.  kiṃvādī panāyasmato satthā kimakkhāyīti.  ahaṃ kho āvuso navo acirapabbajito adhunāgato imaṃ dhammavinayaṃ, na t’ āhaṃ sakkomi vitthārena dhammaṃ desetuṃ, api ca te saṃkhittena atthaṃ vakkhāmīti.  atha kho Sāriputto paribbājako āyasmantaṃ Assajiṃ etad avoca: hotu āvuso, appaṃ vā bahuṃ vā bhāsassu, atthaṃ yeva me brūhi, atthen’ eva me attho, kiṃ kāhasi vyañjanaṃ bahun ti. |4| 
'Your countenance, friend, is serene; your complexion is pure and bright. In whose name, friend, have you retired from the world? Who is your teacher? Whose doctrine do you profess?'  (Assagi replied): 'There is, friend, the great Samana Sakyaputta, an ascetic of the Sakya tribe; in His, the Blessed One's, name have I retired from the world; He, the Blessed One, is my teacher; and His, the Blessed One's, doctrine do I profess.'  'And what is the doctrine, Sir, which your teacher holds, and preaches to you?'  'I am only a young disciple, friend; I have but recently received the ordination; and I have newly adopted this doctrine and discipline. I cannot explain to you the doctrine in detail; but I will tell you in short what it means.' 
อ. มีอยู่ ท่าน พระมหาสมณะศากยบุตร เสด็จออกทรงผนวชจากศากยตระกูล เราบวชเฉพาะพระผู้มีพระภาคพระองค์นั้น พระผู้มีพระภาคพระองค์นั้นเป็นศาสดาของเรา และเราชอบใจธรรมของพระผู้มีพระภาคพระองค์นั้น.  สา. ก็พระศาสดาของท่านสอนอย่างไร แนะนำอย่างไร?  อ. เราเป็นคนใหม่ บวชยังไม่นาน เพิ่งมาสู่พระธรรมวินัยนี้ ไม่อาจแสดงธรรมแก่ท่านได้กว้างขวาง แต่จักกล่าวใจความแก่ท่านโดยย่อ.  สา. น้อยหรือมาก นิมนต์กล่าวเถิด ท่านจงกล่าวแต่ใจความแก่ข้าพเจ้า ข้าพเจ้าต้องการใจความอย่างเดียว ท่านจักทำพยัญชนะให้มากทำไม. 
อถ โข สาริปุตฺตสฺส ปริพฺพาชกสฺส เอตทโหสิ “อกาโล โข อิมํ ภิกฺขุํ ปุจฺฉิตุํ อนฺตรฆรํ ปวิฏฺโฐ ปิณฺฑาย จรติ.  ยํนูนาหํ อิมํ ภิกฺขุํ ปิฏฺฐิโต ปิฏฺฐิโต อนุพนฺเธยฺยํ อตฺถิเกหิ อุปญฺญาตํ มคฺค”นฺติ.  อถ โข อายสฺมา อสฺสชิ ราชคเห ปิณฺฑาย จริตฺวา ปิณฺฑปาตํ อาทาย ปฏิกฺกมิ.  อถ โข สาริปุตฺโตปิ ปริพฺพาชโก เยนายสฺมา อสฺสชิ เตนุปสงฺกมิ อุปสงฺกมิตฺวา อายสฺมตา อสฺสชินา สทฺธึ สมฺโมทิ สมฺโมทนียํ กถํ สารณียํ วีติสาเรตฺวา เอกมนฺตํ อฏฺฐาสิ. เอกมนฺตํ ฐิโต โข สาริปุตฺโต ปริพฺพาชโก อายสฺมนฺตํ อสฺสชึ เอตทโวจ 
atha kho āyasmā Assaji Sāriputtassa paribbājakassa imaṃ dhammapariyāyaṃ abhāsi:  ye dhammā hetuppabhavā tesaṃ hetuṃ tathāgato āha tesañ ca yo nirodho evaṃvādī mahāsamaṇo ’ti.  atha kho Sāriputtassa paribbājakassa imaṃ dhammapariyāyaṃ sutvā virajaṃ vītamalaṃ dhammacakkhuṃ udapādi yaṃ kiñci samudayadhammaṃ sabbaṃ taṃ nirodhadhamman ti.  es’ eva dhammo yadi tāvad eva paccavyathā padam asokaṃ adiṭṭhaṃ {abbhatītaṃ} bahukehi kappanahutehīti. |5| 
Then the paribbâgaka Sâriputta said to the venerable Assagi: 'Well, friend, tell me much or little as you like, but be sure to tell me the spirit (of the doctrine); I want but the spirit; why do you make so much of the letter?'  Then the venerable Assagi pronounced to the paribbâgaka Sâriputta the following text of the Dhamma:  'Of all objects which proceed from a cause, the Tathâgata has explained the cause, and He has explained theîr cessation also; this is the doctrine of the 'great Samana.'  And the paribbâgaka 'Sâriputta after having heard this text obtained the pure and spotless Eye of the Truth (that is, the following knowledge): 'Whatsoever is subject to the condition of origination is subject also to the condition of cessation.' 
พระอัสสชิเถระแสดงธรรม [๖๕] ลำดับนั้น ท่านพระอัสสชิ ได้กล่าวธรรมปริยายนี้แก่สารีบุตรปริพาชก ว่าดังนี้:-  ธรรมเหล่าใดเกิดแต่เหตุ พระตถาคตทรงแสดงเหตุแห่งธรรมเหล่านั้น และความดับแห่งธรรมเหล่านั้น พระมหาสมณะมีปกติทรงสั่งสอนอย่างนี้.  สารีบุตรปริพาชกได้ดวงตาเห็นธรรม [๖๖] ครั้นได้ฟังธรรมปริยายนี้ ดวงตาเห็นธรรม ปราศจากธุลี ปราศจากมลทินว่า สิ่งใดสิ่งหนึ่งมีความเกิดขึ้นเป็นธรรมดา สิ่งนั้นทั้งมวลมีความดับไปเป็นธรรมดา ได้เกิดขึ้นแก่สารีบุตรปริพาชก  ธรรมนี้แหละถ้ามีก็เพียงนี้เท่านั้น ท่านทั้งหลายจงแทงตลอดบทอันหาความโศกมิได้ บทอันหาความโศกมิได้นี้ พวกเรายังไม่เห็น ล่วงเลยมาแล้วหลายหมื่นกัลป์. 
“วิปฺปสนฺนานิ โข เต อาวุโส อินฺทฺริยานิ ปริสุทฺโธ ฉวิวณฺโณ ปริโยทาโต. กํสิ ตฺวํ อาวุโส อุทฺทิสฺส ปพฺพชิโต โก วา เต สตฺถา กสฺส วา ตฺวํ ธมฺมํ โรเจสี”ติ?  “อตฺถาวุโส มหาสมโณ สกฺยปุตฺโต สกฺยกุลา ปพฺพชิโต ตาหํ ภควนฺตํ อุทฺทิสฺส ปพฺพชิโต โส จ เม ภควา สตฺถา ตสฺส จาหํ ภควโต ธมฺมํ โรเจมี”ติ.  “กึวาที ปนายสฺมโต สตฺถา กิมกฺขายี”ติ?  “อหํ โข อาวุโส นโว อจิรปพฺพชิโต อธุนาคโต อิมํ ธมฺมวินยํ น ตาหํ สกฺโกมิ วิตฺถาเรน ธมฺมํ เทเสตุํ อปิ จ เต สํขิตฺเตน อตฺถํ วกฺขามี”ติ. 
atha kho Sāriputto paribbājako yena Moggallāno paribbājako ten’ upasaṃkami.  addasa kho Moggallāno paribbājako Sāriputtaṃ paribbājakaṃ dūrato ’va āgacchantaṃ, disvāna Sāri-(41)puttaṃ paribbājakaṃ etad avoca: vippasannāni kho te āvuso indriyāni, parisuddho chavivaṇṇo pariyodāto, kacci nu tvaṃ āvuso amataṃ adhigato ’ti.  āmāvuso amataṃ adhigato ’ti.  yathā kathaṃ pana tvaṃ āvuso amataṃ adhigato ’ti. |6| 
(And he said): 'If this alone be the Doctrine (the Dhamma), now you have reached up to the state where all sorrow ceases (i.e. Nirvâna), (the state) which has remained unseen through many myriads of Kappas (world-ages) of the past.'  Then the paribbâgaka Sâriputta went to the place where the paribbâgaka Moggallâna was.  And the paribbâgaka Moggallâna saw the paribbâgaka Sâriputta coming from afar; seeing him he said to the paribbâgaka Sâriputta: 'Your countenance, friend, is serene; your complexion is pure and bright. Have you then really reached the immortal, friend?'  'Yes, friend, I have attained to the immortal.' 
สารีบุตรปริพาชกเปลื้องคำปฏิญญา [๖๗] เวลาต่อมา สารีบุตรปริพาชกเข้าไปหาโมคคัลลานปริพาชก.  โมคคัลลานปริพาชกได้เห็นสารีบุตรปริพาชกเดินมาแต่ไกล ครั้นแล้วได้ถามสารีบุตรปริพาชกว่า ผู้มีอายุ อินทรีย์ของท่านผ่องใส ผิวพรรณของท่านบริสุทธิ์ผุดผ่อง ท่านได้บรรลุอมตธรรมแล้วกระมังหนอ?  สา. ถูกละ ผู้มีอายุ เราได้บรรลุอมตธรรมแล้ว.  โมค. ท่านบรรลุอมตธรรมได้อย่างไร ด้วยวิธีไร? 
อถ โข สาริปุตฺโต ปริพฺพาชโก อายสฺมนฺตํ อสฺสชึ เอตทโวจ “โหตุ อาวุโส “อปฺปํ วา พหุํ วา ภาสสฺสุ อตฺถํเยว เม พฺรูหิ. อตฺเถเนว เม อตฺโถ กึ กาหสิ พฺยญฺชนํ พหุ”นฺติฯ  อถ โข อายสฺมา อสฺสชิ สาริปุตฺตสฺส ปริพฺพาชกสฺส อิมํ ธมฺมปริยายํ อภาสิ  “เย ธมฺมา เหตุปฺปภวา เตสํ เหตุํ ตถาคโต อาห. เตสญฺจ โย นิโรโธ เอวํวาที มหาสมโณ”ติฯ  อถ โข สาริปุตฺตสฺส ปริพฺพาชกสฺส อิมํ ธมฺมปริยายํ สุตฺวา วิรชํ วีตมลํ ธมฺมจกฺขุํ อุทปาทิ “ยํ กิญฺจิ สมุทยธมฺมํ สพฺพํ ตํ นิโรธธมฺม”นฺติ. 
idhāhaṃ āvuso addasaṃ Assajiṃ bhikkhuṃ Rājagahe piṇḍāya carantaṃ pāsādikena abhikkantena paṭikkantena ālokitena vilokitena sammiñjitena pasāritena okkhittacakkhuṃ iriyāpathasampannaṃ, disvāna me etad ahosi:  ye vata loke arahanto vā arahattamaggaṃ vā samāpannā, ayaṃ tesaṃ bhikkhūnaṃ aññataro, yaṃ nūnāhaṃ imaṃ bhikkhuṃ upasaṃkamitvā puccheyyaṃ:  kaṃ ’si tvaṃ āvuso uddissa pabbajito, ko vā te satthā, kassa vā tvaṃ dhammaṃ rocesīti. |7| 
'And how, friend, have you done so?'  'I saw, friend, the Bhikkhu Assagi who went through Râgagaha for alms (&c.1, down to:);   
สา. ผู้มีอายุ วันนี้เราได้เห็นพระอัสสชิกำลังเที่ยวบิณฑบาตในพระนครราชคฤห์ มีมรรยาทก้าวไป ถอยกลับ แลเหลียว เหยียดแขน คู้แขน น่าเลื่อมใส มีนัยน์ตาทอดลง ถึงพร้อมด้วยอิริยาบถ ครั้นแล้วเราได้มีความดำริว่า  บรรดาพระอรหันต์หรือท่านผู้ได้บรรลุอรหัตมรรคในโลก ภิกษุรูปนี้คงเป็นผู้ใดผู้หนึ่งแน่ ถ้ากระไร เราพึงเข้าไปหาภิกษุรูปนี้ แล้วถามว่า  ท่านบวชเฉพาะใคร ใครเป็นศาสดาของท่าน หรือท่านชอบใจธรรมของใคร 
เอเสว ธมฺโม ยทิ ตาวเทว ปจฺจพฺยตฺถ ปทมโสกํ. อทิฏฺฐํ อพฺภตีตํ พหุเกหิ กปฺปนหุเตหีติฯ  ๖๑. อถ โข สาริปุตฺโต ปริพฺพาชโก เยน โมคฺคลฺลาโน ปริพฺพาชโก เตนุปสงฺกมิ.  อทฺทสา โข โมคฺคลฺลาโน ปริพฺพาชโก สาริปุตฺตํ ปริพฺพาชกํ ทูรโตว อาคจฺฉนฺตํ ทิสฺวาน สาริปุตฺตํ ปริพฺพาชกํ เอตทโวจ “วิปฺปสนฺนานิ โข เต อาวุโส อินฺทฺริยานิ ปริสุทฺโธ ฉวิวณฺโณ ปริโยทาโต. กจฺจิ นุ ตฺวํ อาวุโส อมตํ อธิคโต”ติ? 
tassa mayhaṃ āvuso etad ahosi: akālo kho imaṃ bhikkhuṃ pucchituṃ, antaragharaṃ paviṭṭho piṇḍāya carati.  yaṃ nūnāhaṃ imaṃ bhikkhuṃ piṭṭhito-piṭṭhito anubandheyyaṃ atthikehi upaññātaṃ maggan ti. atha kho āvuso Assaji {bhikkhu} Rājagahe piṇḍāya caritvā piṇḍapātaṃ ādāya paṭikkami.  atha khv’ āhaṃ avuso yena Assaji bhikkhu ten’ upasaṃkamiṃ, upasaṃkamitvā Assajinā bhikkhunā saddhiṃ sammodiṃ, sammodanīyaṃ kathaṃ sāraṇīyaṃ vītisāretvā ekamantaṃ aṭṭhāsiṃ, ekamantaṃ ṭhito kho ahaṃ āvuso Assajiṃ bhikkhuṃ etad avocaṃ:  vippasannāni kho te āvuso indriyāni, parisuddho chavivaṇṇo pariyodāto, kaṃ ’si tvaṃ āvuso uddissa pabbajito, ko vā te satthā, kassa vā tvaṃ dhammaṃ rocesīti. |8| 
       
เรานั้นได้ยั้งคิดว่า ยังเป็นกาลไม่สมควรจะถามภิกษุรูปนี้ เพราะท่านยังกำลังเข้าละแวกบ้านเที่ยวบิณฑบาต  ผิฉะนั้น เราพึงติดตามภิกษุรูปนี้ไปข้างหลังๆ เพราะเป็นทางอันผู้มุ่งประโยชน์ทั้งหลายจะต้องสนใจ ลำดับนั้น พระอัสสชิเที่ยวบิณฑบาตในพระนครราชคฤห์ ถือบิณฑบาตกลับไปแล้ว  ต่อมา เราได้เข้าไปหาพระอัสสชิ ครั้นถึงแล้ว ได้พูดปราศรัยกับพระอัสสชิ ครั้นผ่านการพูดปราศรัยพอให้เป็นที่บันเทิง เป็นที่ระลึกถึงกันไปแล้ว ได้ยืนอยู่ ณ ที่ควรส่วนข้างหนึ่ง เรายืนอยู่ ณ ที่ควรส่วนข้างหนึ่งแล้ว ได้กล่าวคำนี้ต่อพระอัสสชิว่า  อินทรีย์ของท่านผ่องใส ผิวพรรณของท่านบริสุทธิ์ผุดผ่อง ท่านบวชเฉพาะใคร ใครเป็นศาสดาของท่าน หรือท่านชอบใจธรรมของใคร ขอรับ? 
“อามาวุโส อมตํ อธิคโต”ติ.  “ยถากถํ ปน ตฺวํ อาวุโส อมตํ อธิคโต”ติ?  “อิธาหํ อาวุโส อทฺทสํ อสฺสชึ ภิกฺขุํ ราชคเห ปิณฺฑาย จรนฺตํ ปาสาทิเกน อภิกฺกนฺเตน ปฏิกฺกนฺเตน อาโลกิเตน วิโลกิเตน สมิญฺชิเตน ปสาริเตน โอกฺขิตฺตจกฺขุํ อิริยาปถสมฺปนฺนํ. ทิสฺวาน เม เอตทโหสิ ‘  เย วต โลเก อรหนฺโต วา อรหตฺตมคฺคํ วา สมาปนฺนา อยํ เตสํ ภิกฺขุ อญฺญตโร. ยํนูนาหํ อิมํ ภิกฺขุํ อุปสงฺกมิตฺวา ปุจฺเฉยฺยํ 
atth’ āvuso mahāsamaṇo Sakyaputto Sakyakulā pabbajito, tāhaṃ bhagavantaṃ uddissa pabbajito, so ca me bhagavā satthā, tassa cāhaṃ bhagavato dhammaṃ rocemīti.  kiṃvādī panāyasmato satthā kimakkhāyīti.  ahaṃ kho āvuso navo acirapabbajito adhunāgato imaṃ dhammavinayaṃ, na t’ āhaṃ sakkomi vitthārena dhammaṃ desetuṃ, api ca te saṃkhittena atthaṃ vakkhāmīti.  appaṃ vā bahuṃ vā bhāsassu, atthaṃ yeva me brūhi, atthen’ eva me attho, kiṃ kāhasi vyañjanaṃ bahun ti. |9| 
      "But I will tell you in short what it means." 
พระอัสสชิตอบว่า มีอยู่ ท่าน พระมหาสมณะศากยบุตรเสด็จออกทรงผนวชจากศากยตระกูล เราบวชเฉพาะพระผู้มีพระภาคพระองค์นั้น พระผู้มีพระภาคพระองค์นั้นเป็นศาสดาของเรา และเราชอบใจธรรมของพระผู้มีพระภาคพระองค์นั้น  เราได้ถามพระอัสสชิต่อไปว่า ก็พระศาสดาของท่านสอนอย่างไร แนะนำอย่างไร?  พระอัสสชิตอบว่า เราเป็นคนใหม่ บวชยังไม่นาน เพิ่งมาสู่พระธรรมวินัยนี้ ไม่อาจแสดงธรรมแก่ท่านได้กว้างขวาง แต่จักกล่าวใจความแก่ท่านโดยย่อ  เราได้เรียนว่า น้อยหรือมาก นิมนต์กล่าวเถิด ท่านจงกล่าวแต่ใจความแก่ข้าพเจ้า ข้าพเจ้าต้องการใจความอย่างเดียว ท่านจักทำพยัญชนะให้มากทำไม. 
กํสิ ตฺวํ อาวุโส อุทฺทิสฺส ปพฺพชิโต โก วา เต สตฺถา กสฺส วา ตฺวํ ธมฺมํ โรเจสี”’ติ.  ตสฺส มยฺหํ อาวุโส เอตทโหสิ “อกาโล โข อิมํ ภิกฺขุํ ปุจฺฉิตุํ อนฺตรฆรํ ปวิฏฺโฐ ปิณฺฑาย จรติ  ยํนูนาหํ อิมํ ภิกฺขุํ ปิฏฺฐิโต ปิฏฺฐิโต อนุพนฺเธยฺยํ อตฺถิเกหิ อุปญฺญาตํ มคฺค”นฺติ. อถ โข อาวุโส อสฺสชิ ภิกฺขุ ราชคเห ปิณฺฑาย จริตฺวา ปิณฺฑปาตํ อาทาย ปฏิกฺกมิ.  อถ ขฺวาหํ อาวุโส เยน อสฺสชิ ภิกฺขุ เตนุปสงฺกมึ อุปสงฺกมิตฺวา อสฺสชินา ภิกฺขุนา สทฺธึ สมฺโมทึ สมฺโมทนียํ กถํ สารณียํ วีติสาเรตฺวา เอกมนฺตํ อฏฺฐาสึ. เอกมนฺตํ ฐิโต โข อหํ อาวุโส อสฺสชึ ภิกฺขุํ เอตทโวจํ 
atha kho āvuso Assaji bhikkhu imaṃ dhammapariyāyaṃ abhāsi:  ye dhammā hetuppabhavā tesaṃ hetuṃ tathāgato āha tesañ ca yo nirodho evaṃvādī mahāsamaṇo ’ti.  atha kho Moggallānassa paribbājakassa imaṃ dhammapari-(42)yāyaṃ sutvā virajaṃ vītamalaṃ dhammacakkhuṃ udapādi yaṃ kiñci samudayadhammaṃ sabbaṃ taṃ nirodhadhamman ti.  es’ eva dhammo yadi tāvad eva paccavyathā padam asokaṃ adiṭṭhaṃ {abbhatītaṃ} bahukehi kappanahutehīti. |10| 
'"Tell me much or little as you like, but be sure to tell me the spirit (of the doctrine); I want but the spirit; why do you make so much of the letter?"  'Then, friend, the Bhikkhu Assagi pronounced the following Dhamma sentence:  "Of all objects which proceed from a cause, the Tathâgata has explained the cause, and He has explained their cessation also; this is the doctrine of the great Samana."'  And the paribbâgaka Moggallâna, after having heard (&c., as in § 5, down to the end). 
[๖๘] ผู้มีอายุ ครั้งนั้น พระอัสสชิได้กล่าวธรรมปริยายนี้ ว่าดังนี้:-  ธรรมเหล่าใดเกิดแต่เหตุ พระตถาคตทรงแสดงเหตุแห่งธรรมเหล่านั้น และความดับแห่งธรรมเหล่านั้น พระมหาสมณะมีปกติทรงสั่งสอนอย่างนี้.  โมคคัลลานปริพาชกได้ดวงตาเห็นธรรม [๖๙] ครั้นได้ฟังธรรมปริยายนี้ ดวงตาเห็นธรรม ปราศจากธุลี ปราศจากมลทินว่า สิ่งใดสิ่งหนึ่งมีความเกิดขึ้นเป็นธรรมดา สิ่งนั้นทั้งมวลมีความดับไปเป็นธรรมดา ได้เกิดขึ้นแก่โมคคัลลานปริพาชก  ธรรมนี้แหละถ้ามีก็เพียงนี้เท่านั้น ท่านทั้งหลายจงแทงตลอดบทอันหาความโศกมิได้ บทอันหาความโศกมิได้นี้ พวกเรายังไม่เห็น ล่วงเลยมาแล้วหลายหมื่นกัลป์. 
“วิปฺปสนฺนานิ โข เต อาวุโส อินฺทฺริยานิ ปริสุทฺโธ ฉวิวณฺโณ ปริโยทาโต. ‘กํสิ ตฺวํ อาวุโส อุทฺทิสฺส ปพฺพชิโต โก วา เต สตฺถา กสฺส วา ตฺวํ ธมฺมํ โรเจสี”’ติ?  ‘อตฺถาวุโส มหาสมโณ สกฺยปุตฺโต สกฺยกุลา ปพฺพชิโต ตาหํ ภควนฺตํ อุทฺทิสฺส ปพฺพชิโต โส จ เม ภควา สตฺถา ตสฺส จาหํ ภควโต ธมฺมํ โรเจมี’ติ.  ‘กึวาที ปนายสฺมโต สตฺถา กิมกฺขายี’ติ  ‘อหํ โข อาวุโส นโว อจิรปพฺพชิโต อธุนาคโต อิมํ ธมฺมวินยํ น ตาหํ สกฺโกมิ วิตฺถาเรน ธมฺมํ เทเสตุํ อปิ จ เต สํขิตฺเตน อตฺถํ วกฺขามี”’ติ อถ ขฺวาหํ อาวุโส อสฺสชึ ภิกฺขุํ เอตทโวจํ “โหตุ อาวุโส 
||23|| 
 
อปฺปํ วา พหุํ วา ภาสสฺสุ อตฺถํเยว เม พฺรูหิ. อตฺเถเนว เม อตฺโถ กึ กาหสิ พฺยญฺชนํ พหุ”นฺติฯ 
atha kho Moggallāno paribbājako Sāriputtaṃ paribbājakaṃ etad avoca: gacchāma mayaṃ āvuso bhagavato santike, so no bhagavā satthā ’ti.  imāni kho āvuso aḍḍhateyyāni paribbājakasatāni amhe nissāya amhe sampassantā idha viharanti, te pi tāva apalokāma, yathā te maññissanti, tathā karissantīti.  atha kho Sāriputtamoggallānā yena te paribbājakā ten’ upasaṃkamiṃsu, upasaṃkamitvā te paribbājake etad avocuṃ: gacchāma mayaṃ āvuso bhagavato santike, so no bhagavā satthā ’ti.  mayaṃ āyasmante nissāya āyasmante sampassantā idha viharāma, sace āyasmantā mahāsamaṇe brahmacariyaṃ carissanti, sabbeva mayaṃ mahāsamaṇe brahmacariyaṃ carissāmā ’ti. |1| 
Then the paribbâgaka Moggallâna said to the paribbâgaka Sâriputta: 'Let us go, friend, and join the Blessed One; that He, the Blessed One, may be our teacher.'  (Sâriputta replied): 'It is on our account, friend; that these two hundred and fifty paribbâgakas live here (as followers of Sañgaya), and it is we whom they regard; let us first inform them also of our intention; then they may do what they think fit.'  Then Sâriputta and Moggallâna went to the place where those paribbâgakas were; having approached them, they said to the paribbâgakas: 'Friends, we are going to join the Blessed One; that He, the Blessed One, may be our teacher.' 
สองสหายอำลาอาจารย์ [๗๐] ครั้งนั้น โมคคัลลานปริพาชกได้กล่าวชักชวนสารีบุตรปริพาชกว่า ผู้มีอายุ เราพากันไปสำนักพระผู้มีพระภาคเถิด เพราะพระผู้มีพระภาคนั้นเป็นพระศาสดาของเรา.  สารีบุตรปริพาชกกล่าวว่า ผู้มีอายุ ปริพาชก ๒๕๐ คนนี้อาศัยเรา เห็นแก่เรา จึงอยู่ในสำนักนี้ เราจงบอกกล่าวพวกนั้นก่อน พวกนั้นจักทำตามที่เข้าใจ.  ลำดับนั้น สารีบุตรโมคคัลลานะพากันเข้าไปหาปริพาชกเหล่านั้น ครั้นถึงแล้วได้กล่าวคำนี้ต่อพวกปริพาชกนั้นว่า ท่านทั้งหลาย เราจะไปในสำนักพระผู้มีพระภาค เพราะพระผู้มีพระภาคนั้นเป็นพระศาสดาของเรา.  พวกปริพาชกตอบว่า พวกข้าพเจ้าอาศัยท่าน เห็นแก่ท่านจึงอยู่ในสำนักนี้ ถ้าท่านจักประพฤติพรหมจรรย์ในพระมหาสมณะ พวกข้าพเจ้าทั้งหมด ก็จักประพฤติพรหมจรรย์ในพระมหาสมณะด้วย. 
อถ โข อาวุโส อสฺสชิ ภิกฺขุ อิมํ ธมฺมปริยายํ อภาสิ  “เย ธมฺมา เหตุปฺปภวา เตสํ เหตุํ ตถาคโต อาห. เตสญฺจ โย นิโรโธ เอวํวาที มหาสมโณ”ติฯ  อถ โข โมคฺคลฺลานสฺส ปริพฺพาชกสฺส อิมํ ธมฺมปริยายํ สุตฺวา วิรชํ วีตมลํ ธมฺมจกฺขุํ อุทปาทิ ยํ กิญฺจิ สมุทยธมฺมํ สพฺพํ ตํ นิโรธธมฺมนฺติ.  เอเสว ธมฺโม ยทิ ตาวเทว ปจฺจพฺยตฺถ ปทมโสกํ. อทิฏฺฐํ อพฺภตีตํ พหุเกหิ กปฺปนหุเตหีติฯ 
atha kho Sāriputtamoggallānā yena Sañjayo paribbājako ten’ upasaṃkamiṃsu, upasaṃkamitvā Sañjayaṃ paribbājakaṃ etad avocuṃ:  gacchāma mayaṃ āvuso bhagavato santike, so no bhagavā satthā ’ti.  alaṃ āvuso mā agamittha, sabbeva tayo imaṃ gaṇaṃ pariharissāmā ’ti.  dutiyam pi kho --la-- tatiyam pi kho Sāriputtamoggallānā Sañjayaṃ paribbājakaṃ etad avocuṃ: gacchāma mayaṃ āvuso bhagavato santike, so no bhagavā satthā ’ti.  alaṃ avuso mā agamittha, sabbeva tayo imaṃ gaṇaṃ pariharissāmā ’ti. |2| 
(The paribbâgakas replied): 'It is on your account, Sirs, that we live here, and it is you whom we regard; if you, Sirs, are about to place yourselves under the spiritual direction of the great Samana, we all will place ourselves also under the spiritual direction of the great Samana.'  Then Sâriputta and Moggallâna went to the place where the paribbâgaka Sañgaya was; having approached him, they said to the paribbâgaka Sañgaya:  'Friend, we are going to join the Blessed One; that He, the Blessed One, may be our teacher.'  (Sañgaya replied): 'Nay, friends, do not go; let us all three share in the leadership of this body (of disciples).'  And a second time Sâriputta and Moggallâna said, &c. And a third time Sâriputta and Moggallâna said, &c. (And a third time he replied): 
ต่อมา สารีบุตรโมคคัลลานะได้พากันเข้าไปหาท่านสญชัยปริพาชก ครั้นถึงแล้วได้เรียนว่า  ท่านขอรับ พวกกระผมจะไปในสำนักพระผู้มีพระภาค เพราะพระผู้มีพระภาคนั้นเป็นพระศาสดาของพวกกระผม  สญชัยปริพาชกพูดห้ามว่า อย่าเลย ท่านทั้งหลาย อย่าไปเลย เราทั้งหมด ๓ คน จักช่วยกันบริหารคณะนี้.  แม้ครั้งที่ ๒ ... แม้ครั้งที่สาม สารีบุตรโมคคัลลานะได้กล่าวคำนี้ต่อสญชัยปริพาชกว่า ท่านขอรับ พวกกระผมจะไปในสำนักพระผู้มีพระภาค เพราะพระผู้มีพระภาคนั้นเป็นพระศาสดาของพวกกระผม.  สญชัยปริพาชกพูดห้ามว่า อย่าเลย ท่านทั้งหลาย อย่าไปเลย เราทั้งหมด ๓ คน จักช่วยกันบริหารคณะนี้. 
    ๖๒. อถ โข โมคฺคลฺลาโน ปริพฺพาชโก สาริปุตฺตํ ปริพฺพาชกํ เอตทโวจ “คจฺฉาม มยํ อาวุโส ภควโต สนฺติเก โส โน ภควา สตฺถา”ติ.  “อิมานิ โข อาวุโส อฑฺฒเตยฺยานิ ปริพฺพาชกสตานิ อมฺเห นิสฺสาย อมฺเห สมฺปสฺสนฺตา อิธ วิหรนฺติ เตปิ ตาว อปโลเกม . ยถา เต มญฺญิสฺสนฺติ ตถา เต กริสฺสนฺตี”ติ.  อถ โข สาริปุตฺตโมคฺคลฺลานา เยน เต ปริพฺพาชกา เตนุปสงฺกมึสุ อุปสงฺกมิตฺวา เต ปริพฺพาชเก เอตทโวจุํ “คจฺฉาม มยํ อาวุโส ภควโต สนฺติเก โส โน ภควา สตฺถา”ติ. 
atha kho Sāriputtamoggallānā tāni aḍḍhateyyāni paribbājakasatāni ādāya yena Veḷuvanaṃ ten’ upasaṃkamiṃsu, Sañjayassa pana paribbājakassa tatth’ eva uṇhaṃ lohitaṃ mukhato uggacchi.  addasa kho bhagavā te Sāriputtamoggallāne dūrato ’va āgacchante, disvāna bhikkhū āmantesi:  ete bhikkhave dve sahāyakā āgacchanti Kolito Upatisso ca, etaṃ me sāvakayugaṃ bhavissati aggaṃ bhaddayugan ti.  gambhīre ñāṇavisaye anuttare upadhisaṃkhaye vimutte anuppatte Veḷuvanaṃ atha ne satthā vyākāsi:  ete dve sahāyakā āgacchanti Kolito Upatisso ca, etaṃ me sāvakayugaṃ bhavissati aggaṃ bhaddayugan ti. |3| 
'Nay, friends, do not go; let us all three share in the leadership of this body (of disciples).'  But Sâriputta and Moggallâna took with them those two hundred and fifty paribbâgakas and went to the Veluvana. But the paribbâgaka Sañgaya began, on the spot, to vomit hot blood from his mouth.  And the Blessed One saw them, Sâriputta and Moggallâna, coming from afar; on seeing them he thus addressed the Bhikkhus:  'There, O Bhikkhus, two companions arrive, Kolita and U patissa; these will be a pair of (true) pupils, a most distinguished, auspicious pair.  When (Sâriputta and Moggallâna), who had reached emancipation in the perfect destruction of the substrata (of existence), which is a profound subject accessible only to knowledge, came to the Veluvana, the Teacher, who saw them, foretold about them: 
ครั้งนั้น สารีบุตรโมคคัลลานะพาปริพาชก ๒๕๐ คนนั้น มุ่งไปทางที่จะไปพระวิหารเวฬุวัน. ก็โลหิตร้อนได้พุ่งออกจากปากสญชัยปริพาชกในที่นั้นเอง.  ทรงพยากรณ์พระอัครสาวก [๗๑] พระผู้มีพระภาคได้ทอดพระเนตรเห็นสารีบุตรโมคคัลลานะมาแต่ไกลเทียว ครั้นแล้วรับสั่งกะภิกษุทั้งหลายว่า  ดูกรภิกษุทั้งหลาย สหายสองคนนั้น คือโกลิตะ และอุปติสสะกำลังมานั่น จักเป็นคู่สาวกของเรา จักเป็นคู่อันเจริญชั้นเยี่ยมของเรา  ก็สหายสองคนนั้นพ้นวิเศษแล้ว ในธรรมอันเป็นที่สิ้นอุปธิ อันยอดเยี่ยม มีญาณวิสัยอันลึกซึ้งยังมาไม่ทันถึงพระวิหารเวฬุวัน พระศาสดาทรงพยากรณ์ ว่าดังนี้  สหายสองคนนี้คือ โกลิตะและอุปติสสะกำลังมานั่น จักเป็นคู่สาวกของเรา จักเป็นคู่อันเจริญชั้นเยี่ยมของเรา. 
“มยํ อายสฺมนฺเต นิสฺสาย อายสฺมนฺเต สมฺปสฺสนฺตา อิธ วิหราม สเจ อายสฺมนฺตา มหาสมเณ พฺรหฺมจริยํ จริสฺสนฺติ สพฺเพว มยํ มหาสมเณ พฺรหฺมจริยํ จริสฺสามา”ติ.  อถ โข สาริปุตฺตโมคฺคลฺลานา เยน สญฺจโย ปริพฺพาชโก เตนุปสงฺกมึสุ อุปสงฺกมิตฺวา สญฺจยํ ปริพฺพาชกํ เอตทโวจุํ  “คจฺฉาม มยํ อาวุโส ภควโต สนฺติเก โส โน ภควา สตฺถา”ติ.  “อลํ อาวุโส มา อคมิตฺถ สพฺเพว ตโย อิมํ คณํ ปริหริสฺสามา”ติ.  ทุติยมฺปิ โขฯเปฯ ตติยมฺปิ โข สาริปุตฺตโมคฺคลฺลานา สญฺจยํ ปริพฺพาชกํ เอตทโวจุํ “คจฺฉาม มยํ อาวุโส ภควโต สนฺติเก โส โน ภควา สตฺถา”ติ. 
atha kho Sāriputtamoggallānā yena bhagavā (43) ten’ upasaṃkamiṃsu, upasaṃkamitvā bhagavato pādesu sirasā nipatitvā bhagavantaṃ etad avocuṃ: labheyyāma mayaṃ bhante bhagavato santike pabbajjaṃ, labheyyāma upasampadan ti. etha bhikkhavo ’ti bhagavā avoca, svākkhāto dhammo, caratha brahmacariyaṃ sammā dukkhassa antakiriyāyā ’ti.  sā ’va tesaṃ āyasmantānaṃ upasampadā ahosi. |4| 
'These two companions who are now coming--Kolita and Upatissa--these will be a pair of (true) pupils, a most distinguished, auspicious pair.'  Then Sâriputta and Moggallâna went to the place where the Blessed One was; having approached him, they prostrated thernselves, inclining their heads to the feet of the Blessed One, and said to the Blessed One: 'Lord, let us receive the pabbaggâ and upasampadâ ordinations from the Blessed One.' 'Come, O Bhikkhus,' said the Blessed One, 'well taught is the doctrine; lead a holy life for the sake of the complete extinction of suffering.' 
เข้าเฝ้าทูลขอบรรพชาอุปสมบท [๗๒] ครั้งนั้น สารีบุตรโมคคัลลานะได้พากันเข้าไปเฝ้าพระผู้มีพระภาค ครั้นถึงแล้ว ได้ซบเศียรลงที่พระบาทของพระผู้มีพระภาค แล้วทูลขอบรรพชาอุปสมบทต่อพระผู้มีพระภาคว่า ขอพวกข้าพระพุทธเจ้า พึงได้บรรพชา พึงได้อุปสมบทในสำนักพระผู้มีพระภาค พระพุทธเจ้าข้า. พระผู้มีพระภาคตรัสว่า พวกเธอจงเป็นภิกษุมาเถิด ดังนี้ แล้วได้ตรัสต่อไปว่า ธรรมอันเรากล่าวดีแล้ว พวกเธอจงประพฤติพรหมจรรย์เพื่อทำที่สุดทุกข์โดยชอบเถิด.  พระวาจานั้นแล ได้เป็นอุปสมบทของท่านผู้มีอายุเหล่านั้น. 
“อลํ อาวุโส มา อคมิตฺถ สพฺเพว ตโย อิมํ คณํ ปริหริสฺสามา”ติ.  อถ โข สาริปุตฺตโมคฺคลฺลานา ตานิ อฑฺฒเตยฺยานิ ปริพฺพาชกสตานิ อาทาย เยน เวฬุวนํ เตนุปสงฺกมึสุ. สญฺจยสฺส ปน ปริพฺพาชกสฺส ตตฺเถว อุณฺหํ โลหิตํ มุขโต อุคฺคญฺฉิ. 
tena kho pana samayena abhiññātā-abhiññātā Māgadhikā kulaputtā bhagavati brahmacariyaṃ caranti.  manussā ujjhāyanti khīyanti vipācenti: aputtakatāya paṭipanno samaṇo Gotamo, vedhavyāya paṭipanno samaṇo Gotamo, kulupacchedāya paṭipanno samaṇo Gotamo.  idāni anena jaṭilasahassaṃ pabbājitaṃ, imāni ca aḍḍhateyyāni paribbājakasatāni Sañjayāni pabbājitāni, ime ca abhiññātā-abhiññātā Māgadhikā kulaputtā samaṇe Gotame brahmacariyaṃ carantīti.  api ’ssu bhikkhū disvā imāya gāthāya codenti: āgato kho mahāsamaṇo Magadhānaṃ Giribbajaṃ sabbe Sañjaye netvāna, kaṃ su dāni nayissatīti. |5| 
Thus these venerable persons received the upasampadâ ordination.  At that time many distinguished young Magadha noblemen led a religious life under the direction of the Blessed One.  The people were annoyed, murmured, and became angry (saying),  'The Samana Gotama causes fathers to beget no sons; the Samana Gotama causes wives to become widows; the Samana Gotama causes families to become extinct. Now he has ordained one thousand Gatilas, and he has ordained these two hundred and fifty paribbâgakas who were followers of Sañgaya; and these many distingtiished young Magadha noblemen are now leading a religious life under the direction of the Samana Gotama.' 
เสียงติเตียน [๗๓] ก็โดยสมัยนั้นแล พวกกุลบุตรชาวมคธที่มีชื่อเสียงๆ พากันประพฤติพรหมจรรย์ในพระผู้มีพระภาค.  ประชาชนพากันเพ่งโทษ ติเตียน โพนทะนาว่า พระสมณะโคดมปฏิบัติเพื่อให้ชายไม่มีบุตร พระสมณโคดมปฏิบัติเพื่อให้หญิงเป็นหม้าย พระสมณโคดมปฏิบัติเพื่อตัดสกุล  บัดนี้ พระสมณโคดมให้ชฎิลพันรูปบวชแล้ว และให้ปริพาชกศิษย์ของท่านสญชัย ๒๕๐ คนนี้บวชแล้ว และกุลบุตรชาวมคธที่มีชื่อเสียงๆ พากันประพฤติพรหมจรรย์ในพระสมณโคดม.  อนึ่ง ประชาชนได้เห็นภิกษุทั้งหลายแล้วได้โจทย์ด้วยคาถานี้ ว่าดังนี้:- พระมหาสมณะเสด็จมาสู่พระนครคอกเขาของชาวมคธแล้ว ได้ทรงนำปริพาชกพวกสญชัยทั้งปวงไปแล้ว บัดนี้ จักทรงนำใครไปอีกเล่า. 
อทฺทสา โข ภควา สาริปุตฺตโมคฺคลฺลาเน ทูรโตว อาคจฺฉนฺเต ทิสฺวาน ภิกฺขู อามนฺเตสิ  “เอเต ภิกฺขเว ทฺเว สหายกา อาคจฺฉนฺติ โกลิโต อุปติสฺโส จ. เอตํ เม สาวกยุคํ ภวิสฺสติ อคฺคํ ภทฺทยุค”นฺติ.  คมฺภีเร ญาณวิสเย อนุตฺตเร อุปธิสงฺขเย. วิมุตฺเต อปฺปตฺเต เวฬุวนํ อถ เน สตฺถา พฺยากาสิฯ  เอเต ทฺเว สหายกา อาคจฺฉนฺติ โกลิโต อุปติสฺโส จ. เอตํ เม สาวกยุคํ ภวิสฺสติ อคฺคํ ภทฺทยุคนฺติฯ 
assosuṃ kho bhikkhū tesaṃ manussānaṃ ujjhāyantānaṃ khīyantānaṃ vipācentānaṃ.  atha kho te bhikkhū bhagavato etam atthaṃ ārocesuṃ. na bhikkhave so saddo ciraṃ bhavissati, sattāham eva bhavissati, sattāhassa accayena antaradhāyissati. tena hi bhikkhave ye tumhe imāya gāthāya codenti:  āgato kho mahāsamaṇo Magadhānaṃ Giribbajaṃ sabbe Sañjaye netvāna, kaṃ su dāni nayissatīti,  te tumhe imāya gāthāya paṭicodetha: nayanti ve mahāvīrā saddhammena tathāgatā, dhammena nayamānānaṃ kā usuyyā vijānatan ti. |6| 
And moreover, when they saw the Bhikkhus, they reviled them in the following stanza: 'The great Samana has come to Giribbaga (i.e. Râgagaha) of the Magadha people, leading with hi in all the follawers of Sañgaya; who will be the next to be led by him?'  Some Bhikkhus heard those people that were annoyed, murmured, and had hecome angry; these Bhikkhus told this thing to the Blessed One.  (He replied): 'This noise, O Bhikkhus, will not last long; it will last only seven days; after seven days it will he over. And if they revile you, O Bhikkhus, in this stanza:  "The great Samana has come, &c.," 
[๗๔] ภิกษุทั้งหลายได้ยินประชาชนพวกนั้นเพ่งโทษ ติเตียน โพนทะนาอยู่ จึงกราบทูลเรื่องนั้นแด่พระผู้มีพระภาค.  พระผู้มีพระภาคตรัสว่า ดูกรภิกษุทั้งหลาย เสียงนั้นจักอยู่ไม่ได้นาน จักอยู่ได้เพียง๗ วันเท่านั้น พ้น ๗ วันก็จักหายไป ดูกรภิกษุทั้งหลาย ถ้าชนเหล่าใดกล่าวหาต่อพวกเธอ ด้วยคาถานี้ ว่าดังนี้:-  พระมหาสมณะเสด็จมาสู่พระนครคอกเขาของชาวมคธแล้ว ได้ทรงนำปริพาชกพวกสญชัยทั้งปวงไปแล้ว บัดนี้ จักทรงนำใครไปอีกเล่า.  [๗๕] พวกเธอจงกล่าวโต้ตอบต่อชนเหล่านั้น ด้วยคาถานี้ ว่าดังนี้:- พระตถาคตทั้งหลายผู้แกล้วกล้ามาก ย่อมทรงนำชนทั้งหลายไปด้วยพระสัทธรรม เมื่อชนทั้งหลายอันพระองค์ทรงนำไปอยู่โดยธรรม ผู้เข้าใจอย่างนี้จะริษยาทำไม. 
อถ โข สาริปุตฺตโมคฺคลฺลานา เยน ภควา เตนุปสงฺกมึสุ อุปสงฺกมิตฺวา ภควโต ปาเทสุ สิรสา นิปติตฺวา ภควนฺตํ เอตทโวจุํ “ลเภยฺยาม มยํ ภนฺเต ภควโต สนฺติเก ปพฺพชฺชํ ลเภยฺยาม อุปสมฺปท”นฺติ. “เอถ ภิกฺขโว”ติ ภควา อโวจ “สฺวากฺขาโต ธมฺโม จรถ พฺรหฺมจริยํ สมฺมา ทุกฺขสฺส อนฺตกิริยายา”ติ.  สาว เตสํ อายสฺมนฺตานํ อุปสมฺปทา อโหสิ. (อภิญฺญาตานํ ปพฺพชฺชา)  ๖๓. เตน โข ปน สมเยน อภิญฺญาตา อภิญฺญาตา มาคธิกา กุลปุตฺตา ภควติ พฺรหฺมจริยํ จรนฺติ.  มนุสฺสา อุชฺฌายนฺติ ขิยฺยนฺติ วิปาเจนฺติ อปุตฺตกตาย ปฏิปนฺโน สมโณ โคตโม เวธพฺยาย ปฏิปนฺโน สมโณ โคตโม กุลุปจฺเฉทาย ปฏิปนฺโน สมโณ โคตโม 
tena kho pana samayena manussā bhikkhū disvā imāya gāthāya codenti:  āgato kho mahāsamaṇo Magadhānaṃ Giribbajaṃ sabbe Sañjaye netvāna, kaṃ su dāni nayissatīti.  bhikkhū te manusse imāya gāthāya paṭicodenti: nayanti ve mahāvīrā saddhammena tathāgatā, dhammena nayamānānaṃ kā usuyyā vijānatan ti.  (44) manussā dhammena kira samaṇā Sakyaputtiyā nenti no adhammenā ’ti sattāham eva so saddo ahosi, sattāhassa accayena antaradhāyi. |7| 
you should reply to the revilers in the following stanza: "It is by means of the true doctrine that the great heroes, the Tathâgatas, lead men. Who will murmur at the wise, who lead men by the power of the Truth?"'  At that time the people, when seeing the Bhikkhus, reviled them in the following stanza:  'The great Samana has come, &c.'  Then the Bhikkhus replied to the revilers in the following stanza: 'It is by means of the true doctrine, &c.' 
ก็โดยสมัยนั้นแล ประชาชนทั้งหลายได้เห็นภิกษุทั้งหลายแล้ว ย่อมกล่าวหาด้วยคาถานี้ว่าดังนี้:-  พระมหาสมณะเสด็จมาสู่พระนครคอกเขาของชาวมคธแล้ว ได้ทรงนำปริพาชกพวกสญชัยทั้งปวงไปแล้ว บัดนี้ จักทรงนำใครไปอีกเล่า.  ภิกษุทั้งหลายได้กล่าวโต้ตอบต่อประชาชนพวกนั้น ด้วยคาถานี้ ว่าดังนี้:- พระตถาคตทั้งหลายผู้แกล้วกล้ามาก ย่อมทรงนำชนทั้งหลายไปด้วยพระสัทธรรม เมื่อชนทั้งหลายอันพระองค์ทรงนำไปอยู่โดยธรรม ผู้เข้าใจอย่างนี้จะริษยาทำไม.  [๗๖] ประชาชนกล่าวอย่างนี้ว่า ได้ยินว่า พระสมณะเชื้อสายพระศากยบุตรทรงนำชนทั้งหลายไปโดยธรรม ไม่ทรงนำไปโดยอธรรม. เสียงนั้นได้มีเพียง ๗ วันเท่านั้น พ้น ๗ วันก็หายไป. 
อิทานิ อเนน ชฏิลสหสฺสํ ปพฺพาชิตํ อิมานิ จ อฑฺฒเตยฺยานิ ปริพฺพาชกสตานิ สญฺจยานิ ปพฺพาชิตานิ. อิเม จ อภิญฺญาตา อภิญฺญาตา มาคธิกา กุลปุตฺตา สมเณ โคตเม พฺรหฺมจริยํ จรนฺตีติ.  อปิสฺสุ ภิกฺขู ทิสฺวา อิมาย คาถาย โจเทนฺติ “อาคโต โข มหาสมโณ มาคธานํ คิริพฺพชํ. สพฺเพ สญฺจเย เนตฺวาน กํสุ ทานิ นยิสฺสตี”ติฯ  อสฺโสสุํ โข ภิกฺขู เตสํ มนุสฺสานํ อุชฺฌายนฺตานํ ขิยฺยนฺตานํ วิปาเจนฺตานํ.  อถ โข เต ภิกฺขู ภควโต เอตมตฺถํ อาโรเจสุํฯเปฯ น ภิกฺขเว โส สทฺโท จิรํ ภวิสฺสติ สตฺตาหเมว ภวิสฺสติ สตฺตาหสฺส อจฺจเยน อนฺตรธายิสฺสติ. เตน หิ ภิกฺขเว เย ตุมฺเห อิมาย คาถาย โจเทนฺติ 
Sāriputtamoggallānapabbajjā niṭṭhitā. ||24|| 
Then the people understood: 'It is by truth, and not by wrong, that the Sakyaputtiya Samanas lead men;' and thus that noise lasted only seven days, and after seven days it was over. 
พระสารีบุตรพระโมคคัลลานะบรรพชา จบ. 
“อาคโต โข มหาสมโณ มาคธานํ คิริพฺพชํ. สพฺเพ สญฺจเย เนตฺวาน กํสุ ทานิ นยิสฺสตี”ติฯ 
catutthakabhāṇavāraṃ niṭṭhitaṃ. 
Here ends the narration of the ordination of Sâriputta and Moggallâna. 
จตุตถภาณวาร จบ 
เต ตุมฺเห อิมาย คาถาย ปฏิโจเทถ “นยนฺติ เว มหาวีรา สทฺธมฺเมน ตถาคตา. ธมฺเมน นยมานานํ กา อุสูยา วิชานต”นฺติฯ 
tena kho pana samayena bhikkhū anupajjhāyakā anovadiyamānā ananusāsiyamānā dunnivatthā duppārutā anākappasampannā piṇḍāya caranti.  te manussānaṃ bhuñjamānānaṃ upari bhojane pi uttiṭṭhapattaṃ upanāmenti, upari khādaniye pi uttiṭṭhapattaṃ upanāmenti, upari sāyaniye pi uttiṭṭhapattaṃ upanāmenti, upari pāniye pi uttiṭṭhapattaṃ upanāmenti, sāmaṃ sūpam pi odanam pi viññāpetvā bhuñjanti, bhattagge pi uccāsaddā mahāsaddā viharanti. |1| 
End of the fourth Bhânavâra.  At that time some Bhikkhus, as they had no upagghâyas (preceptors) and received no exhortation and instruction, went on their rounds for alms wearing improper under and upper garments (or, wearing their under and upper garments improperly), and in an improper attire. 
ต้นเหตุอุปัชฌายวัตร [๗๗] ก็โดยสมัยนั้นแล ภิกษุทั้งหลายไม่มีอุปัชฌาย์ ไม่มีใครตักเตือน ไม่มีใครพร่ำสอน ย่อมนุ่งห่มไม่เรียบร้อย มีมรรยาทไม่สมควร เที่ยวบิณฑบาต  เมื่อประชาชนกำลังบริโภค ย่อมน้อมบาตรสำหรับเที่ยวบิณฑบาตเข้าไปข้างบนของควรบริโภคบ้าง ข้างบนของควรเคี้ยวบ้าง ข้างบนของควรลิ้มบ้าง ข้างบนของควรดื่มบ้าง ขอแกงบ้าง ข้าวสุกบ้าง ด้วยตนเองมาฉัน แม้ในโรงอาหารก็เป็นผู้มีเสียงอื้ออึง มีเสียงดังอยู่. 
เตน โข ปน สมเยน มนุสฺสา ภิกฺขู ทิสฺวา อิมาย คาถาย โจเทนฺติ  “อาคโต โข มหาสมโณ มาคธานํ คิริพฺพชํ. สพฺเพ สญฺจเย เนตฺวาน กํสุ ทานิ นยิสฺสตี”ติฯ 
manussā ujjhāyanti khīyanti vipācenti: kathaṃ hi nāma samaṇā Sakyaputtiyā dunnivatthā duppārutā anākappasampannā piṇḍāya carissanti, manussānaṃ bhuñjamānānaṃ upari bhojane pi uttiṭṭhapattaṃ upanāmessanti, upari khādaniye pi uttiṭṭhapattaṃ upanāmessanti, upari sāyaniye pi uttiṭṭhapattaṃ upanāmessanti, upari pāniye pi uttiṭṭhapattaṃ upanāmessanti, sāmaṃ sūpam pi odanam pi viññāpetvā bhuñjissanti, bhattagge pi uccāsaddā mahāsaddā viharissanti, seyyathāpi brāhmaṇā brāhmaṇabhojane ’ti. |2| 
While people were eating, they held out their alms-bowls in which were leavings of food, over the hard food (which the people were eating), and held them out over soft food, and held them out over savoury food, and held them out over drinks. They asked for soup and boiled rice themselves, and ate it; in the dining halls they made a great and loud noise. 
คนทั้งหลายจึงเพ่งโทษ ติเตียน โพนทะนาว่า ไฉนพระสมณะเชื้อสายพระศากยบุตรจึงได้นุ่งห่มไม่เรียบร้อย มีมรรยาทไม่สมควร เที่ยวบิณฑบาต เมื่อประชาชนกำลังบริโภค ได้น้อมบาตรสำหรับเที่ยวบิณฑบาตเข้าไปข้างบนของควรบริโภคบ้าง ข้างบนของควรเคี้ยวบ้าง ข้างบนของควรลิ้มบ้าง ข้างบนของควรดื่มบ้าง ขอแกงบ้าง ข้าวสุกบ้าง ด้วยตนเองมาฉัน แม้ในโรงอาหารก็ได้เป็นผู้มีเสียงอื้ออึง มีเสียงดังอยู่ เหมือนพวกพราหมณ์ในสถานที่เลี้ยงพราหมณ์ฉะนั้น. 
ภิกฺขู เต มนุสฺเส อิมาย คาถาย ปฏิโจเทนฺติ “นยนฺติ เว มหาวีรา สทฺธมฺเมน ตถาคตา. ธมฺเมน นยมานานํ กา อุสูยา วิชานต”นฺติฯ 
assosuṃ kho bhikkhū tesaṃ manussānaṃ ujjhāyantānaṃ khīyantānaṃ vipācentānaṃ.  ye te bhikkhū appicchā santuṭṭhā lajjino kukkuccakā sikkhākāmā, te ujjhāyanti khīyanti vipācenti:  kathaṃ hi nāma bhikkhū dunnivatthā duppārutā anākappasampannā piṇḍāya carissanti, manussānaṃ bhuñjamānānaṃ upari bhojane pi uttiṭṭhapattaṃ upanāmessanti, upari khādaniye pi uttiṭṭhapattaṃ upanāmessanti, upari sāyaniye pi uttiṭṭhapattaṃ upanāmessanti, upari pāniye pi uttiṭṭhapattaṃ upanāmessanti, sāmaṃ sūpam pi odanam pi viññāpetvā bhuñjissanti, bhattagge pi uccāsaddā mahāsaddā viharissantīti. |3| 
The people were annoyed, murmured, and became angry (saying), 'How can the Sakyaputtiya Samanas go on their rounds for alms wearing improper under and upper garments, . . . . (&c., as in § 1, down to drinks)? How can they make so great and loud a noise in the dining halls? They behave like Brâhmanas at the dinners given to them.'  Some Bhikkhus heard those people that were annoyed, murmured, and had become angry.  Those Bhikkhus who were moderate, frugal, modest, conscientious, anxious for training, were annoyed, murmured, and became angry: 
[๗๘] ภิกษุทั้งหลายได้ยินประชาชนพวกนั้นเพ่งโทษ ติเตียน โพนทะนาอยู่.  บรรดาที่เป็นผู้มักน้อย สันโดษ มีความละอาย มีความรังเกียจ ผู้ใคร่ต่อสิกขา ต่างก็เพ่งโทษ ติเตียนโพนทะนาว่า  ไฉนภิกษุทั้งหลาย จึงได้นุ่งห่มไม่เรียบร้อย มีมรรยาทไม่สมควร เที่ยวบิณฑบาต เมื่อประชาชนกำลังบริโภค ได้น้อมบาตรสำหรับเที่ยวบิณฑบาตเข้าไปข้างบนของควรบริโภคบ้าง ข้างบนของควรเคี้ยวบ้าง ข้างบนของควรลิ้มบ้าง ข้างบนของควรดื่มบ้าง ขอแกงบ้าง ข้าวสุกบ้างด้วยตนเองมาฉัน แม้ในโรงอาหารก็ได้เป็นผู้มีเสียงอื้ออึง มีเสียงดังอยู่ 
มนุสฺสา ธมฺเมน กิร สมณา สกฺยปุตฺติยา เนนฺติ โน อธมฺเมนาติ สตฺตาหเมว โส สทฺโท อโหสิ สตฺตาหสฺส อจฺจเยน อนฺตรธายิ.  สาริปุตฺตโมคฺคลฺลานปพฺพชฺชากถา นิฏฺฐิตา.  จตุตฺถภาณวาโร นิฏฺฐิโต. 
atha kho te bhikkhū bhagavato etam atthaṃ ārocesuṃ.  atha kho bhagavā etasmiṃ nidāne etasmiṃ pakaraṇe bhikkhusaṃghaṃ sannipātāpetvā bhikkhū paṭipucchi:  saccaṃ kira bhikkhave bhikkhū dunnivatthā duppārutā anākappasampannā piṇḍāya caranti manussānaṃ bhuñjamānānaṃ (45) upari bhojane pi uttiṭṭhapattaṃ upanāmenti, upari khādaniye pi uttiṭṭhapattaṃ upanāmenti, upari sāyaniye pi uttiṭṭhapattaṃ upanāmenti, upari pāniye pi uttiṭṭhapattaṃ upanāmenti, sāmaṃ sūpam pi odanam pi viññāpetvā bhuñjanti, bhattagge pi uccāsaddā mahāsaddā viharantīti.  saccaṃ bhagavā. |4| 
'How can the Bhikkhus go on their rounds for alms wearing improper under and upper garments, &c.? How can they make so great and loud a noise in the dining halls?'  These Bhikkhus told this thing to the Blessed One.  In consequence of that and on this occasion the Blessed One, having ordered the fraternity of Bhikkhus to assemble, questioned the Bhikkhus:  'Is it true, O Bhikkhus, that some Bhikkhus go on their rounds, . . . . (&c., down to), that they make a great and loud noise in the dining halls?' 
ดังนี้ แล้วกราบทูลความนั้นแด่พระผู้มีพระภาค.  ประชุมภิกษุสงฆ์ทรงสอบถาม [๗๙] ครั้งนั้น พระผู้มีพระภาครับสั่งให้ประชุมภิกษุสงฆ์ ในเพราะเหตุเป็นเค้ามูลนั้นในเพราะเหตุแรกเกิดนั้น แล้วทรงสอบถามภิกษุทั้งหลายว่า  ดูกรภิกษุทั้งหลาย ข่าวว่า ภิกษุทั้งหลาย นุ่งห่มไม่เรียบร้อย มีมรรยาทไม่สมควรเที่ยวบิณฑบาต เมื่อประชาชนกำลังบริโภค ย่อมน้อมบาตรสำหรับเที่ยวบิณฑบาต เข้าไปข้างบนของควรบริโภคบ้าง ข้างบนของควรเคี้ยวบ้าง ข้างบนของควรลิ้มบ้าง ข้างบนของควรดื่มบ้าง ขอแกงบ้าง ข้าวสุกบ้าง ด้วยตนเองมาฉัน แม้ในโรงอาหารก็เป็นผู้มีเสียงอื้ออึง มีเสียงดังอยู่ จริงหรือ?  ภิกษุทั้งหลายทูลรับว่า จริง พระพุทธเจ้าข้า. 
(๑๕. อุปชฺฌายวตฺตกถา) ๖๔. เตน โข ปน สมเยน ภิกฺขู อนุปชฺฌายกา อนาจริยกา อโนวทิยมานา อนนุสาสิยมานา ทุนฺนิวตฺถา ทุปฺปารุตา อนากปฺปสมฺปนฺนา ปิณฺฑาย จรนฺติ  มนุสฺสานํ ภุญฺชมานานํ อุปริโภชเนปิ อุตฺติฏฺฐปตฺตํ อุปนาเมนฺติ อุปริขาทนีเยปิ อุตฺติฏฺฐปตฺตํ อุปนาเมนฺติ อุปริสายนีเยปิ อุตฺติฏฺฐปตฺตํ อุปนาเมนฺติ อุปริปานีเยปิ อุตฺติฏฺฐปตฺตํ อุปนาเมนฺติ สามํ สูปมฺปิ โอทนมฺปิ วิญฺญาเปตฺวา ภุญฺชนฺติ ภตฺตคฺเคปิ อุจฺจาสทฺทา มหาสทฺทา วิหรนฺติ.  มนุสฺสา อุชฺฌายนฺติ ขิยฺยนฺติ วิปาเจนฺติ “กถญฺหิ นาม สมณา สกฺยปุตฺติยา ทุนฺนิวตฺถา ทุปฺปารุตา อนากปฺปสมฺปนฺนา ปิณฺฑาย จริสฺสนฺติ มนุสฺสานํ ภุญฺชมานานํ อุปริโภชเนปิ อุตฺติฏฺฐปตฺตํ อุปนาเมสฺสนฺติ อุปริขาทนีเยปิ อุตฺติฏฺฐปตฺตํ อุปนาเมสฺสนฺติ อุปริสายนีเยปิ อุตฺติฏฺฐปตฺตํ อุปนาเมสฺสนฺติ อุปริปานีเยปิ อุตฺติฏฺฐปตฺตํ อุปนาเมสฺสนฺติ สามํ สูปมฺปิ โอทนมฺปิ วิญฺญาเปตฺวา ภุญฺชิสฺสนฺติ ภตฺตคฺเคปิ อุจฺจาสทฺทา มหาสทฺทา วิหริสฺสนฺติ เสยฺยถาปิ พฺราหฺมณา พฺราหฺมณโภชเน”ติ.  อสฺโสสุํ โข ภิกฺขู เตสํ มนุสฺสานํ อุชฺฌายนฺตานํ ขิยฺยนฺตานํ วิปาเจนฺตานํ. 
vigarahi buddho bhagavā: ananucchaviyaṃ bhikkhave tesaṃ moghapurisānaṃ ananulomikaṃ appaṭirūpaṃ assāmaṇakaṃ akappiyaṃ akaraṇīyaṃ.  kathaṃ hi nāma te bhikkhave moghapurisā dunnivatthā duppārutā anākappasampannā piṇḍāya carissanti, manussānaṃ bhuñjamānānaṃ upari bhojane pi uttiṭṭhapattaṃ upanāmessanti upari khādaniye pi uttiṭṭhapattaṃ upanāmessanti, upari sāyaniye pi uttiṭṭhapattaṃ upanāmessanti, upari pāniye pi uttiṭṭhapattaṃ upanāmessanti, sāmaṃ sūpam pi odanam pi viññāpetvā bhuñjissanti, bhattagge pi uccāsaddā mahāsaddā viharissanti.  n’ etaṃ bhikkhave appasannānaṃ vā pasādāya pasannānaṃ vā bhiyyobhāvāya, atha kho taṃ bhikkhave appasannānañ c’ eva appasādāya, pasannānañ ca ekaccānaṃ aññathattāyā ’ti. |5| 
'It is true, Lord.'  Then the Blessed Buddha rebuked those Bhikkhus: 'It is improper, O Bhikkhus, what these foolish persons are doing, it is unbecoming, indecent, un worthy of Samanas, unallowable, and to be avoided.  How can these foolish persons, O Bhikkhus, go on their rounds, &c.? How can they make so great and loud a noise in the dining halls? 
ทรงติเตียน // พระผู้มีพระภาคพุทธเจ้าทรงติเตียนว่า ดูกรภิกษุทั้งหลาย การกระทำของโมฆบุรุษเหล่านั้นไม่เหมาะ ไม่สม ไม่ควร ไม่ใช่กิจของสมณะ ใช้ไม่ได้ ไม่ควรทำ  ไฉนโมฆบุรุษเหล่านั้น จึงได้นุ่งห่มไม่เรียบร้อย มีมรรยาทไม่สมควรเที่ยวบิณฑบาต เมื่อประชาชนกำลังบริโภค ได้น้อมบาตรสำหรับเที่ยวบิณฑบาตเข้าไปข้างบนของควรบริโภคบ้าง ข้างบนของควรเคี้ยวบ้าง ข้างบนของควรลิ้มบ้าง ข้างบนของควรดื่มบ้าง ขอแกงบ้าง ข้าวสุกบ้าง ด้วยตนเองมาฉัน แม้ในโรงอาหารก็ได้เป็นผู้มีเสียงอื้ออึง มีเสียงดังอยู่  ดูกรภิกษุทั้งหลาย การกระทำของโมฆบุรุษเหล่านั้นนั่น ไม่เป็นไปเพื่อความเลื่อมใสของชุมชนที่ยังไม่เลื่อมใส หรือเพื่อความเลื่อมใสยิ่งของชุมชนที่เลื่อมใสแล้ว โดยที่แท้ ย่อมเป็นไปเพื่อความไม่เลื่อมใสของชุมชนที่ยังไม่เลื่อมใส และเพื่อความเป็นอย่างอื่นของชนบางพวกผู้เลื่อมใสแล้ว. 
เย เต ภิกฺขู อปฺปิจฺฉา สนฺตุฏฺฐา ลชฺชิโน กุกฺกุจฺจกา สิกฺขากามา เต อุชฺฌายนฺติ ขิยฺยนฺติ วิปาเจนฺติ  “กถญฺหิ นาม ภิกฺขู ทุนฺนิวตฺถา ทุปฺปารุตา อนากปฺปสมฺปนฺนา ปิณฺฑาย จริสฺสนฺติ มนุสฺสานํ ภุญฺชมานานํ อุปริโภชเนปิ อุตฺติฏฺฐปตฺตํ อุปนาเมสฺสนฺติ อุปริขาทนีเยปิ อุตฺติฏฺฐปตฺตํ อุปนาเมสฺสนฺติ อุปริสายนีเยปิ อุตฺติฏฺฐปตฺตํ อุปนาเมสฺสนฺติ อุปริปานีเยปิ อุตฺติฏฺฐปตฺตํ อุปนาเมสฺสนฺติ สามํ สูปมฺปิ โอทนมฺปิ วิญฺญาเปตฺวา ภุญฺชิสฺสนฺติ ภตฺตคฺเคปิ อุจฺจาสทฺทา มหาสทฺทา วิหริสฺสนฺตี”ติ.  อถ โข เต ภิกฺขูฯเปฯ ภควโต เอตมตฺถํ อาโรเจสุํ. 
atha kho bhagavā te bhikkhū anekapariyāyena vigarahitvā dubbharatāya dupposatāya mahicchatāya asantuṭṭhiyā saṃgaṇikāya kosajjassa avaṇṇaṃ bhāsitvā anekapariyāyena subharatāya suposatāya appicchassa santuṭṭhassa sallekhassa dhutassa pāsādikassa apacayassa viriyārambhassa vaṇṇaṃ bhāsitvā bhikkhūnaṃ tadanucchavikaṃ tadanulomikaṃ dhammiṃ kathaṃ katvā bhikkhū āmantesi: anujānāmi bhikkhave upajjhāyaṃ.  upajjhāyo bhikkhave saddhivihārikamhi puttacittaṃ upaṭṭhāpessati, saddhivihāriko upajjhāyamhi pitucittaṃ upaṭṭhāpessati.  evaṃ te aññamaññaṃ sagāravā sappatissā sabhāgavuttino viharantā imasmiṃ dhammavinaye vuḍḍhiṃ virūḷhiṃ vepullaṃ āpajjissanti. |6| 
This will not do, O Bhikkhus, for converting the unconverted, and for augmenting the number of the converted; but it will result, O Bhikkhus, in the unconverted being repulsed (from the faith), and in many of the converted being estranged.'  And the Blessed One rebuked those Bhikkhus in many ways, spoke against unfrugality, ill-nature, immoderation, insatiableness, delighting in society, and indolence; spoke in many ways in praise of frugality, good-nature, of the moderate, contented, who have eradicated (sin), who have shaken off (sin), of the gracious, of the reverent, and of the energetic. And having delivered beforethe Bhikkhus a religious discourse in accordance to, and in conformity with these subjects, he thus addressed the Bhikkhus: 'I prescribe, O Bhikkhus, (that young Bhikkhus choose) an upagghâya (or preceptor).  'The upagghâya, O Bhikkhus, ought to consider the saddhivihârika (i.e. pupil) as a son; the saddhivihârika ought to consider the upagghâya as a father. 
ทรงอนุญาตอุปัชฌายะ [๘๐] ครั้นพระผู้มีพระภาคทรงติเตียนภิกษุเหล่านั้นโดยอเนกปริยายดังนี้แล้ว จึงตรัสโทษแห่งความเป็นคนเลี้ยงยาก ความเป็นคนบำรุงยาก ความเป็นคนมักมาก ความเป็นคนไม่สันโดษ ความคลุกคลี ความเกียจคร้าน ตรัสคุณแห่งความเป็นคนเลี้ยงง่าย ความเป็นคนบำรุงง่าย ความมักน้อย ความสันโดษ ความกำจัด ความขัดเกลา อาการที่น่าเลื่อมใส การไม่สะสม การปรารภความเพียร โดยอเนกปริยาย ทรงทำธรรมีกถาที่สมควรแก่เรื่องนั้น ที่เหมาะสมแก่เรื่องนั้นแก่ภิกษุทั้งหลาย แล้วรับสั่งว่า ดูกรภิกษุทั้งหลาย เราอนุญาตอุปัชฌายะ  อุปัชฌายะจักตั้งจิตสนิทสนมในสัทธิวิหาริกฉันบุตร สัทธิวิหาริกจักตั้งจิตสนิทสนมในอุปัชฌายะฉันบิดา  เมื่อเป็นเช่นนี้ อุปัชฌายะและสัทธิวิหาริกนั้น ต่างจักมีความเคารพ ยำเกรง ประพฤติกลมเกลียวกันอยู่ จักถึงความเจริญงอกงามไพบูลย์ในธรรมวินัยนี้. 
อถ โข ภควา เอตสฺมึ นิทาเน เอตสฺมึ ปกรเณ ภิกฺขุสงฺฆํ สนฺนิปาตาเปตฺวา ภิกฺขู ปฏิปุจฺฉิ  “สจฺจํ กิร ภิกฺขเว ภิกฺขู ทุนฺนิวตฺถา ทุปฺปารุตา อนากปฺปสมฺปนฺนา ปิณฺฑาย จรนฺติ มนุสฺสานํ ภุญฺชมานานํ อุปริ โภชเนปิ อุตฺติฏฺฐปตฺตํ อุปนาเมนฺติ อุปริขาทนีเยปิ อุตฺติฏฺฐปตฺตํ อุปนาเมนฺติ อุปริสายนีเยปิ อุตฺติฏฺฐปตฺตํ อุปนาเมนฺติ อุปริปานีเยปิ อุตฺติฏฺฐปตฺตํ อุปนาเมนฺติ สามํ สูปมฺปิ โอทนมฺปิ วิญฺญาเปตฺวา ภุญฺชนฺติ ภตฺตคฺเคปิ อุจฺจาสทฺทา มหาสทฺทา วิหรนฺตี”ติ?  “สจฺจํ ภควา”ติ. 
evañ ca pana bhikkhave upajjhāyo gahetabbo: ekaṃsaṃ uttarāsaṅgaṃ karitvā pāde vanditvā ukkuṭikaṃ nisīditvā añjaliṃ paggahetvā evam assa vacanīyo:  upajjhāyo me bhante hohi, upajjhāyo me bhante hohi, {upajjhāyo} me bhante hohīti.  sāhū ’ti vā, lahū ’ti vā, opāyikan ti vā, paṭirūpan ti vā, pāsādikena sampādehīti vā kāyena viññāpeti, vācāya viññāpeti, kāyena vācāya viññāpeti, gahito hoti upajjhāyo, na kāyena viññāpeti, na vācāya viññā-(46)peti, na kāyenavācāya viññāpeti, na gahito hoti upajjhāyo. |7| 
Thus these two, united by mutual reverence, confidence, and communion of life, will progress, advance, and reach a high stage in this doctrine and discipline.  'And let them choose, O Bhikkhus, an upagghâya in this way: Let him (who is going to choose an upagghâya) adjust his upper robe so as to cover one shoulder, salute the feet (of the intended upagghâya), sit down squatting, raise his joined hands, and say:  "Venerable Sir, be my upagghâya; venerable Sir, be my upagghâya; venerable Sir, be my upagghâya." 
ดูกรภิกษุทั้งหลาย ก็แลสัทธิวิหาริกพึงถืออุปัชฌายะอย่างนี้.(วิธีถืออุปัชฌายะ) สิทธิวิหาริกนั้น พึงห่มผ้าอุตราสงค์เฉวียงบ่า ไหว้เท้า นั่งกระหย่ง ประคองอัญชลีแล้วกล่าวคำอย่างนี้ ๓ หน  ท่านเจ้าข้า ขอท่านจงเป็นอุปัชฌายะของข้าพเจ้า, ท่านเจ้าข้า ขอท่านจงเป็นอุปัชฌายะของข้าพเจ้า, ท่านเจ้าข้า ขอท่านจงเป็นอุปัชฌายะของข้าพเจ้า.  อุปัชฌายะรับว่า ดีละ เบาใจละ ชอบแก่อุบายละ สมควรละ หรือรับว่า จงยังความปฏิบัติให้ถึงพร้อมด้วยอาการอันน่าเลื่อมใสเถิด ดังนี้ก็ได้ รับด้วยกาย รับด้วยวาจา รับด้วยกายด้วยวาจาก็ได้ เป็นอันสัทธิวิหาริกถืออุปัชฌายะแล้ว ไม่รับด้วยกาย ไม่รับด้วยวาจา ไม่รับด้วยทั้งกายและวาจา ไม่เป็นอันสิทธิวิหาริกถืออุปัชฌายะ. 
วิครหิ พุทฺโธ ภควา “อนนุจฺฉวิกํ ภิกฺขเว เตสํ โมฆปุริสานํ อนนุโลมิกํ อปฺปติรูปํ อสฺสามณกํ อกปฺปิยํ อกรณียํ.  กถญฺหิ นาม เต ภิกฺขเว โมฆปุริสา ทุนฺนิวตฺถา ทุปฺปารุตา อนากปฺปสมฺปนฺนา ปิณฺฑาย จริสฺสนฺติ มนุสฺสานํ ภุญฺชมานานํ อุปริโภชเนปิ อุตฺติฏฺฐปตฺตํ อุปนาเมสฺสนฺติ อุปริขาทนีเยปิ อุตฺติฏฺฐปตฺตํ อุปนาเมสฺสนฺติ อุปริสายนีเยปิ อุตฺติฏฺฐปตฺตํ อุปนาเมสฺสนฺติ อุปริปานีเยปิ อุตฺติฏฺฐปตฺตํ อุปนาเมสฺสนฺติ สามํ สูปมฺปิ โอทนมฺปิ วิญฺญาเปตฺวา ภุญฺชิสฺสนฺติ ภตฺตคฺเคปิ อุจฺจาสทฺทา มหาสทฺทา วิหริสฺสนฺติ.  เนตํ ภิกฺขเว อปฺปสนฺนานํ วา ปสาทาย ปสนฺนานํ วา ภิยฺโยภาวาย. อถ ขฺเวตํ ภิกฺขเว อปฺปสนฺนานญฺเจว อปฺปสาทาย ปสนฺนานญฺจ เอกจฺจานํ อญฺญถตฺตายา”ติ. 
saddhivihārikena bhikkhave upajjhāyamhi sammāvattitabbaṃ, tatrāyaṃ sammāvattanā:  kālass’ eva uṭṭhāya upāhanā omuñcitvā ekaṃsaṃ uttarāsaṅgaṃ karitvā dantakaṭṭhaṃ dātabbaṃ, mukhodakaṃ dātabbaṃ, āsanaṃ paññāpetabbaṃ.  sace yāgu hoti, bhājanaṃ dhovitvā yāgu upanāmetabbā.  yāguṃ pītassa udakaṃ datvā bhājanaṃ paṭiggahetvā nīcaṃ katvā sādhukaṃ aparighaṃsantena dhovitvā paṭisāmetabbaṃ.  upajjhāyamhi vuṭṭhite āsanaṃ uddharitabbaṃ.  sace so deso uklāpo hoti, so deso sammajjitabbo. |8| 
(If the other answer): "Well," or, "Certainly," or, "Good," or, "All right," or, "Carry on (your work) with friendliness (towards me)," or should he express this by gesture (lit. by his body). or by word, or by gesture and word, then the upagghâya has been chosen. If he does not express this by gesture, nor by word, nor by gesture and word, the upagghâya has not been chosen.  'The saddhivihârika, O Bhikkhus, ought to observe a strict conduct towards his upagghâya. And these are the rules for his conduct:  Let him arise betimes, and having taken off his shoes and adjusted his upper robe so as to cover one shoulder, let him give (to the upagghâya) the teeth-cleanser and water to rinse his mouth with. Then let him prepare a seat (for the upagghâya).  If there is rice-milk, let him rinse the jug and offer the rice-milk (to the upagghâya).  When he has drunk it, let him give water (to the upagghâya), take the jug, hold it down, rinse it properly without (damaging it by) rubbing, and put it away.  When the upagghâya has risen, let him take away the seat. 
อุปัชฌายวัตร [๘๑] ดูกรภิกษุทั้งหลาย สัทธิวิหาริกพึงประพฤติชอบในอุปัชฌายะ. วิธีประพฤติชอบในอุปัชฌายะนั้น มีดังต่อไปนี้:-  สัทธิวิหาริกพึงลุกแต่เช้าตรู่ ถอดรองเท้า ห่มผ้าเฉวียงบ่า แล้วถวายไม้ชำระฟัน ถวายน้ำล้างหน้า ปูอาสนะไว้  ถ้ายาคูมี พึงล้างภาชนะแล้วน้อมยาคูเข้าไปถวาย  เมื่ออุปัชฌายะดื่มยาคูแล้ว พึงถวายน้ำ รับภาชนะมา ถือต่ำๆ อย่าให้กระทบกัน ล้างให้สะอาดแล้วเก็บไว้  เมื่ออุปัชฌายะลุกแล้ว พึงเก็บอาสนะ  ถ้าที่นั้นรก พึงกวาดที่นั้นเสีย. 
อถ โข ภควา เต ภิกฺขู อเนกปริยาเยน วิครหิตฺวา ทุพฺภรตาย ทุปฺโปสตาย มหิจฺฉตาย อสนฺตุฏฺฐิตาย สงฺคณิกาย โกสชฺชสฺส อวณฺณํ ภาสิตฺวา อเนกปริยาเยน สุภรตาย สุโปสตาย อปฺปิจฺฉสฺส สนฺตุฏฺฐสฺส สลฺเลขสฺส ธุตสฺส ปาสาทิกสฺส อปจยสฺส วีริยารมฺภสฺส วณฺณํ ภาสิตฺวา ภิกฺขูนํ ตทนุจฺฉวิกํ ตทนุโลมิกํ ธมฺมึ กถํ กตฺวา ภิกฺขู อามนฺเตสิ ๖๕. “อนุชานามิ ภิกฺขเว อุปชฺฌายํ.  อุปชฺฌาโย ภิกฺขเว สทฺธิวิหาริกมฺหิ ปุตฺตจิตฺตํ อุปฏฺฐเปสฺสติ สทฺธิวิหาริโก อุปชฺฌายมฺหิ ปิตุจิตฺตํ อุปฏฺฐเปสฺสติ.  เอวํ เต อญฺญมญฺญํ สคารวา สปฺปติสฺสา สภาควุตฺติโน วิหรนฺตา อิมสฺมึ ธมฺมวินเย วุฑฺฒิ๎ วิรุฬฺหึ เวปุลฺลํ อาปชฺชิสฺสนฺติ.  เอวญฺจ ปน ภิกฺขเว อุปชฺฌาโย คเหตพฺโพ เอกํสํ อุตฺตราสงฺคํ กริตฺวา ปาเท วนฺทิตฺวา อุกฺกุฏิกํ นิสีทิตฺวา อญฺชลึ ปคฺคเหตฺวา เอวมสฺส วจนีโย  ‘อุปชฺฌาโย เม ภนฺเต โหหิ อุปชฺฌาโย เม ภนฺเต โหหิ อุปชฺฌาโย เม ภนฺเต โหหี’ติ.  สาหูติ วา ลหูติ วา โอปายิกนฺติ วา ปติรูปนฺติ วา ปาสาทิเกน สมฺปาเทหีติ วา กาเยน วิญฺญาเปติ วาจาย วิญฺญาเปติ กาเยน วาจาย วิญฺญาเปติ คหิโต โหติ อุปชฺฌาโย น กาเยน วิญฺญาเปติ น วาจาย วิญฺญาเปติ น กาเยน วาจาย วิญฺญาเปติ น คหิโต โหติ อุปชฺฌาโย. 
sace upajjhāyo gāmaṃ pavisitukāmo hoti, nivāsanaṃ dātabbaṃ, paṭinivāsanaṃ paṭiggahetabbaṃ, kāyabandhanaṃ dātabbaṃ, saguṇaṃ katvā saṃghāṭiyo dātabbā, dhovitvā patto saudako dātabbo.  sace upajjhāyo pacchāsamaṇaṃ ākaṅkhati, timaṇḍalaṃ paṭicchādentena parimaṇḍalaṃ nivāsetvā kāyabandhanaṃ bandhitvā saguṇaṃ katvā saṃghāṭiyo pārupitvā gaṇṭhikaṃ paṭimuñcitvā dhovitvā pattaṃ gahetvā upajjhāyassa pacchāsamaṇena hotabbaṃ.  nātidūre gantabbaṃ, na accāsanne gantabbaṃ.  pattapariyāpannaṃ paṭiggahetabbaṃ. |9| 
If the place is dirty, let him sweep the place.  'If the upagghâya wishes to go into the village, let (the saddhivihârika) give (to the upagghâya) his under garment, take (from him) his second under garment (i.e. his house-dress ?), give him his girdle, lay the two upper garments upon each other and give them (to the upagghâya), rinse the alms-bowl, and give it him with some water in it.  If the upagghâya wishes (to go with) an attendant Bhikkhu, let him put on his under garment so as to conceal the three circles (viz. the navel and the two knees) and as to cover the body all around; then let him put on his girdle, lay the two upper garments upon each other and put them on, tie the knots, take his alms-bowl, after having it rinsed, and follow the upagghâya as his attendant.  Let him not go too far (from the upagghâya) nor too near. 
ถ้าอุปัชฌายะประสงค์จะเข้าบ้าน พึงถวายผ้านุ่ง พึงรับผ้านุ่งผลัดมา พึงถวายประคตเอว พึงพับผ้าสังฆาฏิเป็นชั้นถวาย พึงล้างบาตรแล้วถวายพร้อมทั้งน้ำด้วย  ถ้าอุปัชฌายะปรารถนาจะให้เป็นปัจฉาสมณะ พึงปกปิดมณฑล ๓ นุ่งให้เป็นปริมณฑลแล้วคาดประคตเอว ห่มสังฆาฏิ ทำเป็นชั้น กลัดดุม ล้างบาตรแล้ว ถือไป เป็นปัจฉาสมณะของอุปัชฌายะ  ไม่พึงเดินให้ห่างนัก ไม่พึงเดินให้ชิดนัก  พึงรับวัตถุที่เนื่องในบาตร 
๖๖. “สทฺธิวิหาริเกน ภิกฺขเว อุปชฺฌายมฺหิ สมฺมา วตฺติตพฺพํ. ตตฺรายํ สมฺมาวตฺตนา  “กาลสฺเสว วุฏฺฐาย อุปาหนา โอมุญฺจิตฺวา เอกํสํ อุตฺตราสงฺคํ กริตฺวา ทนฺตกฏฺฐํ ทาตพฺพํ มุโขทกํ ทาตพฺพํ อาสนํ ปญฺญเปตพฺพํ.  สเจ ยาคุ โหติ ภาชนํ โธวิตฺวา ยาคุ อุปนาเมตพฺพา.  ยาคุํ ปีตสฺส อุทกํ ทตฺวา ภาชนํ ปฏิคฺคเหตฺวา นีจํ กตฺวา สาธุกํ อปฺปฏิฆํสนฺเตน โธวิตฺวา ปฏิสาเมตพฺพํ. 
na upajjhāyassa bhaṇamānassa antarantarā kathā opātetabbā.  upajjhāyo āpattisāmantā bhaṇamāno nivāretabbo.  nivattantena paṭhamataraṃ āgantvā āsanaṃ paññāpetabbaṃ, pādodakaṃ pādapīṭhaṃ pādakathalikaṃ upanikkhipitabbaṃ, paccuggantvā pattacīvaraṃ paṭiggahetabbaṃ, paṭinivāsanaṃ dātabbaṃ, nivāsanaṃ paṭiggahetabbaṃ.  sace cīvaraṃ sinnaṃ hoti, muhuttaṃ uṇhe otāpetabbaṃ, na ca uṇhe cīvaraṃ nidahitabbaṃ.  cīvaraṃ saṃharitabbaṃ.  cīvaraṃ saṃharantena caturaṅgulaṃ kaṇṇaṃ ussāretvā cīvaraṃ saṃharitabbaṃ mā majjhe bhaṅgo ahosīti.  obhoge kāyabandhanaṃ kātabbaṃ.  sace piṇḍapāto hoti upajjhāyo ca bhuñjitukāmo hoti, udakaṃ datvā piṇḍapāto upanāmetabbo. |10| 
Let him take (from the upagghâya) what has been put into his alms-bowl.  'When the upagghâya speaks, let (the saddhivihârika) not interrupt him.  If the upagghâya is in danger of committing an offence by the words he says, let (the saddhivihârika) keep him back.  When (the upagghâya) turns back (from his alms-pilgrimage), let the saddhivihârika go back (to the Vihâra) before (the upagghâya), prepares seat, get water for the washing of his feet, a foot-stool, and a towel; then let him go to meet the upagghâya, take his bowl and his robe, give him his second under garment (his house-dress ?), and take his under garment.  If the robe (of the upagghâya) is wet with perspiration, let him dry it a while in a hot place, but let him not leave the robe in a hot place.  Let him fold up the robe.  When folding up the robe, let him fold it up so as to leave (every day) four inches (more than the day before) hanging over at the corners, in order that no fold may arise in the middle of it.  Let him the girdle. 
เมื่ออุปัชฌายะกำลังพูด ไม่พึงพูดสอดขึ้นในระหว่าง  อุปัชฌายะกล่าวถ้อยคำใกล้ต่ออาบัติ พึงห้ามเสีย  เมื่อกลับ พึงมาก่อน แล้วปูอาสนะที่นั่งฉันไว้ พึงเตรียมน้ำล้างเท้า ตั่งรองเท้ากระเบื้องเช็ดเท้าไว้ พึงลุกขึ้นรับบาตรและจีวร พึงถวายผ้านุ่งผลัด พึงรับผ้านุ่งมา.  ถ้าจีวรชุ่มเหงื่อ พึงผึ่งแดดไว้ครู่หนึ่ง แต่ไม่พึงผึ่งทิ้งไว้ที่แดด  พึงพับจีวร  เมื่อพับจีวร พึงพับให้เหลื่อมมุมกัน ๔ นิ้ว ด้วยตั้งใจมิให้มีรอยพับตรงกลาง  พึงทำประคตเอวไว้ในขนดอันตรวาสก.  ถ้าบิณฑบาตมี และอุปัชฌายะประสงค์จะฉัน พึงถวายน้ำ แล้วน้อมบิณฑบาตเข้าไปถวาย 
อุปชฺฌายมฺหิ วุฏฺฐิเต อาสนํ อุทฺธริตพฺพํ.  สเจ โส เทโส อุกฺลาโป โหติ โส เทโส สมฺมชฺชิตพฺโพ.  “สเจ อุปชฺฌาโย คามํ ปวิสิตุกาโม โหติ นิวาสนํ ทาตพฺพํ ปฏินิวาสนํ ปฏิคฺคเหตพฺพํ กายพนฺธนํ ทาตพฺพํ สคุณํ กตฺวา สงฺฆาฏิโย ทาตพฺพา โธวิตฺวา ปตฺโต โสทโก ทาตพฺโพ.  สเจ อุปชฺฌาโย ปจฺฉาสมณํ อากงฺขติ ติมณฺฑลํ ปฏิจฺฉาเทนฺเตน ปริมณฺฑลํ นิวาเสตฺวา กายพนฺธนํ พนฺธิตฺวา สคุณํ กตฺวา สงฺฆาฏิโย ปารุปิตฺวา คณฺฐิกํ ปฏิมุญฺจิตฺวา โธวิตฺวา ปตฺตํ คเหตฺวา อุปชฺฌายสฺส ปจฺฉาสมเณน โหตพฺพํ.  นาติทูเร คนฺตพฺพํ นาจฺจาสนฺเน คนฺตพฺพํ  ปตฺตปริยาปนฺนํ ปฏิคฺคเหตพฺพํ.  น อุปชฺฌายสฺส ภณมานสฺส อนฺตรนฺตรา กถา โอปาเตตพฺพา.  อุปชฺฌาโย อาปตฺติสามนฺตา ภณมาโน นิวาเรตพฺโพ. 
upajjhāyo pāniyena pucchitabbo.  bhuttāvissa udakaṃ datvā pattaṃ paṭiggahetvā nīcaṃ katvā sādhukaṃ aparighaṃsantena dhovitvā vodakaṃ katvā muhuttaṃ uṇhe otāpetabbo, na ca uṇhe patto nidahitabbo.  pattacīvaraṃ nikkhipitabbaṃ.  pattaṃ nikkhipantena ekena hatthena pattaṃ gahetvā ekena hatthena heṭṭhāmañcaṃ vā (47)heṭṭhāpīṭhaṃ vā parāmasitvā patto nikkhipitabbo, na ca anantarahitāya bhūmiyā patto nikkhipitabbo.  cīvaraṃ nikkhipantena ekena hatthena cīvaraṃ gahetvā ekena hatthena cīvaravaṃsaṃ vā cīvararajjuṃ vā pamajjitvā pārato antaṃ orato bhogaṃ katvā cīvaraṃ nikkhipitabbaṃ.  upajjhāyamhi vuṭṭhite āsanaṃ uddharitabbaṃ, pādodakaṃ pādapīṭhaṃ pādakathalikaṃ paṭisāmetabbaṃ.  sace so deso uklāpo hoti, so deso sammajjitabbo. |11| 
If there is any food received in the alms-bowl, and the upagghâya desires to eat it, let him give water (to the upagghâya) and then offer him the food.  'Let him offer to the upagghâya (water) to drink.  When the upagghâya has finished his meal, let (the saddhivihârika) give him water, take his alms-bowl, hold it down, rinse it properly without (damaging it by) rubbing, pour the water out, and dry (the bowl) a while in some hot place, but let him not leave the bowl in the hot place.  Let him put away the alms-bowl and the robe.  When he puts away the alms-bowl, let him do so holding the alms-bowl with one hand, and first feeling with the other hand under the bed or under the chair (where he is going to put the bowl), and let him not put the bowl on the bare ground.  When he hangs up the robe, let him take the robe with one hand and stroke with the other hand along the bambu peg or rope on which the robe is to be hung up, and hang up the robe so that the border is turned away from him (and turned to the wall), and the fold is turned towards him.  When the upagghâya has risen, let him take away the seat and put away the water for the washing of the feet, the foot-stool, and the towel. 
พึงถามอุปัชฌายะด้วยน้ำฉัน  เมื่ออุปัชฌายะฉันแล้ว พึงถวายน้ำ รับบาตรมา ถือต่ำๆ อย่าให้กระทบ ล้างให้สะอาด เช็ดให้แห้งแล้ว ผึ่งไว้ที่แดดครู่หนึ่ง แต่ไม่พึงผึ่งทิ้งไว้ที่แดด  พึงเก็บบาตรจีวร  เมื่อเก็บบาตร พึงเอามือข้างหนึ่งจับบาตร เอามือข้างหนึ่งลูบคลำใต้เตียงหรือใต้ตั่ง แล้วจึงเก็บบาตร แต่ไม่พึงเก็บบาตรไว้บนพื้นที่ไม่มีสิ่งใดรอง  เมื่อเก็บจีวร พึงเอามือข้างหนึ่งถือจีวร เอามือข้างหนึ่งลูบราวจีวรหรือสายระเดียง แล้วทำชายไว้ข้างนอก ทำขนดไว้ข้างใน แล้วจึงเก็บจีวร  เมื่ออุปัชฌายะลุกแล้ว พึงเก็บอาสนะ เก็บน้ำล้างเท้า ตั่งรองเท้า กระเบื้องเช็ดเท้า  ถ้าที่นั้นรก พึงกวาดที่นั้นเสีย. 
“นิวตฺตนฺเตน ปฐมตรํ อาคนฺตฺวา อาสนํ ปญฺญเปตพฺพํ ปาโททกํ ปาทปีฐํ ปาทกถลิกํ อุปนิกฺขิปิตพฺพํ ปจฺจุคฺคนฺตฺวา ปตฺตจีวรํ ปฏิคฺคเหตพฺพํ ปฏินิวาสนํ ทาตพฺพํ นิวาสนํ ปฏิคฺคเหตพฺพํ.  สเจ จีวรํ สินฺนํ โหติ มุหุตฺตํ อุณฺเห โอตาเปตพฺพํ น จ อุณฺเห จีวรํ นิทหิตพฺพํ  จีวรํ สงฺฆริตพฺพํ  จีวรํ สงฺฆรนฺเตน จตุรงฺคุลํ กณฺณํ อุสฺสาเรตฺวา จีวรํ สงฺฆริตพฺพํ มา มชฺเฌ ภงฺโค อโหสีติ.  โอโภเค กายพนฺธนํ กาตพฺพํ.  “สเจ ปิณฺฑปาโต โหติ อุปชฺฌาโย จ ภุญฺชิตุกาโม โหติ อุทกํ ทตฺวา ปิณฺฑปาโต อุปนาเมตพฺโพ.  อุปชฺฌาโย ปานีเยน ปุจฺฉิตพฺโพ 
sace upajjhāyo {nahāyitukāmo} hoti, nahānaṃ paṭiyādetabbaṃ.  sace sītena attho hoti, sītaṃ paṭiyādetabbaṃ.  sace uṇhena attho hoti, uṇhaṃ paṭiyādetabbaṃ.  sace upajjhāyo jantāgharaṃ pavisitukāmo hoti, cuṇṇaṃ sannetabbaṃ, mattikā temetabbā, jantāgharapīṭhaṃ ādāya upajjhāyassa piṭṭhito-piṭṭhito gantvā jantāgharapīṭhaṃ datvā cīvaraṃ paṭiggahetvā ekamantaṃ nikkhipitabbaṃ, cuṇṇaṃ dātabbaṃ, mattikā dātabbā.  sace ussahati, jantāgharaṃ pavisitabbaṃ.  jantāgharaṃ pavisantena mattikāya mukhaṃ makkhetvā purato ca pacchato ca paṭicchādetvā jantāgharaṃ pavisitabbaṃ. |12| 
If the place is dirty, let him sweep the place.  'If the upagghâya wishes to bathe, let him prepare a bath.  If he wants cold water, let him get cold water;  if he wants hot water, let him get hot water.  If the upagghâya wishes to go to the gantâghara, let (the saddhivihârika) knead the powder, moisten the clay, take up the chair belonging to the gantâghara, follow the upagghâya from behind, give him the chair, take his robe and put it aside, give him the powder and the clay.  If he is able, let him also enter the gantâghara. 
ถ้าอุปัชฌายะใคร่จะสรงน้ำ พึงจัดน้ำสรงถวาย  ถ้าต้องการน้ำเย็น พึงจัดน้ำเย็นถวาย  ถ้าต้องการน้ำร้อน พึงจัดน้ำร้อนถวาย.  ถ้าอุปัชฌายะประสงค์จะเข้าเรือนไฟ พึงบดจุณ แช่ดิน ถือตั่งสำหรับเรือนไฟแล้ว เดินตามหลังอุปัชฌายะไป ถวายตั่งสำหรับเรือนไฟแล้ว รับจีวรมาวางไว้ ณ ที่ควรส่วนข้างหนึ่ง พึงถวายจุณ ถวายดิน  ถ้าอุตสาหะอยู่ พึงเข้าเรือนไฟ  เมื่อเข้าเรือนไฟ พึงเอาดินทาหน้า ปิดทั้งข้างหน้า ข้างหลัง แล้วเข้าเรือนไฟ 
ภุตฺตาวิสฺส อุทกํ ทตฺวา ปตฺตํ ปฏิคฺคเหตฺวา นีจํ กตฺวา สาธุกํ อปฺปฏิฆํสนฺเตน โธวิตฺวา โวทกํ กตฺวา มุหุตฺตํ อุณฺเห โอตาเปตพฺโพ น จ อุณฺเห ปตฺโต นิทหิตพฺโพ.  ปตฺตจีวรํ นิกฺขิปิตพฺพํ.  ปตฺตํ นิกฺขิปนฺเตน เอเกน หตฺเถน ปตฺตํ คเหตฺวา เอเกน หตฺเถน เหฏฺฐามญฺจํ วา เหฏฺฐาปีฐํ วา ปรามสิตฺวา ปตฺโต นิกฺขิปิตพฺโพ. น จ อนนฺตรหิตาย ภูมิยา ปตฺโต นิกฺขิปิตพฺโพ.  จีวรํ นิกฺขิปนฺเตน เอเกน หตฺเถน จีวรํ คเหตฺวา เอเกน หตฺเถน จีวรวํสํ วา จีวรรชฺชุํ วา ปมชฺชิตฺวา ปารโต อนฺตํ โอรโต โภคํ กตฺวา จีวรํ นิกฺขิปิตพฺพํ.  อุปชฺฌายมฺหิ วุฏฺฐิเต อาสนํ อุทฺธริตพฺพํ ปาโททกํ ปาทปีฐํ ปาทกถลิกํ ปฏิสาเมตพฺพํ.  สเจ โส เทโส อุกฺลาโป โหติ โส เทโส สมฺมชฺชิตพฺโพ. 
na there bhikkhū anupakhajja nisīditabbaṃ, na navā bhikkhū āsanena paṭibāhetabbā. jantāghare upajjhāyassa parikammaṃ kātabbaṃ.  jantāgharā nikkhamantena jantāgharapīṭhaṃ ādāya purato ca pacchato ca paṭicchādetvā jantāgharā nikkhamitabbaṃ.  udake pi upajjhāyassa parikammaṃ kātabbaṃ.  nahātena paṭhamataraṃ uttaritvā attano gattaṃ vodakaṃ katvā nivāsetvā upajjhāyassa gattato udakaṃ pamajjitabbaṃ, nivāsanaṃ dātabbaṃ, saṃghāṭi dātabbā, jantāgharapīṭhaṃ ādāya paṭhamataraṃ āgantvā āsanaṃ paññāpetabbaṃ, pādodakaṃ pādapīṭhaṃ pādakathalikaṃ upanikkhipitabbaṃ.  upajjhāyo pāniyena pucchitabbo. |13| 
When he is going to enter the gantâghara, let him besmear his face with clay, cover himself from before and behind, and thus enter the gantâghara.  'Let him not sit down so as to encroach on senior Bhikkhus, nor let him dislodge junior Bhikkhus from their seats. Let him wait upon the upagghâya in the gantâghara.  When he is going to leave thegantâghara, let him take up the chair belonging to the gantâghara, cover himself from before and behind, and thus leave the gantâghara.  Let him wait upon the upagghâya also in the water.  When he has bathed, let (the saddhivihârika) go out of the water first, let him dry his own body, put on his dress, then wipe off the water from his upagghâya's body, give him his under garment and his upper garment, take the chair belonging to the gantâghara, go before the upagghâya, prepare a seat for him, and get water for the washing of his feet, a foot-stool, and a towel. 
ไม่พึงนั่งเบียดภิกษุผู้เถระ ไม่พึงห้ามกันอาสนะภิกษุใหม่ พึงทำบริกรรม แก่อุปัชฌายะในเรือนไฟ  เมื่อออกจากเรือนไฟ พึงถือตั่งสำหรับเรือนไฟ แล้วปิดทั้งข้างหน้าทั้งข้างหลังออกจากเรือนไฟ  พึงทำบริกรรมแก่อุปัชฌายะแม้ในน้ำ  อาบเสร็จแล้ว พึงขึ้นมาก่อน ทำตัวของตนให้แห้งน้ำ นุ่งผ้าแล้ว พึงเช็ดน้ำจากตัวของอุปัชฌายะ พึงถวายผ้านุ่ง พึงถวายผ้าสังฆาฏิ ถือตั่งสำหรับเรือนไฟมาก่อน แล้วปูอาสนะไว้ เตรียมน้ำล้างเท้า ตั่งรองเท้า กระเบื้องเช็ดเท้าไว้  พึงถามอุปัชฌายะด้วยน้ำฉัน. 
“สเจ อุปชฺฌาโย นหายิตุกาโม โหติ นหานํ ปฏิยาเทตพฺพํ.  สเจ สีเตน อตฺโถ โหติ สีตํ ปฏิยาเทตพฺพํ.  สเจ อุณฺเหน อตฺโถ โหติ อุณฺหํ ปฏิยาเทตพฺพํ.  “สเจ อุปชฺฌาโย ชนฺตาฆรํ ปวิสิตุกาโม โหติ จุณฺณํ สนฺเนตพฺพํ มตฺติกา เตเมตพฺพา ชนฺตาฆรปีฐํ อาทาย อุปชฺฌายสฺส ปิฏฺฐิโต ปิฏฺฐิโต คนฺตฺวา ชนฺตาฆรปีฐํ ทตฺวา จีวรํ ปฏิคฺคเหตฺวา เอกมนฺตํ นิกฺขิปิตพฺพํ จุณฺณํ ทาตพฺพํ มตฺติกา ทาตพฺพา.  สเจ อุสฺสหติ ชนฺตาฆรํ ปวิสิตพฺพํ. 
sace uddisāpetukāmo hoti, uddisāpetabbo. sace paripucchitukāmo hoti, paripucchitabbo.  yasmiṃ vihāre upajjhāyo viharati, sace so vihāro uklāpo hoti, sace ussahati, sodhetabbo.  vihāraṃ sodhentena paṭhamaṃ pattacīvaraṃ nīharitvā ekamantaṃ nikkhipitabbaṃ.  nisīdanapaccattharaṇaṃ nīharitvā ekamantaṃ nikkhipitabbaṃ. bhisibimbohanaṃ nīharitvā ekamantaṃ nikkhipitabbaṃ. |14| 
Let him offer to the upagghâya (water) to drink.  'If (the upagghâya) likes being called upon to deliver a discourse, let him call upon (the upagghâya to do so). If (the upagghâya) likes questions being put to him, let him put questions (to the upagghâya).  'If the Vihâra, in which the upagghâya dwells, is dirty, let him clean that Vihâra, if he is able to do so.  When cleaning the Vihâra, let him first take away the alms-bowl and the robe (of the upagghâya) and lay them aside. 
ถ้าประสงค์จะเรียนบาลี พึงขอให้อุปัชฌายะแสดงบาลีขึ้น ถ้าประสงค์จะสอบถามอรรถกถา พึงสอบถาม.  อุปัชฌายะอยู่ในวิหารแห่งใด ถ้าวิหารแห่งนั้นรก ถ้าอุตสาหะอยู่ พึงปัดกวาดเสีย  เมื่อปัดกวาดวิหาร พึงขนบาตรจีวรออกก่อน แล้ววางไว้ ณ ที่ควรส่วนข้างหนึ่ง  พึงขนผ้าปูนั่งและผ้าปูนอน ฟูก หมอน ออกวางไว้ ณ ที่ควรส่วนข้างหนึ่ง 
ชนฺตาฆรํ ปวิสนฺเตน มตฺติกาย มุขํ มกฺเขตฺวา ปุรโต จ ปจฺฉโต จ ปฏิจฺฉาเทตฺวา ชนฺตาฆรํ ปวิสิตพฺพํ.  น เถเร ภิกฺขู อนุปขชฺช นิสีทิตพฺพํ. น นวา ภิกฺขู อาสเนน ปฏิพาหิตพฺพา. ชนฺตาฆเร อุปชฺฌายสฺส ปริกมฺมํ กาตพฺพํ.  ชนฺตาฆรา นิกฺขมนฺเตน ชนฺตาฆรปีฐํ อาทาย ปุรโต จ ปจฺฉโต จ ปฏิจฺฉาเทตฺวา ชนฺตาฆรา นิกฺขมิตพฺพํ.  “อุทเกปิ อุปชฺฌายสฺส ปริกมฺมํ กาตพฺพํ. 
mañco nīcaṃ katvā sādhukaṃ aparighaṃsantena asaṃghaṭṭantena kavāṭapiṭṭhaṃ nīharitvā ekamantaṃ nikkhipitabbo. pīṭhaṃ nīcaṃ katvā sādhukaṃ (48) aparighaṃsantena asaṃghaṭṭantena kavāṭapiṭṭhaṃ nīharitvā ekamantaṃ nikkhipitabbaṃ.  mañcapaṭipādakā nīharitvā ekamantaṃ nikkhipitabbā. kheḷamallako nīharitvā ekamantaṃ nikkhipitabbo.  apassenaphalakaṃ nīharitvā ekamantaṃ nikkhipitabbaṃ. bhummattharaṇaṃ yathāpaññattaṃ sallakkhetvā nīharitvā ekamantaṃ nikkhipitabbaṃ.  sace vihāre santānakaṃ hoti, ullokā paṭhamaṃ ohāretabbaṃ.  ālokasandhikaṇṇabhāgā pamajjitabbā.  sace gerukaparikammakatā bhitti kaṇṇakitā hoti, coḷakaṃ temetvā pīḷetvā pamajjitabbā. sace kāḷavaṇṇakatā bhūmi kaṇṇakitā hoti, coḷakaṃ temetvā pīḷetvā pamajjitabbā.  sace akatā hoti bhūmi, udakena parippositvā sammajjitabbā mā vihāro rajena ūhaññīti.  saṃkāraṃ vicinitvā ekamantaṃ chaḍḍetabbaṃ. |15| 
Let him take away the mat and the sheet and lay them aside. Let him take away the mattress and the pillow and lay them aside.  'Let him turn down the bed, take it away properly without rubbing it (against the floor) and without knocking it against door or doorpost, and put it aside. Let him turn down the chair, take it away properly without rubbing it (against the floor) and without knocking it against door or doorpost, and put it aside.  Let him take away the supporters of the bed and put them aside. Let him take away the spitting-box and put it aside. Let him take away the board to recline on and put it aside.  Let him take away the carpet, after having noticed how it was spread out, and put it aside.  If there are cobwebs in the Vihâra, let him remove them as soon as he sees them.  Let him wipe off the casements and the corners of the room.  If a wall which is coated with red chalk, is dirty, let him moisten the mop, wring it out, and scour the wall. If the floor is coated black and is dirty, let him moisten the mop, wring it out, and scour the floor.  If the floor is not blacked, let him sprinkle it with water and scrub it in order that the Vihâra may not become dusty. 
เตียงตั่ง สัทธิวิหาริกพึงยกต่ำๆ อย่าให้ครูดสี อย่าให้กระทบกระแทกบานและกรอบประตู ขนออกให้เรียบร้อย แล้วตั้งไว้ ณ ที่ควรส่วนข้างหนึ่ง  เขียงรองเตียง กระโถน พนักอิง พึงขนออกตั้งไว้ ณ ที่ควรส่วนข้างหนึ่ง  เครื่องปูพื้น พึงสังเกตที่ปูไว้เดิม แล้วขนออกวางไว้ ณ ที่ควรส่วนข้างหนึ่ง  ถ้าในวิหารมีหยากเยื่อ พึงกวาดแต่เพดานลงมาก่อน  กรอบหน้าต่างและมุมห้องพึงเช็ดเสีย  ถ้าฝาเขาทำบริกรรมด้วยน้ำมัน หรือพื้นเขาทาสีดำขึ้นรา พึงเอาผ้าชุบน้ำบิดแล้วเช็ดเสีย  ถ้าพื้นเขามิได้ทำ พึงเอาน้ำประพรมแล้วเช็ดเสีย ระวังอย่าให้วิหารฟุ้งด้วยธุลี  พึงกวาดหยากเยื่อทิ้งเสีย ณ ที่ควรส่วนข้างหนึ่ง 
นหาเตน ปฐมตรํ อุตฺตริตฺวา อตฺตโน คตฺตํ โวทกํ กตฺวา นิวาเสตฺวา อุปชฺฌายสฺส คตฺตโต อุทกํ ปมชฺชิตพฺพํ นิวาสนํ ทาตพฺพํ สงฺฆาฏิ ทาตพฺพา ชนฺตาฆรปีฐํ อาทาย ปฐมตรํ อาคนฺตฺวา อาสนํ ปญฺญเปตพฺพํ ปาโททกํ ปาทปีฐํ ปาทกถลิกํ อุปนิกฺขิปิตพฺพํ  อุปชฺฌาโย ปานีเยน ปุจฺฉิตพฺโพ.  สเจ อุทฺทิสาเปตุกาโม โหติ อุทฺทิสิตพฺโพ. สเจ ปริปุจฺฉิตุกาโม โหติ ปริปุจฺฉิตพฺโพ.  “ยสฺมึ วิหาเร อุปชฺฌาโย วิหรติ สเจ โส วิหาโร อุกฺลาโป โหติ สเจ อุสฺสหติ โสเธตพฺโพ.  วิหารํ โสเธนฺเตน ปฐมํ ปตฺตจีวรํ นีหริตฺวา เอกมนฺตํ นิกฺขิปิตพฺพํ.  นิสีทนปจฺจตฺถรณํ นีหริตฺวา เอกมนฺตํ นิกฺขิปิตพฺพํ. ภิสิพิพฺโพหนํ นีหริตฺวา เอกมนฺตํ นิกฺขิปิตพฺพํ.  มญฺโจ นีจํ กตฺวา สาธุกํ อปฺปฏิฆํสนฺเตน อสงฺฆฏฺเฏนฺเตน กวาฏปิฏฺฐํ นีหริตฺวา เอกมนฺตํ นิกฺขิปิตพฺโพ. ปีฐํ นีจํ กตฺวา สาธุกํ อปฺปฏิฆํสนฺเตน อสงฺฆฏฺเฏนฺเตน กวาฏปิฏฺฐํ นีหริตฺวา เอกมนฺตํ นิกฺขิปิตพฺพํ.  มญฺจปฏิปาทกา นีหริตฺวา เอกมนฺตํ นิกฺขิปิตพฺพา. เขฬมลฺลโก นีหริตฺวา เอกมนฺตํ นิกฺขิปิตพฺโพ. 
bhummattharaṇaṃ otāpetvā sodhetvā pappoṭhetvā atiharitvā yathāpaññattaṃ paññāpetabbaṃ.  mañcapaṭipādakā otāpetvā pamajjitvā atiharitvā yathāṭṭhāne ṭhapetabbā.  mañco otāpetvā sodhetvā pappoṭhetvā nīcaṃ katvā sādhukaṃ aparighaṃsantena asaṃghaṭṭantena kavāṭapiṭṭhaṃ atiharitvā yathāpaññattaṃ paññāpetabbo. pīṭhaṃ otāpetvā sodhetvā pappoṭhetvā nīcaṃ katvā sādhukaṃ aparighaṃsantena asaṃghaṭṭantena kavāṭapiṭṭhaṃ atiharitvā yathāpaññattaṃ paññāpetabbaṃ.  bhisibimbohanaṃ otāpetvā sodhetvā pappoṭhetvā atiharitvā yathāpaññattaṃ paññāpetabbaṃ. nisīdanapaccattharaṇaṃ otāpetvā sodhetvā pappoṭhetvā atiharitvā yathāpaññattaṃ paññāpetabbaṃ.  kheḷamallako otāpetvā pamajjitvā atiharitvā yathāṭṭhāne ṭhapetabbo. apassenaphalakaṃ otāpetvā pamajjitvā atiharitvā yathāṭṭhāne ṭhapetabbaṃ. |16| 
Let him heap up the sweepings and cast them aside.  'Let him bask the carpet in the sunshine, clean it, dust it by beating, take it back, and spread it out as it was spread before.  Let him put the supporters of the bed in the sunshine, wipe them take them back, and put them in their place.  Let him put the bed in the sunshine, dean it, dust it by beating, turn it down, take it back properly without rubbing it (against the floor) and without knocking it against door and doorpost, and put it in its place. Let him put the chair in the sunshine, &c.1  Let him put mattress and pillow in the sunshine, clean them, dust them by beating, take them back, and lay them out as they were laid out before. Let him put the mat and sheet in the sunshine, &c.1 
เครื่องลาดพื้น พึงผึ่งแดด ชำระ เคาะปัด แล้วขนกลับปูไว้ตามเดิม  เขียงรองเตียง พึงผึ่งแดด ขัด เช็ด แล้วขนกลับตั้งไว้ที่เดิม  เตียงตั่ง พึงผึ่งแดดขัดสี เคาะเสีย ยกต่ำๆ อย่าให้ครูดสี กระทบกระแทกบานและกรอบประตู ขนกลับไปให้ดีๆ แล้วตั้งไว้ตามเดิม  ฟูก หมอน ผ้าปูนั่ง ผ้าปูนอน พึงผึ่งแดด ทำให้สะอาด ตบเสีย แล้วนำกลับวางปูไว้ตามเดิม  กระโถน พนักอิง พึงผึ่งแดด เช็ดถูเสียแล้วขนกลับตั้งไว้ตามเดิม 
อปสฺเสนผลกํ นีหริตฺวา เอกมนฺตํ นิกฺขิปิตพฺพํ. ภูมตฺถรณํ ยถาปญฺญตฺตํ สลฺลกฺเขตฺวา นีหริตฺวา เอกมนฺตํ นิกฺขิปิตพฺพํ.  สเจ วิหาเร สนฺตานกํ โหติ อุลฺโลกา ปฐมํ โอหาเรตพฺพํ  อาโลกสนฺธิกณฺณภาคา ปมชฺชิตพฺพา.  สเจ เครุกปริกมฺมกตา ภิตฺติ กณฺณกิตา โหติ โจฬกํ เตเมตฺวา ปีเฬตฺวา ปมชฺชิตพฺพา. สเจ กาฬวณฺณกตา ภูมิ กณฺณกิตา โหติ โจฬกํ เตเมตฺวา ปีเฬตฺวา ปมชฺชิตพฺพา.  สเจ อกตา โหติ ภูมิ อุทเกน ปริปฺโผสิตฺวา สมฺมชฺชิตพฺพา มา วิหาโร รเชน อุหญฺญีติ. 
pattacīvaraṃ nikkhipitabbaṃ. pattaṃ nikkhipantena ekena hatthena pattaṃ gahetvā ekena hatthena heṭṭhāmañcaṃ vā heṭṭhāpīṭhaṃ vā parāmasitvā patto nikkhipitabbo, na ca anantarahitāya bhūmiyā patto nikkhipitabbo.  cīvaraṃ nikkhipantena ekena hatthena cīvaraṃ gahetvā ekena hatthena cīvaravaṃsaṃ vā cīvararajjuṃ vā pamajjitvā pārato antaṃ orato bhogaṃ katvā cīvaraṃ nikkhipitabbaṃ. |17| 
Let him put the spittoon in the sunshine, wipe it, take it back, and put it in its place. Let him put in the sunshine the board to recline on, &c.1  'Let him put away the alms-bowl and the robe. When he puts them away (&c., as in § 11, down to:), 
พึงเก็บบาตรจีวร เมื่อเก็บบาตร พึงเอามือข้างหนึ่งจับบาตร เอามือข้างหนึ่งลูบคลำใต้เตียงหรือใต้ตั่งแล้วจึงเก็บบาตร แต่ไม่พึงเก็บบาตรบนพื้นที่ไม่มีสิ่งใดรอง  เมื่อเก็บจีวร พึงเอามือข้างหนึ่งถือจีวร เอามือข้างหนึ่งลูบราวจีวรหรือสายระเดียง แล้ว แล้วทำชายไว้ข้างนอก ทำขนดไว้ข้างใน แล้วเก็บจีวร. 
สงฺการํ วิจินิตฺวา เอกมนฺตํ ฉฑฺเฑตพฺพํ.  “ภูมตฺถรณํ โอตาเปตฺวา โสเธตฺวา ปปฺโผเฏตฺวา อติหริตฺวา ยถาปญฺญตฺตํ ปญฺญเปตพฺพํ. 
sace puratthimā sarajā vātā vāyanti, puratthimā vātapānā thaketabbā.  sace pacchimā sarajā vātā vāyanti, pacchimā vātapānā thaketabbā.  sace uttarā sarajā vātā vāyanti, uttarā vātapānā thaketabbā.  sace dakkhiṇā sarajā vātā vāyanti, dakkhiṇā vā-(49)tapānā thaketabbā.  sace sītakālo hoti, divā vātapānā vivaritabbā, rattiṃ thaketabbā.  sace uṇhakālo hoti, divā vātapānā thaketabbā, rattiṃ vivaritabbā. |18| 
and hang up the robe so that the border is turned away from him and the fold is turned towards him.  'If dusty winds blow from the East, let him shut the windows on the East.  If dusty winds blow from the West, let him shut the windows on the West, &c.2      If it is cold weather, let him open the windows by day and shut them at night. 
ถ้าลมเจือด้วยผงคลีพัดมาแต่ทิศตะวันออก พึงปิดหน้าต่างด้านตะวันออก  ถ้าพัดมาแต่ทิศตะวันตก พึงปิดหน้าต่างด้านตะวันตก  ถ้าพัดมาแต่ทิศเหนือ พึงปิดหน้าต่างด้านเหนือ  ถ้าพัดมาแต่ทิศใต้ พึงปิดหน้าต่างด้านใต้  ถ้าฤดูหนาวพึงเปิดหน้าต่างกลางวัน กลางคืนพึงปิด  ถ้าฤดูร้อน พึงปิดหน้าต่างกลางวัน กลางคืนพึงเปิด. 
มญฺจปฏิปาทกา โอตาเปตฺวา ปมชฺชิตฺวา อติหริตฺวา ยถาฐาเน ฐเปตพฺพา.  มญฺโจ โอตาเปตฺวา โสเธตฺวา ปปฺโผเฏตฺวา นีจํ กตฺวา สาธุกํ อปฺปฏิฆํสนฺเตน อสงฺฆฏฺเฏนฺเตน กวาฏปิฏฺฐํ อติหริตฺวา ยถาปญฺญตฺตํ ปญฺญเปตพฺโพ. ปีฐํ โอตาเปตฺวา โสเธตฺวา ปปฺโผเฏตฺวา นีจํ กตฺวา สาธุกํ อปฺปฏิฆํสนฺเตน อสงฺฆฏฺเฏนฺเตน กวาฏปิฏฺฐํ อติหริตฺวา ยถาปญฺญตฺตํ ปญฺญเปตพฺพํ.  ภิสิพิพฺโพหนํ โอตาเปตฺวา โสเธตฺวา ปปฺโผเฏตฺวา อติหริตฺวา ยถาปญฺญตฺตํ ปญฺญเปตพฺพํ. นิสีทนปจฺจตฺถรณํ โอตาเปตฺวา โสเธตฺวา ปปฺโผเฏตฺวา อติหริตฺวา ยถาปญฺญตฺตํ ปญฺญเปตพฺพํ.  เขฬมลฺลโก โอตาเปตฺวา ปมชฺชิตฺวา อติหริตฺวา ยถาฐาเน ฐเปตพฺโพ. อปสฺเสนผลกํ โอตาเปตฺวา ปมชฺชิตฺวา อติหริตฺวา ยถาฐาเน ฐเปตพฺพํ.  ปตฺตจีวรํ นิกฺขิปิตพฺพํ. ปตฺตํ นิกฺขิปนฺเตน เอเกน หตฺเถน ปตฺตํ คเหตฺวา เอเกน หตฺเถน เหฏฺฐามญฺจํ วา เหฏฺฐาปีฐํ วา ปรามสิตฺวา ปตฺโต นิกฺขิปิตพฺโพ. น จ อนนฺตรหิตาย ภูมิยา ปตฺโต นิกฺขิปิตพฺโพ.  จีวรํ นิกฺขิปนฺเตน เอเกน หตฺเถน จีวรํ คเหตฺวา เอเกน หตฺเถน จีวรวํสํ วา จีวรรชฺชุํ วา ปมชฺชิตฺวา ปารโต อนฺตํ โอรโต โภคํ กตฺวา จีวรํ นิกฺขิปิตพฺพํ. 
sace pariveṇaṃ uklāpaṃ hoti, pariveṇaṃ sammajjitabbaṃ. sace koṭṭhako uklāpo hoti, koṭṭhako sammajjitabbo. sace upaṭṭhānasālā uklāpā hoti, upaṭṭhānasālā sammajjitabbā. sace aggisālā uklāpā hoti, aggisālā sammajjitabbā. sace vaccakuṭī uklāpā hoti, vaccakuṭī sammajjitabbā.  sace pāniyaṃ na hoti, pāniyaṃ upaṭṭhāpetabbaṃ. sace paribhojaniyaṃ na hoti, paribhojaniyaṃ upaṭṭhāpetabbaṃ.  sace ācamanakumbhiyā udakaṃ na hoti, ācamanakumbhiyā udakaṃ āsiñcitabbaṃ. |19| 
If it is hot weather, let him shut the windows by day and open them at night.  'If the cell is dirty, let him sweep the cell. If the store-room is dirty, let him sweep the store-room. If the refectory, &c. If the fire room, &c. If the privy is dirty, let him sweep the privy.  If there is no drinkable water, let him provide drinkable water. If there is no food, let him provide food. 
ถ้าบริเวณ ซุ้มน้ำ โรงฉัน โรงไฟ วัจจกุฎี รก พึงปัดกวาดเสีย  ถ้าน้ำฉันน้ำใช้ไม่มีพึงจัดตั้งไว้  ถ้าน้ำในหม้อชำระไม่มี พึงตักน้ำมาไว้ในหม้อชำระ. 
“สเจ ปุรตฺถิมา สรชา วาตา วายนฺติ ปุรตฺถิมา วาตปานา ถเกตพฺพา.  สเจ ปจฺฉิมา สรชา วาตา วายนฺติ ปจฺฉิมา วาตปานา ถเกตพฺพา.  สเจ อุตฺตรา สรชา วาตา วายนฺติ อุตฺตรา วาตปานา ถเกตพฺพา. 
sace upajjhāyassa anabhirati uppannā hoti, saddhivihārikena vūpakāsetabbā vūpakāsāpetabbā dhammakathā vāssa kātabbā.  sace upajjhāyassa kukkuccaṃ uppannaṃ hoti, saddhivihārikena vinodetabbaṃ vinodāpetabbaṃ dhammakathā vāssa kātabbā.  sace upajjhāyassa diṭṭhigataṃ uppannaṃ hoti, saddhivihārikena vivecetabbaṃ vivecāpetabbaṃ dhammakathā vāssa kātabbā. |20| 
If there is no water in the waterpot for rinsing the mouth with, let him pour water into the pot.  'If discontent has arisen within the upagghâya's heart, let the saddhivihârika appease him, or cause him to be appeased (by another), by compose him by religious conversation.  If indecision has arisen in the upagghâya's mind, let the saddhivihârika dispel it, or cause it to be dispelled, or compose him by religious conversation. 
ถ้าความกระสันบังเกิดแก่อุปัชฌายะ สัทธิวิหาริกพึงช่วยระงับ หรือพึงวานภิกษุอื่นให้ช่วยระงับ หรือพึงทำธรรมกถาแก่อุปัชฌายะนั้น  ถ้าความรำคาญบังเกิดแก่อุปัชฌายะ สัทธิวิหาริกพึงช่วยบรรเทา หรือพึงวานภิกษุอื่นให้ช่วยบรรเทา หรือพึงทำธรรมกถาแก่อุปัชฌายะนั้น  ถ้าความเห็นผิดบังเกิดแก่อุปัชฌายะ สัทธิวิหาริกพึงให้สละเสีย หรือพึงวานภิกษุอื่นให้ช่วย หรือพึงทำธรรมกถาแก่อุปัชฌายะนั้น. 
สเจ ทกฺขิณา สรชา วาตา วายนฺติ ทกฺขิณา วาตปานา ถเกตพฺพา.  สเจ สีตกาโล โหติ ทิวา วาตปานา วิวริตพฺพา รตฺตึ ถเกตพฺพา.  สเจ อุณฺหกาโล โหติ ทิวา วาตปานา ถเกตพฺพา รตฺตึ วิวริตพฺพา. 
sace upajjhāyo garudhammaṃ ajjhāpanno hoti parivāsāraho, saddhivihārikena ussukkaṃ kātabbaṃ kin ti nu kho saṃgho upajjhāyassa parivāsaṃ dadeyyā ’ti.  sace upajjhāyo mūlāya paṭikassanāraho hoti, saddhivihārikena ussukkaṃ kātabbaṃ kin ti nu kho saṃgho upajjhāyaṃ mūlāya paṭikasseyyā ’ti.  sace upajjhāyo mānattāraho hoti, saddhivihārikena ussukkaṃ kātabbaṃ kin ti nu kho saṃgho upajjhāyassa mānattaṃ dadeyyā ’ti.  sace upajjhāyo abbhānāraho hoti, saddhivihārikena ussukkaṃ kātabbaṃ kin ti nu kho saṃgho upajjhāyaṃ abbheyyā ’ti. |21| 
If the upagghâya takes to a false doctrine, let the saddhivihârika discuss it, or cause another to discuss it, or compose (the upagghâya) by religious conversation.  'If the upagghâya is guilty of a grave offence, and ought to be sentenced to parivâsa discipline, let the saddhivihârika take care that the Samgha sentence the upagghâya to parivâsa discipline.  If the upagghâya ought to be sentenced to recommence his penal discipline, let the saddhivihârika take care that the Samgha may order the upagghâya to recommence his penal discipline.  If the mânatta discipline ought to be imposed on the upagghâya, let the saddhivihârika take care that the Samgha impose the mânatta discipline on the upagghâya. 
ถ้าอุปัชฌายะต้องอาบัติหนักควรปริวาส สัทธิวิหาริกพึงทำความขวนขวายว่า ด้วยอุบายอย่างไรหนอ สงฆ์พึงให้ปริวาสแก่อุปัชฌายะ  ถ้าอุปัชฌายะควรชักเข้าหาอาบัติเดิม สัทธิวิหาริกพึงทำความขวนขวายว่า ด้วยอุบายอย่างไรหนอ สงฆ์พึงชักอุปัชฌายะเข้าหาอาบัติเดิม  ถ้าอุปัชฌายะควรมานัต สัทธิวิหาริกพึงทำความขวนขวายว่า ด้วยอุบายอย่างไรหนอ สงฆ์พึงให้มานัตแก่อุปัชฌายะ  ถ้าอุปัชฌายะควรอัพภาน สัทธิวิหาริกพึงทำความขวนขวายว่าด้วยอุบายอย่างไรหนอ สงฆ์พึงอัพภานอุปัชฌายะ. 
“สเจ ปริเวณํ อุกฺลาปํ โหติ ปริเวณํ สมฺมชฺชิตพฺพํ. สเจ โกฏฺฐโก อุกฺลาโป โหติ โกฏฺฐโก สมฺมชฺชิตพฺโพ. สเจ อุปฏฺฐานสาลา อุกฺลาปา โหติ อุปฏฺฐานสาลา สมฺมชฺชิตพฺพา. สเจ อคฺคิสาลา อุกฺลาปา โหติ อคฺคิสาลา สมฺมชฺชิตพฺพา. สเจ วจฺจกุฏิ อุกฺลาปา โหติ วจฺจกุฏิ สมฺมชฺชิตพฺพา.  สเจ ปานียํ น โหติ ปานียํ อุปฏฺฐาเปตพฺพํ. สเจ ปริโภชนียํ น โหติ ปริโภชนียํ อุปฏฺฐาเปตพฺพํ.  สเจ อาจมนกุมฺภิยา อุทกํ น โหติ อาจมนกุมฺภิยา อุทกํ อาสิญฺจิตพฺพํ.  “สเจ อุปชฺฌายสฺส อนภิรติ อุปฺปนฺนา โหติ สทฺธิวิหาริเกน วูปกาเสตพฺโพ วูปกาสาเปตพฺโพ ธมฺมกถา วาสฺส กาตพฺพา. 
sace saṃgho upajjhāyassa kammaṃ kattukāmo hoti tajjaniyaṃ vā nissayaṃ vā pabbājaniyaṃ vā paṭisāraṇiyaṃ vā ukkhepaniyaṃ vā, saddhivihārikena ussukkaṃ kātabbaṃ kin ti nu kho saṃgho upajjhāyassa kammaṃ na kareyya lahukāya vā pariṇāmeyyā ’ti.  kataṃ vā pan’ assa hoti saṃghena kammaṃ tajjaniyaṃ vā nissayaṃ vā pabbājaniyaṃ vā paṭisāraṇiyaṃ vā ukkhepaniyaṃ vā, saddhivihārikena ussukkaṃ kātabbaṃ kin ti nu kho upajjhāyo sammāvatteyya lomaṃ pāteyya netthāraṃ vatteyya, saṃgho taṃ kammaṃ paṭippassambheyyā ’ti. |22| 
If the upagghâya is to be rehabilitated (when his penal discipline has been duly undergone), let the saddhivihârika take care that the Samgha rehabilitate the upagghâya.  'If the Samgha wishes to proceed against the upagghâya by the tagganiyakamma, or the nissaya, or the pabbâganiyakamma, or the patisâraniyakamma, or the ukkhepaniyakamma, let the saddhivihârika do what he can in order that the Samgha may not proceed against the upagghâya or may mitigate the proceeding. 
ถ้าสงฆ์ปรารถนาจะทำกรรมแก่อุปัชฌายะ คือ ตัชชนียกรรม นิยสกรรม ปัพพาชนียกรรม ปฏิสารณียกรรม หรืออุกเขปนียกรรม สัทธิวิหาริก พึงทำความขวนขวายว่า ด้วยอุบายอย่างไรหนอ สงฆ์ไม่พึงทำกรรมแก่อุปัชฌายะ หรือสงฆ์พึงน้อมไปเพื่อกรรมสถานเบา  หรืออุปัชฌายะ นั้นถูกสงฆ์ลงตัชชนียกรรม นิยสกรรม ปัพพาชนียกรรม ปฏิสารณียกรรม หรืออุกเขปนียกรรมแล้ว สัทธิวิหาริกพึงทำความขวนขวายว่า ด้วยอุบายอย่างไรหนอ อุปัชฌายะ พึงประพฤติชอบ พึงหายเย่อหยิ่ง พึงประพฤติแก้ตัว สงฆ์พึงระงับกรรมนั้นเสีย. 
สเจ อุปชฺฌายสฺส กุกฺกุจฺจํ อุปฺปนฺนํ โหติ สทฺธิวิหาริเกน วิโนเทตพฺพํ วิโนทาเปตพฺพํ ธมฺมกถา วาสฺส กาตพฺพา.  สเจ อุปชฺฌายสฺส ทิฏฺฐิคตํ อุปฺปนฺนํ โหติ สทฺธิวิหาริเกน วิเวเจตพฺพํ วิเวจาเปตพฺพํ ธมฺมกถา วาสฺส กาตพฺพา 
sace upajjhāyassa cīvaraṃ dhovitabbaṃ hoti, saddhivihārikena dhovitabbaṃ ussukkaṃ vā (50) kātabbaṃ kin ti nu kho upajjhāyassa cīvaraṃ dhoviyethā ’ti.  sace upajjhāyassa cīvaraṃ kātabbaṃ hoti, saddhivihārikena kātabbaṃ ussukkaṃ vā katabbaṃ kin ti nu kho upajjhāyassa cīvaraṃ kariyethā ’ti.  sace upajjhāyassa rajanaṃ pacitabbaṃ hoti, saddhivihārikena pacitabbaṃ ussukkaṃ vā kātabbaṃ kin ti nu kho upajjhāyassa rajanaṃ paciyethā ’ti.  sace upajjhāyassa cīvaraṃ rajitabbaṃ hoti, saddhivihārikena rajitabbaṃ ussukkaṃ vā kātabbaṃ kin ti nu kho upajjhāyassa cīvaraṃ rajiyethā ’ti.  cīvaraṃ rajantena sādhukaṃ saṃparivattakaṃ-saṃparivattakaṃ rajitabbaṃ na ca acchinne theve pakkamitabbaṃ. |23| 
Or if thc Samgha has instituted a proceeding against him, the tagganiyakamma, &c., or the ukkhepaniyakamma, let the saddhivihârika do what he can in order that the upagghâya may behave himself properly, live modestly, and aspire to get clear of his penance, and that the Samgha may revoke its sentence.  'If the robe of the upagghâya must be washed, let the saddhivihârika wash it or take care that the upagghâya's robe is washed.  If a robe must be made for the upagghâya, let the saddhivihârika make it or take care that the upagghâya's robe is made.  If dye must be boiled for the upagghâya, &c.  If the robe of the upagghâya must be dyed, &c. 
ถ้าจีวรของอุปัชฌายะจะต้องซัก สัทธิวิหาริกพึงซัก หรือพึงทำความขวนขวายว่า ด้วยอุบายอย่างไรหนอ ใครๆ พึงซักจีวรของอุปัชฌายะ  ถ้าจีวรของอุปัชฌายะจะต้องทำ สัทธิวิหาริกพึงทำ หรือพึงทำความขวนขวายว่า ด้วยอุบายอย่างไรหนอ ใครๆ พึงทำจีวรของอุปัชฌายะ  ถ้าน้ำย้อมของอุปัชฌายะจะต้องต้ม สัทธิวิหาริกพึงต้ม หรือพึงทำความขวนขวายว่า ด้วยอุบายอย่างไรหนอ ใครๆ พึงต้มน้ำย้อมของอุปัชฌายะ  ถ้าจีวรของอุปัชฌายะจะต้องย้อม สัทธิวิหาริกพึงย้อม หรือพึงทำความขวนขวายว่า ด้วยอุบายอย่างไรหนอ ใครๆ พึงย้อมจีวรของอุปัชฌายะ  เมื่อย้อมจีวร พึงย้อมพลิกกลับไปกลับมาให้ดีๆ เมื่อหยาดน้ำย้อมยังหยดไม่ขาดสาย ไม่พึงหลีกไปเสีย. 
สเจ อุปชฺฌาโย ครุธมฺมํ อชฺฌาปนฺโน โหติ ปริวาสารโห สทฺธิวิหาริเกน อุสฺสุกฺกํ กาตพฺพํ กินฺติ นุ โข สงฺโฆ อุปชฺฌายสฺส ปริวาสํ ทเทยฺยาติ.  สเจ อุปชฺฌาโย มูลาย ปฏิกสฺสนารโห โหติ สทฺธิวิหาริเกน อุสฺสุกฺกํ กาตพฺพํ กินฺติ นุ โข สงฺโฆ อุปชฺฌายํ มูลาย ปฏิกสฺเสยฺยาติ.  สเจ อุปชฺฌาโย มานตฺตารโห โหติ สทฺธิวิหาริเกน อุสฺสุกฺกํ กาตพฺพํ กินฺติ นุ โข สงฺโฆ อุปชฺฌายสฺส มานตฺตํ ทเทยฺยาติ.  สเจ อุปชฺฌาโย อพฺภานารโห โหติ สทฺธิวิหาริเกน อุสฺสุกฺกํ กาตพฺพํ กินฺติ นุ โข สงฺโฆ อุปชฺฌายํ อพฺเภยฺยาติ.  สเจ สงฺโฆ อุปชฺฌายสฺส กมฺมํ กตฺตุกาโม โหติ ตชฺชนียํ วา นิยสฺสํ วา ปพฺพาชนียํ วา ปฏิสารณียํ วา อุกฺเขปนียํ วา สทฺธิวิหาริเกน อุสฺสุกฺกํ กาตพฺพํ กินฺติ นุ โข สงฺโฆ อุปชฺฌายสฺส กมฺมํ น กเรยฺย ลหุกาย วา ปริณาเมยฺยาติ. 
na upajjhāyaṃ anāpucchā ekaccassa patto dātabbo, na ekaccassa patto paṭiggahetabbo, na ekaccassa cīvaraṃ dātabbaṃ, na ekaccassa cīvaraṃ paṭiggahetabbaṃ, na ekaccassa parikkhāro dātabbo, na ekaccassa parikkhāro paṭiggahetabbo, na ekaccassa kesā chedātabbā, na ekaccena kesā chedāpetabbā, na ekaccassa parikammaṃ kātabbaṃ, na ekaccena parikammaṃ kārāpetabbaṃ, na ekaccassa veyyāvacco kātabbo, na ekaccena veyyāvacco kārāpetabbo, na ekaccassa pacchāsamaṇena hotabbaṃ, na ekacco pacchāsamaṇo ādātabbo, na ekaccassa piṇḍapāto nīharitabbo, na ekaccena piṇḍapāto nīharāpetabbo.  na upajjhāyaṃ anāpucchā gāmo pavisitabbo, na susānaṃ gantabbaṃ, na disā pakkamitabbā.  sace upajjhāyo gilāno hoti, yāvajīvaṃ upaṭṭhātabbo, vuṭṭhānassa āgametabban ti. |24| 
When he dyes the robe, let him dye it properly and turn it whenever required, and let him not go away before the dye has ceased to drop.  'Let him not give his alms-bowl to any one without the permission of his upagghâya. Let him not accept an alms-bowl from any one else without the permission of his upagghâya. Let him not give his robe to any one else, &c. Let him not accept a robe from any one else; let him not give articles (required for a Bhikkhu) to any one else; let him not receive (such) articles from anyone else; let him not shave the hair of any one else; let him not have his hair shaven by any one else; let him not wait upon any one else; let him not have done service by any one else; let him not execute commissions for any one else; let him not have commissions executed by anyone else; let him not go with anyone else as his attendant; let him not take any one else with him as his attendant; let him not carry any one's food received by him in alms (to the Vihâra); let him not have the food received by himself in alms carried by any one (to the Vihâra) without the permission of his upagghâya.  Let him not enter the village, or go to a cemetery, or go abroad on journeys without the permission of his upagghâya. 
สัทธิวิหาริกไม่บอกอุปัชฌายะก่อน ไม่พึงให้บาตรแก่ภิกษุบางรูป ไม่พึงรับบาตรของภิกษุบางรูป ไม่พึงให้จีวรแก่ภิกษุบางรูป ไม่พึงรับจีวรของภิกษุบางรูป ไม่พึงให้บริขารแก่ภิกษุบางรูป ไม่พึงรับบริขารของภิกษุบางรูป ไม่พึงปลงผมให้ภิกษุบางรูป ไม่พึงให้ภิกษุบางรูปปลงผมให้ ไม่พึงทำบริกรรม ไม่พึงให้ภิกษุบางรูปทำบริกรรมให้ ไม่พึงทำความขวนขวายแก่ภิกษุบางรูป ไม่พึงสั่งให้ภิกษุบางรูปทำความขวนขวาย ไม่พึงเป็นปัจฉาสมณะของภิกษุบางรูป ไม่พึงพาภิกษุบางรูปไปเป็นปัจฉาสมณะ ไม่พึงนำบิณฑบาตไปให้ภิกษุบางรูป ไม่พึงให้ภิกษุบางรูปนำบิณฑบาตมาให้  ไม่ลาอุปัชฌายะก่อน ไม่พึงเข้าบ้าน ไม่พึงไปป่าช้า ไม่พึงหลีกไปสู่ทิศ  ถ้าอุปัชฌายะอาพาธ พึงพยาบาลจนตลอดชีวิต พึงรอจนกว่าจะหาย. 
กตํ วา ปนสฺส โหติ สงฺเฆน กมฺมํ ตชฺชนียํ วา นิยสฺสํ วา ปพฺพาชนียํ วา ปฏิสารณียํ วา อุกฺเขปนียํ วา สทฺธิวิหาริเกน อุสฺสุกฺกํ กาตพฺพํ กินฺติ นุ โข อุปชฺฌาโย สมฺมา วตฺเตยฺย โลมํ ปาเตยฺย เนตฺถารํ วตฺเตยฺย สงฺโฆ ตํ กมฺมํ ปฏิปฺปสฺสมฺเภยฺยาติ.  “สเจ อุปชฺฌายสฺส จีวรํ โธวิตพฺพํ โหติ สทฺธิวิหาริเกน โธวิตพฺพํ อุสฺสุกฺกํ วา กาตพฺพํ กินฺติ นุ โข อุปชฺฌายสฺส จีวรํ โธวิเยถาติ.  สเจ อุปชฺฌายสฺส จีวรํ กาตพฺพํ โหติ สทฺธิวิหาริเกน กาตพฺพํ อุสฺสุกฺกํ วา กาตพฺพํ กินฺติ นุ โข อุปชฺฌายสฺส จีวรํ กริเยถาติ. 
upajjhāyavattaṃ niṭṭhitaṃ. ||25|| 
If his upagghâya is sick, let him nurse him as long as his life lasts, and wait until he has recovered.' 
อุปัชฌายวัตร จบ 
สเจ อุปชฺฌายสฺส รชนํ ปจิตพฺพํ โหติ สทฺธิวิหาริเกน ปจิตพฺพํ อุสฺสุกฺกํ วา กาตพฺพํ กินฺติ นุ โข อุปชฺฌายสฺส รชนํ ปจิเยถาติ. 
upajjhāyena bhikkhave saddhivihārikamhi sammāvattitabbaṃ, tatrāyaṃ sammāvattanā:  upajjhāyena bhikkhave saddhivihāriko saṃgahetabbo anuggahetabbo uddesena paripucchāya ovādena anusāsaniyā.  sace upajjhāyassa patto hoti, saddhivihārikassa patto na hoti, upajjhāyena saddhivihārikassa patto dātabbo ussukkaṃ vā kātabbaṃ kin ti nu kho saddhivihārikassa patto uppajjiyethā ’ti.  sace upajjhāyassa cīvaraṃ hoti, saddhivihārikassa cīvaraṃ na hoti, upajjhāyena saddhivihārikassa cīvaraṃ dātabbaṃ ussukkaṃ vā kātabbaṃ kin ti nu kho saddhivihārikassa cīvaraṃ uppajjiyethā ’ti.  sace upajjhāyassa parikkhāro hoti, saddhivihārikassa parikkhāro na hoti, upajjhāyena saddhivihārikassa (51) parikkhāro dātabbo ussukkaṃ vā kātabbaṃ kin ti nu kho saddhivihārikassa parikkhāro uppajjiyethā ’ti. |1| 
End of the duties towards an upagghâya.  'The upagghâya, O Bhikkhus, ought to observe a strict conduct towards his saddhivihârika. And these are the rules for his conduct:  Let the upagghâya, O Bhikkhus, afford (spiritual) help and furtherance to the saddhivihârika by teaching by putting questions to him, by exhortation, by instruction.  If the upagghâya has an alms-bowl and the saddhivihârika has not, let the upagghâya give the alms-bowl to the saddhivihârika or take care that the saddhivihârika gets an alms-bowl.  If the upagghâya has a robe and the saddhivihârika has not, let the upagghâya give the robe, &c. 
สัทธิวิหาริกวัตร [๘๒] ดูกรภิกษุทั้งหลาย อุปัชฌายะพึงประพฤติชอบในสัทธิวิหาริก. วิธีประพฤติชอบในสัทธิวิหาริกนั้น มีดังต่อไปนี้:-  ดูกรภิกษุทั้งหลาย อุปัชฌายะพึงสงเคราะห์ อนุเคราะห์ สัทธิวิหาริก ด้วยสอนบาลีและอรรถกถา ด้วยให้โอวาทและอนุศาสนี.  ถ้าอุปัชฌายะมีบาตร สัทธิวิหาริกไม่มีบาตร อุปัชฌายะพึงให้บาตรแก่สัทธิวิหาริก หรือพึงทำความขวนขวายว่า ด้วยอุบายอย่างไรหนอ บาตรพึงบังเกิดแก่สัทธิวิหาริก  ถ้าอุปัชฌายะมีจีวร สัทธิวิหาริกไม่มีจีวร อุปัชฌายะพึงให้จีวรแก่สัทธิวิหาริก หรือพึงทำความขวนขวายว่า ด้วยอุบายอย่างไรหนอ จีวรพึงบังเกิดแก่สัทธิวิหาริก  ถ้าอุปัชฌายะมีบริขาร สัทธิวิหาริกไม่มีบริขาร อุปัชฌายะ พึงให้บริขารแก่สัทธิวิหาริกหรือพึงทำความขวนขวายว่า ด้วยอุบายอย่างไรหนอ บริขารพึงบังเกิดแก่สัทธิวิหาริก. 
สเจ อุปชฺฌายสฺส จีวรํ รชิตพฺพํ โหติ สทฺธิวิหาริเกน รชิตพฺพํ อุสฺสุกฺกํ วา กาตพฺพํ กินฺติ นุ โข อุปชฺฌายสฺส จีวรํ รชิเยถาติ.  จีวรํ รชนฺเตน สาธุกํ สมฺปริวตฺตกํ สมฺปริวตฺตกํ รชิตพฺพํ น จ อจฺฉินฺเน เถเว ปกฺกมิตพฺพํ.  “น อุปชฺฌายํ อนาปุจฺฉา เอกจฺจสฺส ปตฺโต ทาตพฺโพ น เอกจฺจสฺส ปตฺโต ปฏิคฺคเหตพฺโพ น เอกจฺจสฺส จีวรํ ทาตพฺพํ น เอกจฺจสฺส จีวรํ ปฏิคฺคเหตพฺพํ น เอกจฺจสฺส ปริกฺขาโร ทาตพฺโพ น เอกจฺจสฺส ปริกฺขาโร ปฏิคฺคเหตพฺโพ น เอกจฺจสฺส เกสา เฉเทตพฺพา น เอกจฺเจน เกสา เฉทาเปตพฺพา น เอกจฺจสฺส ปริกมฺมํ กาตพฺพํ น เอกจฺเจน ปริกมฺมํ การาเปตพฺพํ น เอกจฺจสฺส เวยฺยาวจฺโจ กาตพฺโพ น เอกจฺเจน เวยฺยาวจฺโจ การาเปตพฺโพ น เอกจฺจสฺส ปจฺฉาสมเณน โหตพฺพํ น เอกจฺโจ ปจฺฉาสมโณ อาทาตพฺโพ น เอกจฺจสฺส ปิณฺฑปาโต นีหริตพฺโพ น เอกจฺเจน ปิณฺฑปาโต นีหราเปตพฺโพ  น อุปชฺฌายํ อนาปุจฺฉา คาโม ปวิสิตพฺโพ น สุสานํ คนฺตพฺพํ น ทิสา ปกฺกมิตพฺพา.  สเจ อุปชฺฌาโย คิลาโน โหติ ยาวชีวํ อุปฏฺฐาตพฺโพ วุฏฺฐานมสฺส อาคเมตพฺพ”นฺติ. 
sace saddhivihāriko gilāno hoti, kālass’ eva uṭṭhāya dantakaṭṭhaṃ dātabbaṃ, mukhodakaṃ dātabbaṃ, āsanaṃ paññāpetabbaṃ.  sace yāgu hoti, bhājanaṃ dhovitvā yāgu upanāmetabbā.  yāguṃ pītassa udakaṃ datvā bhājanaṃ paṭiggahetvā nīcaṃ katvā sādhukaṃ aparighaṃsantena dhovitvā paṭisāmetabbaṃ.  saddhivihārikamhi vuṭṭhite āsanaṃ uddharitabbaṃ.  sace so deso uklāpo hoti, so deso sammajjitabbo. |2| 
If the upagghâya has the articles (required for a Bhikkhu) and the saddhivihârika has not, &c.  'If the saddhivihârika is sick, let (the upagghâya) arise betimes and give him the teeth-cleanser and water to rinse his mouth with. Then let him prepare a seat (for the saddhivihârika).  If there is rice-milk (&c, as in chap 25. 8, 9, down to:),     
ถ้าสัทธิวิหาริกอาพาธ อุปัชฌายะพึงลุกแต่เช้าตรู่ แล้วให้ไม้ชำระฟัน ให้น้ำล้างหน้า ปูอาสนะไว้  ถ้ายาคูมี พึงล้างภาชนะแล้ว นำยาคูเข้าไปให้  เมื่อสัทธิวิหาริกดื่มยาคูแล้ว พึงให้น้ำ รับภาชนะมา ถือต่ำๆ อย่าให้กระทบกัน ล้างให้สะอาดแล้วเก็บไว้  เมื่อสัทธิหาริกลุกแล้ว พึงเก็บอาสนะ  ถ้าที่นั้นรก พึงกวาดที่นั้นเสีย. 
อุปชฺฌายวตฺตํ นิฏฺฐิตํ.  (๑๖. สทฺธิวิหาริกวตฺตกถา) ๖๗. “อุปชฺฌาเยน ภิกฺขเว สทฺธิวิหาริกมฺหิ สมฺมา วตฺติตพฺพํ. ตตฺรายํ สมฺมาวตฺตนา  “อุปชฺฌาเยน ภิกฺขเว สทฺธิวิหาริโก สงฺคเหตพฺโพ อนุคฺคเหตพฺโพ อุทฺเทเสน ปริปุจฺฉาย โอวาเทน อนุสาสนิยา.  สเจ อุปชฺฌายสฺส ปตฺโต โหติ สทฺธิวิหาริกสฺส ปตฺโต น โหติ อุปชฺฌาเยน สทฺธิวิหาริกสฺส ปตฺโต ทาตพฺโพ อุสฺสุกฺกํ วา กาตพฺพํ กินฺติ นุ โข สทฺธิวิหาริกสฺส ปตฺโต อุปฺปชฺชิเยถาติ.  สเจ อุปชฺฌายสฺส จีวรํ โหติ สทฺธิวิหาริกสฺส จีวรํ น โหติ อุปชฺฌาเยน สทฺธิวิหาริกสฺส จีวรํ ทาตพฺพํ อุสฺสุกฺกํ วา กาตพฺพํ กินฺติ นุ โข สทฺธิวิหาริกสฺส จีวรํ อุปฺปชฺชิเยถาติ. 
sace saddhivihāriko gāmaṃ pavisitukāmo hoti, nivāsanaṃ dātabbaṃ, paṭinivāsanaṃ paṭiggahetabbaṃ, kāyabandhanaṃ dātabbaṃ, saguṇaṃ katvā {saṃghāṭiyo} dātabbā, dhovitvā patto saudako dātabbo.  ettāvatā nivattissatīti āsanaṃ paññāpetabbaṃ, pādodakaṃ pādapīṭhaṃ pādakathalikaṃ upanikkhipitabbaṃ, paccuggantvā pattacīvaraṃ paṭiggahetabbaṃ, paṭinivāsanaṃ dātabbaṃ, nivāsanaṃ paṭiggahetabbaṃ.  sace cīvaraṃ sinnaṃ hoti, muhuttaṃ uṇhe otāpetabbaṃ, na ca uṇhe cīvaraṃ nidahitabbaṃ.  cīvaraṃ saṃharitabbaṃ.  cīvaraṃ saṃharantena caturaṅgulaṃ kaṇṇaṃ ussāretvā cīvaraṃ saṃharitabbaṃ mā majjhe bhaṅgo ahosīti.  obhoge kāyabandhanaṃ kātabbaṃ.  sace piṇḍapāto hoti saddhivihāriko ca bhuñjitukāmo hoti, udakaṃ datvā piṇḍapāto upanāmetabbo. |3| 
             
ถ้าสัทธิวิหาริกประสงค์จะเข้าบ้าน พึงให้ผ้านุ่ง พึงรับผ้านุ่งผลัดมา พึงให้ประคตเอว พึงพับสังฆาฏิเป็นชั้นให้ พึงล้างบาตรแล้วให้พร้อมทั้งน้ำด้วย  พึงปูอาสนะที่นั่งฉันไว้ ด้วยกำหนดในใจว่าเพียงเวลาเท่านี้ สัทธิวิหาริกจักกลับมา น้ำล้างเท้า ตั่งรองเท้า กระเบื้องเช็ดเท้า พึงเตรียมตั้งไว้ พึงลุกขึ้นรับบาตรและจีวร พึงให้ผ้านุ่งผลัด พึงรับผ้านุ่งมา.  ถ้าจีวรชุ่มเหงื่อ พึงผึ่งแดดไว้ครู่หนึ่ง แต่ไม่พึงผึ่งทิ้งไว้ที่แดด  พึงพับจีวร  เมื่อพับจีวร พึงพับให้เหลื่อมมุมกัน ๔ นิ้ว ด้วยตั้งใจมิให้มีรอยพับตรงกลาง  พึงทำประคตเอวไว้ในขนดอันตรวาสก.  ถ้าบิณฑบาตมี และสัทธิวิหาริกประสงค์จะฉัน พึงให้น้ำแล้วนำบิณฑบาตเข้าไปให้ 
สเจ อุปชฺฌายสฺส ปริกฺขาโร โหติ สทฺธิวิหาริกสฺส ปริกฺขาโร น โหติ อุปชฺฌาเยน สทฺธิวิหาริกสฺส ปริกฺขาโร ทาตพฺโพ อุสฺสุกฺกํ วา กาตพฺพํ กินฺติ นุ โข สทฺธิวิหาริกสฺส ปริกฺขาโร อุปฺปชฺชิเยถาติ.  “สเจ สทฺธิวิหาริโก คิลาโน โหติ กาลสฺเสว อุฏฺฐาย ทนฺตกฏฺฐํ ทาตพฺพํ มุโขทกํ ทาตพฺพํ อาสนํ ปญฺญเปตพฺพํ.  สเจ ยาคุ โหติ ภาชนํ โธวิตฺวา ยาคุ อุปนาเมตพฺพา.  ยาคุํ ปีตสฺส อุทกํ ทตฺวา ภาชนํ ปฏิคฺคเหตฺวา นีจํ กตฺวา สาธุกํ อปฺปฏิฆํสนฺเตน โธวิตฺวา ปฏิสาเมตพฺพํ.  สทฺธิวิหาริกมฺหิ วุฏฺฐิเต อาสนํ อุทฺธริตพฺพํ.  สเจ โส เทโส อุกฺลาโป โหติ โส เทโส สมฺมชฺชิตพฺโพ.  “สเจ สทฺธิวิหาริโก คามํ ปวิสิตุกาโม โหติ นิวาสนํ ทาตพฺพํ ปฏินิวาสนํ ปฏิคฺคเหตพฺพํ กายพนฺธนํ ทาตพฺพํ สคุณํ กตฺวา สงฺฆาฏิโย ทาตพฺพา โธวิตฺวา ปตฺโต โสทโก ทาตพฺโพ. 
saddhivihāriko pāniyena pucchitabbo.  bhuttāvissa udakaṃ datvā pattaṃ paṭiggahetvā nīcaṃ katvā sādhukaṃ aparighaṃsantena dhovitvā vodakaṃ katvā muhuttaṃ uṇhe otāpetabbo, na ca uṇhe patto nidahitabbo.  pattacīvaraṃ nikkhipitabbaṃ.  pattaṃ nikkhipantena ekena hatthena pattaṃ gahetvā ekena hatthena heṭṭhāmañcaṃ vā heṭṭhāpīṭhaṃ vā parāmasitvā patto nikkhipitabbo, na ca anantarahitāya bhūmiyā patto nikkhipitabbo.  cīvaraṃ nikkhipantena ekena hatthena cīvaraṃ gahetvā ekena hatthena cīvaravaṃsaṃ vā cīvararajjuṃ vā pamajjitvā pārato antaṃ orato bhogaṃ katvā cīvaraṃ nikkhipitabbaṃ.  saddhivihārikamhi vuṭṭhite āsanaṃ uddharitabbaṃ, pādodakaṃ pādapīṭhaṃ pādakathalikaṃ paṭisāmetabbaṃ.  sace so deso uklāpo hoti, so deso sammajjitabbo. |4| 
             
พึงถามสัทธิวิหาริกด้วยน้ำฉัน  เมื่อสัทธิวิหาริกฉันแล้ว พึงให้น้ำ รับบาตรมา ถือต่ำๆ อย่าให้กระทบ ล้างให้สะอาด เช็ดให้แห้ง แล้วพึงผึ่งไว้ที่แดดครู่หนึ่ง แต่ไม่พึงผึ่งทิ้งไว้ที่แดด  พึงเก็บบาตรจีวร  เมื่อเก็บบาตร พึงเอามือข้างหนึ่งจับบาตร เอามือข้างหนึ่งลูบคลำใต้เตียงหรือใต้ตั่งแล้วจึงเก็บบาตร แต่ไม่พึงเก็บบาตรไว้บนพื้นที่ไม่มีสิ่งใดรอง  เมื่อเก็บจีวร พึงเอามือข้างหนึ่งถือจีวร เอามือข้างหนึ่งลูบราวจีวร หรือสายระเดียงแล้วทำชายไว้ข้างนอก ขนดไว้ข้างในแล้วจึงเก็บจีวร  เมื่อสัทธิวิหาริกลุกแล้ว พึงเก็บอาสนะ เก็บน้ำล้างเท้า ตั่งรองเท้า กระเบื้องเช็ดเท้า  ถ้าที่นั้นรก พึงกวาดที่นั้นเสีย. 
เอตฺตาวตา นิวตฺติสฺสตีติ อาสนํ ปญฺญเปตพฺพํ ปาโททกํ ปาทปีฐํ ปาทกถลิกํ อุปนิกฺขิปิตพฺพํ ปจฺจุคฺคนฺตฺวา ปตฺตจีวรํ ปฏิคฺคเหตพฺพํ ปฏินิวาสนํ ทาตพฺพํ นิวาสนํ ปฏิคฺคเหตพฺพํ  สเจ จีวรํ สินฺนํ โหติ มุหุตฺตํ อุณฺเห โอตาเปตพฺพํ น จ อุณฺเห จีวรํ นิทหิตพฺพํ  จีวรํ สงฺฆริตพฺพํ  จีวรํ สงฺฆรนฺเตน จตุรงฺคุลํ กณฺณํ อุสฺสาเรตฺวา จีวรํ สงฺฆริตพฺพํ มา มชฺเฌ ภงฺโค อโหสีติ.  โอโภเค กายพนฺธนํ กาตพฺพํ.  “สเจ ปิณฺฑปาโต โหติ สทฺธิวิหาริโก จ ภุญฺชิตุกาโม โหติ อุทกํ ทตฺวา ปิณฺฑปาโต อุปนาเมตพฺโพ.  สทฺธิวิหาริโก ปานีเยน ปุจฺฉิตพฺโพ. 
sace saddhivihāriko nahāyitukāmo hoti, nahānaṃ paṭiyādetabbaṃ.  sace sītena attho hoti, sītaṃ paṭiyādetabbaṃ. sace uṇhena attho hoti, uṇhaṃ (52) paṭiyādetabbaṃ. sace saddhivihāriko jantāgharaṃ pavisitukāmo hoti, cuṇṇaṃ sannetabbaṃ, mattikā temetabbā, jantāgharapīṭhaṃ ādāya gantvā jantāgharapīṭhaṃ datvā cīvaraṃ paṭiggahetvā ekamantaṃ nikkhipitabbaṃ, cuṇṇaṃ dātabbaṃ, mattikā dātabbā.  sace ussahati, jantāgharaṃ pavisitabbaṃ.  jantāgharaṃ pavisantena mattikāya mukhaṃ makkhetvā purato ca pacchato ca paṭicchādetvā jantāgharaṃ pavisitabbam. |5| 
       
ถ้าสัทธิวิหาริกใคร่จะสรงน้ำ พึงจัดน้ำสรงให้ ถ้าต้องการน้ำเย็น พึงจัดน้ำเย็นให้ ถ้าต้องการน้ำร้อน พึงจัดน้ำร้อนให้.  ถ้าสัทธิวิหาริกประสงค์จะเข้าเรือนไฟ พึงบดจุณ แช่ดิน ถือตั่งสำหรับเรือนไฟไปแล้วให้ตั่งสำหรับเรือนไฟ แล้วรับจีวรมาวางไว้ ณ ที่ควรส่วนข้างหนึ่ง พึงให้จุณ ให้ดิน  ถ้าอุตสาหะอยู่ พึงเข้าเรือนไฟ  เมื่อเข้าเรือนไฟ พึงเอาดินทาหน้า ปิดทั้งข้างหน้า ทั้งข้างหลัง แล้วเข้าเรือนไฟ 
ภุตฺตาวิสฺส อุทกํ ทตฺวา ปตฺตํ ปฏิคฺคเหตฺวา นีจํ กตฺวา สาธุกํ อปฺปฏิฆํสนฺเตน โธวิตฺวา โวทกํ กตฺวา มุหุตฺตํ อุณฺเห โอตาเปตพฺโพ น จ อุณฺเห ปตฺโต นิทหิตพฺโพ.  ปตฺตจีวรํ นิกฺขิปิตพฺพํ.  ปตฺตํ นิกฺขิปนฺเตน เอเกน หตฺเถน ปตฺตํ คเหตฺวา เอเกน หตฺเถน เหฏฺฐามญฺจํ วา เหฏฺฐาปีฐํ วา ปรามสิตฺวา ปตฺโต นิกฺขิปิตพฺโพ. น จ อนนฺตรหิตาย ภูมิยา ปตฺโต นิกฺขิปิตพฺโพ.  จีวรํ นิกฺขิปนฺเตน เอเกน หตฺเถน จีวรํ คเหตฺวา เอเกน หตฺเถน จีวรวํสํ วา จีวรรชฺชุํ วา ปมชฺชิตฺวา ปารโต อนฺตํ โอรโต โภคํ กตฺวา จีวรํ นิกฺขิปิตพฺพํ. 
na there bhikkhū anupakhajja nisīditabbaṃ, na navā bhikkhū āsanena paṭibāhetabbā.  jantāghare saddhivihārikassa parikammaṃ kātabbaṃ.  jantāgharā nikkhamantena jantāgharapīṭhaṃ ādāya purato ca pacchato ca paṭicchādetvā jantāgharā nikkhamitabbaṃ.  udake pi saddhivihārikassa parikammaṃ kātabbaṃ.  nahātena paṭhamataraṃ uttaritvā attano gattaṃ vodakaṃ katvā nivāsetvā saddhivihārikassa gattato udakaṃ pamajjitabbaṃ, nivāsanaṃ dātabbaṃ, saṃghāṭi dātabbā, jantāgharapīṭhaṃ ādāya paṭhamataraṃ āgantvā āsanaṃ paññāpetabbaṃ, pādodakaṃ padapīṭhaṃ pādakathalikaṃ upanikkhipitabbaṃ.  saddhivihāriko pāniyena pucchitabbo. |6| 
          and give it him with some water in it. When he expects: "Now he must be about to return," let him prepare a seat, get water for the washing of his feet (&c., as in chap. 25. 10-131, down to:). 
ไม่พึงนั่งเบียดภิกษุผู้เถระ ไม่พึงห้ามกันอาสนะภิกษุใหม่  พึงทำบริกรรมแก่สัทธิวิหาริกในเรือนไฟ  เมื่อออกจากเรือนไฟ พึงถือตั่งสำหรับเรือนไฟ แล้วปิดทั้งข้างหน้าทั้งข้างหลัง ออกจากเรือนไฟ  พึงทำบริกรรมแก่สัทธิวิหาริก แม้ในน้ำ  อาบเสร็จแล้วพึงขึ้นมาก่อน ทำตัวของตนให้แห้งน้ำ นุ่งผ้าแล้วพึงเช็ดน้ำจากตัวของสัทธิวิหาริก พึงให้ผ้านุ่ง พึงให้ผ้าสังฆาฏิ พึงถือตั่งสำหรับเรือนไฟมาก่อน แล้วปูอาสนะไว้ เตรียมน้ำล้างเท้า ตั่งรองเท้า กระเบื้องเช็ดเท้าไว้  พึงถามสัทธิวิหาริกด้วยน้ำฉัน. 
สทฺธิวิหาริกมฺหิ วุฏฺฐิเต อาสนํ อุทฺธริตพฺพํ ปาโททกํ ปาทปีฐํ ปาทกถลิกํ ปฏิสาเมตพฺพํ.  สเจ โส เทโส อุกฺลาโป โหติ โส เทโส สมฺมชฺชิตพฺโพ.  “สเจ สทฺธิวิหาริโก นหายิตุกาโม โหติ นหานํ ปฏิยาเทตพฺพํ.  สเจ สีเตน อตฺโถ โหติ สีตํ ปฏิยาเทตพฺพํ. สเจ อุณฺเหน อตฺโถ โหติ อุณฺหํ ปฏิยาเทตพฺพํ “สเจ สทฺธิวิหาริโก ชนฺตาฆรํ ปวิสิตุกาโม โหติ จุณฺณํ สนฺเนตพฺพํ มตฺติกา เตเมตพฺพา ชนฺตาฆรปีฐํ อาทาย คนฺตฺวา ชนฺตาฆรปีฐํ ทตฺวา จีวรํ ปฏิคฺคเหตฺวา เอกมนฺตํ นิกฺขิปิตพฺพํ จุณฺณํ ทาตพฺพํ มตฺติกา ทาตพฺพา.  สเจ อุสฺสหติ ชนฺตาฆรํ ปวิสิตพฺพํ.  ชนฺตาฆรํ ปวิสนฺเตน มตฺติกาย มุขํ มกฺเขตฺวา ปุรโต จ ปจฺฉโต จ ปฏิจฺฉาเทตฺวา ชนฺตาฆรํ ปวิสิตพฺพํ. 
yasmiṃ vihāre saddhivihāriko viharati, sace so vihāro uklāpo hoti, sace ussahati, sodhetabbo. vihāraṃ sodhentena paṭhamaṃ pattacīvaraṃ nīharitvā ekamantaṃ nikkhipitabbaṃ . . . (= I.25,14-19) . . .  sace ācamanakumbhiyā udakaṃ na hoti, ācamanakumbhiyā udakaṃ āsiñcitabbaṃ. |7| 
Let him offer to the saddhivihârika water to drink.  'If the Vihâra in which the saddhivihârika dwells, is dirty . . . . (&c., as in chap. 25. 14-22). 
สัทธิวิหาริกอยู่ในวิหารแห่งใด ถ้าวิหารแห่งนั้นรก ถ้าอุตสาหะอยู่ พึงปัดกวาดเสีย เมื่อปัดกวาดวิหาร พึงขนบาตรจีวรออกก่อนแล้ววางไว้ ณ ที่ควรส่วนข้างหนึ่ง พึงขนผ้าปูนั่ง และผ้าปูนอน ฟูก หมอน ออกวางไว้ ณ ที่ควรส่วนข้างหนึ่ง เตียงตั่ง อุปัชฌายะพึงยกต่ำๆ อย่าให้ครูดสี อย่าให้กระทบกระแทกบานและกรอบประตู ขนออกให้เรียบร้อย แล้วตั้งไว้ ณ ที่ควรส่วนข้างหนึ่ง เขียงรองเตียง กระโถน พนักอิง พึงขนออกวางไว้ ณ ที่ควรส่วนข้างหนึ่ง เครื่องปูพื้น พึงสังเกตที่ปูไว้ที่เดิม แล้วขนออกวางไว้ ณ ที่ควรส่วนข้างหนึ่ง ถ้าในวิหารมีหยากเยื่อ พึงกวาดแต่เพดานลงมาก่อน กรอบหน้าต่างและมุมห้อง พึงเช็ดเสีย ถ้าฝาเขาทำบริกรรมด้วยน้ำมัน หรือพื้นเขาทาสีดำขึ้นรา พึงเอาผ้าชุบน้ำบิดแล้วเช็ดเสีย ถ้าพื้นเขามิได้ทำ พึงเอาน้ำประพรมแล้วเช็ดเสีย ระวังอย่าให้วิหารฟุ้งด้วยธุลี พึงกวาดหยากเยื่อทิ้งเสีย ณ ที่ควรส่วนข้างหนึ่ง เครื่องลาดพื้น พึงผึ่งแดด ชำระ เคาะ ปัดแล้ว ขนกลับปูไว้ตามเดิม เขียงรองเตียง พึงผึ่งแดด ขัด เช็ดแล้ว ขนกลับไว้ในที่เดิม เตียงตั่ง พึงผึ่งแดด ขัดสี เคาะเสีย ยกต่ำๆ อย่าให้ครูดสี อย่าให้กระทบกระแทกบานและกรอบประตู ขนกลับไปให้ดีๆ แล้วตั้งไว้ตามเดิม ฟูก หมอน ผ้าปูนั่ง ผ้าปูนอน พึงผึ่งแดด ทำให้สะอาด ตบเสีย แล้วนำกลับวางปูไว้ตามเดิม กระโถน พนักอิง พึงผึ่งแดด เช็ด ถูเสีย แล้วขนกลับตั้งไว้ตามเดิม พึงเก็บบาตรจีวร เมื่อเก็บบาตร พึงเอามือข้างหนึ่งจับบาตร เอามือข้างหนึ่งลูบคลำใต้เตียงหรือใต้ตั่ง แล้วจึงเก็บบาตร แต่ไม่พึงวางบาตรบนพื้นที่ไม่มีสิ่งใดรอง เมื่อเก็บจีวร พึงเอามือข้างหนึ่งถือจีวร เอามือข้างหนึ่งลูบราวจีวรหรือสายระเดียงแล้วทำชายไว้ข้างนอก ทำขนดไว้ข้างในแล้วจึงเก็บจีวร. ถ้าลมเจือด้วยผลคลีพัดมาแต่ทิศตะวันออก พึงปิดหน้าต่างด้านตะวันออก ถ้าพัดมาแต่ทิศตะวันตก พึงปิดหน้าต่างด้านตะวันตก ถ้าพัดมาแต่ทิศเหนือ พึงปิดหน้าต่างด้านเหนือ ถ้าพัดมาแต่ทิศใต้ พึงปิดหน้าต่างด้านใต้ ถ้าฤดูหนาว พึงเปิดหน้าต่างกลางวัน พึงปิดกลางคืน ถ้าฤดูร้อน พึงปิดหน้าต่างกลางวัน พึงเปิดกลางคืน. ถ้าบริเวณ ซุ้มน้ำ โรงฉัน โรงไฟ วัจจกุฎี รก พึงปัดกวาดเสีย  ถ้าน้ำฉันน้ำใช้ไม่มี พึงจัดตั้งไว้ ถ้าน้ำในหม้อชำระไม่มี พึงตักน้ำมาไว้ในหม้อชำระ. 
น เถเร ภิกฺขู อนุปขชฺช นิสีทิตพฺพํ. น นวา ภิกฺขู อาสเนน ปฏิพาหิตพฺพา.  ชนฺตาฆเร สทฺธิวิหาริกสฺส ปริกมฺมํ กาตพฺพํ. 
sace saddhivihārikassa anabhirati uppannā hoti, upajjhāyena vūpakāsetabbā vūpakāsāpetabbā dhammakathā vāssa kātabbā.  sace saddhivihārikassa kukkuccaṃ uppannaṃ hoti, upajjhāyena vinodetabbaṃ vinodāpetabbaṃ dhammakathā vāssa kātabbā.  sace saddhivihārikassa diṭṭhigataṃ uppannaṃ hoti, upajjhāyena vivecetabbaṃ vivecāpetabbaṃ dhammakathā vāssa kātabbā. |8| 
     
ถ้าความกระสันบังเกิดแก่สัทธิวิหาริก อุปัชฌายะพึงช่วยระงับหรือพึงวานภิกษุอื่นให้ช่วยระงับ หรือพึงทำธรรมกถาแก่สัทธิวิหาริกนั้น  ถ้าความรำคาญบังเกิดแก่สัทธิวิหาริก อุปัชฌายะพึงบรรเทา หรือพึงวานภิกษุอื่นให้ช่วยบรรเทา หรือพึงทำธรรมกถาแก่สัทธิวิหาริกนั้น  ถ้าความเห็นผิดบังเกิดแก่สัทธิวิหาริก อุปัชฌายะพึงให้สละเสีย หรือพึงวานภิกษุอื่นให้ช่วย หรือพึงทำธรรมกถาแก่สัทธิวิหาริกนั้น. 
ชนฺตาฆรา นิกฺขมนฺเตน ชนฺตาฆรปีฐํ อาทาย ปุรโต จ ปจฺฉโต จ ปฏิจฺฉาเทตฺวา ชนฺตาฆรา นิกฺขมิตพฺพํ.  “อุทเกปิ สทฺธิวิหาริกสฺส ปริกมฺมํ กาตพฺพํ.  นหาเตน ปฐมตรํ อุตฺตริตฺวา อตฺตโน คตฺตํ โวทกํ กตฺวา นิวาเสตฺวา สทฺธิวิหาริกสฺส คตฺตโต อุทกํ ปมชฺชิตพฺพํ นิวาสนํ ทาตพฺพํ สงฺฆาฏิ ทาตพฺพา. ชนฺตาฆรปีฐํ อาทาย ปฐมตรํ อาคนฺตฺวา อาสนํ ปญฺญเปตพฺพํ ปาโททกํ ปาทปีฐํ ปาทกถลิกํ อุปนิกฺขิปิตพฺพํ. 
sace saddhivihāriko garudhammaṃ ajjhāpanno hoti parivāsāraho, upajjhāyena ussukkaṃ kātabbaṃ kin ti nu kho saṃgho saddhivihārikassa parivāsaṃ dadeyyā ’ti.  sace saddhivihāriko mūlāya paṭikassanāraho hoti, upajjhāyena ussukkaṃ kātabbaṃ kin ti nu kho saṃgho saddhivihārikaṃ mūlāya paṭikasseyyā ’ti.  sace saddhivihāriko mānattāraho hoti, upajjhāyena ussukkaṃ kātabbaṃ kin ti nu kho saṃgho saddhivihārikassa mānattaṃ dadeyyā ’ti.  sace saddhivihā-(53)riko abbhānāraho hoti, upajjhāyena ussukkaṃ kātabbaṃ kin ti nu kho saṃgho saddhivihārikaṃ abbheyyā ’ti. |9| 
       
ถ้าสัทธิวิหาริกต้องอาบัติหนัก ควรปริวาส อุปัชฌายะพึงทำความขวนขวายว่า ด้วยอุบายอย่างไรหนอ สงฆ์พึงให้ปริวาสแก่สัทธิวิหาริก  ถ้าสัทธิวิหาริกควรชักเข้าหาอาบัติเดิม อุปัชฌายะพึงทำความขวนขวายว่า ด้วยอุบายอย่างไรหนอ สงฆ์พึงชักสัทธิวิหาริกเข้าหาอาบัติเดิม  ถ้าสัทธิวิหาริกควรมานัต อุปัชฌายะพึงทำความขวนขวายว่า ด้วยอุบายอย่างไรหนอ สงฆ์พึงให้มานัตแก่สัทธิวิหาริก  ถ้าสัทธิวิหาริกควรอัพภาน อุปัชฌายะพึงทำความขวนขวายว่า ด้วยอุบายอย่างไรหนอ สงฆ์พึงอัพภานสัทธิวิหาริก. 
สทฺธิวิหาริโก ปานีเยน ปุจฺฉิตพฺโพ.  “ยสฺมึ วิหาเร สทฺธิวิหาริโก วิหรติ สเจ โส วิหาโร อุกฺลาโป โหติ สเจ อุสฺสหติ โสเธตพฺโพ. วิหารํ โสเธนฺเตน ปฐมํ ปตฺตจีวรํ นีหริตฺวา เอกมนฺตํ นิกฺขิปิตพฺพํ นิสีทนปจฺจตฺถรณํ นีหริตฺวา เอกมนฺตํ นิกฺขิปิตพฺพํ ภิสิพิพฺโพหนํ นีหริตฺวา เอกมนฺตํ นิกฺขิปิตพฺพํ มญฺโจ นีจํ กตฺวา สาธุกํ อปฺปฏิฆํสนฺเตน อสงฺฆฏฺเฏนฺเตน กวาฏปิฏฺฐํ นีหริตฺวา เอกมนฺตํ นิกฺขิปิตพฺโพ ปีฐํ นีจํ กตฺวา สาธุกํ อปฺปฏิฆํสนฺเตน อสงฺฆฏฺเฏนฺเตน กวาฏปิฏฺฐํ นีหริตฺวา เอกมนฺตํ นิกฺขิปิตพฺพํ มญฺจปฏิปาทกา นีหริตฺวา เอกมนฺตํ นิกฺขิปิตพฺพา เขฬมลฺลโก นีหริตฺวา เอกมนฺตํ นิกฺขิปิตพฺโพ อปสฺเสนผลกํ นีหริตฺวา เอกมนฺตํ นิกฺขิปิตพฺพํ ภูมตฺถรณํ ยถาปญฺญตฺตํ สลฺลกฺเขตฺวา นีหริตฺวา เอกมนฺตํ นิกฺขิปิตพฺพํ. สเจ วิหาเร สนฺตานกํ โหติ อุลฺโลกา ปฐมํ โอหาเรตพฺพํ อาโลกสนฺธิกณฺณภาคา ปมชฺชิตพฺพา. สเจ เครุกปริกมฺมกตา ภิตฺติ กณฺณกิตา โหติ โจฬกํ เตเมตฺวา ปีเฬตฺวา ปมชฺชิตพฺพา. สเจ กาฬวณฺณกตา ภูมิ กณฺณกิตา โหติ โจฬกํ เตเมตฺวา ปีเฬตฺวา ปมชฺชิตพฺพา. สเจ อกตา โหติ ภูมิ อุทเกน ปริปฺโผสิตฺวา สมฺมชฺชิตพฺพา มา วิหาโร รเชน อุหญฺญีติ. สงฺการํ วิจินิตฺวา เอกมนฺตํ ฉฑฺเฑตพฺพํ. “ภูมตฺถรณํ โอตาเปตฺวา โสเธตฺวา ปปฺโผเฏตฺวา อติหริตฺวา ยถาปญฺญตฺตํ ปญฺญเปตพฺพํ. มญฺจปฏิปาทกา โอตาเปตฺวา ปมชฺชิตฺวา อติหริตฺวา ยถาฐาเน ฐเปตพฺพา. มญฺโจ โอตาเปตฺวา โสเธตฺวา ปปฺโผเฏตฺวา นีจํ กตฺวา สาธุกํ อปฺปฏิฆํสนฺเตน อสงฺฆฏฺเฏนฺเตน กวาฏปิฏฺฐํ อติหริตฺวา ยถาปญฺญตฺตํ ปญฺญเปตพฺโพ. ปีฐํ โอตาเปตฺวา โสเธตฺวา ปปฺโผเฏตฺวา นีจํ กตฺวา สาธุกํ อปฺปฏิฆํสนฺเตน อสงฺฆฏฺเฏนฺเตน กวาฏปิฏฺฐํ อติหริตฺวา ยถาปญฺญตฺตํ ปญฺญเปตพฺพํ. ภิสิพิพฺโพหนํ โอตาเปตฺวา โสเธตฺวา ปปฺโผเฏตฺวา อติหริตฺวา ยถาปญฺญตฺตํ ปญฺญเปตพฺพํ. นิสีทนปจฺจตฺถรณํ โอตาเปตฺวา โสเธตฺวา ปปฺโผเฏตฺวา อติหริตฺวา ยถาปญฺญตฺตํ ปญฺญเปตพฺพํ. เขฬมลฺลโก โอตาเปตฺวา ปมชฺชิตฺวา อติหริตฺวา ยถาฐาเน ฐเปตพฺโพ. อปสฺเสนผลกํ โอตาเปตฺวา ปมชฺชิตฺวา อติหริตฺวา ยถาฐาเน ฐเปตพฺพํ. ปตฺตจีวรํ นิกฺขิปิตพฺพํ. ปตฺตํ นิกฺขิปนฺเตน เอเกน หตฺเถน ปตฺตํ คเหตฺวา เอเกน หตฺเถน เหฏฺฐามญฺจํ วา เหฏฺฐาปีฐํ วา ปรามสิตฺวา ปตฺโต นิกฺขิปิตพฺโพ. น จ อนนฺตรหิตาย ภูมิยา ปตฺโต นิกฺขิปิตพฺโพ. จีวรํ นิกฺขิปนฺเตน เอเกน หตฺเถน จีวรํ คเหตฺวา เอเกน หตฺเถน จีวรวํสํ วา จีวรรชฺชุํ วา ปมชฺชิตฺวา ปารโต อนฺตํ โอรโต โภคํ กตฺวา จีวรํ นิกฺขิปิตพฺพํ. “สเจ ปุรตฺถิมา สรชา วาตา วายนฺติ ปุรตฺถิมา วาตปานา ถเกตพฺพา. สเจ ปจฺฉิมา สรชา วาตา วายนฺติ ปจฺฉิมา วาตปานา ถเกตพฺพา. สเจ อุตฺตรา สรชา วาตา วายนฺติ อุตฺตรา วาตปานา ถเกตพฺพา. สเจ ทกฺขิณา สรชา วาตา วายนฺติ ทกฺขิณา วาตปานา ถเกตพฺพา. สเจ สีตกาโล โหติ ทิวา วาตปานา วิวริตพฺพา รตฺตึ ถเกตพฺพา. สเจ อุณฺหกาโล โหติ ทิวา วาตปานา ถเกตพฺพา รตฺตึ วิวริตพฺพา. “สเจ ปริเวณํ อุกฺลาปํ โหติ ปริเวณํ สมฺมชฺชิตพฺพํ. สเจ โกฏฺฐโก อุกฺลาโป โหติ โกฏฺฐโก สมฺมชฺชิตพฺโพ. สเจ อุปฏฺฐานสาลา อุกฺลาปา โหติ อุปฏฺฐานสาลา สมฺมชฺชิตพฺพา. สเจ อคฺคิสาลา อุกฺลาปา โหติ อคฺคิสาลา สมฺมชฺชิตพฺพา. สเจ วจฺจกุฏิ อุกฺลาปา โหติ วจฺจกุฏิ สมฺมชฺชิตพฺพา. สเจ ปานียํ น โหติ ปานียํ อุปฏฺฐาเปตพฺพํ. สเจ ปริโภชนียํ น โหติ ปริโภชนียํ อุปฏฺฐาเปตพฺพํ.  สเจ อาจมนกุมฺภิยา อุทกํ น โหติ อาจมนกุมฺภิยา อุทกํ อาสิญฺจิตพฺพํ.  “สเจ สทฺธิวิหาริกสฺส อนภิรติ อุปฺปนฺนา โหติ อุปชฺฌาเยน วูปกาเสตพฺโพ วูปกาสาเปตพฺโพ ธมฺมกถา วาสฺส กาตพฺพา. 
sace saṃgho saddhivihārikassa kammaṃ kattukāmo hoti tajjaniyaṃ vā nissayaṃ vā pabbājaniyaṃ vā paṭisāraṇiyaṃ vā ukkhepaniyaṃ vā, upajjhāyena ussukkaṃ kātabbaṃ kin ti nu kho saṃgho saddhivihārikassa kammaṃ na kareyya lahukāya vā pariṇāmeyyā ’ti.  kataṃ vā pan’ assa hoti saṃghena kammaṃ tajjaniyaṃ vā nissayaṃ vā pabbājaniyaṃ vā paṭisāraṇiyaṃ vā ukkhepaniyaṃ vā, upajjhāyena ussukkaṃ kātabbaṃ kin ti nu kho saddhivihāriko sammāvatteyya lomaṃ pāteyya netthāraṃ vatteyya, saṃgho taṃ kammaṃ paṭippassambheyyā ’ti. |10| 
   
ถ้าสงฆ์ปรารถนาจะทำกรรมแก่สัทธิวิหาริก คือ ตัชชนียกรรม นิยสกรรม ปัพพาชนียกรรม ปฏิสารณียกรรม หรืออุกเขปนียกรรม อุปัชฌายะพึงทำความขวนขวายว่า ด้วยอุบายอย่างไรหนอ สงฆ์ไม่พึงทำกรรมแก่สัทธิวิหาริก  หรือสงฆ์พึงน้อมไปเพื่อกรรมสถานเบา หรือสัทธิวิหาริกนั้น ถูกสงฆ์ลงตัชชนียกรรม นิยสกรรม ปัพพาชนียกรรม ปฏิสารณียกรรม หรืออุกเขปนียกรรมแล้ว อุปัชฌายะพึงทำความขวนขวายว่า ด้วยอุบายอย่างไรหนอ สัทธิวิหาริกพึงประพฤติชอบ พึงหายเย่อหยิ่ง พึงประพฤติแก้ตัว สงฆ์พึงระงับกรรมนั้นเสีย. 
สเจ สทฺธิวิหาริกสฺส กุกฺกุจฺจํ อุปฺปนฺนํ โหติ อุปชฺฌาเยน วิโนเทตพฺพํ วิโนทาเปตพฺพํ ธมฺมกถา วาสฺส กาตพฺพา  สเจ สทฺธิวิหาริกสฺส ทิฏฺฐิคตํ อุปฺปนฺนํ โหติ อุปชฺฌาเยน วิเวเจตพฺพํ วิเวจาเปตพฺพํ ธมฺมกถา วาสฺส กาตพฺพา. 
sace saddhivihārikassa cīvaraṃ dhovitabbaṃ hoti, upajjhāyena ācikkhitabbaṃ evaṃ dhoveyyāsīti, ussukkaṃ vā kātabbaṃ kin ti nu kho saddhivihārikassa cīvaraṃ dhoviyethā ’ti.  sace saddhivihārikassa cīvaraṃ kātabbaṃ hoti, upajjhāyena ācikkhitabbaṃ evaṃ kareyyāsīti, ussukkaṃ vā kātabbaṃ kin ti nu kho saddhivihārikassa cīvaraṃ kariyethā ’ti.  sace saddhivihārikassa rajanaṃ pacitabbaṃ hoti, upajjhāyena ācikkhitabbaṃ evaṃ paceyyāsīti, ussukkaṃ vā kātabbaṃ kin ti nu kho saddhivihārikassa rajanaṃ paciyethā ’ti.  sace saddhivihārikassa cīvaraṃ rajitabbaṃ hoti, upajjhāyena ācikkhitabbaṃ evaṃ rajeyyāsīti, ussukkaṃ vā kātabbaṃ kin ti nu kho saddhivihārikassa cīvaraṃ rajiyethā ’ti.  cīvaraṃ rajantena sādhukaṃ saṃparivattakaṃ-saṃparivattakaṃ rajitabbaṃ na ca acchinne theve pakkamitabbaṃ.  sace saddhivihāriko gilāno hoti, yāvajīvaṃ upaṭṭhātabbo, vuṭṭhānassa āgametabban ti. |11| 
  'If the robe of the saddhivihârika must be washed, let the upagghâya tell the saddhivihârika: "Thus must you wash your robe," or let him take care that the saddhivihârika's robe is washed.  If a robe must be made for the saddhivihârika, let the upagghâya tell the saddhivihârika: "Thus must you make the robe," or let him take care that the saddhivihârika's robe is made.  If dye must be boiled for the saddhivihârika, &c.  If the robe of the saddhivihârika must be dyed, let the upagghâya tell, &c.  When he dyes the robe, let him dye it properly, and turn it whenever required, and let him not go away before the dye has ceased to drop. 
ถ้าจีวรของสัทธิวิหาริกจะต้องซัก อุปัชฌายะพึงบอกว่า ท่านพึงซักอย่างนี้ หรือพึงทำความขวนขวายว่า ด้วยอุบายอย่างไรหนอ ใครๆ พึงซักจีวรของสัทธิวิหาริก  ถ้าจีวรของสัทธิวิหาริกจะต้องทำ อุปัชฌายะพึงบอกว่า ท่านพึงทำอย่างนี้ หรือพึงทำความขวนขวายว่า ด้วยอุบายอย่างไรหนอ ใครๆ พึงทำจีวรของสัทธิวิหาริก  ถ้าน้ำย้อมของสัทธิวิหาริกจะต้องต้ม อุปัชฌายะพึงบอกว่า ท่านพึงต้มอย่างนี้ หรือพึงทำความขวนขวายว่า ด้วยอุบายอย่างไรหนอ ใครๆ พึงต้มน้ำย้อมของสัทธิวิหาริก  ถ้าจีวรของสัทธิวิหาริกจะต้องย้อม อุปัชฌายะพึงบอกว่า ท่านพึงย้อมอย่างนี้ หรือพึงทำความขวนขวายว่า ด้วยอุบายอย่างไรหนอ ใครๆ พึงย้อมจีวรของสัทธิวิหาริก  เมื่อย้อมจีวร พึงย้อมพลิกกลับไปมาให้ดีๆ เมื่อหยาดน้ำย้อมยังไม่ขาดสาย ไม่พึงหลีกไปเสีย.  ถ้าสัทธิวิหาริกอาพาธ พึงพยาบาลจนตลอดชีวิต พึงรอจนกว่าจะหาย. 
สเจ สทฺธิวิหาริโก ครุธมฺมํ อชฺฌาปนฺโน โหติ ปริวาสารโห อุปชฺฌาเยน อุสฺสุกฺกํ กาตพฺพํ กินฺติ นุ โข สงฺโฆ สทฺธิวิหาริกสฺส ปริวาสํ ทเทยฺยาติ.  สเจ สทฺธิวิหาริโก มูลาย ปฏิกสฺสนารโห โหติ อุปชฺฌาเยน อุสฺสุกฺกํ กาตพฺพํ กินฺติ นุ โข สงฺโฆ สทฺธิวิหาริกํ มูลาย ปฏิกสฺเสยฺยาติ.  สเจ สทฺธิวิหาริโก มานตฺตารโห โหติ อุปชฺฌาเยน อุสฺสุกฺกํ กาตพฺพํ กินฺติ นุ โข สงฺโฆ สทฺธิวิหาริกสฺส มานตฺตํ ทเทยฺยาติ.  สเจ สทฺธิวิหาริโก อพฺภานารโห โหติ อุปชฺฌาเยน อุสฺสุกฺกํ กาตพฺพํ กินฺติ นุ โข สงฺโฆ สทฺธิวิหาริกํ อพฺเภยฺยาติ.  สเจ สงฺโฆ สทฺธิวิหาริกสฺส กมฺมํ กตฺตุกาโม โหติ ตชฺชนียํ วา นิยสฺสํ วา ปพฺพาชนียํ วา ปฏิสารณียํ วา อุกฺเขปนียํ วา อุปชฺฌาเยน อุสฺสุกฺกํ กาตพฺพํ กินฺติ นุ โข สงฺโฆ สทฺธิวิหาริกสฺส กมฺมํ น กเรยฺย ลหุกาย วา ปริณาเมยฺยาติ.  กตํ วา ปนสฺส โหติ สงฺเฆน กมฺมํ ตชฺชนียํ วา นิยสฺสํ วา ปพฺพาชนียํ วา ปฏิสารณียํ วา อุกฺเขปนียํ วา อุปชฺฌาเยน อุสฺสุกฺกํ กาตพฺพํ กินฺติ นุ โข สทฺธิวิหาริโก สมฺมา วตฺเตยฺย โลมํ ปาเตยฺย เนตฺถารํ วตฺเตยฺย สงฺโฆ ตํ กมฺมํ ปฏิปฺปสฺสมฺเภยฺยาติ. 
saddhivihārikavattaṃ niṭṭhitaṃ. ||26|| 
If the saddhivihârika is sick, let him nurse him as long as his life lasts and wait until he has recovered.' 
สัทธิวิหาริกวัตร จบ 
“สเจ สทฺธิวิหาริกสฺส จีวรํ โธวิตพฺพํ โหติ อุปชฺฌาเยน อาจิกฺขิตพฺพํ เอวํ โธเวยฺยาสีติ อุสฺสุกฺกํ วา กาตพฺพํ กินฺติ นุ โข สทฺธิวิหาริกสฺส จีวรํ โธวิเยถาติ. 
tena kho pana samayena saddhivihārikā upajjhāyesu na sammāvattanti.  ye te bhikkhū appicchā, te ujjhāyanti khīyanti vipācenti:  kathaṃ hi nāma saddhivihārikā upajjhāyesu na sammāvattissantīti.  atha kho te bhikkhū bhagavato etam atthaṃ ārocesuṃ.  saccaṃ kira bhikkhave saddhivihārikā upajjhāyesu na sammāvattantīti.  saccaṃ bhagavā.  vigarahi buddho bhagavā: kathaṃ hi nāma bhikkhave saddhivihārikā upajjhāyesu na sammāvattissantīti.  vigarahitvā dhammiṃ kathaṃ katvā bhikkhū āmantesi: na bhikkhave (54) saddhivihārikena upajjhāyamhi na sammāvattitabbaṃ.  yo na sammāvatteyya, āpatti dukkaṭassā ’ti. |1| 
End of the duties towards a saddhivihârika.  At that time the saddhivihârikas did not observe a proper conduct towards their upagghâyas.  The moderate Bhikkhus were annoyed, murmured, and became angry, saying,  'How can the saddhivihârikas not observe a proper conduct towards their upagghâyas?'  These Bhikkhus told this thing to the Blessed One.  (Then Buddha questioned the Bhikkhus): 'Is it true, O Bhikkhus, that the saddhivihârikas do not observe a proper conduct towards their upagghâyas?'  (They replied): 'It is true, Lord.'  Then the blessed Buddha rebuked those Bhikkhus: 'How can the saddhivihârikas, O Bhikkhus, not observe a proper conduct towards their upagghâyas?'  Having rebuked them and delivered a religious discourse, he thus addressed the Bhikkhus: 'Let a saddhivihârika, O Bhikkhus, not forbear to observe a proper conduct towards his upagghâya. 
การประณามและการให้ขมา [๘๓] ก็โดยสมัยนั้นแล สัทธิวิหาริกทั้งหลายไม่ประพฤติชอบในอุปัชฌายะทั้งหลาย.  บรรดาภิกษุที่เป็นผู้มักน้อย ... ต่างก็เพ่งโทษ ติเตียน โพนทะนาว่า  ไฉนสัทธิวิหาริกทั้งหลายจึงไม่ประพฤติชอบในอุปัชฌายะทั้งหลายเล่า  แล้วได้กราบทูลเรื่องนั้นแด่พระผู้มีพระภาค.  ทรงสอบถาม // พระผู้มีพระภาคทรงสอบถามภิกษุทั้งหลายว่า ดูกรภิกษุทั้งหลาย ข่าวว่า สัทธิวิหาริกทั้งหลายไม่ประพฤติชอบในอุปัชฌายะทั้งหลาย จริงหรือ?  ภิกษุทั้งหลายทูลรับว่า จริง พระพุทธเจ้าข้า.  ทรงติเตียน // พระผู้มีพระภาคพุทธเจ้าทรงติเตียนว่า ดูกรภิกษุทั้งหลาย ไฉนสัทธิวิหาริกทั้งหลายจึงไม่ประพฤติชอบในอุปัชฌายะทั้งหลายเล่า  ครั้นแล้วทรงทำธรรมีกถา รับสั่งกะภิกษุทั้งหลายว่า ดูกรภิกษุทั้งหลาย สัทธิวิหาริกจะไม่ประพฤติชอบในอุปัชฌายะไม่ได้  รูปใดไม่ประพฤติชอบ ต้องอาบัติทุกกฏ. 
สเจ สทฺธิวิหาริกสฺส จีวรํ กาตพฺพํ โหติ อุปชฺฌาเยน อาจิกฺขิตพฺพํ เอวํ กเรยฺยาสีติ อุสฺสุกฺกํ วา กาตพฺพํ กินฺติ นุ โข สทฺธิวิหาริกสฺส จีวรํ กริเยถาติ.  สเจ สทฺธิวิหาริกสฺส รชนํ ปจิตพฺพํ โหติ อุปชฺฌาเยน อาจิกฺขิตพฺพํ เอวํ ปเจยฺยาสีติ อุสฺสุกฺกํ วา กาตพฺพํ กินฺติ นุ โข สทฺธิวิหาริกสฺส รชนํ ปจิเยถาติ.  สเจ สทฺธิวิหาริกสฺส จีวรํ รชิตพฺพํ โหติ อุปชฺฌาเยน อาจิกฺขิตพฺพํ เอวํ รเชยฺยาสีติ อุสฺสุกฺกํ วา กาตพฺพํ กินฺติ นุ โข สทฺธิวิหาริกสฺส จีวรํ รชิเยถาติ.  จีวรํ รชนฺเตน สาธุกํ สมฺปริวตฺตกํ สมฺปริวตฺตกํ รชิตพฺพํ. น จ อจฺฉินฺเน เถเว ปกฺกมิตพฺพํ.  สเจ สทฺธิวิหาริโก คิลาโน โหติ ยาวชีวํ อุปฏฺฐาตพฺโพ วุฏฺฐานมสฺส อาคเมตพฺพ”นฺติ.  สทฺธิวิหาริกวตฺตํ นิฏฺฐิตํ.  (๑๗. ปณามิตกถา) ๖๘. เตน โข ปน สมเยน สทฺธิวิหาริกา อุปชฺฌาเยสุ น สมฺมา วตฺตนฺติ.  เย เต ภิกฺขู อปฺปิจฺฉาฯเปฯ เต อุชฺฌายนฺติ ขิยฺยนฺติ วิปาเจนฺติ  “กถญฺหิ นาม สทฺธิวิหาริกา อุปชฺฌาเยสุ น สมฺมา วตฺติสฺสนฺตี”ติ. 
n’ eva sammāvattanti.  bhagavato etam atthaṃ ārocesuṃ.  anujānāmi bhikkhave asammāvattantaṃ paṇāmetum.  evañ ca pana bhikkhave paṇāmetabbo: paṇāmemi tan ti vā, mā yidha paṭikkamīti vā, nīhara te pattacīvaran ti vā, nāhaṃ tayā upaṭṭhātabbo ’ti vā kāyena viññāpeti, vācāya viññāpeti, kāyena vācāya viññāpeti, paṇāmito hoti saddhivihāriko.  na kāyena viññāpeti, na vācāya viññāpeti, na kāyena vācāya viññāpeti, na paṇāmito hoti saddhivihāriko ’ti. |2| 
He who does not observe it, is guilty of a dukkata offence.'  Notwithstanding this, they did not observe a proper conduct.  They told this thing to the Blessed One.  'I ordain, O Bhikkhus, to turn away (a saddhivihârika) who does not observe a proper conduct.  And he ought, O Bhikkhus, to be turned away in this way: (The upagghâya is to say): "I turn you away," or, " Do not come back hither," or, "Take away your alms-bowl and robe," or, "I am not to be attended by you any more." Whether he express this by gesture, or by word, or by gesture and word, the saddhivihârika has then been turned away. 
สัทธิวิหาริกทั้งหลายยังไม่ประพฤติชอบอย่างเดิม.  ภิกษุทั้งหลายจึงกราบทูลเรื่องนั้นแด่พระผู้มีพระภาค พระผู้มีพระภาคตรัสว่า  ดูกรภิกษุทั้งหลาย เราอนุญาตให้ประณามสัทธิวิหาริกผู้ไม่ประพฤติชอบ  วิธีประณาม // ดูกรภิกษุทั้งหลาย ก็แล อุปัชฌายะพึงประณามสัทธิวิหาริกอย่างนี้ว่า ฉันประณามเธอ เธออย่าเข้ามา ณ ที่นี้ เธอจงขนบาตรจีวรของเธอออกไปเสีย, พึงประณามว่า เธอไม่ต้องอุปฐากฉัน ดังนี้ก็ได้ อุปัชฌายะย่อมยังสัทธิวิหาริกให้รู้ด้วยกายก็ได้ ให้รู้ด้วยวาจาก็ได้ ให้รู้ด้วยทั้งกายและวาจาก็ได้ เป็นอันประณามแล้ว  ถ้ายังมิได้แสดงอาการกายให้รู้ ยังมิบอกให้รู้ด้วยวาจา ยังมิได้แสดงอาการกายและวาจาให้รู้ สัทธิวิหาริกไม่ชื่อว่าถูกประณาม. 
อถ โข เต ภิกฺขู ภควโต เอตมตฺถํ อาโรเจสุํฯเปฯ  สจฺจํ กิร ภิกฺขเว สทฺธิวิหาริกา อุปชฺฌาเยสุ น สมฺมา วตฺตนฺตีติ?  สจฺจํ ภควาติ.  วิครหิ พุทฺโธ ภควาฯเปฯ กถญฺหิ นาม ภิกฺขเว สทฺธิวิหาริกา อุปชฺฌาเยสุ น สมฺมา วตฺติสฺสนฺตีติฯเปฯ  วิครหิตฺวาฯเปฯ ธมฺมึ กถํ กตฺวา ภิกฺขู อามนฺเตสิ “น ภิกฺขเว สทฺธิวิหาริเกน อุปชฺฌายมฺหิ น สมฺมา วตฺติตพฺพํ. 
tena kho pana samayena saddhivihārikā paṇāmitā na khamāpenti.  bhagavato, etam atthaṃ ārocesuṃ.  anujānāmi bhikkhave khamāpetun ti.  n’ eva khamāpenti.  bhagavato etam atthaṃ ārocesuṃ.  na bhikkhave paṇāmitena na khamāpetabbo.  yo na khamāpeyya, āpatti dukkaṭassā ’ti. |3| 
If he does not express this by gesture, nor by word, nor by gesture and word, the saddhivihârika has not been turned away.'  At that time saddhivihârikas who had been turned away did not beg pardon (of their upagghâyas).  They told this thing to the Blessed One.  'I prescribe, O Bhikkhus, that (a saddhivihârika who has been turned away) should, beg pardon (of his upagghâya).'  They did not beg pardon notwithstanding.  They told, &c.  'I prescribe, O Bhikkhus, that (a saddhivihârika) who has been turned away shall not forbear to beg pardon (of his upagghâya). 
สมัยต่อมา สัทธิวิหาริกทั้งหลายถูกประณามแล้ว ไม่ขอให้อุปัชฌายะอดโทษ.  ภิกษุทั้งหลายจึงกราบทูลเรื่องนั้นแด่พระผู้มีพระภาค. พระผู้มีพระภาคตรัสว่า  ดูกรภิกษุทั้งหลาย เราอนุญาตให้สัทธิวิหาริกขอให้อุปัชฌายะอดโทษ.  สัทธิวิหาริกทั้งหลายไม่ยอมขอให้อุปัชฌายะอดโทษอย่างเดิม.  ภิกษุทั้งหลายจึงกราบทูลเรื่องนั้นแด่พระผู้มีพระภาค พระผู้มีพระภาคตรัสว่า  ดูกรภิกษุทั้งหลาย สัทธิวิหาริกถูกประณามแล้ว จะไม่ขอให้อุปัชฌายะอดโทษไม่ได้  รูปใดไม่ขอให้อุปัชฌายะอดโทษ ต้องอาบัติทุกกฏ. 
โย น สมฺมา วตฺเตยฺย อาปตฺติ ทุกฺกฏสฺสา”ติ  เนว สมฺมา วตฺตนฺติ.  ภควโต เอตมตฺถํ อาโรเจสุํ.  อนุชานามิ ภิกฺขเว อสมฺมาวตฺตนฺตํ ปณาเมตุํ.  เอวญฺจ ปน ภิกฺขเว ปณาเมตพฺโพ “ปณาเมมิ ต”นฺติ วา “มายิธ ปฏิกฺกมี”ติ วา “นีหร เต ปตฺตจีวร”นฺติ วา “นาหํ ตยา อุปฏฺฐาตพฺโพ”ติ วา กาเยน วิญฺญาเปติ วาจาย วิญฺญาเปติ กาเยน วาจาย วิญฺญาเปติ ปณามิโต โหติ สทฺธิวิหาริโก  น กาเยน วิญฺญาเปติ น วาจาย วิญฺญาเปติ น กาเยน วาจาย วิญฺญาเปติ น ปณามิโต โหติ สทฺธิวิหาริโกติ.  เตน โข ปน สมเยน สทฺธิวิหาริกา ปณามิตา น ขมาเปนฺติ. 
tena kho pana samayena upajjhāyā khamāpiyamānā na khamanti.  bhagavato etam atthaṃ ārocesuṃ.  anujānāmi bhikkhave khamitun ti.  n’ eva khamanti.  saddhivihārikā pakkamanti pi, vibbhamanti pi, titthiyesu pi saṃkamanti.  bhagavato etam atthaṃ ārocesuṃ.  na bhikkhave khamāpiyamānena na khamitabbaṃ.  yo na khameyya, āpatti dukkaṭassā ’ti. |4| 
If he does not beg pardon, it is a dukkata offence.'  At that time upagghâyas, when the saddhivihârikas begged their pardon, would not forgive them.  They told, &c.  'I prescribe, O Bhikkhus, forgiving.'  Notwithstanding this they did not forgive.  The saddhivihârikas went away, or returned to the world, or went over to other schools.  They told, &c.  'Let him who is asked for his pardon, not withhold it. 
สมัยต่อมา อุปัชฌายะทั้งหลายอันพวกสัทธิวิหาริกขอให้อดโทษอยู่ ก็ไม่ยอมอดโทษ.  ภิกษุทั้งหลายจึงกราบทูลเรื่องนั้นแด่พระผู้มีพระภาค พระผู้มีพระภาคตรัสว่า  ดูกรภิกษุทั้งหลาย เราอนุญาตให้อุปัชฌายะอดโทษ.  อุปัชฌายะทั้งหลายยังไม่ยอมอดโทษอย่างเดิม.  พวกสัทธิวิหาริกหลีกไปเสียบ้าง สึกไปเสียบ้าง ไปเข้ารีดเดียรถีย์เสียบ้าง.  ภิกษุทั้งหลายจึงกราบทูลเรื่องนั้นแด่พระผู้มีพระภาค พระผู้มีพระภาคตรัสว่า  ดูกรภิกษุทั้งหลาย อุปัชฌายะอันพวกสัทธิวิหาริกขอให้อดโทษอยู่ จะไม่ยอมอดโทษไม่ได้  รูปใดไม่ยอมอดโทษ ต้องอาบัติทุกกฏ. 
ภควโต เอตมตฺถํ อาโรเจสุํ.  อนุชานามิ ภิกฺขเว ขมาเปตุนฺติ.  เนว ขมาเปนฺติ.  ภควโต เอตมตฺถํ อาโรเจสุํ  น ภิกฺขเว ปณามิเตน น ขมาเปตพฺโพ.  โย น ขมาเปยฺย อาปตฺติ ทุกฺกฏสฺสาติ.  เตน โข ปน สมเยน อุปชฺฌายา ขมาปิยมานา น ขมนฺติ.  ภควโต เอตมตฺถํ อาโรเจสุํ. 
tena kho pana samayena upajjhāyā sammāvattantaṃ paṇāmenti, asammāvattantaṃ na paṇāmenti.  bhagavato etam atthaṃ ārocesuṃ.  na bhikkhave sammāvattanto paṇāmetabbo. yo paṇāmeyya, āpatti dukkaṭassa.  na ca bhikkhave asammāvattanto na paṇāmetabbo.  yo na paṇāmeyya, āpatti dukkaṭassa. |5| 
He who does not forgive, is guilty of a dukkata offence:  At that time upagghâyas turned away (a saddhivihârika) who observed a proper conduct, and did not turn awayone who did not observe it.  They told, &c.  'Let no one, O Bhikkhus, who observes a proper conduct, be turned away. He who turns him away is guilty of a dukkata offence.  And let no one, O Bhikkhus, who dues not observe a proper conduct, not be turned away. 
[๘๔] ก็โดยสมัยนั้นแล อุปัชฌายะประณามสัทธิวิหาริกผู้ประพฤติชอบ ไม่ประณามสัทธิวิหาริกผู้ประพฤติมิชอบ.  ภิกษุทั้งหลายจึงกราบทูลเรื่องนั้นแด่พระผู้มีพระภาค พระผู้มีพระภาคตรัสว่า  ดูกรภิกษุทั้งหลาย สัทธิวิหาริกผู้ประพฤติชอบ อุปัชฌายะไม่พึงประณาม รูปใดประณามต้องอาบัติทุกกฏ.  ดูกรภิกษุทั้งหลาย อนึ่ง สัทธิวิหาริกผู้ประพฤติมิชอบ อุปัชฌายะจะไม่ประณามไม่ได้  รูปใดไม่ประณามต้องอาบัติทุกกฏ. 
อนุชานามิ ภิกฺขเว ขมิตุนฺติ.  เนว ขมนฺติ.  สทฺธิวิหาริกา ปกฺกมนฺติปิ วิพฺภมนฺติปิ ติตฺถิเยสุปิ สงฺกมนฺติ.  ภควโต เอตมตฺถํ อาโรเจสุํ.  น ภิกฺขเว ขมาปิยมาเนน น ขมิตพฺพํ. 
pañcahi bhikkhave aṅgehi samannāgato saddhivihāriko paṇāmetabbo:  upajjhāyamhi nādhimattaṃ pemaṃ hoti, nādhimatto pasādo hoti, nādhimattā hirī hoti, nādhimatto gāravo hoti, nādhimattā bhāvanā hoti.  imehi kho bhikkhave pañcah’ aṅgehi samannāgato saddhivihāriko paṇāmetabbo.  pañcahi bhikkhave aṅgehi samannāgato saddhivihāriko na paṇāmetabbo:  upajjhāyamhi adhimattaṃ pemaṃ hoti, adhimatto pasādo hoti, adhimattā hirī hoti, adhimatto gāravo hoti, adhimattā bhāvanā hoti.  imehi kho bhikkhave pañcah’ aṅgehi samannāgato saddhivihāriko na paṇāmetabbo. |6| 
(An upagghâya) who does not turn him away is guilty of a dukkata offence.  'In five cases, O Bhikkhus, a saddhivihârika ought to be turned away:  when he does not feel great affection for his upagghâya, nor great inclination (towards him), nor much shame, nor great reverence, nor great devotion (towards the upagghâya).  In these five cases, O Bhikkhus, a saddhivihârika ought to be turned away.  'In five cases, O Bhikkhus, a saddhivihârika ought not to be turned away:  when he feels great affection for his upagghâya, great inclination (towards him), &c. 
องค์แห่งการประณาม // ดูกรภิกษุทั้งหลาย อุปัชฌายะพึงประณามสัทธิวิหาริกผู้ประกอบด้วยองค์ ๕ คือ:-  ๑. หาความรักใคร่อย่างยิ่งในอุปัชฌายะมิได้ ๒. หาความเลื่อมใสอย่างยิ่งมิได้ ๓. หาความละอายอย่างยิ่งมิได้ ๔. หาความเคารพอย่างยิ่งมิได้ และ ๕. หาความหวังดีต่ออย่างยิ่งมิได้  ดูกรภิกษุทั้งหลาย อุปัชฌายะพึงประณามสัทธิวิหาริก ผู้ประกอบด้วยองค์ ๕ นี้แล.  ดูกรภิกษุทั้งหลาย อุปัชฌายะไม่พึงประณามสัทธิวิหาริก ผู้ประกอบด้วยองค์ ๕ คือ  ๑. มีความรักใคร่อย่างยิ่งในอุปัชฌายะ ๒. มีความเลื่อมใสอย่างยิ่ง ๓. มีความละอายอย่างยิ่ง ๔. มีความเคารพอย่างยิ่ง และ ๕. มีความหวังดีต่ออย่างยิ่ง  ดูกรภิกษุทั้งหลาย อุปัชฌายะไม่พึงประณามสัทธิวิหาริก ผู้ประกอบด้วยองค์ ๕ นี้แล. 
โย น ขเมยฺย อาปตฺติ ทุกฺกฏสฺสาติ.  เตน โข ปน สมเยน อุปชฺฌายา สมฺมาวตฺตนฺตํ ปณาเมนฺติ อสมฺมาวตฺตนฺตํ น ปณาเมนฺติ.  ภควโต เอตมตฺถํ อาโรเจสุํ.  น ภิกฺขเว สมฺมาวตฺตนฺโต ปณาเมตพฺโพ. โย ปณาเมยฺย อาปตฺติ ทุกฺกฏสฺส  น จ ภิกฺขเว อสมฺมาวตฺตนฺโต น ปณาเมตพฺโพ.  โย น ปณาเมยฺย อาปตฺติ ทุกฺกฏสฺสาติ. 
pañcahi bhikkhave aṅgehi samannāgato saddhivihāriko alaṃ paṇāmetuṃ: upa-(55)jjhāyamhi nādhimattaṃ pemaṃ hoti . . . nādhimattā bhāvanā hoti.  imehi kho bhikkhave pañcah’ aṅgehi samannāgato saddhivihāriko alaṃ paṇāmetuṃ.  pañcahi bhikkhave aṅgehi samannāgato saddhivihāriko nālaṃ paṇāmetuṃ: upajjhāyamhi adhimattaṃ pemaṃ hoti . . . adhimattā bhāvanā hoti.  imehi kho bhikkhave pañcah’ aṅgehi samannāgato saddhivihāriko nālaṃ paṇāmetuṃ. |7| 
In these five cases, O Bhikkhus, a saddhivihârika ought not to be turned away.  'In five cases, O Bhikkhus, it is right to turn away a saddhivihârika: when he does not feel great affection, &c.  In these five cases, O Bhikkhus, it is right to turn away a saddhivihârika.  'In five cases, O Bhikkhus, it is not right, &c. 
ดูกรภิกษุทั้งหลาย สัทธิวิหาริกผู้ประกอบด้วยองค์ ๕ ควรประณาม คือ ๑. หาความรักใคร่อย่างยิ่งในอุปัชฌายะมิได้ ๒. หาความเลื่อมใสอย่างยิ่งมิได้ ๓. หาความละอายอย่างยิ่งมิได้ ๔. หาความเคารพอย่างยิ่งมิได้ และ ๕. หาความหวังดีต่ออย่างยิ่งมิได้  ดูกรภิกษุทั้งหลาย สัทธิวิหาริกผู้ประกอบด้วยองค์ ๕ นี้แล ควรประณาม.  ดูกรภิกษุทั้งหลาย สัทธิวิหาริกผู้ประกอบด้วยองค์ ๕ ไม่ควรประณาม คือ ๑. มีความรักใคร่อย่างยิ่งในอุปัชฌายะ ๒. มีความเลื่อมใสอย่างยิ่ง ๓. มีความละอายอย่างยิ่ง ๔. มีความเคารพอย่างยิ่ง และ ๕. มีความหวังดีต่ออย่าง  ดูกรภิกษุทั้งหลาย สัทธิวิหาริกผู้ประกอบด้วยองค์ ๕ นี้แล ไม่ควรประณาม. 
“ปญฺจหิ ภิกฺขเว องฺเคหิ สมนฺนาคโต สทฺธิวิหาริโก ปณาเมตพฺโพ.  อุปชฺฌายมฺหิ นาธิมตฺตํ เปมํ โหติ นาธิมตฺโต ปสาโท โหติ นาธิมตฺตา หิรี โหติ นาธิมตฺโต คารโว โหติ นาธิมตฺตา ภาวนา โหติ  อิเมหิ โข ภิกฺขเว ปญฺจหงฺเคหิ สมนฺนาคโต สทฺธิวิหาริโก ปณาเมตพฺโพ.  “ปญฺจหิ ภิกฺขเว องฺเคหิ สมนฺนาคโต สทฺธิวิหาริโก น ปณาเมตพฺโพ. 
pañcahi bhikkhave aṅgehi samannāgataṃ saddhivihārikaṃ apaṇāmento upajjhāyo sātisāro hoti, paṇāmento anatisāro hoti: upajjhāyamhi nādhimattaṃ pemaṃ hoti . . . nādhimattā bhāvanā hoti.  imehi kho bhikkhave pañcah’ aṅgehi samannāgataṃ saddhivihārikaṃ apaṇāmento upajjhāyo sātisāro hoti, paṇāmento anatisāro hoti.  pañcahi bhikkhave aṅgehi samannāgataṃ saddhivihārikaṃ paṇāmento upajjhāyo sātisāro hoti, apaṇāmento anatisāro hoti: upajjhāyamhi adhimattaṃ pemaṃ hoti . . . adhimattā bhāvanā hoti.  imehi kho bhikkhave pañcah’ aṅgehi samannāgataṃ saddhivihārikaṃ paṇāmento upajjhāyo sātisāro hoti, apaṇāmento anatisāro hotīti. |8| 
  'In five cases, O Bhikkhus, an upagghâya who does not turn away a saddhivihârika, trespasses (against the law), and an upagghâya who turns him away, does not trespass: when he does not feel great affection, &c.  In these five cases, &c.  'In five cases, O Bhikkhus, an upagghâya who turns away a saddhivihârika, trespasses (against the law), and an upagghâya who does not turn him away, does not trespass, &c.' 
ดูกรภิกษุทั้งหลาย สัทธิวิหาริกผู้ประกอบด้วยองค์ ๕ อุปัชฌายะเมื่อไม่ประณาม มีโทษ เมื่อประณาม ไม่มีโทษ คือ ๑. หาความรักใคร่อย่างยิ่งในอุปัชฌายะมิได้ ๒. หาความเลื่อมใสอย่างยิ่งมิได้ ๓. หาความละอายอย่างยิ่งมิได้ ๔. หาความเคารพอย่างยิ่งมิได้ และ ๕. หาความหวังดีต่ออย่างยิ่งมิได้  ดูกรภิกษุทั้งหลาย สัทธิวิหาริกผู้ประกอบด้วยองค์ ๕ นี้แล อุปัชฌายะ เมื่อไม่ประณาม มีโทษ เมื่อประณาม ไม่มีโทษ.  ดูกรภิกษุทั้งหลาย สัทธิวิหาริกผู้ประกอบด้วยองค์ ๕ อุปัชฌายะ เมื่อประณาม มีโทษ เมื่อไม่ประณามไม่มีโทษ คือ ๑. มีความรักใคร่อย่างยิ่งในอุปัชฌายะ ๒. มีความเลื่อมใสอย่างยิ่ง ๓. มีความละอายอย่างยิ่ง ๔. มีความเคารพอย่างยิ่ง และ ๕. มีความหวังดีต่ออย่างยิ่ง  ดูกรภิกษุทั้งหลาย สัทธิวิหาริกผู้ประกอบด้วยองค์ ๕ นี้แล อุปัชฌายะ เมื่อประณาม มีโทษ เมื่อไม่ประณาม ไม่มีโทษ 
อุปชฺฌายมฺหิ อธิมตฺตํ เปมํ โหติ อธิมตฺโต ปสาโท โหติ อธิมตฺตา หิรี โหติ อธิมตฺโต คารโว โหติ อธิมตฺตา ภาวนา โหติ  อิเมหิ โข ภิกฺขเว ปญฺจหงฺเคหิ สมนฺนาคโต สทฺธิวิหาริโก น ปณาเมตพฺโพ.  “ปญฺจหิ ภิกฺขเว องฺเคหิ สมนฺนาคโต สทฺธิวิหาริโก อลํ ปณาเมตุํ. อุปชฺฌายมฺหิ นาธิมตฺตํ เปมํ โหติ นาธิมตฺโต ปสาโท โหติ นาธิมตฺตา หิรี โหติ นาธิมตฺตา คารโว โหติ นาธิมตฺตา ภาวนา โหติ  อิเมหิ โข ภิกฺขเว ปญฺจหงฺเคหิ สมนฺนาคโต สทฺธิวิหาริโก อลํ ปณาเมตุํ. 
||27|| 
 
“ปญฺจหิ ภิกฺขเว องฺเคหิ สมนฺนาคโต สทฺธิวิหาริโก นาลํ ปณาเมตุํ. อุปชฺฌายมฺหิ อธิมตฺตํ เปมํ โหติ อธิมตฺโต ปสาโท โหติ อธิมตฺตา หิรี โหติ อธิมตฺโต คารโว โหติ อธิมตฺตา ภาวนา โหติ 
tena kho pana samayena aññataro brāhmaṇo bhikkhū upasaṃkamitvā pabbajjaṃ yāci, taṃ bhikkhū na icchiṃsu pabbājetuṃ, so bhikkhūsu pabbajjaṃ alabhamāno kiso ahosi lūkho dubbaṇṇo uppaṇḍuppaṇḍukajāto dhamanisanthatagatto.  addasa kho bhagavā taṃ brāhmaṇaṃ kisaṃ lūkhaṃ dubbaṇṇaṃ uppaṇḍuppaṇḍukajātaṃ dhamanisanthatagattaṃ, disvāna bhikkhū āmantesi:  kiṃ nu kho so bhikkhave brāhmaṇo kiso lūkho dubbaṇṇo uppaṇḍuppaṇḍukajāto dhamanisanthatagatto ’ti.  eso bhante brāhmaṇo bhikkhū upasaṃkamitvā pabbajjaṃ yāci, taṃ bhikkhū na icchiṃsu pabbājetuṃ, so bhikkhūsu pabbajjaṃ alabhamāno kiso lūkho dubbaṇṇo uppaṇḍuppaṇḍukajāto dhamanisanthatagatto ’ti. |1| 
At that time a certain Brâhmana came to the Bhikkhus and asked them for the pabbaggâ ordination. The Bhikkhus were not willing to ordain him. As he did not obtain the pabbaggâ ordination from the Bhikkhus, he became emaciated, lean, discoloured, more and more livid, and the veins became visible all over his body.  And the Blessed One saw this Brâhmana, who had become emaciated, &c. When he had seen him, he said to the Bhikkhus:  'How is it, O Bhikkhus, that this Brâhmana has become emaciated, &c.' 
มูลเหตุอุปสมบทด้วยญัตติจตุตถกรรม เรื่องพราหมณ์คนหนึ่ง [๘๕] ก็โดยสมัยนั้นแล พราหมณ์คนหนึ่งเข้าไปหาภิกษุทั้งหลาย แล้วขอบรรพชา. ภิกษุทั้งหลายไม่ปรารถนาจะให้เธอบรรพชา. เมื่อเธอไม่ได้บรรพชาในสำนักภิกษุ จึงได้ซูบผอม เศร้าหมอง มีผิวพรรณคล้ำ มีผิวเหลืองๆ ขึ้น มีเนื้อตัวสะพรั่งด้วยเอ็น.  พระผู้มีพระภาคทอดพระเนตรเห็นพราหมณ์นั้นซูบผอม เศร้าหมอง มีผิวพรรณคล้ำ มีผิวเหลืองขึ้นๆ มีเนื้อตัวสะพรั่งด้วยเอ็น ครั้นแล้วรับสั่งถามภิกษุทั้งหลายว่า  ดูกรภิกษุทั้งหลาย เหตุไฉนพราหมณ์นั้นจึงได้ซูบผอม เศร้าหมอง มีผิวพรรณคล้ำ มีผิวเหลืองขึ้นๆ มีเนื้อตัวสะพรั่งด้วยเอ็นเล่า?  ภิกษุทั้งหลายทูลว่า เพราะพราหมณ์นั่นเข้าไปหาภิกษุทั้งหลาย แล้วขอบรรพชา ภิกษุทั้งหลายไม่ปรารถนาจะให้เธอบรรพชา เมื่อเธอไม่ได้บรรพชาในสำนักภิกษุ จึงได้ซูบผอม เศร้าหมอง มีผิวพรรณคล้ำ มีผิวเหลืองขึ้นๆ มีเนื้อตัวสะพรั่งด้วยเอ็น พระพุทธเจ้าข้า. 
อิเมหิ โข ภิกฺขเว ปญฺจหงฺเคหิ สมนฺนาคโต สทฺธิวิหาริโก นาลํ ปณาเมตุํ.  “ปญฺจหิ ภิกฺขเว องฺเคหิ สมนฺนาคตํ สทฺธิวิหาริกํ อปฺปณาเมนฺโต อุปชฺฌาโย สาติสาโร โหติ ปณาเมนฺโต อนติสาโร โหติ. อุปชฺฌายมฺหิ นาธิมตฺตํ เปมํ โหติ นาธิมตฺโต ปสาโท โหติ นาธิมตฺตา หิรี โหติ นาธิมตฺโต คารโว โหติ นาธิมตฺตา ภาวนา โหติ อิ  เมหิ โข ภิกฺขเว ปญฺจหงฺเคหิ สมนฺนาคตํ สทฺธิวิหาริกํ อปฺปณาเมนฺโต อุปชฺฌาโย สาติสาโร โหติ ปณาเมนฺโต อนติสาโร โหติ.  “ปญฺจหิ ภิกฺขเว องฺเคหิ สมนฺนาคตํ สทฺธิวิหาริกํ ปณาเมนฺโต อุปชฺฌาโย สาติสาโร โหติ อปฺปณาเมนฺโต อนติสาโร โหติ. อุปชฺฌายมฺหิ อธิมตฺตํ เปมํ โหติ อธิมตฺโต ปสาโท โหติ อธิมตฺตา หิรี โหติ อธิมตฺโต คารโว โหติ อธิมตฺตา ภาวนา โหติ 
atha kho bhagavā bhikkhū āmantesi: ko nu kho bhikkhave tassa brāhmaṇassa adhikāraṃ saratīti.  evaṃ vutte āyasmā Sāriputto bhagavantaṃ etad avoca: ahaṃ kho bhante tassa brāhmaṇassa adhikāraṃ sarāmīti.  kiṃ pana tvaṃ Sāriputta tassa brāhmaṇassa adhikāraṃ sarasīti.  idha me bhante so brāhmaṇo Rājagahe piṇḍāya carantassa kaṭacchubhikkhaṃ dāpesi, imaṃ kho ahaṃ bhante tassa brāhmaṇassa (56) adhikāraṃ sarāmīti. |2| 
'This Brâhmana, Lord, came to the Bhikkhus and asked them for the pabbaggâ ordination (&c., as above, down to:), and the veins became visible all over his body.'  Then the Blessed One said to the Bhikkhus: 'Now, O Bhikkhus, who remembers anything about this Brâhmana?'  When he had spoken thus, the venerabIe Sâriputta said to the Blessed One: 'I remember something, Lord, about this Brâhmana.'  'And what is it you remember, Sâriputta, about this Brâhmana?' 
ทีนั้น พระผู้มีพระภาครับสั่งถามภิกษุทั้งหลายว่า ดูกรภิกษุทั้งหลาย ใครระลึกถึงบุญคุณของพราหมณ์นั้นได้บ้าง?  เมื่อตรัสถามอย่างนี้แล้ว ท่านพระสารีบุตรได้ทูลคำนี้ต่อพระผู้มีพระภาคว่า ข้าพระพุทธเจ้าระลึกถึงบุญคุณของพราหมณ์นั้นได้อยู่ พระพุทธเจ้าข้า.  ภ. ดูกรสารีบุตร ก็เธอระลึกถึงบุญคุณของพราหมณ์นั้นได้อย่างไรบ้าง?  สา. พระพุทธเจ้าข้า เมื่อข้าพระพุทธเจ้าเที่ยวบิณฑบาตอยู่ ณ พระนครราชคฤห์นี้ พราหมณ์ผู้นั้นได้สั่งให้ถวายภิกษา ๑ ทัพพี ข้าพระพุทธเจ้าระลึกถึงบุญคุณของพราหมณ์นั้นได้เท่านี้แล พระพุทธเจ้าข้า. 
อิเมหิ โข ภิกฺขเว ปญฺจหงฺเคหิ สมนฺนาคตํ สทฺธิวิหาริกํ ปณาเมนฺโต อุปชฺฌาโย สาติสาโร โหติ อปฺปณาเมนฺโต อนติสาโร โหตี”ติ.      ๖๙. เตน โข ปน สมเยน อญฺญตโร พฺราหฺมโณ ภิกฺขู อุปสงฺกมิตฺวา ปพฺพชฺชํ ยาจิ. ตํ ภิกฺขู น อิจฺฉึสุ ปพฺพาเชตุํ. โส ภิกฺขูสุ ปพฺพชฺชํ อลภมาโน กิโส อโหสิ ลูโข ทุพฺพณฺโณ อุปฺปณฺฑุปฺปณฺฑุกชาโต ธมนิสนฺถตคตฺโต. 
sādhu sādhu Sāriputta, kataññuno hi Sāriputta sappurisā katavedino.  tena hi tvaṃ Sāriputta taṃ brāhmaṇaṃ pabbājehi upasampādehīti.  kathāhaṃ bhante taṃ brāhmaṇaṃ pabbājemi upasampādemīti.  atha kho bhagavā etasmiṃ pakaraṇe dhammiṃ kathaṃ katvā bhikkhū āmantesi: yā sā bhikkhave mayā tīhi saraṇagamanehi upasampadā anuññātā, tāhaṃ ajjatagge paṭikkhipāmi.  anujānāmi bhikkhave ñatticatutthena kammena upasampādetuṃ. |3| 
'This Brâhmana, Lord, one day, when I went through Râgagaha for alms, ordered a spoonful of food to be given to me; this is what I remember, Lord, about this Brâhmana.'  'Good, good, Sâriputta; pious men, Sâriputta, are gratefuI and remember what has been done to them.  Therefore, Sâriputta, confer you the pabbaggâ and upasampadâ ordinations on that Brâhmana.'  'Lord, how shall I confer the pabbaggâ and upasampadâ ordinations on this Brâhmana?'  Then the Blessed One on this occasion, after having delivered a religious discourse, thus addressed the Bhikkhus: 'I abolish, O Bhikkhus, from this day the upasampadâ ordination by the threefold declaration of taking refuge, which I had prescribed. 
ภ. ดีละๆ สารีบุตร ความจริงสัตบุรุษทั้งหลาย เป็นผู้กตัญญูกตเวที  สารีบุตร ถ้าเช่นนั้น เธอจงให้พราหมณ์นั้นบรรพชาอุปสมบทเถิด.  สา. ข้าพระพุทธเจ้าจะให้พราหมณ์นั้นบรรพชาอุปสมบทอย่างไร พระพุทธเจ้าข้า?  อุปสมบทด้วยญัตติจตุตถกรรม // ลำดับนั้น พระผู้มีพระภาคทรงทำธรรมีกถา ในเพราะเหตุเป็นเค้ามูลนั้น ในเพราะเหตุแรกเกิดนั้น แล้วรับสั่งกะภิกษุทั้งหลายว่า ดูกรภิกษุทั้งหลาย ตั้งแต่วันนี้เป็นต้นไป เราห้ามการอุปสมบทด้วยไตรสรณคมน์ ซึ่งเราได้อนุญาตไว้  ดูกรภิกษุทั้งหลาย เราอนุญาตการอุปสมบทด้วยญัตติจตุตถกรรม 
อทฺทสา โข ภควา ตํ พฺราหฺมณํ กิสํ ลูขํ ทุพฺพณฺณํ อุปฺปณฺฑุปฺปณฺฑุกชาตํ ธมนิสนฺถตคตฺตํ ทิสฺวาน ภิกฺขู อามนฺเตสิ  “กึ นุ โข โส ภิกฺขเว พฺราหฺมโณ กิโส ลูโข ทุพฺพณฺโณ อุปฺปณฺฑุปฺปณฺฑุกชาโต ธมนิสนฺถตคตฺโต”ติ?  เอโส ภนฺเต พฺราหฺมโณ ภิกฺขู อุปสงฺกมิตฺวา ปพฺพชฺชํ ยาจิ. ตํ ภิกฺขู น อิจฺฉึสุ ปพฺพาเชตุํ. โส ภิกฺขูสุ ปพฺพชฺชํ อลภมาโน กิโส ลูโข ทุพฺพณฺโณ อุปฺปณฺฑุปฺปณฺฑุกชาโต ธมนิสนฺถตคตฺโตติ.  อถ โข ภควา ภิกฺขู อามนฺเตสิ “โก นุ โข ภิกฺขเว ตสฺส พฺราหฺมณสฺส อธิการํ สรสี”ติ?  เอวํ วุตฺเต อายสฺมา สาริปุตฺโต ภควนฺตํ เอตทโวจ “อหํ โข ภนฺเต ตสฺส พฺราหฺมณสฺส อธิการํ สรามี”ติ. 
evañ ca pana bhikkhave upasampādetabbo: vyattena bhikkhunā paṭibalena saṃgho ñāpetabbo:  suṇātu me bhante saṃgho. ayaṃ itthannāmo itthannāmassa āyasmato upasampadāpekkho.  yadi saṃghassa pattakallaṃ, saṃgho itthannāmaṃ upasampādeyya itthannāmena upajjhāyena.  esā ñatti. |4| 
I prescribe, O Bhikkhus, that you confer the upasampadâ ordination by a formal act of the Order in which the announcement (ñatti) is followed by three questions.  'And you ought, O Bhikkhus, to confer the upasampadâ ordination in this way: Let a learned, competent Bhikkhu proclaim the following ñatti before the Samgha:  'Let the Samgha, reverend Sirs, hear me. This person N. N., desires to receive the upasampadâ ordination from the venerable N. N. (i.e. with the venerable N. N. as his upagghâya).  If the Samgha is ready, let the Samgha confer on N. N. the upasampadâ ordination with N. N. as upagghâya. 
วิธีให้อุปสมบท // ดูกรภิกษุทั้งหลาย ก็แล พวกเธอพึงให้อุปสมบทอย่างนี้ ภิกษุผู้ฉลาด ผู้สามารถ พึงประกาศให้สงฆ์ทราบ ด้วยญัตติจตุตถกรรมวาจา ว่าดังนี้:-  กรรมวาจาให้อุปสมบท // ท่านเจ้าข้า ขอสงฆ์จงฟังข้าพเจ้า ผู้มีชื่อนี้ ผู้นี้ เป็นอุปสัมปทาเปกขะของท่านผู้มีชื่อนี้  ถ้าความพร้อมพรั่งของสงฆ์ถึงที่แล้ว สงฆ์พึงอุปสมบทผู้มีชื่อนี้ มีท่านผู้มีชื่อนี้เป็นอุปัชฌายะ  นี่เป็นญัตติ. 
“กึ ปน ตฺวํ สาริปุตฺต ตสฺส พฺราหฺมณสฺส อธิการํ สรสี”ติ?  “อิธ เม ภนฺเต โส พฺราหฺมโณ ราชคเห ปิณฺฑาย จรนฺตสฺส กฏจฺฉุภิกฺขํ ทาเปสิ. อิมํ โข อหํ ภนฺเต ตสฺส พฺราหฺมณสฺส อธิการํ สรามี”ติ.  “สาธุ สาธุ สาริปุตฺต กตญฺญุโน หิ สาริปุตฺต สปฺปุริสา กตเวทิโน.  เตน หิ ตฺวํ สาริปุตฺต ตํ พฺราหฺมณํ ปพฺพาเชหิ อุปสมฺปาเทหี”ติ 
suṇātu me bhante saṃgho.  ayaṃ itthannāmo itthannāmassa āyasmato upasampadāpekkho.  saṃgho itthannāmaṃ upasampādeti itthannāmena upajjhāyena.  yassāyasmato khamati itthannāmassa upasampadā itthannāmena upajjhāyena, so tuṇh’ assa, yassa na kkhamati, so bhāseyya.  dutiyaṃ pi etam atthaṃ vadāmi: suṇātu me bhante saṃgho.  ayaṃ itthannāmo itthannāmassa āyasmato upasampadāpekkho.  saṃgho itthannāmaṃ upasampādeti itthannāmena upajjhāyena.  yassāyasmato khamati itthannāmassa upasampadā itthannāmena upajjhāyena, so tuṇh’ assa, yassa na kkhamati, so bhāseyya. |5| 
This is the ñatti.  'Let the Samgha, reverend Sirs, hear me.  This person N. N. desires to receive the upasampadâ ordination from the venerable N. N.  The Samgha confers on N. N. the upasampadâ ordination with N. N. as upagghâya.  Let any one of the venerable brethren who is in favour of the upasampadâ ordination of N. N. with N. N. as upagghâya, be silent, and any one who is not in favour of it, speak.  'And for the second time I thus speak to you: Let the Samgha (&c., as before).     
ท่านเจ้าข้า ขอสงฆ์จงฟังข้าพเจ้า  ผู้มีชื่อนี้ ผู้นี้ เป็นอุปสัมปทาเปกขะของท่านผู้มีชื่อนี้  สงฆ์อุปสมบทผู้มีชื่อนี้ มีท่านผู้มีชื่อนี้เป็นอุปัชฌายะ  การอุปสมบทผู้มีชื่อนี้ มีท่านผู้มีชื่อนี้เป็นอุปัชฌายะ ชอบแก่ท่านผู้ใด ท่านผู้นั้นพึงเป็นผู้นิ่ง ไม่ชอบแก่ท่านผู้ใด ท่านผู้นั้นพึงพูด.  ข้าพเจ้ากล่าวความนี้เป็นครั้งที่สอง ท่านเจ้าข้า ขอสงฆ์จงฟังข้าพเจ้า  ผู้มีชื่อผู้นี้เป็นอุปสัมปทาเปกขะของท่านผู้มีชื่อนี้  สงฆ์อุปสมบทผู้มีชื่อนี้ มีท่านผู้มีชื่อนี้เป็นอุปัชฌายะ.  การอุปสมบทผู้มีชื่อนี้ มีท่านผู้มีชื่อนี้เป็นอุปัชฌายะ ชอบแก่ท่านผู้ใด ท่านผู้นั้นพึงเป็นผู้นิ่ง ไม่ชอบแก่ท่านผู้ใด ท่านผู้นั้นพึงพูด. 
“กถาหํ ภนฺเต ตํ พฺราหฺมณํ ปพฺพาเชมิ อุปสมฺปาเทมี”ติ?  อถ โข ภควา เอตสฺมึ นิทาเน เอตสฺมึ ปกรเณ ธมฺมึ กถํ กตฺวา ภิกฺขู อามนฺเตสิ ยา สา ภิกฺขเว มยา ตีหิ สรณคมเนหิ อุปสมฺปทา อนุญฺญาตา ตํ อชฺชตคฺเค ปฏิกฺขิปามิ.  อนุชานามิ ภิกฺขเว ญตฺติจตุตฺเถน กมฺเมน อุปสมฺปาเทตุํ .  เอวญฺจ ปน ภิกฺขเว อุปสมฺปาเทตพฺโพ. พฺยตฺเตน ภิกฺขุนา ปฏิพเลน สงฺโฆ ญาเปตพฺโพ  ๗๐. “สุณาตุ เม ภนฺเต สงฺโฆ. อยํ อิตฺถนฺนาโม อิตฺถนฺนามสฺส อายสฺมโต อุปสมฺปทาเปกฺโข.  ยทิ สงฺฆสฺส ปตฺตกลฺลํ สงฺโฆ อิตฺถนฺนามํ อุปสมฺปาเทยฺย อิตฺถนฺนาเมน อุปชฺฌาเยน.  เอสา ญตฺติ.  “สุณาตุ เม ภนฺเต สงฺโฆ. 
tatiyam pi etam atthaṃ vadāmi: suṇātu me bhante saṃgho. ayaṃ itthannāmo itthannāmassa āyasmato upasampadāpekkho.  saṃgho itthannāmaṃ upasampādeti itthannāmena upajjhāyena.  yassāyasmato khamati itthannāmassa upasampadā itthannāmena upajjhāyena, so tuṇh’ assa, yassa na kkhamati, so bhāseyya.  upasampanno saṃghena itthannāmo itthannāmena upajjhāyena.  khamati saṃghassa, tasmā tuṇhī, evam etaṃ dhārayāmīti. |6| 
  'And for the third time I thus speak to you: Let the Samgha, &c.      'N. N. has received the upasampadâ ordination from the Samgha with N. N. as upagghâya. 
ข้าพเจ้ากล่าวความนี้เป็นครั้งที่สาม ท่านเจ้าข้า ขอสงฆ์จงฟังข้าพเจ้า ผู้มีชื่อนี้ ผู้นี้เป็นอุปสัมปทาเปกขะของท่านผู้มีชื่อนี้  สงฆ์อุปสมบทผู้มีชื่อนี้ มีท่านผู้มีชื่อนี้เป็นอุปัชฌายะ  การอุปสมบทผู้มีชื่อนี้ มีท่านผู้มีชื่อนี้เป็นอุปัชฌายะ ชอบแก่ท่านผู้ใด ท่านผู้นั้นพึงเป็นผู้นิ่ง ไม่ชอบแก่ท่านผู้ใด ท่านผู้นั้นพึงพูด.  ผู้มีชื่อนี้ สงฆ์อุปสมบทแล้ว มีท่านผู้มีชื่อนี้เป็นอุปัชฌายะ  ชอบแก่สงฆ์ เหตุนั้นจึงนิ่ง ข้าพเจ้าทรงความนี้ไว้ด้วยอย่างนี้. 
อยํ อิตฺถนฺนาโม อิตฺถนฺนามสฺส อายสฺมโต อุปสมฺปทาเปกฺโข.  สงฺโฆ อิตฺถนฺนามํ อุปสมฺปาเทติ อิตฺถนฺนาเมน อุปชฺฌาเยน.  ยสฺสายสฺมโต ขมติ อิตฺถนฺนามสฺส อุปสมฺปทา อิตฺถนฺนาเมน อุปชฺฌาเยน โส ตุณฺหสฺส ยสฺส นกฺขมติ โส ภาเสยฺย.  “ทุติยมฺปิ เอตมตฺถํ วทามิ สุณาตุ เม ภนฺเต สงฺโฆ.  อยํ อิตฺถนฺนาโม อิตฺถนฺนามสฺส อายสฺมโต อุปสมฺปทาเปกฺโข. 
||28|| 
The Samgha is in favour of it, therefore it is silent. Thus I understand.' 
สงฺโฆ อิตฺถนฺนามํ อุปสมฺปาเทติ อิตฺถนฺนาเมน อุปชฺฌาเยน. 
tena kho pana samayena aññataro bhikkhu upasampannasamanantarā anācāraṃ ācarati.  bhikkhū evaṃ āhaṃsu: mā āvuso evarūpaṃ akāsi, n’ etaṃ kappatīti.  so evaṃ āha: n’ evāhaṃ āyasmante yāciṃ upasampādetha man ti, kissa maṃ tumhe ayācitā upasampāditthā ’ti.  bhagavato etam atthaṃ (57) ārocesuṃ. na bhikkhave ayācitena upasampādetabbo.  yo upasampādeyya, āpatti dukkaṭassa.  anujānāmi bhikkhave yācitena upasampādetuṃ. |1| 
At that time a certain Bhikkhu shortly after having received the upasampadâ ordination, abandoned himself to bad conduct.  The Bhikkhus said to him: 'You ought not to do so, friend; it is not becoming.'  He replied: 'I never asked you, Sirs, saying, "Confer on me the upasampadâ ordination." Why have you ordained me without your being asked?'  They told this thing to the Blessed One. 'Let no one, O Bhikkhus, ordain a person unless he has been asked to do so.  He who does, commits a dukkata offence. 
ภิกษุประพฤติอนาจาร // [๘๖] ก็โดยสมัยนั้นแล ภิกษุรูปหนึ่งพออุปสมบทแล้ว ได้ประพฤติอนาจาร.  ภิกษุทั้งหลายพากันกล่าวห้ามอย่างนี้ว่า อาวุโส คุณอย่าได้ทำอย่างนั้น เพราะนั่นไม่ควร.  เธอกล่าวอย่างนี้ว่า กระผมมิได้ขอร้องท่านทั้งหลายว่า ขอจงให้กระผมอุปสมบท ท่านทั้งหลายมิได้ถูกขอร้องแล้ว ให้กระผมอุปสมบทเพื่ออะไร.  ภิกษุทั้งหลายกราบทูลเรื่องนั้นแด่พระผู้มีพระภาค พระผู้มีพระภาคตรัสว่า ดูกรภิกษุทั้งหลาย ภิกษุผู้มิได้รับการขอร้อง ไม่พึงอุปสมบทให้  รูปใดอุปสมบทให้ ต้องอาบัติทุกกฏ.  ดูกรภิกษุทั้งหลาย เราอนุญาตให้ภิกษุผู้ถูกขอร้องอุปสมบทให้. 
ยสฺสายสฺมโต ขมติ อิตฺถนฺนามสฺส อุปสมฺปทา อิตฺถนฺนาเมน อุปชฺฌาเยน โส ตุณฺหสฺส ยสฺส นกฺขมติ โส ภาเสยฺย  “ตติยมฺปิ เอตมตฺถํ วทามิ สุณาตุ เม ภนฺเต สงฺโฆ. อยํ อิตฺถนฺนาโม อิตฺถนฺนามสฺส อายสฺมโต อุปสมฺปทาเปกฺโข.  สงฺโฆ อิตฺถนฺนามํ อุปสมฺปาเทติ อิตฺถนฺนาเมน อุปชฺฌาเยน.  ยสฺสายสฺมโต ขมติ อิตฺถนฺนามสฺส อุปสมฺปทา อิตฺถนฺนาเมน อุปชฺฌาเยน โส ตุณฺหสฺส ยสฺส นกฺขมติ โส ภาเสยฺย.  “อุปสมฺปนฺโน สงฺเฆน อิตฺถนฺนาโม อิตฺถนฺนาเมน อุปชฺฌาเยน.  ขมติ สงฺฆสฺส ตสฺมา ตุณฺหี เอวเมตํ ธารยามี”ติ. 
evañ ca pana bhikkhave yācitabbo.  tena upasampadāpekkhena saṃghaṃ upasaṃkamitvā ekaṃsaṃ uttarāsaṅgaṃ karitvā bhikkhūnaṃ pāde vanditvā ukkuṭikaṃ nisīditvā añjaliṃ paggahetvā evam assa vacanīyo:  saṃghaṃ bhante upasampadaṃ yācāmi, ullumpatu maṃ bhante saṃgho anukampaṃ upādāya, dutiyam pi yācitabbo --la-- tatiyam pi yācitabbo --la--. |2| 
I prescribe, O Bhikkhus, that you ordain only after having been asked.  'And (a Bhikkhu) ought to be asked in this way:  Let him who desires to receive the upasampadâ ordination, go to the Samgha, adjust his upper robe so as to cover one shoulder, salute the feet of the Bhikkhus with his head, sit down squatting, raise his joined hands, and say: 
วิธีขออุปสมบท // ดูกรภิกษุทั้งหลาย ก็แลอุปสัมปทาเปกขะพึงขออย่างนี้  อุปสัมปทาเปกขะนั้น พึงเข้าไปหาสงฆ์ ห่มผ้าเฉวียงบ่า ไหว้เท้าภิกษุทั้งหลาย นั่งกระหย่ง ประคองอัญชลี แล้วกล่าวคำขออุปสมบทอย่างนี้ว่า  ข้าพเจ้าขออุปสมบทต่อสงฆ์ เจ้าข้า ขอสงฆ์โปรดเอ็นดูยกข้าพเจ้าขึ้นเถิด เจ้าข้า. พึงขอแม้ครั้งที่สอง ... พึงขอแม้ครั้งที่สาม ... 
    ๗๑. เตน โข ปน สมเยน อญฺญตโร ภิกฺขุ อุปสมฺปนฺนสมนนฺตรา อนาจารํ อาจรติ. 
vyattena bhikkhunā paṭibalena saṃgho ñāpetabbo:  suṇātu me bhante saṃgho. ayaṃ itthannāmo itthannāmassa āyasmato upasampadāpekkho.  itthannāmo saṃghaṃ upasampadaṃ yācati itthannāmena upajjhāyena.  yadi saṃghassa pattakallaṃ, saṃgho itthannāmaṃ upasampādeyya itthannāmena upajjhāyena.  esā ñatti. |3| 
"I ask the Samgha, reverend Sirs, for the upasampadâ ordination; might the Samgha, reverend Sirs, draw me out (of the sinful world) out of compassion towards me." And for the second time, &c.; and for the third time let him ask, &c.  'Then let a learned, competent Bhikkhu proclaim the following ñatti before the Samgha:  "Let the Samgha, reverend Sirs, hear me. This person N. N. desires to receive the upasampadâ ordination from the venerable N. N.;  N. N. asks the Samgha for the upasampadâ ordination with N. N. as upagghâya.  If the Samgha is ready, &c,1"' 
ภิกษุผู้ฉลาด ผู้สามารถ พึงประกาศให้สงฆ์ทราบด้วยญัตติจตุตถกรรมวาจา ว่าดังนี้:-  กรรมวาจาให้อุปสมบท // ท่านเจ้าข้า ขอสงฆ์จงฟังข้าพเจ้า ผู้มีชื่อนี้ ผู้นี้ เป็นอุปสัมปทาเปกขะของท่านผู้มีชื่อนี้.  ผู้มีชื่อนี้ขออุปสมบทต่อสงฆ์ มีท่านผู้มีชื่อนี้เป็นอุปัชฌายะ.  ถ้าความพร้อมพรั่งของสงฆ์ถึงที่แล้ว สงฆ์พึงอุปสมบทผู้มีชื่อนี้ มีท่านผู้มีชื่อนี้เป็นอุปัชฌายะ.  นี่เป็นญัตติ. 
ภิกฺขู เอวมาหํสุ “มาวุโส เอวรูปํ อกาสิ เนตํ กปฺปตี”ติ.  โส เอวมาห “เนวาหํ อายสฺมนฺเต ยาจึ อุปสมฺปาเทถ มนฺติ. กิสฺส มํ ตุมฺเห อยาจิตา อุปสมฺปาทิตฺถา”ติ?  ภควโต เอตมตฺถํ อาโรเจสุํ น ภิกฺขเว อยาจิเตน อุปสมฺปาเทตพฺโพ  โย อุปสมฺปาเทยฺย อาปตฺติ ทุกฺกฏสฺส.  อนุชานามิ ภิกฺขเว ยาจิเตน อุปสมฺปาเทตุํ. 
suṇātu me bhante saṃgho.  ayaṃ itthannāmo itthannāmassa āyasmato upasampadāpekkho.  itthannāmo saṃghaṃ upasampadaṃ yācati itthannāmena upajjhāyena.  saṃgho itthannāmaṃ upasampādeti itthannāmena upajjhāyena.  yassāyasmato khamati itthannāmassa upasampadā itthannāmena upajjhāyena, so tuṇh’ assa, yassa na kkhamati, so bhāseyya.  dutiyam pi etam atthaṃ vadāmi --la-- tatiyam pi etam atthaṃ vadāmi --la--.  upasampanno saṃghena itthannāmo itthannāmena upajjhāyena.  khamati saṃghassa, tasmā tuṇhī, evam etaṃ dhārayāmīti. |4| 
               
ท่านเจ้าข้า ขอสงฆ์จงฟังข้าพเจ้า  ผู้มีชื่อนี้ ผู้นี้ เป็นอุปสัมปทาเปกขะของท่านผู้มีชื่อนี้  ผู้มีชื่อนี้ขออุปสมบทต่อสงฆ์ มีท่านผู้มีชื่อนี้เป็นอุปัชฌายะ  สงฆ์อุปสมบทผู้มีชื่อนี้ มีท่านผู้มีชื่อนี้เป็นอุปัชฌายะ.  การอุปสมบทผู้มีชื่อนี้ มีท่านผู้มีชื่อนี้เป็นอุปัชฌายะ ชอบแก่ท่านผู้ใด ท่านผู้นั้นพึงเป็นผู้นิ่ง ไม่ชอบแก่ท่านผู้ใด ท่านผู้นั้นพึงพูด.  ข้าพเจ้ากล่าวความนี้เป็นครั้งที่สอง ... ข้าพเจ้ากล่าวความนี้เป็นครั้งที่สาม ...  ผู้มีชื่อนี้ สงฆ์อุปสมบทแล้ว มีท่านผู้มีชื่อนี้เป็นอุปัชฌายะ.  ชอบแก่สงฆ์ เหตุนั้น จึงนิ่ง ข้าพเจ้าทรงความนี้ไว้ด้วยอย่างนี้. 
เอวญฺจ ปน ภิกฺขเว ยาจิตพฺโพ.  เตน อุปสมฺปทาเปกฺเขน สงฺฆํ อุปสงฺกมิตฺวา เอกํสํ อุตฺตราสงฺคํ กริตฺวา ภิกฺขูนํ ปาเท วนฺทิตฺวา อุกฺกุฏิกํ นิสีทิตฺวา อญฺชลึ ปคฺคเหตฺวา เอวมสฺส วจนีโย  “สงฺฆํ ภนฺเต อุปสมฺปทํ ยาจามิ อุลฺลุมฺปตุ มํ ภนฺเต สงฺโฆ อนุกมฺปํ อุปาทายา”ติ. ทุติยมฺปิ ยาจิตพฺโพ. ตติยมฺปิ ยาจิตพฺโพ.  พฺยตฺเตน ภิกฺขุนา ปฏิพเลน สงฺโฆ ญาเปตพฺโพ  ๗๒. “สุณาตุ เม ภนฺเต สงฺโฆ. อยํ อิตฺถนฺนาโม อิตฺถนฺนามสฺส อายสฺมโต อุปสมฺปทาเปกฺโข.  อิตฺถนฺนาโม สงฺฆํ อุปสมฺปทํ ยาจติ อิตฺถนฺนาเมน อุปชฺฌาเยน.  ยทิ สงฺฆสฺส ปตฺตกลฺลํ สงฺโฆ อิตฺถนฺนามํ อุปสมฺปาเทยฺย อิตฺถนฺนาเมน อุปชฺฌาเยน.  เอสา ญตฺติ. 
||29|| 
 
“สุณาตุ เม ภนฺเต สงฺโฆ. 
tena kho pana samayena Rājagahe paṇītānaṃ bhattānaṃ bhattapaṭipāṭi adhiṭṭhitā hoti.  atha kho aññatarassa brāhmaṇassa etad ahosi: ime kho samaṇā Sakyaputtiyā sukhasīlā sukhasamācārā, subhojanāni bhuñjitvā nivātesu sayanesu sayanti.  yaṃ nūnāhaṃ samaṇesu Sakyaputtiyesu pabbajeyyan ti.  atha kho so brāhmaṇo bhikkhū upasaṃkamitvā pabbajjaṃ yāci, taṃ bhikkhū pabbājesuṃ upasampādesuṃ. |1| 
At that time an arrangement had been made at Râgagaha that the Bhikkhus were to receive excellent meals successively (in the houses of different rich upâsakas).  Now (one day) a certain Brâhmana thought: 'Indeed the precepts which these Sakyaputtiya Samanas keep and the life they live are commodious; they have good meals and lie down on beds protected from the wind.  What if I were to embrace the religious life among the Sakyaputtiya Samanas?' 
พราหมณ์ขออุปสมบท // [๘๗] ก็โดยสมัยนั้นแล ประชาชนทั้งหลายได้จัดตั้งลำดับภัตตาหารอันประณีตไว้ที่ในพระนครราชคฤห์.  ครั้งนั้น พราหมณ์คนหนึ่งได้มีความดำริว่า พระสมณะเชื้อสายพระศากยบุตรเหล่านี้ มีปกติเป็นสุข มีความประพฤติสบาย ฉันโภชนะที่ดี นอนบนที่นอนที่เงียบสงัด  ถ้ากระไร เราพึงบวชในพระสมณะเชื้อสายพระศากยบุตรเถิด  ดังนี้ แล้วได้เข้าไปหาภิกษุทั้งหลาย แล้วขอบรรพชา. ภิกษุทั้งหลายให้เขาบรรพชาอุปสมบทแล้ว. 
อยํ อิตฺถนฺนาโม อิตฺถนฺนามสฺส อายสฺมโต อุปสมฺปทาเปกฺโข.  อิตฺถนฺนาโม สงฺฆํ อุปสมฺปทํ ยาจติ อิตฺถนฺนาเมน อุปชฺฌาเยน.  สงฺโฆ อิตฺถนฺนามํ อุปสมฺปาเทติ อิตฺถนฺนาเมน อุปชฺฌาเยน.  ยสฺสายสฺมโต ขมติ อิตฺถนฺนามสฺส อุปสมฺปทา อิตฺถนฺนาเมน อุปชฺฌาเยน โส ตุณฺหสฺส ยสฺส นกฺขมติ โส ภาเสยฺย. 
tasmiṃ pabbajite bhattapaṭipāṭi khīyittha.  bhikkhū evaṃ āhaṃsu: ehi dāni āvuso piṇḍāya carissāmā ’ti.  so evaṃ āha: nāhaṃ āvuso etaṃkāraṇā pabbajito piṇḍāya carissāmīti, sace me dassatha bhuñjissāmi, no ce me dassatha vibbhamissāmīti.  kiṃ pana tvaṃ āvuso udarassa kāraṇā (58) pabbajito ’ti.  evaṃ āvuso ’ti. |2| 
Then this Brâhmana went to the Bhikkhus and asked them for the pabbaggâ ordination; the Bhikkhus conferred the pabbaggâ and upasampadâ ordinations on him.  When he had been ordained, the arrangement of successive meals (with the rich upâsakas) came to an end.  The Bhikkhus said to him: 'Come, friend, let us now go on our rounds for alms.'  He replied: 'I have not embraced the religious life for that purpose--to going about for alms; if you give me (food), I will eat; if you do not, I will return to the world.'  (The Bhikkhus said): 'What, friend! have you indeed embraced the religious life for your belly's sake?' 
ครั้นเขาบวชแล้ว ประชาชนให้เลิกลำดับภัตตาหารเสีย.  ภิกษุทั้งหลายกล่าวอย่างนี้ว่า คุณจงมาเดี๋ยวนี้ พวกเราจักไปบิณฑบาต.  เธอพูดอย่างนี้ว่า กระผมมิได้บวชเพราะเหตุนี้ว่า จักเที่ยวบิณฑบาต ถ้าท่านทั้งหลายให้กระผม กระผมจักฉัน ถ้าไม่ให้กระผม กระผมจะสึก ขอรับ.  พวกภิกษุถามว่า อาวุโส ก็คุณบวชเพราะเหตุแห่งท้องหรือ?  เธอตอบว่า อย่างนั้นซิ ขอรับ. 
“ทุติยมฺปิ เอตมตฺถํ วทามิฯเปฯ ตติยมฺปิ เอตมตฺถํ วทามิฯเปฯ.  “อุปสมฺปนฺโน สงฺเฆน อิตฺถนฺนาโม อิตฺถนฺนาเมน อุปชฺฌาเยน.  ขมติ สงฺฆสฺส ตสฺมา ตุณฺหี เอวเมตํ ธารยามี”ติ.     
ye te bhikkhū appicchā, te ujjhāyanti khīyanti vipācenti: kathaṃ hi nāma bhikkhu evaṃ svākkhāte dhammavinaye udarassa kāraṇā pabbajissatīti.  te bhikkhū bhagavato etam atthaṃ ārocesuṃ.  saccaṃ kira tvaṃ bhikkhu udarassa kāraṇā pabbajito ’ti.  saccaṃ bhagavā.  vigarahi buddho bhagavā.  kathaṃ hi nāma tvaṃ moghapurisa evaṃ svākkhāte dhammavinaye udarassa kāraṇā pabbajissasi.  n’ etaṃ moghapurisa appasannānaṃ vā pasādāya pasannānaṃ vā bhiyyobhāvāya.  vigarahitvā dhammiṃ kathaṃ katvā {bhikkhū} āmantesi: |3| 
'Yes, friends.'  The moderate Bhikkhus were annoyed, murmured, and became angry: 'How can a Bhikkhu embrace the religious life in so well-taught a doctrine and discipline for his belly's sake?'  These Bhikkhus told this thing to the Blessed One.  (The Buddha said): 'Is it true, O Bhikkhu, that you have embraced the religious life for your belly's sake?'  (He replied): 'It is true, Lord.'  Then the blessed Buddha rebuked that Bhikkhu:  'How can you, foolish person that you are, embrace the religious life in so well-taught a doctrine and discipline for your belly's sake?  This will not do, O foolish one, for converting the unconverted and for augmenting the number of the converted.' 
บรรดาภิกษุที่เป็นผู้มักน้อย ... ต่างก็เพ่งโทษ ติเตียน โพนทะนาว่า ไฉนภิกษุจึงได้บวชในพระธรรมวินัย อันพระผู้มีพระภาคตรัสดีแล้วอย่างนี้ เพราะเหตุแห่งท้องเล่า  แล้วกราบทูลเรื่องนั้นแด่พระผู้มีพระภาค.  ทรงสอบถาม // พระผู้มีพระภาคทรงสอบถามภิกษุนั้นว่า จริงหรือ ภิกษุ ข่าวว่า เธอบวชเพราะเหตุแห่งท้อง?  ภิกษุนั้นทูลรับว่า จริง พระพุทธเจ้าข้า.  ทรงติเตียน // พระผู้มีพระภาคพุทธเจ้าทรงติเตียนว่า  ดูกรโมฆบุรุษ ไฉนเธอจึงได้บวชในธรรมวินัยที่เรากล่าวดีแล้วอย่างนี้ เพราะเหตุแห่งท้องเล่า  ดูกรโมฆบุรุษ การกระทำของเธอนั่น ไม่เป็นไปเพื่อความเลื่อมใสของชุมชนที่ยังไม่เลื่อมใส หรือเพื่อความเลื่อมใสยิ่งของชุมชนที่เลื่อมใสแล้ว ...  ครั้นแล้ว ทรงทำธรรมีกถา รับสั่งกะภิกษุทั้งหลายว่า 
๗๓. เตน โข ปน สมเยน ราชคเห ปณีตานํ ภตฺตานํ ภตฺตปฏิปาฏิ อฏฺฐิตา โหติ.  อถ โข อญฺญตรสฺส พฺราหฺมณสฺส เอตทโหสิ “อิเม โข สมณา สกฺยปุตฺติยา สุขสีลา สุขสมาจารา สุโภชนานิ ภุญฺชิตฺวา นิวาเตสุ สยเนสุ สยนฺติ.  ยํนูนาหํ สมเณสุ สกฺยปุตฺติเยสุ ปพฺพเชยฺย”นฺติ.  อถ โข โส พฺราหฺมโณ ภิกฺขู อุปสงฺกมิตฺวา ปพฺพชฺชํ ยาจิ. ตํ ภิกฺขู ปพฺพาเชสุํ อุปสมฺปาเทสุํ.  ตสฺมึ ปพฺพชิเต ภตฺตปฏิปาฏิ ขียิตฺถ.  ภิกฺขู เอวมาหํสุ “เอหิ ทานิ อาวุโส ปิณฺฑาย จริสฺสามา”ติ.  โส เอวมาห “นาหํ อาวุโส เอตํการณา ปพฺพชิโต ปิณฺฑาย จริสฺสามีติ. สเจ เม ทสฺสถ ภุญฺชิสฺสามิ โน เจ เม ทสฺสถ วิพฺภมิสฺสามี”ติ.  “กึ ปน ตฺวํ อาวุโส อุทรสฺส การณา ปพฺพชิโต”ติ 
anujānāmi bhikkhave upasampādentena cattāro nissaye ācikkhituṃ:  piṇḍiyālopabhojanaṃ nissāya pabbajjā, tattha te yāvajīvaṃ ussāho karaṇīyo.  atirekalābho saṃghabhattaṃ uddesabhattaṃ nimantanaṃ salākabhattaṃ pakkhikaṃ uposathikaṃ pāṭipadikaṃ.  paṃsukūlacīvaraṃ nissāya pabbajjā, tattha te yāvajīvaṃ ussāho karaṇīyo.  atirekalābho khomaṃ kappāsikaṃ koseyyaṃ kambalaṃ sāṇaṃ bhaṅgaṃ.  rukkhamūlasenāsanaṃ nissāya pabbajjā, tattha te yāvajīvaṃ ussāho karaṇīyo.  atirekalābho vihāro aḍḍhayogo pāsādo hammiyaṃ guhā.  pūtimuttabhesajjaṃ nissāya pabbajjā, tattha te yāvajīvaṃ ussāho karaṇīyo.  atirekalābho sappi navanītaṃ telaṃ madhu phāṇitan ti. |4| 
Having rebuked him and delivered a religious discourse, he thus addressed the Bhikkhus:  'I prescribe, O Bhikkhus, that he who confers the upasampadâ ordination (on a Bhikkhu), tell him the four Resources.  'The religious life has morsels of food given in alms for its resource. Thus you must endeavour to live all your life.  Meals given to the Samgha, to certain persons, invitations, food distributed by ticket, meals given each fortnight, each uposatha day (i.e. the last day of each fortnight), or the first day of each fortnight, are extra allowances.  'The religious life has the robe made of rags taken from a dust heap for its resource. Thus you must endeavour to live all your life.  Linen, cotton, silk, woollen garments, coarse cloth, hempen cloth are extra allowances.  'The religious life has dwelling at the foot of a tree for its resource. Thus you must endeavour to live all your life.  Vihâras, addhayogas, storied dwellings, attics, caves are extra allowances.  'The religious life has decomposing urine as medicine for its resource. Thus you must endeavour to live all your life. 
ดูกรภิกษุทั้งหลาย เราอนุญาตให้ภิกษุผู้ให้อุปสมบท บอกนิสสัย ๔ ว่าดังนี้:-  นิสสัย ๔ // ๑. บรรพชาอาศัยโภชนะคือคำข้าวอันหาได้ด้วยกำลังปลีแข้ง เธอพึงทำอุตสาหะในสิ่งนั้นตลอดชีวิต  อดิเรกลาภ คือ ภัตถวายสงฆ์ ภัตเฉพาะสงฆ์ การนิมนต์ ภัตถวายตามสลาก ภัตถวายในปักษ์ ภัตถวายในวันอุโบสถ์ ภัตถวายในวันปาฏิบท.  ๒. บรรพชาอาศัยบังสุกุลจีวร เธอพึงทำอุตสาหะในสิ่งนั้นตลอดชีวิต  อดิเรกลาภ คือ ผ้าเปลือกไม้ ผ้าฝ้าย ผ้าไหม ผ้าขนสัตว์ ผ้าป่าน ผ้าเจือกัน. (เช่นผ้าด้ายแกมไหม)  ๓. บรรพชา อาศัยโคนไม้เป็นเสนาสนะ เธอพึงทำอุตสาหะในสิ่งนั้นตลอดชีวิต  อดิเรกลาภ คือ วิหาร เรือนมุงแถบเดียว เรือนชั้น เรือนโล้น ถ้ำ.  ๔. บรรพชาอาศัยมูตรเน่าเป็นยา เธอพึงทำอุตสาหะในสิ่งนั้นตลอดชีวิต  อดิเรกลาภ คือ เนยใส เนยข้น น้ำมัน น้ำผึ้ง น้ำอ้อย. 
“เอวมาวุโส”ติ.  เย เต ภิกฺขู อปฺปิจฺฉาฯเปฯ เต อุชฺฌายนฺติ ขิยฺยนฺติ วิปาเจนฺติ กถญฺหิ นาม ภิกฺขุ เอวํ สฺวากฺขาเต ธมฺมวินเย อุทรสฺส การณา ปพฺพชิสฺสตีติ.  เต ภิกฺขู ภควโต เอตมตฺถํ อาโรเจสุํฯเปฯ  สจฺจํ กิร ตฺวํ ภิกฺขุ อุทรสฺส การณา ปพฺพชิโตติ?  สจฺจํ ภควาติ.  วิครหิ พุทฺโธ ภควาฯเปฯ  “กถญฺหิ นาม ตฺวํ โมฆปุริส เอวํ สฺวากฺขาเต ธมฺมวินเย อุทรสฺส การณา ปพฺพชิสฺสสิ.  เนตํ โมฆปุริส อปฺปสนฺนานํ วา ปสาทาย ปสนฺนานํ วา ภิยฺโยภาวาย”ฯเปฯ  วิครหิตฺวาฯเปฯ ธมฺมึ กถํ กตฺวา ภิกฺขู อามนฺเตสิ 
||30|| 
Ghee, butter, oil, honey, and molasses are extra allowances.' 
“อนุชานามิ ภิกฺขเว อุปสมฺปาเทนฺเตน จตฺตาโร นิสฺสเย อาจิกฺขิตุํ 
upajjhāyavattabhāṇavāraṃ niṭṭhitaṃ pañcamaṃ. 
อุปัชฌายวัตรภาณวาร จบ 
ปิณฺฑิยาโลปโภชนํ นิสฺสาย ปพฺพชฺชา ตตฺถ เต ยาวชีวํ อุสฺสาโห กรณีโย 
tena kho pana samayena aññataro māṇavako bhikkhū upasaṃkamitvā pabbajjaṃ yāci.  tassa bhikkhū paṭigacc’ eva nissaye ācikkhiṃsu.  so evaṃ āha: sace me bhante pabbajite nissaye ācikkheyyātha abhirameyyaṃ sv āhaṃ, na dān’ āhaṃ bhante pabbajissāmi, jegucchā me nissayā paṭikūlā ’ti.  bhikkhū bhagavato etam atthaṃ ārocesuṃ.  na bhikkhave paṭigacc’ eva nissayā ācikkhitabbā.  yo ācikkheyya, āpatti dukkaṭassa.  anujānāmi bhikkhave upasampannasamanantarā nissaye ācikkhitun ti. |1| 
Here ends the fifth Bhânavâra, which contains the duties towards upagghâyas.  At that time a certain youth came to the Bhikkhus and asked them to be ordained.  The Bhikkhus told him the (four) Resources before his ordination.  Then he said: 'If you had told me the Resources, venerable Sirs, after my ordination, I should have persisted (in the religious life); but now, venerable Sirs, I will not be ordained; the Resources are repulsive and loathsome to me.'  The Bhikkhus told this thing to the Blessed One.  'You ought not, O Bhikkhus, to tell the Resources (to the candidates) before their ordination.  He who does, is guilty of a dukkata offence. 
การบอกนิสสัย [๘๘] ก็โดยสมัยนั้นแล มาณพคนหนึ่งเข้าไปหาภิกษุทั้งหลาย แล้วขอบรรพชา.  พวกภิกษุได้บอกนิสสัยแก่เธอก่อนบวช.  เธอจึงพูดอย่างนี้ว่า ถ้าเมื่อกระผมบวชแล้ว พระคุณเจ้า ทั้งหลายพึงบอกนิสสัยแก่กระผม กระผมก็จะยินดียิ่ง บัดนี้ กระผมจักไม่บวชละ เพราะนิสสัยเป็นสิ่งที่น่าเกลียด เป็นปฏิกูลแก่กระผม.  ภิกษุทั้งหลายกราบทูลเรื่องนั้นแด่พระผู้มีพระภาค.  พระผู้มีพระภาคตรัสว่า ดูกรภิกษุทั้งหลาย ภิกษุไม่พึงบอกนิสสัยก่อนบวช  รูปใดบอก ต้องอาบัติทุกกฏ  ดูกรภิกษุทั้งหลาย พออุปสมบทแล้ว เราอนุญาตให้บอกนิสสัย. 
อติเรกลาโภ สงฺฆภตฺตํ อุทฺเทสภตฺตํ นิมนฺตนํ สลากภตฺตํ ปกฺขิกํ อุโปสถิกํ ปาฏิปทิกํ.  ปํสุกูลจีวรํ นิสฺสาย ปพฺพชฺชา ตตฺถ เต ยาวชีวํ อุสฺสาโห กรณีโย  อติเรกลาโภ โขมํ กปฺปาสิกํ โกเสยฺยํ กมฺพลํ สาณํ ภงฺคํ.  รุกฺขมูลเสนาสนํ นิสฺสาย ปพฺพชฺชา ตตฺถ เต ยาวชีวํ อุสฺสาโห กรณีโย  อติเรกลาโภ วิหาโร อฑฺฒโยโค ปาสาโท หมฺมิยํ คุหา.  ปูติมุตฺตเภสชฺชํ นิสฺสาย ปพฺพชฺชา ตตฺถ เต ยาวชีวํ อุสฺสาโห กรณีโย  อติเรกลาโภ สปฺปิ นวนีตํ เตลํ มธุ ผาณิต”นฺติ. (ปณามิตกถา นิฏฺฐิตา.) 
tena kho pana samayena bhikkhū duvaggena pi tivaggena pi gaṇena upasampādenti.  bhagavato etam atthaṃ ārocesum.  na bhikkhave ūnadasavaggena gaṇena upasampādetabbo.  yo upasampādeyya, āpatti dukkaṭassa.  anujānāmi bhikkhave dasavaggena vā atirekadasavaggena vā gaṇena upasampā-(59)detun ti. |2| 
I prescribe, O Bhikkhus, that you tell the Resources (to the newly-ordained Bhikkhus) immediately after their upasampadâ.'  At that time some Bhikkhus performed the upasampadâ service with a chapter of two or three Bhikkhus.  They told this thing to the Blessed One.  'Let no one, O Bhikkhus, receive the upasampadâ ordination before a chapter of less than ten Bhikkhus.  He who performs the upasampadâ service (with a smaller number of Bhikkhus), is guilty of a dukkata offence. 
อุปสมบทด้วยคณะ [๘๙] ก็โดยสมัยนั้นแล ภิกษุทั้งหลายให้อุปสมบทด้วยคณะมีพวกสองบ้าง มีพวกสามบ้าง มีพวกสี่บ้าง.  ภิกษุทั้งหลายจึงกราบทูลเรื่องนั้นแด่พระผู้มีพระภาค.  พระผู้มีพระภาคตรัสว่า ดูกรภิกษุทั้งหลาย ภิกษุไม่พึงให้อุปสมบทด้วยคณะ ซึ่งมีพวกหย่อน ๑๐  รูปใดให้อุปสมบทต้องอาบัติทุกกฏ.  ดูกรภิกษุทั้งหลาย เราอนุญาตให้อุปสมบทด้วยคณะมีพวก ๑๐ หรือมีพวกเกิน ๑๐. 
    อุปชฺฌายวตฺตภาณวาโร นิฏฺฐิโต ปญฺจโม.  (ปญฺจมภาณวาโร ๑๘. อาจริยวตฺตกถา) ๗๔. เตน โข ปน สมเยน อญฺญตโร มาณวโก ภิกฺขู อุปสงฺกมิตฺวา ปพฺพชฺชํ ยาจิ.  ตสฺส ภิกฺขู ปฏิกจฺเจว นิสฺสเย อาจิกฺขิ๎สุ. 
tena kho pana samayena bhikkhū ekavassāpi duvassāpi saddhivihārikaṃ upasampādenti.  āyasmāpi Upaseno Vaṅgantaputto ekavasso saddhivihārikaṃ upasampādesi.  so vassaṃ vuttho duvasso ekavassaṃ saddhivihārikaṃ ādāya yena bhagavā ten’ upasaṃkami, upasaṃkamitvā bhagavantaṃ abhivādetvā ekamantaṃ nisīdi.  āciṇṇaṃ kho pan’ etaṃ buddhānaṃ bhagavantānaṃ āgantukehi bhikkhūhi saddhiṃ paṭisammodituṃ. |3| 
I prescribe you, O Bhikkhus, the holding of upasampadâ services with a chapter of ten Bhikkhus or more than ten.'  At that time some Bhikkhus conferred the upasampadâ ordination on their saddhivihârikas one or two years after their own upasampadâ.  Thus also the venerable Upasena Vangantaputta conferred the upasampadâ ordination on a saddhivihârika of his one year after his own upasampadâ.  When he had concluded the vassa residence, after two years from his own upasampadâ had elapsed, he went with his saddhivihârika, who had completed the first year after his upasampadâ, to the place where the Blessed One was; having approached him and respectfully saluted the Blessed One, he sat down near him. 
พระอุปเสนวังคันตบุตรอุปสมบทสัทธิวิหาริก [๙๐] ก็โดยสมัยนั้นแล ภิกษุทั้งหลายมีพรรษาหนึ่งบ้าง มีพรรษาสองบ้าง อุปสมบทสัทธิวิหาริก.  แม้ท่านพระอุปเสนวังคันตบุตร มีพรรษาเดียว อุปสมบทสัทธิวิหาริก.  ท่านออกพรรษาแล้ว มีพรรษาสอง ได้พาสัทธิวิหาริกมีพรรษาหนึ่งเข้าไปเฝ้าพระผู้มีพระภาค ครั้นแล้วถวายบังคมพระผู้มีพระภาคแล้วนั่ง ณ ที่ควรส่วนข้างหนึ่ง.  ก็การที่พระผู้มีพระภาคพุทธเจ้าทั้งหลาย ทรงปราศรัยกับพระอาคันตุกะทั้งหลาย นั่นเป็นพุทธประเพณี. 
โส เอวมาห “สเจ เม ภนฺเต ปพฺพชิเต นิสฺสเย อาจิกฺเขยฺยาถ อภิรเมยฺยามหํ . น ทานาหํ ภนฺเต ปพฺพชิสฺสามิ เชคุจฺฉา เม นิสฺสยา ปฏิกูลา”ติ.  ภควโต เอตมตฺถํ อาโรเจสุํ.  น ภิกฺขเว ปฏิกจฺเจว นิสฺสยา อาจิกฺขิตพฺพา.  โย อาจิกฺเขยฺย อาปตฺติ ทุกฺกฏสฺส. 
atha kho bhagavā āyasmantaṃ Upasenaṃ Vaṅgantaputtaṃ etad avoca:  kacci bhikkhu khamanīyaṃ, kacci yāpanīyaṃ, kacci ’ttha appakilamathena addhānaṃ āgatā ’ti.  khamanīyaṃ bhagavā, yāpanīyaṃ bhagavā, appakilamathena mayaṃ bhante addhānaṃ āgatā ’ti.  jānantāpi tathāgatā pucchanti, jānantāpi na pucchanti, kālaṃ viditvā pucchanti, kālaṃ viditvā na pucchanti, atthasaṃhitaṃ tathāgatā pucchanti no anatthasaṃhitaṃ, anatthasaṃhite setughāto tathāgatānaṃ.  dvīhi ākārehi buddhā bhagavanto bhikkhū paṭipucchanti, dhammaṃ vā desessāma, sāvakānaṃ vā sikkhāpadaṃ paññāpessāmā ’ti. |4| 
Now it is the custom of the blessed Buddhas to exchange greeting with incoming Bhikkhus.  And the Blessed One said to the venerable Upasena Vangantaputta:  'Do things go well with you, Bhikkhu? Do you get enough to support your life? Have you made your journey with not too great fatigue?'  'Things go pretty well with us, Lord; we get enough, Lord, to support our life, and we have made our journey, Lord, with not too great fatigue.'  The Tathâgatas sometimes ask about what they know; sometimes they do not ask about what they know. They understand the right time when to ask, and they understand the right time when not to ask. The Tathâgatas put questions full of sense, not void of sense; to what is void of sense the bridge is pulled down for the Tathâgatas. 
ครั้งนั้น พระผู้มีพระภาคตรัสถามท่านพระอุปเสนวังคันตบุตรว่า  ดูกรภิกษุทั้งหลาย ร่างกายของพวกเธอยังพอทนได้ ยังพอให้เป็นไปได้หรือ พวกเธอเดินทางมามีความลำบากน้อยหรือ?  ท่านพระอุปเสนวังคันตบุตรกราบทูลว่า ยังพอทนได้ พระพุทธเจ้าข้า ยังพอให้เป็นไปได้ พระพุทธเจ้าข้า และพวกข้าพระพุทธเจ้าเดินทางมาก็มีความลำบากน้อย พระพุทธเจ้าข้า.  พุทธประเพณี // พระตถาคตทั้งหลาย ทรงทราบอยู่ ย่อมตรัสถามก็มี ทรงทราบอยู่ ย่อมไม่ตรัสถามก็มี ทรงทราบกาลแล้วตรัสถาม ทรงทราบกาลแล้วไม่ตรัสถาม พระตถาคตทั้งหลายย่อมตรัสถามสิ่งที่ประกอบด้วยประโยชน์ ไม่ตรัสถามสิ่งที่ไม่ประกอบด้วยประโยชน์ ในสิ่งที่ไม่ประกอบด้วยประโยชน์ พระองค์ทรงกำจัดเสียด้วยข้อปฏิบัติ.  พระผู้มีพระภาคพุทธเจ้าทั้งหลายย่อมทรงสอบถามภิกษุทั้งหลายด้วยอาการ ๒ อย่าง คือจักทรงแสดงธรรมอย่างหนึ่ง จักทรงบัญญัติสิกขาบทแก่พระสาวกทั้งหลายอย่างหนึ่ง. 
อนุชานามิ ภิกฺขเว อุปสมฺปนฺนสมนนฺตรา นิสฺสเย อาจิกฺขิตุนฺติ.  เตน โข ปน สมเยน ภิกฺขู ทุวคฺเคนปิ ติวคฺเคนปิ คเณน อุปสมฺปาเทนฺติ.  ภควโต เอตมตฺถํ อาโรเจสุํ.  น ภิกฺขเว อูนทสวคฺเคน คเณน อุปสมฺปาเทตพฺโพ.  โย อุปสมฺปาเทยฺย อาปตฺติ ทุกฺกฏสฺส. 
atha kho bhagavā āyasmantaṃ Upasenaṃ Vaṅgantaputtaṃ etad avoca: kativasso ’si tvaṃ bhikkhū ’ti.  duvasso ’haṃ bhagavā ’ti.  ayaṃ pana bhikkhu kativasso ’ti.  ekavasso bhagavā ’ti.  kiṃ t’ āyaṃ bhikkhu hotīti.  saddhivihāriko me bhagavā ’ti.  vigarahi buddho bhagavā: ananucchaviyaṃ moghapurisa ananulomikaṃ appaṭirūpaṃ assāmaṇakaṃ akappiyaṃ akaraṇīyaṃ.  kathaṃ hi nāma tvaṃ moghapurisa aññehi ovadiyo anusāsiyo aññaṃ ovadituṃ anusāsituṃ maññissasi.  atilahuṃ kho tvaṃ moghapurisa bāhullāya āvatto yad idaṃ gaṇabandhikaṃ.  n’ etaṃ moghapurisa appasannānaṃ vā pasādāya pasannānaṃ vā bhiyyobhāvāyā ’ti.  vigarahitvā dhammiṃ kathaṃ katvā bhikkhū āmantesi: na bhikkhave ūnadasavassena upasampādetabbo.  yo upasampādeyya, āpatti dukkaṭassa.  {anujānāmi} bhikkhave dasavassena vā atirekadasavassena vā upasampādetun ti. |5| 
For two purposes the blessed Buddhas put questions to the Bhikkhus, when they intend to preach the doctrine or when they intend to institute a rule of conduct to their disciples.  And the Blessed One said to the venerable Upananda Vangantaputta: 'How many years have you completed, O Bhikkhu, since your upasampadâ?'  'Two years, Lord.'  'And how many years has this Bhikkhu completed?'  'One year, Lord.'  'In what relation does this Bhikkhu stand to you?'  'He is my saddhivihârika, Lord.'  Then the blessed Buddha rebuked him: 'This is improper, O foolish one, unbecoming, unsuitable, unworthy of a Samana, unallowable, and to be avoided.  How can you, O foolish one, who ought to receive exhortation and instruction from others, think yourself fit for administering exhortation and instruction to another Bhikkhu?  Too quickly, O foolish one, have you abandoned yourself to the ambition of collecting followers.  This will not do (&c.: as in chap. 30. 3).  Let no one, O Bhikkhus, confer the upasampadâ ordination who has not completed ten years.  He who does, is guilty of a dukkata offence. 
ครั้งนั้น พระผู้มีพระภาคตรัสถามท่านพระอุปเสนวังคันตบุตรว่า เธอมีพรรษาได้เท่าไรภิกษุ?  อุป. ข้าพระพุทธเจ้ามีพรรษาได้สอง พระพุทธเจ้า.  ภ. ภิกษุรูปนี้เล่ามีพรรษาได้เท่าไร?  อุป. มีพรรษาเดียว พระพุทธเจ้าข้า.  ภ. ภิกษุรูปนี้เป็นอะไรกับเธอ?  อุป. เป็นสัทธิวิหาริกของข้าพระพุทธเจ้า พระพุทธเจ้าข้า.  ทรงติเตียน // พระผู้มีพระภาคพุทธเจ้าทรงติเตียนว่า ดูกรโมฆบุรุษ การกระทำของเธอนั้น ไม่เหมาะ ไม่สม ไม่ควร ไม่ใช่กิจของสมณะ ใช้ไม่ได้ ไม่ควรทำ  ดูกรโมฆบุรุษ เธอยังเป็นผู้อันผู้อื่นพึงโอวาทอนุศาสน์อยู่ ไฉนจึงสำคัญตนเพื่อโอวาทอนุศาสน์ผู้อื่นเล่า  เธอเวียนมาเพื่อความเป็นผู้มักมาก ซึ่งมีความพัวพันด้วยหมู่เร็วเกินนัก  การกระทำของเธอนั่น ไม่เป็นไปเพื่อความเลื่อมใสของชุมชนที่ยังไม่เลื่อมใส หรือเพื่อความเลื่อมใสยิ่งของชุมชนที่เลื่อมใสแล้ว ...  ครั้นแล้วทรงทำธรรมีกถา รับสั่งกะภิกษุทั้งหลายว่า ดูกรภิกษุทั้งหลาย ภิกษุมีพรรษาหย่อน ๑๐ ไม่พึงให้อุปสมบท  รูปใดให้อุปสมบท ต้องอาบัติทุกกฏ.  ดูกรภิกษุทั้งหลาย เราอนุญาตให้ภิกษุมีพรรษาได้ ๑๐ หรือมีพรรษาเกิน ๑๐ ให้อุปสมบท. 
อนุชานามิ ภิกฺขเว ทสวคฺเคน วา อติเรกทสวคฺเคน วา คเณน อุปสมฺปาเทตุนฺติ  ๗๕. เตน โข ปน สมเยน ภิกฺขู เอกวสฺสาปิ ทุวสฺสาปิ สทฺธิวิหาริกํ อุปสมฺปาเทนฺติ.  อายสฺมาปิ อุปเสโน วงฺคนฺตปุตฺโต เอกวสฺโส สทฺธิวิหาริกํ อุปสมฺปาเทสิ.  โส วสฺสํวุฏฺโฐ ทุวสฺโส เอกวสฺสํ สทฺธิวิหาริกํ อาทาย เยน ภควา เตนุปสงฺกมิ อุปสงฺกมิตฺวา ภควนฺตํ อภิวาเทตฺวา เอกมนฺตํ นิสีทิ.  อาจิณฺณํ โข ปเนตํ พุทฺธานํ ภควนฺตานํ อาคนฺตุเกหิ ภิกฺขูหิ สทฺธึ ปฏิสมฺโมทิตุํ.  อถ โข ภควา อายสฺมนฺตํ อุปเสนํ วงฺคนฺตปุตฺตํ เอตทโวจ  “กจฺจิ ภิกฺขุ ขมนียํ กจฺจิ ยาปนียํ กจฺจิ ตฺวํ อปฺปกิลมเถน อทฺธานํ อาคโต”ติ?  “ขมนียํ ภควา ยาปนียํ ภควา. อปฺปกิลมเถน มยํ ภนฺเต อทฺธานํ อาคตา”ติ.  ชานนฺตาปิ ตถาคตา ปุจฺฉนฺติ ชานนฺตาปิ น ปุจฺฉนฺติ กาลํ วิทิตฺวา ปุจฺฉนฺติ กาลํ วิทิตฺวา น ปุจฺฉนฺติ อตฺถสํหิตํ ตถาคตา ปุจฺฉนฺติ โน อนตฺถสํหิตํ. อนตฺถสํหิเต เสตุฆาโต ตถาคตานํ.  ทฺวีหิ อากาเรหิ พุทฺธา ภควนฺโต ภิกฺขู ปฏิปุจฺฉนฺติ ธมฺมํ วา เทเสสฺสาม สาวกานํ วา สิกฺขาปทํ ปญฺญเปสฺสามาติ.  อถ โข ภควา อายสฺมนฺตํ อุปเสนํ วงฺคนฺตปุตฺตํ เอตทโวจ “กติวสฺโสสิ ตฺวํ ภิกฺขู”ติ?  “ทุวสฺโสหํ ภควา”ติ.  “อยํ ปน ภิกฺขุ กติวสฺโส”ติ? 
tena kho pana samayena bhikkhū dasavass’ āa dasavass’ amhā ’ti bālā avyattā upasampādenti, dissanti upajjhāyā bālā, saddhivihārikā paṇḍitā, dissanti upajjhāyā avyattā, saddhivihārikā vyattā, dissanti upajjhāyā appassutā, saddhivihārikā bahussutā, dissanti upajjhāyā duppaññā, sa-(60)ddhivihārikā paññavanto, aññataro pi aññatitthiyapubbo upajjhāyena sahadhammikaṃ vuccamāno upajjhāyassa vādaṃ āropetvā taṃ yeva titthāyatanaṃ saṃkami. |6| 
I prescribe, O Bhikkhus, that only he who has completed ten years or more than ten years, may confer the upasampadâ ordination.' 
พระอุปัชฌายะมีการศึกษาน้อยกว่าสัทธิวิหาริก [๙๑] ก็โดยสมัยนั้นแล ภิกษุทั้งหลายคิดว่าเรามีพรรษาได้ ๑๐ แล้ว เรามีพรรษาได้ ๑๐ แล้ว ดังนี้ แต่ยังเป็นผู้เขลา ไม่เฉียบแหลม ย่อมให้อุปสมบท. ปรากฏว่าพระอุปัชฌายะเป็นผู้เขลา สัทธิวิหาริกเป็นผู้ฉลาด ปรากฏว่าพระอุปัชฌายะเป็นผู้ไม่เฉียบแหลม สัทธิวิหาริกเป็นผู้เฉียบแหลม ปรากฏว่าพระอุปัชฌายะเป็นผู้มีสุตะน้อย สัทธิวิหาริกเป็นผู้มีสุตะมาก ปรากฏว่าพระอุปัชฌายะเป็นผู้มีปัญญาทราม สัทธิวิหาริกเป็นผู้มีปัญญา. แม้ภิกษุรูปหนึ่งเคยเป็นอัญญเดียรถีย์ เมื่อพระอุปัชฌายะว่ากล่าวอยู่โดยชอบธรรม ได้ยกวาทะขึ้นโต้เถียงแก่พระอุปัชฌายะ แล้วหลีกไปสู่ลัทธิเดียรถีย์นั้นตามเดิม. 
“เอกวสฺโส ภควา”ติ. 
ye te bhikkhū appicchā, te ujjhāyanti khīyanti vipācenti: kathaṃ hi nāma bhikkhū dasavass’ amhā dasavass’ amhā ’ti bālā avyattā upasampādessanti, dissanti upajjhāyā bālā . . . saddhivihārikā paññavanto ’ti.  atha kho te bhikkhū bhagavato etam atthaṃ ārocesuṃ.  saccaṃ kira bhikkhave bhikkhū dasavass’ amhā dasavass’ amhā ’ti bālā avyattā upasampādenti, dissanti upajjhāyā bālā . . . saddhivihārikā paññavanto ’ti.  saccaṃ bhagavā. |7| 
At that time ignorant, unlearned Bhikkhus (who said), 'We have completed ten years (since our upasampadâ), we have completed ten years,' conferred the upasampadâ ordination; (thus) ignorant upagghâyas were found and clever saddhivihârikas; unlearned upagghâyas were found and learned saddhivihârikas; upagghâyas were found who had small knowledge, and saddhivihârikas who had great knowledge; foolish upagghâyas were found and wise saddhivihârikas. And a certain Bhikkhu who had formerly belonged to a Titthiya school, when his upagghâya remonstrated with him (on certain offences) according to the Dhamma, brought his upagghâya (by reasoning) to silence and went back to that same Titthiya school.  The moderate Bhikkhus were annoyed, murmured, and became angry: 'How can those ignorant, unlearned Bhikkhus confer the upasampadâ ordination (saying); "We have completed ten years, we have completed ten years?" (Thus) ignorant upagghâyas are found and clever saddhivihârikas (&c., down to:), foolish upagghâyas are found and wise saddhivihârikas.'  These Bhikkhus told, &c.  'Is it true, O Bhikkhus, &c.?' 
บรรดาภิกษุที่เป็นผู้มักน้อย ... ต่างก็เพ่งโทษ ติเตียน โพนทะนาว่า ไฉนภิกษุทั้งหลาย จึงได้อ้างว่า เรามีพรรษาได้ ๑๐ แล้ว เรามีพรรษาได้ ๑๐ แล้ว ดังนี้ แต่ยังเป็นผู้เขลา ไม่เฉียบแหลม ให้อุปสมบท ปรากฏว่าพระอุปัชฌายะเป็นผู้เขลา สัทธิวิหาริกเป็นผู้ฉลาด ปรากฏว่าพระอุปัชฌายะเป็นผู้ไม่เฉียบแหลม สัทธิวิหาริกเป็นผู้เฉียบแหลม ปรากฏว่าพระอุปัชฌายะเป็นผู้มีสุตะน้อย สัทธิวิหาริกเป็นผู้มีสุตะมาก ปรากฏว่าพระอุปัชฌายะเป็นผู้มีปัญญาทราม สัทธิวิหาริกเป็นผู้มีปัญญาเล่า  แล้วกราบทูลเรื่องนั้นแด่พระผู้มีพระภาค.  ทรงสอบถาม // พระผู้มีพระภาคทรงสอบถามภิกษุทั้งหลายว่า ดูกรภิกษุทั้งหลาย ข่าวว่าภิกษุทั้งหลาย อ้างว่า เรามีพรรษาได้ ๑๐ แล้ว เรามีพรรษาได้ ๑๐ แล้ว ดังนี้ แต่ยังเป็นผู้เขลา ไม่เฉียบแหลม ให้อุปสมบท ปรากฏว่าอุปัชฌายะเป็นผู้เขลา สัทธิวิหาริกเป็นผู้ฉลาด ปรากฏว่าอุปัชฌายะเป็นผู้ไม่เฉียบแหลม สัทธิวิหาริกเป็นผู้เฉียบแหลม ปรากฏว่าอุปัชฌายะเป็นผู้มีสุตะน้อย สัทธิวิหาริกเป็นผู้มีสุตะมาก ปรากฏว่าอุปัชฌายะเป็นผู้มีปัญญาทราม สัทธิวิหาริกเป็นผู้มีปัญญา จริงหรือ?  ภิกษุทั้งหลายทูลรับว่า จริง พระพุทธเจ้าข้า. 
“กึ ตายํ ภิกฺขุ โหตี”ติ?  “สทฺธิวิหาริโก เม ภควา”ติ.  วิครหิ พุทฺโธ ภควา “อนนุจฺฉวิกํ โมฆปุริส อนนุโลมิกํ อปฺปติรูปํ อสฺสามณกํ อกปฺปิยํ อกรณียํ.  กถญฺหิ นาม ตฺวํ โมฆปุริส อญฺเญหิ โอวทิโย อนุสาสิโย อญฺญํ โอวทิตุํ อนุสาสิตุํ มญฺญิสฺสสิ. 
vigarahi buddho bhagavā. kathaṃ hi nāma te bhikkhave moghapurisā dasavass’ amhā dasavass’ amhā ’ti bālā avyattā upasampādessanti, dissanti upajjhāyā bālā . . . saddhivihārikā paññavanto.  n’ etaṃ bhikkhave appasannānaṃ vā pasādāya --la--, vigarahitvā dhammiṃ kathaṃ katvā bhikkhū āmantesi: na bhikkhave bālena avyattena upasampādetabbo.  yo upasampādeyya, āpatti dukkaṭassa.  anujānāmi bhikkhave vyattena bhikkhunā paṭibalena dasavassena vā atirekadasavassena vā upasampādetun ti. |8| 
'It is true, Lord.'  Then the blessed Buddha rebuked those Bhikkhus: 'How can these foolish persons, O Bhikkhus, confer the upasampadâ ordination (saying), "We have, &c?" (Thus) ignorant upagghâyas are found, &c.  This will not do, O Bhikkhus, for converting the unconverted and for augmenting the number of the converted.' Having rebuked those Bhikkhus and delivered a religious discourse, he thus addressed the Bhikkhus: 'Let no ignorant, unlearned Bhikkhu, O Bhikkhus, confer the upasampadâ ordination.  If he does, he is guilty of a dukkata offence. 
ทรงติเตียน // พระผู้มีพระภาคพุทธเจ้าทรงติเตียนว่า ดูกรภิกษุทั้งหลาย ไฉนโมฆบุรุษเหล่านั้นจึงได้อ้างว่า เรามีพรรษาได้ ๑๐ แล้ว เรามีพรรษาได้ ๑๐ แล้ว ดังนี้ แต่ยังเป็นผู้เขลา ไม่เฉียบแหลมให้อุปสมบท ปรากฏว่าอุปัชฌายะเป็นผู้เขลา สัทธิวิหาริกเป็นผู้ฉลาด ปรากฏว่าอุปัชฌายะเป็นผู้ไม่เฉียบแหลม สัทธิวิหาริกเป็นผู้เฉียบแหลม ปรากฏว่าอุปัชฌายะเป็นผู้มีสุตะน้อย สัทธิวิหาริกเป็นผู้มีสุตะมาก ปรากฏว่าอุปัชฌายะเป็นผู้มีปัญญาทราม สัทธิวิหาริกเป็นผู้มีปัญญาเล่า  ดูกรภิกษุทั้งหลาย การกระทำของพวกโมฆบุรุษนั่น ไม่เป็นไปเพื่อความเลื่อมใสของชุมชนที่ยังไม่เลื่อมใส หรือเพื่อความเลื่อมใสยิ่งของชุมชนที่เลื่อมใสแล้ว ... ครั้นแล้วทรงทำธรรมีกถา รับสั่งกะภิกษุทั้งหลายว่า ดูกรภิกษุทั้งหลาย ภิกษุผู้เขลา ไม่เฉียบแหลม ไม่พึงให้อุปสมบท  รูปใดให้อุปสมบท ต้องอาบัติทุกกฏ  ดูกรภิกษุทั้งหลาย เราอนุญาตให้ภิกษุ ผู้ฉลาดผู้สามารถ มีพรรษาได้ ๑๐ หรือมีพรรษาเกิน ๑๐ ให้อุปสมบท. 
อติลหุํ โข ตฺวํ โมฆปุริส พาหุลฺลาย อาวตฺโต ยทิทํ คณพนฺธิกํ.  เนตํ โมฆปุริส อปฺปสนฺนานํ วา ปสาทาย ปสนฺนานํ วา ภิยฺโยภาวาย”ฯเปฯ  วิครหิตฺวาฯเปฯ ธมฺมึ กถํ กตฺวา ภิกฺขู อามนฺเตสิ “น ภิกฺขเว อูนทสวสฺเสน อุปสมฺปาเทตพฺโพ.  โย อุปสมฺปาเทยฺย อาปตฺติ ทุกฺกฏสฺส. 
||31|| 
I prescribe, O Bhikkhus, that only a learned, competent Bhikkhu who has completed ten years, or more than ten years, may confer the upasampadâ ordination.' 
อนุชานามิ ภิกฺขเว ทสวสฺเสน วา อติเรกทสวสฺเสน วา อุปสมฺปาเทตุ”นฺติ. 
tena kho pana samayena bhikkhū upajjhāyesu pakkantesu pi vibbhamantesu pi kālaṃkatesu pi pakkhasaṃkantesu pi anācariyakā anovadiyamānā ananusāsiyamānā dunnivatthā duppārutā anākappasampannā piṇḍāya caranti, manussānaṃ bhuñjamānānaṃ . . . (I.25.1-4) . . . saccaṃ bhagavā.  vigarahitvā dhammiṃ kathaṃ katvā bhikkhū āmantesi: anujānāmi bhikkhave ācariyaṃ.  ācariyo bhikkhave antevāsikamhi puttacittaṃ upaṭṭhāpessati, antevāsiko ācariyamhi pitucittaṃ upaṭṭhāpessati.  evaṃ te aññamaññaṃ sagāravā sappatissā sabhāgavuttino viharantā imasmiṃ dhammavinaye vuddhiṃ virūḷhiṃ vepullaṃ āpajjissanti.  anujānāmi bhikkhave dasa vassāni nissāya vatthuṃ, dasavassena nissayaṃ dātuṃ. |1| 
At that time some Bhikkhus whose upagghâyas were gone away, or had returned to the world, or had died, or were gone over to a (schismatic) faction, as they had no âkariyas and received no exhortation and instruction, went on their rounds for alms wearing improper under and upper garments (&c., as in chap. 25. 1-6, down to:),  (see also previous record) he thus addressed the Bhikkhus: 'I prescribe, O Bhikkhus, (that young Bhikkhus choose) an âkariya.  'The âkariya, O Bhikkhus, ought to consider the antevâsika (i.e. disciple) as a son;  the antevâsika ought to consider the âkariya as a father. Thus these two, united by mutual reverence, confidence, and communion of life, will progress, advance, and reach a high stage in this doctrine and discipline. 
ทรงอนุญาตอาจารย์ // [๙๒] ก็โดยสมัยนั้นแล เมื่อพระอุปัชฌายะทั้งหลายหลีกไปเสียก็ดี สึกเสียก็ดี ถึงมรณภาพก็ดี ไปเข้ารีดเดียรถีย์เสียก็ดี ภิกษุทั้งหลายไม่มีอาจารย์ ไม่มีใครตักเตือน ไม่มีใคร พร่ำสอน ย่อมนุ่งห่มไม่เรียบร้อย มีมรรยาทไม่สมควรเที่ยวบิณฑบาต. เมื่อประชาชนกำลังบริโภค ย่อมน้อมบาตรสำหรับเที่ยวบิณฑบาตเข้าไปข้างบนของควรบริโภคบ้าง ข้างบนของควรเคี้ยวบ้าง ข้างบนของควรลิ้มบ้าง ข้างบนของควรดื่มบ้าง ขอแกงบ้าง ข้าวสุกบ้าง ด้วยตนเองมาฉัน แม้ในโรงอาหารก็เป็นผู้มีเสียงอื้ออึง มีเสียงดังอยู่. ประชาชนจึงเพ่งโทษ ติเตียน โพนทะนาว่า ไฉนพระสมณะเชื้อสายพระศากยบุตร จึงได้นุ่งห่มไม่เรียบร้อย มีมรรยาทไม่สมควร เที่ยวบิณฑบาตเล่า เมื่อประชาชนกำลังบริโภค ได้น้อมบาตรสำหรับเที่ยวบิณฑบาตเข้าไป ข้างบนของควรบริโภคบ้าง ข้างบนของควรเคี้ยวบ้าง ข้างบนของควรลิ้มบ้าง ข้างบนของควรดื่มบ้าง ขอแกงบ้าง ข้าวสุกบ้าง ด้วยตนเองมาฉันแม้ในโรงอาหาร ก็เป็นผู้มีเสียงอื้ออึง มีเสียงดังอยู่ เหมือนพวกพราหมณ์ในสถานที่เลี้ยงพราหมณ์ฉะนั้น. ภิกษุทั้งหลายได้ยินคนพวกนั้นเพ่งโทษ ติเตียน โพนทะนาอยู่ บรรดาที่เป็นผู้มักน้อย ... ต่างก็เพ่งโทษ ติเตียน โพนทะนาว่า ไฉนภิกษุทั้งหลาย จึงได้นุ่งห่มไม่เรียบร้อย มีมรรยาทไม่สมควร ... แล้วกราบทูลเรื่องนั้นแด่พระผู้มีพระภาค. (ทรงสอบถาม) ครั้งนั้น พระผู้มีพระภาค ... ทรงสอบถามภิกษุทั้งหลายว่า ดูกรภิกษุทั้งหลาย ข่าวว่าภิกษุทั้งหลายนุ่งห่มไม่เรียบร้อย มีมรรยาทไม่สมควร ... จริงหรือ? ภิกษุทั้งหลายทูลรับว่า จริง พระพุทธเจ้าข้า.  ทรงติเตียน // พระผู้มีพระภาคพุทธเจ้าทรงติเตียน ... ครั้นแล้วทรงทำธรรมีกถา รับสั่งกะภิกษุทั้งหลายว่า ดูกรภิกษุทั้งหลาย เราอนุญาตอาจารย์.  อาจารย์จักตั้งจิตสนิทสนมในอันเตวาสิกฉันบุตร  อันเตวาสิกจักตั้งจิตสนิทสนมในอาจารย์ฉันบิดา เมื่อเป็นเช่นนี้ อาจารย์และอันเตวาสิกนั้น ต่างจักมีความเคารพ ยำเกรง ประพฤติกลมเกลียวกันอยู่ จักถึงความเจริญงอกงามไพบูลย์ในธรรมวินัยนี้  ดูกรภิกษุทั้งหลาย เราอนุญาตให้อาศัยภิกษุมีพรรษา ๑๐ อยู่ อนุญาตให้ภิกษุมีพรรษาได้ ๑๐ ให้นิสสัย. 
๗๖. เตน โข ปน สมเยน ภิกฺขู ทสวสฺสมฺหา ทสวสฺสมฺหาติ พาลา อพฺยตฺตา อุปสมฺปาเทนฺติ. ทิสฺสนฺติ อุปชฺฌายา พาลา สทฺธิวิหาริกา ปณฺฑิตา. ทิสฺสนฺติ อุปชฺฌายา อพฺยตฺตา สทฺธิวิหาริกา พฺยตฺตา. ทิสฺสนฺติ อุปชฺฌายา อปฺปสฺสุตา สทฺธิวิหาริกา พหุสฺสุตา. ทิสฺสนฺติ อุปชฺฌายา ทุปฺปญฺญา สทฺธิวิหาริกา ปญฺญวนฺโต. อญฺญตโรปิ อญฺญติตฺถิยปุพฺโพ อุปชฺฌาเยน สหธมฺมิกํ วุจฺจมาโน อุปชฺฌายสฺส วาทํ อาโรเปตฺวา ตํเยว ติตฺถายตนํ สงฺกมิ.  เย เต ภิกฺขู อปฺปิจฺฉาฯเปฯ เต อุชฺฌายนฺติ ขิยฺยนฺติ วิปาเจนฺติ กถญฺหิ นาม ภิกฺขู ทสวสฺสมฺหา ทสวสฺสมฺหาติ พาลา อพฺยตฺตา อุปสมฺปาเทสฺสนฺติ. ทิสฺสนฺติ อุปชฺฌายา พาลา สทฺธิวิหาริกา ปณฺฑิตา ทิสฺสนฺติ อุปชฺฌายา อพฺยตฺตา สทฺธิวิหาริกา พฺยตฺตา ทิสฺสนฺติ อุปชฺฌายา อปฺปสฺสุตา สทฺธิวิหาริกา พหุสฺสุตา ทิสฺสนฺติ อุปชฺฌายา ทุปฺปญฺญา สทฺธิวิหาริกา ปญฺญวนฺโตติ.  อถ โข เต ภิกฺขู ภควโต เอตมตฺถํ อาโรเจสุํ.  “สจฺจํ กิร ภิกฺขเว ภิกฺขู ทสวสฺสมฺหา ทสวสฺสมฺหาติ พาลา อพฺยตฺตา อุปสมฺปาเทนฺติ. ทิสฺสนฺติ อุปชฺฌายา พาลา สทฺธิวิหาริกา ปณฺฑิตา ทิสฺสนฺติ อุปชฺฌายา อพฺยตฺตา สทฺธิวิหาริกา พฺยตฺตา ทิสฺสนฺติ อุปชฺฌายา อปฺปสฺสุตา สทฺธิวิหาริกา พหุสฺสุตา ทิสฺสนฺติ อุปชฺฌายา ทุปฺปญฺญา สทฺธิวิหาริกา ปญฺญวนฺโต”ติ?  “สจฺจํ ภควา”ติ. 
evañ ca pana bhikkhave ācariyo gahetabbo: ekaṃsaṃ uttarāsaṅgaṃ karitvā pāde vanditvā ukkuṭikaṃ nisīditvā añjaliṃ paggahetvā evam assa vacanīyo:  ācariyo me bhante hohi, āyasmato nissāya vacchāmi, ācariyo me bhante hohi, āyasmato nissāya vacchāmi, ācariyo me bhante hohi, āyas-(61)mato nissāya vacchāmīti.  sāhū ’ti vā, lahū ’ti vā, opāyikan ti vā, paṭirūpan ti vā, pāsādikena sampādehīti vā kāyena viññāpeti, vācāya viññāpeti, kāyena vācāya viññāpeti, gahito hoti ācariyo, na kāyena viññāpeti, na vācāya viññāpeti, na kāyena vācāya viññāpeti, na gahito hoti ācariyo. |2| 
'I prescribe, O Bhikkhus, that you live (the first) ten years in dependence (on an âkariya); he who has completed his tenth year may give a nissaya1 himself.  'And let (the antevâsika), O Bhikkhus, choose his âkariya in this way: Let him adjust his upper robe so as to cover one shoulder, salute the feet (of the âkariya), sit down squatting, raise his joined hands, and say:  "Venerable Sir, be my âkariya, I will live in dependence on you, Sir."' (This formula is repeated thrice.) 
วิธีถือนิสสัย // ดูกรภิกษุทั้งหลาย ก็แลอันเตวาสิกพึงถืออาจารย์อย่างนี้ อันเตวาสิกนั้นพึงห่มผ้าอุตราสงค์เฉวียงบ่า ไหว้เท้า นั่งกระหย่ง ประคองอัญชลี แล้วกล่าวอย่างนี้ ๓ หน  ท่านเจ้าข้า ขอท่านจงเป็นอาจารย์ของข้าพเจ้า ข้าพเจ้าจักอาศัยท่านอยู่, ท่านเจ้าข้า ขอท่านจงเป็นอาจารย์ของข้าพเจ้า ข้าพเจ้าจักอาศัยท่านอยู่, ท่านเจ้าข้า ขอท่านจงเป็นอาจารย์ของข้าพเจ้า ข้าพเจ้าจักอาศัยท่านอยู่  อาจารย์รับว่า ดีละ เบาใจละ ชอบแก่อุบายละ สมควรละ หรือรับว่าจงยังความปฏิบัติให้ถึงพร้อมด้วยอาการอันน่าเลื่อมใสเถิด ดังนี้ก็ได้ รับด้วยกาย รับด้วยวาจา รับด้วยทั้งกายและวาจาก็ได้ เป็นอันว่าอันเตวาสิกถืออาจารย์แล้ว, ไม่รับด้วยกาย ไม่รับด้วยวาจา ไม่รับด้วยทั้งกายและวาจา ไม่เป็นอันว่าอันเตวาสิกถืออาจารย์แล้ว. 
วิครหิ พุทฺโธ ภควาฯเปฯ กถญฺหิ นาม เต ภิกฺขเว โมฆปุริสา ทสวสฺสมฺหา ทสวสฺสมฺหาติ พาลา อพฺยตฺตา อุปสมฺปาเทสฺสนฺติ. ทิสฺสนฺติ อุปชฺฌายา พาลา สทฺธิวิหาริกา ปณฺฑิตา ทิสฺสนฺติ อุปชฺฌายา อพฺยตฺตา สทฺธิวิหาริกา พฺยตฺตา ทิสฺสนฺติ อุปชฺฌายา อปฺปสฺสุตา สทฺธิวิหาริกา พหุสฺสุตา ทิสฺสนฺติ อุปชฺฌายา ทุปฺปญฺญา สทฺธิวิหาริกา ปญฺญวนฺโต.  เนตํ ภิกฺขเว อปฺปสนฺนานํ วา ปสาทายฯเปฯ วิครหิตฺวาฯเปฯ ธมฺมึ กถํ กตฺวา ภิกฺขู อามนฺเตสิ “น ภิกฺขเว พาเลน อพฺยตฺเตน อุปสมฺปาเทตพฺโพ.  โย อุปสมฺปาเทยฺย อาปตฺติ ทุกฺกฏสฺส. 
antevāsikena bhikkhave ācariyamhi sammāvattitabbaṃ, tatrāyaṃ sammāvattanā:  kālass’ eva uṭṭhāya upāhanā omuñcitvā ekaṃsaṃ uttarāsaṅgaṃ karitvā dantakaṭṭhaṃ dātabbaṃ, mukhodakaṃ dātabbaṃ, āsanaṃ paññāpetabbaṃ.  sace yāgu hoti, bhājanaṃ dhovitvā yāgu upanāmetabbā.  yāguṃ pītassa udakaṃ datvā bhājanaṃ paṭiggahetvā nīcaṃ katvā sādhukaṃ aparighaṃsantena dhovitvā paṭisāmetabbaṃ . . . (= I.25.8-24; instead of upajjhāyo, upajjhāyaṃ, etc., read ācariyo, ācariyaṃ, etc.; instead of saddhivihārikena read antevāsikena) . . . sace ācariyo gilāno hoti, yāvajīvaṃ upaṭṭhātabbo, vuṭṭhānassa āgametabban ti. |3| 
'(If the other answers): "Well" (&c., as in chap. 25. 7).  'The antevâsika, O Bhikkhus, ought to observe a strict conduct towards his âkariya' (&c., as in chap. 25. 8-24).     
อาจริยวัตร [๙๓] ดูกรภิกษุทั้งหลาย อันเตวาสิกพึงประพฤติชอบในอาจารย์. วิธีประพฤติชอบในอาจารย์นั้น ดังต่อไปนี้  อันเตวาสิกพึงลุกแต่เช้าตรู่ ถอดรองเท้า ห่มผ้าเฉวียงบ่า แล้วถวายไม้ชำระฟัน ถวายน้ำล้างหน้า ปูอาสนะไว้  ถ้ายาคูมี พึงล้างภาชนะแล้วน้อมยาคูเข้าไปถวาย  เมื่ออาจารย์ดื่มยาคูแล้ว พึงถวายน้ำ รับภาชนะมา ถือต่ำๆ อย่าให้กระทบกัน ล้างให้สะอาดแล้วเก็บไว้ เมื่ออาจารย์ลุกแล้ว พึงเก็บผ้าอาสนะ ถ้าที่นั้นรก พึงกวาดเสีย. ถ้าอาจารย์ประสงค์จะเข้าบ้าน พึงถวายผ้านุ่ง พึงรับผ้านุ่งผลัดมา พึงถวายประคตเอว พึงพับผ้าสังฆาฏิให้เป็นชั้นถวาย พึงล้างบาตรแล้วถวายพร้อมทั้งน้ำด้วย ถ้าอาจารย์ปรารถนาให้เป็นปัจฉาสมณะ พึงปกปิดมณฑลสาม นุ่งให้เป็นปริมณฑล แล้วคาดประคตเอว ห่มสังฆาฏิทำเป็นชั้น กลัดดุม ล้างบาตรแล้วถือไป เป็นปัจฉาสมณะของอาจารย์ ไม่พึงเดินให้ห่างนัก ไม่พึงเดินให้ชิดนัก พึงรับวัตถุที่เนื่องในบาตร เมื่ออาจารย์กำลังพูด ไม่พึงพูดสอดขึ้นในระหว่าง อาจารย์กล่าวถ้อยคำใกล้ต่ออาบัติ พึงห้ามเสีย เมื่อกลับ พึงมาก่อนแล้วปูอาสนะที่นั่งฉันไว้ พึงเตรียมน้ำล้างเท้า ตั่งรองเท้า กระเบื้องเช็ดเท้าไว้ พึงลุกขึ้นรับบาตรและจีวร พึงถวายผ้านุ่งผลัด พึงรับผ้านุ่งมา. ถ้าจีวรชุ่มเหงื่อ พึงผึ่งแดดไว้ครู่หนึ่ง แต่ไม่พึงผึ่งทิ้งไว้ที่แดด พึงพับจีวร เมื่อพับจีวร พึงพับจีวรให้เหลื่อมมุมกัน ๔ นิ้ว ด้วยตั้งใจมิให้มีรอยพับตรงกลาง พึงทำประคตเอวไว้ในขนดอันตรวาสก. ถ้าบิณฑบาตมี และอาจารย์ประสงค์จะฉัน พึงถวายน้ำแล้วน้อมบิณฑบาตเข้าไปถวาย พึงถามอาจารย์ด้วยน้ำฉัน เมื่ออาจารย์ฉันแล้ว พึงถวายน้ำ รับบาตรมา ถือต่ำๆ อย่าให้กระทบ ล้างให้สะอาด เช็ดให้แห้ง แล้วผึ่งไว้ที่แดดครู่หนึ่ง แต่ไม่พึงผึ่งทิ้งไว้ที่แดด พึงเก็บบาตรจีวร เมื่อเก็บบาตร พึงเอามือข้างหนึ่งจับบาตร เอามือข้างหนึ่งลูบคลำใต้เตียงหรือใต้ตั่ง แล้วจึงเก็บบาตร แต่ไม่พึงเก็บบาตรไว้บนพื้นที่ไม่มีสิ่งใดรอง เมื่อเก็บจีวร พึงเอามือข้างหนึ่งถือจีวร เอามือข้างหนึ่งลูบราวจีวร หรือสายระเดียงแล้วทำชายไว้ข้างนอก ทำขนดไว้ข้างใน แล้วจึงเก็บจีวร เมื่ออาจารย์ลุกแล้ว พึงเก็บอาสนะ เก็บน้ำล้างเท้า ตั่งรองเท้า กระเบื้องเช็ดเท้า ถ้าที่นั้นรก พึงกวาดที่นั้นเสีย. ถ้าอาจารย์ใคร่จะสรงน้ำ พึงจัดน้ำสรงถวาย ถ้าต้องการน้ำเย็น พึงจัดน้ำเย็นถวาย ถ้าต้องการน้ำร้อน พึงจัดน้ำร้อนถวาย. ถ้าอาจารย์ประสงค์จะเข้าเรือนไฟ พึงบดจุณ แช่ดิน หรือถือตั่งสำหรับเรือนไฟ แล้วเดินตามหลังอาจารย์ไป ถวายตั่งสำหรับเรือนไฟแล้ว รับจีวรมาวางไว้ ณ ที่ควรส่วนข้างหนึ่ง พึงถวายจุณ ถวายดิน ถ้าอุตสาหะอยู่ พึงเข้าเรือนไฟ เมื่อเข้าเรือนไฟ พึงเอาดินทาหน้า ปิดทั้งข้างหน้าข้างหลัง แล้วเข้าเรือนไฟ ไม่พึงนั่งเบียดภิกษุผู้เถระ ไม่พึงห้ามกันอาสนะภิกษุใหม่ พึงทำบริกรรมแก่อาจารย์ในเรือนไฟ เมื่อออกจากเรือนไฟ พึงถือตั่งสำหรับเรือนไฟ แล้วปิดทั้งข้างหน้าทั้งข้างหลังออกจากเรือนไฟ พึงทำบริกรรมแก่อาจารย์แม้ในน้ำ อาบเสร็จแล้ว พึงขึ้นมาก่อน ทำตัวของตนให้แห้งน้ำ นุ่งผ้าแล้ว พึงเช็ดน้ำจากตัวของอาจารย์ พึงถวายผ้านุ่ง พึงถวายผ้าสังฆาฏิ ถือเอาตั่งสำหรับเรือนไฟมาก่อน แล้วปูอาสนะไว้ เตรียมน้ำล้างเท้า ตั่งรองเท้า กระเบื้องเช็ดเท้าไว้ พึงถามอาจารย์ด้วยน้ำฉัน. ถ้าประสงค์จะเรียนบาลี พึงขอให้อาจารย์แสดงบาลีขึ้น ถ้าประสงค์จะสอบถามอรรถกถา พึงสอบถาม. อาจารย์อยู่ในวิหารแห่งใด ถ้าวิหารแห่งนั้นรก ถ้าอุตสาหะอยู่ พึงปัดกวาดเสีย เมื่อปัดกวาดวิหาร พึงขนบาตรจีวรออกก่อนแล้ววางไว้ ณ ที่ควรส่วนข้างหนึ่ง พึงขนผ้าปูนั่งและผ้าปูนอน ฟูก หมอน ออกวางไว้ ณ ที่ควรส่วนข้างหนึ่ง เตียงตั่ง อันเตวาสิกพึงยกต่ำๆ อย่าให้ครูดสี อย่าให้กระทบกระแทกบานและกรอบประตู ขนออกให้เรียบร้อย แล้วตั้งไว้ ณ ที่ควรส่วนข้างหนึ่ง. เขียงรองเตียง กระโถน พนักอิง พึงขนออกตั้งไว้ ณ ที่ควรส่วนข้างหนึ่ง เครื่องปูพื้น พึงสังเกตที่ปูไว้เดิม แล้วขนออกวางไว้ ณ ที่ควรส่วนข้างหนึ่ง. ถ้าในวิหารมีหยากเยื่อ พึงกวาดแต่เพดานลงมาก่อน กรอบหน้าต่างและมุมห้อง พึงเช็ดเสีย ถ้าฝาเขาทำบริกรรมด้วยน้ำมัน หรือพื้นเขาทาสีดำขึ้นรา พึงเอาผ้าเช็ดน้ำบิดแล้วเช็ดเสีย ถ้าพื้นเขามิได้ทำ พึงเอาน้ำประพรมแล้วเช็ดเสีย ระวังอย่าให้วิหารฟุ้งด้วยธุลี พึงกวาดหยากเยื่อทิ้งเสีย ณ ที่ควรส่วนข้างหนึ่ง เครื่องลาดพื้น พึงผึ่งแดด ชำระ เคาะ ปัด แล้วขนกลับปูไว้ตามเดิม เขียงรองเตียง พึงผึ่งแดด ขัด เช็ด แล้วขนกลับตั้งไว้ที่เดิม เตียงตั่งพึงผึ่งแดดขัดสี เคาะเสีย ยกต่ำๆ อย่าให้ครูดสี กระทบกระแทกบานและกรอบประตู ขนกลับไปให้ดีๆ แล้วตั้งไว้ตามเดิม ฟูก หมอน ผ้าปูนั่ง ผ้าปูนอน พึงผึ่งแดดทำให้สะอาด ตบเสีย แล้วนำกลับวางปูไว้ตามเดิม กระโถน พนักอิง พึงผึ่งแดด เช็ด ถูเสีย แล้วขนกลับตั้งไว้ตามเดิมพึงเก็บบาตรจีวร เมื่อเก็บบาตร พึงเอามือข้างหนึ่งจับบาตร เอามือข้างหนึ่งลูบคลำใต้เตียงหรือใต้ตั่ง แล้วจึงเก็บบาตร แต่ไม่พึงเก็บบาตร บนพื้นที่ไม่มีสิ่งใดรองเมื่อเก็บจีวร พึงเอามือข้างหนึ่งถือจีวร เอามือข้างหนึ่งลูบราวจีวรหรือสายระเดียงแล้วทำชายไว้ข้างนอก ทำขนดไว้ข้างใน แล้วเก็บจีวร. ถ้าลมเจือด้วยผงคลี พัดมาแต่ทิศตะวันออก พึงปิดหน้าต่างด้านตะวันออก ถ้าพัดมาแต่ทิศตะวันตก พึงปิดหน้าต่างด้านตะวันตก ถ้าพัดมาแต่ทิศเหนือ พึงปิดหน้าต่างด้านเหนือ ถ้าพัดมาแต่ทิศใต้ พึงปิดหน้าต่างด้านใต้ ถ้าฤดูหนาวพึงเปิดหน้าต่างกลางวัน ปิดกลางคืน ถ้าฤดูร้อน พึงปิดหน้าต่างกลางวัน เปิดกลางคืน ถ้าบริเวณ ซุ้มน้ำ โรงฉัน โรงไฟ วัจจกุฎี รก พึงปัดกวาดเสีย ถ้าน้ำฉัน น้ำใช้ไม่มี พึงจัดตั้งไว้ ถ้าน้ำในหม้อชำระไม่มี พึงตักน้ำมาไว้ในหม้อชำระ ถ้าความกระสันบังเกิดแก่อาจารย์ อันเตวาสิกพึงช่วยระงับ หรือพึงวานภิกษุอื่นให้ช่วยระงับ หรือพึงทำธรรมีกถาแก่อาจารย์นั้น ถ้าความรำคาญบังเกิดแก่อาจารย์ อันเตวาสิกพึงช่วยบรรเทา หรือพึงวานภิกษุอื่นให้ช่วยบรรเทา หรือพึงทำธรรมีกถาแก่อาจารย์นั้น ถ้าความเห็นผิดบังเกิดแก่อาจารย์ อันเตวาสิกพึงให้สละเสีย หรือพึงวานภิกษุอื่นให้ช่วย หรือพึงทำธรรมีกถาแก่อาจารย์นั้น. ถ้าอาจารย์ต้องอาบัติหนัก ควรปริวาส อันเตวาสิกพึงทำความขวนขวายว่า ด้วยอุบายอย่างไรหนอ สงฆ์พึงให้ปริวาสแก่อาจารย์ ถ้าอาจารย์ควรชักเข้าหาอาบัติเดิม อันเตวาสิกพึงทำความขวนขวายว่า ด้วยอุบายอย่างไรหนอ สงฆ์พึงชักอาจารย์เข้าหาอาบัติเดิม ถ้าอาจารย์ควรมานัต อันเตวาสิกพึงทำความขวนขวายว่า ด้วยอุบายอย่างไรหนอ สงฆ์พึงให้มานัตแก่อาจารย์ ถ้าอาจารย์ควรอัพภาน อันเตวาสิกพึงทำความขวนขวายว่า ด้วยอุบายอย่างไรหนอ สงฆ์พึงอัพภานอาจารย์. ถ้าสงฆ์ปรารถนาจะทำกรรมแก่อาจารย์ คือ ตัชชนียกรรม นิยสกรรม ปัพพาชนียกรรม ปฏิสารณียกรรม หรืออุกเขปนียกรรม อันเตวาสิกพึงทำความขวนขวายว่า ด้วยอุบายอย่างไรหนอ สงฆ์ไม่พึงทำกรรมแก่อาจารย์ หรือสงฆ์พึงน้อมไปเพื่อกรรมสถานเบา หรืออาจารย์นั้นถูกสงฆ์ลงตัชชนียกรรม นิยสกรรม ปัพพาชนียกรรม ปฏิสารณียกรรม หรืออุกเขปนียกรรมแล้ว อันเตวาสิกพึงทำความขวนขวายว่า ด้วยอุบายอย่างไรหนอ อาจารย์พึงประพฤติชอบ พึงหายเย่อหยิ่ง พึงประพฤติแก้ตัว สงฆ์พึงระงับกรรมนั้นเสีย. ถ้าจีวรของอาจารย์จะต้องซัก อันเตวาสิกพึงซัก หรือพึงทำความขวนขวายว่า ด้วยอุบายอย่างไรหนอ ใครๆ พึงซักจีวรของอาจารย์ ถ้าจีวรของอาจารย์จะต้องทำ อันเตวาสิกพึงทำหรือพึงทำความขวนขวายว่า ด้วยอุบายอย่างไรหนอ ใครๆ พึงทำจีวรของอาจารย์ ถ้าน้ำย้อมของอาจารย์จะต้องต้ม อันเตวาสิกพึงต้ม หรือพึงทำความขวนขวายว่า ด้วยอุบายอย่างไรหนอ ใครๆ พึงต้มน้ำย้อมของอาจารย์ ถ้าจีวรของอาจารย์จะต้องย้อม อันเตวาสิกพึงย้อม หรือพึงทำความขวนขวายว่า ด้วยอุบายอย่างไรหนอ ใครๆ พึงย้อมจีวรของอาจารย์ เมื่อย้อมจีวร พึงย้อมพลิกกลับไปกลับมาให้ดีๆ เมื่อหยาดน้ำย้อมยังหยดไม่ขาดสาย ไม่พึงหลีกไปเสีย. อันเตวาสิกไม่บอกอาจารย์ก่อน ไม่พึงให้บาตรแก่ภิกษุบางรูป ไม่พึงรับบาตรของภิกษุบางรูป ไม่พึงให้จีวรแก่ภิกษุบางรูป ไม่พึงรับจีวรของภิกษุบางรูป ไม่พึงให้บริขารแก่ภิกษุบางรูป ไม่พึงรับบริขารของภิกษุบางรูป ไม่พึงปลงผมให้ภิกษุบางรูป ไม่พึงให้ภิกษุบางรูปปลงผมให้ ไม่พึงทำบริกรรมแก่ภิกษุบางรูป ไม่พึงให้ภิกษุบางรูปทำบริกรรมให้ ไม่พึงทำความขวนขวายแก่ภิกษุบางรูป ไม่พึงสั่งให้ภิกษุบางรูปทำความขวนขวาย ไม่พึงเป็นปัจฉาสมณะของภิกษุบางรูป ไม่พึงพาภิกษุบางรูปไปเป็นปัจฉาสมณะ ไม่พึงนำบิณฑบาตไปให้ภิกษุบางรูป ไม่พึงให้ภิกษุบางรูปนำบิณฑบาตมาให้ ไม่บอกลาอาจารย์ก่อน ไม่พึงเข้าบ้าน ไม่พึงไปป่าช้า ไม่พึงหลีกไปสู่ทิศ ถ้าอาจารย์อาพาธ พึงพยาบาล จนตลอดชีวิต พึงรอจนกว่าจะหาย. 
อนุชานามิ ภิกฺขเว พฺยตฺเตน ภิกฺขุนา ปฏิพเลน ทสวสฺเสน วา อติเรกทสวสฺเสน วา อุปสมฺปาเทตุ”นฺติ.      ๗๗. เตน โข ปน สมเยน ภิกฺขู อุปชฺฌาเยสุ ปกฺกนฺเตสุปิ วิพฺภนฺเตสุปิ กาลงฺกเตสุปิ ปกฺขสงฺกนฺเตสุปิ อนาจริยกา อโนวทิยมานา อนนุสาสิยมานา ทุนฺนิวตฺถา ทุปฺปารุตา อนากปฺปสมฺปนฺนา ปิณฺฑาย จรนฺติ มนุสฺสานํ ภุญฺชมานานํ อุปริโภชเนปิ อุตฺติฏฺฐปตฺตํ อุปนาเมนฺติ อุปริขาทนีเยปิ อุปริสายนีเยปิ อุปริปานีเยปิ อุตฺติฏฺฐปตฺตํ อุปนาเมนฺติ สามํ สูปมฺปิ โอทนมฺปิ วิญฺญาเปตฺวา ภุญฺชนฺติ ภตฺตคฺเคปิ อุจฺจาสทฺทา มหาสทฺทา วิหรนฺติ. มนุสฺสา อุชฺฌายนฺติ ขิยฺยนฺติ วิปาเจนฺติ “กถญฺหิ นาม สมณา สกฺยปุตฺติยา ทุนฺนิวตฺถา ทุปฺปารุตา อนากปฺปสมฺปนฺนา ปิณฺฑาย จริสฺสนฺติ มนุสฺสานํ ภุญฺชมานานํ อุปริโภชเนปิ อุตฺติฏฺฐปตฺตํ อุปนาเมสฺสนฺติ อุปริขาทนีเยปิ อุปริสายนีเยปิ อุปริปานีเยปิ อุตฺติฏฺฐปตฺตํ อุปนาเมสฺสนฺติ สามํ สูปมฺปิ โอทนมฺปิ วิญฺญาเปตฺวา ภุญฺชิสฺสนฺติ ภตฺตคฺเคปิ อุจฺจาสทฺทา มหาสทฺทา วิหริสฺสนฺติ เสยฺยถาปิ พฺราหฺมณา พฺราหฺมณโภชเน”ติ. อสฺโสสุํ โข ภิกฺขู เตสํ มนุสฺสานํ อุชฺฌายนฺตานํ ขิยฺยนฺตานํ วิปาเจนฺตานํ ฯเปฯ อถ โข เต ภิกฺขู ภควโต เอตมตฺถํ อาโรเจสุํ. สจฺจํ กิร ภิกฺขเวฯเปฯ สจฺจํ ภควาติฯเปฯ 
ācariyavattaṃ niṭṭhitaṃ. ||32|| 
 
อาจริยวัตร จบ 
วิครหิตฺวา ธมฺมึ กถํ กตฺวา ภิกฺขู อามนฺเตสิ “อนุชานามิ ภิกฺขเว อาจริยํ. 
ācariyena bhikkhave antevāsikamhi sammāvattitabbaṃ, tatrāyaṃ sammāvattanā:  ācariyena bhikkhave antevāsiko saṃgahetabbo anuggahetabbo uddesena paripucchāya ovādena anusāsaniyā. sace ācariyassa patto hoti, antevāsikassa patto na hoti, ācariyena antevāsikassa patto dātabbo ussukkaṃ vā kātabbaṃ kin ti nu kho antevāsikassa patto uppajjiyethā ’ti.  sace ācariyassa cīvaraṃ . . . (= I.26.1-11; instead of upajjhāyo, etc., read ācariyo; instead of saddhivihāriko, etc., read antevāsiko) . . . sace antevāsiko gilāno hoti, yāvajīvaṃ upaṭṭhātabbo, vuṭṭhānassa āgametabban ti. |1| 
End of the duties towards an âkariya.  'The âkariya, O Bhikkhus, ought to observe a strict conduct towards his antevâsika' (&c., as in chap. 26).   
อันเตวาสิกวัตร [๙๔] ดูกรภิกษุทั้งหลาย อาจารย์พึงประพฤติชอบในอันเตวาสิก วิธีประพฤติชอบในอันเตวาสิกนั้น ดังต่อไปนี้:-  ดูกรภิกษุทั้งหลาย อาจารย์พึงสงเคราะห์ อนุเคราะห์อันเตวาสิก ด้วยสอนบาลีและอรรถกถา ด้วยให้โอวาทและอนุศาสน์. ถ้าอาจารย์มีบาตร อันเตวาสิกไม่มีบาตร อาจารย์พึงให้บาตรแก่อันเตวาสิก หรือพึงทำความขวนขวายว่า ด้วยอุบายอย่างไรหนอ บาตรพึงบังเกิดแก่อันเตวาสิก  ถ้าอาจารย์มีจีวร อันเตวาสิกไม่มีจีวร อาจารย์พึงให้จีวรแก่อันเตวาสิก หรือพึงทำความขวนขวายว่า ด้วยอุบายอย่างไรหนอ จีวรพึงบังเกิดแก่อันเตวาสิก ถ้าอาจารย์มีบริขาร อันเตวาสิกไม่มีบริขาร อาจารย์พึงให้บริขารแก่อันเตวาสิก หรือพึงทำความขวนขวายว่า ด้วยอุบายอย่างไรหนอ บริขารพึงบังเกิดแก่อันเตวาสิก. ถ้าอันเตวาสิกอาพาธ อาจารย์ลุกแต่เช้าตรู่ แล้วพึงให้ไม้ชำระฟัน ให้น้ำล้างหน้าปูอาสนะไว้ ถ้ายาคูมี พึงล้างภาชนะ แล้วนำยาคูเข้าไปให้ เมื่ออันเตวาสิกดื่มยาคูแล้ว พึงให้น้ำรับภาชนะมา ถือต่ำๆ อย่าให้กระทบกัน ล้างให้สะอาดแล้วเก็บไว้ เมื่ออันเตวาสิกลุกแล้ว พึงเก็บอาสนะ ถ้าที่นั้นรก พึงกวาดที่นั้นเสีย. ถ้าอันเตวาสิกประสงค์จะเข้าบ้าน พึงให้ผ้านุ่ง พึงรับผ้านุ่งผลัดมา พึงให้ประคตเอว พึงพับผ้าสังฆาฏิเป็นชั้นให้ พึงล้างบาตรแล้วให้พร้อมทั้งน้ำด้วย พึงปูผ้าอาสนะที่นั่งฉันไว้ด้วยกำหนดในใจว่า เพียงเวลาเท่านี้ อันเตวาสิกจักกลับมา น้ำล้างเท้า ตั่งรองเท้า กระเบื้องเช็ดเท้า พึงเตรียมตั้งไว้ พึงลุกขึ้นรับบาตรและจีวร พึงให้ผ้านุ่งผลัด พึงรับผ้านุ่งมา. ถ้าจีวรชุ่มเหงื่อ พึงผึ่งแดดไว้ครู่หนึ่ง แต่ไม่พึงผึ่งทิ้งไว้ที่แดด พึงพับจีวร เมื่อพับจีวร พึงพับให้เหลื่อมมุมกัน ๔ นิ้ว ด้วยตั้งใจมิให้มีรอยพับตรงกลาง พึงทำประคตเอวไว้ในขนดอันตรวาสก. ถ้าบิณฑบาตมี และอันเตวาสิกประสงค์จะฉัน พึงให้น้ำแล้วนำบิณฑบาตเข้าไปให้ พึงถามอันเตวาสิกด้วยน้ำฉัน เมื่ออันเตวาสิกฉันแล้ว พึงให้น้ำ รับบาตรมา ถือต่ำๆ อย่าให้กระทบ ล้างให้สะอาด เช็ดให้แห้ง แล้วผึ่งไว้ที่แดดครู่หนึ่ง แต่ไม่พึงผึ่งทิ้งไว้ที่แดด พึงเก็บบาตรจีวร เมื่อเก็บบาตร พึงเอามือข้างหนึ่งจับบาตร เอามือข้างหนึ่งลูบคลำใต้เตียงหรือใต้ตั่ง แล้วเก็บบาตร แต่ไม่พึงเก็บบาตรไว้บนพื้นที่ไม่มีสิ่งใดรอง เมื่อเก็บจีวร เอามือข้างหนึ่งถือจีวร เอามือข้างหนึ่งลูบราวจีวรหรือสายระเดียง แล้วทำชายไว้ข้างนอก ทำขนดไว้ข้างใน แล้วจึงเก็บจีวร เมื่ออันเตวาสิกลุกแล้ว พึงเก็บอาสนะ เก็บน้ำล้างเท้า ตั่งรองเท้า กระเบื้องเช็ดเท้า ถ้าที่นั้นรก พึงกวาดที่นั้นเสีย. ถ้าอันเตวาสิกใคร่จะสรงน้ำ พึงจัดน้ำสรงให้ ถ้าต้องการน้ำเย็น พึงจัดน้ำเย็นให้ ถ้าต้องการน้ำร้อน พึงจัดน้ำร้อนให้. ถ้าอันเตวาสิกประสงค์จะเข้าเรือนไฟ พึงบดจุณ แช่ดิน ถือตั่งสำหรับเรือนไฟไปให้ตั่งสำหรับเรือนไฟ แล้วรับจีวรมาวางไว้ ณ ที่ควรส่วนข้างหนึ่ง พึงให้จุณ ให้ดิน ถ้าอุตสาหะอยู่ พึงเข้าเรือนไฟ เมื่อเข้าเรือนไฟ พึงเอาดินทาหน้า ปิดทั้งข้างหน้าทั้งข้างหลัง แล้วเข้าเรือนไฟ ไม่พึงนั่งเบียดภิกษุผู้เถระ ไม่พึงห้ามกันอาสนะภิกษุใหม่ พึงทำบริกรรมแก่อันเตวาสิกในเรือนไฟ เมื่อออกจากเรือนไฟ พึงถือตั่งสำหรับเรือนไฟ แล้วปิดทั้งข้างหน้าทั้งข้างหลัง ออกจากเรือนไฟ พึงทำบริกรรมแก่อันเตวาสิกแม้ในน้ำ อาบเสร็จแล้วพึงขึ้นมาก่อน ทำตัวของตนให้แห้งน้ำ นุ่งผ้าแล้วพึงเช็ดน้ำจากตัวของอันเตวาสิก พึงให้ผ้านุ่ง พึงให้ผ้าสังฆาฏิ พึงถือตั่งสำหรับเรือนไฟมาก่อน แล้วปูอาสนะไว้ เตรียมน้ำล้างเท้า ตั่งรองเท้า กระเบื้องเช็ดเท้าไว้ พึงถามอันเตวาสิกด้วยน้ำฉัน. อันเตวาสิกอยู่ในวิหารแห่งใด ถ้าวิหารแห่งนั้นรก ถ้าอุตสาหะอยู่ พึงปัดกวาดเสีย เมื่อปัดกวาดวิหาร พึงขนบาตรจีวรออกก่อน แล้ววางไว้ ณ ที่ควรส่วนข้างหนึ่ง พึงขนผ้าปูนั่งและผ้าปูนอน ฟูก หมอน ออกวางไว้ ณ ที่ควรส่วนข้างหนึ่ง เตียงตั่งอาจารย์พึงยกต่ำๆ อย่าให้ครูดสี อย่าให้กระทบกระแทกบานและกรอบประตู ขนออกให้เรียบร้อย แล้วตั้งไว้ ณ ที่ควรส่วนข้างหนึ่ง เขียงรองเตียง กระโถน พนักอิง พึงขนออกวางไว้ ณ ที่ควรส่วนข้างหนึ่ง เครื่องปูพื้นพึงสังเกตที่ปูไว้เดิม แล้วขนออกวางไว้ ณ ที่ควรส่วนข้างหนึ่ง. ถ้าในวิหารมีหยากเยื่อ พึงกวาดแต่เพดานลงมาก่อน กรอบหน้าต่างและมุมห้อง พึงเช็ดเสีย ถ้าฝาเขาทำบริกรรมด้วยน้ำมัน พื้นเขาทาสีดำขึ้นรา พึงเอาผ้าชุบน้ำบิดแล้วเช็ดเสีย ถ้าพื้นเขามิได้ทำ พึงเอาน้ำประพรมแล้วเช็ดเสีย ระวังอย่าให้วิหารฟุ้งด้วยธุลี พึงกวาดหยากเยื่อทิ้งเสีย ณ ที่ควรส่วนข้างหนึ่ง เครื่องลาดพื้น พึงผึ่งแดด ชำระ เคาะ ปัดเสีย ขนกลับปูไว้ตามเดิม เขียงรองเตียง พึงผึ่งแดด ขัด เช็ด เสีย ขนกลับตั้งไว้ที่เดิม เตียงตั่งพึงผึ่งแดด ขัดสี เคาะเสีย ยกต่ำๆ อย่าให้ครูดสี อย่าให้กระทบกระแทกบานและกรอบประตู ขนกลับไปให้ดีๆ แล้วตั้งไว้ตามเดิม ฟูก หมอน ผ้าปูนั่ง ผ้าปูนอน พึงผึ่งแดด ทำให้สะอาด ตบเสีย แล้วนำกลับวางปูไว้ตามเดิม กระโถน พนักอิง พึงผึ่งแดด เช็ด ถูเสีย แล้วขนกลับตั้งไว้ตามเดิม พึงเก็บบาตรจีวร เมื่อเก็บบาตร พึงเอามือข้างหนึ่งจับบาตร เอามือข้างหนึ่งลูบคลำใต้เตียงหรือใต้ตั่ง แล้วจึงเก็บบาตร แต่ไม่พึงวางบาตรบนพื้นที่ไม่มีสิ่งใดรอง เมื่อเก็บจีวร พึงเอามือข้างหนึ่งถือจีวร เอามือข้างหนึ่งลูบราวจีวร หรือสายระเดียงแล้วทำชายไว้ข้างนอก ทำขนดไว้ข้างใน แล้วจึงเก็บจีวร. ถ้าลมเจือด้วยผงคลีพัดมาแต่ทิศตะวันออก พึงปิดหน้าต่างด้านตะวันออก ถ้าพัดมาแต่ทิศตะวันตก พึงปิดหน้าต่างด้านตะวันตก ถ้าพัดมาแต่ทิศเหนือ พึงปิดหน้าต่างด้านเหนือ ถ้าพัดมาแต่ทิศใต้ พึงปิดหน้าต่างด้านใต้ ถ้าฤดูหนาวพึงเปิดหน้าต่างกลางวัน ปิดกลางคืน ถ้าฤดูร้อน พึงปิดหน้าต่างกลางวัน เปิดกลางคืน. ถ้าบริเวณ ซุ้มน้ำ โรงฉัน โรงไฟ วัจจกุฎี รก พึงปัดกวาดเสีย ถ้าน้ำฉัน น้ำใช้ไม่มี พึงจัดตั้งไว้ ถ้าน้ำในหม้อชำระไม่มี พึงตักน้ำไว้ในหม้อชำระ. ถ้าความกระสันบังเกิดแก่อันเตวาสิก อาจารย์พึงช่วยระงับ หรือพึงวานภิกษุอื่นให้ช่วยระงับ หรือพึงทำธรรมีกถาแก่อันเตวาสิกนั้น ถ้าความรำคาญบังเกิดแก่อันเตวาสิก อาจารย์พึงบรรเทา หรือพึงวานภิกษุอื่นให้ช่วยบรรเทา หรือพึงทำธรรมีกถาแก่อันเตวาสิกนั้น ถ้าความเห็นผิดบังเกิดแก่อันเตวาสิก อาจารย์พึงให้สละเสีย หรือพึงวานภิกษุอื่นให้ช่วย หรือพึงทำธรรมีกถาแก่อันเตวาสิกนั้น. ถ้าอันเตวาสิกต้องอาบัติหนัก ควรปริวาส อาจารย์พึงทำความขวนขวายว่า ด้วยอุบายอย่างไรหนอ สงฆ์พึงให้ปริวาสแก่อันเตวาสิก ถ้าอันเตวาสิกควรชักเข้าหาอาบัติเดิม อาจารย์พึงทำความขวนขวายว่า ด้วยอุบายอย่างไรหนอ สงฆ์พึงชักอันเตวาสิกเข้าหาอาบัติเดิม ถ้าอันเตวาสิกควรมานัต อาจารย์พึงทำความขวนขวายว่า ด้วยอุบายอย่างไรหนอ สงฆ์พึงให้มานัตแก่อันเตวาสิก ถ้าอันเตวาสิกควรอัพภาน อาจารย์พึงทำความขวนขวายว่าด้วยอุบายอย่างไรหนอ สงฆ์พึงอัพภานอันเตวาสิก. ถ้าสงฆ์ปรารถนาจะทำกรรมแก่อันเตวาสิก คือ ตัชชนียกรรม นิยสกรรม ปัพพาชนียกรรม ปฏิสารณียกรรม หรืออุกเขปนียกรรม อาจารย์พึงทำความขวนขวายว่า ด้วยอุบายอย่างไรหนอ สงฆ์ไม่พึงทำกรรมแก่อันเตวาสิก หรือสงฆ์พึงน้อมไปเพื่อกรรมสถานเบา หรืออันเตวาสิกนั้นถูกสงฆ์ลงตัชชนียกรรม นิยสกรรม ปัพพาชนียกรรม ปฏิสารณียกรรม หรืออุกเขปนียกรรมแล้ว อาจารย์พึงทำความขวนขวายว่า ด้วยอุบายอย่างไรหนอ อันเตวาสิกพึงประพฤติชอบ พึงหายเย่อหยิ่ง พึงประพฤติแก้ตัว สงฆ์พึงระงับกรรมนั้นเสีย. ถ้าจีวรของอันเตวาสิกจะต้องซัก อาจารย์พึงบอกว่า เธอพึงซักอย่างนี้ หรือพึงทำความขวนขวายว่า ด้วยอุบายอย่างไรหนอ ใครๆ พึงซักจีวรของอันเตวาสิก ถ้าจีวรของอันเตวาสิกจะต้องทำ อาจารย์พึงบอกว่า เธอพึงทำอย่างนี้ หรือพึงทำความขวนขวายว่า ด้วยอุบายอย่างไรหนอ ใครๆ พึงทำจีวรของอันเตวาสิก ถ้าน้ำย้อมของอันเตวาสิกจะต้องต้ม อาจารย์พึงบอกว่า เธอพึงต้มอย่างนี้ หรือพึงทำความขวนขวายว่า ด้วยอุบายอย่างไรหนอ ใครๆ พึงต้มน้ำย้อมของอันเตวาสิก ถ้าจีวรของอันเตวาสิกจะต้องย้อม อาจารย์พึงบอกว่า เธอพึงย้อมอย่างนี้ หรือพึงทำความขวนขวายว่า ด้วยอุบายอย่างไรหนอ ใครๆ พึงย้อมจีวรของอันเตวาสิก เมื่อย้อมจีวร พึงย้อมพลิกกลับไปกลับมาให้ดีๆ เมื่อหยาดน้ำย้อมยังหยดไม่ขาดสาย ไม่พึงหลีกไปเสีย. ถ้าอันเตวาสิกอาพาธ พึงพยาบาลจนตลอดชีวิต พึงรอจนกว่าจะหาย. 
อาจริโย ภิกฺขเว อนฺเตวาสิกมฺหิ ปุตฺตจิตฺตํ อุปฏฺฐาเปสฺสติ อนฺเตวาสิโก อาจริยมฺหิ ปิตุจิตฺตํ อุปฏฺฐาเปสฺสติ.  เอวํ เต อญฺญมญฺญํ สคารวา สปฺปติสฺสา สภาควุตฺติโน วิหรนฺตา อิมสฺมึ ธมฺมวินเย วุทฺธึ วิรุฬฺหึ เวปุลฺลํ อาปชฺชิสฺสนฺติ.  อนุชานามิ ภิกฺขเว ทสวสฺสํ นิสฺสาย วตฺถุํ ทสวสฺเสน นิสฺสยํ ทาตุํ. 
antevāsikavattaṃ. ||33|| 
 
อันเตวาสิกวัตร จบ 
เอวญฺจ ปน ภิกฺขเว อาจริโย คเหตพฺโพ. เอกํสํ อุตฺตราสงฺคํ กริตฺวา ปาเท วนฺทิตฺวา อุกฺกุฏิกํ นิสีทิตฺวา อญฺชลึ ปคฺคเหตฺวา เอวมสฺส วจนีโย 
chaṭṭhaṃ bhāṇavāraṃ. 
End of the duties towards an antevâsika. 
‘อาจริโย เม ภนฺเต โหหิ อายสฺมโต นิสฺสาย วจฺฉามิ อาจริโย เม ภนฺเต โหหิ อายสฺมโต นิสฺสาย วจฺฉามิ อาจริโย เม ภนฺเต โหหิ อายสฺมโต นิสฺสาย วจฺฉามี’ติ. 
tena kho pana samayena antevāsikā ācariyesu na sammāvattanti . . . (= I.27.1-8; instead of ācariyo, etc., read as above) . . . apaṇāmento anatisāro hotīti. |1| 
End of the sixth Bhânavâra. 
ว่าด้วยการประณาม [๙๕] ก็โดยสมัยนั้นแล อันเตวาสิกทั้งหลายไม่ประพฤติชอบในอาจารย์ทั้งหลาย. ภิกษุทั้งหลายกราบทูลเรื่องนั้นแด่พระผู้มีพระภาค. พระผู้มีพระภาคตรัสว่า ดูกรภิกษุทั้งหลาย อันเตวาสิกจะไม่ประพฤติชอบในอาจารย์ไม่ได้ รูปใดไม่ประพฤติชอบ ต้องอาบัติทุกกฏ. พวกอันเตวาสิกยังไม่ประพฤติชอบตามเดิม. ภิกษุทั้งหลายจึงกราบทูลเรื่องนั้นแด่พระผู้มีพระภาค. พระผู้มีพระภาคตรัสว่า ดูกรภิกษุทั้งหลาย เราอนุญาตให้ประณามอันเตวาสิกผู้ไม่ประพฤติชอบ. (วิธีประณาม) ดูกรภิกษุทั้งหลาย ก็อาจารย์พึงประณามอันเตวาสิกอย่างนี้ว่า ฉันประณามเธอ เธออย่าเข้ามา ณ ที่นี้ เธอจงขนบาตรจีวรของเธอออกไปเสีย หรือพึงประณามว่า เธอไม่ต้องอุปฐากฉัน ดังนี้ ก็ได้ อาจารย์ย่อมยังอันเตวาสิกให้รู้ด้วยกายก็ได้ ให้รู้ด้วยวาจาก็ได้ ให้รู้ด้วยทั้งกายและวาจาก็ได้ อันเตวาสิกชื่อว่าเป็นอันถูกประณามแล้ว ถ้ามิให้รู้ด้วยกาย มิให้รู้ด้วยวาจา มิให้รู้ด้วยทั้งกายและวาจา อันเตวาสิกไม่ชื่อว่าถูกประณาม. สมัยต่อมา พวกอันเตวาสิกถูกประณามแล้ว ไม่ขอให้อาจารย์อดโทษ. ภิกษุทั้งหลายจึงกราบทูลเรื่องนั้นแด่พระผู้มีพระภาค. พระผู้มีพระภาคตรัสว่า ดูกรภิกษุทั้งหลาย เราอนุญาตให้อันเตวาสิกขอให้อาจารย์อดโทษ. พวกอันเตวาสิกไม่ยอมขอให้อาจารย์อดโทษอย่างเดิม. ภิกษุทั้งหลายจึงกราบทูลเรื่องนั้นแด่พระผู้มีพระภาค. พระผู้มีพระภาคตรัสว่า ดูกรภิกษุทั้งหลาย อันเตวาสิกถูกประณามแล้ว จะไม่ขอให้อาจารย์อดโทษไม่ได้ รูปใดไม่ขอให้อาจารย์อดโทษ ต้องอาบัติทุกกฏ. สมัยต่อมา อาจารย์ทั้งหลายอันเหล่าอันเตวาสิกขอให้อดโทษอยู่ ก็ไม่ยอมอดโทษ. ภิกษุทั้งหลายกราบทูลเรื่องนั้นแด่พระผู้มีพระภาค. พระผู้มีพระภาคตรัสว่า ดูกรภิกษุทั้งหลาย เราอนุญาตให้อาจารย์อดโทษ. อาจารย์ทั้งหลายยังไม่ยอมอดโทษอย่างเดิม. พวกอันเตวาสิกหลีกไปเสียบ้าง สึกเสียบ้าง ไปเข้ารีดเดียรถีย์เสียบ้าง. ภิกษุทั้งหลายจึงกราบทูลเรื่องนั้นแด่พระผู้มีพระภาค. พระผู้มีพระภาคตรัสว่า ดูกรภิกษุทั้งหลาย อาจารย์อันพวกอันเตวาสิกขอให้อดโทษอยู่ จะไม่ยอมอดโทษไม่ได้ รูปใดไม่ยอมอดโทษ ต้องอาบัติทุกกฏ. สมัยต่อมา อาจารย์ทั้งหลายประณามอันเตวาสิกผู้ประพฤติชอบ ไม่ประณามอันเตวาสิกผู้ประพฤติมิชอบ. ภิกษุทั้งหลาย กราบทูลเรื่องนั้นแด่พระผู้มีพระภาค. พระผู้มีพระภาคตรัสว่า ดูกรภิกษุทั้งหลาย อันเตวาสิกผู้ประพฤติชอบ อาจารย์ไม่พึงประณาม รูปใดประณาม ต้องอาบัติทุกกฏ. แต่อันเตวาสิกผู้ประพฤติมิชอบ อาจารย์จะไม่ประณามไม่ได้ รูปใดไม่ประณามต้องอาบัติทุกกฏ. (องค์แห่งการประณาม) ดูกรภิกษุทั้งหลาย อาจารย์พึงประณามอันเตวาสิกผู้ประกอบด้วยองค์ ๕ คือ ๑. หาความรักใคร่อย่างยิ่งในอาจารย์มิได้ ๒. หาความเลื่อมใสอย่างยิ่งมิได้ ๓. หาความละอายอย่างยิ่งมิได้ ๔. หาความเคารพอย่างยิ่งมิได้ และ ๕. หาความหวังดีต่ออย่างยิ่งมิได้ ดูกรภิกษุทั้งหลาย อาจารย์พึงประณามอันเตวาสิกผู้ประกอบด้วยองค์ ๕ นี้แล. ดูกรภิกษุทั้งหลาย อาจารย์ไม่พึงประณามอันเตวาสิก ผู้ประกอบด้วยองค์ ๕ คือ ๑. มีความรักใคร่อย่างยิ่งในอาจารย์ ๒. มีความเลื่อมใสอย่างยิ่ง ๓. มีความละอายอย่างยิ่ง ๔. มีความเคารพอย่างยิ่ง และ ๕. มีความหวังดีต่ออย่างยิ่ง ดูกรภิกษุทั้งหลาย อาจารย์ไม่พึงประณามอันเตวาสิก ผู้ประกอบด้วยองค์ ๕ นี้แล. ดูกรภิกษุทั้งหลาย อันเตวาสิกผู้ประกอบด้วยองค์ ๕ ควรประณาม คือ ๑. หาความรักใคร่อย่างยิ่งในอาจารย์มิได้ ๒. หาความเลื่อมใสอย่างยิ่งมิได้ ๓. หาความละอายอย่างยิ่งมิได้ ๔. หาความเคารพอย่างยิ่งมิได้ และ ๕. หาความหวังดีต่ออย่างยิ่งมิได้ ดูกรภิกษุทั้งหลาย อันเตวาสิกผู้ประกอบด้วยองค์ ๕ นี้แล ควรประณาม. ดูกรภิกษุทั้งหลาย อันเตวาสิกผู้ประกอบด้วยองค์ ๕ ไม่ควรประณาม คือ ๑. มีความรักใคร่อย่างยิ่งในอาจารย์ ๒. มีความเลื่อมใสอย่างยิ่ง ๓. มีความละอายอย่างยิ่ง ๔. มีความเคารพอย่างยิ่ง และ ๕. มีความหวังดีต่ออย่างยิ่ง ดูกรภิกษุทั้งหลาย อันเตวาสิกผู้ประกอบด้วยองค์ ๕ นี้แล ไม่ควรประณาม. ดูกรภิกษุทั้งหลาย อันเตวาสิกผู้ประกอบด้วยองค์ ๕ อาจารย์เมื่อไม่ประณาม มีโทษ เมื่อประณาม ไม่มีโทษ คือ ๑. หาความรักใคร่อย่างยิ่งในอาจารย์มิได้ ๒. หาความเลื่อมใสอย่างยิ่งมิได้ ๓. หาความละอายอย่างยิ่งมิได้ ๔. หาความเคารพอย่างยิ่งมิได้ และ ๕. หาความหวังดีต่ออย่างยิ่งมิได้ ดูกรภิกษุทั้งหลาย อันเตวาสิกผู้ประกอบด้วยองค์ ๕ นี้แล อาจารย์เมื่อไม่ประณาม มีโทษ เมื่อประณาม ไม่มีโทษ. ดูกรภิกษุทั้งหลาย อันเตวาสิกผู้ประกอบด้วยองค์ ๕ อาจารย์เมื่อประณามมีโทษ เมื่อไม่ประณาม ไม่มีโทษ คือ ๑. มีความรักใคร่อย่างยิ่งในอาจารย์ ๒. มีความเลื่อมใสอย่างยิ่ง ๓. มีความละอายอย่างยิ่ง ๔. มีความเคารพอย่างยิ่ง และ ๕. มีความหวังดีต่ออย่างยิ่ง ดูกรภิกษุทั้งหลาย อันเตวาสิกผู้ประกอบด้วยองค์ ๕ นี้แล อาจารย์เมื่อประณาม มีโทษ เมื่อไม่ประณาม ไม่มีโทษ. 
‘สาหูติ’ วา ‘ลหูติ’ วา ‘โอปายิก’นฺติ วา ‘ปติรูป’นฺติ วา ‘ปาสาทิเกน สมฺปาเทหี’ติ วา กาเยน วิญฺญาเปติ วาจาย วิญฺญาเปติ กาเยน วาจาย วิญฺญาเปติ คหิโต โหติ อาจริโย น กาเยน วิญฺญาเปติ น วาจาย วิญฺญาเปติ น กาเยน วาจาย วิญฺญาเปติ น คหิโต โหติ อาจริโย. 
||34|| 
At that time the antevâsikas did not observe a proper conduct towards their âkariyas (&c., as in chap. 27. 1-8). 
๗๘. “อนฺเตวาสิเกน ภิกฺขเว อาจริยมฺหิ สมฺมา วตฺติตพฺพํ. ตตฺรายํ สมฺมาวตฺตนา 
tena kho pana samayena bhikkhū dasavass’ amhā dasavass’ amhā ’ti bālā avyattā nissayaṃ denti, dissanti ācariyā bālā, antevāsikā paṇḍitā, dissanti ācariyā avyattā, antevāsikā vyattā, dissanti ācariyā appassutā, antevāsikā bahussutā, dissanti ācariyā duppaññā, antevāsikā paññavanto.  ye te bhikkhū appi-(62)cchā, te ujjhāyanti khīyanti vipācenti: kathaṃ hi nāma bhikkhū dasavass’ amhā dasavass’ amhā ’ti bālā avyattā nissayaṃ dassanti, dissanti ācariyā bālā . . . antevāsikā paññavanto ’ti. |1| 
At that time ignorant, unlearned Bhikkhus (who said), 'We have completed ten years (since our upasampadâ), we have completed ten years,' gave a nissaya (i.e. they received young Bhikkhus as their antevâsikas); (thus) ignorant âkariyas were found and clever antevâsikas; unlearned âkariyas were found and learned antevâsikas; âkariyas were found who had small knowIedge, and antevâsikas who had great knowledgc; foolish âkariyas were found and wise antevâsikas. 
การให้นิสสัย [๙๖] ก็โดยสมัยนั้นแล ภิกษุทั้งหลายคิดว่า เรามีพรรษาได้ ๑๐ แล้ว เรามีพรรษาได้ ๑๐ แล้ว ดังนี้ แต่ยังเป็นผู้เขลา ไม่เฉียบแหลม ย่อมให้นิสสัย ปรากฏว่าพวกอาจารย์เป็นผู้เขลา พวกอันเตวาสิกเป็นผู้ฉลาด ปรากฏว่าพวกอาจารย์เป็นผู้ไม่เฉียบแหลม พวกอันเตวาสิกเป็นผู้เฉียบแหลม ปรากฏว่าพวกอาจารย์เป็นผู้ได้ยินได้ฟังน้อย พวกอันเตวาสิกเป็นผู้ได้ยินได้ฟังมาก ปรากฏว่าพวกอาจารย์เป็นผู้มีปัญญาทราม พวกอันเตวาสิกเป็นผู้มีปัญญา.  บรรดาภิกษุที่เป็นผู้มักน้อย ... ต่างก็เพ่งโทษ ติเตียน โพนทะนาว่า ไฉนภิกษุทั้งหลายจึงได้อ้างว่า เรามีพรรษาได้ ๑๐ แล้ว เรามีพรรษาได้ ๑๐ แล้ว ดังนี้ แต่ยังเป็นผู้เขลา ไม่เฉียบแหลม ให้นิสสัย ปรากฏว่าพวกอาจารย์เป็นผู้เขลา พวกอันเตวาสิกเป็นผู้ฉลาด ปรากฏว่าพวกอาจารย์เป็นผู้ไม่เฉียบแหลม พวกอันเตวาสิกเป็นผู้เฉียบแหลม ปรากฏว่าพวกอาจารย์เป็นผู้ได้ยินได้ฟังน้อย พวกอันเตวาสิกเป็นผู้ได้ยินได้ฟังมาก ปรากฏว่าพวกอาจารย์เป็นผู้มีปัญญาทราม พวกอันเตวาสิกเป็นผู้มีปัญญา 
“กาลสฺเสว อุฏฺฐาย อุปาหนํ โอมุญฺจิตฺวา เอกํสํ อุตฺตราสงฺคํ กริตฺวา ทนฺตกฏฺฐํ ทาตพฺพํ มุโขทกํ ทาตพฺพํ อาสนํ ปญฺญเปตพฺพํ.  สเจ ยาคุ โหติ ภาชนํ โธวิตฺวา ยาคุ อุปนาเมตพฺพา 
atha kho te bhikkhū bhagavato etam atthaṃ ārocesuṃ.  saccaṃ kira bhikkhave dasavass’ amhā dasavass’ amhā ’ti bālā avyattā nissayaṃ dentīti.  saccaṃ bhagavā.  vigarahi buddho bhagavā.  vigarahitvā dhammiṃ kathaṃ katvā bhikkhū āmantesi: na bhikkhave bālena avyattena nissayo dātabbo. yo dadeyya, āpatti dukkaṭassa.  anujānāmi bhikkhave vyattena bhikkhunā paṭibalena dasavassena vā atirekadasavassena vā nissayaṃ dātun ti. |2| 
The moderate Bhikkhus were annoyed (&c., as in chap. 31, 7, 8).          'Let no ignorant, unlearned Bhikkhu, O Bhikkhus, give a nissaya. If he does, he is guilty of a dukkata offence. 
แล้วกราบทูลเรื่องนั้น แด่พระผู้มีพระภาค.  ทรงสอบถาม // พระผู้มีพระภาคทรงสอบถามว่า ดูกรภิกษุทั้งหลาย ข่าวว่าภิกษุทั้งหลายอ้างว่า เรามีพรรษาได้ ๑๐ แล้ว เรามีพรรษาได้ ๑๐ แล้ว ดังนี้ แต่ยังเป็นผู้เขลา ไม่เฉียบแหลม ให้นิสสัย ปรากฏว่าพวกอาจารย์เป็นผู้เขลา ... พวกอันเตวาสิก เป็นผู้มีปัญญา จริงหรือ?  ภิกษุทั้งหลายทูลรับว่า จริง พระพุทธเจ้าข้า.  ทรงติเตียน // พระผู้มีพระภาคพุทธเจ้าทรงติเตียน ...  ครั้นแล้วทรงทำธรรมีกถารับสั่งกะภิกษุทั้งหลายว่า ดูกรภิกษุทั้งหลาย ภิกษุผู้เขลา ไม่เฉียบแหลม ไม่พึงให้นิสสัย รูปใดให้ ต้องอาบัติทุกกฏ.  ดูกรภิกษุทั้งหลาย เราอนุญาตให้ภิกษุผู้ฉลาด ผู้สามารถ มีพรรษาได้ ๑๐ หรือมีพรรษาเกิน ๑๐ ให้นิสสัย. 
ยาคุํ ปีตสฺส อุทกํ ทตฺวา ภาชนํ ปฏิคฺคเหตฺวา นีจํ กตฺวา สาธุกํ อปฺปฏิฆํสนฺเตน โธวิตฺวา ปฏิสาเมตพฺพํ. อาจริยมฺหิ วุฏฺฐิเต อาสนํ อุทฺธริตพฺพํ. สเจ โส เทโส อุกฺลาโป โหติ โส เทโส สมฺมชฺชิตพฺโพ. “สเจ อาจริโย คามํ ปวิสิตุกาโม โหติ นิวาสนํ ทาตพฺพํ ปฏินิวาสนํ ปฏิคฺคเหตพฺพํ กายพนฺธนํ ทาตพฺพํ สคุณํ กตฺวา สงฺฆาฏิโย ทาตพฺพา โธวิตฺวา ปตฺโต โสทโก ทาตพฺโพ. สเจ อาจริโย ปจฺฉาสมณํ อากงฺขติ ติมณฺฑลํ ปฏิจฺฉาเทนฺเตน ปริมณฺฑลํ นิวาเสตฺวา กายพนฺธนํ พนฺธิตฺวา สคุณํ กตฺวา สงฺฆาฏิโย ปารุปิตฺวา คณฺฐิกํ ปฏิมุญฺจิตฺวา โธวิตฺวา ปตฺตํ คเหตฺวา อาจริยสฺส ปจฺฉาสมเณน โหตพฺพํ. นาติทูเร คนฺตพฺพํ นาจฺจาสนฺเน คนฺตพฺพํ ปตฺตปริยาปนฺนํ ปฏิคฺคเหตพฺพํ. น อาจริยสฺส ภณมานสฺส อนฺตรนฺตรา กถา โอปาเตตพฺพา. อาจริโย อาปตฺติสามนฺตา ภณมาโน นิวาเรตพฺโพ. “นิวตฺตนฺเตน ปฐมตรํ อาคนฺตฺวา อาสนํ ปญฺญเปตพฺพํ ปาโททกํ ปาทปีฐํ ปาทกถลิกํ อุปนิกฺขิปิตพฺพํ ปจฺจุคฺคนฺตฺวา ปตฺตจีวรํ ปฏิคฺคเหตพฺพํ ปฏินิวาสนํ ทาตพฺพํ นิวาสนํ ปฏิคฺคเหตพฺพํ. สเจ จีวรํ สินฺนํ โหติ มุหุตฺตํ อุณฺเห โอตาเปตพฺพํ น จ อุณฺเห จีวรํ นิทหิตพฺพํ. จีวรํ สงฺฆริตพฺพํ. จีวรํ สงฺฆรนฺเตน จตุรงฺคุลํ กณฺณํ อุสฺสาเรตฺวา จีวรํ สงฺฆริตพฺพํ มา มชฺเฌ ภงฺโค อโหสีติ. โอโภเค กายพนฺธนํ กาตพฺพํ. “สเจ ปิณฺฑปาโต โหติ อาจริโย จ ภุญฺชิตุกาโม โหติ อุทกํ ทตฺวา ปิณฺฑปาโต อุปนาเมตพฺโพ. อาจริโย ปานีเยน ปุจฺฉิตพฺโพ. ภุตฺตาวิสฺส อุทกํ ทตฺวา ปตฺตํ ปฏิคฺคเหตฺวา นีจํ กตฺวา สาธุกํ อปฺปฏิฆํสนฺเตน โธวิตฺวา โวทกํ กตฺวา มุหุตฺตํ อุณฺเห โอตาเปตพฺโพ น จ อุณฺเห ปตฺโต นิทหิตพฺโพ. ปตฺตจีวรํ นิกฺขิปิตพฺพํ. ปตฺตํ นิกฺขิปนฺเตน เอเกน หตฺเถน ปตฺตํ คเหตฺวา เอเกน หตฺเถน เหฏฺฐามญฺจํ วา เหฏฺฐาปีฐํ วา ปรามสิตฺวา ปตฺโต นิกฺขิปิตพฺโพ. น จ อนนฺตรหิตาย ภูมิยา ปตฺโต นิกฺขิปิตพฺโพ. จีวรํ นิกฺขิปนฺเตน เอเกน หตฺเถน จีวรํ คเหตฺวา เอเกน หตฺเถน จีวรวํสํ วา จีวรรชฺชุํ วา ปมชฺชิตฺวา ปารโต อนฺตํ โอรโต โภคํ กตฺวา จีวรํ นิกฺขิปิตพฺพํ. อาจริยมฺหิ วุฏฺฐิเต อาสนํ อุทฺธริตพฺพํ ปาโททกํ ปาทปีฐํ ปาทกถลิกํ ปฏิสาเมตพฺพํ. สเจ โส เทโส อุกฺลาโป โหติ โส เทโส สมฺมชฺชิตพฺโพ. “สเจ อาจริโย นหายิตุกาโม โหติ นหานํ ปฏิยาเทตพฺพํ. สเจ สีเตน อตฺโถ โหติ สีตํ ปฏิยาเทตพฺพํ. สเจ อุณฺเหน อตฺโถ โหติ อุณฺหํ ปฏิยาเทตพฺพํ. “สเจ อาจริโย ชนฺตาฆรํ ปวิสิตุกาโม โหติ จุณฺณํ สนฺเนตพฺพํ มตฺติกา เตเมตพฺพา ชนฺตาฆรปีฐํ อาทาย อาจริยสฺส ปิฏฺฐิโต ปิฏฺฐิโต คนฺตฺวา ชนฺตาฆรปีฐํ ทตฺวา จีวรํ ปฏิคฺคเหตฺวา เอกมนฺตํ นิกฺขิปิตพฺพํ จุณฺณํ ทาตพฺพํ มตฺติกา ทาตพฺพา. สเจ อุสฺสหติ ชนฺตาฆรํ ปวิสิตพฺพํ. ชนฺตาฆรํ ปวิสนฺเตน มตฺติกาย มุขํ มกฺเขตฺวา ปุรโต จ ปจฺฉโต จ ปฏิจฺฉาเทตฺวา ชนฺตาฆรํ ปวิสิตพฺพํ. น เถเร ภิกฺขู อนุปขชฺช นิสีทิตพฺพํ. น นวา ภิกฺขู อาสเนน ปฏิพาหิตพฺพา. ชนฺตาฆเร อาจริยสฺส ปริกมฺมํ กาตพฺพํ. ชนฺตาฆรา นิกฺขมนฺเตน ชนฺตาฆรปีฐํ อาทาย ปุรโต จ ปจฺฉโต จ ปฏิจฺฉาเทตฺวา ชนฺตาฆรา นิกฺขมิตพฺพํ. “อุทเกปิ อาจริยสฺส ปริกมฺมํ กาตพฺพํ. นหาเตน ปฐมตรํ อุตฺตริตฺวา อตฺตโน คตฺตํ โวทกํ กตฺวา นิวาเสตฺวา อาจริยสฺส คตฺตโต อุทกํ ปมชฺชิตพฺพํ นิวาสนํ ทาตพฺพํ สงฺฆาฏิ ทาตพฺพา ชนฺตาฆรปีฐํ อาทาย ปฐมตรํ อาคนฺตฺวา อาสนํ ปญฺญเปตพฺพํ ปาโททกํ ปาทปีฐํ ปาทกถลิกํ อุปนิกฺขิปิตพฺพํ. อาจริโย ปานีเยน ปุจฺฉิตพฺโพ. สเจ อุทฺทิสาเปตุกาโม โหติ อุทฺทิสาเปตพฺโพ. สเจ ปริปุจฺฉิตุกาโม โหติ ปริปุจฺฉิตพฺโพ. “ยสฺมึ วิหาเร อาจริโย วิหรติ สเจ โส วิหาโร อุกฺลาโป โหติ สเจ อุสฺสหติ โสเธตพฺโพ. วิหารํ โสเธนฺเตน ปฐมํ ปตฺตจีวรํ นีหริตฺวา เอกมนฺตํ นิกฺขิปิตพฺพํ นิสีทนปจฺจตฺถรณํ นีหริตฺวา เอกมนฺตํ นิกฺขิปิตพฺพํ ภิสิพิพฺโพหนํ นีหริตฺวา เอกมนฺตํ นิกฺขิปิตพฺพํ มญฺโจ นีจํ กตฺวา สาธุกํ อปฺปฏิฆํสนฺเตน อสงฺฆฏฺเฏนฺเตน กวาฏปิฏฺฐํ นีหริตฺวา เอกมนฺตํ นิกฺขิปิตพฺโพ ปีฐํ นีจํ กตฺวา สาธุกํ อปฺปฏิฆํสนฺเตน อสงฺฆฏฺเฏนฺเตน กวาฏปิฏฺฐํ นีหริตฺวา เอกมนฺตํ นิกฺขิปิตพฺพํ มญฺจปฏิปาทกา นีหริตฺวา เอกมนฺตํ นิกฺขิปิตพฺพา เขฬมลฺลโก นีหริตฺวา เอกมนฺตํ นิกฺขิปิตพฺโพ อปสฺเสนผลกํ นีหริตฺวา เอกมนฺตํ นิกฺขิปิตพฺพํ ภูมตฺถรณํ ยถาปญฺญตฺตํ สลฺลกฺเขตฺวา นีหริตฺวา เอกมนฺตํ นิกฺขิปิตพฺพํ. สเจ วิหาเร สนฺตานกํ โหติ อุลฺโลกา ปฐมํ โอหาเรตพฺพํ อาโลกสนฺธิกณฺณภาคา ปมชฺชิตพฺพา. สเจ เครุกปริกมฺมกตา ภิตฺติ กณฺณกิตา โหติ โจฬกํ เตเมตฺวา ปีเฬตฺวา ปมชฺชิตพฺพา. สเจ กาฬวณฺณกตา ภูมิ กณฺณกิตา โหติ โจฬกํ เตเมตฺวา ปีเฬตฺวา ปมชฺชิตพฺพา. สเจ อกตา โหติ ภูมิ อุทเกน ปริปฺโผสิตฺวา สมฺมชฺชิตพฺพา มา วิหาโร รเชน อุหญฺญีติ. สงฺการํ วิจินิตฺวา เอกมนฺตํ ฉฑฺเฑตพฺพํ. “ภูมตฺถรณํ โอตาเปตฺวา โสเธตฺวา ปปฺโผเฏตฺวา อติหริตฺวา ยถาปญฺญตฺตํ ปญฺญเปตพฺพํ. มญฺจปฏิปาทกา โอตาเปตฺวา ปมชฺชิตฺวา อติหริตฺวา ยถาฐาเน ฐเปตพฺพา. มญฺโจ โอตาเปตฺวา โสเธตฺวา ปปฺโผเฏตฺวา นีจํ กตฺวา สาธุกํ อปฺปฏิฆํสนฺเตน อสงฺฆฏฺเฏนฺเตน กวาฏปิฏฺฐํ อติหริตฺวา ยถาปญฺญตฺตํ ปญฺญเปตพฺโพ. ปีฐํ โอตาเปตฺวา โสเธตฺวา ปปฺโผเฏตฺวา นีจํ กตฺวา สาธุกํ อปฺปฏิฆํสนฺเตน อสงฺฆฏฺเฏนฺเตน กวาฏปิฏฺฐํ อติหริตฺวา ยถาปญฺญตฺตํ ปญฺญเปตพฺพํ. ภิสิพิพฺโพหนํ โอตาเปตฺวา โสเธตฺวา ปปฺโผเฏตฺวา อติหริตฺวา ยถาปญฺญตฺตํ ปญฺญเปตพฺพํ. นิสีทนปจฺจตฺถรณํ โอตาเปตฺวา โสเธตฺวา ปปฺโผเฏตฺวา อติหริตฺวา ยถาปญฺญตฺตํ ปญฺญเปตพฺพํ. เขฬมลฺลโก โอตาเปตฺวา ปมชฺชิตฺวา อติหริตฺวา ยถาฐาเน ฐเปตพฺโพ อปสฺเสนผลกํ โอตาเปตฺวา ปมชฺชิตฺวา อติหริตฺวา ยถาฐาเน ฐเปตพฺพํ. ปตฺตจีวรํ นิกฺขิปิตพฺพํ. ปตฺตํ นิกฺขิปนฺเตน เอเกน หตฺเถน ปตฺตํ คเหตฺวา เอเกน หตฺเถน เหฏฺฐามญฺจํ วา เหฏฺฐาปีฐํ วา ปรามสิตฺวา ปตฺโต นิกฺขิปิตพฺโพ. น จ อนนฺตรหิตาย ภูมิยา ปตฺโต นิกฺขิปิตพฺโพ. จีวรํ นิกฺขิปนฺเตน เอเกน หตฺเถน จีวรํ คเหตฺวา เอเกน หตฺเถน จีวรวํสํ วา จีวรรชฺชุํ วา ปมชฺชิตฺวา ปารโต อนฺตํ โอรโต โภคํ กตฺวา จีวรํ นิกฺขิปิตพฺพํ. “สเจ ปุรตฺถิมา สรชา วาตา วายนฺติ ปุรตฺถิมา วาตปานา ถเกตพฺพา. สเจ ปจฺฉิมา สรชา วาตา วายนฺติ ปจฺฉิมา วาตปานา ถเกตพฺพา. สเจ อุตฺตรา สรชา วาตา วายนฺติ อุตฺตรา วาตปานา ถเกตพฺพา สเจ ทกฺขิณา สรชา วาตา วายนฺติ ทกฺขิณา วาตปานา ถเกตพฺพา. สเจ สีตกาโล โหติ ทิวา วาตปานา วิวริตพฺพา รตฺตึ ถเกตพฺพา. สเจ อุณฺหกาโล โหติ ทิวา วาตปานา ถเกตพฺพา รตฺตึ วิวริตพฺพา. “สเจ ปริเวณํ อุกฺลาปํ โหติ ปริเวณํ สมฺมชฺชิตพฺพํ. สเจ โกฏฺฐโก อุกฺลาโป โหติ โกฏฺฐโก สมฺมชฺชิตพฺโพ. สเจ อุปฏฺฐานสาลา อุกฺลาปา โหติ อุปฏฺฐานสาลา สมฺมชฺชิตพฺพา. สเจ อคฺคิสาลา อุกฺลาปา โหติ อคฺคิสาลา สมฺมชฺชิตพฺพา. สเจ วจฺจกุฏิ อุกฺลาปา โหติ วจฺจกุฏิ สมฺมชฺชิตพฺพา. สเจ ปานียํ น โหติ ปานียํ อุปฏฺฐาเปตพฺพํ. สเจ ปริโภชนียํ น โหติ ปริโภชนียํ อุปฏฺฐาเปตพฺพํ สเจ อาจมนกุมฺภิยํ อุทกํ น โหติ อาจมนกุมฺภิยา อุทกํ อาสิญฺจิตพฺพํ. “สเจ อาจริยสฺส อนภิรติ อุปฺปนฺนา โหติ อนฺเตวาสิเกน วูปกาเสตพฺโพ วูปกาสาเปตพฺโพ ธมฺมกถา วาสฺส กาตพฺพา. สเจ อาจริยสฺส กุกฺกุจฺจํ อุปฺปนฺนํ โหติ อนฺเตวาสิเกน วิโนเทตพฺพํ วิโนทาเปตพฺพํ ธมฺมกถา วาสฺส กาตพฺพา. สเจ อาจริยสฺส ทิฏฺฐิคตํ อุปฺปนฺนํ โหติ อนฺเตวาสิเกน วิเวเจตพฺพํ วิเวจาเปตพฺพํ ธมฺมกถา วาสฺส กาตพฺพา. สเจ อาจริโย ครุธมฺมํ อชฺฌาปนฺโน โหติ ปริวาสารโห อนฺเตวาสิเกน อุสฺสุกฺกํ กาตพฺพํ กินฺติ นุ โข สงฺโฆ อาจริยสฺส ปริวาสํ ทเทยฺยาติ. สเจ อาจริโย มูลาย ปฏิกสฺสนารโห โหติ อนฺเตวาสิเกน อุสฺสุกฺกํ กาตพฺพํ กินฺติ นุ โข สงฺโฆ อาจริยํ มูลาย ปฏิกสฺเสยฺยาติ. สเจ อาจริโย มานตฺตารโห โหติ อนฺเตวาสิเกน อุสฺสุกฺกํ กาตพฺพํ กินฺติ นุ โข สงฺโฆ อาจริยสฺส มานตฺตํ ทเทยฺยาติ. สเจ อาจริโย อพฺภานารโห โหติ อนฺเตวาสิเกน อุสฺสุกฺกํ กาตพฺพํ กินฺติ นุ โข สงฺโฆ อาจริยํ อพฺเภยฺยาติ สเจ สงฺโฆ อาจริยสฺส กมฺมํ กตฺตุกาโม โหติ ตชฺชนียํ วา นิยสฺสํ วา ปพฺพาชนียํ วา ปฏิสารณียํ วา อุกฺเขปนียํ วา อนฺเตวาสิเกน อุสฺสุกฺกํ กาตพฺพํ กินฺติ นุ โข สงฺโฆ อาจริยสฺส กมฺมํ น กเรยฺย ลหุกาย วา ปริณาเมยฺยาติ. กตํ วา ปนสฺส โหติ สงฺเฆน กมฺมํ ตชฺชนียํ วา นิยสฺสํ วา ปพฺพาชนียํ วา ปฏิสารณียํ วา อุกฺเขปนียํ วา อนฺเตวาสิเกน อุสฺสุกฺกํ กาตพฺพํ กินฺติ นุ โข อาจริโย สมฺมา วตฺเตยฺย โลมํ ปาเตยฺย เนตฺถารํ วตฺเตยฺย สงฺโฆ ตํ กมฺมํ ปฏิปฺปสฺสมฺเภยฺยาติ. “สเจ อาจริยสฺส จีวรํ โธวิตพฺพํ โหติ อนฺเตวาสิเกน โธวิตพฺพํ อุสฺสุกฺกํ วา กาตพฺพํ กินฺติ นุ โข อาจริยสฺส จีวรํ โธวิเยถาติ. สเจ อาจริยสฺส จีวรํ กาตพฺพํ โหติ อนฺเตวาสิเกน กาตพฺพํ อุสฺสุกฺกํ วา กาตพฺพํ กินฺติ นุ โข อาจริยสฺส จีวรํ กริเยถาติ. สเจ อาจริยสฺส รชนํ ปจิตพฺพํ โหติ อนฺเตวาสิเกน ปจิตพฺพํ อุสฺสุกฺกํ วา กาตพฺพํ กินฺติ นุ โข อาจริยสฺส รชนํ ปจิเยถาติ. สเจ อาจริยสฺส จีวรํ รชิตพฺพํ โหติ อนฺเตวาสิเกน รชิตพฺพํ อุสฺสุกฺกํ วา กาตพฺพํ กินฺติ นุ โข อาจริยสฺส จีวรํ รชิเยถาติ. จีวรํ รชนฺเตน สาธุกํ สมฺปริวตฺตกํ สมฺปริวตฺตกํ รชิตพฺพํ น จ อจฺฉินฺเน เถเว ปกฺกมิตพฺพํ. “น อาจริยํ อนาปุจฺฉา เอกจฺจสฺส ปตฺโต ทาตพฺโพ น เอกจฺจสฺส ปตฺโต ปฏิคฺคเหตพฺโพ น เอกจฺจสฺส จีวรํ ทาตพฺพํ น เอกจฺจสฺส จีวรํ ปฏิคฺคเหตพฺพํ น เอกจฺจสฺส ปริกฺขาโร ทาตพฺโพ น เอกจฺจสฺส ปริกฺขาโร ปฏิคฺคเหตพฺโพ น เอกจฺจสฺส เกสา เฉเทตพฺพา น เอกจฺเจน เกสา เฉทาเปตพฺพา น เอกจฺจสฺส ปริกมฺมํ กาตพฺพํ น เอกจฺเจน ปริกมฺมํ การาเปตพฺพํ น เอกจฺจสฺส เวยฺยาวจฺโจ กาตพฺโพ น เอกจฺเจน เวยฺยาวจฺโจ การาเปตพฺโพ น เอกจฺจสฺส ปจฺฉาสมเณน โหตพฺพํ น เอกจฺโจ ปจฺฉาสมโณ อาทาตพฺโพ น เอกจฺจสฺส ปิณฺฑปาโต นีหริตพฺโพ น เอกจฺเจน ปิณฺฑปาโต นีหราเปตพฺโพ. น อาจริยํ อนาปุจฺฉา คาโม ปวิสิตพฺโพ น สุสานํ คนฺตพฺพํ น ทิสา ปกฺกมิตพฺพา. สเจ อาจริโย คิลาโน โหติ ยาวชีวํ อุปฏฺฐาตพฺโพ วุฏฺฐานมสฺส อาคเมตพฺพ”นฺติ.  อาจริยวตฺตํ นิฏฺฐิตํ.  ๑๙. อนฺเตวาสิกวตฺตกถา  ๗๙. “อาจริเยน ภิกฺขเว อนฺเตวาสิกมฺหิ สมฺมา วตฺติตพฺพํ. ตตฺรายํ สมฺมาวตฺตนา  “อาจริเยน ภิกฺขเว อนฺเตวาสิโก สงฺคเหตพฺโพ อนุคฺคเหตพฺโพ อุทฺเทเสน ปริปุจฺฉาย โอวาเทน อนุสาสนิยา. สเจ อาจริยสฺส ปตฺโต โหติ อนฺเตวาสิกสฺส ปตฺโต น โหติ อาจริเยน อนฺเตวาสิกสฺส ปตฺโต ทาตพฺโพ อุสฺสุกฺกํ วา กาตพฺพํ กินฺติ นุ โข อนฺเตวาสิกสฺส ปตฺโต อุปฺปชฺชิเยถาติ.  สเจ อาจริยสฺส จีวรํ โหติ อนฺเตวาสิกสฺส จีวรํ น โหติ อาจริเยน อนฺเตวาสิกสฺส จีวรํ ทาตพฺพํ อุสฺสุกฺกํ วา กาตพฺพํ กินฺติ นุ โข อนฺเตวาสิกสฺส จีวรํ อุปฺปชฺชิเยถาติ. สเจ อาจริยสฺส ปริกฺขาโร โหติ อนฺเตวาสิกสฺส ปริกฺขาโร น โหติ อาจริเยน อนฺเตวาสิกสฺส ปริกฺขาโร ทาตพฺโพ อุสฺสุกฺกํ วา กาตพฺพํ กินฺติ นุ โข อนฺเตวาสิกสฺส ปริกฺขาโร อุปฺปชฺชิเยถาติ. “สเจ อนฺเตวาสิโก คิลาโน โหติ กาลสฺเสว อุฏฺฐาย ทนฺตกฏฺฐํ ทาตพฺพํ มุโขทกํ ทาตพฺพํ อาสนํ ปญฺญเปตพฺพํ. สเจ ยาคุ โหติ ภาชนํ โธวิตฺวา ยาคุ อุปนาเมตพฺพา. ยาคุํ ปีตสฺส อุทกํ ทตฺวา ภาชนํ ปฏิคฺคเหตฺวา นีจํ กตฺวา สาธุกํ อปฺปฏิฆํสนฺเตน โธวิตฺวา ปฏิสาเมตพฺพํ. อนฺเตวาสิกมฺหิ วุฏฺฐิเต อาสนํ อุทฺธริตพฺพํ. สเจ โส เทโส อุกฺลาโป โหติ โส เทโส สมฺมชฺชิตพฺโพ. “สเจ อนฺเตวาสิโก คามํ ปวิสิตุกาโม โหติ นิวาสนํ ทาตพฺพํ ปฏินิวาสนํ ปฏิคฺคเหตพฺพํ กายพนฺธนํ ทาตพฺพํ สคุณํ กตฺวา สงฺฆาฏิโย ทาตพฺพา โธวิตฺวา ปตฺโต โสทโก ทาตพฺโพ. “เอตฺตาวตา นิวตฺติสฺสตีติ อาสนํ ปญฺญเปตพฺพํ ปาโททกํ ปาทปีฐํ ปาทกถลิกํ อุปนิกฺขิปิตพฺพํ ปจฺจุคฺคนฺตฺวา ปตฺตจีวรํ ปฏิคฺคเหตพฺพํ ปฏินิวาสนํ ทาตพฺพํ นิวาสนํ ปฏิคฺคเหตพฺพํ. สเจ จีวรํ สินฺนํ โหติ มุหุตฺตํ อุณฺเห โอตาเปตพฺพํ น จ อุณฺเห จีวรํ นิทหิตพฺพํ. จีวรํ สงฺฆริตพฺพํ. จีวรํ สงฺฆรนฺเตน จตุรงฺคุลํ กณฺณํ อุสฺสาเรตฺวา จีวรํ สงฺฆริตพฺพํ มา มชฺเฌ ภงฺโค อโหสีติ. โอโภเค กายพนฺธนํ กาตพฺพํ. “สเจ ปิณฺฑปาโต โหติ อนฺเตวาสิโก จ ภุญฺชิตุกาโม โหติ อุทกํ ทตฺวา ปิณฺฑปาโต อุปนาเมตพฺโพ. อนฺเตวาสิโก ปานีเยน ปุจฺฉิตพฺโพ. ภุตฺตาวิสฺส อุทกํ ทตฺวา ปตฺตํ ปฏิคฺคเหตฺวา นีจํ กตฺวา สาธุกํ อปฺปฏิฆํสนฺเตน โธวิตฺวา โวทกํ กตฺวา มุหุตฺตํ อุณฺเห โอตาเปตพฺโพ น จ อุณฺเห ปตฺโต นิทหิตพฺโพ. ปตฺตจีวรํ นิกฺขิปิตพฺพํ. ปตฺตํ นิกฺขิปนฺเตน เอเกน หตฺเถน ปตฺตํ คเหตฺวา เอเกน หตฺเถน เหฏฺฐามญฺจํ วา เหฏฺฐาปีฐํ วา ปรามสิตฺวา ปตฺโต นิกฺขิปิตพฺโพ. น จ อนนฺตรหิตาย ภูมิยา ปตฺโต นิกฺขิปิตพฺโพ. จีวรํ นิกฺขิปนฺเตน เอเกน หตฺเถน จีวรํ คเหตฺวา เอเกน หตฺเถน จีวรวํสํ วา จีวรรชฺชุํ วา ปมชฺชิตฺวา ปารโต อนฺตํ โอรโต โภคํ กตฺวา จีวรํ นิกฺขิปิตพฺพํ. อนฺเตวาสิกมฺหิ วุฏฺฐิเต อาสนํ อุทฺธริตพฺพํ ปาโททกํ ปาทปีฐํ ปาทกถลิกํ ปฏิสาเมตพฺพํ. สเจ โส เทโส อุกฺลาโป โหติ โส เทโส สมฺมชฺชิตพฺโพ. “สเจ อนฺเตวาสิโก นหายิตุกาโม โหติ นหานํ ปฏิยาเทตพฺพํ. สเจ สีเตน อตฺโถ โหติ สีตํ ปฏิยาเทตพฺพํ. สเจ อุณฺเหน อตฺโถ โหติ อุณฺหํ ปฏิยาเทตพฺพํ. “สเจ อนฺเตวาสิโก ชนฺตาฆรํ ปวิสิตุกาโม โหติ จุณฺณํ สนฺเนตพฺพํ มตฺติกา เตเมตพฺพา ชนฺตาฆรปีฐํ อาทาย คนฺตฺวา ชนฺตาฆรปีฐํ ทตฺวา จีวรํ ปฏิคฺคเหตฺวา เอกมนฺตํ นิกฺขิปิตพฺพํ จุณฺณํ ทาตพฺพํ มตฺติกา ทาตพฺพา. สเจ อุสฺสหติ ชนฺตาฆรํ ปวิสิตพฺพํ. ชนฺตาฆรํ ปวิสนฺเตน มตฺติกาย มุขํ มกฺเขตฺวา ปุรโต จ ปจฺฉโต จ ปฏิจฺฉาเทตฺวา ชนฺตาฆรํ ปวิสิตพฺพํ. น จ เถเร ภิกฺขู อนุปขชฺช นิสีทิตพฺพํ น นวา ภิกฺขู อาสเนน ปฏิพาหิตพฺพา. ชนฺตาฆเร อนฺเตวาสิกสฺส ปริกมฺมํ กาตพฺพํ. ชนฺตาฆรา นิกฺขมนฺเตน ชนฺตาฆรปีฐํ อาทาย ปุรโต จ ปจฺฉโต จ ปฏิจฺฉาเทตฺวา ชนฺตาฆรา นิกฺขมิตพฺพํ. “อุทเกปิ อนฺเตวาสิกสฺส ปริกมฺมํ กาตพฺพํ. นหาเตน ปฐมตรํ อุตฺตริตฺวา อตฺตโน คตฺตํ โวทกํ กตฺวา นิวาเสตฺวา อนฺเตวาสิกสฺส คตฺตโต อุทกํ ปมชฺชิตพฺพํ นิวาสนํ ทาตพฺพํ สงฺฆาฏิ ทาตพฺพา ชนฺตาฆรปีฐํ อาทาย ปฐมตรํ อาคนฺตฺวา อาสนํ ปญฺญเปตพฺพํ ปาโททกํ ปาทปีฐํ ปาทกถลิกํ อุปนิกฺขิปิตพฺพํ. อนฺเตวาสิโก ปานีเยน ปุจฺฉิตพฺโพ. “ยสฺมึ วิหาเร อนฺเตวาสิโก วิหรติ สเจ โส วิหาโร อุกฺลาโป โหติ สเจ อุสฺสหติ โสเธตพฺโพ. วิหารํ โสเธนฺเตน ปฐมํ ปตฺตจีวรํ นีหริตฺวา เอกมนฺตํ นิกฺขิปิตพฺพํ นิสีทนปจฺจตฺถรณํ นีหริตฺวา เอกมนฺตํ นิกฺขิปิตพฺพํ ภิสิพิพฺโพหนํ นีหริตฺวา เอกมนฺตํ นิกฺขิปิตพฺพํ มญฺโจ นีจํ กตฺวา สาธุกํ อปฺปฏิฆํสนฺเตน อสงฺฆฏฺเฏนฺเตน กวาฏปิฏฺฐํ นีหริตฺวา เอกมนฺตํ นิกฺขิปิตพฺโพ ปีฐํ นีจํ กตฺวา สาธุกํ อปฺปฏิฆํสนฺเตน อสงฺฆฏฺเฏนฺเตน กวาฏปิฏฺฐํ นีหริตฺวา เอกมนฺตํ นิกฺขิปิตพฺพํ มญฺจปฏิปาทกา นีหริตฺวา เอกมนฺตํ นิกฺขิปิตพฺพา เขฬมลฺลโก นีหริตฺวา เอกมนฺตํ นิกฺขิปิตพฺโพ อปสฺเสนผลกํ นีหริตฺวา เอกมนฺตํ นิกฺขิปิตพฺพํ ภูมตฺถรณํ ยถาปญฺญตฺตํ สลฺลกฺเขตฺวา นีหริตฺวา เอกมนฺตํ นิกฺขิปิตพฺพํ. สเจ วิหาเร สนฺตานกํ โหติ อุลฺโลกา ปฐมํ โอตาเรตพฺพํ อาโลกสนฺธิกณฺณภาคา ปมชฺชิตพฺพา. สเจ เครุกปริกมฺมกตา ภิตฺติ กณฺณกิตา โหติ โจฬกํ เตเมตฺวา ปีเฬตฺวา ปมชฺชิตพฺพา. สเจ กาฬวณฺณกตา ภูมิ กณฺณกิตา โหติ โจฬกํ เตเมตฺวา ปีเฬตฺวา ปมชฺชิตพฺพา. สเจ อกตา โหติ ภูมิ อุทเกน ปริปฺโผสิตฺวา สมฺมชฺชิตพฺพา มา วิหาโร รเชน อุหญฺญีติ. สงฺการํ วิจินิตฺวา เอกมนฺตํ ฉฑฺเฑตพฺพํ. “ภูมตฺถรณํ โอตาเปตฺวา โสเธตฺวา ปปฺโผเฏตฺวา อติหริตฺวา ยถาปญฺญตฺตํ ปญฺญเปตพฺพํ. มญฺจปฏิปาทกา โอตาเปตฺวา ปมชฺชิตฺวา อติหริตฺวา ยถาฐาเน ฐเปตพฺพา. มญฺโจ โอตาเปตฺวา โสเธตฺวา ปปฺโผเฏตฺวา นีจํ กตฺวา สาธุกํ อปฺปฏิฆํสนฺเตน อสงฺฆฏฺเฏนฺเตน กวาฏปิฏฺฐํ อติหริตฺวา ยถาปญฺญตฺตํ ปญฺญเปตพฺโพ. ปีฐํ โอตาเปตฺวา โสเธตฺวา ปปฺโผเฏตฺวา นีจํ กตฺวา สาธุกํ อปฺปฏิฆํสนฺเตน อสงฺฆฏฺเฏนฺเตน กวาฏปิฏฺฐํ อติหริตฺวา ยถาปญฺญตฺตํ ปญฺญเปตพฺพํ. ภิสิพิพฺโพหนํ โอตาเปตฺวา โสเธตฺวา ปปฺโผเฏตฺวา อติหริตฺวา ยถาปญฺญตฺตํ ปญฺญเปตพฺพํ. นิสีทนปจฺจตฺถรณํ โอตาเปตฺวา โสเธตฺวา ปปฺโผเฏตฺวา อติหริตฺวา ยถาปญฺญตฺตํ ปญฺญเปตพฺพํ. เขฬมลฺลโก โอตาเปตฺวา ปมชฺชิตฺวา อติหริตฺวา ยถาฐาเน ฐเปตพฺโพ. อปสฺเสนผลกํ โอตาเปตฺวา ปมชฺชิตฺวา อติหริตฺวา ยถาฐาเน ฐเปตพฺพํ. ปตฺตจีวรํ นิกฺขิปิตพฺพํ. ปตฺตํ นิกฺขิปนฺเตน เอเกน หตฺเถน ปตฺตํ คเหตฺวา เอเกน หตฺเถน เหฏฺฐามญฺจํ วา เหฏฺฐาปีฐํ วา ปรามสิตฺวา ปตฺโต นิกฺขิปิตพฺโพ. น จ อนนฺตรหิตาย ภูมิยา ปตฺโต นิกฺขิปิตพฺโพ. จีวรํ นิกฺขิปนฺเตน เอเกน หตฺเถน จีวรํ คเหตฺวา เอเกน หตฺเถน จีวรวํสํ วา จีวรรชฺชุํ วา ปมชฺชิตฺวา ปารโต อนฺตํ โอรโต โภคํ กตฺวา จีวรํ นิกฺขิปิตพฺพํ. “สเจ ปุรตฺถิมา สรชา วาตา วายนฺติ ปุรตฺถิมา วาตปานา ถเกตพฺพา. สเจ ปจฺฉิมา สรชา วาตา วายนฺติ ปจฺฉิมา วาตปานา ถเกตพฺพา. สเจ อุตฺตรา สรชา วาตา วายนฺติ อุตฺตรา วาตปานา ถเกตพฺพา. สเจ ทกฺขิณา สรชา วาตา วายนฺติ ทกฺขิณา วาตปานา ถเกตพฺพา. สเจ สีตกาโล โหติ ทิวา วาตปานา วิวริตพฺพา รตฺตึ ถเกตพฺพา. สเจ อุณฺหกาโล โหติ ทิวา วาตปานา ถเกตพฺพา รตฺตึ วิวริตพฺพา. “สเจ ปริเวณํ อุกฺลาปํ โหติ ปริเวณํ สมฺมชฺชิตพฺพํ. สเจ โกฏฺฐโก อุกฺลาโป โหติ โกฏฺฐโก สมฺมชฺชิตพฺโพ. สเจ อุปฏฺฐานสาลา อุกฺลาปา โหติ อุปฏฺฐานสาลา สมฺมชฺชิตพฺพา. สเจ อคฺคิสาลา อุกฺลาปา โหติ อคฺคิสาลา สมฺมชฺชิตพฺพา. สเจ วจฺจกุฏิ อุกฺลาปา โหติ วจฺจกุฏิ สมฺมชฺชิตพฺพา. สเจ ปานียํ น โหติ ปานียํ อุปฏฺฐาเปตพฺพํ. สเจ ปริโภชนียํ น โหติ ปริโภชนียํ อุปฏฺฐาเปตพฺพํ. สเจ อาจมนกุมฺภิยา อุทกํ น โหติ อาจมนกุมฺภิยา อุทกํ อาสิญฺจิตพฺพํ. “สเจ อนฺเตวาสิกสฺส อนภิรติ อุปฺปนฺนา โหติ อาจริเยน วูปกาเสตพฺโพ วูปกาสาเปตพฺโพ ธมฺมกถา วาสฺส กาตพฺพา. สเจ อนฺเตวาสิกสฺส กุกฺกุจฺจํ อุปฺปนฺนํ โหติ อาจริเยน วิโนเทตพฺพํ วิโนทาเปตพฺพํ ธมฺมกถา วาสฺส กาตพฺพา. สเจ อนฺเตวาสิกสฺส ทิฏฺฐิคตํ อุปฺปนฺนํ โหติ อาจริเยน วิเวเจตพฺพํ วิเวจาเปตพฺพํ ธมฺมกถา วาสฺส กาตพฺพา. สเจ อนฺเตวาสิโก ครุธมฺมํ อชฺฌาปนฺโน โหติ ปริวาสารโห อาจริเยน อุสฺสุกฺกํ กาตพฺพํ กินฺติ นุ โข สงฺโฆ อนฺเตวาสิกสฺส ปริวาสํ ทเทยฺยาติ. สเจ อนฺเตวาสิโก มูลาย ปฏิกสฺสนารโห โหติ อาจริเยน อุสฺสุกฺกํ กาตพฺพํ กินฺติ นุ โข สงฺโฆ อนฺเตวาสิกํ มูลาย ปฏิกสฺเสยฺยาติ. สเจ อนฺเตวาสิโก มานตฺตารโห โหติ อาจริเยน อุสฺสุกฺกํ กาตพฺพํ กินฺติ นุ โข สงฺโฆ อนฺเตวาสิกสฺส มานตฺตํ ทเทยฺยาติ. สเจ อนฺเตวาสิโก อพฺภานารโห โหติ อาจริเยน อุสฺสุกฺกํ กาตพฺพํ กินฺติ นุ โข สงฺโฆ อนฺเตวาสิกํ อพฺเภยฺยาติ. สเจ สงฺโฆ อนฺเตวาสิกสฺส กมฺมํ กตฺตุกาโม โหติ ตชฺชนียํ วา นิยสฺสํ วา ปพฺพาชนียํ วา ปฏิสารณียํ วา อุกฺเขปนียํ วา อาจริเยน อุสฺสุกฺกํ กาตพฺพํ กินฺติ นุ โข สงฺโฆ อนฺเตวาสิกสฺส กมฺมํ น กเรยฺย ลหุกาย วา ปริณาเมยฺยาติ. กตํ วา ปนสฺส โหติ สงฺเฆน กมฺมํ ตชฺชนียํ วา นิยสฺสํ วา ปพฺพาชนียํ วา ปฏิสารณียํ วา อุกฺเขปนียํ วา อาจริเยน อุสฺสุกฺกํ กาตพฺพํ กินฺติ นุ โข อนฺเตวาสิโก สมฺมา วตฺเตยฺย โลมํ ปาเตยฺย เนตฺถารํ วตฺเตยฺย สงฺโฆ ตํ กมฺมํ ปฏิปฺปสฺสมฺเภยฺยาติ. “สเจ อนฺเตวาสิกสฺส จีวรํ โธวิตพฺพํ โหติ อาจริเยน อาจิกฺขิตพฺพํ ‘เอวํ โธเวยฺยาสี’ติ อุสฺสุกฺกํ วา กาตพฺพํ กินฺติ นุ โข อนฺเตวาสิกสฺส จีวรํ โธวิเยถาติ. สเจ อนฺเตวาสิกสฺส จีวรํ กาตพฺพํ โหติ อาจริเยน อาจิกฺขิตพฺพํ ‘เอวํ กเรยฺยาสี’ติ อุสฺสุกฺกํ วา กาตพฺพํ กินฺติ นุ โข อนฺเตวาสิกสฺส จีวรํ กริเยถาติ. สเจ อนฺเตวาสิกสฺส รชนํ ปจิตพฺพํ โหติ อาจริเยน อาจิกฺขิตพฺพํ ‘เอวํ ปเจยฺยาสี’ติ อุสฺสุกฺกํ วา กาตพฺพํ กินฺติ นุ โข อนฺเตวาสิกสฺส รชนํ ปจิเยถาติ. สเจ อนฺเตวาสิกสฺส จีวรํ รชิตพฺพํ โหติ อาจริเยน อาจิกฺขิตพฺพํ ‘เอวํ รเชยฺยาสี’ติ อุสฺสุกฺกํ วา กาตพฺพํ กินฺติ นุ โข อนฺเตวาสิกสฺส จีวรํ รชิเยถาติ. จีวรํ รชนฺเตน สาธุกํ สมฺปริวตฺตกํ สมฺปริวตฺตกํ รชิตพฺพํ น จ อจฺฉินฺเน เถเว ปกฺกมิตพฺพํ. สเจ อนฺเตวาสิโก คิลาโน โหติ ยาวชีวํ อุปฏฺฐาตพฺโพ วุฏฺฐานมสฺส อาคเมตพฺพ”นฺติ. 
||35|| 
I prescribe, O Bhikkhus, that only a learned, competent Bhikkhu who has completed ten years, or more than ten years, may give a nissaya. 
อนฺเตวาสิกวตฺตํ นิฏฺฐิตํ. 
tena kho pana samayena bhikkhū ācariyupajjhāyesu pakkantesu pi vibbhamantesu pi kālaṃkatesu pi pakkhasaṃkantesu pi nissayapaṭippassaddhiyo na jānanti.  bhagavato etam atthaṃ ārocesuṃ.  pañc’ imā {bhikkhave} nissayapaṭippassaddhiyo upajjhāyamhā:  upajjhāyo pakkanto vā hoti vibbhamanto vā kālaṃkato vā pakkhasaṃkanto vā, āṇatti yeva pañcamī.  imā kho bhikkhave pañca nissayapaṭippassaddhiyo upajjhāyamhā.  cha yimā bhikkhave nissayapaṭippassaddhiyo ācariyamhā:  ācariyo pakkanto vā hoti vibbhamanto vā kālaṃkato vā pakkhasaṃkanto vā, āṇatti yeva pañcamī, upajjhāyena vā samodhānaṃ gato hoti.  imā kho bhikkhave cha nissayapaṭippassaddhiyo ācariyamhā. |1| 
At that time the Bhikkhus whose âkariyas and upagghâyas were gone away, or had returned to the worId, or had died, or were gone over to a (schismatic) faction, were not acquainted with (the rules about) the cessation of their nissayas.  They told this thing to the Blessed One.  'There are five cases of cessation of a nissaya, O Bhikkhus, between (saddhivihârika and) upagghâya:  When the upagghâya is gone away, or he has returned to the world, or has died, or is gone over to a (schismatic) faction; the fifth case is that of order (given by the upagghâya to the saddhivihârika).  These, O Bhikkhu's, are the five cases of the cessation of a nissaya between (saddhivihârika and) upagghâya.  'There are six cases of cessation of a nissaya, O Bhikkhus, between (antevâsika and) âkariya:  When the âkariya is gone away, &c.; the fifth case is that of order (given by the âkariya to the antevâsika); or (sixthly) when the âkariya and the upagghâya have come together at the same place. 
นิสสัยระงับจากอุปัชฌาย์และอาจารย์ [๙๗] ก็โดยสมัยนั้นแล เมื่ออาจารย์และอุปัชฌาย์หลีกไปเสียก็ดี สึกเสียก็ดี ถึงมรณภาพก็ดี ไปเข้ารีดเดียรถีย์ก็ดี ภิกษุทั้งหลายไม่รู้ว่านิสสัยระงับ.  พวกเธอจึงกราบทูลเรื่องนั้นแด่พระผู้มีพระภาค.  พระผู้มีพระภาคตรัสว่า ดูกรภิกษุทั้งหลาย นิสสัยระงับจากอุปัชฌายะ ๕ อย่าง ดังนี้ คือ  ๑. อุปัชฌายะหลีกไป ๒. สึกเสีย ๓. ถึงมรณภาพ ๔. ไปเข้ารีดเดียรถีย์ และ ๕. สั่งบังคับ  ดูกรภิกษุทั้งหลาย นิสสัยระงับจากอุปัชฌายะ ๕ อย่างนี้แล.  ดูกรภิกษุทั้งหลาย นิสสัยระงับจากอาจารย์ ๖ อย่าง ดังนี้ คือ  ๑. อาจารย์หลีกไป ๒. สึกเสีย ๓. ถึงมรณภาพ ๔. ไปเข้ารีดเดียรถีย์ ๕. สั่งบังคับ และ ๖. ไปร่วมเข้ากับอุปัชฌายะ  ดูกรภิกษุทั้งหลาย นิสสัยระงับจากอาจารย์ ๖ อย่างนี้แล. (การให้นิสสัย จบ.) 
ฉฏฺฐภาณวาโร.  ๒๐. ปณามนา ขมาปนา  ๘๐. เตน โข ปน สมเยน อนฺเตวาสิกา อาจริเยสุ น สมฺมา วตฺตนฺติฯเปฯ ภควโต เอตมตฺถํ อาโรเจสุํฯเปฯ น ภิกฺขเว อนฺเตวาสิเกน อาจริยมฺหิ น สมฺมา วตฺติตพฺพํ. โย น สมฺมา วตฺเตยฺย อาปตฺติ ทุกฺกฏสฺสาติ. เนว สมฺมา วตฺตนฺติ. ภควโต เอตมตฺถํ อาโรเจสุํฯเปฯ อนุชานามิ ภิกฺขเว อสมฺมาวตฺตนฺตํ ปณาเมตุํ. เอวญฺจ ปน ภิกฺขเว ปณาเมตพฺโพ ปณาเมมิ ตนฺติ วา มายิธ ปฏิกฺกมีติ วา นีหร เต ปตฺตจีวรนฺติ วา นาหํ ตยา อุปฏฺฐาตพฺโพติ วา. กาเยน วิญฺญาเปติ วาจาย วิญฺญาเปติ กาเยน วาจาย วิญฺญาเปติ ปณามิโต โหติ อนฺเตวาสิโก น กาเยน วิญฺญาเปติ น วาจาย วิญฺญาเปติ น กาเยน วาจาย วิญฺญาเปติ น ปณามิโต โหติ อนฺเตวาสิโกติ. เตน โข ปน สมเยน อนฺเตวาสิกา ปณามิตา น ขมาเปนฺติ. ภควโต เอตมตฺถํ อาโรเจสุํ. อนุชานามิ ภิกฺขเว ขมาเปตุนฺติ. เนว ขมาเปนฺติ. ภควโต เอตมตฺถํ อาโรเจสุํ. น ภิกฺขเว ปณามิเตน น ขมาเปตพฺโพ. โย น ขมาเปยฺย อาปตฺติ ทุกฺกฏสฺสาติ. เตน โข ปน สมเยน อาจริยา ขมาปิยมานา น ขมนฺติ. ภควโต เอตมตฺถํ อาโรเจสุํ. อนุชานามิ ภิกฺขเว ขมิตุนฺติ. เนว ขมนฺติ. อนฺเตวาสิกา ปกฺกมนฺติปิ วิพฺภมนฺติปิ ติตฺถิเยสุปิ สงฺกมนฺติ. ภควโต เอตมตฺถํ อาโรเจสุํ. น ภิกฺขเว ขมาปิยมาเนน น ขมิตพฺพํ. โย น ขเมยฺย อาปตฺติ ทุกฺกฏสฺสาติ. เตน โข ปน สมเยน อาจริยา สมฺมาวตฺตนฺตํ ปณาเมนฺติ อสมฺมาวตฺตนฺตํ น ปณาเมนฺติ. ภควโต เอตมตฺถํ อาโรเจสุํ. น ภิกฺขเว สมฺมาวตฺตนฺโต ปณาเมตพฺโพ. โย ปณาเมยฺย อาปตฺติ ทุกฺกฏสฺส. น จ ภิกฺขเว อสมฺมาวตฺตนฺโต น ปณาเมตพฺโพ. โย น ปณาเมยฺย อาปตฺติ ทุกฺกฏสฺส. ๘๑. “ปญฺจหิ ภิกฺขเว องฺเคหิ สมนฺนาคโต อนฺเตวาสิโก ปณาเมตพฺโพ. อาจริยมฺหิ นาธิมตฺตํ เปมํ โหติ นาธิมตฺโต ปสาโท โหติ นาธิมตฺตา หิรี โหติ นาธิมตฺโต คารโว โหติ นาธิมตฺตา ภาวนา โหติ อิเมหิ โข ภิกฺขเว ปญฺจหงฺเคหิ สมนฺนาคโต อนฺเตวาสิโก ปณาเมตพฺโพ. “ปญฺจหิ ภิกฺขเว องฺเคหิ สมนฺนาคโต อนฺเตวาสิโก น ปณาเมตพฺโพ. อาจริยมฺหิ อธิมตฺตํ เปมํ โหติ อธิมตฺโต ปสาโท โหติ อธิมตฺตา หิรี โหติ อธิมตฺโต คารโว โหติ อธิมตฺตา ภาวนา โหติ อิเมหิ โข ภิกฺขเว ปญฺจหงฺเคหิ สมนฺนาคโต อนฺเตวาสิโก น ปณาเมตพฺโพ. “ปญฺจหิ ภิกฺขเว องฺเคหิ สมนฺนาคโต อนฺเตวาสิโก อลํ ปณาเมตุํ. อาจริยมฺหิ นาธิมตฺตํ เปมํ โหติ นาธิมตฺโต ปสาโท โหติ นาธิมตฺตา หิรี โหติ นาธิมตฺโต คารโว โหติ นาธิมตฺตา ภาวนา โหติ อิเมหิ โข ภิกฺขเว ปญฺจหงฺเคหิ สมนฺนาคโต อนฺเตวาสิโก อลํ ปณาเมตุํ. “ปญฺจหิ ภิกฺขเว องฺเคหิ สมนฺนาคโต อนฺเตวาสิโก นาลํ ปณาเมตุํ. อาจริยมฺหิ อธิมตฺตํ เปมํ โหติ อธิมตฺโต ปสาโท โหติ อธิมตฺตา หิรี โหติ อธิมตฺโต คารโว โหติ อธิมตฺตา ภาวนา โหติ อิเมหิ โข ภิกฺขเว ปญฺจหงฺเคหิ สมนฺนาคโต อนฺเตวาสิโก นาลํ ปณาเมตุํ. “ปญฺจหิ ภิกฺขเว องฺเคหิ สมนฺนาคตํ อนฺเตวาสิกํ อปฺปณาเมนฺโต อาจริโย สาติสาโร โหติ ปณาเมนฺโต อนติสาโร โหติ. อาจริยมฺหิ นาธิมตฺตํ เปมํ โหติ นาธิมตฺโต ปสาโท โหติ นาธิมตฺตา หิรี โหติ นาธิมตฺโต คารโว โหติ นาธิมตฺตา ภาวนา โหติ อิเมหิ โข ภิกฺขเว ปญฺจหงฺเคหิ สมนฺนาคตํ อนฺเตวาสิกํ อปฺปณาเมนฺโต อาจริโย สาติสาโร โหติ ปณาเมนฺโต อนติสาโร โหติ. “ปญฺจหิ ภิกฺขเว องฺเคหิ สมนฺนาคตํ อนฺเตวาสิกํ ปณาเมนฺโต อาจริโย สาติสาโร โหติ อปฺปณาเมนฺโต อนติสาโร โหติ. อาจริยมฺหิ อธิมตฺตํ เปมํ โหติ อธิมตฺโต ปสาโท โหติ อธิมตฺตา หิรี โหติ อธิมตฺโต คารโว โหติ อธิมตฺตา ภาวนา โหติ อิเมหิ โข ภิกฺขเว ปญฺจหงฺเคหิ สมนฺนาคตํ อนฺเตวาสิกํ ปณาเมนฺโต อาจริโย สาติสาโร โหติ อปฺปณาเมนฺโต อนติสาโร โหตี”ติ. (ปณามนา ขมาปนา นิฏฺฐิตา.)      (๒๑. พาลอพฺยตฺตวตฺถุ) ๘๒. เตน โข ปน สมเยน ภิกฺขู ทสวสฺสมฺหา ทสวสฺสมฺหาติ พาลา อพฺยตฺตา นิสฺสยํ เทนฺติ. ทิสฺสนฺติ อาจริยา พาลา อนฺเตวาสิกา ปณฺฑิตา ทิสฺสนฺติ อาจริยา อพฺยตฺตา อนฺเตวาสิกา พฺยตฺตา. ทิสฺสนฺติ อาจริยา อปฺปสฺสุตา อนฺเตวาสิกา พหุสฺสุตา. ทิสฺสนฺติ อาจริยา ทุปฺปญฺญา อนฺเตวาสิกา ปญฺญวนฺโต.  เย เต ภิกฺขู อปฺปิจฺฉาฯเปฯ เต อุชฺฌายนฺติ ขิยฺยนฺติ วิปาเจนฺติ “กถญฺหิ นาม ภิกฺขู ทสวสฺสมฺหา ทสวสฺสมฺหาติ พาลา อพฺยตฺตา นิสฺสยํ ทสฺสนฺติ. ทิสฺสนฺติ อาจริยา พาลา อนฺเตวาสิกา ปณฺฑิตา ทิสฺสนฺติ อาจริยา อพฺยตฺตา อนฺเตวาสิกา พฺยตฺตา ทิสฺสนฺติ อาจริยา อปฺปสฺสุตา อนฺเตวาสิกา พหุสฺสุตา ทิสฺสนฺติ อาจริยา ทุปฺปญฺญา อนฺเตวาสิกา ปญฺญวนฺโต”ติ.  อถ โข เต ภิกฺขู ภควโต เอตมตฺถํ อาโรเจสุํฯเปฯ 
pañcahi bhikkhave aṅgehi samannāgatena bhikkhunā na upasampādetabbaṃ, na nissayo dātabbo, na sāmaṇero upaṭṭhāpetabbo:  na asekhena sīlakkhandhena samannāgato hoti, na asekhena samādhikkhandhena samannāgato hoti, na asekhena paññākkhandhena samannāgato hoti, na asekhena vimuttikkhandhena samannāgato hoti, na asekhena vimuttiñāṇadassanakkhandhena samannāgato hoti.  imehi kho bhikkhave pañcah’ aṅgehi samannāgatena bhikkhunā na upasampādetabbaṃ, na nissayo dātabbo, na sāmaṇero upaṭṭhāpetabbo. |2| 
These, O Bhikkhus, are the six cases of cessation of a nissaya between (antevâsika and) âkariya.  'In five cases, O Bhikkhus, a Bhikkhu should not confer the upasampadâ ordination, nor give a nissaya, nor ordain a novice:  When he does not possess full perfection in what belongs to moral practices; or does not possess full perfection in what belongs to self-concentration; or does not possess full perfection in what belongs to wisdom; or does not possess full perfection in what belongs to emancipation; or does not possess full perfection in what belongs to knowledge and insight into emancipation. 
องค์ ๕ แห่งภิกษุผู้ให้อุปสมบท ๑๖ หมวด // (กัณหปักษ์ ๑) [๙๘] ดูกรภิกษุทั้งหลาย ภิกษุผู้ประกอบด้วยองค์ ๕ ไม่พึงให้อุปสมบท ไม่พึงให้นิสสัย ไม่พึงให้สามเณรอุปัฏฐาก คือ  ๑. ไม่ประกอบด้วยกองศีล อันเป็นของพระอเสขะ ๒. ไม่ประกอบด้วยกองสมาธิ อันเป็นของพระอเสขะ ๓. ไม่ประกอบด้วยกองปัญญา อันเป็นของพระอเสขะ ๔. ไม่ประกอบด้วยกองวิมุติ อันเป็นของพระอเสขะ และ ๕. ไม่ประกอบด้วยกองวิมุตติญาณทัสสนะ อันเป็นของพระอเสขะ  ดูกรภิกษุทั้งหลาย ภิกษุผู้ประกอบด้วยองค์ ๕ นี้แล ไม่พึงให้อุปสมบท ไม่พึงให้นิสสัย ไม่พึงให้สามเณรอุปัฏฐาก. 
สจฺจํ กิร ภิกฺขเว ภิกฺขู ทสวสฺสมฺหา ทสวสฺสมฺหาติ พาลา อพฺยตฺตา นิสฺสยํ เทนฺติฯเปฯ  สจฺจํ ภควาติ.  วิครหิ พุทฺโธ ภควาฯเปฯ 
pañcahi bhikkhave aṅgehi samannāgatena bhikkhunā upasampādetabbaṃ, nissayo dātabbo, sāmaṇero upaṭṭhāpetabbo:  asekhena sīlakkhandhena samannāgato hoti, . . . asekhena vimuttiñāṇadassanakkhandhena samannāgato hoti.  imehi kho bhikkhave pañcah’ aṅgehi samannāgatena (63) bhikkhunā upasampādetabbaṃ, nissayo dātabbo, sāmaṇero upaṭṭhāpetabbo. |3| 
In these five cases, O Bhikkhus, a Bhikkhu should not confer the upasampadâ ordination, nor give a nissaya, nor ordain a novice.  'In five cases, O Bhikkhus, a Bhikkhu may confer the upasampadâ ordination, give a nissaya, and ordain a novice:  When he possesses full perfection in what belongs to moral practices, &c. 
(ศุกลปักษ์ ๑) ดูกรภิกษุทั้งหลาย ภิกษุผู้ประกอบด้วยองค์ ๕ พึงให้อุปสมบท พึงให้นิสสัย พึงให้สามเณรอุปัฏฐาก คือ  ๑. ประกอบด้วยกองศีล อันเป็นของพระอเสขะ ๒. ประกอบด้วยกองสมาธิ อันเป็นของพระอเสขะ ๓. ประกอบด้วยกองปัญญา อันเป็นของพระอเสขะ ๔. ประกอบด้วยกองวิมุติ อันเป็นของพระอเสขะ และ ๕. ประกอบด้วยกองวิมุตติญาณทัสสนะ อันเป็นของพระอเสขะ  ดูกรภิกษุทั้งหลาย ภิกษุผู้ประกอบด้วยองค์ ๕ นี้แล พึงให้อุปสมบท พึงให้นิสสัย พึงให้สามเณรอุปัฏฐาก. 
วิครหิตฺวาฯเปฯ ธมฺมึ กถํ กตฺวา ภิกฺขู อามนฺเตสิ “น ภิกฺขเว พาเลน อพฺยตฺเตน นิสฺสโย ทาตพฺโพ. โย ทเทยฺย อาปตฺติ ทุกฺกฏสฺส.  อนุชานามิ ภิกฺขเว พฺยตฺเตน ภิกฺขุนา ปฏิพเลน ทสวสฺเสน วา อติเรกทสวสฺเสน วา นิสฺสยํ ทาตุ”นฺติ. (พาลอพฺยตฺตวตฺถุ นิฏฺฐิตํ.)   
aparehi pi bhikkhave pañcah’ aṅgehi samannāgatena bhikkhunā na upasampādetabbaṃ, na nissayo dātabbo, na sāmaṇero upaṭṭhāpetabbo:  attanā na asekhena sīlakkhandhena samannāgato hoti, na paraṃ asekhe sīlakkhandhe samādapetā, . . . attanā na asekhena vimuttiñāṇadassanakkhandhena samannāgato hoti, na paraṃ asekhe vimuttiñāṇadassanakkhandhe samādapetā.  imehi kho bhikkhave pañcah’ aṅgehi samannāgatena bhikkhunā na upasampādetabbaṃ, na nissayo dātabbo, na sāmaṇero upaṭṭhāpetabbo. |4| 
In these five cases, O Bhikkhus, a Bhikkhu may, &c.  'And also in other five cases, O Bhikkhus, a Bhikkhu should not confer, &c.:  When he does not possess for himself full perfection in what belongs to moral practices and is not able to help others to full perfection in what belongs to moral practices; or does not possess for himself full perfection in what belongs to self-concentration, and is not able to help others to full perfection in what belongs to self-concentration, &c. 
(กัณหปักษ์ ๒) ดูกรภิกษุทั้งหลาย ภิกษุผู้ประกอบด้วยองค์ ๕ แม้อื่นอีก ไม่พึงให้อุปสมบท ไม่พึงให้นิสสัย ไม่พึงให้สามเณรอุปัฏฐาก คือ  ๑. ตนเองไม่ประกอบด้วยกองศีล อันเป็นของพระอเสขะ และไม่ชักชวนผู้อื่นในกองศีล อันเป็นของพระอเสขะ ๒. ตนเองไม่ประกอบด้วยกองสมาธิ อันเป็นของพระอเสขะ และไม่ชักชวนผู้อื่นในกองสมาธิ อันเป็นของพระอเสขะ ๓. ตนเองไม่ประกอบด้วยกองปัญญา อันเป็นของพระอเสขะ และไม่ชักชวนผู้อื่นในกองปัญญา อันเป็นของพระอเสขะ ๔. ตนเองไม่ประกอบด้วยกองวิมุติ อันเป็นของพระอเสขะ และไม่ชักชวนผู้อื่นในกองวิมุติ อันเป็นของพระอเสขะ และ ๕. ตนเองไม่ประกอบด้วยกองวิมุตติญาณทัสสนะ อันเป็นของพระอเสขะ และไม่ชักชวนผู้อื่นในกองวิมุตติญาณทัสสนะ อันเป็นของพระอเสขะ  ดูกรภิกษุทั้งหลาย ภิกษุผู้ประกอบด้วยองค์ ๕ นี้แล ไม่พึงให้อุปสมบท ไม่พึงให้นิสสัย ไม่พึงให้สามเณรอุปัฏฐาก. 
  (๒๒. นิสฺสยปฏิปฺปสฺสทฺธิกถา) ๘๓. เตน โข ปน สมเยน ภิกฺขู อาจริยุปชฺฌาเยสุ ปกฺกนฺเตสุปิ วิพฺภนฺเตสุปิ กาลงฺกเตสุปิ ปกฺขสงฺกนฺเตสุปิ นิสฺสยปฏิปฺปสฺสทฺธิโย น ชานนฺติ.  ภควโต เอตมตฺถํ อาโรเจสุํ. 
pañcahi bhikkhave aṅgehi samannāgatena bhikkhunā upasampādetabbaṃ, nissayo dātabbo, sāmaṇero upaṭṭhāpetabbo:  attanā asekhena sīlakkhandhena samannāgato hoti, paraṃ asekhe sīlakkhandhe samādapetā, . . . attanā asekhena vimuttiñāṇadassanakkhandhena samannāgato hoti, paraṃ asekhe vimuttiñāṇadassanakkhandhe samādapetā.  imehi kho bhikkhave pañcah’ aṅgehi samannāgatena bhikkhunā upasampādetabbaṃ, nissayo dātabbo, sāmaṇero upaṭṭhāpetabbo. |5| 
  'In five cases, O Bhikkhus, a Bhikkhu may confer, &c.:  When he possesses for himself full perfection in what belongs to moral practices, and is able to help others to full perfection, &c. 
(ศุกลปักษ์ ๒) ดูกรภิกษุทั้งหลาย ภิกษุผู้ประกอบด้วยองค์ ๕ พึงให้อุปสมบท พึงให้นิสสัย พึงให้สามเณรอุปัฏฐาก คือ  ๑. ตนเองประกอบด้วยกองศีล อันเป็นของพระอเสขะ และชักชวนผู้อื่นในกองศีล อันเป็นของพระอเสขะ ๒. ตนเองประกอบด้วยกองสมาธิ อันเป็นของพระอเสขะ และชักชวนผู้อื่นในกองสมาธิ อันเป็นของพระอเสขะ ๓. ตนเองประกอบด้วยกองปัญญา อันเป็นของพระอเสขะ และชักชวนผู้อื่นในกองปัญญา อันเป็นของพระอเสขะ ๔. ตนเองประกอบด้วยกองวิมุติ อันเป็นของพระอเสขะ และชักชวนผู้อื่นในกองวิมุติ อันเป็นของพระอเสขะ และ ๕. ตนเองประกอบด้วยกองวิมุตติญาณทัสสนะ อันเป็นของพระอเสขะ และชักชวนผู้อื่นในกองวิมุตติญาณทัสสนะ อันเป็นของพระอเสขะ  ดูกรภิกษุทั้งหลาย ภิกษุผู้ประกอบด้วยองค์ ๕ นี้แล พึงให้อุปสมบท พึงให้นิสสัย พึงให้สามเณรอุปัฏฐาก. 
“ปญฺจิมา ภิกฺขเว นิสฺสยปฏิปฺปสฺสทฺธิโย อุปชฺฌายมฺหา  อุปชฺฌาโย ปกฺกนฺโต วา โหติ วิพฺภนฺโต วา กาลงฺกโต วา ปกฺขสงฺกนฺโต วา อาณตฺติเยว ปญฺจมี.  อิมา โข ภิกฺขเว ปญฺจ นิสฺสยปฏิปฺปสฺสทฺธิโย อุปชฺฌายมฺหา. 
aparehi pi bhikkhave pañcah’ aṅgehi samannāgatena bhikkhunā na upasampādetabbaṃ, na nissayo dātabbo, na sāmaṇero upaṭṭhāpetabbo:  assaddho hoti, ahiriko hoti, anottappī hoti, kusīto hoti, muṭṭhassati hoti.  imehi kho bhikkhave pañcah’ aṅgehi samannāgatena bhikkhunā na upasampādetabbaṃ, na nissayo dātabbo, na sāmaṇero upaṭṭhāpetabbo. |6| 
  'And also in other five cases, O Bhikkhus, a Bhikkhu should not confer, &c.:  When he is unbelieving, shameless, fearless of sinning, indolent, forgetful. 
(กัณหปักษ์ ๓) ดูกรภิกษุทั้งหลาย ภิกษุผู้ประกอบด้วยองค์ ๕ แม้อื่นอีก ไม่พึงให้อุปสมบท ไม่พึงให้นิสสัย ไม่พึงให้สามเณรอุปัฏฐาก คือ  ๑. เป็นผู้ไม่มีศรัทธา ๒. เป็นผู้ไม่มีหิริ ๓. เป็นผู้ไม่มีโอตตัปปะ ๔. เป็นผู้เกียจคร้าน และ ๕. เป็นผู้มีสติฟั่นเฟือน  ดูกรภิกษุทั้งหลาย ภิกษุผู้ประกอบด้วยองค์ ๕ นี้แล ไม่พึงให้อุปสมบท ไม่พึงให้นิสสัย ไม่พึงให้สามเณรอุปัฏฐาก. 
“ฉยิมา ภิกฺขเว นิสฺสยปฏิปฺปสฺสทฺธิโย อาจริยมฺหา  อาจริโย ปกฺกนฺโต วา โหติ วิพฺภนฺโต วา กาลงฺกโต วา ปกฺขสงฺกนฺโต วา อาณตฺติเยว ปญฺจมี อุปชฺฌาเยน วา สโมธานคโต โหติ.  อิมา โข ภิกฺขเว ฉ นิสฺสยปฏิปฺปสฺสทฺธิโย อาจริยมฺหา”. (นิสฺสปฏิปฺปสฺสทฺธิกถา นิฏฺฐิตา. ) 
pañcahi bhikkhave aṅgehi samannāgatena bhikkhunā upasampādetabbaṃ, nissayo dātabbo, sāmaṇero upaṭṭhāpetabbo:  saddho hoti, hirimā hoti, ottappī hoti, āraddhaviriyo hoti, upaṭṭhitasati hoti.  imehi kho bhikkhave pañcah’ aṅgehi samannāgatena bhikkhunā upasampādetabbaṃ, nissayo dātabbo, sāmaṇero upaṭṭhāpetabbo. |7| 
In these five cases, &c.  'In five cases, O Bhikkhus, a Bhikkhu may confer, &c.:  When he is believing, modest, fearful of sinning, strenuous, of ready memory. 
(ศุกลปักษ์ ๓) ดูกรภิกษุทั้งหลาย ภิกษุผู้ประกอบด้วยองค์ ๕ พึงให้อุปสมบท พึงให้นิสสัย พึงให้สามเณรอุปัฏฐาก คือ  ๑. เป็นผู้มีศรัทธา ๒. เป็นผู้มีหิริ ๓. เป็นผู้มีโอตตัปปะ ๔. เป็นผู้ปรารภความเพียร และ ๕. เป็นผู้มีสติตั้งมั่น  ดูกรภิกษุทั้งหลาย ภิกษุผู้ประกอบด้วยองค์ ๔ นี้แล พึงให้อุปสมบท พึงให้นิสสัย พึงให้สามเณรอุปัฏฐาก. 
(๒๓. อุปสมฺปาเทตพฺพปญฺจกํ) ๘๔. “ปญฺจหิ ภิกฺขเว องฺเคหิ สมนฺนาคเตน ภิกฺขุนา น อุปสมฺปาเทตพฺพํ น นิสฺสโย ทาตพฺโพ น สามเณโร อุปฏฺฐาเปตพฺโพ.  น อเสกฺเขน สีลกฺขนฺเธน สมนฺนาคโต โหติ น อเสกฺเขน สมาธิกฺขนฺเธน สมนฺนาคโต โหติ น อเสกฺเขน ปญฺญากฺขนฺเธน สมนฺนาคโต โหติ น อเสกฺเขน วิมุตฺติกฺขนฺเธน สมนฺนาคโต โหติ น อเสกฺเขน วิมุตฺติญาณทสฺสนกฺขนฺเธน สมนฺนาคโต โหติ  อิเมหิ โข ภิกฺขเว ปญฺจหงฺเคหิ สมนฺนาคเตน ภิกฺขุนา น อุปสมฺปาเทตพฺพํ น นิสฺสโย ทาตพฺโพ น สามเณโร อุปฏฺฐาเปตพฺโพ. 
aparehi pi bhikkhave pañcah’ aṅgehi samannāgatena bhikkhunā na upasampādetabbaṃ, na nissayo dātabbo, na sāmaṇero upaṭṭhāpetabbo:  adhisīle sīlavipanno hoti, ajjhācāre ācāravipanno hoti, atidiṭṭhiyā diṭṭhivipanno hoti, appassuto hoti, duppañño hoti.  imehi kho bhikkhave pañcah’ aṅgehi samannāgatena bhikkhunā na upasampādetabbaṃ, na nissayo dātabbo, na sāmaṇero upaṭṭhāpetabbo. |8| 
In these five cases, &c.  'And also in other five cases, O Bhikkhus, a Bhikkhu should not confer , &c.:  When as regards moral practices he is guilty of moral transgressions; or when as regards the rules of conduct he is guilty of transgressions in his conduct; or when as regards belief he is guilty of heresy; or when he is unlearned; or when he is foolish. 
(กัณหปักษ์ ๔) ดูกรภิกษุทั้งหลาย ภิกษุผู้ประกอบด้วยองค์ ๕ แม้อื่นอีก ไม่พึงให้อุปสมบท ไม่พึงให้นิสสัย ไม่พึงให้สามเณรอุปัฏฐาก คือ  ๑. เป็นผู้วิบัติด้วยศีล ในอธิศีล ๒. เป็นผู้วิบัติด้วยอาจาระ ในอัธยาจาร ๓. เป็นผู้วิบัติด้วยทิฏฐิ ในทิฏฐิยิ่ง ๔. เป็นผู้ได้ยินได้ฟังน้อย และ ๕. เป็นผู้มีปัญญาทราม  ดูกรภิกษุทั้งหลาย ภิกษุผู้ประกอบด้วยองค์ ๕ นี้แล ไม่พึงให้อุปสมบท ไม่พึงให้นิสสัย ไม่พึงให้สามเณรอุปัฏฐาก. 
“ปญฺจหิ ภิกฺขเว องฺเคหิ สมนฺนาคเตน ภิกฺขุนา อุปสมฺปาเทตพฺพํ นิสฺสโย ทาตพฺโพ สามเณโร อุปฏฺฐาเปตพฺโพ.  อเสกฺเขน สีลกฺขนฺเธน สมนฺนาคโต โหติ อเสกฺเขน สมาธิกฺขนฺเธน สมนฺนาคโต โหติ อเสกฺเขน ปญฺญากฺขนฺเธน สมนฺนาคโต โหติ อเสกฺเขน วิมุตฺติกฺขนฺเธน สมนฺนาคโต โหติ อเสกฺเขน วิมุตฺติญาณทสฺสนกฺขนฺเธน สมนฺนาคโต โหติ  อิเมหิ โข ภิกฺขเว ปญฺจหงฺเคหิ สมนฺนาคเตน ภิกฺขุนา อุปสมฺปาเทตพฺพํ นิสฺสโย ทาตพฺโพ สามเณโร อุปฏฺฐาเปตพฺโพ. 
pañcahi bhikkhave aṅgehi samannāgatena bhikkhunā upasampāde-(64)tabbaṃ, nissayo dātabbo, sāmaṇero upaṭṭhāpetabbo:  na adhisīle sīlavipanno hoti, na ajjhācāre ācāravipanno hoti, na atidiṭṭhiyā diṭṭhivipanno hoti, bahussuto hoti, pāññavā hoti.  imehi kho bhikkhave pañcah’ aṅgehi samannāgatena bhikkhunā upasampādetabbaṃ, nissayo dātabbo, sāmaṇero upaṭṭhāpetabbo. |9| 
In these five cases, &c.  'In five cases, O Bhikkhus, a Bhikkhu may confer, &c.: When as regards moral practices he is not guilty of moral transgressions, &c.;  when he is learned; and when he is wise. 
(ศุกลปักษ์ ๔) ดูกรภิกษุทั้งหลาย ภิกษุผู้ประกอบด้วยองค์ ๕ พึงให้อุปสมบท พึงให้นิสสัย พึงให้สามเณรอุปัฏฐาก คือ  ๑. เป็นผู้ไม่วิบัติด้วยศีล ในอธิศีล ๒. เป็นผู้ไม่วิบัติด้วยอาจาระ ในอัธยาจาร ๓. เป็นผู้ไม่วิบัติด้วยทิฏฐิ ในทิฏฐิยิ่ง ๔. เป็นผู้ได้ยินได้ฟังมาก และ ๕. เป็นผู้มีปัญญา  ดูกรภิกษุทั้งหลาย ภิกษุผู้ประกอบด้วยองค์ ๕ นี้แล พึงให้อุปสมบท พึงให้นิสสัย พึงให้สามเณรอุปัฏฐาก. 
“อปเรหิปิ ภิกฺขเว ปญฺจหงฺเคหิ สมนฺนาคเตน ภิกฺขุนา น อุปสมฺปาเทตพฺพํ น นิสฺสโย ทาตพฺโพ น สามเณโร อุปฏฺฐาเปตพฺโพ.  อตฺตนา น อเสกฺเขน สีลกฺขนฺเธน สมนฺนาคโต โหติ น ปรํ อเสกฺเข สีลกฺขนฺเธ สมาทเปตา อตฺตนา น อเสกฺเขน สมาธิกฺขนฺเธน สมนฺนาคโต โหติ น ปรํ อเสกฺเข สมาธิกฺขนฺเธ สมาทเปตา อตฺตนา น อเสกฺเขน ปญฺญากฺขนฺเธน สมนฺนาคโต โหติ น ปรํ อเสกฺเข ปญฺญากฺขนฺเธ สมาทเปตา อตฺตนา น อเสกฺเขน วิมุตฺติกฺขนฺเธน สมนฺนาคโต โหติ น ปรํ อเสกฺเข วิมุตฺติกฺขนฺเธ สมาทเปตา อตฺตนา น อเสกฺเขน วิมุตฺติญาณทสฺสนกฺขนฺเธน สมนฺนาคโต โหติ น ปรํ อเสกฺเข วิมุตฺติญาณทสฺสนกฺขนฺเธ สมาทเปตา  อิเมหิ โข ภิกฺขเว ปญฺจหงฺเคหิ สมนฺนาคเตน ภิกฺขุนา น อุปสมฺปาเทตพฺพํ น นิสฺสโย ทาตพฺโพ น สามเณโร อุปฏฺฐาเปตพฺโพ. 
aparehi pi bhikkhave pañcah’ aṅgehi samannāgatena bhikkhunā na upasampādetabbaṃ, na nissayo dātabbo, na sāmaṇero upaṭṭhāpetabbo:  na paṭibalo hoti antevāsiṃ vā saddhivihāriṃ vā gilānaṃ upaṭṭhātuṃ vā upaṭṭhāpetuṃ vā, uppannaṃ anabhiratiṃ vūpakāsetuṃ vā vūpakāsāpetuṃ vā, uppannaṃ kukkuccaṃ dhammato vinodetuṃ vā vinodāpetuṃ vā, āpattiṃ na jānāti, āpattiyā vuṭṭhānaṃ na jānāti.  imehi kho bhikkhave pañcah’ aṅgehi samannāgatena bhikkhunā na upasampādetabbaṃ, na nissayo dātabbo, na sāmaṇero upaṭṭhāpetabbo. |10| 
In these five cases, &c.  'And also in other five cases, O Bhikkhus, a Bhikkhu should not confer, &c.:  When he is not able to nurse or to get nursed an antevâsika or a saddhivihârika when he is sick, to appease him or to cause him to be appeased when discontent with religious life has sprung up within him, to dispel or to cause to be dispelled according to the Dhamma doubts of conscience which have arisen in his mind; when he does not know what is an offence; or does not know how to atone for an offence. 
(กัณหปักษ์ ๕) ดูกรภิกษุทั้งหลาย ภิกษุผู้ประกอบด้วยองค์ ๕ แม้อื่นอีก ไม่พึงให้อุปสมบท ไม่พึงให้นิสสัย ไม่พึงให้สามเณรอุปัฏฐาก คือ  ๑. ไม่สามารถจะพยาบาลเอง หรือให้ผู้อื่นพยาบาลอันเตวาสิก หรือสัทธิวิหาริกผู้อาพาธ ๒. ไม่สามารถจะระงับเอง หรือหาผู้อื่นให้ช่วยระงับความกระสัน ๓. ไม่สามารถจะบรรเทาเอง หรือหาผู้อื่นให้ช่วยบรรเทาความเบื่อหน่ายอันเกิดขึ้นแล้วโดยธรรม ๔. ไม่รู้จักอาบัติ และ ๕. ไม่รู้จักวิธีออกจากอาบัติ  ดูกรภิกษุทั้งหลาย ภิกษุผู้ประกอบด้วยองค์ ๕ นี้แล ไม่พึงให้อุปสมบท ไม่พึงให้นิสสัย ไม่พึงให้สามเณรอุปัฏฐาก. 
“ปญฺจหิ ภิกฺขเว องฺเคหิ สมนฺนาคเตน ภิกฺขุนา อุปสมฺปาเทตพฺพํ นิสฺสโย ทาตพฺโพ สามเณโร อุปฏฺฐาเปตพฺโพ.  อตฺตนา อเสกฺเขน สีลกฺขนฺเธน สมนฺนาคโต โหติ ปรํ อเสกฺเข สีลกฺขนฺเธ สมาทเปตา อตฺตนา อเสกฺเขน สมาธิกฺขนฺเธน สมนฺนาคโต โหติ ปรํ อเสกฺเข สมาธิกฺขนฺเธ สมาทเปตา อตฺตนา อเสกฺเขน ปญฺญากฺขนฺเธน สมนฺนาคโต โหติ ปรํ อเสกฺเข ปญฺญากฺขนฺเธ สมาทเปตา อตฺตนา อเสกฺเขน วิมุตฺติกฺขนฺเธน สมนฺนาคโต โหติ ปรํ อเสกฺเข วิมุตฺติกฺขนฺเธ สมาทเปตา อตฺตนา อเสกฺเขน วิมุตฺติญาณทสฺสนกฺขนฺเธน สมนฺนาคโต โหติ ปรํ อเสกฺเข วิมุตฺติญาณทสฺสนกฺขนฺเธ สมาทเปตา  อิเมหิ โข ภิกฺขเว ปญฺจหงฺเคหิ สมนฺนาคเตน ภิกฺขุนา อุปสมฺปาเทตพฺพํ นิสฺสโย ทาตพฺโพ สามเณโร อุปฏฺฐาเปตพฺโพ. 
pañcahi bhikkhave aṅgehi samannāgatena bhikkhunā upasampādetabbaṃ, nissayo dātabbo, sāmaṇero upaṭṭhāpetabbo:  paṭibalo hoti antevāsiṃ vā saddhivihāriṃ vā gilānaṃ upaṭṭhātuṃ vā upaṭṭhāpetuṃ vā, uppannaṃ anabhiratiṃ vūpakāsetuṃ vā vūpakāsāpetuṃ vā, uppannaṃ kukkuccaṃ dhammato vinodetuṃ vā vinodāpetuṃ vā, āpattiṃ jānāti, āpattiyā vuṭṭhānaṃ jānati.  imehi kho bhikkhave pañcah’ aṅgehi samannāgatena bhikkhunā upasampādetabbaṃ, nissayo dātabbo, sāmaṇero upaṭṭhāpetabbo. |11| 
In these five cases, &c.  'In five cases, O Bhikkhus, a Bhikkhu may confer, &c.: When he is able (&c., down to:);  when he knows what is an offence; and knows how to atone for an offence. 
(ศุกลปักษ์ ๕) ดูกรภิกษุทั้งหลาย ภิกษุผู้ประกอบด้วยองค์ ๕ พึงให้อุปสมบท พึงให้นิสสัย พึงให้สามเณรอุปัฏฐาก คือ  ๑. อาจจะพยาบาลเอง หรือให้ผู้อื่นพยาบาลอันเตวาสิก หรือสัทธิวิหาริกผู้อาพาธ ๒. อาจจะระงับเอง หรือหาผู้อื่นให้ช่วยระงับความกระสัน ๓. อาจจะบรรเทาเอง หรือหาผู้อื่นให้ช่วยบรรเทาความเบื่อหน่าย อันเกิดขึ้นแล้วโดยธรรม ๔. รู้จักอาบัติ และ ๕. รู้จักวิธีออกจากอาบัติ  ดูกรภิกษุทั้งหลาย ภิกษุผู้ประกอบด้วยองค์ ๕ นี้แล พึงให้อุปสมบท พึงให้นิสสัย พึงให้สามเณรอุปัฏฐาก. 
“อปเรหิปิ ภิกฺขเว ปญฺจหงฺเคหิ สมนฺนาคเตน ภิกฺขุนา น อุปสมฺปาเทตพฺพํ น นิสฺสโย ทาตพฺโพ น สามเณโร อุปฏฺฐาเปตพฺโพ.  อสฺสทฺโธ โหติ อหิริโก โหติ อโนตฺตปฺปี โหติ กุสีโต โหติ มุฏฺฐสฺสติ โหติ  อิเมหิ โข ภิกฺขเว ปญฺจหงฺเคหิ สมนฺนาคเตน ภิกฺขุนา น อุปสมฺปาเทตพฺพํ น นิสฺสโย ทาตพฺโพ น สามเณโร อุปฏฺฐาเปตพฺโพ. 
aparehi pi bhikkhave pañcah’ aṅgehi samannāgatena bhikkhunā na upasampādetabbaṃ, na nissayo dātabbo, na sāmaṇero upaṭṭhāpetabbo:  na paṭibalo hoti antevāsiṃ vā saddhivihāriṃ vā abhisamācārikāya sikkhāya sikkhāpetuṃ, ādibrahmacariyikāya sikkhāya vinetuṃ, abhidhamme vinetuṃ, abhivinaye vinetuṃ, uppannaṃ diṭṭhigataṃ dhammato vivecetuṃ vivecāpetuṃ.  imehi kho bhikkhave pañcah’ aṅgehi samannāgatena bhikkhunā na upasampādetabbaṃ, na nissayo dātabbo, na sāmaṇero upaṭṭhāpetabbo. |12| 
In these five cases, &c.  'And also in other five cases, O Bhikkhus, a Bhikkhu should not confer, &c.:  When he is not able to train an antevâsika or a saddhivihârika in the precepts of proper conduct, to educate him in the elements of morality, to instruct him in what pertains to the Dhamma, to instruct him in what pertains to the Vinaya, to discuss or to make another discuss according to the Dhamma a false doctrine that might arise. 
(กัณหปักษ์ ๖) ดูกรภิกษุทั้งหลาย ภิกษุผู้ประกอบด้วยองค์ ๕ แม้อื่นอีก ไม่พึงให้อุปสมบท ไม่พึงให้นิสสัย ไม่พึงให้สามเณรอุปัฏฐาก คือ  ๑. ไม่อาจจะฝึกปรืออันเตวาสิกหรือสัทธิวิหาริก ในสิกขาอันเป็นอภิสมาจาร ๒. ไม่อาจจะแนะนำในสิกขา อันเป็นส่วนเบื้องต้นแห่งพรหมจรรย์ ๓. ไม่อาจจะแนะนำในธรรมอันยิ่งขึ้นไป ๔. ไม่อาจจะแนะนำในวินัยอันยิ่งขึ้นไป และ ๕. ไม่อาจจะเปลื้องความเห็นผิดอันเกิดขึ้นแล้วโดยธรรม  ดูกรภิกษุทั้งหลาย ภิกษุผู้ประกอบด้วยองค์ ๕ นี้แล ไม่พึงให้อุปสมบท ไม่พึงให้นิสสัย ไม่พึงให้สามเณรอุปัฏฐาก. 
“ปญฺจหิ ภิกฺขเว องฺเคหิ สมนฺนาคเตน ภิกฺขุนา อุปสมฺปาเทตพฺพํ นิสฺสโย ทาตพฺโพ สามเณโร อุปฏฺฐาเปตพฺโพ.  สทฺโธ โหติ หิริมา โหติ โอตฺตปฺปี โหติ อารทฺธวีริโย โหติ อุปฏฺฐิตสฺสติ โหติ  อิเมหิ โข ภิกฺขเว ปญฺจหงฺเคหิ สมนฺนาคเตน ภิกฺขุนา อุปสมฺปาเทตพฺพํ นิสฺสโย ทาตพฺโพ สามเณโร อุปฏฺฐาเปตพฺโพ. 
pañcahi bhikkhave aṅgehi samannāgatena bhikkhunā upasampādetabbaṃ, nissayo dātabbo, sāmaṇero upaṭṭhāpetabbo:  paṭibalo hoti antevāsiṃ vā saddhivihāriṃ vā abhisamācārikāya sikkhāya sikkhāpetuṃ, ādibrahmacariyikāya sikkhāya vinetuṃ, abhidhamme vinetuṃ, abhivinaye vinetuṃ, uppannaṃ diṭṭhigataṃ dham-(65)mato vivecetuṃ vivecāpetuṃ.  imehi kho {bhikkhave} pañcah’ aṅgehi samannāgatena bhikkhunā upasampādetabbaṃ, nissayo dātabbo, sāmaṇero upaṭṭhāpetabbo. |13| 
In these:fÏve cases, &c.  'In five cases, O Bhikkhus, a Bhikkhu may confer, &c.:  When he is able, &c. 
(ศุกลปักษ์ ๖) ดูกรภิกษุทั้งหลาย ภิกษุผู้ประกอบด้วยองค์ ๕ พึงให้อุปสมบท พึงให้นิสสัย พึงให้สามเณรอุปัฏฐาก คือ  ๑. อาจจะฝึกปรืออันเตวาสิกหรือสัทธิวิหาริก ในสิกขาอันเป็นอภิสมาจาร ๒. อาจจะแนะนำในสิกขา อันเป็นส่วนเบื้องต้นแห่งพรหมจรรย์ ๓. อาจจะแนะนำในธรรมอันยิ่งขึ้นไป ๔. อาจจะแนะนำในวินัยอันยิ่งขึ้นไป และ ๕. อาจจะเปลื้องความเห็นผิดอันเกิดขึ้นแล้วโดยธรรม  ดูกรภิกษุทั้งหลาย ภิกษุผู้ประกอบด้วยองค์ ๕ นี้แล พึงให้อุปสมบท พึงให้นิสสัย พึงให้สามเณรอุปัฏฐาก. 
“อปเรหิปิ ภิกฺขเว ปญฺจหงฺเคหิ สมนฺนาคเตน ภิกฺขุนา น อุปสมฺปาเทตพฺพํ น นิสฺสโย ทาตพฺโพ น สามเณโร อุปฏฺฐาเปตพฺโพ.  อธิสีเล สีลวิปนฺโน โหติ อชฺฌาจาเร อาจารวิปนฺโน โหติ อติทิฏฺฐิยา ทิฏฺฐิวิปนฺโน โหติ อปฺปสฺสุโต โหติ ทุปฺปญฺโญ โหติ  อิเมหิ โข ภิกฺขเว ปญฺจหงฺเคหิ สมนฺนาคเตน ภิกฺขุนา น อุปสมฺปาเทตพฺพํ น นิสฺสโย ทาตพฺโพ น สามเณโร อุปฏฺฐาเปตพฺโพ. 
aparehi pi bhikkhave pañcah’ aṅgehi samannāgatena bhikkhunā na upasampādetabbaṃ, na nissayo dātabbo, na sāmaṇero upaṭṭhāpetabbo:  āpattiṃ na jānāti, anāpattiṃ na jānāti, lahukaṃ āpattiṃ na jānāti, garukaṃ āpattiṃ na jānāti, ubhayāni kho pan’ assa pātimokkhāni vitthārena na svāgatāni honti, na suvibhattāni, na suppavattīni, na suvinicchitāni suttato anuvyañjanaso.  imehi kho bhikkhave pañcah’ aṅgehi samannāgatena bhikkhunā na upasampādetabbaṃ, na nissayo dātabbo, na sāmaṇero upaṭṭhāpetabbo. |14| 
  'And also in other five cases, O Bhikkhus, a Bhikkhu should not confer, &c.:  When he does not know what is an offence; or does not know what is no offence; or does not know what is a light offence; or does not know what is a grave offence; when the two Pâtimokkhas are not perfectly known to him in their entirety, with all their divisions and their whole course, and with the entire discussion according to the single rules and to the single parts of each rule. 
(กัณหปักษ์ ๗) ดูกรภิกษุทั้งหลาย ภิกษุผู้ประกอบด้วยองค์ ๕ แม้อื่นอีก ไม่พึงให้อุปสมบท ไม่พึงให้นิสสัย ไม่พึงให้สามเณรอุปัฏฐาก คือ  ๑. ไม่รู้จักอาบัติ ๒. ไม่รู้จักอนาบัติ ๓. ไม่รู้จักอาบัติเบา ๔. ไม่รู้จักอาบัติหนัก และ ๕. เธอจำปาติโมกข์ทั้งสองไม่ได้ดีโดยพิสดาร จำแนกไม่ได้ด้วยดี ไม่คล่องแคล่วดี วินิจฉัยไม่เรียบร้อย โดยสุตตะ โดยอนุพยัญชนะ  ดูกรภิกษุทั้งหลาย ภิกษุผู้ประกอบด้วยองค์ ๕ นี้แล ไม่พึงให้อุปสมบท ไม่พึงให้นิสสัย ไม่พึงให้สามเณรอุปัฏฐาก. 
“ปญฺจหิ ภิกฺขเว องฺเคหิ สมนฺนาคเตน ภิกฺขุนา อุปสมฺปาเทตพฺพํ นิสฺสโย ทาตพฺโพ สามเณโร อุปฏฺฐาเปตพฺโพ.  น อธิสีเล สีลวิปนฺโน โหติ น อชฺฌาจาเร อาจารวิปนฺโน โหติ น อติทิฏฺฐิยา ทิฏฺฐิวิปนฺโน โหติ พหุสฺสุโต โหติ ปญฺญวา โหติ  อิเมหิ โข ภิกฺขเว ปญฺจหงฺเคหิ สมนฺนาคเตน ภิกฺขุนา อุปสมฺปาเทตพฺพํ นิสฺสโย ทาตพฺโพ สามเณโร อุปฏฺฐาเปตพฺโพ. 
pañcahi bhikkhave aṅgehi samannāgatena bhikkhunā upasampādetabbaṃ, nissayo dātabbo, sāmaṇero upaṭṭhāpetabbo:  āpattiṃ jānāti, anāpattiṃ jānāti, lahukaṃ āpattiṃ jānāti, garukaṃ āpattiṃ jānāti, ubhayāni kho pan’ assa pātimokkhāni vitthārena svāgatāni honti suvibhattāni suppavattīni suvinicchitāni suttato anuvyañjanaso.  imehi kho bhikkhave pañcah’ aṅgehi samannāgatena bhikkhunā upasampādetabbaṃ, nissayo dātabbo, sāmaṇero upaṭṭhāpetabbo. |15| 
In these five cases, &c.  'In five cases, O Bhikkhus, a Bhikkhu may confer, &c.:  When he knows, &c. 
(ศุกลปักษ์ ๗) ดูกรภิกษุทั้งหลาย ภิกษุผู้ประกอบองค์ ๕ พึงให้อุปสมบท พึงให้นิสสัย พึงให้สามเณรอุปัฏฐาก คือ  ๑. รู้จักอาบัติ ๒. รู้จักอนาบัติ ๓. รู้จักอาบัติเบา ๔. รู้จักอาบัติหนัก และ ๕. เธอจำปาติโมกข์ทั้งสองได้ดีโดยพิสดาร จำแนกดี คล่องแคล่วดี วินิจฉัยเรียบร้อยโดยสุตตะ โดยอนุพยัญชนะ  ดูกรภิกษุทั้งหลาย ภิกษุผู้ประกอบด้วยองค์ ๕ นี้แล พึงให้อุปสมบท พึงให้นิสสัย พึงให้สามเณรอุปัฏฐาก. 
“อปเรหิปิ ภิกฺขเว ปญฺจหงฺเคหิ สมนฺนาคเตน ภิกฺขุนา น อุปสมฺปาเทตพฺพํ น นิสฺสโย ทาตพฺโพ น สามเณโร อุปฏฺฐาเปตพฺโพ.  น ปฏิพโล โหติ อนฺเตวาสึ วา สทฺธิวิหารึ วา คิลานํ อุปฏฺฐาตุํ วา อุปฏฺฐาเปตุํ วา อนภิรตํ วูปกาเสตุํ วา วูปกาสาเปตุํ วา อุปฺปนฺนํ กุกฺกุจฺจํ ธมฺมโต วิโนเทตุํ อาปตฺตึ น ชานาติ อาปตฺติยา วุฏฺฐานํ น ชานาติ  อิเมหิ โข ภิกฺขเว ปญฺจหงฺเคหิ สมนฺนาคเตน ภิกฺขุนา น อุปสมฺปาเทตพฺพํ น นิสฺสโย ทาตพฺโพ น สามเณโร อุปฏฺฐาเปตพฺโพ. 
aparehi pi bhikkhave pañcah’ aṅgehi samannāgatena bhikkhunā na upasampādetabbaṃ, na nissayo dātabbo, na sāmaṇero upaṭṭhāpetabbo:  āpattiṃ na jānāti, anāpattiṃ na jānāti, lahukaṃ āpattiṃ na jānāti, garukaṃ āpattiṃ na jānāti, ūnadasavasso hoti.  imehi kho bhikkhave pañcah’ aṅgehi samannāgatena bhikkhunā na upasampādetabbaṃ, na nissayo dātabbo, na sāmaṇero upaṭṭhāpetabbo. |16| 
  'And also in other five cases, O Bhikkhus, a Bhikkhu should not confer, &c.:  When he does not know what is an offence; or does not know what is no offence; or does not know what is a light offence; or does not know what is a grave offence; or when he has not completed the tenth year (after his upasampadâ). 
(กัณหปักษ์ ๘) ดูกรภิกษุทั้งหลาย ภิกษุผู้ประกอบด้วยองค์ ๕ แม้อื่นอีก ไม่พึงให้อุปสมบท ไม่พึงให้นิสสัย ไม่พึงให้สามเณรอุปัฏฐาก คือ  ๑. ไม่รู้จักอาบัติ ๒. ไม่รู้จักอนาบัติ ๓. ไม่รู้จักอาบัติเบา ๔. ไม่รู้จักอาบัติหนัก และ ๕. มีพรรษาหย่อน ๑๐  ดูกรภิกษุทั้งหลาย ภิกษุผู้ประกอบด้วยองค์ ๕ นี้แล ไม่พึงให้อุปสมบท ไม่พึงให้นิสสัย ไม่พึงให้สามเณรอุปัฏฐาก. 
“ปญฺจหิ ภิกฺขเว องฺเคหิ สมนฺนาคเตน ภิกฺขุนา อุปสมฺปาเทตพฺพํ นิสฺสโย ทาตพฺโพ สามเณโร อุปฏฺฐาเปตพฺโพ.  ปฏิพโล โหติ อนฺเตวาสึ วา สทฺธิวิหารึ วา คิลานํ อุปฏฺฐาตุํ วา อุปฏฺฐาเปตุํ วา อนภิรตํ วูปกาเสตุํ วา วูปกาสาเปตุํ วา อุปฺปนฺนํ กุกฺกุจฺจํ ธมฺมโต วิโนเทตุํ อาปตฺตึ ชานาติ อาปตฺติยา วุฏฺฐานํ ชานาติ  อิเมหิ โข ภิกฺขเว ปญฺจหงฺเคหิ สมนฺนาคเตน ภิกฺขุนา อุปสมฺปาเทตพฺพํ นิสฺสโย ทาตพฺโพ สามเณโร อุปฏฺฐาเปตพฺโพ. 
pañcahi bhikkhave aṅgehi samannāgatena bhikkhunā upasampādetabbaṃ, nissayo dātabbo, sāmaṇero upaṭṭhāpetabbo:  āpattiṃ jānāti, anāpattiṃ jānāti, lahukaṃ āpattiṃ jānāti, garukaṃ āpattiṃ jānāti, dasavasso vā hoti atirekadasavasso vā.  imehi kho bhikkhave pañcah’ aṅgehi samannāgatena bhikkhunā upasampādetabbaṃ, nissayo dātabbo, sāmaṇero upaṭṭhāpetabbo ’ti. |17| 
In these five cases, &c.  'In five cases, O Bhikkhus, a Bhikkhu may confer, &c.:  When he knows (&c., down to:); when he has completed ten years or more than ten years (after his upasampadâ). 
(ศุกลปักษ์ ๘) ดูกรภิกษุทั้งหลาย ภิกษุผู้ประกอบด้วยองค์ ๕ พึงให้อุปสมบท พึงให้นิสสัย พึงให้สามเณรอุปัฏฐาก คือ  ๑. รู้จักอาบัติ ๒. รู้จักอนาบัติ ๓. รู้จักอาบัติเบา ๔. รู้จักอาบัติหนัก และ ๕. มีพรรษาได้ ๑๐ หรือมีพรรษาเกิน ๑๐  ดูกรภิกษุทั้งหลาย ภิกษุผู้ประกอบด้วยองค์ ๕ นี้แล พึงให้อุปสมบท พึงให้นิสสัย พึงให้สามเณรอุปัฏฐาก. 
“อปเรหิปิ ภิกฺขเว ปญฺจหงฺเคหิ สมนฺนาคเตน ภิกฺขุนา น อุปสมฺปาเทตพฺพํ น นิสฺสโย ทาตพฺโพ น สามเณโร อุปฏฺฐาเปตพฺโพ.  น ปฏิพโล โหติ อนฺเตวาสึ วา สทฺธิวิหารึ วา อภิสมาจาริกาย สิกฺขาย สิกฺขาเปตุํ อาทิพฺรหฺมจริยกาย สิกฺขาย วิเนตุํ อภิธมฺเม วิเนตุํ อภิวินเย วิเนตุํ อุปฺปนฺนํ ทิฏฺฐิคตํ ธมฺมโต วิเวเจตุํ  อิเมหิ โข ภิกฺขเว ปญฺจหงฺเคหิ สมนฺนาคเตน ภิกฺขุนา น อุปสมฺปาเทตพฺพํ น นิสฺสโย ทาตพฺโพ น สามเณโร อุปฏฺฐาเปตพฺโพ. 
upasampādetabbapañcakaṃ soḷasavāraṃ niṭṭhitaṃ. ||36|| 
In these five cases, &c.' 
องค์ ๕ แห่งภิกษุผู้ให้อุปสมบท ๑๖ หมวด จบ. 
“ปญฺจหิ ภิกฺขเว องฺเคหิ สมนฺนาคเตน ภิกฺขุนา อุปสมฺปาเทตพฺพํ นิสฺสโย ทาตพฺโพ สามเณโร อุปฏฺฐาเปตพฺโพ. 
chahi bhikkhave aṅgehi samannāgatena bhikkhunā na upasampādetabbaṃ, na nissayo dātabbo, na sāmaṇero upa-(66)ṭṭhāpetabbo:  na asekhena sīlakkhandhena samannāgato hoti, na asekhena samādhikkhandhena s. h., na asekhena paññākkhandhena s. h., na asekhena vimuttikkhandhena s. h., na asekhena vimuttiñāṇadassanakkhandhena s. h., ūnadasavasso hoti.  imehi kho bhikkhave chah’ aṅgehi samannāgatena bhikkhunā na upasampādetabbaṃ, na nissayo dātabbo,na sāmaṇero upaṭṭhāpetabbo. |1| 
End of the sixteen times five cases concerning the admissibility of upasampadâ.  'In six cases, O Bhikkhus, a Bhikkhu should not confer, &c.1'   
องค์ ๖ แห่งภิกษุผู้ให้อุปสมบท ๑๖ หมวด // (กัณหปักษ์ ๑) [๙๙] ดูกรภิกษุทั้งหลาย ภิกษุผู้ประกอบด้วยองค์ ๖ ไม่พึงให้อุปสมบท ไม่พึงให้นิสสัย ไม่พึงให้สามเณรอุปัฏฐาก คือ  ๑. ไม่ประกอบด้วยกองศีล อันเป็นของพระอเสขะ ๒. ไม่ประกอบด้วยกองสมาธิ อันเป็นของพระอเสขะ ๓. ไม่ประกอบด้วยกองปัญญา อันเป็นของพระอเสขะ ๔. ไม่ประกอบด้วยกองวิมุติ อันเป็นของพระอเสขะ ๕. ไม่ประกอบด้วยกองวิมุตติญาณทัสสนะ อันเป็นของพระอเสขะ และ ๖. มีพรรษาหย่อน ๑๐  ดูกรภิกษุทั้งหลาย ภิกษุผู้ประกอบด้วยองค์ ๖ นี้แล ไม่พึงให้อุปสมบท ไม่พึงให้นิสสัย ไม่พึงให้สามเณรอุปัฏฐาก. 
ปฏิพโล โหติ อนฺเตวาสึ วา สทฺธิวิหารึ วา อภิสมาจาริกาย สิกฺขาย สิกฺขาเปตุํ อาทิพฺรหฺมจริยกาย สิกฺขาย วิเนตุํ อภิธมฺเม วิเนตุํ อภิวินเย วิเนตุํ อุปฺปนฺนํ ทิฏฺฐิคตํ ธมฺมโต วิเวเจตุํ  อิเมหิ โข ภิกฺขเว ปญฺจหงฺเคหิ สมนฺนาคเตน ภิกฺขุนา อุปสมฺปาเทตพฺพํ นิสฺสโย ทาตพฺโพ สามเณโร อุปฏฺฐาเปตพฺโพ.  “อปเรหิปิ ภิกฺขเว ปญฺจหงฺเคหิ สมนฺนาคเตน ภิกฺขุนา น อุปสมฺปาเทตพฺพํ น นิสฺสโย ทาตพฺโพ น สามเณโร อุปฏฺฐาเปตพฺโพ. 
chahi bhikkhave aṅgehi samannāgatena bhikkhunā upasampādetabbaṃ, nissayo dātabbo, sāmaṇero upaṭṭhāpetabbo:  asekhena sīlakkhandhena samannāgato hoti, . . . {asekhena} vimuttiñāṇadassanakkhandhena s. h., dasavasso vā hoti atirekadasavasso vā.  imehi kho bhikkhave chah’ aṅgehi samannāgatena bhikkhunā upasampādetabbaṃ, nissayo dātabbo, sāmaṇero upaṭṭhāpetabbo. |2| 
     
(ศุกลปักษ์ ๑) ดูกรภิกษุทั้งหลาย ภิกษุผู้ประกอบด้วยองค์ ๖ พึงให้อุปสมบท พึงให้นิสสัย พึงให้สามเณรอุปัฏฐาก คือ  ๑. ประกอบด้วยกองศีล อันเป็นของพระอเสขะ ๒. ประกอบด้วยกองสมาธิ อันเป็นของพระอเสขะ ๓. ประกอบด้วยกองปัญญา อันเป็นของพระอเสขะ ๔. ประกอบด้วยกองวิมุติ อันเป็นของพระอเสขะ ๕. ประกอบด้วยกองวิมุตติญาณทัสสนะ อันเป็นของพระอเสขะ และ ๖. มีพรรษาได้ ๑๐ หรือมีพรรษาเกิน ๑๐  ดูกรภิกษุทั้งหลาย ภิกษุผู้ประกอบด้วยองค์ ๖ นี้แล พึงให้อุปสมบท พึงให้นิสสัย พึงให้สามเณรอุปัฏฐาก. 
อาปตฺตึ น ชานาติ อนาปตฺตึ น ชานาติ ลหุกํ อาปตฺตึ น ชานาติ ครุกํ อาปตฺตึ น ชานาติ อุภยานิ โข ปนสฺส ปาติโมกฺขานิ วิตฺถาเรน น สฺวาคตานิ โหนฺติ น สุวิภตฺตานิ น สุปฺปวตฺตีนิ น สุวินิจฺฉิตานิ สุตฺตโส อนุพฺยญฺชนโส  อิเมหิ โข ภิกฺขเว ปญฺจหงฺเคหิ สมนฺนาคเตน ภิกฺขุนา น อุปสมฺปาเทตพฺพํ น นิสฺสโย ทาตพฺโพ น สามเณโร อุปฏฺฐาเปตพฺโพ.  “ปญฺจหิ ภิกฺขเว องฺเคหิ สมนฺนาคเตน ภิกฺขุนา อุปสมฺปาเทตพฺพํ นิสฺสโย ทาตพฺโพ สามเณโร อุปฏฺฐาเปตพฺโพ. 
aparehi pi bhikkhave chah’ aṅgehi samannāgatena bhikkhunā na upasampādetabbaṃ, na nissayo dātabbo, na sāmaṇero upaṭṭhāpetabbo:  attanā na asekhena sīlakkhandhena samannāgato hoti, na paraṃ asekhe sīlakkhandhe samādapetā, . . . attanā na asekhena vimuttiñāṇadassanakkhandhena s. h., na paraṃ asekhe vimuttiñāṇadassanakkhandhe samādapetā, ūnadasavasso hoti.  imehi kho bhikkhave chah’ aṅgehi samannāgatena bhikkhunā na upasampādetabbaṃ, na nissayo dātabbo, na sāmaṇero upaṭṭhāpetabbo. |3| 
     
(กัณหปักษ์ ๒) ดูกรภิกษุทั้งหลาย ภิกษุผู้ประกอบด้วยองค์ ๖ แม้อื่นอีก ไม่พึงให้อุปสมบท ไม่พึงให้นิสสัย ไม่พึงให้สามเณรอุปัฏฐาก คือ  ๑. ตนเองไม่ประกอบด้วยกองศีล อันเป็นของพระอเสขะ และไม่ชักชวนผู้อื่นในกองศีล อันเป็นของพระอเสขะ ๒. ตนเองไม่ประกอบด้วยกองสมาธิ อันเป็นของพระอเสขะ และไม่ชักชวนผู้อื่นในกองสมาธิ อันเป็นของพระอเสขะ ๓. ตนเองไม่ประกอบด้วยกองปัญญา อันเป็นของพระอเสขะ และไม่ชักชวนผู้อื่นในกองปัญญา อันเป็นของพระอเสขะ ๔. ตนเองไม่ประกอบด้วยกองวิมุติ อันเป็นของพระอเสขะ และไม่ชักชวนผู้อื่นในกองวิมุติ อันเป็นของพระอเสขะ ๕. ตนเองไม่ประกอบด้วยกองวิมุตติญาณทัสสนะ อันเป็นของพระอเสขะ และไม่ชักชวนผู้อื่นในกองวิมุตติญาณทัสสนะ อันเป็นของพระอเสขะ และ ๖. มีพรรษาหย่อน ๑๐  ดูกรภิกษุทั้งหลาย ภิกษุผู้ประกอบด้วยองค์ ๖ นี้แล ไม่พึงให้อุปสมบท ไม่พึงให้นิสสัย ไม่พึงให้สามเณรอุปัฏฐาก. 
อาปตฺตึ ชานาติ อนาปตฺตึ ชานาติ ลหุกํ อาปตฺตึ ชานาติ ครุกํ อาปตฺตึ ชานาติ อุภยานิ โข ปนสฺส ปาติโมกฺขานิ วิตฺถาเรน สฺวาคตานิ โหนฺติ สุวิภตฺตานิ สุปฺปวตฺตีนิ สุวินิจฺฉิตานิ สุตฺตโส อนุพฺยญฺชนโส  อิเมหิ โข ภิกฺขเว ปญฺจหงฺเคหิ สมนฺนาคเตน ภิกฺขุนา อุปสมฺปาเทตพฺพํ นิสฺสโย ทาตพฺโพ สามเณโร อุปฏฺฐาเปตพฺโพ.  “อปเรหิปิ ภิกฺขเว ปญฺจหงฺเคหิ สมนฺนาคเตน ภิกฺขุนา น อุปสมฺปาเทตพฺพํ น นิสฺสโย ทาตพฺโพ น สามเณโร อุปฏฺฐาเปตพฺโพ. 
chahibhikkhave aṅgehi samannāgatena bhikkhunā upasampādetabbaṃ, nissayo dātabbo, sāmaṇero upaṭṭhāpetabbo:  attanā asekhena sīlakkhandhena samannāgato hoti, paraṃ asekhe sīlakkhandhe samādapetā, . . . attanā asekhena vimuttiñāṇadassanakkhandhena samannāgato hoti, paraṃ asekhe vimuttiñāṇadassanakkhandhe samādapetā, dasavasso vā hoti atirekadasavasso vā.  imehi kho bhikkhave chah’ aṅgehi samannāgatena bhikkhunā upasampādetabbaṃ, nissayo dātabbo, sāmaṇero upaṭṭhāpetabbo. |4| 
     
(ศุกลปักษ์ ๒) ดูกรภิกษุทั้งหลาย ภิกษุผู้ประกอบด้วยองค์ ๖ พึงให้อุปสมบท พึงให้นิสสัย พึงให้สามเณรอุปัฏฐาก คือ  ๑. ตนเองประกอบด้วยกองศีล อันเป็นของพระอเสขะ และชักชวนผู้อื่นในกองศีลอันเป็นของพระอเสขะ ๒. ตนเองประกอบด้วยกองสมาธิ อันเป็นของพระอเสขะ และชักชวนผู้อื่นในกองสมาธิ อันเป็นของพระอเสขะ ๓. ตนเองประกอบด้วยกองปัญญา อันเป็นของพระอเสขะ และชักชวนผู้อื่นในกองปัญญา อันเป็นของพระอเสขะ ๔. ตนเองประกอบด้วยกองวิมุติ อันเป็นของพระอเสขะ และชักชวนผู้อื่นในกองวิมุติ อันเป็นของพระอเสขะ ๕. ตนเองประกอบด้วยกองวิมุตติญาณทัสสนะ อันเป็นของพระอเสขะ และชักชวนผู้อื่นในกองวิมุตติญาณทัสสนะ อันเป็นของพระอเสขะ และ ๖. มีพรรษาได้ ๑๐ หรือมีพรรษาเกิน ๑๐  ดูกรภิกษุทั้งหลาย ภิกษุผู้ประกอบด้วยองค์ ๖ นี้แล พึงให้อุปสมบท พึงให้นิสสัยพึงให้สามเณรอุปัฏฐาก. 
อาปตฺตึ น ชานาติ อนาปตฺตึ น ชานาติ ลหุกํ อาปตฺตึ น ชานาติ ครุกํ อาปตฺตึ น ชานาติ อูนทสวสฺโส โหติ  อิเมหิ โข ภิกฺขเว ปญฺจหงฺเคหิ สมนฺนาคเตน ภิกฺขุนา น อุปสมฺปาเทตพฺพํ น นิสฺสโย ทาตพฺโพ น สามเณโร อุปฏฺฐาเปตพฺโพ.  “ปญฺจหิ ภิกฺขเว องฺเคหิ สมนฺนาคเตน ภิกฺขุนา อุปสมฺปาเทตพฺพํ นิสฺสโย ทาตพฺโพ สามเณโร อุปฏฺฐาเปตพฺโพ. 
aparehi pi bhikkhave chah’ aṅgehi samannāgatena bhikkhunā na upasampādetabbaṃ, na nissayo dātabbo, na sāmaṇero upaṭṭhāpetabbo:  assaddho hoti, ahiriko hoti, anottappī hoti, kusīto hoti, muṭṭhassati hoti, ūnadasavasso hoti.  imehi kho bhikkhave chah’ aṅgehi samannāgatena bhikkhunā na upasampādetabbaṃ, na nissayo dātabbo, na sāmaṇero upaṭṭhāpetabbo. |5| 
     
(กัณหปักษ์ ๓) ดูกรภิกษุทั้งหลาย ภิกษุผู้ประกอบด้วยองค์ ๖ แม้อื่นอีก ไม่พึงให้อุปสมบท ไม่พึงให้นิสสัย ไม่พึงให้สามเณรอุปัฏฐาก คือ  ๑. เป็นผู้ไม่มีศรัทธา ๒. เป็นผู้ไม่มีหิริ ๓. เป็นผู้ไม่มีโอตตัปปะ ๔. เป็นผู้เกียจคร้าน ๕. เป็นผู้มีสติฟั่นเฟือน และ ๖. เป็นผู้มีพรรษาหย่อน ๑๐  ดูกรภิกษุทั้งหลาย ภิกษุประกอบด้วยองค์ ๖ นี้แล ไม่พึงให้อุปสมบท ไม่พึงให้นิสสัย ไม่พึงให้สามเณรอุปัฏฐาก. 
อาปตฺตึ ชานาติ อนาปตฺตึ ชานาติ ลหุกํ อาปตฺตึ ชานาติ ครุกํ อาปตฺตึ ชานาติ ทสวสฺโส วา โหติ อติเรกทสวสฺโส วา  อิเมหิ โข ภิกฺขเว ปญฺจหงฺเคหิ สมนฺนาคเตน ภิกฺขุนา อุปสมฺปาเทตพฺพํ นิสฺสโย ทาตพฺโพ สามเณโร อุปฏฺฐาเปตพฺโพ”ติ.  อุปสมฺปาเทตพฺพปญฺจกํ นิฏฺฐิตํ. 
chahi bhikkhave aṅgehi samannāgatena bhikkhunā [page 067]I. 37. 6-10.] MAHĀVAGGA. 67 upasampādetabbaṃ, nissayo dātabbo, sāmaṇero upaṭṭhāpetabbo:  saddho hoti, hirimā hoti, ottappī hoti, āraddhaviriyo hoti, upaṭṭhitasati hoti, dasavasso vā hoti atirekadasavasso vā.  imehi kho bhikkhave chah’ aṅgehi samannāgatena bhikkhunā upasampādetabbaṃ, nissayo dātabbo, sāmaṇero upaṭṭhāpetabbo. |6| 
     
(ศุกลปักษ์ ๓) ดูกรภิกษุทั้งหลาย ภิกษุผู้ประกอบด้วยองค์ ๖ พึงให้อุปสมบท พึงให้นิสสัย พึงให้สามเณรอุปัฏฐาก คือ  ๑. เป็นผู้มีศรัทธา ๒. เป็นผู้มีหิริ ๓. เป็นผู้มีโอตตัปปะ ๔. เป็นผู้ปรารภความเพียร ๕. เป็นผู้มีสติตั้งมั่น และ ๖. เป็นผู้มีพรรษาได้ ๑๐ หรือมีพรรษาเกิน ๑๐  ดูกรภิกษุทั้งหลาย ภิกษุผู้ประกอบด้วยองค์ ๖ นี้แล พึงให้อุปสมบท พึงให้นิสสัย พึงให้สามเณรอุปัฏฐาก. 
(๒๔. อุปสมฺปาเทตพฺพฉกฺกํ) ๘๕. “ฉหิ ภิกฺขเว องฺเคหิ สมนฺนาคเตน ภิกฺขุนา น อุปสมฺปาเทตพฺพํ น นิสฺสโย ทาตพฺโพ น สามเณโร อุปฏฺฐาเปตพฺโพ  น อเสกฺเขน สีลกฺขนฺเธน สมนฺนาคโต โหติ น อเสกฺเขน สมาธิกฺขนฺเธน สมนฺนาคโต โหติ น อเสกฺเขน ปญฺญากฺขนฺเธน สมนฺนาคโต โหติ น อเสกฺเขน วิมุตฺติกฺขนฺเธน สมนฺนาคโต โหติ น อเสกฺเขน วิมุตฺติญาณทสฺสนกฺขนฺเธน สมนฺนาคโต โหติ อูนทสวสฺโส โหติ  อิเมหิ โข ภิกฺขเว ฉหงฺเคหิ สมนฺนาคเตน ภิกฺขุนา น อุปสมฺปาเทตพฺพํ น นิสฺสโย ทาตพฺโพ น สามเณโร อุปฏฺฐาเปตพฺโพ. 
aparehi pi bhikkhave chah’ aṅgehi samannāgatena bhikkhunā na upasampādetabbaṃ, na nissayo dātabbo, na sāmaṇero upaṭṭhāpetabbo:  adhisīle sīlavipanno hoti, ajjhācāre ācāravipanno hoti, atidiṭṭhiyā diṭṭhivipanno hoti, {appassuto} hoti, duppañño hoti, ūnadasavasso hoti.  imehi kho bhikkhave chah’ aṅgehi samannāgatena bhikkhunā na upasampādetabbaṃ, na nissayo dātabbo, na sāmaṇero upaṭṭhāpetabbo. |7| 
     
(กัณหปักษ์ ๔) ดูกรภิกษุทั้งหลาย ภิกษุผู้ประกอบด้วยองค์ ๖ แม้อื่นอีก ไม่พึงให้อุปสมบท ไม่พึงให้นิสสัย ไม่พึงให้สามเณรอุปัฏฐาก คือ  ๑. เป็นผู้วิบัติด้วยศีล ในอธิศีล ๒. เป็นผู้วิบัติด้วยอาจาระ ในอัธยาจาร ๓. เป็นผู้วิบัติด้วยทิฏฐิ ในทิฏฐิยิ่ง ๔. เป็นผู้ได้ยินได้ฟังน้อย ๕. เป็นผู้มีปัญญาทราม และ ๖. เป็นผู้มีพรรษาหย่อน ๑๐  ดูกรภิกษุทั้งหลาย ภิกษุผู้ประกอบด้วยองค์ ๖ นี้แล ไม่พึงให้อุปสมบท ไม่พึงให้นิสสัย ไม่พึงให้สามเณรอุปัฏฐาก. 
“ฉหิ ภิกฺขเว องฺเคหิ สมนฺนาคเตน ภิกฺขุนา อุปสมฺปาเทตพฺพํ นิสฺสโย ทาตพฺโพ สามเณโร อุปฏฺฐาเปตพฺโพ.  อเสกฺเขน สีลกฺขนฺเธน สมนฺนาคโต โหติ อเสกฺเขน สมาธิกฺขนฺเธน สมนฺนาคโต โหติ อเสกฺเขน ปญฺญากฺขนฺเธน สมนฺนาคโต โหติ อเสกฺเขน วิมุตฺติกฺขนฺเธน สมนฺนาคโต โหติ อเสกฺเขน วิมุตฺติญาณทสฺสนกฺขนฺเธน สมนฺนาคโต โหติ ทสวสฺโส วา โหติ อติเรกทสวสฺโส วา  อิเมหิ โข ภิกฺขเว ฉหงฺเคหิ สมนฺนาคเตน ภิกฺขุนา อุปสมฺปาเทตพฺพํ นิสฺสโย ทาตพฺโพ สามเณโร อุปฏฺฐาเปตพฺโพ. 
chahi bhikkhave aṅgehi samannāgatena bhikkhunā upasampādetabbaṃ, nissayo dātabbo, sāmaṇero upaṭṭhāpetabbo:  na adhisīle sīlavipanno hoti, na ajjhācāre ācāravipanno hoti, na atidiṭṭhiyā diṭṭhivipanno hoti, bahussuto hoti, paññavā hoti, dasavasso vā hoti atirekadasavasso vā.  imehi kho bhikkhave chah’ aṅgehi samannāgatena bhikkhunā upasampādetabbaṃ, nissayo dātabbo, sāmaṇero upaṭṭhāpetabbo. |8| 
     
(ศุกลปักษ์ ๔) ดูกรภิกษุทั้งหลาย ภิกษุผู้ประกอบด้วยองค์ ๖ พึงให้อุปสมบท พึงให้นิสสัย พึงให้สามเณรอุปัฏฐาก คือ  ๑. เป็นผู้ไม่มีวิบัติด้วยศีล ในอธิศีล ๒. เป็นผู้ไม่วิบัติด้วยอาจาระ ในอัธยาจาร ๓. เป็นผู้ไม่วิบัติด้วยทิฏฐิ ในทิฏฐิยิ่ง ๔. เป็นผู้ได้ยินได้ฟังมาก ๕. เป็นผู้มีปัญญา และ ๖. เป็นผู้มีพรรษาได้ ๑๐ หรือมีพรรษาเกิน ๑๐  ดูกรภิกษุทั้งหลาย ภิกษุผู้ประกอบด้วยองค์ ๖ นี้แล พึงให้อุปสมบท พึงให้นิสสัย พึงให้สามเณรอุปัฏฐาก. 
“อปเรหิปิ ภิกฺขเว ฉหงฺเคหิ สมนฺนาคเตน ภิกฺขุนา น อุปสมฺปาเทตพฺพํ น นิสฺสโย ทาตพฺโพ น สามเณโร อุปฏฺฐาเปตพฺโพ.  อตฺตนา น อเสกฺเขน สีลกฺขนฺเธน สมนฺนาคโต โหติ น ปรํ อเสกฺเข สีลกฺขนฺเธ สมาทเปตา อตฺตนา น อเสกฺเขน สมาธิกฺขนฺเธน สมนฺนาคโต โหติ น ปรํ อเสกฺเข สมาธิกฺขนฺเธ สมาทเปตา อตฺตนา น อเสกฺเขน ปญฺญากฺขนฺเธน สมนฺนาคโต โหติ น ปรํ อเสกฺเข ปญฺญากฺขนฺเธ สมาทเปตา อตฺตนา น อเสกฺเขน วิมุตฺติกฺขนฺเธน สมนฺนาคโต โหติ น ปรํ อเสกฺเข วิมุตฺติกฺขนฺเธ สมาทเปตา อตฺตนา น อเสกฺเขน วิมุตฺติญาณทสฺสนกฺขนฺเธน สมนฺนาคโต โหติ น ปรํ อเสกฺเข วิมุตฺติญาณทสฺสนกฺขนฺเธ สมาทเปตา อูนทสวสฺโส โหติ  อิเมหิ โข ภิกฺขเว ฉหงฺเคหิ สมนฺนาคเตน ภิกฺขุนา น อุปสมฺปาเทตพฺพํ น นิสฺสโย ทาตพฺโพ น สามเณโร อุปฏฺฐาเปตพฺโพ. 
aparehi pi bhikkhave chah’ aṅgehi sammannāgatena bhikkhunā na upasampādetabbaṃ, na nissayo dātabbo, na sāmaṇero upaṭṭhāpetabbo:  na paṭibalo hoti antevāsiṃ vā saddhivihāriṃ vā gilānaṃ upaṭṭhātuṃ vā upaṭṭhāpetuṃ vā, uppannaṃ anabhiratiṃ vūpakāsetuṃ vā vūpakāsāpetuṃ vā, uppannaṃ kukkuccaṃ dhammato vinodetuṃ vā vinodāpetuṃ vā, āpattiṃ na jānāti, āpattiyā vuṭṭhānaṃ na jānāti, ūnadasavasso hoti.  imehi kho bhikkhave chah’ aṅgehi samannāgatena bhikkhunā na upasampādetabbaṃ, na nissayo dātabbo, na sāmaṇero upaṭṭhāpetabbo. |9| 
     
(กัณหปักษ์ ๕) ดูกรภิกษุทั้งหลาย ภิกษุผู้ประกอบด้วยองค์ ๖ แม้อื่นอีก ไม่พึงให้อุปสมบท ไม่พึงให้นิสสัย ไม่พึงให้สามเณรอุปัฏฐาก คือ  ๑. ไม่สามารถจะพยาบาลเอง หรือให้ผู้อื่นพยาบาลอันเตวาสิก หรือสัทธิวิหาริกผู้อาพาธ ๒. ไม่สามารถจะระงับเอง หรือหาผู้อื่นให้ช่วยระงับความกระสัน ๓. ไม่สามารถจะบรรเทาเอง หรือหาผู้อื่นให้ช่วยบรรเทาความเบื่อหน่ายอันเกิดขึ้นแล้วโดยธรรม ๔. ไม่รู้จักอาบัติ ๕. ไม่รู้จักวิธีออกจากอาบัติ และ ๖. มีพรรษาหย่อน ๑๐  ดูกรภิกษุทั้งหลาย ภิกษุผู้ประกอบด้วย ๖ นี้แล ไม่พึงให้อุปสมบท ไม่พึงให้นิสสัย ไม่พึงให้สามเณรอุปัฏฐาก. 
“ฉหิ ภิกฺขเว องฺเคหิ สมนฺนาคเตน ภิกฺขุนา อุปสมฺปาเทตพฺพํ นิสฺสโย ทาตพฺโพ สามเณโร อุปฏฺฐาเปตพฺโพ.  อตฺตนา อเสกฺเขน สีลกฺขนฺเธน สมนฺนาคโต โหติ ปรํ อเสกฺเข สีลกฺขนฺเธ สมาทเปตา อตฺตนา อเสกฺเขน สมาธิกฺขนฺเธน สมนฺนาคโต โหติ ปรํ อเสกฺเข สมาธิกฺขนฺเธ สมาทเปตา. อตฺตนา อเสกฺเขน ปญฺญากฺขนฺเธน สมนฺนาคโต โหติ ปรํ อเสกฺเข ปญฺญากฺขนฺเธ สมาทเปตา. อตฺตนา อเสกฺเขน วิมุตฺติกฺขนฺเธน สมนฺนาคโต โหติ ปรํ อเสกฺเข วิมุตฺติกฺขนฺเธ สมาทเปตา. อตฺตนา อเสกฺเขน วิมุตฺติญาณทสฺสนกฺขนฺเธน สมนฺนาคโต โหติ ปรํ อเสกฺเข วิมุตฺติญาณทสฺสนกฺขนฺเธ สมาทเปตา ทสวสฺโส วา โหติ อติเรกทสวสฺโส วา  อิเมหิ โข ภิกฺขเว ฉหงฺเคหิ สมนฺนาคเตน ภิกฺขุนา อุปสมฺปาเทตพฺพํ นิสฺสโย ทาตพฺโพ สามเณโร อุปฏฺฐาเปตพฺโพ. 
chahi bhikkhave aṅgehi samannāgatena bhikkhunā upasampādetabbaṃ, nissayo dātabbo, sāmaṇero upaṭṭhāpetabbo:  paṭibalo hoti antevāsiṃ vā saddhivihāriṃ vā gilānaṃ upaṭṭhātuṃ vā upaṭṭāpetuṃ vā, uppannaṃ anabhiratiṃ vūpakāsetuṃ vā vūpakāsāpetuṃ vā, uppannaṃ kukkuccaṃ dhammato vinodetuṃ vā vinodāpetuṃ vā, āpattiṃ jānāti, āpattiyā vuṭṭhānaṃ jānāti, dasavasso vā hoti atirekadasavasso vā.  imehi kho bhikkhave chah’ aṅgehi samannāgatena bhikkhunā upasampādetabbaṃ, nissayo dātabbo, sāmaṇero upaṭṭhāpetabbo. (68) |10| 
     
(ศุกลปักษ์ ๕) ดูกรภิกษุทั้งหลาย ภิกษุผู้ประกอบด้วยองค์ ๖ พึงให้อุปสมบท พึงให้นิสสัย พึงให้สามเณรอุปัฏฐาก คือ  ๑. อาจพยาบาลเอง หรือให้ผู้อื่นพยาบาล อันเตวาสิกหรือสัทธิวิหาริก ผู้อาพาธ ๒. อาจระงับเอง หรือหาผู้อื่นให้ช่วยระงับความกระสัน ๓. อาจบรรเทาเอง หรือหาผู้อื่นให้ช่วยบรรเทาความเบื่อหน่ายอันเกิดขึ้นแล้วโดยธรรม ๔. รู้จักอาบัติ ๕. รู้จักวิธีออกจากอาบัติ และ ๖. มีพรรษาได้ ๑๐ หรือมีพรรษาเกิน ๑๐  ดูกรภิกษุทั้งหลาย ภิกษุผู้ประกอบด้วยองค์ ๖ นี้แล พึงให้อุปสมบท พึงให้นิสสัย พึงให้สามเณรอุปัฏฐาก. 
“อปเรหิปิ ภิกฺขเว ฉหงฺเคหิ สมนฺนาคเตน ภิกฺขุนา น อุปสมฺปาเทตพฺพํ น นิสฺสโย ทาตพฺโพ น สามเณโร อุปฏฺฐาเปตพฺโพ.  อสฺสทฺโธ โหติ อหิริโก โหติ อโนตฺตปฺปี โหติ กุสีโต โหติ มุฏฺฐสฺสติ โหติ อูนทสวสฺโส โหติ  อิเมหิ โข ภิกฺขเว ฉหงฺเคหิ สมนฺนาคเตน ภิกฺขุนา น อุปสมฺปาเทตพฺพํ น นิสฺสโย ทาตพฺโพ น สามเณโร อุปฏฺฐาเปตพฺโพ. 
aparehi pi bhikkhave chah’ aṅgehi samannāgatena bhikkhunā na upasampādetabbaṃ, na nissayo dātabbo, na sāmaṇero upaṭṭhāpetabbo:  na paṭibalo hoti antevāsiṃ vā saddhivihāriṃ vā abhisamācārikāya sikkhāya sikkhāpetuṃ, ādibrahmacariyikāya sikkhāya vinetuṃ, abhidhamme vinetuṃ, abhivinaye vinetuṃ, uppannaṃ diṭṭhigataṃ dhammato vivecetuṃ, ūnadasavasso hoti.  imehi kho bhikkhave chah’ aṅgehi samannāgatena bhikkhunā na upasampādetabbam, na nissayo dātabbo, na sāmaṇero upaṭṭhāpetabbo. |11| 
     
(กัณหปักษ์ ๖) ดูกรภิกษุทั้งหลาย ภิกษุผู้ประกอบด้วยองค์ ๖ แม้อื่นอีก ไม่พึงให้อุปสมบท ไม่พึงให้นิสสัย ไม่พึงให้สามเณรอุปัฏฐาก คือ  ๑. ไม่อาจฝึกปรืออันเตวาสิกหรือสัทธิวิหาริก ในสิกขาอันเป็นอภิสมาจาร ๒. ไม่อาจแนะนำในสิกขา อันเป็นส่วนเบื้องต้นแห่งพรหมจรรย์ ๓. ไม่อาจแนะนำในธรรมอันยิ่งขึ้นไป ๔. ไม่อาจแนะนำในวินัยอันยิ่งขึ้นไป ๕. ไม่อาจเปลื้องความเห็นผิดอันเกิดขึ้นแล้วโดยธรรม และ ๖. มีพรรษาหย่อน ๑๐  ดูกรภิกษุทั้งหลาย ภิกษุผู้ประกอบด้วยองค์ ๖ นี้แล ไม่พึงให้อุปสมบท ไม่พึงให้นิสสัย ไม่พึงให้สามเณรอุปัฏฐาก. 
“ฉหิ ภิกฺขเว องฺเคหิ สมนฺนาคเตน ภิกฺขุนา อุปสมฺปาเทตพฺพํ นิสฺสโย ทาตพฺโพ สามเณโร อุปฏฺฐาเปตพฺโพ.  สทฺโธ โหติ หิริมา โหติ โอตฺตปฺปี โหติ อารทฺธวีริโย โหติ อุปฏฺฐิตสฺสติ โหติ ทสวสฺโส วา โหติ อติเรกทสวสฺโส วา  อิเมหิ โข ภิกฺขเว ฉหงฺเคหิ สมนฺนาคเตน ภิกฺขุนา อุปสมฺปาเทตพฺพํ นิสฺสโย ทาตพฺโพ สามเณโร อุปฏฺฐาเปตพฺโพ. 
chahi bhikkhave aṅgehi samannāgatena bhikkhunā upasampādetabbaṃ, nissayo dātabbo, sāmaṇero upaṭṭhāpetabbo:  paṭibalo hoti antevāsiṃ vā saddhivihāriṃ vā abhisamācārikāya sikkhāya sikkhāpetuṃ, ādibrahmacariyikāya sikkhāya vinetuṃ, abhidhamme vinetuṃ, abhivinaye vinetuṃ, uppannaṃ diṭṭhigataṃ dhammato vivecetuṃ, dasavasso vā hoti atirekadasavasso vā.  imehi kho bhikkhave chah’ aṅgehi samannāgatena bhikkhunā upasampādetabbaṃ, nissayo dātabbo, samaṇero upaṭṭhāpetabbo. |12| 
     
(ศุกลปักษ์ ๖) ดูกรภิกษุทั้งหลาย ภิกษุผู้ประกอบด้วยองค์ ๖ พึงให้อุปสมบท พึงให้นิสสัย พึงให้สามเณรอุปัฏฐาก คือ  ๑. อาจฝึกปรืออันเตวาสิกหรือสัทธิวิหาริก ในสิกขาอันเป็นอภิสมาจาร ๒. อาจแนะนำในสิกขา อันเป็นส่วนเบื้องต้นแห่งพรหมจรรย์ ๓. อาจแนะนำในธรรมอันยิ่งขึ้นไป ๔. อาจแนะนำในวินัยอันยิ่งขึ้นไป ๕. อาจเปลื้องความเห็นผิดอันเกิดขึ้นแล้วโดยธรรม และ ๖. มีพรรษาได้ ๑๐ หรือมีพรรษาเกิน ๑๐  ดูกรภิกษุทั้งหลาย ภิกษุผู้ประกอบด้วยองค์ ๖ นี้แล พึงให้อุปสมบท พึงให้นิสสัย พึงให้สามเณรอุปัฏฐาก. 
“อปเรหิปิ ภิกฺขเว ฉหงฺเคหิ สมนฺนาคเตน ภิกฺขุนา น อุปสมฺปาเทตพฺพํ น นิสฺสโย ทาตพฺโพ น สามเณโร อุปฏฺฐาเปตพฺโพ.  อธิสีเล สีลวิปนฺโน โหติ อชฺฌาจาเร อาจารวิปนฺโน โหติ อติทิฏฺฐิยา ทิฏฺฐิวิปนฺโน โหติ อปฺปสฺสุโต โหติ ทุปฺปญฺโญ โหติ อูนทสวสฺโส โหติ  อิเมหิ โข ภิกฺขเว ฉหงฺเคหิ สมนฺนาคเตน ภิกฺขุนา น อุปสมฺปาเทตพฺพํ น นิสฺสโย ทาตพฺโพ น สามเณโร อุปฏฺฐาเปตพฺโพ. 
aparehi pi bhikkhave chah’ aṅgehi samannāgatena bhikkhunā na upasampādetabbaṃ, na nissayo dātabbo, na sāmaṇero upaṭṭhāpetabbo:  āpattiṃ na jānāti, anāpattiṃ na jānāti, lahukaṃ āpattiṃ na jānāti, garukaṃ āpattiṃ na jānāti, ubhayāni kho pan’ assa pātimokkhāni vitthārena na svāgatāni honti, na suvibhattāni, na suppavattīni, na suvinicchitāni suttato anuvyañjanaso, ūnadasavasso hoti.  imehi kho bhikkhave chah’ aṅgehi samannāgatena bhikkhunā na upasampādetabbaṃ, na nissayo dātabbo, na sāmaṇero upaṭṭhāpetabbo. |13| 
     
(กัณหปักษ์ ๗) ดูกรภิกษุทั้งหลาย ภิกษุผู้ประกอบด้วยองค์ ๖ แม้อื่นอีก ไม่พึงให้อุปสมบท ไม่พึงให้นิสสัย ไม่พึงให้สามเณรอุปัฏฐาก คือ  ๑. ไม่รู้จักอาบัติ ๒. ไม่รู้จักอนาบัติ ๓. ไม่รู้จักอาบัติเบา ๔. ไม่รู้จักอาบัติหนัก ๕. เธอจำปาติโมกข์ทั้งสองไม่ได้ดีโดยพิสดาร จำแนกไม่ได้ด้วยดี ไม่คล่องแคล่วดี วินิจฉัยไม่เรียบร้อย โดยสุตตะ โดยอนุพยัญชนะ และ ๖. มีพรรษาหย่อน ๑๐  ดูกรภิกษุทั้งหลาย ภิกษุผู้ประกอบด้วยองค์ ๖ นี้แล ไม่พึงให้อุปสมบท ไม่พึงให้นิสสัย ไม่พึงให้สามเณรอุปัฏฐาก. 
“ฉหิ ภิกฺขเว องฺเคหิ สมนฺนาคเตน ภิกฺขุนา อุปสมฺปาเทตพฺพํ นิสฺสโย ทาตพฺโพ สามเณโร อุปฏฺฐาเปตพฺโพ.  น อธิสีเล สีลวิปนฺโน โหติ น อชฺฌาจาเร อาจารวิปนฺโน โหติ น อติทิฏฺฐิยา ทิฏฺฐิวิปนฺโน โหติ พหุสฺสุโต โหติ ปญฺญวา โหติ ทสวสฺโส วา โหติ อติเรกทสวสฺโส วา  อิเมหิ โข ภิกฺขเว ฉหงฺเคหิ สมนฺนาคเตน ภิกฺขุนา อุปสมฺปาเทตพฺพํ นิสฺสโย ทาตพฺโพ สามเณโร อุปฏฺฐาเปตพฺโพ. 
chahi bhikkhave aṅgehi samannāgatena bhikkhunā upasampādetabbaṃ, nissayo dātabbo, sāmaṇero upaṭṭhāpetabbo:  āpattiṃ jānāti, anāpattiṃ jānāti, lahukaṃ āpattiṃ jānāti, garukaṃ āpattiṃ jānāti, ubhayāni kho pan’ assa pātimokkhāni vitthārena svāgatāni honti suvibhattāni suppavattīni suvinicchitāni suttato anuvyañjanaso, dasavasso vā hoti atirekadasavasso vā.  imehi kho bhikkhave chah’ aṅgehi samannāgatena bhikkhunā upasampādetabbaṃ, nissayo dātabbo, sāmaṇero upaṭṭhāpetabbo ’ti. |14| 
     
(ศุกลปักษ์ ๗) ดูกรภิกษุทั้งหลาย ภิกษุผู้ประกอบด้วยองค์ ๖ พึงให้อุปสมบท พึงให้นิสสัย พึงให้สามเณรอุปัฏฐาก คือ  ๑. รู้จักอาบัติ ๒. รู้จักอนาบัติ ๓. รู้จักอาบัติเบา ๔. รู้จักอาบัติหนัก ๕. เธอจำปาติโมกข์ทั้งสองได้ดี โดยพิสดาร จำแนกได้ดี คล่องแคล่วดี วินิจฉัยเรียบร้อย โดยสุตตะ โดยอนุพยัญชนะ และ ๖. มีพรรษาได้ ๑๐ หรือพรรษาเกิน ๑๐  ดูกรภิกษุทั้งหลาย ภิกษุผู้ประกอบด้วยองค์ ๖ นี้แล พึงให้อุปสมบท พึงให้นิสสัย พึงให้สามเณรอุปัฏฐาก. 
“อปเรหิปิ ภิกฺขเว ฉหงฺเคหิ สมนฺนาคเตน ภิกฺขุนา น อุปสมฺปาเทตพฺพํ น นิสฺสโย ทาตพฺโพ น สามเณโร อุปฏฺฐาเปตพฺโพ.  น ปฏิพโล โหติ อนฺเตวาสึ วา สทฺธิวิหารึ วา คิลานํ อุปฏฺฐาตุํ วา อุปฏฺฐาเปตุํ วา อนภิรตํ วูปกาเสตุํ วา วูปกาสาเปตุํ วา อุปฺปนฺนํ กุกฺกุจฺจํ ธมฺมโต วิโนเทตุํ อาปตฺตึ น ชานาติ อาปตฺติยา วุฏฺฐานํ น ชานาติ อูนทสวสฺโส โหติ  อิเมหิ โข ภิกฺขเว ฉหงฺเคหิ สมนฺนาคเตน ภิกฺขุนา น อุปสมฺปาเทตพฺพํ น นิสฺสโย ทาตพฺโพ น สามเณโร อุปฏฺฐาเปตพฺโพ. 
upasampādetabbachakkaṃ soḷasavāraṃ niṭṭhitaṃ. ||37|| 
 
องค์ ๖ แห่งภิกษุผู้ให้อุปสมบท ๑๖ หมวด ๑- จบ 
“ฉหิ ภิกฺขเว องฺเคหิ สมนฺนาคเตน ภิกฺขุนา อุปสมฺปาเทตพฺพํ นิสฺสโย ทาตพฺโพ สามเณโร อุปฏฺฐาเปตพฺโพ. 
(69) tena kho pana samayena yo so aññatitthiyapubbo upajjhāyena sahadhammikaṃ vuccamāno upajjhāyassa vādaṃ āropetvā taṃ yeva titthāyatanaṃ saṃkami, so puna paccāgantvā bhikkhū upasampadaṃ yāci.  bhikkhū bhagavato etam atthaṃ ārocesuṃ.  yo so bhikkhave aññatitthiyapubbo upajjhāyena sahadhammikaṃ vuccamāno upajjhāyassa vādaṃ āropetvā taṃ yeva titthāyatanaṃ saṃkanto, so āgato na upasampādetabbo.  yo bhikkhave añño pi aññatitthiyapubbo imasmiṃ dhammavinaye ākaṅkhati pabbajjaṃ, ākaṅkhati upasampadaṃ, tassa cattāro māse parivāso dātabbo. |1| 
End of the sixteen times six cases concerning the admissibility of upasampadâ.  At that time that Bhikkhu who, having formerly belonged to a Titthiya school, had (by reasoning) put to silence his upagghâya, when he remonstrated with him according to the Dhamma, and had returned to that same Titthiya school, came back again and asked the Bhikkhus for the upasampadâ ordination.  The Bhikkhus told, &c.  'That Bhikkhu, O Bhikkhus, who having formerly belonged to a Titthiya school, has put to silence his upagghâya when he remonstrated with him according to the Dhamma, and has returned to that same Titthiya school, must not receive the upasampadâ ordination, if he comes back. 
ติตถิยปริวาส [๑๐๐] ก็โดยสมัยนั้นแล ภิกษุผู้เคยเป็นอัญญเดียรถีย์ อันพระอุปัชฌายะว่ากล่าวอยู่โดยชอบธรรม ได้ยกวาทะของอุปัชฌายะเสีย แล้วเข้าไปสู่ลัทธิเดียรถีย์นั้นดังเดิม. เธอกลับมาขออุปสมบทต่อภิกษุทั้งหลายอีก.  ภิกษุทั้งหลายจึงกราบทูลเรื่องนั้นแด่พระผู้มีพระภาค. พระผู้มีพระภาคตรัสว่า  ดูกรภิกษุทั้งหลาย ภิกษุที่เคยเป็นอัญญเดียรถีย์ อันพระอุปัชฌายะว่ากล่าวอยู่โดยชอบธรรม ได้ยกวาทะของอุปัชฌายะเสีย แล้วเข้าไปสู่ลัทธิเดียรถีย์นั้นดังเดิม มาแล้ว ไม่พึงอุปสมบทให้  แม้ผู้อื่นที่เคยเป็นอัญญเดียรถีย์ หวังบรรพชาอุปสมบทในพระธรรมวินัยนี้ พึงให้ปริวาส ๔ เดือนแก่เธอ. 
ปฏิพโล โหติ อนฺเตวาสึ วา สทฺธิวิหารึ วา คิลานํ อุปฏฺฐาตุํ วา อุปฏฺฐาเปตุํ วา อนภิรตํ วูปกาเสตุํ วา วูปกาสาเปตุํ วา อุปฺปนฺนํ กุกฺกุจฺจํ ธมฺมโต วิโนเทตุํ อาปตฺตึ ชานาติ อาปตฺติยา วุฏฺฐานํ ชานาติ ทสวสฺโส วา โหติ อติเรกทสวสฺโส วา  อิเมหิ โข ภิกฺขเว ฉหงฺเคหิ สมนฺนาคเตน ภิกฺขุนา อุปสมฺปาเทตพฺพํ นิสฺสโย ทาตพฺโพ สามเณโร อุปฏฺฐาเปตพฺโพ.  “อปเรหิปิ ภิกฺขเว ฉหงฺเคหิ สมนฺนาคเตน ภิกฺขุนา น อุปสมฺปาเทตพฺพํ น นิสฺสโย ทาตพฺโพ น สามเณโร อุปฏฺฐาเปตพฺโพ.  น ปฏิพโล โหติ อนฺเตวาสึ วา สทฺธิวิหารึ วา อภิสมาจาริกาย สิกฺขาย สิกฺขาเปตุํ อาทิพฺรหฺมจริยกาย สิกฺขาย วิเนตุํ อภิธมฺเม วิเนตุํ อภิวินเย วิเนตุํ อุปฺปนฺนํ ทิฏฺฐิคตํ ธมฺมโต วิเวเจตุํ อูนทสวสฺโส โหติ 
evañ ca pana bhikkhave dātabbo: paṭhamaṃ kesamassuṃ ohārāpetvā kāsāyāni vatthāni acchādāpetvā ekaṃsaṃ uttarāsaṅgaṃ kārāpetvā bhikkhūnaṃ pāde vandāpetvā ukkuṭikaṃ nisīdāpetvā añjaliṃ paggaṇhāpetvā evaṃ vadehīti vattabbo:  buddhaṃ saraṇaṃ gacchāmi, dhammaṃ saraṇaṃ gacchāmi, saṃghaṃ saraṇaṃ gacchāmi, dutiyam pi . . . tatiyam pi buddhaṃ saraṇaṃ gacchāmi, tatiyam pi dhammaṃ saraṇaṃ gacchāmi, tatiyam pi saṃghaṃ saraṇaṃ gacchāmīti. |2| 
On other persons, O Bhikkhus, who have formerly belonged to Titthiya schools and desire to receive the pabbaggâ and upasampadâ ordinations in this doctrine and discipline, you ought to impose a parivâsa (a probation-time) of four months.  'And you ought, O Bhikkhus, to impose it in this way: Let him (who desires to receive the ordination) first cut off his hair and beard; let him put on yellow robes, adjust his upper robe so as to cover one shoulder, salute the feet of the Bhikkhus (with his head), and sit down squatting; then let him raise his joined hands, and tell him to say: 
ดูกรภิกษุทั้งหลาย ก็แลสงฆ์พึงให้ติตถิยปริวาสอย่างนี้:- (วิธีให้ติตถิยปริวาส) ชั้นต้นพึงให้กุลบุตรที่เคยเป็นอัญญเดียรถีย์ปลงผมและหนวด ให้ครองผ้ากาสายะ ให้ห่มผ้าเฉวียงบ่า ให้กราบเท้าภิกษุทั้งหลาย แล้วนั่งกระหย่ง ให้ประคองอัญชลีสั่งว่า จงว่าอย่างนี้ แล้วให้ว่าสรณคมน์ ดังนี้:-  (ไตรสรณคมน์) พุทฺธํ สรณํ คจฺฉามิ ข้าพเจ้าถึงพระพุทธเจ้า เป็นที่พึ่ง ธมฺมํ สรณํ คจฺฉามิ ข้าพเจ้าถึงพระธรรม เป็นที่พึ่ง สงฺฆํ สรณํ คจฺฉามิ ข้าพเจ้าถึงพระสงฆ์ เป็นที่พึ่ง ทุติยมฺปิ พุทฺธํ สรณํ คจฺฉามิ ข้าพเจ้าถึงพระพุทธเจ้า เป็นที่พึ่ง แม้ครั้งที่สอง ทุติยมฺปิ ธมฺมํ สรณํ คจฺฉามิ ข้าพเจ้าถึงพระธรรม เป็นที่พึ่ง แม้ครั้งที่สอง ทุติยมฺปิ สงฺฆํ สรณํ คจฺฉามิ ข้าพเจ้าถึงพระสงฆ์ เป็นที่พึ่ง แม้ครั้งที่สอง ตติยมฺปิ พุทฺธํ สรณํ คจฺฉามิ ข้าพเจ้าถึงพระพุทธเจ้า เป็นที่พึ่ง แม้ครั้งที่สาม ตติยมฺปิ ธมฺมํ สรณํ คจฺฉามิ ข้าพเจ้าถึงพระธรรม เป็นที่พึ่ง แม้ครั้งที่สาม ตติยมฺปิ สงฺฆํ สรณํ คจฺฉามิ ข้าพเจ้าถึงพระสงฆ์ เป็นที่พึ่ง แม้ครั้งที่สาม 
อิเมหิ โข ภิกฺขเว ฉหงฺเคหิ สมนฺนาคเตน ภิกฺขุนา น อุปสมฺปาเทตพฺพํ น นิสฺสโย ทาตพฺโพ น สามเณโร อุปฏฺฐาเปตพฺโพ.  “ฉหิ ภิกฺขเว องฺเคหิ สมนฺนาคเตน ภิกฺขุนา อุปสมฺปาเทตพฺพํ นิสฺสโย ทาตพฺโพ สามเณโร อุปฏฺฐาเปตพฺโพ. 
tena kho bhikkhave aññatitthiyapubbena saṃghaṃ upasaṃkamitvā ekaṃsaṃ uttarāsaṅgaṃ karitvā bhikkhūnaṃ pāde vanditvā ukkuṭikaṃ nisīditvā añjaliṃ paggahetvā evam assa vacanīyo:  ahaṃ bhante itthannāmo aññatitthiyapubbo imasmiṃ dhammavinaye ākaṅkhāmi upasampadaṃ.  so ’haṃ bhante saṃghaṃ cattāro māse parivāsaṃ yācāmīti.  dutiyam pi yācitabbo. tatiyam pi yācitabbo.  vyattena bhikkhunā paṭibalena saṃgho ñāpetabbo:  suṇātu me bhante saṃgho. ayaṃ itthannāmo aññatitthiyapubbo imasmiṃ dhammavinaye ākaṅkhati upasampadaṃ.  so saṃghaṃ cattāro māse parivāsaṃ yācati.  yadi saṃghassa pattakallaṃ, saṃgho itthannāmassa aññatitthiyapubbassa cattāro māse parivāsaṃ dadeyya.  esā ñatti. |3| 
"I take my refuge in the Buddha, I take my refuge in the Dhamma, I take my refuge in the Samgha. And for the second time, &c. And for the third time take I my refuge in the Buddha, and for the third time take I my refuge in the Dhamma, and for the third time take I my refuge in the Samgha."  'Let that person, O Bhikkhus, who has formerly belonged to a Titthiya school, approach the Samgha, adjust his upper robe so as to cover one shoulder, salute the feet of the Bhikkhus (with his head), sit down squatting, raise his joined hands, and say:  "I, N. N., reverend Sirs,who have formerly belonged to a Titthiya school, desire to receive the upasampadâ ordination in this doctrine and discipline, and ask the Samgha,  reverend Sirs, for a parivâsa of four months."  Let him ask thus a second time. Let him ask thus a third time.  'Then let a learned, competent Bhikkhu proclaim the following ñatti before the Samgha:  "Let the Samgha, reverend Sirs, hear me, This person N, N ., who has formerly belonged to a Titthiya school, desires to receive the upasampadâ ordination in this doctrine and discipline,  He asks the Samgha for a parivâsa of four months.  If the Samgha is ready, let the Samgha impose on N. N., who has formerly belonged to a Titthiya school, a parivâs-a of four months, 
ดูกรภิกษุทั้งหลาย กุลบุตรที่เคยเป็นอัญญเดียรถีย์นั้น พึงเข้าไปหาสงฆ์ ห่มผ้าเฉวียงบ่า กราบเท้าภิกษุทั้งหลาย นั่งกระหย่ง ประคองอัญชลี แล้วกล่าวคำขอติตถิยปริวาสอย่างนี้ ว่าดังนี้:-  (คำขอติตถิยปริวาส) ท่านเจ้าข้า ข้าพเจ้าผู้มีชื่อนี้ เคยเป็นอัญญเดียรถีย์ หวังอุปสมบทในพระธรรมวินัยนี้  ท่านเจ้าข้า ข้าพเจ้านั้น ขอปริวาส ๔ เดือนต่อสงฆ์.  พึงขอแม้ครั้งที่สอง พึงขอแม้ครั้งที่สาม.  ภิกษุผู้ฉลาด ผู้สามารถ พึงประกาศให้สงฆ์ทราบด้วยญัตติทุติยกรรมวาจา ว่าดังนี้:-  (กรรมวาจาให้ติตถิยปริวาส) ท่านเจ้าข้า ขอสงฆ์จงฟังข้าพเจ้า ผู้มีชื่อนี้ผู้นี้ เคยเป็นอัญญเดียรถีย์ หวังอุปสมบทในพระธรรมวินัยนี้  เธอขอปริวาส ๔ เดือนต่อสงฆ์.  ถ้าความพร้อมพรั่งของสงฆ์ถึงที่แล้ว สงฆ์พึงให้ปริวาส ๔ เดือน แก่ผู้มีชื่อนี้ ผู้เคยเป็นอัญญเดียรถีย์.  นี่เป็นญัตติ. 
ปฏิพโล โหติ อนฺเตวาสึ วา สทฺธิวิหารึ วา อภิสมาจาริกาย สิกฺขาย สิกฺขาเปตุํ อาทิพฺรหฺมจริยกาย สิกฺขาย วิเนตุํ อภิธมฺเม วิเนตุํ อภิวินเย วิเนตุํ อุปฺปนฺนํ ทิฏฺฐิคตํ ธมฺมโต วิเวเจตุํ ทสวสฺโส วา โหติ อติเรกทสวสฺโส วา  อิเมหิ โข ภิกฺขเว ฉหงฺเคหิ สมนฺนาคเตน ภิกฺขุนา อุปสมฺปาเทตพฺพํ นิสฺสโย ทาตพฺโพ สามเณโร อุปฏฺฐาเปตพฺโพ.  “อปเรหิปิ ภิกฺขเว ฉหงฺเคหิ สมนฺนาคเตน ภิกฺขุนา น อุปสมฺปาเทตพฺพํ น นิสฺสโย ทาตพฺโพ น สามเณโร อุปฏฺฐาเปตพฺโพ.  อาปตฺตึ น ชานาติ อนาปตฺตึ น ชานาติ ลหุกํ อาปตฺตึ น ชานาติ ครุกํ อาปตฺตึ น ชานาติ อุภยานิ โข ปนสฺส ปาติโมกฺขานิ วิตฺถาเรน น สฺวาคตานิ โหนฺติ น สุวิภตฺตานิ น สุปฺปวตฺตีนิ น สุวินิจฺฉิตานิ สุตฺตโส อนุพฺยญฺชนโส อูนทสวสฺโส โหติ  อิเมหิ โข ภิกฺขเว ฉหงฺเคหิ สมนฺนาคเตน ภิกฺขุนา น อุปสมฺปาเทตพฺพํ น นิสฺสโย ทาตพฺโพ น สามเณโร อุปฏฺฐาเปตพฺโพ.  “ฉหิ ภิกฺขเว องฺเคหิ สมนฺนาคเตน ภิกฺขุนา อุปสมฺปาเทตพฺพํ นิสฺสโย ทาตพฺโพ สามเณโร อุปฏฺฐาเปตพฺโพ.  อาปตฺตึ ชานาติ อนาปตฺตึ ชานาติ ลหุกํ อาปตฺตึ ชานาติ ครุกํ อาปตฺตึ ชานาติ อุภยานิ โข ปนสฺส ปาติโมกฺขานิ วิตฺถาเรน สฺวาคตานิ โหนฺติ สุวิภตฺตานิ สุปฺปวตฺตีนิ สุวินิจฺฉิตานิ สุตฺตโส อนุพฺยญฺชนโส ทสวสฺโส วา โหติ อติเรกทสวสฺโส วา  อิเมหิ โข ภิกฺขเว ฉหงฺเคหิ สมนฺนาคเตน ภิกฺขุนา อุปสมฺปาเทตพฺพํ นิสฺสโย ทาตพฺโพ สามเณโร อุปฏฺฐาเปตพฺโพ”ติ.  อุปสมฺปาเทตพฺพฉกฺกํ นิฏฺฐิตํ. 
suṇātu me bhante saṃgho. ayaṃ itthannāmo aññatitthiyapubbo imasmiṃ dhammavinaye ākaṅkhati upasampadaṃ. so saṃghaṃ cattāro māse parivāsaṃ yācati.  saṃgho itthannāmassa aññatitthiyapubbassa cattāro māse parivāsaṃ deti.  yassāyasmato khamati itthannāmassa aññatitthiyapubbassa cattāro māse parivāsassa dānaṃ, so tuṇh’ assa, yassa na kkhamati, so bhāseyya.  dinno saṃghena itthannāmassa aññatitthiyapubbassa cattāro māse parivāso.  (70) khamati saṃghassa, tasmā tuṇhī, evam etaṃ dhārayāmīti. |4| 
This is the ñatti,  '"Let the Samgha, reverend Sirs, hear me, This person N. N., who has, &c. He asks the Samgha for a parivâsa of four months,  The Samgha imposes on N. N., who has formerly belonged to a Titthiya school, a parivâsa of four months.  Let any one of the venerable brethren who is in favour of imposing a parivâsa of four months on N. N., who has formerly belonged to a Titthiya school, be silent, and any one who is not in favour of it, speak,  A parivâsa of four months has been imposed by the Samgha on N. N., who has formerly belonged to a Titthiya school, 
ท่านเจ้าข้า ขอสงฆ์จงฟังข้าพเจ้า ผู้มีชื่อนี้ เคยเป็นอัญญเดียรถีย์ หวังอุปสมบทในพระธรรมวินัยนี้ เธอขอปริวาส ๔ เดือนต่อสงฆ์.  สงฆ์ให้ปริวาส ๔ เดือนแก่ผู้มีชื่อนี้ ผู้เคยเป็นอัญญเดียรถีย์.  การให้ปริวาส ๔ เดือนแก่ผู้มีชื่อนี้ ผู้เคยเป็นอัญญเดียรถีย์ ชอบแก่ท่านผู้ใด ท่านผู้นั้นพึงเป็นผู้นิ่ง ไม่ชอบแก่ท่านผู้ใด ท่านผู้นั้นพึงพูด  ปริวาส ๔ เดือน สงฆ์ให้แล้ว แก่ผู้มีชื่อนี้ ผู้เคยเป็นอัญญเดียรถีย์  ชอบแก่สงฆ์ เหตุนั้นจึงนิ่ง ข้าพเจ้าทรงความนี้ไว้ด้วยอย่างนี้. 
(๒๕. อญฺญติตฺถิยปุพฺพกถา) ๘๖. เตน โข ปน สมเยน โย โส อญฺญติตฺถิยปุพฺโพ ปชฺฌาเยน สหธมฺมิกํ วุจฺจมาโน อุปชฺฌายสฺส วาทํ อาโรเปตฺวา ตํเยว ติตฺถายตนํ สงฺกมิ. โส ปุน ปจฺจาคนฺตฺวา ภิกฺขู อุปสมฺปทํ ยาจิ.  ภิกฺขู ภควโต เอตมตฺถํ อาโรเจสุํ.  โย โส ภิกฺขเว อญฺญติตฺถิยปุพฺโพ อุปชฺฌาเยน สหธมฺมิกํ วุจฺจมาโน อุปชฺฌายสฺส วาทํ อาโรเปตฺวา ตํเยว ติตฺถายตนํ สงฺกนฺโต โส อาคโต น อุปสมฺปาเทตพฺโพ.  โย โส ภิกฺขเว อญฺโญปิ อญฺญติตฺถิยปุพฺโพ อิมสฺมึ ธมฺมวินเย อากงฺขติ ปพฺพชฺชํ อากงฺขติ อุปสมฺปทํ ตสฺส จตฺตาโร มาเส ปริวาโส ทาตพฺโพ.  เอวญฺจ ปน ภิกฺขเว ทาตพฺโพ ปฐมํ เกสมสฺสุํ โอหาราเปตฺวา กาสายานิ วตฺถานิ อจฺฉาทาเปตฺวา เอกํสํ อุตฺตราสงฺคํ การาเปตฺวา ภิกฺขูนํ ปาเท วนฺทาเปตฺวา อุกฺกุฏิกํ นิสีทาเปตฺวา อญฺชลึ ปคฺคณฺหาเปตฺวา เอวํ วเทหีติ วตฺตพฺโพ 
evaṃ kho bhikkhave aññatitthiyapubbo ārādhako hoti, evaṃ anārādhako.  kathañ ca bhikkhave aññatitthiyapubbo anārādhako hoti.  idha bhikkhave aññatitthiyapubbo atikālena gāmaṃ pavisati, atidivā paṭikkamati.  evam pi bhikkhave aññatitthiyapubbo anārādhako hoti.  puna ca paraṃ bhikkhave aññatitthiyapubbo vesiyāgocaro vā hoti, vidhavāgocaro vā hoti, thullakumārikagocaro vā hoti, paṇḍakagocaro vā hoti, bhikkhunīgocaro vā hoti.  evam pi bhikkhave aññatitthiyapubbo anārādhako hoti. |5| 
The Samgha is in favour of it, therefore it is silent. Thus I understand."  'And this, O Bhikkhus, is the way in which a person that has formerly belonged to a Titthiya school, succeeds or fails in satisfying (the Bhikkhus and obtaining upasampadâ when the probation-time is over),  'What is the way, a Bhikkhus, in which a person that has formerly belonged to a Titthiya school, fails in satisfying (the Bhikkhus)?  'In case, O.Bhikkhus, the person that has formerly belonged to a Titthiya school, enters the village too early, and comes back (to the Vihâra) too late,  thus, O Bhikkhus, a person that has formerly belonged to a Titthiya school, fails in satisfying (the Bhikkhus).  'And further, O Bhikkhus, in case the person that has formerly belonged to a Titthiya school, frequents the society of harlots, or of widows, or of adult girls, or of eunuchs, or of Bhikkhunîs, 
ดูกรภิกษุทั้งหลาย กุลบุตรผู้เคยเป็นอัญญเดียรถีย์ เป็นผู้ปฏิบัติให้สงฆ์ยินดี อย่างนี้ และเป็นผู้ปฏิบัติมิให้สงฆ์ยินดีอย่างนี้.  ข้อปฏิบัติที่มิให้สงฆ์ยินดี // ดูกรภิกษุทั้งหลาย อย่างไรเล่า กุลบุตรผู้เคยเป็นอัญญเดียรถีย์ ชื่อว่าเป็นผู้ปฏิบัติมิให้สงฆ์ยินดี?  ๑. ดูกรภิกษุทั้งหลาย กุลบุตรผู้เคยเป็นอัญญเดียรถีย์ในพระธรรมวินัยนี้ เข้าบ้านเช้าเกินไป กลับสายเกินไป  แม้เช่นนี้ ก็ชื่อว่า เป็นผู้ปฏิบัติมิให้สงฆ์ยินดี.  ๒. ดูกรภิกษุทั้งหลาย อีกประการหนึ่ง กุลบุตรผู้เคยเป็นอัญญเดียรถีย์ เป็นผู้มีหญิงแพศยาเป็นโคจร มีหญิงหม้ายเป็นโคจร มีสาวเทื้อเป็นโคจร มีบัณเฑาะก์เป็นโคจร หรือมีภิกษุณีเป็นโคจร  แม้เช่นนี้ ก็ชื่อว่าเป็นผู้ปฏิบัติมิให้สงฆ์ยินดี. 
“พุทฺธํ สรณํ คจฺฉามิ ธมฺมํ สรณํ คจฺฉามิ สงฺฆํ สรณํ คจฺฉามิ ทุติยมฺปิ พุทฺธํ สรณํ คจฺฉามิ ทุติยมฺปิ ธมฺมํ สรณํ คจฺฉามิ ทุติยมฺปิ สงฺฆํ สรณํ คจฺฉามิ ตติยมฺปิ พุทฺธํ สรณํ คจฺฉามิ ตติยมฺปิ ธมฺมํ สรณํ คจฺฉามิ ตติยมฺปิ สงฺฆํ สรณํ คจฺฉามี”ติ.  เตน ภิกฺขเว อญฺญติตฺถิยปุพฺเพน สงฺฆํ อุปสงฺกมิตฺวา เอกํสํ อุตฺตราสงฺคํ กริตฺวา ภิกฺขูนํ ปาเท วนฺทิตฺวา อุกฺกุฏิกํ นิสีทิตฺวา อญฺชลึ ปคฺคเหตฺวา เอวมสฺส วจนีโย  “อหํ ภนฺเต อญฺญติตฺถิยปุพฺโพ อิมสฺมึ ธมฺมวินเย อากงฺขามิ อุปสมฺปทํ.  โสหํ ภนฺเต สงฺฆํ จตฺตาโร มาเส ปริวาสํ ยาจามี”ติ.  ทุติยมฺปิ ยาจิตพฺโพ. ตติยมฺปิ ยาจิตพฺโพ.  พฺยตฺเตน ภิกฺขุนา ปฏิพเลน สงฺโฆ ญาเปตพฺโพ 
puna ca paraṃ bhikkhave aññatitthiyapubbo yāni tāni sabrahmacārīnaṃ uccāvacāni karaṇīyāni, tattha na dakkho hoti, na analaso, na tatrupāyāya vīmaṃsāya samannāgato, na alaṃ kātuṃ, na alaṃ saṃvidhātuṃ.  evam pi bhikkhave aññatitthiyapubbo anārādhako hoti.  puna ca paraṃ bhikkhave aññatitthiyapubbo na tibbacchando hoti uddese paripucchāya adhisīle adhicitte adhipaññāya.  evam pi bhikkhave aññatitthiyapubbo anārādhako hoti. |6| 
thus also, O Bhikkhus, a person that has formerly belonged to a Titthiya school, fails in satisfying (the Bhikkhus).  'And further, O Bhikkhus, in case the person that has formerly belonged to a Titthiya school, does not show himself skilled in the various things his fellow Bhikkhus have to do, not diligent, not able to consider how those things are to be done, not able to do things himself, not able to give directions to others,  thus also, O Bhikkhus, &c.  'And further, O Bhikkhus, in case the person that has formerly belonged to a Titthiya school, does not show keen zeal, when the doctrine is preached to him or when questions are put, in what belongs to morality, to contemplation, and to wisdom, 
๓. ดูกรภิกษุทั้งหลาย อีกประการหนึ่ง กุลบุตรผู้เคยเป็นอัญญเดียรถีย์ เป็นผู้ไม่ขยัน เกียจคร้านในการงานใหญ่น้อยของเพื่อนสพรหมจารีทั้งหลาย ไม่ประกอบด้วยปัญญาพิจารณาสอดส่อง ในการนั้น ไม่อาจทำ ไม่อาจจัดการ  แม้เช่นนี้ ก็ชื่อว่าเป็นผู้ปฏิบัติมิให้สงฆ์ยินดี  ๔. ดูกรภิกษุทั้งหลาย อีกประการหนึ่ง กุลบุตรผู้เคยเป็นอัญญเดียรถีย์ เป็นผู้ไม่สนใจในการเรียนบาลี ในการเรียนอรรถกถา ในอธิศีล อธิจิต อธิปัญญา  แม้เช่นนี้ ก็ชื่อว่าเป็นผู้ปฏิบัติมิให้สงฆ์ยินดี. 
“สุณาตุ เม ภนฺเต สงฺโฆ. อยํ อิตฺถนฺนาโม อญฺญติตฺถิยปุพฺโพ อิมสฺมึ ธมฺมวินเย อากงฺขติ อุปสมฺปทํ.  โส สงฺฆํ จตฺตาโร มาเส ปริวาสํ ยาจติ.  ยทิ สงฺฆสฺส ปตฺตกลฺลํ สงฺโฆ อิตฺถนฺนามสฺส อญฺญติตฺถิยปุพฺพสฺส จตฺตาโร มาเส ปริวาสํ ทเทยฺย.  เอสา ญตฺติ. 
puna ca paraṃ bhikkhave aññatitthiyapubbo yassa titthāyatanā saṃkanto hoti, tassa satthuno tassa diṭṭhiyā tassa khantiyā tassa ruciyā tassa ādāyassa avaṇṇe bhaññamāne kupito hoti anattamano anabhiraddho, buddhassa vā dhammassa vā saṃghassa vā avaṇṇe bhaññamāne attamano hoti udaggo abhiraddho, yassa vā pana titthāyatanā saṃkanto hoti, tassa satthuno tassa diṭṭhiyā tassa khantiyā tassa ruciyā tassa ādāyassa vaṇṇe bhaññamāne attamano hoti udaggo abhiraddho, buddhassa vā dhammassa vā saṃghassa vā vaṇṇe bhaññamāne kupito hoti anattamano anabhiraddho, idaṃ bhikkhave saṃghātanikaṃ aññatitthiyapubbassa anārādhanīyasmiṃ.  evaṃ kho bhikkhave aññatitthiyapubbo anārādhako hoti, evaṃ anārādhako kho bhikkhave aññatitthiyapubbo āgato na upasampādetabbo. |7| 
thus also, O Bhikkhus, &c.  'And further, O Bhikkhus, in case the person that has formerIy belonged to a Titthiya school, becomes angry, displeased, and dissatisfied, when people speak against the teacher, the belief, the opinions, the persuasion, the creed of the school he formerly belonged to; and is pleased, glad, and satisfied, when people speak against the Buddha, the Dhamma, and the Samgha; or he is pleased, glad, and satisfied, when people speak in praise of the teacher, &c.; and becomes angry, displeased, dissatisfied, when people speak in praise of the Buddha, the Dhamma, and the Samgha; 
๕. ดูกรภิกษุทั้งหลาย อีกประการหนึ่ง กุลบุตรผู้เคยเป็นอัญญเดียรถีย์ ตนหลีกมาจากสำนักเดียรถีย์แห่งครูคนใด เมื่อมีผู้กล่าวติครูคนนั้น ติความเห็น ความชอบใจ ความพอใจ และความยึดถือ ของครูคนนั้น ยังโกรธ ไม่พอใจ ไม่ชอบใจ เมื่อมีผู้กล่าวติพระพุทธเจ้า พระธรรม หรือพระสงฆ์ กลับพอใจ ร่าเริง ชอบใจ ก็หรือตนหลีกมาจากสำนักเดียรถีย์แห่งครูคนใด เมื่อมีผู้กล่าวสรรเสริญครูคนนั้น สรรเสริญความเห็น ความชอบใจ ความพอใจ และความยึดถือ ของครูคนนั้น ย่อมพอใจ ร่าเริง ชอบใจ เมื่อมีผู้กล่าวสรรเสริญพระพุทธเจ้า พระธรรม หรือพระสงฆ์ กลับโกรธ ไม่พอใจ ไม่ชอบใจ.  ดูกรภิกษุทั้งหลาย ข้อนี้เป็นเครื่องสอบสวนในข้อปฏิบัติที่ไม่ชวนให้สงฆ์ยินดีแห่งกุลบุตรผู้เคยเป็นเดียรถีย์. ดูกรภิกษุทั้งหลาย อย่างนี้แล กุลบุตรผู้เคยเป็นอัญญเดียรถีย์ ชื่อว่าเป็นผู้ปฏิบัติมิให้สงฆ์ยินดี. กุลบุตรผู้เคยเป็นอัญญเดียรถีย์ ปฏิบัติมิให้สงฆ์ยินดีเช่นนี้แล มาแล้ว ไม่พึงอุปสมบทให้. 
“สุณาตุ เม ภนฺเต สงฺโฆ. อยํ อิตฺถนฺนาโม อญฺญติตฺถิยปุพฺโพ อิมสฺมึ ธมฺมวินเย อากงฺขติ อุปสมฺปทํ. โส สงฺฆํ จตฺตาโร มาเส ปริวาสํ ยาจติ.  สงฺโฆ อิตฺถนฺนามสฺส อญฺญติตฺถิยปุพฺพสฺส จตฺตาโร มาเส ปริวาสํ เทติ. 
kathañ ca bhikkhave aññatitthiyapubbo ārādhako hoti.  idha bhikkhave aññatitthiyapubbo nātikālena gāmaṃ pavisati, nātidivā paṭikkamati.  evam pi bhikkhave aññatitthiyapubbo ārādhako hoti.  puna ca paraṃ bhikkhave aññatitthiyapubbo na vesiyāgocaro hoti, na vidhavāgocaro hoti, na thullakumārikagocaro hoti, na paṇḍakagocaro hoti, na bhikkhunīgocaro hoti.  evam pi bhikkhave añña-[page 071]I. 38. 8-39. 1.] MAHĀVAGGA. 71 titthiyapubbo ārādhako hoti. |8| 
this, O Bhikkhus, is a decisive moment for the failure of a person that has formerly belonged to a Titthiya school (in obtaining admission to the Samgha). 'Thus, O Bhikkhus, a person that has formerly belonged to a Titthiya school, fails in satisfying (the Bhikkhus). When a person comes, O Bhikkhus, that has formerly belonged to a Titthiya school, and has thus failed in satisfying (the Bhikkhus), the upasampadâ ordination should not be conferred on him.  'And what is the way, O Bhikkhus, in which a person that has formerly belonged to a Titthiya school, succeeds in satisfying (the Bhikkhus)?  'In case, O Bhikkhus, the person that has formerly belonged to a Titthiya school, does not enter the village too early (&c., point by point the contrary of the preceding).     
ข้อปฏิบัติที่ให้สงฆ์ยินดี // ดูกรภิกษุทั้งหลาย อย่างไรเล่า กุลบุตรผู้เคยเป็นอัญญเดียรถีย์ เป็นผู้ปฏิบัติให้สงฆ์ยินดี?  ๑. ดูกรภิกษุทั้งหลาย กุลบุตรผู้เคยเป็นอัญญเดียรถีย์ในพระธรรมวินัยนี้ เข้าบ้านไม่เช้าเกินไป กลับไม่สายเกินไป  แม้เช่นนี้ ก็ชื่อว่าเป็นผู้ปฏิบัติให้สงฆ์ยินดี.  ๒. ดูกรภิกษุทั้งหลาย อีกประการหนึ่ง กุลบุตรผู้เคยเป็นอัญญเดียรถีย์ ไม่เป็นผู้มีหญิงแพศยาเป็นโคจร ไม่มีหญิงหม้ายเป็นโคจร ไม่มีสาวเทื้อเป็นโคจร ไม่มีบัณเฑาะก์เป็นโคจร ไม่มีภิกษุณีเป็นโคจร  แม้เช่นนี้ ก็ชื่อว่าเป็นผู้ปฏิบัติให้สงฆ์ยินดี. 
ยสฺสายสฺมโต ขมติ อิตฺถนฺนามสฺส อญฺญติตฺถิยปุพฺพสฺส จตฺตาโร มาเส ปริวาสสฺส ทานํ โส ตุณฺหสฺส ยสฺส นกฺขมติ โส ภาเสยฺย.  “ทินฺโน สงฺเฆน อิตฺถนฺนามสฺส อญฺญติตฺถิยปุพฺพสฺส จตฺตาโร มาเส ปริวาโส.  ขมติ สงฺฆสฺส ตสฺมา ตุณฺหี เอวเมตํ ธารยามี”ติ.  ๘๗. “เอวํ โข ภิกฺขเว อญฺญติตฺถิยปุพฺโพ อาราธโก โหติ เอวํ อนาราธโก.  กถญฺจ ภิกฺขเว อญฺญติตฺถิยปุพฺโพ อนาราธโก โหติ? 
puna ca paraṃ bhikkhave aññatitthiyapubbo yāni tāni sabrahmacārīnaṃ uccāvacāni karaṇīyāni, tattha dakkho hoti analaso tatrupāyāya vīmaṃsāya samannāgato, alaṃ kātuṃ, alaṃ saṃvidhātuṃ.  evam pi bhikkhave aññatitthiyapubbo ārādhako hoti.  puna ca paraṃ bhikkhave aññatitthiyapubbo tibbacchando hoti uddese paripucchāya adhisīle adhicitte adhipaññāya.  evam pi bhikkhave aññatitthiyapubbo ārādhako hoti. |9| 
       
๓. ดูกรภิกษุทั้งหลาย อีกประการหนึ่ง กุลบุตรผู้เคยเป็นอัญญเดียรถีย์ เป็นผู้ขยันไม่เกียจคร้านในการงานใหญ่น้อยของเพื่อนสพรหมจารีทั้งหลาย ประกอบด้วยปัญญาพิจารณาสอดส่องในการนั้น อาจทำได้ อาจจัดการได้  แม้เช่นนี้ ก็ชื่อว่าเป็นผู้ปฏิบัติให้สงฆ์ยินดี  ๔. ดูกรภิกษุทั้งหลาย อีกประการหนึ่ง กุลบุตรผู้เคยเป็นอัญญเดียรถีย์ เป็นผู้สนใจในการเรียนบาลี ในการเรียนอรรถกถา ในอธิศีล อธิจิต อธิปัญญา  แม้เช่นนี้ ก็ชื่อว่าเป็นผู้ปฏิบัติให้สงฆ์ยินดี. 
อิธ ภิกฺขเว อญฺญติตฺถิยปุพฺโพ อติกาเลน คามํ ปวิสติ อติทิวา ปฏิกฺกมติ.  เอวมฺปิ ภิกฺขเว อญฺญติตฺถิยปุพฺโพ อนาราธโก โหติ.  “ปุน จปรํ ภิกฺขเว อญฺญติตฺถิยปุพฺโพ เวสิยาโคจโร วา โหติ วิธวาโคจโร วา โหติ ถุลฺลกุมาริกาโคจโร วา โหติ ปณฺฑกโคจโร วา โหติ ภิกฺขุนิโคจโร วา โหติ.  เอวมฺปิ ภิกฺขเว อญฺญติตฺถิยปุพฺโพ อนาราธโก โหติ. 
puna ca paraṃ bhikkhave aññatitthiyapubbo yassa titthāyatanā saṃkanto hoti, tassa satthuno tassa diṭṭhiyā tassa khantiyā tassa ruciyā tassa ādāyassa avaṇṇe bhaññamāne attamano hoti udaggo abhiraddho, buddhassa vā dhammassa vā saṃghassa vā avaṇṇe bhaññamāne kupito hoti anattamano anabhiraddho, yassa vā pana titthāyatanā saṃkanto hoti, tassa satthuno tassa diṭṭhiyā tassa khantiyā tassa ruciyā tassa ādāyassa vaṇṇe bhaññamāne kupito hoti anattamano anabhiraddho, buddhassa vā dhammassa vā saṃghassa vā vaṇṇe bhaññamāne attamano hoti udaggo abhiraddho.  idaṃ bhikkhave saṃghātanikaṃ aññatitthiyapubbassa ārādhanīyasmiṃ.  evaṃ kho bhikkhave aññatitthiyapubbo ārādhako hoti.  evaṃ ārādhako kho bhikkhave aññatitthiyapubbo āgato upasampādetabbo. |10| 
       
๕. ดูกรภิกษุทั้งหลาย อีกประการหนึ่ง กุลบุตรผู้เคยเป็นอัญญเดียรถีย์ ตนหลีกมาจากสำนักเดียรถีย์แห่งครูคนใด เมื่อมีผู้กล่าวติครูคนนั้น ติความเห็น ความชอบใจ ความพอใจ และความยึดถือ ของครูคนนั้น ย่อมพอใจ ร่าเริง ชอบใจ เมื่อเขากล่าวติพระพุทธเจ้า พระธรรม หรือพระสงฆ์ กลับโกรธ ไม่พอใจ ไม่ชอบใจ ก็หรือตนหลีกมาจากสำนักเดียรถีย์แห่งครูคนใด เมื่อมีผู้กล่าวสรรเสริญครูคนนั้น สรรเสริญความเห็น ความชอบใจ ความพอใจ และความยึดถือของครูคนนั้น ย่อมโกรธ ไม่พอใจ ไม่ชอบใจ เมื่อเขากล่าวสรรเสริญพระพุทธเจ้า พระธรรมหรือพระสงฆ์ กลับพอใจ ร่าเริง ชอบใจ.  ดูกรภิกษุทั้งหลาย ข้อนี้เป็นเครื่องสอบสวนในข้อปฏิบัติที่ชวนให้สงฆ์ยินดี แห่งกุลบุตรผู้เคยเป็นอัญญเดียรถีย์.  ดูกรภิกษุทั้งหลาย อย่างนี้แล กุลบุตรผู้เคยเป็นอัญญเดียรถีย์ ชื่อว่าเป็นผู้ปฏิบัติให้สงฆ์ยินดี.  กุลบุตรผู้เคยเป็นอัญญเดียรถีย์ปฏิบัติให้สงฆ์ยินดีเช่นนี้แล มาแล้ว พึงอุปสมบทให้. 
“ปุน จปรํ ภิกฺขเว อญฺญติตฺถิยปุพฺโพ ยานิ ตานิ สพฺรหฺมจารีนํ อุจฺจาวจานิ กรณียานิ ตตฺถ น ทกฺโข โหติ น อนลโส น ตตฺรุปายาย วีมํสาย สมนฺนาคโต น อลํ กาตุํ น อลํ สํวิธาตุํ.  เอวมฺปิ ภิกฺขเว อญฺญติตฺถิยปุพฺโพ อนาราธโก โหติ.  “ปุน จปรํ ภิกฺขเว อญฺญติตฺถิยปุพฺโพ น ติพฺพจฺฉนฺโท โหติ อุทฺเทเส ปริปุจฺฉาย อธิสีเล อธิจิตฺเต อธิปญฺญาย.  เอวมฺปิ ภิกฺขเว อญฺญติตฺถิยปุพฺโพ อนาราธโก โหติ. 
sace bhikkhave aññatitthiyapubbo naggo āgacchati, upajjhāyamūlakaṃ cīvaraṃ pariyesitabbaṃ.  sace acchinnakeso āgacchati, saṃgho apaloketabbo bhaṇḍukammāya.  ye te bhikkhave aggikā jaṭilakā, te āgatā upasampādetabbā, na tesaṃ parivāso dātabbo.  taṃ kissa hetu.  kammavādino ete bhikkhave kiriyavādino.  sace bhikkhave jātiyā Sākiyo aññatitthiyapubbo āgacchati, so āgato upasampādetabbo, na tassa parivāso dātabbo.  imāhaṃ bhikkhave ñātīnaṃ āveṇiyaṃ parihāraṃ dammīti. |11| 
'When a person comes, O Bhikkhus, that has formerly belonged to a Titthiya school, and has thus succeeded in satisfying (the Bhikkhus), the upasampadâ ordination ought to be conferred on him.  'If a person, O Bhikkhus, that has formerly beIonged to a Titthiya school, comes (to the Bhikkhus) naked, it is incumbent on his upagghâya to get a robe for him.  If he comes with unshaven hair, the Samgha's permission ought to be asked for having his hair shaved.  'If fire-worshippers and Gatilas come to you, O Bhikkhus, they are to receive the upasampadâ ordination (directly), and no parivâsa is to be imposed on them.  And for what reason?  These, O Bhikkhus, hold the doctrine that actions receive their reward, and that our deeds have their result (according to their moral merit).  'If a Sakya by birth, O Bhikkhus, who has belonged to a Titthiya school, comes to you, he is to receive the upasampadâ ordination (directly), and no parivâsa is to be imposed on him. 
ดูกรภิกษุทั้งหลาย ถ้ากุลบุตรผู้เคยเป็นอัญญเดียรถีย์ เปลือยกายมา ต้องแสวงหาจีวร ซึ่งมีอุปัชฌายะเป็นเจ้าของ  ถ้ายังมิได้ปลงผมมา สงฆ์พึงอปโลกน์ เพื่อปลงผม.  ดูกรภิกษุทั้งหลาย ชฏิลผู้บูชาไฟเหล่านั้นมาแล้ว พึงอุปสมบทให้ ไม่ต้องให้ปริวาสแก่พวกเธอ.  ข้อนั้นเป็นเพราะเหตุไร?  ดูกรภิกษุทั้งหลาย เพราะชฎิลเหล่านั้น เป็นกรรมวาที กิริยวาที.  ถ้าศากยะโดยกำเนิดเคยเป็นอัญญเดียรถีย์มา เธอมาแล้วพึงอุปสมบทให้ ไม่ต้องให้ปริวาสแก่เธอ.  ดูกรภิกษุทั้งหลาย เราให้บริหารข้อนี้เป็นส่วนพิเศษเฉพาะหมู่ญาติ. 
“ปุน จปรํ ภิกฺขเว อญฺญติตฺถิยปุพฺโพ ยสฺส ติตฺถายตนา สงฺกนฺโต โหติ ตสฺส สตฺถุโน ตสฺส ทิฏฺฐิยา ตสฺส ขนฺติยา ตสฺส รุจิยา ตสฺส อาทายสฺส อวณฺเณ ภญฺญมาเน กุปิโต โหติ อนตฺตมโน อนภิรทฺโธ พุทฺธสฺส วา ธมฺมสฺส วา สงฺฆสฺส วา อวณฺเณ ภญฺญมาเน อตฺตมโน โหติ อุทคฺโค อภิรทฺโธ. ยสฺส วา ปน ติตฺถายตนา สงฺกนฺโต โหติ ตสฺส สตฺถุโน ตสฺส ทิฏฺฐิยา ตสฺส ขนฺติยา ตสฺส รุจิยา ตสฺส อาทายสฺส วณฺเณ ภญฺญมาเน อตฺตมโน โหติ อุทคฺโค อภิรทฺโธ พุทฺธสฺส วา ธมฺมสฺส วา สงฺฆสฺส วา วณฺเณ ภญฺญมาเน กุปิโต โหติ อนตฺตมโน อนภิรทฺโธ. อิทํ ภิกฺขเว สงฺฆาตนิกํ อญฺญติตฺถิยปุพฺพสฺส อนาราธนียสฺมึ.  เอวมฺปิ โข ภิกฺขเว อญฺญติตฺถิยปุพฺโพ อนาราธโก โหติ. เอวํ อนาราธโก โข ภิกฺขเว อญฺญติตฺถิยปุพฺโพ อาคโต น อุปสมฺปาเทตพฺโพ.  “กถญฺจ ภิกฺขเว อญฺญติตฺถิยปุพฺโพ อาราธโก โหติ?  อิธ ภิกฺขเว อญฺญติตฺถิยปุพฺโพ นาติกาเลน คามํ ปวิสติ นาติทิวา ปฏิกฺกมติ.  เอวมฺปิ ภิกฺขเว อญฺญติตฺถิยปุพฺโพ อาราธโก โหติ.  “ปุน จปรํ ภิกฺขเว อญฺญติตฺถิยปุพฺโพ น เวสิยาโคจโร โหติ น วิธวาโคจโร โหติ น ถุลฺลกุมาริกาโคจโร โหติ น ปณฺฑกโคจโร โหติ น ภิกฺขุนิโคจโร โหติ.  เอวมฺปิ ภิกฺขเว อญฺญติตฺถิยปุพฺโพ อาราธโก โหติ. 
aññatitthiyapubbakathā. ||38|| 
This exceptional privilege, O Bhikkhus, I grant to my kinsmen.' 
อัญญติถิยปุพพกถา จบ 
“ปุน จปรํ ภิกฺขเว อญฺญติตฺถิยปุพฺโพ ยานิ ตานิ สพฺรหฺมจารีนํ อุจฺจาวจานิ กรณียานิ ตตฺถ ทกฺโข โหติ อนลโส ตตฺรุปายาย วีมํสาย สมนฺนาคโต อลํ กาตุํ อลํ สํวิธาตุํ. 
sattamaṃ bhāṇavāraṃ. 
Here ends the exposition on the ordination of persons that have formerly belonged to Titthiya schools. 
ภาณวารที่ ๗ จบ 
เอวมฺปิ ภิกฺขเว อญฺญติตฺถิยปุพฺโพ อาราธโก โหติ. 
tena kho pana samayena Magadhesu pañca ābādhā ussannā honti kuṭṭhaṃ gaṇḍo kilāso soso apamāro.  manussā pañcahi ābādhehi phuṭṭhā Jīvakaṃ Komārabhaccaṃ upasaṃkamitvā evaṃ vadanti: sādhu no ācariya tikicchāhīti.  ahaṃ kho ’yyo bahukicco bahukaraṇīyo, rājā ca me Māgadho (72) Seniyo Bimbisāro upaṭṭhātabbo itthāgārañ ca buddhapamukho ca bhikkhusaṃgho, nāhaṃ sakkomi tikicchitun ti.  sabbaṃ sāpateyyañ ca te ācariya hotu, mayañ ca te dāsā, sādhu no ācariya tikicchāhīti.  ahaṃ kho ’yyo bahukicco bahukaraṇīyo, rājā ca me Māgadho Seniyo Bimbisāro upaṭṭhātabbo itthāgārañ ca buddhapamukho ca bhikkhusaṃgho, nāhaṃ sakkomi tikicchitun ti. |1| 
End of the seventh Bhânavâra.  At that time these five diseases prevailed among the people of Magadha:--leprosy, boils, dry leprosy, consumption, and fits.  The people who were affected with these five diseases went to Gîvaka Komârabhakka and said: 'pray, doctor, cure us.'  'I have too many duties', Sirs, and am too occupied. I have to treat the Magadha king Seniya Bimbisâra, and the royal seraglio, and the fraternity of Bhikkhus with the Buddha at their head. I cannot cure you.  'All that we possess shall be yours, doctor, and we will be your slaves; pray, doctor, cure us.' 
อันตรายิกธรรม (โรค ๕ ชนิด) // [๑๐๑] ก็โดยสมัยนั้นแล ในมคธชนบทเกิดโรคระบาดขึ้น ๕ ชนิด คือ โรคเรื้อน ๑ โรคฝี ๑ โรคกลาก ๑ โรคมองคร่อ ๑ โรคลมบ้าหมู ๑  ประชาชนอันโรค ๕ ชนิดกระทบเข้าแล้ว ได้เข้าไปหาหมอชีวกโกมารภัจจ์ แล้วกล่าวอย่างนี้ว่า ขอโอกาส ท่านอาจารย์ ขอท่านกรุณาช่วยรักษาพวกข้าพเจ้าด้วย.  ชี. เจ้าทั้งหลาย ฉันน่ะ มีกิจมาก มีงานที่ต้องทำมาก ฉันต้องถวายอภิบาลพระเจ้าพิมพิสารจอมเสนามาคธราช ทั้งพวกฝ่ายใน และพระสงฆ์มีพระพุทธเจ้าเป็นประมุข ฉันไม่สามารถจะช่วยรักษาได้.  ป. ท่านอาจารย์ ทรัพย์สมบัติทั้งหมดยกให้ท่าน และพวกข้าพเจ้ายอมเป็นทาสของท่าน ขอโอกาส ท่านอาจารย์ ขอท่านกรุณาช่วยรักษาพวกข้าพเจ้าด้วย.  ชี. เจ้าทั้งหลาย ฉันน่ะ มีกิจมาก มีงานที่ต้องทำมาก ฉันต้องถวายอภิบาลพระเจ้าพิมพิสารจอมเสนามาคธราช ทั้งพวกฝ่ายใน และพระสงฆ์มีพระพุทธเจ้าเป็นประมุข ฉันไม่สามารถจะช่วยรักษาได้. 
“ปุน จปรํ ภิกฺขเว อญฺญติตฺถิยปุพฺโพ ติพฺพจฺฉนฺโท โหติ อุทฺเทเส ปริปุจฺฉาย อธิสีเล อธิจิตฺเต อธิปญฺญาย.  เอวมฺปิ ภิกฺขเว อญฺญติตฺถิยปุพฺโพ อาราธโก โหติ.  “ปุน จปรํ ภิกฺขเว อญฺญติตฺถิยปุพฺโพ ยสฺส ติตฺถายตนา สงฺกนฺโต โหติ ตสฺส สตฺถุโน ตสฺส ทิฏฺฐิยา ตสฺส ขนฺติยา ตสฺส รุจิยา ตสฺส อาทายสฺส อวณฺเณ ภญฺญมาเน อตฺตมโน โหติ อุทคฺโค อภิรทฺโธ พุทฺธสฺส วา ธมฺมสฺส วา สงฺฆสฺส วา อวณฺเณ ภญฺญมาเน กุปิโต โหติ อนตฺตมโน อนภิรทฺโธ. ยสฺส วา ปน ติตฺถายตนา สงฺกนฺโต โหติ ตสฺส สตฺถุโน ตสฺส ทิฏฺฐิยา ตสฺส ขนฺติยา ตสฺส รุจิยา ตสฺส อาทายสฺส วณฺเณ ภญฺญมาเน กุปิโต โหติ อนตฺตมโน อนภิรทฺโธ พุทฺธสฺส วา ธมฺมสฺส วา สงฺฆสฺส วา วณฺเณ ภญฺญมาเน อตฺตมโน โหติ อุทคฺโค อภิรทฺโธ.  อิทํ ภิกฺขเว สงฺฆาตนิกํ อญฺญติตฺถิยปุพฺพสฺส อาราธนียสฺมึ.  เอวมฺปิ โข ภิกฺขเว อญฺญติตฺถิยปุพฺโพ อาราธโก โหติ. 
atha kho tesaṃ manussānaṃ etad ahosi: ime kho samaṇā Sakyaputtiyā sukhasīlā sukhasamācārā subhojanāni bhuñjitvā nivātesu sayanesu sayanti.  yaṃ nūna mayaṃ samaṇesu Sakyaputtiyesu pabbajeyyāma, tattha bhikkhū c’ eva upaṭṭhahissanti Jīvako ca Komārabhacco tikicchissatīti.  atha kho te manussā bhikkhū upasaṃkamitvā pabbajjaṃ yāciṃsu, te bhikkhū pabbājesuṃ upasampādesuṃ, te bhikkhū c’ eva upaṭṭhahiṃsu Jīvako ca Komārabhacco tikicchi. |2| 
'I have too many duties, Sirs, &c.; I cannot cure you.'  Now those people thought: 'Indeed the precepts which these Sakyaputtiya Samanas keep and the life they live are commodious; they have good meals and lie down on beds protected from the wind.  What if we were to embrace the religious life among the Sakyaputtiya Samanas: then the Bhikkhus will nurse us, and Gîvaka Komârabhakka, will cure us.' 
จึงประชาชนพวกนั้นได้คิดว่า พระสมณะเชื้อสายพระศากยบุตรเหล่านี้แล มีปกติเป็นสุข มีความประพฤติสบาย ฉันอาหารที่ดี นอนในห้องนอนอันมิดชิด  ถ้ากระไร พวกเราพึงบวชในสำนักพระสมณะเชื้อสายพระศากยบุตร ในที่นั้น ภิกษุทั้งหลายจักพยาบาล และหมอชีวกโกมารภัจจ์จักรักษา.  ต่อมา พวกเขาพากันเข้าไปหาภิกษุทั้งหลายแล้วขอบรรพชา. ภิกษุทั้งหลายให้พวกเขาบรรพชาอุปสมบท แล้วต้องพยาบาล และหมอชีวกโกมารภัจจ์ต้องรักษาพวกเขา. 
เอวํ อาราธโก โข ภิกฺขเว อญฺญติตฺถิยปุพฺโพ อาคโต อุปสมฺปาเทตพฺโพ.  “สเจ ภิกฺขเว อญฺญติตฺถิยปุพฺโพ นคฺโค อาคจฺฉติ อุปชฺฌายมูลกํ จีวรํ ปริเยสิตพฺพํ.  สเจ อจฺฉินฺนเกโส อาคจฺฉติ สงฺโฆ อปโลเกตพฺโพ ภณฺฑุกมฺมาย. 
tena kho pana samayena bhikkhū bahū gilāne bhikkhū upaṭṭhahantā yācanabahulā viññattibahulā viharanti gilānabhattaṃ detha, gilānupaṭṭhākabhattaṃ detha, gilānabhesajjaṃ dethā ’ti.  Jīvako pi Komārabhacco bahū gilāne bhikkhū tikicchanto aññataraṃ rājakiccaṃ parihāpesi. |3| 
Thus these persons went to the Bhikkhus and asked them for the pabbaggâ ordination; the Bhikkhus conferred on them the pabbaggâ and upasampadâ ordinations; and the Bhikkhus nursed them, and Gîvaka Komârabhakka cured them.  At that time the Bhikkhus, who had to nurse many sick Bhikkhus, began to solicit (lay people) with many demands and many requests: 'Give us food for the sick; give us food for the tenders of the sick; give us medicine for the sick.' 
สมัยต่อมา ภิกษุทั้งหลายพยาบาลภิกษุอาพาธมากรูป ย่อมเป็นผู้มากด้วยการขอร้อง มากด้วยการขออยู่ว่า ขอจงให้อาหารสำหรับภิกษุอาพาธ ขอจงให้อาหารสำหรับภิกษุผู้พยาบาลภิกษุอาพาธ ขอจงให้เภสัชสำหรับภิกษุผู้อาพาธ.  แม้หมอชีวกโกมารภัจจ์มัวรักษาภิกษุอาพาธมากรูป ได้ปฏิบัติราชการบางอย่างบกพร่อง. 
เย เต ภิกฺขเว อคฺคิกา ชฏิลกา เต อาคตา อุปสมฺปาเทตพฺพา น เตสํ ปริวาโส ทาตพฺโพ.  ตํ กิสฺส เหตุ? 
aññataro puriso pañcahi ābādhehi phuṭṭho Jīvakaṃ Komārabhaccaṃ upasaṃkamitvā etad avoca: sādhu maṃ ācariya tikicchāhīti.  ahaṃ kho ’yyo bahukicco bahukaraṇīyo, rājā ca me Māgadho Seniyo Bimbisāro upaṭṭhātabbo itthāgārañ ca buddhapamukho ca bhikkhusaṃgho, nāhaṃ sakkomi tikicchitun ti.  sabbaṃ sāpateyyañ ca te ācariya hotu, ahañ ca te dāso, sādhu maṃ ācariya tikicchāhīti.  ahaṃ kho ’yyo bahukicco bahukaraṇīyo, rājā ca me Māgadho Seniyo Bimbisāro upaṭṭhātabbo itthāgārañ ca buddhapamukho ca bhikkhusaṃgho, nāhaṃ sakkomi tikicchitun ti. |4| 
And also Gîvaka Komârabhakka, who had to treat many sick Bhikkhus, neglected some of his duties to the king.  Now one day a man who was affected with the five diseases went to Gîvaka Komârabhakka and said:'Pray, doctor, cure me.'  'I have too many duties, Sir, and am too occupied; I have to treat the Magadha king Seniya Bimbisâra, and the royal seraglio, and the fraternity of Bhikkhus with the Buddha at their head; I cannot cure you.'  'All that I possess shall be yours, doctor, and I will be your slave; pray doctor, cure me.' 
บุรุษแม้คนหนึ่ง ถูกโรค ๕ ชนิดกระทบเข้าแล้ว ก็เข้าไปหาหมอชีวกโกมารภัจจ์ แล้วกราบเรียนว่า ขอโอกาส ท่านอาจารย์ ขอท่านกรุณาช่วยรักษากระผมด้วย.  ชี. เจ้า ข้าน่ะ มีกิจมาก มีงานที่ต้องทำมาก ต้องถวายอภิบาลพระเจ้าพิมพิสารจอมเสนามาคธราช ทั้งพวกฝ่ายใน และพระสงฆ์มีพระพุทธเจ้าเป็นประมุข ข้าไม่สามารถจะช่วยรักษาได้.  บุรุษ. ท่านอาจารย์ ทรัพย์สมบัติทั้งหมดยกให้ท่าน และกระผมยอมเป็นทาสของท่าน ขอโอกาส ท่านอาจารย์ ขอท่านกรุณาช่วยรักษากระผมด้วย.  ชี. เจ้า ข้าน่ะ มีกิจมาก มีงานที่ต้องทำมาก ต้องถวายอภิบาลพระเจ้าพิมพิสารจอมเสนามาคธราช ทั้งพวกฝ่ายใน และพระสงฆ์มีพระพุทธเจ้าเป็นประมุข ข้าไม่สามารถจะช่วยรักษาได้. 
กมฺมวาทิโน เอเต ภิกฺขเว กิริยวาทิโน.  สเจ ภิกฺขเว ชาติยา สากิโย อญฺญติตฺถิยปุพฺโพ อาคจฺฉติ โส อาคโต อุปสมฺปาเทตพฺโพ น ตสฺส ปริวาโส ทาตพฺโพ.  อิมาหํ ภิกฺขเว ญาตีนํ อาเวณิกํ ปริหารํ ทมฺมี”ติ.  อญฺญติตฺถิยปุพฺพกถา นิฏฺฐิตา. 
atha kho tassa purisassa etad ahosi: ime kho samaṇā Sakyaputtiyā sukhasīlā sukhasamācārā subhojanāni bhuñjitvā nivātesu sayanesu sayanti.  yaṃ nūnāhaṃ samaṇesu Sakyaputtiyesu pabbajeyyaṃ, tattha bhikkhū c’ eva upaṭṭhahissanti, Jīvako ca Komārabhacco tikicchissati, so ’haṃ arogo vibbhamissāmīti.  atha kho so puriso bhikkhū upasaṃkamitvā pabbajjaṃ yāci, taṃ bhikkhū pabbājesuṃ upasampādesuṃ, taṃ bhikkhū c’ eva upaṭṭhahiṃsu Jīvako ca Komārabhacco tikicchi, so arogo vibbhami.  addasa kho (73) Jīvako Komārabhacco taṃ purisaṃ vibbhamantaṃ, disvāna taṃ purisaṃ etad avoca:  nanu tvaṃ ayyo bhikkhūsu pabbajito ahosīti.  evaṃ ācariyā ’ti.  kissa pana tvaṃ ayyo evarūpaṃ akāsīti.  atha kho so puriso Jīvakassa Komārabhaccassa etam atthaṃ ārocesi. |5| 
'I have too many duties, Sir, &c.; I cannot cure you.  Now that man thought: 'Indeed the precepts which these Sakyaputtiya Samanas keep (&c., down to:): then the Bhikkhus will nurse me, and Gîvaka Komârabhakka will cure me. When I have become free from sickness, then I will return to the world.'  Thus that man went to the Bhikkhus and asked them for the pabbaggâ ordination; the Bhikkhus conferred on him the pabbaggâ and upasampadâ ordinations; and the Bhikkhus nursed him, and Gîvaka Komârabhakka cured him. When he had become free from sickness, he returned to the world.  Now Gîvaka Komârabhakka saw this person that had returned to the world;  and when he saw him he asked that person:  'Had you not embraced the religious life, Sir, among the Bhikkhus?'  'Yes, doctor.'  'And why have you adopted such a course, Sir?' 
จึงบุรุษนั้นได้คิดว่า พระสมณะเชื้อสายพระศากยบุตรเหล่านี้แล มีปกติเป็นสุข มีความประพฤติสบาย ฉันอาหารที่ดี นอนในห้องนอนอันมิดชิด  ถ้ากระไร เราพึงบวชในสำนักพระสมณะเชื้อสายพระศากยบุตร ในที่นั้น ภิกษุทั้งหลายจักพยาบาล และหมอชีวกโกมารภัจจ์จักรักษา เราหายโรคแล้วจักสึก จึงบุรุษนั้นเข้าไปหาภิกษุทั้งหลายแล้วขอบรรพชา.  ภิกษุทั้งหลายให้บุรุษนั้นบรรพชาอุปสมบทแล้วต้องพยาบาล และหมอชีวกโกมารภัจจ์ต้องรักษาภิกษุนั้น. ภิกษุนั้นหายโรคแล้วสึก.  หมอชีวกโกมารภัจจ์ได้เห็นบุรุษนั้นสึกแล้ว จึงได้ไต่ถามบุรุษนั้นว่า  เจ้าบวชในสำนักภิกษุมิใช่หรือ?  บุรุษ. ใช่แล้วขอรับ ท่านอาจารย์.  ชี. เจ้าได้ทำพฤติการณ์เช่นนั้น เพื่อประสงค์อะไร?  จึงบุรุษนั้น ได้เรียนเรื่องนั้นให้หมอชีวกโกมารภัจจ์ทราบ. 
สตฺตมภาณวาโร.  (๒๖. ปญฺจาพาธวตฺถุ) ๘๘. เตน โข ปน สมเยน มคเธสุ ปญฺจ อาพาธา อุสฺสนฺนา โหนฺติ กุฏฺฐํ คณฺโฑ กิลาโส โสโส อปมาโร.  มนุสฺสา ปญฺจหิ อาพาเธหิ ผุฏฺฐา ชีวกํ โกมารภจฺจํ อุปสงฺกมิตฺวา เอวํ วทนฺติ “สาธุ โน อาจริย ติกิจฺฉาหี”ติ.  “อหํ ขฺวยฺโย พหุกิจฺโจ พหุกรณีโย ราชา จ เม มาคโธ เสนิโย พิมฺพิสาโร อุปฏฺฐาตพฺโพ อิตฺถาคารญฺจ พุทฺธปฺปมุโข จ ภิกฺขุสงฺโฆ นาหํ สกฺโกมิ ติกิจฺฉิตุ”นฺติ.  “สพฺพํ สาปเตยฺยญฺจ เต อาจริย โหตุ มยญฺจ เต ทาสา สาธุ โน อาจริย ติกิจฺฉาหี”ติ.  “อหํ ขฺวยฺโย พหุกิจฺโจ พหุกรณีโย ราชา จ เม มาคโธ เสนิโย พิมฺพิสาโร อุปฏฺฐาตพฺโพ อิตฺถาคารญฺจ พุทฺธปฺปมุโข จ ภิกฺขุสงฺโฆ นาหํ สกฺโกมิ ติกิจฺฉิตุ”นฺติ.  อถ โข เตสํ มนุสฺสานํ เอตทโหสิ “อิเม โข สมณา สกฺยปุตฺติยา สุขสีลา สุขสมาจารา สุโภชนานิ ภุญฺชิตฺวา นิวาเตสุ สยเนสุ สยนฺติ.  ยํนูน มยํ สมเณสุ สกฺยปุตฺติเยสุ ปพฺพเชยฺยาม. ตตฺถ ภิกฺขู เจว อุปฏฺฐหิสฺสนฺติ ชีวโก จ โกมารภจฺโจ ติกิจฺฉิสฺสตี”ติ 
Jīvako Komārabhacco ujjhāyati khīyati vipāceti: kathaṃ hi nāma bhaddantā pañcahi ābādhehi phuṭṭhaṃ pabbājessantīti.  atha kho Jīvako Komārabhacco yena bhagavā ten’ upasaṃkami, upasaṃkamitvā bhagavantaṃ abhivādetvā ekamantaṃ nisīdi.  ekamantaṃ nisinno kho Jīvako Komārabhacco bhagavantaṃ etad avoca: sādhu bhante ayyā pañcahi ābādhehi phuṭṭhaṃ na pabbājeyyun ti. |6| 
Then that man told Gîvaka Komârabhakka the whole matter .  Then Gîvaka Komârabhakka was annoyed, murmured, and became angry: 'How can the venerable brethren confer the pabbaggâ ordination on a person affected with the five diseases?'  And Gîvaka Komârabhakka went to the place where the Blessed One was; having approached him and having respectfully saluted the Blessed One, he sat down near him. 
หมอชีวกโกมารภัจจ์ จึงเพ่งโทษ ติเตียน โพนทะนาว่า ไฉนพระคุณเจ้าทั้งหลายจึงได้ให้กุลบุตรผู้ถูกโรค ๕ ชนิดกระทบเข้าแล้วบวชเล่า.  ครั้นแล้วเข้าเฝ้าพระผู้มีพระภาค ถวายบังคมพระผู้มีพระภาคแล้วนั่ง ณ ที่ควรส่วนข้างหนึ่ง  แล้วได้กราบทูลขอประทานพรต่อพระผู้มีพระภาคว่า ข้าพระพุทธเจ้า ขอประทานพระวโรกาส ขอพระผู้เป็นเจ้าทั้งหลายไม่พึงยังกุลบุตรผู้ถูกโรค ๕ ชนิดกระทบเข้าแล้ว ให้บวช. 
อถ โข เต มนุสฺสา ภิกฺขู อุปสงฺกมิตฺวา ปพฺพชฺชํ ยาจึสุ. เต ภิกฺขู ปพฺพาเชสุํ อุปสมฺปาเทสุํ. เต ภิกฺขู เจว อุปฏฺฐหึสุ ชีวโก จ โกมารภจฺโจ ติกิจฺฉิ.  เตน โข ปน สมเยน ภิกฺขู พหู คิลาเน ภิกฺขู อุปฏฺฐหนฺตา ยาจนพหุลา วิญฺญตฺติพหุลา วิหรนฺติ คิลานภตฺตํ เทถ คิลานุปฏฺฐากภตฺตํ เทถ คิลานเภสชฺชํ เทถาติ.  ชีวโกปิ โกมารภจฺโจ พหู คิลาเน ภิกฺขู ติกิจฺฉนฺโต อญฺญตรํ ราชกิจฺจํ ปริหาเปสิ. 
atha kho bhagavā Jīvakaṃ Komārabhaccaṃ dhammiyā kathāya sandassesi samādapesi samuttejesi sampahaṃsesi.  atha kho Jīvako Komārabhacco bhagavatā dhammiyā kathāya sandassito samādapito samuttejito sampahaṃsito uṭṭhāyāsanā bhagavantaṃ abhivādetvā padakkhiṇaṃ katvā pakkāmi. 
Sitting near him, Gîvaka Komârabhakka said to the Blessed One: 'Pray, Lord, let their reverences not confer the pabbaggâ ordination on persons affected with the five diseases.'  Then the Blessed One taught, incited, animated, and gladdened Gîvaka Komârabhakka by religious discourse; 
ลำดับนั้น พระผู้มีพระภาคทรงชี้แจงให้หมอชีวกโกมารภัจจ์ เห็นแจ้ง สมาทาน อาจหาญ ร่าเริง ด้วยธรรมีกถา.  ครั้นหมอชีวกโกมารภัจจ์อันพระผู้มีพระภาคทรงชี้แจงให้เห็นแจ้ง ให้สมาทาน ให้อาจหาญ ร่าเริงด้วยธรรมีกถาแล้วลุกจากที่นั่ง ถวายบังคมพระผู้มีพระภาค ทำประทักษิณแล้วกลับไป. 
๘๙. อญฺญตโรปิ ปุริโส ปญฺจหิ อาพาเธหิ ผุฏฺโฐ ชีวกํ โกมารภจฺจํ อุปสงฺกมิตฺวา เอตทโวจ “สาธุ มํ อาจริย ติกิจฺฉาหี”ติ.  “อหํ ขฺวยฺโย พหุกิจฺโจ พหุกรณีโย ราชา จ เม มาคโธ เสนิโย พิมฺพิสาโร อุปฏฺฐาตพฺโพ อิตฺถาคารญฺจ พุทฺธปฺปมุโข จ ภิกฺขุสงฺโฆ นาหํ สกฺโกมิ ติกิจฺฉิตุ”นฺติ. 
atha kho bhagavā etasmiṃ nidāne etasmiṃ pakaraṇe dhammiṃ kathaṃ katvā bhikkhū āmantesi: na bhikkhave pañcahi ābādhehi phuṭṭho pabbājetabbo.  yo pabbājeyya, āpatti dukkaṭassā ’ti. |7| 
and Gîvaka Komârabhakka, having been taught . . . . and gladdened by the Blessed One by religious discourse, rose from his seat, respectfully saluted the Blessed One, and passing round him with his right side towards him, went away.  In consequence of that and on this occasion the Blessed One, after having delivered a religious discourse, thus addressed the Bhikkhus: 'Let no one, O Bhikkhus, who is affected with the five diseases, receive the pabbaggâ ordination. 
ทรงห้ามบวชคนเป็นโรคติดต่อ // ลำดับนั้น พระผู้มีพระภาคทรงทำธรรมีกถา ในเพราะเหตุเป็นเค้ามูลนั้น ในเพราะเหตุแรกเกิดนั้น แล้วรับสั่งกะภิกษุทั้งหลายว่า ดูกรภิกษุทั้งหลาย กุลบุตรผู้ถูกโรค ๕ ชนิด กระทบเข้าแล้ว ภิกษุไม่พึงให้บวช  รูปใดให้บวช ต้องอาบัติทุกกฏ. 
“สพฺพํ สาปเตยฺยญฺจ เต อาจริย โหตุ อหญฺจ เต ทาโส สาธุ มํ อาจริย ติกิจฺฉาหี”ติ.  “อหํ ขฺวยฺโย พหุกิจฺโจ พหุกรณีโย ราชา จ เม มาคโธ เสนิโย พิมฺพิสาโร อุปฏฺฐาตพฺโพ อิตฺถาคารญฺจ พุทฺธปฺปมุโข จ ภิกฺขุสงฺโฆ นาหํ สกฺโกมิ ติกิจฺฉิตุ”นฺติ. 
||39|| 
He who confers the pabbaggâ ordination ( on such a person), is guilty of a dukkata offence.' 
อถ โข ตสฺส ปุริสสฺส เอตทโหสิ “อิเม โข สมณา สกฺยปุตฺติยา สุขสีลา สุขสมาจารา สุโภชนานิ ภุญฺชิตฺวา นิวาเตสุ สยเนสุ สยนฺติ. 
tena kho pana samayena rañño Māgadhassa Seniyassa Bimbisārassa paccanto kupito hoti.  atha kho rājā Māgadho Seniyo Bimbisāro senānāyake mahāmatte āṇāpesi: gacchatha bhaṇe paccantaṃ uccinathā ’ti.  evaṃ devā ’ti kho senānāyakā mahāmattā rañño Māgadhassa Seniyassa Bimbisārassa paccassosuṃ. |1| 
At that time the border provinces (of the kingdom) of the Magadha king Seniya Bimbisâra were agitated.  Then the Magadha king Seniya Bimbisâra gave order to the officers who were at the head of the army: 'Well now, go and search through the border provinces: 
เรื่องราชภัฏบวช // [๑๐๒] ก็โดยสมัยนั้นแล เมืองปลายเขตแดนของพระเจ้าพิมพิสารจอมเสนามาคธราชเกิดจลาจล.  ครั้งนั้น ท้าวเธอจึงมีพระบรมราชโองการสั่งพวกมหาอำมาตย์ผู้เป็นแม่ทัพนายกองว่า ดูกรพนาย ท่านทั้งหลายจงไปปรับปรุงเมืองปลายเขตแดนให้เรียบร้อย.  พวกมหาอำมาตย์ผู้เป็นแม่ทัพนายกองกราบทูลรับสนองพระบรมราชโองการพระเจ้าพิมพิสารจอมเสนามาคธราชว่า ขอเดชะ พระพุทธเจ้าข้า. 
ยํนูนาหํ สมเณสุ สกฺยปุตฺติเยสุ ปพฺพเชยฺยํ. ตตฺถ ภิกฺขู เจว อุปฏฺฐหิสฺสนฺติ ชีวโก จ โกมารภจฺโจ ติกิจฺฉิสฺสติ. โสมฺหิ อโรโค วิพฺภมิสฺสามี”ติ  อถ โข โส ปุริโส ภิกฺขุ อุปสงฺกมิตฺวา ปพฺพชฺชํ ยาจิ. ตํ ภิกฺขู ปพฺพาเชสุํ อุปสมฺปาเทสุํ. ตํ ภิกฺขู เจว อุปฏฺฐหึสุ ชีวโก จ โกมารภจฺโจ ติกิจฺฉิ. โส อโรโค วิพฺภมิ.  อทฺทสา โข ชีวโก โกมารภจฺโจ ตํ ปุริสํ วิพฺภนฺตํ ทิสฺวาน ตํ ปุริสํ เอตทโวจ 
atha kho abhiññātānaṃ-abhiññātānaṃ yodhānaṃ etad ahosi: mayaṃ kho yuddhābhinandino gacchantā pāpañ ca karoma bahuñ ca apuññaṃ pasavāma.  kena nu kho mayaṃ upāyena pāpā ca virameyyāma kalyāṇañ ca kareyyāmā ’ti.  atha kho tesaṃ yodhānaṃ etad ahosi: ime kho samaṇā Sakyaputtiyā dhammacārino samacārino brahmacārino saccavādino sīlavanto kalyāṇadhammā.  sace kho mayaṃ samaṇesu Sakyaputtiyesu pabbajeyyāma, evaṃ mayaṃ pāpā ca virameyyāma kalyāṇañ ca kareyyāmā ’ti.  atha kho te yodhā bhikkhū upasaṃkamitvā pabbajjaṃ yāciṃsu.  te bhikkhū pabbājesuṃ upasampādesuṃ. |2| 
The officers who were at the head of the army accepted the order of the Magadha king Seniya Bimbisâra (by saying), 'Yes, Your Majesty.'  Now many distinguished warriors thought: 'We who go (to war) and find our delight in fighting, do evil and produce great demerit.  Now what shall we do that we may desist from evil-doing and may do good?'  Then these warriors thought: 'These Sakyaputtiya Samanas lead indeed a virtuous, tranquil, holy life; they speak the truth; they keep the precepts of morality, and are endowed with all virtues.  If we could obtain pabbaggâ with the Sakyaputtiya Samanas, we should desist from evil-doing and do good.'  Thus these warriors went to the Bhikkhus and asked them for the pabbaggâ ordination; 
ครั้งนั้น เหล่าทหารบรรดาที่มีชื่อเสียง ได้มีความปริวิตกว่า พวกเราพอใจในการรบ พากันไปทำบาปกรรม และประสพกรรมมิใช่บุญมาก  ด้วยวิธีอย่างไรหนอพวกเราพึงงดเว้นจากบาปกรรม แลทำแต่ความดี ดังนี้  และได้มีความปริวิตกต่อไปว่า พระสมณะเชื้อสายพระศากยบุตรเหล่านี้แล เป็นผู้ประพฤติธรรม ประพฤติสงบ ประพฤติพรหมจรรย์ กล่าวแต่คำสัตย์ มีศีล มีกัลยาณธรรม  ถ้าแลพวกเราจะพึงบวชในสำนักพระสมณะเชื้อสายพระศากยบุตร ด้วยวิธีอย่างนี้ พวกเราก็จะพึงเว้นจากบาปกรรม และทำแต่ความดี  ดังนี้ จึงพากันเข้าไปหาภิกษุทั้งหลายแล้วขอบรรพชา.  ภิกษุทั้งหลายให้พวกเขาบรรพชาอุปสมบทแล้ว. 
“นนุ ตฺวํ อยฺโย ภิกฺขูสุ ปพฺพชิโต อโหสี”ติ?  “เอวํ อาจริยา”ติ.  “กิสฺส ปน ตฺวํ อยฺโย เอวรูปมกาสี”ติ?  อถ โข โส ปุริโส ชีวกสฺส โกมารภจฺจสฺส เอตมตฺถํ อาโรเจสิ.  ชีวโก โกมารภจฺโจ อุชฺฌายติ ขิยฺยติ วิปาเจติ “กถญฺหิ นาม ภทนฺตา ปญฺจหิ อาพาเธหิ ผุฏฺฐํ ปพฺพาเชสฺสนฺตี”ติ.  อถ โข ชีวโก โกมารภจฺโจ เยน ภควา เตนุปสงฺกมิ อุปสงฺกมิตฺวา ภควนฺตํ อภิวาเทตฺวา เอกมนฺตํ นิสีทิ. 
senānāyakā mahāmattā rājabhaṭe pucchiṃsu: kiṃ (74) nu kho bhaṇe itthannāmo ca itthannāmo ca yodhā na dissantīti.  itthannāmo ca itthannāmo ca sāmi yodhā bhikkhūsu pabbajitā ’ti.  senānāyakā mahāmattā ujjhāyanti khīyanti vipācenti: kathaṃ hi nāma samaṇā Sakyaputtiyā rājabhaṭaṃ pabbājessantīti.  senānāyakā mahāmattā rañño Māgadhassa Seniyassa Bimbisārassa etam atthaṃ ārocesuṃ.  atha kho rājā Māgadho Seniyo Bimbisāro vohārike mahāmatte pucchi: yo bhaṇe rājabhaṭaṃ pabbājeti, kiṃ so pasavatīti.  upajjhāyassa deva sīsaṃ chedetabbaṃ, anussāvakassa jivhā uddharitabbā, gaṇassa upaḍḍhaphāsukā bhañjitabbā ’ti. |3| 
the Bhikkhus conferred on them: the pabbaggâ and upasanipadâ ordinations.  The officers at the head of the army asked the royal soldiers: 'Why, how is it that the warriors N. N. and N. N. are nowhere to be seen?'  'The warriors N. N. and N. N., Lords, have embraced religious life among the Bhikkhus.'  Then the officers at the head of the army were annoyed, murmured, and became angry: 'How can the Sakyaputtiya Samanas ordain persons in the royal service?'  The officers who were at the head of the army told the thing to the Magadha king Seniya Bimbisâra.  And the Magadha king Seniya Bimbisâra asked the officers of justice: 'Tell me, my good Sirs, what punishment does he deserve who ordains a person in the royal service?' 
พวกมหาอำมาตย์ผู้เป็นแม่ทัพนายกองถามพวกราชภัฏว่า แน่ะพนาย ทหารผู้มีชื่อนี้และมีชื่อนี้ หายไปไหน?  พวกราชภัฏเรียนว่า นาย ทหารผู้มีชื่อนี้และมีชื่อนี้ บวชในสำนักภิกษุแล้ว ขอรับนาย.  พวกมหาอำมาตย์ผู้เป็นแม่ทัพนายกอง จึงเพ่งโทษ ติเตียน โพนทะนาว่า ไฉนเหล่าพระสมณะเชื้อสายพระศากยบุตรจึงได้ให้ราชภัฏบวชเล่า  แล้วกราบบังคมทูลความเรื่องนั้นแด่พระเจ้าพิมพิสารจอมเสนามาคธราช.  จึงท้าวเธอได้ตรัสถามมหาอำมาตย์ผู้พิพากษาว่า ดูกรพนาย ภิกษุรูปใดให้ราชภัฏบวช ภิกษุรูปนั้นจะต้องโทษสถานไร?  คณะมหาอำมาตย์ผู้พิพากษากราบทูลว่า ขอเดชะ พระบารมีปกเกล้าปกกระหม่อม พระอุปัชฌายะต้องถูกตัดศีรษะ พระอนุสาวนาจารย์ต้องถูกดึงลิ้นออกมา พระคณะปูรกะต้องถูกหักซี่โครงแถบหนึ่ง พระพุทธเจ้าข้า 
เอกมนฺตํ นิสินฺโน โข ชีวโก โกมารภจฺโจ ภควนฺตํ เอตทโวจ “สาธุ ภนฺเต อยฺยา ปญฺจหิ อาพาเธหิ ผุฏฺฐํ น ปพฺพาเชยฺยุ”นฺติ.  อถ โข ภควา ชีวกํ โกมารภจฺจํ ธมฺมิยา กถาย สนฺทสฺเสสิ สมาทเปสิ สมุตฺเตเชสิ สมฺปหํเสสิ.  อถ โข ชีวโก โกมารภจฺโจ ภควตา ธมฺมิยา กถาย สนฺทสฺสิโต สมาทปิโต สมุตฺเตชิโต สมฺปหํสิโต อุฏฺฐายาสนา ภควนฺตํ อภิวาเทตฺวา ปทกฺขิณํ กตฺวา ปกฺกามิ.  อถ โข ภควา เอตสฺมึ นิทาเน เอตสฺมึ ปกรเณ ธมฺมึ กถํ กตฺวา ภิกฺขู อามนฺเตสิ “น ภิกฺขเว ปญฺจหิ อาพาเธหิ ผุฏฺโฐ ปพฺพาเชตพฺโพ.  โย ปพฺพาเชยฺย อาปตฺติ ทุกฺกฏสฺสา”ติ. (ปญฺจาพาธวตฺถุ นิฏฺฐิตํ.)   
atha kho rājā Māgadho Seniyo Bimbisāro yena bhagavā ten’ upasaṃkami, upasaṃkamitvā bhagavantaṃ abhivādetvā ekamantaṃ nisīdi.  ekamantaṃ nisinno kho rājā Māgadho Seniyo Bimbisāro bhagavantaṃ etad avoca: santi bhante rājāno assaddhā appasannā, te appamattakena pi bhikkhū viheṭheyyuṃ. sādhu bhante ayyā rājabhaṭaṃ na pabbājeyyun ti.  atha kho bhagavā rājānaṃ Māgadhaṃ Seniyaṃ Bimbisāraṃ dhammiyā kathāya sandassesi samādapesi samuttejesi sampahaṃsesi.  atha kho rājā Māgadho Seniyo Bimbisāro bhagavatā dhammiyā kathāya sandassito samādapito samuttejito sampahaṃsito uṭṭhāyāsanā bhagavantaṃ abhivādetvā padakkhiṇaṃ katvā pakkāmi.  atha kho bhagavā etasmiṃ nidāne etasmiṃ pakaraṇe dhammiṃ kathaṃ katvā bhikkhū āmantesi: na bhikkhave rājabhaṭo pabbājetabbo.  yo pabbājeyya, āpatti dukkaṭassā ’ti. |4| 
'The upagghâya, Your Majesty, should be beheaded; to him who recites (the kammavâkâ), the tongue should be torn out; to those who form the chapter, half of their ribs should be broken.'  Then the Magadha king Seniya Bimbisâra went to the place where the Blessed One was; having approached him and having respectfully saluted the Blessed One, he sat down near him.  Sitting near him the Magadha king Seniya Bimbisâra said to the Blessed One: 'Lord, there are unbelieving kings who are disinclined (to the faith); these might harass the Bhikkhus even on trifling occasions. Pray, Lord, let their reverences not confer the pabbaggâ ordination on persons in royal service.'  Then the Blessed One taught (&c., see chap. 39. 7, p. 196 down to:),    thus addressed the Bhikkhus: 'Let no one, O Bhikkhus, who is in the royal service, receive the pabbaggâ ordination. 
จึงท้าวเธอเข้าเฝ้าพระผู้มีพระภาค ครั้นถึงแล้วจึงถวายบังคมพระผู้มีพระภาคแล้วประทับนั่ง ณ ที่ควรส่วนข้างหนึ่ง  แล้วได้กราบทูลขอประทานพรต่อพระผู้มีพระภาคว่า มีอยู่ พระพุทธเจ้าข้า พระเจ้าแผ่นดินทั้งหลาย ที่ไม่มีศรัทธา ไม่ทรงเลื่อมใสจะพึงเบียดเบียนภิกษุทั้งหลาย แม้ด้วยกรณีเพียงเล็กน้อย หม่อมฉันขอประทานพระวโรกาส พระพุทธเจ้าข้า ขอพระผู้เป็นเจ้าทั้งหลายไม่พึงให้ราชภัฏบวช.  ลำดับนั้น พระผู้มีพระภาคทรงชี้แจงให้พระเจ้าพิมพิสารจอมเสนามาคธราชทรงเห็นแจ้ง ทรงสมาทาน ทรงอาจหาญ ทรงร่าเริงด้วยธรรมีกถา.  ครั้นท้าวเธออันพระผู้มีพระภาคทรงชี้แจง ให้ทรงเห็นแจ้ง ทรงสมาทาน ทรงอาจหาญ ทรงร่าเริงด้วยธรรมีกถาแล้ว เสด็จลุกจากพระที่นั่ง ถวายบังคมพระผู้มีพระภาค ทรงทำประทักษิณแล้วเสด็จกลับ.  (ทรงห้ามบวชราชภัฏ) ลำดับนั้น พระผู้มีพระภาคทรงทำธรรมีกถาในเพราะเหตุเป็นเค้ามูลนั้น ในเพราะเหตุแรกเกิดนั้น แล้วรับสั่งกะภิกษุทั้งหลายว่า ดูกรภิกษุทั้งหลาย ราชภัฏ ภิกษุไม่พึงให้บวช  รูปใดให้บวช ต้องอาบัติทุกกฏ. 
  (๒๗. ราชภฏวตฺถุ) ๙๐. เตน โข ปน สมเยน รญฺโญ มาคธสฺส เสนิยสฺส พิมฺพิสารสฺส ปจฺจนฺโต กุปิโต โหติ.  อถ โข ราชา มาคโธ เสนิโย พิมฺพิสาโร เสนานายเก มหามตฺเต อาณาเปสิ “คจฺฉถ ภเณ ปจฺจนฺตํ อุจฺจินถา”ติ.  “เอวํ เทวา”ติ โข เสนานายกา มหามตฺตา รญฺโญ มาคธสฺส เสนิยสฺส พิมฺพิสารสฺส ปจฺจสฺโสสุํ.  อถ โข อภิญฺญาตานํ อภิญฺญาตานํ โยธานํ เอตทโหสิ “มยํ โข ยุทฺธาภินนฺทิโน คจฺฉนฺตา ปาปญฺจ กโรม พหุญฺจ อปุญฺญํ ปสวาม.  เกน นุ โข มยํ อุปาเยน ปาปา จ วิรเมยฺยาม กลฺยาณญฺจ กเรยฺยามา”ติ? 
||40|| 
He who confers the pabbaggâ ordination (on such a person), is guilty of a dukkata offence: 
อถ โข เตสํ โยธานํ เอตทโหสิ “อิเม โข สมณา สกฺยปุตฺติยา ธมฺมจาริโน สมจาริโน พฺรหฺมจาริโน สจฺจวาทิโน สีลวนฺโต กลฺยาณธมฺมา. 
tena kho pana samayena coro aṅgulimālo bhikkhūsu pabbajito hoti.  manussā passitvā ubbijjanti pi uttasanti pi palāyanti pi aññena pi gacchanti aññena pi mukhaṃ karonti dvāram pi thakenti.  manussā ujjhāyanti khīyanti vipācenti:  kathaṃ hi nāma samaṇā Sakyaputtiyā dhajabaddhaṃ coraṃ pabbājessantīti.  assosuṃ kho bhikkhū tesaṃ manussānaṃ ujjhāyantānaṃ khīyantānaṃ vipācentānaṃ.  atha kho te bhikkhū bhagavato etam atthaṃ ārocesuṃ.  bhagavā bhikkhū āmantesi: na bhikkhave dhajabaddho coro pabbājetabbo.  yo pabbājeyya, āpatti dukkaṭassā ’ti. |1| 
At that time the robber Angulimâla had embraced religious life among the Bhikkhus.  When the people saw that, they became alarmed and terrified; they fled away, went elsewhere, turned away their heads, and shut their doors.  The people were annoyed, murmured, and became angry:  'How can the Sakyaputtiya Samanas ordain a robber who openly wears the emblems (of his deeds)?'  Some Bhikkhus heard those people that were annoyed, murmured, and had become angry;  these Bhikkhus told the thing to the Blessed One.  The Blessed One thus addressed the Bhikkhus: 'Let no robber, O Bhikkhus, who wears the emblems (of his deeds), receive the pabbaggâ ordination. 
ห้ามบวชโจรที่ขึ้นชื่อโด่งดัง [๑๐๓] ก็โดยสมัยนั้นแล โจรองคุลิมาลบวชในสำนักภิกษุ.  ชาวบ้านเห็นแล้วพากันหวาดเสียวบ้าง ตกใจบ้าง หนีไปบ้าง ไปโดยทางอื่นบ้าง เมินหน้าไปทางอื่นบ้าง ปิดประตูเสียบ้าง.  ประชาชนจึงเพ่งโทษ ติเตียน โพนทะนาว่า  ไฉนพระสมณะเชื้อสายพระศากยบุตรจึงให้โจรที่ขึ้นชื่อโด่งดังบวชเล่า.  ภิกษุทั้งหลายได้ยินพวกนั้น เพ่งโทษ ติเตียน โพนทะนาอยู่  จึงกราบทูลเรื่องนั้นแด่พระผู้มีพระภาค.  พระผู้มีพระภาครับสั่งกะภิกษุทั้งหลายว่า ดูกรภิกษุทั้งหลาย โจรที่ขึ้นชื่อโด่งดัง ภิกษุไม่พึงให้บวช  รูปใดให้บวช ต้องอาบัติทุกกฏ. 
สเจ โข มยํ สมเณสุ สกฺยปุตฺติเยสุ ปพฺพเชยฺยาม เอวํ มยํ ปาปา จ วิรเมยฺยาม กลฺยาณญฺจ กเรยฺยามา”ติ.  อถ โข เต โยธา ภิกฺขู อุปสงฺกมิตฺวา ปพฺพชฺชํ ยาจึสุ.  เต ภิกฺขู ปพฺพาเชสุํ อุปสมฺปาเทสุํ.  เสนานายกา มหามตฺตา ราชภเฏ ปุจฺฉึสุ “กึ นุ โข ภเณ อิตฺถนฺนาโม จ อิตฺถนฺนาโม จ โยธา น ทิสฺสนฺตี”ติ?  “อิตฺถนฺนาโม จ อิตฺถนฺนาโม จ สามิ โยธา ภิกฺขูสุ ปพฺพชิตา”ติ.  เสนานายกา มหามตฺตา อุชฺฌายนฺติ ขิยฺยนฺติ วิปาเจนฺติ “กถญฺหิ นาม สมณา สกฺยปุตฺติยา ราชภฏํ ปพฺพาเชสฺสนฺตี”ติ.  เสนานายกา มหามตฺตา รญฺโญ มาคธสฺส เสนิยสฺส พิมฺพิสารสฺส เอตมตฺถํ อาโรเจสุํ.  อถ โข ราชา มาคโธ เสนิโย พิมฺพิสาโร โวหาริเก มหามตฺเต ปุจฺฉิ “โย ภเณ ราชภฏํ ปพฺพาเชติ กึ โส ปสวตี”ติ? 
||41|| 
He who confers the pabbaggâ ordination (on such a person), is guilty of a dukkata offence.' 
“อุปชฺฌายสฺส เทว สีสํ เฉตพฺพํ อนุสฺสาวกสฺส ชิวฺหา อุทฺธริตพฺพา คณสฺส อุปฑฺฒผาสุกา ภญฺชิตพฺพา”ติ. 
tena kho pana samayena raññā Māgadhena Seniyena (75) Bimbisārena anuññātaṃ hoti: ye samaṇesu Sakyaputtiyesu pabbajanti, na te labbhā kiñci kātuṃ, svākkhāto dhammo, carantu brahmacariyaṃ sammā dukkhassa antakiriyāyā ’ti.  tena kho pana samayena aññataro puriso corikaṃ katvā kārāya baddho hoti, so kāraṃ bhinditvā palāyitvā bhikkhūsu pabbajito hoti. |1| 
At that time the Magadha king Seniya Bimbisâra had issued the following decree: 'No one is to do any harm to those who are ordained among the Sakyaputtiya Samanas; well taught is their doctrine; let them lead a holy life for the sake of the complete extinction of suffering.' 
อภยูวรภาณวาร (ห้ามบวชโจรหนีเรือนจำ) [๑๐๔] ก็โดยสมัยนั้นแล พระเจ้าพิมพิสารจอมเสนามาคธราช ได้ทรงมีพระบรมราชานุญาตไว้ว่า กุลบุตรเหล่าใดบวชในสำนักพระสมณะเชื้อสายพระศากยบุตร กุลบุตรเหล่านั้น ใครๆ จะทำอะไรไม่ได้ เพราะธรรมอันพระผู้มีพระภาคตรัสไว้ดีแล้ว จงประพฤติพรหมจรรย์เพื่อทำที่สุดทุกข์โดยชอบเถิด.  สมัยต่อมา บุรุษคนหนึ่งทำโจรกรรมแล้ว ถูกเจ้าหน้าที่จองจำไว้ในเรือนจำ. เขาหนีเรือนจำหลบไปบวชในสำนักภิกษุ. 
อถ โข ราชา มาคโธ เสนิโย พิมฺพิสาโร เยน ภควา เตนุปสงฺกมิ อุปสงฺกมิตฺวา ภควนฺตํ อภิวาเทตฺวา เอกมนฺตํ นิสีทิ.  เอกมนฺตํ นิสินฺโน โข ราชา มาคโธ เสนิโย พิมฺพิสาโร ภควนฺตํ เอตทโวจ “สนฺติ ภนฺเต ราชาโน อสฺสทฺธา อปฺปสนฺนา. เต อปฺปมตฺตเกนปิ ภิกฺขู วิเหเฐยฺยุํ. สาธุ ภนฺเต อยฺยา ราชภฏํ น ปพฺพาเชยฺยุ”นฺติ. 
manussā passitvā evaṃ āhaṃsu: ayaṃ so kārabhedako coro, handa naṃ nemā ’ti.  ekacce evaṃ āhaṃsu: māyyo evaṃ avacuttha, anuññātaṃ raññā Māgadhena Seniyena Bimbisārena:  ye samaṇesu Sakyaputtiyesu pabbajanti, na te labbhā kiñci kātuṃ, svākkhāto dhammo, carantu brahmacariyaṃ sammā dukkhassa antakiriyāyā ’ti.  manussā ujjhāyanti khīyanti vipācenti: abhayūvarā ime samaṇā Sakyaputtiyā, na yime labbhā kiñci kātuṃ.  kathaṃ hi nāma kārabhedakaṃ coraṃ pabbājessantīti.  bhagavato etam atthaṃ ārocesuṃ.  na bhikkhave kārabhedako coro pabhājetabbo.  yo pabbājeyya, āpatti dukkaṭassā ’ti. |2| 
Now at that time a certain person who had committed robbery was imprisoned in the jail. He broke out of the jail, ran away, and received the pabbaggâ ordination with the Bhikkhus.  The people who saw him, said: 'Here is the robber who has broken out of jail; come, let us bring him (before the authorities).'  But some people replied: 'Do not say so, Sirs. A decree has been issued by the Magadha king Seniya Bimbisâra:  'No one is to do any harm to those who are ordained, &c.'  People were annoyed, murmured, and became angry, thinking: 'Indeed these Sakyaputtiya Samanas are secure from anything; it is not allowed to do any harm to them.  How can they ordain a robber who has broken out of jail?'  They told this thing to the Blessed One.  'Let no robber, O Bhikkhus, who has broken out of jail, receive the pabbaggâ ordination. 
คนทั้งหลายเห็นแล้วกล่าวอย่างนี้ว่า ภิกษุรูปนี้คือโจรหนีเรือนจำคนนั้น ถ้ากระไร พวกเราจงจับมัน.  คนบางคนพูดทัดทานอย่างนี้ว่า ท่านทั้งหลายอย่าได้พูดเช่นนี้ เพราะพระเจ้าพิมพิสารจอมเสนามาคธราช ได้มีพระบรมราชานุญาตไว้ว่า  กุลบุตรเหล่าใดบวชในสำนักพระสมณะเชื้อสายพระศากยบุตร กุลบุตรเหล่านั้น ใครๆ จะทำอะไรไม่ได้ เพราะธรรมอันพระผู้มีพระภาคตรัสไว้ดีแล้ว จงประพฤติพรหมจรรย์ เพื่อทำที่สุดทุกข์โดยชอบเถิด.  ประชาชนจึงเพ่งโทษ ติเตียน โพนทะนาว่า พระสมณะเชื้อสายพระศากยบุตรเหล่านี้มิใช่ผู้หลบหลีกภัย ใครๆ จะทำอะไรไม่ได้  แต่ไฉนจึงให้โจรผู้หนีเรือนจำบวชเล่า.  ภิกษุทั้งหลายกราบทูลเรื่องนั้นแด่พระผู้มีพระภาค.  พระผู้มีพระภาครับสั่งกะภิกษุทั้งหลายว่า ดูกรภิกษุทั้งหลาย โจรผู้หนีเรือนจำ ภิกษุไม่พึงให้บวช  รูปใดให้บวช ต้องอาบัติทุกกฏ. 
อถ โข ภควา ราชานํ มาคธํ เสนิยํ พิมฺพิสารํ ธมฺมิยา กถาย สนฺทสฺเสสิ สมาทเปสิ สมุตฺเตเชสิ สมฺปหํเสสิ.  อถ โข ราชา มาคโธ เสนิโย พิมฺพิสาโร ภควตา ธมฺมิยา กถาย สนฺทสฺสิโต สมาทปิโต สมุตฺเตชิโต สมฺปหํสิโต อุฏฺฐายาสนา ภควนฺตํ อภิวาเทตฺวา ปทกฺขิณํ กตฺวา ปกฺกามิ.  อถ โข ภควา เอตสฺมึ นิทาเน เอตสฺมึ ปกรเณ ธมฺมึ กถํ กตฺวา ภิกฺขู อามนฺเตสิ “น ภิกฺขเว ราชภโฏ ปพฺพาเชตพฺโพ.  โย ปพฺพาเชยฺย อาปตฺติ ทุกฺกฏสฺสา”ติ. (ราชภฏวตฺถุ นิฏฺฐิตํ.)      (๒๘. องฺคุลิมาลโจรวตฺถุ) ๙๑. เตน โข ปน สมเยน โจโร องฺคุลิมาโล ภิกฺขูสุ ปพฺพชิโต โหติ.  มนุสฺสา ปสฺสิตฺวา อุพฺพิชฺชนฺติปิ อุตฺตสนฺติปิ ปลายนฺติปิ อญฺเญนปิ คจฺฉนฺติ อญฺเญนปิ มุขํ กโรนฺติ ทฺวารมฺปิ ถเกนฺติ. 
||42|| 
He who confers the pabbaggâ ordination (on such a person), is guilty of a dukkata offence.' 
มนุสฺสา อุชฺฌายนฺติ ขิยฺยนฺติ วิปาเจนฺติ 
tena kho pana samayena aññataro puriso corikaṃ katvā palāyitvā bhikkhūsu pabbajito hoti.  so ca rañño antepure likhito hoti yattha passitabbo tattha hantabbo ’ti.  manussā passitvā evaṃ āhaṃsu: ayaṃ so likhitako coro, handa naṃ hanāmā ’ti.  ekacce evaṃ āhaṃsu: māyyo evaṃ avacuttha, anuññātaṃ . . . antakiriyāyā ’ti.  manussā ujjhāyanti khīyanti vipācenti:  abhayūvarā ime samaṇā Sakyaputtiyā, na yime labbhā kiñci kātuṃ.  kathaṃ hi nāma likhitakaṃ coraṃ pabbājessantīti.  bhagavato etam atthaṃ ārocesuṃ.  na bhikkhave likhitako coro pabbājetabbo.  yo pabbājeyya, āpatti dukkaṭassā ’ti. |1| 
At that time a certain person who had committed robbery had run away and had become ordained with the Bhikkhus.  At the royal palace a proclamation was written: 'Wherever he is seen, he is to be killed.'  The people who saw him, said: 'Here is the proclaimed robber; come, let us kill him' (&c., as in chap. 42).            'Let no proclaimed robber, O Bhikkhus, receive the pabbaggâ ordination. 
ห้ามบวชโจรผู้ถูกออกหมายสั่งจับ [๑๐๕] ก็โดยสมัยนั้นแล บุรุษคนหนึ่งทำโจรกรรม แล้วหนีไปบวชในสำนักภิกษุ  และบุรุษนั้นถูกเจ้าหน้าที่ออกหมายประกาศไว้ทั่วราชอาณาจักรว่า พบในที่ใด พึงฆ่าเสียในที่นั้น.  คนทั้งหลายเห็นแล้ว กล่าวอย่างนี้ว่า ภิกษุรูปนี้ คือโจรผู้ถูกออกหมายจับคนนั้น ถ้ากระไร พวกเราจงฆ่ามันเสีย.  คนบางพวกพูดทัดทานอย่างนี้ว่า ท่านทั้งหลายอย่าได้พูดเช่นนี้ เพราะพระเจ้าพิมพิสารจอมเสนามาคธราชได้มีพระบรมราชานุญาตไว้ว่า กุลบุตรเหล่าใดบวชในสำนักพระสมณะเชื้อสายพระศากยบุตร กุลบุตรเหล่านั้น ใครๆ จะทำอะไรไม่ได้ เพราะธรรมอันพระผู้มีพระภาคตรัสไว้ดีแล้ว จงประพฤติพรหมจรรย์เพื่อทำที่สุดทุกข์โดยชอบเถิด.  ประชาชนจึงเพ่งโทษ ติเตียน โพนทะนาว่า  พระสมณะเชื้อสายพระศากยบุตรเหล่านี้มิใช่ผู้หลบหลีกภัย ใครๆ จะทำอะไรไม่ได้  แต่ไฉนจึงให้โจรผู้ถูกออกหมายสั่งจับบวชเล่า.  ภิกษุทั้งหลายจึงกราบทูลเรื่องนั้นแด่พระผู้มีพระภาค.  พระผู้มีพระภาครับสั่งกะภิกษุทั้งหลายว่า ดูกรภิกษุทั้งหลาย โจรผู้ถูกออกหมายสั่งจับ ภิกษุไม่พึงให้บวช  รูปใดให้บวช ต้องอาบัติทุกกฏ 
“กถญฺหิ นาม สมณา สกฺยปุตฺติยา ธชพนฺธํ โจรํ ปพฺพาเชสฺสนฺตี”ติ.  อสฺโสสุํ โข ภิกฺขู เตสํ มนุสฺสานํ อุชฺฌายนฺตานํ ขิยฺยนฺตานํ วิปาเจนฺตานํ.  อถ โข เต ภิกฺขู ภควโต เอตมตฺถํ อาโรเจสุํฯเปฯ  น ภิกฺขเว ธชพนฺโธ โจโร ปพฺพาเชตพฺโพ.  โย ปพฺพาเชยฺย อาปตฺติ ทุกฺกฏสฺสาติ. (องฺคุลิมาลโจรวตฺถุ นิฏฺฐิตํ.)      (๒๙. การเภทกโจรวตฺถุ) ๙๒. เตน โข ปน สมเยน รญฺญา มาคเธน เสนิเยน พิมฺพิสาเรน อนุญฺญาตํ โหติ “เย สมเณสุ สกฺยปุตฺติเยสุ ปพฺพชนฺติ น เต ลพฺภา กิญฺจิ กาตุํ สฺวากฺขาโต ธมฺโม จรนฺตุ พฺรหฺมจริยํ สมฺมา ทุกฺขสฺส อนฺตกิริยายา”ติ.  เตน โข ปน สมเยน อญฺญตโร ปุริโส โจริกํ กตฺวา การาย พทฺโธ โหติ. โส การํ ภินฺทิตฺวา ปลายิตฺวา ภิกฺขูสุ ปพฺพชิโต โหติ.  มนุสฺสา ปสฺสิตฺวา เอวมาหํสุ “อยํ โส การเภทโก โจโร. หนฺท นํ เนมา”ติ. 
||43|| 
He who confers the pabbaggâ ordination (on such a robber), is guilty of a dukkata offence.' 
เอกจฺเจ เอวมาหํสุ “มายฺโย เอวํ อวจุตฺถ. อนุญฺญาตํ รญฺญา มาคเธน เสนิเยน พิมฺพิสาเรน 
tena kho pana samayena aññataro puriso kasāhato katadaṇḍakammo bhikkhūsu pabbajito hoti.  manussā ujjhāyanti khīyanti vipācenti: kathaṃ hi nāma samaṇā Sakyaputtiyā kasāhataṃ katadaṇḍakammaṃ pabbājessantīti.  bhagavato etam atthaṃ ārocesuṃ.  na bhikkhave kasāhato katadaṇḍakammo pabbājetabbo.  yo pabbājeyya, āpatti dukkaṭassā ’ti. |1| 
At that time a certain person who had been punished by scourging had been ordained with the Bhikkhus.  People were annoyed, &c.: 'How can these Sakyaputtiya Samanas ordain a person that has been punished by scourging?'  They told this thing to the Blessed One.  'Let no one, O Bhikkhus, who has been punished by scourging, receive the pabbaggâ ordination. 
ห้ามบวชบุรุษผู้ถูกเฆี่ยนด้วยหวาย [๑๐๖] ก็โดยสมัยนั้นแล บุรุษคนหนึ่งถูกลงอาญาเฆี่ยนด้วยหวาย บวชในสำนักภิกษุ  ประชาชนจึงเพ่งโทษ ติเตียน โพนทะนาว่า ไฉนพระสมณะเชื้อสายพระศากยบุตร จึงให้บุรุษผู้ถูกลงอาญาเฆี่ยนด้วยหวายบวชเล่า.  ภิกษุทั้งหลายกราบทูลเรื่องนั้นแด่พระผู้มีพระภาค.  พระผู้มีพระภาครับสั่งกะภิกษุทั้งหลายว่า ดูกรภิกษุทั้งหลาย บุรุษผู้ถูกลงอาญาเฆี่ยนด้วยหวาย ภิกษุไม่พึงให้บวช  รูปใดให้บวช ต้องอาบัติทุกกฏ. 
“เย สมเณสุ สกฺยปุตฺติเยสุ ปพฺพชนฺติ น เต ลพฺภา กิญฺจิ กาตุํ สฺวากฺขาโต ธมฺโม จรนฺตุ พฺรหฺมจริยํ สมฺมา ทุกฺขสฺส อนฺตกิริยายา”ติ.  มนุสฺสา อุชฺฌายนฺติ ขิยฺยนฺติ วิปาเจนฺติ “อภยูวรา อิเม สมณา สกฺยปุตฺติยา นยิเม ลพฺภา กิญฺจิ กาตุํ.  กถญฺหิ นาม สมณา สกฺยปุตฺติยา การเภทกํ โจรํ ปพฺพาเชสฺสนฺตี”ติ.  ภควโต เอตมตฺถํ อาโรเจสุํ.  น ภิกฺขเว การเภทโก โจโร ปพฺพาเชตพฺโพ. 
||44|| 
He who confers the pabbaggâ ordination (on such a person), is guilty of dukkata offence.' 
โย ปพฺพาเชยฺย อาปตฺติ ทุกฺกฏสฺสาติ. (การเภทกโจรวตฺถุ นิฏฺฐิตํ.) 
(76) tena kho pana samayena aññataro puriso lakkhaṇāhato katadaṇḍakammo bhikkhūsu pabbajito hoti.  manussā ujjhāyanti khīyanti vipācenti:  kathaṃ hi nāma samaṇā Sakyaputtiyā lakkhaṇāhataṃ katadaṇḍakammaṃ pabbājessantīti.  bhagavato etam atthaṃ ārocesuṃ.  na bhikkhave lakkhaṇāhato katadaṇḍakammo pabbājetabbo.  yo pabbājeyya, āpatti dukkaṭassā ’ti. |1| 
At that time a certain person who had been punished by branding (&c., as in chap. 44, down to the end).         
ห้ามบวชบุรุษผู้ถูกสักหมายโทษ [๑๐๗] ก็โดยสมัยนั้นแล บุรุษคนหนึ่งถูกลงอาญาสักหมายโทษ บวชในสำนักภิกษุ  ประชาชนจึงเพ่งโทษ ติเตียน โพนทะนาว่า  ไฉนสมณะเชื้อสายพระศากยบุตร จึงให้บุรุษผู้ถูกลงอาญาสักหมายโทษบวชเล่า.  ภิกษุทั้งหลายกราบทูลเรื่องนั้นแด่พระผู้มีพระภาค.  พระผู้มีพระภาครับสั่งกะภิกษุทั้งหลายว่า ดูกรภิกษุทั้งหลาย บุรุษผู้ถูกลงอาญาสักหมายโทษ ภิกษุไม่พึงให้บวช  รูปใดให้บวช ต้องอาบัติทุกกฏ. 
    (๓๐. ลิขิตกโจรวตฺถุ) ๙๓. เตน โข ปน สมเยน อญฺญตโร ปุริโส โจริกํ กตฺวา ปลายิตฺวา ภิกฺขูสุ ปพฺพชิโต โหติ.  โส จ รญฺโญ อนฺเตปุเร ลิขิโต โหติ ยตฺถ ปสฺสติ ตตฺถ หนฺตพฺโพติ.  มนุสฺสา ปสฺสิตฺวา เอวมาหํสุ “อยํ โส ลิขิตโก โจโร. หนฺท นํ หนามา”ติ.  เอกจฺเจ เอวมาหํสุ “มายฺโย เอวํ อวจุตฺถ. อนุญฺญาตํ รญฺญา มาคเธน เสนิเยน พิมฺพิสาเรน “เย สมเณสุ สกฺยปุตฺติเยสุ ปพฺพชนฺติ น เต ลพฺภา กิญฺจิ กาตุํ สฺวากฺขาโต ธมฺโม จรนฺตุ พฺรหฺมจริยํ สมฺมา ทุกฺขสฺส อนฺตกิริยายา”ติ. 
||45|| 
 
มนุสฺสา อุชฺฌายนฺติ ขิยฺยนฺติ วิปาเจนฺติ 
tena kho pana samayena aññataro puriso iṇāyiko palāyitvā bhikkhūsu pabbajito hoti.  dhaniyā passitvā evaṃ āhaṃsu: ayaṃ so amhākaṃ iṇāyiko, handa naṃ nemā ’ti.  ekacce evaṃ āhaṃsu: māyyo evaṃ avacuttha, anuññātaṃ raññā Māgadhena Seniyena Bimbisārena: ye samaṇesu Sakyaputtiyesu pabbajanti, na te labbhā kiñci kātuṃ, svākkhāto dhammo, carantu brahmacariyaṃ sammā dukkhassa antakiriyāyā ’ti.  manussā ujjhāyanti khīyanti vipācenti: abhayūvarā ime samaṇā Sakyaputtiyā, na yime labbhā kiñci kātuṃ.  kathaṃ hi {nāma} iṇāyikaṃ pabbājessantīti.  bhagavato etam atthaṃ ārocesuṃ. na bhikkhave iṇāyiko pabbājetabbo.  yo pabbājeyya, apatti dukkaṭassā ’ti. |1| 
At that time a certain person who was in debt, ran away and was ordained with the Bhikkhus.  When his creditors saw him, they said: 'There is our debtor; come, let us lead him (to prison).  'But some people replied: 'Do not say so, Sirs. A decree has been issued by the Magadha king Seniya Bimbisâra: 'No one is to do any harm to those who are ordained with the Sakyaputtiya Samanas; well taught is their doctrine; let them lead a holy life for the sake of the complete extinction of suffering.'  People were annoyed, murmured, and became angry: 'Indeed these Sakyaputtiya Samanas are secure from anything; it is not allowed to do anything to them.  How can they ordain a debtor?'  They told this thing to the Blessed One. 
ห้ามบวชคนมีหนี้ [๑๐๘] ก็โดยสมัยนั้นแล ลูกหนี้คนหนึ่งหนีบวชในสำนักภิกษุ.  พวกเจ้าทรัพย์พบแล้ว กล่าวอย่างนี้ว่า ภิกษุรูปนี้คือลูกหนี้ของพวกเราคนนั้น ถ้ากระไร พวกเราจงจับมัน.  เจ้าทรัพย์บางพวกพูดทัดทานอย่างนี้ว่า ท่านทั้งหลายอย่าได้พูดเช่นนี้ เพราะพระเจ้าพิมพิสารจอมเสนามาคธราช ได้มีพระบรมราชานุญาตไว้ว่า กุลบุตรเหล่าใดบวชในสำนักพระสมณะเชื้อสายพระศากยบุตร กุลบุตรเหล่านั้น ใครๆ จะทำอะไรไม่ได้ เพราะธรรมอันพระผู้มีพระภาคตรัสไว้ดีแล้ว จงประพฤติพรหมจรรย์เพื่อทำที่สุดทุกข์โดยชอบเถิด.  ประชาชนจึงเพ่งโทษ ติเตียน โพนทะนาว่า พระสมณะเชื้อสายพระศากยบุตรเหล่านี้มิใช่ผู้หลบหลีกภัย ใครๆ จะทำอะไรไม่ได้  แต่ไฉนจึงให้คนมีหนี้บวชเล่า.  ภิกษุทั้งหลายกราบทูลความเรื่องนั้นแด่พระผู้มีพระภาค.พระผู้มีพระภาครับสั่งกะภิกษุทั้งหลายว่า ดูกรภิกษุทั้งหลาย คนมีหนี้ ภิกษุไม่พึงให้บวช  รูปใดให้บวช ต้องอาบัติทุกกฏ. 
“อภยูวรา อิเม สมณา สกฺยปุตฺติยา นยิเม ลพฺภา กิญฺจิ กาตุํ.  กถญฺหิ นาม สมณา สกฺยปุตฺติยา ลิขิตกํ โจรํ ปพฺพาเชสฺสนฺตี”ติ.  ภควโต เอตมตฺถํ อาโรเจสุํ.  น ภิกฺขเว ลิขิตโก โจโร ปพฺพาเชตพฺโพ.  โย ปพฺพาเชยฺย อาปตฺติ ทุกฺกฏสฺสาติ. (ลิขิตกโจรวตฺถุ นิฏฺฐิตํ.)     
||46|| 
'Let no debtor, O Bhikkhus, receive the pabbaggâ ordination. He who confers the pabbaggâ ordination (on a debtor), is guilty of a dukkata offence.' 
(๓๑. กสาหตวตฺถุ) ๙๔. เตน โข ปน สมเยน อญฺญตโร ปุริโส กสาหโต กตทณฺฑกมฺโม ภิกฺขูสุ ปพฺพชิโต โหติ. 
tena kho pana samayena aññataro dāso palāyitvā bhikkhūsu pabbajito hoti.  ayyikā passitvā evaṃ āhaṃsu: ayaṃ so amhākaṃ dāso, handa naṃ nemā ’ti.  ekacce evaṃ āhaṃsu: māyyo . . . antakiriyāyā ’ti.  manussā ujjhāyanti khīyanti vipācenti: abhayūvarā ime samaṇā Sakyaputtiyā, na yime labbhā kiñci kātuṃ.  kathaṃ hi nāma dāsaṃ pabbājessantīti.  bhagavato etam atthaṃ ārocesuṃ.  na bhikkhave dāso pabbājetabbo.  yo pabbājeyya, āpatti dukkaṭassā ’ti. |1| 
At that time a slave ran away and was ordained with the Bhikkhus.  When his masters saw him, they said: 'There is our slave; come, let us lead him away (back to our house),' (&c., as in chap. 46).          'Let no slave, O Bhikkhus, receive the pabbaggâ ordination. 
ห้ามบวชทาส [๑๐๙] ก็โดยสมัยนั้นแล ทาสคนหนึ่งหนีไปบวชในสำนักภิกษุ.  พวกเจ้านายพบเข้าจึงกล่าวอย่างนี้ว่า ภิกษุรูปนี้คือทาสของพวกเราคนนั้น ถ้ากระไร พวกเราจงจับมัน.  เจ้านายบางพวกพูดทัดทานอย่างนี้ว่า ท่านทั้งหลายอย่าได้พูดเช่นนี้ เพราะพระเจ้าพิมพิสารจอมเสนามาคธราช ได้ทรงมีพระบรมราชานุญาตไว้ว่า กุลบุตรเหล่าใดบวชในสำนักพระสมณะเชื้อสายพระศากยบุตร กุลบุตรเหล่านั้น ใครๆ จะทำอะไรไม่ได้ เพราะธรรมอันพระผู้มีพระภาคตรัสไว้ดีแล้ว จงประพฤติพรหมจรรย์เพื่อทำที่สุดทุกข์โดยชอบเถิด.  ประชาชนจึงเพ่งโทษ ติเตียน โพนทะนาว่า พระสมณะเชื้อสายพระศากยบุตรเหล่านี้ มิใช่ผู้หลบหลีกภัย ใครๆ จะทำอะไรไม่ได้  แต่ไฉนจึงให้ทาสบวชเล่า.  ภิกษุทั้งหลายกราบทูลเรื่องนั้นแด่พระผู้มีพระภาค.  พระผู้มีพระภาครับสั่งกะภิกษุทั้งหลายว่า ดูกรภิกษุทั้งหลาย คนเป็นทาส ภิกษุไม่พึงบวช  รูปใดให้บวช ต้องอาบัติทุกกฏ. 
มนุสฺสา อุชฺฌายนฺติ ขิยฺยนฺติ วิปาเจนฺติ “กถญฺหิ นาม สมณา สกฺยปุตฺติยา กสาหตํ กตทณฺฑกมฺมํ ปพฺพาเชสฺสนฺตี”ติ.  ภควโต เอตมตฺถํ อาโรเจสุํ.  น ภิกฺขเว กสาหโต กตทณฺฑกมฺโม ปพฺพาเชตพฺโพ.  โย ปพฺพาเชยฺย อาปตฺติ ทุกฺกฏสฺสาติ. (กสาหตวตฺถุ นิฏฺฐิตํ.)      (๓๒. ลกฺขณาหตวตฺถุ) ๙๕. เตน โข ปน สมเยน อญฺญตโร ปุริโส ลกฺขณาหโต กตทณฺฑกมฺโม ภิกฺขูสุ ปพฺพชิโต โหติ.  มนุสฺสา อุชฺฌายนฺติ ขิยฺยนฺติ วิปาเจนฺติ 
||47|| 
He who confers the pabbaggâ ordination (on a slave), is guilty of a dukkata offence.' 
“กถญฺหิ นาม สมณา สกฺยปุตฺติยา ลกฺขณาหตํ กตทณฺฑกมฺมํ ปพฺพาเชสฺสนฺตี”ติ. 
tena kho pana samayena aññataro kammārabhaṇḍu mātāpitūhi saddhiṃ bhaṇḍitvā ārāmaṃ gantvā bhikkhūsu pabbajito hoti.  atha kho tassa kammārabhaṇḍussa mātāpitaro taṃ kammārabhaṇḍuṃ vicinantā ārāmam gantvā bhikkhū pucchiṃsu: api bhante evarūpaṃ dārakaṃ passeyyāthā ’ti.  bhikkhū ajānaṃ yeva āhaṃsu: na jānāmā ’ti, apassaṃ yeva āhaṃsu na passāmā ’ti. |1| 
At that time a certain smith who was bald-headed, having had a quarrel with his father and mother, had gone to the Ârâma and received pabbaggâ with the Bhikkhus.  Now the father and mother of that bald-headed smith, searching after that bald-headed smith, came to the Ârâma and asked the Bhikkhus: 'Pray, reverend Sirs, have you seen such and such a boy?' 
ทรงอนุญาตการปลงผม [๑๑๐] ก็โดยสมัยนั้นแล บุตรช่างทองศีรษะโล้นคนหนึ่ง ทะเลาะกับมารดาบิดา แล้วไปอารามบวชในสำนักภิกษุ.  ครั้งนั้น มารดาบิดาของเขาสืบหาเขาอยู่ ได้ไปอารามถามภิกษุทั้งหลายว่า ท่านเจ้าข้า ท่านทั้งหลายเห็นเด็กชายมีรูปร่างเช่นนี้บ้างไหม.  บรรดาภิกษุพวกที่ไม่รู้เลยตอบว่า พวกอาตมาไม่รู้ พวกที่ไม่เห็นเลยตอบว่า พวกอาตมาไม่เห็น 
ภควโต เอตมตฺถํ อาโรเจสุํ.  น ภิกฺขเว ลกฺขณาหโต กตทณฺฑกมฺโม ปพฺพาเชตพฺโพ.  โย ปพฺพาเชยฺย อาปตฺติ ทุกฺกฏสฺสาติ. (ลกฺขณาหตวตฺถุ นิฏฺฐิตํ.) 
atha kho tassa kammārabhaṇḍussa mātāpitaro taṃ kammārabhaṇḍuṃ vi-(77)cinantā bhikkhūsu pabbajitaṃ disvā ujjhāyanti khīyanti vipācenti: alajjino ime samaṇā Sakyaputtiyā dussīlā musāvādino, jānaṃ yeva āhaṃsu: na jānāmā ’ti, passaṃ yeva āhaṃsu: na passāmā ’ti, ayaṃ dārako bhikkhūsu pabbajito ’ti.  assosuṃ kho bhikkhū tassa kammārabhaṇḍussa mātāpitunnaṃ ujjhāyantānaṃ khīyantānaṃ vipācentānaṃ.  atha kho te bhikkhū bhagavato etam atthaṃ ārocesuṃ.  anujānāmi bhikkhave saṃghaṃ apaloketuṃ bhaṇḍukammāyā ’ti. |2| 
The Bhikkhus, who did not know him, said: 'We do not know him;' having not seen him, they said: 'We have not seen him.'  Now the father and mother of that bald-headed smith, searching after that bald-headed smith, found him ordained with the Bhikkhus; they were annoyed, &c.: 'These Sakyaputtiya Samanas are shameless, wicked, and liars. They knew him and said: "We do not know him;" they had seen him and said: "We have not seen him." This boy has been ordained with the Bhikkhus.'  Now some Bhikkhus heard the father and mother of that bald-headed smith, who were annoyed, &c.  Those Bhikkhus told the thing to the Blessed One. 
ครั้นมารดาบิดาของเขาสืบหาอยู่ ได้เห็นเขาบวชแล้วในสำนักภิกษุ จึงเพ่งโทษ ติเตียน โพนทะนาว่า พระสมณะเชื้อสายพระศากยบุตรเหล่านี้ ช่างไม่ละอาย เป็นคนทุศีล พูดเท็จ รู้อยู่แท้ๆ บอกว่าไม่รู้ เห็นอยู่ชัดๆ บอกว่าไม่เห็น เด็กคนนี้บวชแล้วในสำนักภิกษุ.  ภิกษุทั้งหลายได้ยินมารดาบิดาของบุตรช่างทองศีรษะโล้นนั้น เพ่งโทษ ติเตียน โพนทะนาอยู่  จึงกราบทูลเรื่องนั้นแด่พระผู้มีพระภาค.  พระผู้มีพระภาครับสั่งกะภิกษุทั้งหลายว่า ดูกรภิกษุทั้งหลาย เราอนุญาตให้อปโลกน์ต่อสงฆ์ เมื่อการปลงผมพวกเด็กชายสัตตรสวัคคีย์บวช 
    (๓๓. อิณายิกวตฺถุ) ๙๖. เตน โข ปน สมเยน อญฺญตโร ปุริโส อิณายิโก ปลายิตฺวา ภิกฺขูสุ ปพฺพชิโต โหติ.  ธนิยา ปสฺสิตฺวา เอวมาหํสุ “อยํ โส อมฺหากํ อิณายิโก. หนฺท นํ เนมา”ติ. 
||48|| 
'I prescribe, O Bhikkhus, that the Samgha's permission is asked for having (the new coming Bhikkhus) shaved.' 
เอกจฺเจ เอวมาหํสุ “มายฺโย เอวํ อวจุตฺถ. อนุญฺญาตํ รญฺญา มาคเธน เสนิเยน พิมฺพิสาเรน “เย สมเณสุ สกฺยปุตฺติเยสุ ปพฺพชนฺติ น เต ลพฺภา กิญฺจิ กาตุํ สฺวากฺขาโต ธมฺโม จรนฺตุ พฺรหฺมจริยํ สมฺมา ทุกฺขสฺส อนฺตกิริยายา”ติ. 
tena kho pana samayena Rājagahe sattarasavaggiyā dārakā sahāyakā honti, Upāli dārako tesaṃ pāmokkho hoti.  atha kho Upālissa mātāpitunnaṃ etad ahosi: kena nu kho upāyena Upāli amhākaṃ accayena sukhañ ca jīveyya na ca kilameyyā ’ti.  atha kho Upālissa mātāpitunnaṃ etad ahosi: sace kho Upāli lekhaṃ sikkheyya, evaṃ kho Upāli amhākaṃ accayena sukhañ ca jīveyya na ca kilameyyā ’ti.  atha kho Upālissa mātāpitunnaṃ etad ahosi: sace kho Upāli lekhaṃ sikkhissati, aṅguliyo dukkhā bhavissanti.  sace kho Upāli gaṇanaṃ sikkheyya, evaṃ kho Upāli amhākaṃ accayena sukhañ ca jīveyya na ca kilameyyā ’ti. |1| 
At that time there was in Râgagaha a company of seventeen boys, friends of each other; young Upâli was first among them.  Now Upâli's father and mother thought: 'How will Upâli after our death live a life of ease and without pain?'  Then Upâli's father and mother said to themselves: 'If Upâli could learn writing, he would after our death live a life of ease and without pain.'  But then Upâli's father and mother thought again: 'If Upâli learns writing, his fingers will become sore. 
[๑๑๑] ก็สมัยนั้นแล ในพระนครราชคฤห์มีเด็กชายพวกหนึ่ง ๑๗ คน เป็นเพื่อนกัน เด็กชายอุบาลีเป็นหัวหน้าของเด็กพวกนั้น.  ครั้งนั้น มารดาบิดาของเด็กชายอุบาลีได้หารือกันว่า ด้วยวิธีอะไรหนอ เมื่อเราทั้งสองล่วงลับไปแล้ว เจ้าอุบาลีจะอยู่เป็นสุข และจะไม่ต้องลำบาก.  ครั้นแล้วหารือกันต่อไปว่า ถ้าเจ้าอุบาลีจะพึงเรียนหนังสือ ด้วยวิธีอย่างนี้แหละ เมื่อเราทั้งสองล่วงลับไปแล้ว เจ้าอุบาลี จะพึงอยู่เป็นสุข และจะไม่ต้องลำบาก  แล้วหารือกันต่อไปอีกว่า ถ้าเจ้าอุบาลีจักเรียนหนังสือ นิ้วมือก็จักระบม  ถ้าเจ้าอุบาลีเรียนวิชาคำนวณ ด้วยอุบายอย่างนี้แหละเมื่อเราทั้งสองล่วงลับไปแล้ว เจ้าอุบาลีจะพึงอยู่เป็นสุข และไม่ต้องลำบาก. 
มนุสฺสา อุชฺฌายนฺติ ขิยฺยนฺติ วิปาเจนฺติ “อภยูวรา อิเม สมณา สกฺยปุตฺติยา. นยิเม ลพฺภา กิญฺจิ กาตุํ.  กถญฺหิ นาม สมณา สกฺยปุตฺติยา อิณายิกํ ปพฺพาเชสฺสนฺตี”ติ.  ภควโต เอตมตฺถํ อาโรเจสุํ น ภิกฺขเว อิณายิโก ปพฺพาเชตพฺโพ.  โย ปพฺพาเชยฺย อาปตฺติ ทุกฺกฏสฺสาติ. (อิณายิกวตฺถุ นิฏฺฐิตํ.)   
atha kho Upālissa mātāpitunnaṃ etad ahosi: sace kho Upāli gaṇanaṃ sikkhissati, urassa dukkho bhavissati.  sace kho Upāli rūpaṃ sikkheyya, evaṃ kho Upāli amhākaṃ accayena sukhañ ca jīveyya na ca kilameyyā ’ti.  atha kho Upālissa mātāpitunnaṃ etad ahosi: sace kho Upāli rūpaṃ sikkhissati, akkhīni dukkhā bhavissanti.  ime kho samaṇā Sakyaputtiyā sukhasīlā sukhasamācārā subhojanāni bhuñjitvā nivātesu sayanesu sayanti.  sace kho Upāli samaṇesu Sakyaputtiyesu pabbajeyya, evaṃ kho Upāli amhākaṃ accayena sukhañ ca jīveyya na ca kilameyyā ’ti. |2| 
But if Upâli could learn arithmetic, he would after our death live a life of ease and without pain.'  But then Upâli's father and mother thought again: 'If Upâli learns arithmetic, his breast will become diseased.  But if Upâli could learn money-changing, he would after our death live a life of ease and comfort, and without pain.  'But then Upâli's father and mother said to themselves: 'If Upâli learns money-changing, his eyes will suffer.  Now here are the Sakyaputtiya Samanas, who keep commodious precepts and live a commodious life; they have good meals and lie down on beds protected from the wind. 
ครั้นต่อมาจึงหารือกันอีกว่า ถ้าเจ้าอุบาลีจักเรียนวิชาคำนวณเขาจักหนักอก  ถ้าจะพึงเรียนวิชาดูรูปภาพ ด้วยอุบายอย่างนี้แหละ เมื่อเราทั้งสองล่วงลับไปแล้ว เจ้าอุบาลีก็จะพึงอยู่เป็นสุข และจะไม่ต้องลำบาก  ครั้นต่อมา จึงหารือกันอีกว่า ถ้าเจ้าอุบาลีจักเรียนวิชาดูรูปภาพ นัยน์ตาทั้งสองของเขาจักชอกช้ำ  พระสมณะเชื้อสายพระศากยบุตรเหล่านี้แล มีปกติเป็นสุข มีความประพฤติเรียบร้อย ฉันอาหารที่ดี นอนในห้องนอนอันมิดชิด  ถ้าเจ้าอุบาลีจะพึงบวชในสำนักพระสมณะเชื้อสายพระศากยบุตร ด้วยวิธีนี้แหละ เมื่อเราทั้งสองล่วงลับไปแล้ว เจ้าอุบาลีก็จะอยู่เป็นสุข และจะไม่ต้องลำบาก. 
  (๓๔. ทาสวตฺถุ) ๙๗. เตน โข ปน สมเยน อญฺญตโร ทาโส ปลายิตฺวา ภิกฺขูสุ ปพฺพชิโต โหติ.  อยฺยกา ปสฺสิตฺวา เอวมาหํสุ “อยํ โส อมฺหากํ ทาโส. หนฺท นํ เนมา”ติ.  เอกจฺเจ เอวมาหํสุ “มายฺโย เอวํ อวจุตฺถ อนุญฺญาตํ รญฺญา มาคเธน เสนิเยน พิมฺพิสาเรน “เย สมเณสุ สกฺยปุตฺติเยสุ ปพฺพชนฺติ น เต ลพฺภา กิญฺจิ กาตุํ สฺวากฺขาโต ธมฺโม จรนฺตุ พฺรหฺมจริยํ สมฺมา ทุกฺขสฺส อนฺตกิริยายา”ติ.  มนุสฺสา อุชฺฌายนฺติ ขิยฺยนฺติ วิปาเจนฺติ “อภยูวรา อิเม สมณา สกฺยปุตฺติยา นยิเม ลพฺภา กิญฺจิ กาตุํ. 
assosi kho Upāli dārako mātāpitunnaṃ imaṃ kathāsallāpaṃ. atha kho Upāli dārako yena te dārakā ten’ upasaṃkami, upasaṃkamitvā te dārake etad avoca: etha mayaṃ ayyo samaṇesu Sakyaputtiyesu pabbajissāmā ’ti.  sace kho tvaṃ ayyo pabbajissasi, evaṃ mayam pi pabbajissāmā ’ti.  atha kho te dārakā ekamekassa mātāpitaro upasaṃkamitvā etad avocuṃ: anujānātha maṃ agārasmā anagāriyaṃ pabbajjāyā ’ti.  atha kho tesaṃ dāra-(78)kānaṃ mātāpitaro sabbe p’ ime dārakā samānacchandā kalyāṇādhippāyā ’ti anujāniṃsu. te bhikkhū upasaṃkamitvā pabbajjaṃ yāciṃsu.  te bhikkhū pabbājesuṃ upasampādesuṃ. |3| 
If Upâli could be ordained with the Sakyaputtiya Samanas, he would after our death live a life of ease and without pain.'  Now young Upâli heard his father and mother talking thus. Then young Upâli went to the other boys; having approached them, he said to those boys: 'Come, Sirs, let us get ordained with the Sakyaputtiya Samanas.'  (They replied): 'If you will get ordained, Sir, we will be ordained also.'  Then those boys went each to his father and mother and said to them: 'Give me your consent for leaving the world and going forth into the houseless state.'  Then the parents of those boys, who thought, 'It is a good thing what all these boys are wishing so unanimously for, gave their consent. They went to the Bhikkhus and asked them for the pabbaggâ ordination. 
เด็กชายอุบาลีได้ยินถ้อยคำที่มารดาบิดาสนทนาหารือกัน ดังนี้ จึงเข้าไปหาเพื่อนเด็กเหล่านั้น ครั้นแล้วได้พูดชวนว่า มาเถิดพวกเจ้า พวกเราจักพากันไปบวชในสำนักพระสมณะเชื้อสายพระศากยบุตร.  เด็กชายเหล่านั้นพูดว่า ถ้าเจ้าบวช แม้พวกเราก็จักบวชเหมือนกัน.  เด็กชายเหล่านั้นไม่รอช้า ต่างคนต่างก็เข้าไปหามารดาบิดาของตนๆ แล้วขออนุญาตว่า ขอท่านทั้งหลายจงอนุญาตให้ข้าพเจ้า ออกจากเรือนบวชเป็นบรรพชิตเถิด.  มารดาบิดาของเด็กชายเหล่านั้นก็อนุญาตทันที ด้วยคิดเห็นว่า เด็กเหล่านี้ต่างก็มีฉันทะร่วมกัน มีความมุ่งหมายดีด้วยกันทุกคน. เด็กพวกนั้นเข้าไปหาภิกษุทั้งหลายแล้วขอบรรพชา.  ภิกษุทั้งหลายให้พวกเขาบรรพชาอุปสมบท. 
กถญฺหิ นาม สมณา สกฺยปุตฺติยา ทาสํ ปพฺพาเชสฺสนฺตี”ติ.  ภควโต เอตมตฺถํ อาโรเจสุํ.  น ภิกฺขเว ทาโส ปพฺพาเชตพฺโพ.  โย ปพฺพาเชยฺย อาปตฺติ ทุกฺกฏสฺสาติ. (ทาสวตฺถุ นิฏฺฐิตํ.)   
te rattiyā paccūsasamayaṃ paccuṭṭhāya rodanti: yāguṃ detha, bhattaṃ detha, khādaniyaṃ dethā ’ti.  bhikkhū evaṃ āhaṃsu: āgametha āvuso yāva vibhāyati.  sace yāgu bhavissati, pivissatha, sace bhattaṃ bhavissati, bhuñjissatha, sace khādaniyaṃ bhavissati, khādissatha, no ce bhavissati yāgu vā bhattaṃ vā khādaniyaṃ vā, piṇḍāya caritvā bhuñjissathā ’ti.  evam pi kho te bhikkhū bhikkhūhi vuccamānā rodant’ eva: yāguṃ detha, bhattaṃ detha, khādaniyaṃ dethā ’ti, senāsanaṃ ūhananti pi ummihanti pi. |4| 
The Bhikkhus conferred the pabbaggâ and upasampadâ ordinations on them.  In the night, at dawn, they rose and began to cry: 'Give us rice-milk, give us soft food, give us hard food!'  The Bhikkhus said: 'Wait, friends, till day-time.  If there is rice-milk, you shall drink; if there is food, soft or hard, you shall eat; if there is no rice-milk and no food, soft or hard, you must go out for alms, and then you will eat.' 
ครั้นปัจจุสสมัยแห่งราตรี ภิกษุใหม่เหล่านั้นลุกขึ้นร้องไห้ วิงวอนว่า ขอท่านทั้งหลายจงให้ข้าวต้ม จงให้ข้าวสวย จงให้ของเคี้ยว.  ภิกษุทั้งหลายพูดอย่างนี้ว่า อาวุโสทั้งหลาย จงรอให้ราตรีสว่างก่อน  ถ้าข้าวต้มมี จักได้ดื่ม ถ้าข้าวสวยมี จักได้ฉัน ถ้าของเคี้ยวมี จักได้เคี้ยว ถ้าข้าวต้ม ข้าวสวย หรือของเคี้ยวไม่มี ต้องเที่ยวบิณฑบาตฉัน.  ภิกษุใหม่เหล่านั้นอันภิกษุทั้งหลายแม้กล่าวอยู่อย่างนี้แล ก็ยังร้องไห้วิงวอนอยู่อย่างนั้นแลว่า จงให้ข้าวต้ม จงให้ข้าวสวย จงให้ของเคี้ยว ถ่ายอุจจาระรดบ้าง ถ่ายปัสสาวะรดบ้าง ซึ่งเสนาสนะ. 
  (๓๕. กมฺมารภณฺฑุวตฺถุ) ๙๘. เตน โข ปน สมเยน อญฺญตโร กมฺมารภณฺฑุ มาตาปิตูหิ สทฺธึ ภณฺฑิตฺวา อารามํ คนฺตฺวา ภิกฺขูสุ ปพฺพชิโต โหติ.  อถ โข ตสฺส กมฺมารภณฺฑุสฺส มาตาปิตโร ตํ กมฺมารภณฺฑุํ วิจินนฺตา อารามํ คนฺตฺวา ภิกฺขู ปุจฺฉึสุ “อปิ ภนฺเต เอวรูปํ ทารกํ ปสฺเสยฺยาถา”ติ?  ภิกฺขู อชานํเยว อาหํสุ “น ชานามา”ติ อปสฺสํเยว อาหํสุ “น ปสฺสามา”ติ. 
assosi kho bhagavā rattiyā paccūsasamayaṃ paccuṭṭhāya dārakasaddaṃ, sutvāna āyasmantaṃ Ānandaṃ āmantesi:  kiṃ nu kho so Ānanda dārakassa saddo ’ti.  atha kho āyasmā Ānando bhagavato etam atthaṃ ārocesi.  saccaṃ kira bhikkhave bhikkhū jānaṃ ūnavīsativassaṃ puggalaṃ upasampādentīti.  saccaṃ bhagavā.  vigarahi buddho bhagavā: kathaṃ hi nāma te bhikkhave moghapurisā jānaṃ ūnavīsativassaṃ puggalaṃ upasampādessanti. |5| 
But those Bhikkhus, when they were thus spoken to by the other Bhikkhus, threw their bedding about and made it wet, calling out: 'Give us rice-milk, give us soft food, give us hard food!'  Then the Blessed One, having arisen in the night, at dawn, heard the noise which those boys made; hearing it he said to the venerable Ânanda:  'Now, Ânanda, what noise of boys is that?'  Then the venerable Ânanda told the thing to the Blessed One.  'Is it true, O Bhikkhus, that the Bhikkhus knowingly confer the upasampadâ ordination on persons under twenty years of age?'  'It is true, Lord.' 
พระผู้มีพระภาคทรงตื่นบรรทมในปัจจุสสมัยแห่งราตรี ทรงได้ยินเสียงเด็ก ครั้นแล้วตรัสเรียกท่านพระอานนท์มาตรัสถามว่า  ดูกรอานนท์ นั่นเสียงเด็ก หรือ?  จึงท่านพระอานนท์กราบทูลเรื่องนั้นแด่พระผู้มีพระภาค.  พระผู้มีพระภาคทรงสอบถามภิกษุทั้งหลายว่า ดูกรภิกษุทั้งหลาย ข่าวว่าภิกษุทั้งหลายรู้อยู่ ให้บุคคลผู้มีอายุหย่อน ๒๐ ปี อุปสมบท จริงหรือ?  ภิกษุทั้งหลายกราบทูลว่า จริง พระพุทธเจ้าข้า.  พระผู้มีพระภาคพุทธเจ้าทรงติเตียนว่า ดูกรภิกษุทั้งหลาย ไฉนโมฆบุรุษพวกนั้นรู้อยู่ จึงได้ให้บุคคลมีอายุหย่อน ๒๐ ปี อุปสมบทเล่า 
อถ โข ตสฺส กมฺมารภณฺฑุสฺส มาตาปิตโร ตํ กมฺมารภณฺฑุํ วิจินนฺตา ภิกฺขูสุ ปพฺพชิตํ ทิสฺวา อุชฺฌายนฺติ ขิยฺยนฺติ วิปาเจนฺติ “อลชฺชิโน อิเม สมณา สกฺยปุตฺติยา ทุสฺสีลา มุสาวาทิโน. ชานํเยว อาหํสุ ‘น ชานามา’ติ ปสฺสํเยว อาหํสุ ‘น ปสฺสามา’ติ. อยํ ทารโก ภิกฺขูสุ ปพฺพชิโต”ติ.  อสฺโสสุํ โข ภิกฺขู ตสฺส กมฺมารภณฺฑุสฺส มาตาปิตูนํ อุชฺฌายนฺตานํ ขิยฺยนฺตานํ วิปาเจนฺตานํ.  อถ โข เต ภิกฺขู ภควโต เอตมตฺถํ อาโรเจสุํ.  อนุชานามิ ภิกฺขเว สงฺฆํ อปโลเกตุํ ภณฺฑุกมฺมายาติ. (กมฺมารภณฺฑุวตฺถุ นิฏฺฐิตํ.)     
ūnavīsativasso bhikkhave puggalo akkhamo hoti sītassa uṇhassa jighacchāya pipāsāya ḍaṃsamakasavātātapasiriṃsapasamphassānaṃ duruttānaṃ durāgatānaṃ vacanapathānaṃ uppannānaṃ sārīrikānaṃ vedanānaṃ dukkhānaṃ tibbānaṃ kharānaṃ kaṭukānaṃ asātānaṃ amanāpānaṃ pāṇaharānaṃ anadhivāsakajātiko hoti.  vīsativasso kho bhikkhave puggalo khamo hoti sītassa uṇhassa . . . pāṇaharānaṃ adhivāsakajātiko hoti.  n’ etaṃ bhikkhave appasannānaṃ vā pasādāya pasannānaṃ vā bhiyyobhāvāya.  vigarahitvā dhammiṃ kathaṃ katvā bhikkhū āmantesi: na bhikkhave jānaṃ ūnavīsativasso puggalo upasampādetabbo.  yo upasampādeyya, yathādhammo kāretabbo ’ti. |6| 
Then the Blessed One rebuked those Bhikkhus: 'How can those foolish persons, O Bhikkhus, knowingly confer the upasampadâ ordination on persons under twenty years of age?  'A person under twenty years, O Bhikkhus, cannot endure coldness and heat, hunger and thirst, vexation by gadflies and gnats, by storms and sun-heat, and by reptiles; (he cannot endure) abusive, offensive language; he is not able to bear bodily pains which are severe, sharp, grievous, disagreeable, unpleasant, and destructive to life;  whilst a person that has twenty years of age, O Bhikkhus, can endure coldness, &c.  This will not do, O Bhikkhus, for converting the unconverted and for augmenting the number of the converted.'  Having rebuked those Bhikkhus and delivered a religious discourse, he thus addressed the Bhikkhus: 'Let no one, O Bhikkhus, knowingly confer the upasampadâ ordination on a person under twenty years of age. 
ดูกรภิกษุทั้งหลาย บุคคลมีอายุหย่อน ๒๐ ปี เป็นผู้ไม่อดทนต่อเย็น ร้อน หิว ระหาย เป็นผู้มีปกติไม่อดกลั้นต่อสัมผัส แห่งเหลือบ ยุง ลม แดด สัตว์เลื้อยคลาน ต่อคลองแห่งถ้อยคำที่เขากล่าวร้าย อันมาแล้วไม่ดี ต่อทุกขเวทนาทางกายที่เกิดขึ้นแล้วอันกล้าแข็งกล้า เผ็ดร้อน ไม่เป็นที่ยินดี ไม่เป็นที่ชอบใจ อันอาจนำชีวิตเสียได้  ส่วนบุคคลมีอายุ ๒๐ ปี ย่อมเป็นผู้อดทนต่อเย็น ร้อน หิว ระหาย เป็นผู้มีปกติอดกลั้นต่อสัมผัสแห่งเหลือบ ยุง ลม แดด สัตว์เลื้อยคลาน ต่อคลองแห่งถ้อยคำที่เขากล่าวร้าย อันมาแล้วไม่ดี ต่อทุกขเวทนาทางกายที่เกิดขึ้นแล้ว อันกล้าแข็งเผ็ดร้อน ไม่เป็นที่ยินดี ไม่เป็นที่ชอบใจ อันอาจนำชีวิตเสียได้  ดูกรภิกษุทั้งหลาย การกระทำของโมฆบุรุษเหล่านั้นนั่น ไม่เป็นไปเพื่อความเลื่อมใสของชุมชนที่ยังไม่เลื่อมใส หรือเพื่อความเลื่อมใสยิ่งของชุมชนที่เลื่อมใสแล้ว ...  ครั้นแล้วทรงทำธรรมีกถารับสั่งกะภิกษุทั้งหลายว่า ดูกรภิกษุทั้งหลาย ภิกษุรู้อยู่ ไม่พึงให้บุคคลมีอายุหย่อน ๒๐ ปีอุปสมบท  รูปใดให้อุปสมบท ต้องปรับตามธรรม. 
(๓๖. อุปาลิทารกวตฺถุ) ๙๙. เตน โข ปน สมเยน ราชคเห สตฺตรสวคฺคิยา ทารกา สหายกา โหนฺติ. อุปาลิทารโก เตสํ ปาโมกฺโข โหติ.  อถ โข อุปาลิสฺส มาตาปิตูนํ เอตทโหสิ “เกน นุ โข อุปาเยน อุปาลิ อมฺหากํ อจฺจเยน สุขญฺจ ชีเวยฺย น จ กิลเมยฺยา”ติ?  อถ โข อุปาลิสฺส มาตาปิตูนํ เอตทโหสิ “สเจ โข อุปาลิ เลขํ สิกฺเขยฺย เอวํ โข อุปาลิ อมฺหากํ อจฺจเยน สุขญฺจ ชีเวยฺย น จ กิลเมยฺยา”ติ.  อถ โข อุปาลิสฺส มาตาปิตูนํ เอตทโหสิ “สเจ โข อุปาลิ เลขํ สิกฺขิสฺสติ องฺคุลิโย ทุกฺขา ภวิสฺสนฺติ.  สเจ โข อุปาลิ คณนํ สิกฺเขยฺย เอวํ โข อุปาลิ อมฺหากํ อจฺจเยน สุขญฺจ ชีเวยฺย น จ กิลเมยฺยา”ติ. 
||49|| 
He who does, is to be treated according to the law.' 
อถ โข อุปาลิสฺส มาตาปิตูนํ เอตทโหสิ “สเจ โข อุปาลิ คณนํ สิกฺขิสฺสติ อุรสฺส ทุกฺโข ภวิสฺสติ. 
tena kho pana samayena aññataraṃ kulaṃ ahivātakarogena kālaṃkataṃ hoti, tassa pitāputtakā sesā honti, te bhikkhūsu pabbajitvā ekato ’va piṇḍāya caranti.  atha kho so dārako pituno bhikkhāya dinnāya upadhāvitvā etad avoca: mayham pi tāta dehi, mayham pi tāta dehīti.  manussā (79) ujjhāyanti khīyanti vipācenti: abrahmacārino ime samaṇā Sakyaputtiyā, ayaṃ dārako bhikkhuniyā jāto ’ti.  assosuṃ kho bhikkhū tesaṃ manussānaṃ ujjhāyantānaṃ khīyantānaṃ vipācentānaṃ.  atha kho te bhikkhū bhagavato etam atthaṃ ārocesuṃ.  na bhikkhave ūnapannarasavasso dārako pabbājetabbo.  yo pabbājeyya, āpatti dukkaṭassā ’ti. |1| 
At that time a certain family had died of pestilence; only a father and his son were left; they received the pabbaggâ ordination with the Bhikkhus and went together on their rounds for alms.  Now that boy, when food was given to his father, ran up to him and said: 'Give some to me too, father; give some to me too, father.'  People were annoyed, &c.: 'These Sakyaputtiya Samanas live an impure life; this boy is a Bhikkhunî's son.'  Some Bhikkhus heard, &c.  They told this thing to the Blessed One, &c.  'Let no one, O Bhikkhus, confer the pabbaggâ ordination on a boy under fifteen years of age. 
เรื่องตายเพราะอหิวาตกโรค (กำหนดอายุผู้บวชเป็นสามเณร) [๑๑๒] ก็โดยสมัยนั้นแล ตระกูลหนึ่งได้ตายลง เพราะอหิวาตกโรค. ตระกูลนั้น เหลืออยู่แต่พ่อกับลูก. คนทั้งสองนั้นบวชในสำนักภิกษุแล้ว เที่ยวบิณฑบาตด้วยกัน.  ครั้นเมื่อเขาถวายภิกษาแก่ภิกษุผู้เป็นบิดา สามเณรน้อยก็ได้วิ่งเข้าไปพูดว่า พ่อจ๋า ขอจงให้แก่หนูบ้าง พ่อจ๋า ขอจงให้แก่หนูบ้าง.  ประชาชนจึงเพ่งโทษ ติเตียน โพนทะนาว่า พระสมณะเชื้อสายพระศากยบุตรเหล่านี้มิใช่ผู้ประพฤติพรหมจรรย์ สามเณรน้อยรูปนี้ชะรอยเกิดแต่ภิกษุณี.  ภิกษุทั้งหลายได้ยินประชาชนพวกนั้นเพ่งโทษ ติเตียน โพนทะนาอยู่  จึงกราบทูลเรื่องนั้นแด่พระผู้มีพระภาค.  พระผู้มีพระภาครับสั่งกะภิกษุทั้งหลายว่า ดูกรภิกษุทั้งหลาย เด็กชายมีอายุหย่อน ๑๕ ปี ภิกษุไม่พึงให้บวช  รูปใดให้บวช ต้องอาบัติทุกกฏ. 
สเจ โข อุปาลิ รูปํ สิกฺเขยฺย เอวํ โข อุปาลิ อมฺหากํ อจฺจเยน สุขญฺจ ชีเวยฺย น จ กิลเมยฺยา”ติ.  อถ โข อุปาลิสฺส มาตาปิตูนํ เอตทโหสิ “สเจ โข อุปาลิ รูปํ สิกฺขิสฺสติ อกฺขีนิ ทุกฺขา ภวิสฺสนฺติ.  อิเม โข สมณา สกฺยปุตฺติยา สุขสีลา สุขสมาจารา สุโภชนานิ ภุญฺชิตฺวา นิวาเตสุ สยเนสุ สยนฺติ  สเจ โข อุปาลิ สมเณสุ สกฺยปุตฺติเยสุ ปพฺพเชยฺย เอวํ โข อุปาลิ อมฺหากํ อจฺจเยน สุขญฺจ ชีเวยฺย น จ กิลเมยฺยา”ติ.  อสฺโสสิ โข อุปาลิทารโก มาตาปิตูนํ อิมํ กถาสลฺลาปํ. อถ โข อุปาลิทารโก เยน เต ทารกา เตนุปสงฺกมิ อุปสงฺกมิตฺวา เต ทารเก เอตทโวจ “เอถ มยํ อยฺยา สมเณสุ สกฺยปุตฺติเยสุ ปพฺพชิสฺสามา”ติ.  “สเจ โข ตฺวํ อยฺย ปพฺพชิสฺสสิ เอวํ มยมฺปิ ปพฺพชิสฺสามา”ติ.  อถ โข เต ทารกา เอกเมกสฺส มาตาปิตโร อุปสงฺกมิตฺวา เอตทโวจุํ “อนุชานาถ มํ อคารสฺมา อนาคาริยํ ปพฺพชฺชายา”ติ. 
||50|| 
He who does, is guilty of a dukkata offence.' 
อถ โข เตสํ ทารกานํ มาตาปิตโร “สพฺเพปิเม ทารกา สมานจฺฉนฺทา กลฺยาณาธิปฺปายา”ติ อนุชานึสุ. 
tena kho pana samayena āyasmato Ānandassa upaṭṭhākakulaṃ saddhaṃ pasannaṃ ahivātakarogena kālaṃkataṃ hoti, dve ca dārakā sesā honti, te porāṇakena āciṇṇakappena bhikkhū passitvā upadhāvanti, bhikkhū apasādenti.  te bhikkhūhi apasādiyamānā rodanti.  atha kho āyasmato Ānandassa etad ahosi:  bhagavatā paññattaṃ na ūnapannarasavasso dārako pabbājetabbo ’ti, ime ca dārakā ūnapannarasavassā.  kena nu kho upāyena ime dārakā na vinasseyyun ti.  atha kho āyasmā Ānando bhagavato etam atthaṃ ārocesi.  ussahanti pana te Ānanda dārakā kāke uṭṭepetun ti.  ussahanti bhagavā ’ti.  atha kho bhagavā etasmiṃ nidāne etasmiṃ pakaraṇe dhammiṃ kathaṃ katvā bhikkhū āmantesi:  anujānami bhikkhave ūnapannarasavassaṃ dārakaṃ kākuṭṭepakaṃ pabbājetun ti. |1| 
At that time a believing, pious family, who devoted themselves to the (especial) service of the venerable Ânanda, had died of pestilence. Only two boys were left; these, when seeing Bhikkhus, ran up to them according to their old custom, but the Bhikkhus turned them away.  When they were turned away by the Bhikkhus, they cried.  Now the venerable Ânanda thought:  'The Blessed One has forbidden us to confer the pabbaggâ ordination on a boy under fifteen years of age, and these boys are under fifteen years of age.  What can be done in order that these boys may not perish?'  And the venerable Ânanda told this thing to the Blessed One.  'Are these boys able, Ânanda, to scare crows?'  'They are, Lord.'  In consequence of that and on this occasion the Blessed One, after having delivered a religious discourse, 
เด็กชายตระกูลอุปัฏฐากบรรพชา [๑๑๓] ก็โดยสมัยนั้นแล ตระกูลอุปัฏฐากของท่านพระอานนท์มีศรัทธาเลื่อมใส ได้ตายลงเพราะอหิวาตกโรค. เหลืออยู่แต่เด็กชายสองคน. เด็กชายทั้งสองเห็นภิกษุทั้งหลาย จึงวิ่งเข้าไปหาด้วยกิริยาที่คุ้นเคยแต่ก่อนมา. ภิกษุทั้งหลายไล่ไปเสีย.  เด็กชายทั้งสองนั้นเมื่อถูกภิกษุทั้งหลายไล่ก็ร้องไห้  จึงท่านพระอานนท์ได้มีความดำริว่า  พระผู้มีพระภาคทรงบัญญัติ มิให้บวชเด็กชายมีอายุหย่อน ๑๕ ปี ก็เด็กชายทั้งสองคนนี้มีอายุหย่อน ๑๕ ปี  ด้วยวิธีอะไรหนอ เด็กชายสองคนนี้จึงจะไม่เสื่อมเสีย  ดังนี้ จึงกราบทูลเรื่องนั้นแด่พระผู้มีพระภาค.  พระผู้มีพระภาคตรัสถามว่า ดูกรอานนท์ เด็กชายสองคนนั้นอาจไล่กาได้ไหม?  ท่านพระอานนท์กราบทูลว่า อาจ พระพุทธเจ้าข้า.  ลำดับนั้น พระผู้มีพระภาคทรงทำธรรมีกถา ในเพราะเหตุเป็นเค้ามูลนั้น ในเพราะเหตุแรกเกิดนั้น  แล้วรับสั่งกะภิกษุทั้งหลายว่า ดูกรภิกษุทั้งหลาย เราอนุญาตให้บวชเด็กชายมีอายุหย่อน ๑๕ ปี แต่สามารถไล่กาได้. 
เต ภิกฺขู อุปสงฺกมิตฺวา ปพฺพชฺชํ ยาจึสุ.  เต ภิกฺขู ปพฺพาเชสุํ อุปสมฺปาเทสุํ เต รตฺติยา ปจฺจูสสมยํ ปจฺจุฏฺฐาย โรทนฺติ “ยาคุํ เทถ ภตฺตํ เทถ ขาทนียํ เทถา”ติ.  ภิกฺขู เอวมาหํสุ “อาคเมถ อาวุโส ยาว รตฺติ วิภายติ.  สเจ ยาคุ ภวิสฺสติ ปิวิสฺสถ สเจ ภตฺตํ ภวิสฺสติ ภุญฺชิสฺสถ สเจ ขาทนียํ ภวิสฺสติ ขาทิสฺสถ โน เจ ภวิสฺสติ ยาคุ วา ภตฺตํ วา ขาทนียํ วา ปิณฺฑาย จริตฺวา ภุญฺชิสฺสถา”ติ.  เอวมฺปิ โข เต ภิกฺขู ภิกฺขูหิ วุจฺจมานา โรทนฺติเยว “ยาคุํ เทถ ภตฺตํ เทถ ขาทนียํ เทถา”ติ เสนาสนํ อุหทนฺติปิ อุมฺมิหนฺติปิ.  อสฺโสสิ โข ภควา รตฺติยา ปจฺจูสสมยํ ปจฺจุฏฺฐาย ทารกสทฺทํ. สุตฺวาน อายสฺมนฺตํ อานนฺทํ อามนฺเตสิ  “กึ นุ โข โส อานนฺท ทารกสทฺโท”ติ?  อถ โข อายสฺมา อานนฺโท ภควโต เอตมตฺถํ อาโรเจสิฯเปฯ  “สจฺจํ กิร ภิกฺขเว ภิกฺขู ชานํ อูนวีสติวสฺสํ ปุคฺคลํ อุปสมฺปาเทนฺตี”ติ?  “สจฺจํ ภควา”ติ. 
||51|| 
thus addressed the Bhikkhus: 'I allow you, O Bhikkhus, to confer the pabbaggâ ordination on crow-keeper boys even under fifteen years of age.' 
วิครหิ พุทฺโธ ภควาฯเปฯ “กถญฺหิ นาม เต ภิกฺขเว โมฆปุริสา ชานํ อูนวีสติวสฺสํ ปุคฺคลํ อุปสมฺปาเทสฺสนฺติ. 
tena kho pana samayena āyasmato Upanandassa Sakyaputtassa dve sāmaṇerā honti Kaṇḍako ca Mahako ca, te aññamaññaṃ dūsesuṃ.  bhikkhū ujjhāyanti khīyanti vipācenti:  kathaṃ hi nāma sāmaṇerā evarūpaṃ anācāraṃ ācarissantīti.  bhagavato etam atthaṃ ārocesuṃ.  na bhikkhave ekena dve sāmaṇerā upaṭṭhāpetabbā.  yo upaṭṭhāpeyya, āpatti dukkaṭassā ’ti. |1| 
At that time the venerable Upananda, of the Sakya tribe, had two novices, Kandaka and Mahaka; these committed sodomy with each other.  The Bhikkhus were annoyed, &c.:  'How can novices abandon themselves to such bad conduct?'  They told this thing to the Blessed One, &c.  'Let no one, O Bhikkhus, ordain two novices. 
เรื่องสามเณรของท่านพระอุปนันท์ [๑๑๔] ก็โดยสมัยนั้นแล ท่านพระอุปนันทศากยบุตรมีสามเณรอยู่ ๒ รูป คือสามเณรกัณฏกะ ๑ สามเณรมหกะ ๑. เธอทั้งสองประทุษร้ายกันและกัน.  ภิกษุทั้งหลายจึงเพ่งโทษ ติเตียน โพนทะนาว่า  ไฉนสามเณรทั้งสองจึงได้ประพฤติอนาจารเห็นปานนั้นเล่า  แล้วกราบทูลเรื่องนั้นแด่พระผู้มีพระภาค.  พระผู้มีพระภาครับสั่งกะภิกษุทั้งหลายว่า ดูกรภิกษุทั้งหลาย ภิกษุรูปเดียว ไม่พึงให้สามเณร ๒ รูปอุปัฏฐาก  รูปใดให้อุปัฏฐาก ต้องอาบัติทุกกฏ. 
อูนวีสติวสฺโส ภิกฺขเว ปุคฺคโล อกฺขโม โหติ สีตสฺส อุณฺหสฺส ชิฆจฺฉาย ปิปาสาย ฑํสมกสวาตาตปสรีสปสมฺผสฺสานํ ทุรุตฺตานํ ทุราคตานํ วจนปถานํ อุปฺปนฺนานํ สารีริกานํ เวทนานํ ทุกฺขานํ ติพฺพานํ ขรานํ กฏุกานํ อสาตานํ อมนาปานํ ปาณหรานํ อนธิวาสกชาติโก โหติ.  วีสติวสฺโสว โข ภิกฺขเว ปุคฺคโล ขโม โหติ สีตสฺส อุณฺหสฺส ชิฆจฺฉาย ปิปาสาย ฑํสมกสวาตาตปสรีสปสมฺผสฺสานํ ทุรุตฺตานํ ทุราคตานํ วจนปถานํ อุปฺปนฺนานํ สารีริกานํ เวทนานํ ทุกฺขานํ ติพฺพานํ ขรานํ กฏุกานํ อสาตานํ อมนาปานํ ปาณหรานํ อธิวาสกชาติโก โหติ.  เนตํ ภิกฺขเว อปฺปสนฺนานํ วา ปสาทาย ปสนฺนานํ วา ภิยฺโยภาวายฯเปฯ  วิครหิตฺวาฯเปฯ ธมฺมึ กถํ กตฺวา ภิกฺขู อามนฺเตสิ “น ภิกฺขเว ชานํ อูนวีสติวสฺโส ปุคฺคโล อุปสมฺปาเทตพฺโพ.  โย อุปสมฺปาเทยฺย ยถาธมฺโม กาเรตพฺโพ”ติ. (อุปาลิทารกวตฺถุ นิฏฺฐิตํ.)   
||52|| 
He who does, is guilty of a dukkata offence.' 
 
tena kho pana samayena bhagavā tatth’ eva Rājagahe vassaṃ vasi, tattha hemantaṃ, tattha gimhaṃ.  manussā ujjhāyanti khīyanti vipācenti:  āhundarikā samaṇānaṃ Sakyaputtiyānaṃ disā andhakārā, na imesaṃ disā pakkhāyantīti.  assosuṃ kho bhikkhū tesaṃ manussānaṃ ujjhāyantānaṃ khīyantānaṃ vipācentānaṃ.  atha kho te bhikkhū bhagavato etam atthaṃ ārocesuṃ. |1| 
At that time the Blessed One dwelt at Râgagaha during the rainy season, and remained at the same place during winter and summer.  The people were annoyed, &c.:  'The (four) regions are . . . . and covered by darkness to the Sakyaputtiya Samanas; they cannot discern the (four) regions.  'Some Bhikkhus heard, &c. 
เรื่องถือนิสสัย [๑๑๕] ก็โดยสมัยนั้นแล พระผู้มีพระภาคประทับอยู่ในพระนครราชคฤห์นั้นแล ตลอดฤดูฝน ฤดูหนาว ฤดูร้อน.  คนทั้งหลายพากันเพ่งโทษ ติเตียน โพนทะนาว่า  ทิศทั้งหลายคับแคบมืดมนแก่พระสมณะเชื้อสายพระศากยบุตร ทิศทั้งหลายไม่ปรากฏแก่พระสมณะพวกนี้  ภิกษุทั้งหลายได้ยินคนพวกนั้นเพ่งโทษ ติเตียน โพนทะนาอยู่  จึงกราบทูลเรื่องนั้นแด่พระผู้มีพระภาค 
(๓๗. อหิวาตกโรควตฺถุ) ๑๐๐. เตน โข ปน สมเยน อญฺญตรํ กุลํ อหิวาตกโรเคน กาลงฺกตํ โหติ. ตสฺส ปิตาปุตฺตกา เสสา โหนฺติ. เต ภิกฺขูสุ ปพฺพชิตฺวา เอกโตว ปิณฺฑาย จรนฺติ.  อถ โข โส ทารโก ปิตุโน ภิกฺขาย ทินฺนาย อุปธาวิตฺวา เอตทโวจ “มยฺหมฺปิ ตาต เทหิ มยฺหมฺปิ ตาต เทหี”ติ.  มนุสฺสา อุชฺฌายนฺติ ขิยฺยนฺติ วิปาเจนฺติ “อพฺรหฺมจาริโน อิเม สมณา สกฺยปุตฺติยา. อยมฺปิ ทารโก ภิกฺขุนิยา ชาโต”ติ.  อสฺโสสุํ โข ภิกฺขู เตสํ มนุสฺสานํ อุชฺฌายนฺตานํ ขิยฺยนฺตานํ วิปาเจนฺตานํ.  อถ โข เต ภิกฺขู ภควโต เอตมตฺถํ อาโรเจสุํ. 
atha kho bhagavā āyasmantaṃ Ānandaṃ āmantesi: gacchānanda apāpuraṇaṃ ādā-(80)ya anupariveṇiyaṃ bhikkhūnaṃ ārocehi: icchat’ āvuso bhagavā Dakkhiṇāgiriṃ cārikaṃ pakkamituṃ.  yassāyasmato attho, so āgacchatū ’ti.  evaṃ bhante ’ti kho āyasmā Ānando bhagavato paṭissutvā apāpuraṇaṃ ādāya anupariveṇiyaṃ bhikkhūnaṃ ārocesi: icchat’ āvuso bhagavā Dakkhiṇāgiriṃ cārikaṃ pakkamituṃ.  yassāyasmato attho, so āgacchatū ’ti. |2| 
  Then the Blessed One said to the venerable Ânanda: 'Go, Ânanda, take a key and tell the Bhikkhus in every cell: "Friends, the Blessed One wishes to go forth to Dakkhinâgiri.  Let any one of the venerable brethren who thinks fit, come to him."'  The venerable Ânanda accepted this order of the Blessed One (by saying), 'Yes, Lord,' took a key, and said to the Bhikkhus in every cell: 'Friends, the Blessed One,' &c. 
ครั้งนั้น พระผู้มีพระภาคตรัสเรียกท่านพระอานนท์มารับสั่งว่า ดูกรอานนท์ เธอจงไปไขดาล บอกภิกษุทั้งหลายในบริเวณวิหารว่า อาวุโสทั้งหลาย พระผู้มีพระภาคทรงปรารถนาจะเสด็จจาริกทักขิณาคิรีชนบท  ท่านผู้ใดมีความประสงค์ ท่านผู้นั้นจงมา.  ท่านพระอานนท์รับสนองพระพุทธบัญชาแล้ว ไขดาลแจ้งแก่ภิกษุทั้งหลายในบริเวณวิหารว่า อาวุโสทั้งหลาย พระผู้มีพระภาคทรงปรารถนาจะเสด็จจาริกทักขิณาคิรีชนบท  ท่านผู้ใดมีความประสงค์ ท่านผู้นั้นจงมา. 
น ภิกฺขเว อูนปนฺนรสวสฺโส ทารโก ปพฺพาเชตพฺโพ.  โย ปพฺพาเชยฺย อาปตฺติ ทุกฺกฏสฺสาติ.     
bhikkhū evam āhaṃsu: bhagavatā āvuso Ānanda paññattaṃ dasa vassāni nissāya vatthuṃ, dasavassena nissayaṃ dātuṃ.  tattha ca no gantabbaṃ bhavissati, nissayo ca gahetabbo bhavissati, ittaro ca vāso bhavissati, puna ca paccāgantabbaṃ bhavissati, puna ca nissayo gahetabbo bhavissati.  sace amhākaṃ ācariyupajjhāyā gamissanti, mayam pi gamissāma, no ce amhākaṃ ācariyupajjhāyā gamissanti, mayam pi na gamissāma.  lahucittakatā no āvuso Ānanda paññāyissatīti. |3| 
  The Bhikkhus replied: 'Friend Ânanda, the Blessed One has prescribed that Bhikkhus are to live (the first) ten years in dependence (on their âkariyas and upagghâyas), and that he who has completed his tenth year, may give a nissaya himself.  Now if we go there, we shall be obliged to take a nissaya there; then we shall stay there for a short time, then we must go back again and take a new nissaya.  If our âkariyas and upagghâyas go, we will go also; if our âkariyas and upagghâyas do not go, we will not go either. 
ภิกษุทั้งหลายกล่าวอย่างนี้ว่า อาวุโส อานนท์ พระผู้มีพระภาคทรงบัญญัติให้ภิกษุถือนิสสัยอยู่ตลอด ๑๐ พรรษา  และให้ภิกษุมีพรรษาได้ ๑๐ ให้นิสสัย พวกผมจักต้องไปในทักขิณาคิรีนั้น จักต้องถือนิสสัยด้วย จักพักอยู่เพียงเล็กน้อยก็ต้องกลับมาอีก และจักต้องกลับถือนิสสัยอีก  ถ้าพระอาจารย์ พระอุปัชฌาย์ ของพวกผมไป แม้พวกผมก็จักไป หากท่านไม่ไป แม้พวกผมก็จักไม่ไป  อาวุโส อานนท์ ความที่พวกผมมีใจเบาจักปรากฏ. 
เตน โข ปน สมเยน อายสฺมโต อานนฺทสฺส อุปฏฺฐากกุลํ สทฺธํ ปสนฺนํ อหิวาตกโรเคน กาลงฺกตํ โหติ ทฺเว จ ทารกา เสสา โหนฺติ. เต โปราณเกน อาจิณฺณกปฺเปน ภิกฺขู ปสฺสิตฺวา อุปธาวนฺติ. ภิกฺขู อปสาเทนฺติ.  เต ภิกฺขูหิ อปสาทิยมานา โรทนฺติ.  อถ โข อายสฺมโต อานนฺทสฺส เอตทโหสิ  “ภควตา ปญฺญตฺตํ ‘น อูนปนฺนรสวสฺโส ทารโก ปพฺพาเชตพฺโพ’ติ. อิเม จ ทารกา อูนปนฺนรสวสฺสา. 
atha kho bhagavā ogaṇena bhikkhusaṃghena Dakkhiṇāgiriṃ cārikaṃ pakkāmi.  atha kho bhagavā Dakkhiṇāgirismiṃ yathābhirantaṃ viharitvā punad eva Rājagahaṃ paccāgacchi.  atha kho bhagavā āyasmantaṃ Ānandaṃ āmantesi: kiṃ nu kho Ānanda tathāgato ogaṇena bhikkhusaṃghena Dakkhiṇāgiriṃ cārikaṃ pakkanto ’ti.  atha kho āyasmā Ānando bhagavato etam atthaṃ ārocesi.  atha kho bhagavā etasmiṃ nidāne etasmiṃ pakaraṇe dhammiṃ kathaṃ katvā bhikkhū āmantesi: anujānāmi bhikkhave vyattena bhikkhunā paṭibalena pañca vassāni nissāya vatthuṃ, avyattena yāvajīvaṃ. |4| 
Otherwise our light-mindedness, friend Ânanda, will become manifest.'  Thus the Blessed One went forth to Dakkhinâgiri fonowed only by a few Bhikkhus.  And the Blessed One, after having dwelt at Dakkhinâgiri as long as he thought fit, went back to Râgagaha again.  Then the Blessed One said to the venerable Ânanda: 'How is it, Ânanda, that the perfect One has gone forth to Dakkhinâgiri with so few Bhikkhus?'  Then the venerable Ânanda told the thing to the Blessed One. 
ครั้งนั้น พระผู้มีพระภาคเสด็จจาริกทักขิณาคิรีชนบท กับภิกษุสงฆ์มีจำนวนน้อย.  ครั้นพระองค์เสด็จอยู่ ณ ทักขิณาคิรีชนบทตามพระพุทธาภิรมย์ แล้วเสด็จกลับมาสู่พระนครราชคฤห์อีกตามเดิม  และพระองค์ตรัสเรียกท่านพระอานนท์มาสอบถามว่า ดูกรอานนท์ ตถาคตจาริกทักขิณาคิรีชนบท กับภิกษุสงฆ์มีจำนวนน้อย เพราะเหตุไร?  จึงท่านพระอานนท์กราบทูลความเรื่องนั้นให้พระผู้มีพระภาคทรงทราบ  (พระพุทธานุญาตให้ถือนิสสัย) ลำดับนั้น พระผู้มีพระภาคทรงทำธรรมีกถา ในเพราะเหตุเป็นเค้ามูลนั้น ในเพราะเหตุแรกเกิดนั้น แล้วตรัสเรียกภิกษุทั้งหลายมารับสั่งว่า ดูกรภิกษุทั้งหลาย เราอนุญาตให้ภิกษุผู้ฉลาด ผู้สามารถ ถือนิสสัยอยู่ ๕ พรรษา และให้ภิกษุผู้ไม่ฉลาด ถือนิสสัยอยู่ตลอดชีวิต. 
เกน นุ โข อุปาเยน อิเม ทารกา น วินสฺเสยฺยุ”นฺติ?  อถ โข อายสฺมา อานนฺโท ภควโต เอตมตฺถํ อาโรเจสิ.  อุสฺสหนฺติ ปน เต อานนฺท ทารกา กาเก อุฑฺฑาเปตุนฺติ?  อุสฺสหนฺติ ภควาติ.  อถ โข ภควา เอตสฺมึ นิทาเน เอตสฺมึ ปกรเณ ธมฺมึ กถํ กตฺวา ภิกฺขู อามนฺเตสิ 
pañcahi bhikkhave aṅgehi samannāgatena bhikkhunā na anissitena vatthabbaṃ: na asekhena sīlakkhandhena samannāgato hoti . . . (= I.36,2) . . . imehi kho bhikkhave pañcah’ aṅgehi samannāgatena bhikkhunā na anissitena vatthabbaṃ.  pañcahi bhikkhave aṅgehi samannāgatena bhikkhunā anissitena vatthabbaṃ: asekhena . . . (= I.36,3) . . . imehi kho bhikkhave pañcah’ aṅgehi samannāgatena bhikkhunā anissitena vatthabbaṃ. |5| 
In consequence of that and on this occasion the Blessed One, after having delivered a religious discourse, thus addressed the Bhikkhus: 'I prescribe, O Bhikkhus, that a learned, competent Bhikkhu lives five years in dependence (on his âkariya and upagghâya), an unlearned one all his life.  'In five cases, O Bhikkhus, a Bhikkhu should not live without a nissaya (i.e. independent of âkariya and upagghâya): when he does not possess full perfection in what belongs to moral practices (&c., as in chap. 36. 2). In these five cases, O Bhikkhus, a Bhikkhu should not live without a nissaya. 
องค์ ๕ แห่งภิกษุผู้ต้องถือนิสสัย [๑๑๖] ดูกรภิกษุทั้งหลาย ภิกษุผู้ประกอบด้วยองค์ ๕ จะไม่ถือนิสสัยอยู่ไม่ได้ คือ ๑. ไม่ประกอบด้วยกองศีล อันเป็นของพระอเสขะ ๒. ไม่ประกอบด้วยกองสมาธิ อันเป็นของพระอเสขะ ๓. ไม่ประกอบด้วยกองปัญญา อันเป็นของพระอเสขะ ๔. ไม่ประกอบด้วยกองวิมุติ อันเป็นของพระอเสขะ และ ๕. ไม่ประกอบด้วยกองวิมุตติญาณทัสสนะ อันเป็นของพระอเสขะ ดูกรภิกษุทั้งหลาย ภิกษุผู้ประกอบด้วยองค์ ๕ นี้แล จะไม่ถือนิสสัยอยู่ไม่ได้.  องค์ ๕ แห่งภิกษุผู้ไม่ต้องถือนิสสัย // ดูกรภิกษุทั้งหลาย ภิกษุผู้ประกอบด้วยองค์ ๕ ไม่ต้องถือนิสสัยอยู่ คือ ๑. ประกอบด้วยกองศีล อันเป็นของพระอเสขะ ๒. ประกอบด้วยกองสมาธิ อันเป็นของพระอเสขะ ๓. ประกอบด้วยกองปัญญา อันเป็นของพระอเสขะ ๔. ประกอบด้วยกองวิมุตติ อันเป็นของพระอเสขะ และ ๕. ประกอบด้วยกองวิมุตติญาณทัสสนะ อันเป็นของพระอเสขะ ดูกรภิกษุทั้งหลาย ภิกษุผู้ประกอบด้วยองค์ ๕ นี้แล ไม่ต้องถือนิสสัยอยู่. 
“อนุชานามิ ภิกฺขเว อูนปนฺนรสวสฺสํ ทารกํ กากุฑฺเฑปกํ ปพฺพาเชตุ”นฺติ. (อหิวาตกโรควตฺถุ นิฏฺฐิตํ.)   
aparehi pi bhikkhave pañcah’ aṅgehi samannāgatena bhikkhunā na anissitena vatthabbaṃ: assaddho hoti . . . (= I.36,6) . . .  imehi kho bhikkhave pañcah’ aṅgehi samannāgatena bhikkhunā na anissitena vatthabbaṃ.  pañcahi bhikkhave aṅgehi samannāgatena {bhikkhunā} anissitena vatthabbaṃ: saddho (81) hoti . . . (= I.36,7) . . .  imehi kho bhikkhave pañcah’ aṅgehi samannāgatena bhikkhunā anissitena vatthabbaṃ. |6| 
'In five cases, O Bhikkhus, a Bhikkhu may live without a nissaya: when he possesses full perfection in what belongs to moral practices (&c., as in chap. 36. 3). In these five cases, O Bhikkhus, a Bhikkhu may live without a nissaya.  'And also in other five cases, &c.1'     
องค์ ๕ แห่งภิกษุผู้ต้องถือนิสสัย // ดูกรภิกษุทั้งหลาย ภิกษุผู้ประกอบด้วยองค์ ๕ แม้อื่นอีก จะไม่ถือนิสสัยอยู่ไม่ได้ คือ ๑. เป็นผู้ไม่มีศรัทธา ๒. เป็นผู้ไม่มีหิริ ๓. เป็นผู้ไม่มีโอตตัปปะ ๔. เป็นผู้เกียจคร้าน และ ๕. เป็นผู้มีสติฟั่นเฟือน  ดูกรภิกษุทั้งหลาย ภิกษุผู้ประกอบด้วยองค์ ๕ นี้แล จะไม่ถือนิสสัยอยู่ไม่ได้.  องค์ ๕ แห่งภิกษุผู้ไม่ต้องถือนิสสัย // ดูกรภิกษุทั้งหลาย ภิกษุผู้ประกอบด้วยองค์ ๕ ไม่ต้องถือนิสสัยอยู่ คือ ๑. เป็นผู้มีศรัทธา ๒. เป็นผู้มีหิริ ๓. เป็นผู้มีโอตตัปปะ ๔. เป็นผู้ปรารภความเพียร และ ๕. เป็นผู้มีสติตั้งมั่น  ดูกรภิกษุทั้งหลาย ภิกษุผู้ประกอบด้วยองค์ ๕ นี้แล ไม่ต้องถือนิสสัยอยู่. 
  (๓๘. กณฺฏกวตฺถุ) ๑๐๑. เตน โข ปน สมเยน อายสฺมโต อุปนนฺทสฺส สกฺยปุตฺตสฺส ทฺเว สามเณรา โหนฺติ กณฺฏโก จ มหโก จ. เต อญฺญมญฺญํ ทูเสสุํ.  ภิกฺขู อุชฺฌายนฺติ ขิยฺยนฺติ วิปาเจนฺติ  “กถญฺหิ นาม สามเณรา เอวรูปํ อนาจารํ อาจริสฺสนฺตี”ติ. 
aparehi pi . . . na anissitena vatthabbaṃ: adhisīle . . . (= I.36,8) . . . imehi kho . . . na anissitena vatthabbaṃ.  pañcahi . . . anissitena vatthabbaṃ: na adhisīle . . . (= I.36,9) . . . imehi kho . . . anissitena vatthabbaṃ. |7| 
   
องค์ ๕ แห่งภิกษุผู้ต้องถือนิสสัย // ดูกรภิกษุทั้งหลาย ภิกษุผู้ประกอบด้วยองค์ ๕ แม้อื่นอีก จะไม่ถือนิสสัยอยู่ไม่ได้ คือ ๑. เป็นผู้วิบัติด้วยศีล ในอธิศีล ๒. เป็นผู้วิบัติด้วยอาจาระ ในอัธยาจาร ๓. เป็นผู้วิบัติด้วยทิฏฐิ ในทิฏฐิยิ่ง ๔. เป็นผู้ได้ยินได้ฟังน้อย และ ๕. เป็นผู้มีปัญญาทราม ดูกรภิกษุทั้งหลาย ภิกษุผู้ประกอบด้วยองค์ ๕ นี้แล จะไม่ถือนิสสัยอยู่ไม่ได้.  องค์ ๕ แห่งภิกษุผู้ไม่ต้องถือนิสสัย // ดูกรภิกษุทั้งหลาย ภิกษุผู้ประกอบด้วยองค์ ๕ ไม่ต้องถือนิสสัยอยู่ คือ ๑. เป็นผู้ไม่วิบัติด้วยศีล ในอธิศีล ๒. เป็นผู้ไม่วิบัติด้วยอาจาระ ในอัธยาจาร ๓. เป็นผู้ไม่วิบัติด้วยทิฏฐิ ในทิฏฐิยิ่ง ๔. เป็นผู้ได้ยินได้ฟังมาก และ ๕. เป็นผู้มีปัญญา ดูกรภิกษุทั้งหลาย ภิกษุผู้ประกอบด้วยองค์ ๕ นี้แล ไม่ต้องถือนิสสัยอยู่. 
ภควโต เอตมตฺถํ อาโรเจสุํ.  น ภิกฺขเว เอเกน ทฺเว สามเณรา อุปฏฺฐาเปตพฺพา. 
aparehi pi . . . na anissitena vatthabbaṃ: āpattiṃ . . . (= I.36,14) . . . imehi kho . . . na anissitena vatthabbaṃ.  pañcahi . . . anissitena vatthabbaṃ: āpattiṃ . . . (= I.36,15) . . . imehi kho . . . anissitena vatthabbaṃ. |8| 
   
องค์ ๕ แห่งภิกษุผู้ต้องถือนิสสัย // ดูกรภิกษุทั้งหลาย ภิกษุผู้ประกอบด้วยองค์ ๕ แม้อื่นอีก จะไม่ถือนิสสัยอยู่ไม่ได้ คือ ๑. ไม่รู้จักอาบัติ ๒. ไม่รู้จักอนาบัติ ๓. ไม่รู้จักอาบัติเบา ๔. ไม่รู้จักอาบัติหนัก และ ๕. เธอจำปาติโมกข์ทั้งสองไม่ได้ดีโดยพิสดาร จำแนกไม่ได้ด้วยดี ไม่คล่องแคล่วดี วินิจฉัยไม่เรียบร้อย โดยสุตตะ โดยอนุพยัญชนะ ดูกรภิกษุทั้งหลาย ภิกษุผู้ประกอบด้วยองค์ ๕ นี้แล จะไม่ถือนิสสัยอยู่ไม่ได้.  องค์ ๕ แห่งภิกษุผู้ไม่ต้องถือนิสสัย // ดูกรภิกษุทั้งหลาย ภิกษุผู้ประกอบด้วยองค์ ๕ ไม่ต้องถือนิสสัยอยู่ คือ ๑. รู้จักอาบัติ ๒. รู้จักอนาบัติ ๓. รู้จักอาบัติเบา ๔. รู้จักอาบัติหนัก และ ๕. เธอจำปาติโมกข์ทั้งสองได้ดีโดยพิสดาร จำแนกดี คล่องแคล่วดี วินิจฉัยเรียบร้อย โดยสุตตะ โดยอนุพยัญชนะ ดูกรภิกษุทั้งหลาย ภิกษุผู้ประกอบด้วยองค์ ๕ นี้แล ไม่ต้องถือนิสสัยอยู่. 
โย อุปฏฺฐาเปยฺย อาปตฺติ ทุกฺกฏสฺสาติ. (กณฺฏกวตฺถุ นิฏฺฐิตํ.)   
aparehi pi . . . na anissitena vatthabbaṃ: āpattiṃ . . . (= I.36,16) . . . ūnapañcavasso hoti. imehi kho . . . na anissitena vatthabbaṃ. pañcahi . . . anissitena vatthabbaṃ: āpattiṃ . . . (= I.36,17) . . . pañcavasso vā hoti atirekapañcavasso vā.  imehi kho . . . anissitena vatthabbaṃ. |9| 
   
องค์ ๕ แห่งภิกษุผู้ต้องถือนิสสัย // ดูกรภิกษุทั้งหลาย ภิกษุผู้ประกอบด้วยองค์ ๕ แม้อื่นอีก จะไม่ถือนิสสัยอยู่ไม่ได้ คือ ๑. ไม่รู้จักอาบัติ ๒. ไม่รู้จักอนาบัติ ๓. ไม่รู้จักอาบัติเบา ๔. ไม่รู้จักอาบัติหนัก และ ๕. มีพรรษาหย่อน ๕ ดูกรภิกษุทั้งหลาย ภิกษุผู้ประกอบด้วยองค์ ๕ นี้แล จะไม่ถือนิสสัยอยู่ไม่ได้.  องค์ ๕ แห่งภิกษุผู้ไม่ต้องถือนิสสัย // ดูกรภิกษุทั้งหลาย ภิกษุผู้ประกอบด้วยองค์ ๕ ไม่ต้องถือนิสสัยอยู่ คือ ๑. รู้จักอาบัติ ๒. รู้จักอนาบัติ ๓. รู้จักอาบัติเบา ๔. รู้จักอาบัติหนัก และ ๕. มีพรรษาได้ ๕ หรือมีพรรษาเกิน ๕ ดูกรภิกษุทั้งหลาย ภิกษุผู้ประกอบด้วยองค์ ๕ นี้แล ไม่ต้องถือนิสสัยอยู่. 
  (๓๙. อาหุนฺทริกวตฺถุ) ๑๐๒. เตน โข ปน สมเยน ภควา ตตฺเถว ราชคเห วสฺสํ วสิ ตตฺถ เหมนฺตํ ตตฺถ คิมฺหํ. 
chahi . . . na anissitena vatthabbaṃ: na asekhena . . . (= I.37,1) . . . ūnapañcavasso hoti.  imehi kho bhikkhave chah’ aṅgehi samannāgatena bhikkhunā na anissitena vatthabbaṃ.  chahi . . . anissitena vatthabbaṃ: asekhena . . . (= I.37,2) . . . pañcavasso vā hoti atirekapañcavasso vā.  imehi kho . . . anissitena vatthabbaṃ. |10| 
       
องค์ ๖ แห่งภิกษุผู้ต้องถือนิสสัย // [๑๑๗] ดูกรภิกษุทั้งหลาย ภิกษุผู้ประกอบด้วยองค์ ๖ จะไม่ถือนิสสัยอยู่ไม่ได้ คือ ๑. ไม่ประกอบด้วยกองศีล อันเป็นของพระอเสขะ ๒. ไม่ประกอบด้วยกองสมาธิ อันเป็นของพระอเสขะ ๓. ไม่ประกอบด้วยกองปัญญา อันเป็นของพระอเสขะ ๔. ไม่ประกอบด้วยกองวิมุติ อันเป็นของพระอเสขะ ๕. ไม่ประกอบด้วยกองวิมุตติญาณทัสสนะ อันเป็นของพระอเสขะ และ ๖. มีพรรษาหย่อน ๕  ดูกรภิกษุทั้งหลาย ภิกษุผู้ประกอบด้วยองค์ ๖ นี้แล จะไม่ถือนิสสัยอยู่ไม่ได้.  องค์ ๖ แห่งภิกษุผู้ไม่ต้องถือนิสสัย // ดูกรภิกษุทั้งหลาย ภิกษุผู้ประกอบด้วยองค์ ๖ ไม่ต้องถือนิสสัยอยู่ คือ ๑. ประกอบด้วยกองศีล อันเป็นของพระอเสขะ ๒. ประกอบด้วยกองสมาธิ อันเป็นของพระอเสขะ ๓. ประกอบด้วยกองปัญญา อันเป็นของพระอเสขะ ๔. ประกอบด้วยกองวิมุติ อันเป็นของพระอเสขะ ๕. ประกอบด้วยกองวิมุตติญาณทัสสนะ อันเป็นของพระอเสขะ และ ๖. มีพรรษาได้ ๕ หรือมีพรรษาเกิน ๕  ดูกรภิกษุทั้งหลาย ภิกษุผู้ประกอบด้วยองค์ ๖ นี้แล ไม่ต้องถือนิสสัยอยู่. 
มนุสฺสา อุชฺฌายนฺติ ขิยฺยนฺติ วิปาเจนฺติ  “อาหุนฺทริกา สมณานํ สกฺยปุตฺติยานํ ทิสา อนฺธการา น อิเมสํ ทิสา ปกฺขายนฺตี”ติ.  อสฺโสสุํ โข ภิกฺขู เตสํ มนุสฺสานํ อุชฺฌายนฺตานํ ขิยฺยนฺตานํ วิปาเจนฺตานํ.  อถ โข เต ภิกฺขู ภควโต เอตมตฺถํ อาโรเจสุํ. 
aparehi pi bhikkhave chah’ aṅgehi . . . na anissitena vatthabbaṃ: assaddho . . . (= I.37,5) . . . ūnapañcavasso hoti.  imehi kho . . . na anissitena vatthabbaṃ.  chahi . . . anissitena vatthabbaṃ: saddho . . . (= I.37,6) . . . pañcavasso vā hoti atirekapañcavasso vā.  imehi kho . . . anissitena vatthabbaṃ. |11| 
       
องค์ ๖ แห่งภิกษุผู้ต้องถือนิสสัย // ดูกรภิกษุทั้งหลาย ภิกษุผู้ประกอบด้วยองค์ ๖ แม้อื่นอีก จะไม่ถือนิสสัยอยู่ไม่ได้ คือ ๑. เป็นผู้ไม่มีศรัทธา ๒. เป็นผู้ไม่มีหิริ ๓. เป็นผู้ไม่มีโอตตัปปะ ๔. เป็นผู้เกียจคร้าน ๕. เป็นผู้มีสติฟั่นเฟือน และ ๖. มีพรรษาหย่อน ๕  ดูกรภิกษุทั้งหลาย ภิกษุผู้ประกอบด้วยองค์ ๖ นี้แล จะไม่ถือนิสสัยอยู่ไม่ได้.  องค์ ๖ แห่งภิกษุผู้ไม่ต้องถือนิสสัย // ดูกรภิกษุทั้งหลาย ภิกษุผู้ประกอบด้วยองค์ ๖ ไม่ต้องถือนิสสัยอยู่ คือ ๑. เป็นผู้มีศรัทธา ๒. เป็นผู้มีหิริ ๓. เป็นผู้มีโอตตัปปะ ๔. เป็นผู้ปรารภความเพียร ๕. เป็นผู้มีสติตั้งมั่น และ ๖. มีพรรษาได้ ๕ หรือมีพรรษาเกิน ๕  ดูกรภิกษุทั้งหลาย ภิกษุผู้ประกอบด้วยองค์ ๖ นี้แล ไม่ต้องถือนิสสัยอยู่. 
อถ โข ภควา อายสฺมนฺตํ อานนฺทํ อามนฺเตสิ “คจฺฉานนฺท อวาปุรณํ อาทาย อนุปริเวณิยํ ภิกฺขูนํ อาโรเจหิ “อิจฺฉตาวุโส ภควา ทกฺขิณาคิรึ จาริกํ ปกฺกมิตุํ.  ยสฺสายสฺมโต อตฺโถ โส อาคจฺฉตู”ติ.  เอวํ ภนฺเต ติ โข อายสฺมา อานนฺโท ภควโต ปฏิสฺสุณิตฺวา อวาปุรณํ อาทาย อนุปริเวณิยํ ภิกฺขูนํ อาโรเจสิ ‘อิจฺฉตาวุโส ภควา ทกฺขิณาคิรึ จาริกํ ปกฺกมิตุํ.  ยสฺสายสฺมโต อตฺโถ โส อาคจฺฉตู”’ติ. 
aparehi pi . . . na anissitena vatthabbaṃ: adhisīle . . . (= I.37,7) . . . ūnapañcavasso hoti.  imehi kho . . . na anissitena vatthabbaṃ.  chahi . . . anissitena vatthabbaṃ: na adhisīle . . . (= I.37,8) . . . pañcavasso vā hoti atirekapañcavasso vā.  imehi kho . . . anissitena vatthabbaṃ. |12| 
       
องค์ ๖ แห่งภิกษุผู้ต้องถือนิสสัย // ดูกรภิกษุทั้งหลาย ภิกษุผู้ประกอบด้วยองค์ ๖ แม้อื่นอีก จะไม่ถือนิสสัยอยู่ไม่ได้ คือ ๑. เป็นผู้วิบัติด้วยศีล ในอธิศีล ๒. เป็นผู้วิบัติด้วยอาจาระ ในอัธยาจาร ๓. เป็นผู้วิบัติด้วยทิฏฐิ ในทิฏฐิยิ่ง ๔. เป็นผู้ได้ยินได้ฟังน้อย ๕. เป็นผู้มีปัญญาทราม และ ๖. มีพรรษาหย่อน ๕  ดูกรภิกษุทั้งหลาย ภิกษุผู้ประกอบด้วยองค์ ๖ นี้แล จะไม่ถือนิสสัยอยู่ไม่ได้.  องค์ ๖ แห่งภิกษุผู้ไม่ต้องถือนิสสัย // ดูกรภิกษุทั้งหลาย ภิกษุผู้ประกอบด้วยองค์ ๖ ไม่ต้องถือนิสสัยอยู่ คือ ๑. เป็นผู้ไปไม่วิบัติด้วยศีล ในอธิศีล ๒. เป็นผู้ไม่วิบัติด้วยอาจาระ ในอัธยาจาร ๓. เป็นผู้ไม่วิบัติด้วยทิฏฐิ ในทิฏฐิยิ่ง ๔. เป็นผู้ได้ยินได้ฟังมาก ๕. เป็นผู้มีปัญญา และ ๖. มีพรรษาได้ ๕ หรือมีพรรษาเกิน ๕  ดูกรภิกษุทั้งหลาย ภิกษุผู้ประกอบด้วยองค์ ๖ นี้แล ไม่ต้องถือนิสสัยอยู่. 
ภิกฺขู เอวมาหํสุ “ภควตา อาวุโส อานนฺท ปญฺญตฺตํ ทสวสฺสานิ นิสฺสาย วตฺถุํ ทสวสฺเสน นิสฺสยํ ทาตุํ.  ตตฺถ จ โน คนฺตพฺพํ ภวิสฺสติ นิสฺสโย จ คเหตพฺโพ ภวิสฺสติ อิตฺตโร จ วาโส ภวิสฺสติ ปุน จ ปจฺจาคนฺตพฺพํ ภวิสฺสติ ปุน จ นิสฺสโย คเหตพฺโพ ภวิสฺสติ.  สเจ อมฺหากํ อาจริยุปชฺฌายา คมิสฺสนฺติ มยมฺปิ คมิสฺสาม โน เจ อมฺหากํ อาจริยุปชฺฌายา คมิสฺสนฺติ มยมฺปิ น คมิสฺสาม.  ลหุจิตฺตกตา โน อาวุโส อานนฺท ปญฺญายิสฺสตี”ติ. 
aparehi pi . . . na anissitena vatthabbaṃ: āpattiṃ . . . (= I.37,13) . . . ūnapañcavasso hoti.  imehi kho . . . na anissitena vatthabbaṃ.  chahi . . . anissitena vatthabbaṃ: āpattiṃ . . . (= I.37,14) . . . pañcavasso vā hoti atirekapañcavasso vā.  imehi kho . . . anissitena vatthabban ti. |13| 
       
องค์ ๖ แห่งภิกษุผู้ต้องถือนิสสัย // ดูกรภิกษุทั้งหลาย ภิกษุผู้ประกอบด้วยองค์ ๖ แม้อื่นอีก จะไม่ถือนิสสัยอยู่ไม่ได้ คือ ๑. ไม่รู้จักอาบัติ ๒. ไม่รู้จักอนาบัติ ๓. ไม่รู้จักอาบัติเบา ๔. ไม่รู้จักอาบัติหนัก ๕. เธอจำปาติโมกข์ทั้งสองไม่ได้ดีโดยพิสดาร จำแนกไม่ได้ด้วยดี ไม่คล่องแคล่วดี วินิจฉัยไม่เรียบร้อยโดยสุตตะ โดยอนุพยัญชนะ และ ๖. มีพรรษาหย่อน ๕  ดูกรภิกษุทั้งหลาย ภิกษุผู้ประกอบด้วยองค์ ๖ นี้แล จะไม่ถือนิสสัยอยู่ไม่ได้.  องค์ ๖ แห่งภิกษุผู้ไม่ต้องถือนิสสัย // ดูกรภิกษุทั้งหลาย ภิกษุผู้ประกอบด้วยองค์ ๖ ไม่ต้องถือนิสสัยอยู่ คือ ๑. รู้จักอาบัติ ๒. รู้จักอนาบัติ ๓. รู้จักอาบัติเบา ๔. รู้จักอาบัติหนัก ๕. เธอจำปาติโมกข์ทั้งสองได้ดีโดยพิสดาร จำแนกดี คล่องแคล่วดี วินิจฉัยเรียบร้อยโดยสุตตะ โดยอนุพยัญชนะ และ ๖. มีพรรษาได้ ๕ หรือมีพรรษาเกิน ๕  ดูกรภิกษุทั้งหลาย ภิกษุผู้ประกอบด้วยองค์ ๖ นี้แล ไม่ต้องถือนิสสัยอยู่. 
อถ โข ภควา โอคเณน ภิกฺขุสงฺเฆน ทกฺขิณาคิรึ จาริกํ ปกฺกามิ. อาหุนฺทริกวตฺถุ นิฏฺฐิตํ.  (๔๐. นิสฺสยมุจฺจนกกถา) ๑๐๓. อถ โข ภควา ทกฺขิณาคิริสฺมึ ยถาภิรนฺตํ วิหริตฺวา ปุนเทว ราชคหํ ปจฺจาคจฺฉิ.  อถ โข ภควา อายสฺมนฺตํ อานนฺทํ อามนฺเตสิ “กึ นุ โข อานนฺท ตถาคโต โอคเณน ภิกฺขุสงฺเฆน ทกฺขิณาคิรึ จาริกํ ปกฺกนฺโต”ติ?  อถ โข อายสฺมา อานนฺโท ภควโต เอตมตฺถํ อาโรเจสิ. 
||53|| 
 
เรื่องถือนิสสัย จบ 
อถ โข ภควา เอตสฺมึ นิทาเน เอตสฺมึ ปกรเณ ธมฺมึ กถํ กตฺวา ภิกฺขู อามนฺเตสิ “อนุชานามิ ภิกฺขเว พฺยตฺเตน ภิกฺขุนา ปฏิพเลน ปญฺจวสฺสานิ นิสฺสาย วตฺถุํ อพฺยตฺเตน ยาวชีวํ. 
abhayūvarabhāṇavāraṃ niṭṭhitaṃ. 
อภยูวรภาณวาร จบ. 
“ปญฺจหิ ภิกฺขเว องฺเคหิ สมนฺนาคเตน ภิกฺขุนา น อนิสฺสิเตน วตฺถพฺพํ. น อเสกฺเขน สีลกฺขนฺเธน สมนฺนาคโต โหติ น อเสกฺเขน สมาธิกฺขนฺเธน น อเสกฺเขน ปญฺญากฺขนฺเธน น อเสกฺเขน วิมุตฺติกฺขนฺเธน น อเสกฺเขน วิมุตฺติญาณทสฺสนกฺขนฺเธน สมนฺนาคโต โหติ อิเมหิ โข ภิกฺขเว ปญฺจหงฺเคหิ สมนฺนาคเตน ภิกฺขุนา น อนิสฺสิเตน วตฺถพฺพํ. 
(82) atha kho bhagavā Rājagahe yathābhirantaṃ viharitvā yena Kapilavatthu tena cārikaṃ pakkāmi.  anupubbena cārikaṃ caramāno yena Kapilavatthu tad avasari.  tatra sudaṃ bhagavā Sakkesu viharati Kapilavatthusmiṃ Nigrodhārāme.  atha kho bhagavā pubbaṇhasamayaṃ nivāsetvā pattacīvaraṃ ādāya yena Suddhodanassa Sakkassa nivesanaṃ ten’ upasaṃkami, upasaṃkamitvā paññatte āsane nisīdi.  atha kho Rāhulamātā devī Rāhulakumāraṃ etad avoca: eso te Rāhula pitā, gacchassu dāyajjaṃ yācāhīti. |1| 
End of the eighth Bhânavâra, which is called the Abhayûvara Bhânavâra.  Then the Blessed One, after having resided at Râgagaha as long as he thought fit, went forth to Kapilavatthu.  Wandering from place to place he came to Kapilavatthu.  There the Blessed One dwelt in the Sakka country, near Kapilavatthu, in the Nigrodhârâma (Banyan Grove).  And in the forenoon the Blessed One, having put on his under-robes, took his alms-bowl and with his kîvara on went to the residence of the Sakka Suddhodana (his father). Having gone there, he sat down on a seat laid out for him. 
ทายัชชภาณวาร (พระราหุลกุมารทรงผนวชเป็นสามเณร) [๑๑๘] ครั้งนั้น พระผู้มีพระภาคประทับอยู่ในพระนครราชคฤห์ ตามพระพุทธาภิรมย์แล้ว เสด็จจาริกไปทางพระนครกบิลพัสดุ์  เสด็จเที่ยวจาริกโดยลำดับถึงพระนครกบิลพัสดุ์ แล้ว.  ทราบว่า พระองค์ประทับอยู่ ณ นิโครธาราม เขตพระนครกบิลพัสดุ์ สักกชนบทนั้น.  ครั้นเวลาเช้า พระผู้มีพระภาคทรงอันตรวาสกแล้ว ทรงถือบาตรจีวร เสด็จพระพุทธดำเนินไปสู่พระราชนิเวศน์ของพระเจ้าสุทโธทนศากยะ ครั้นแล้วประทับนั่งเหนือพระพุทธอาสน์ที่เขาปูลาดถวาย.  ครั้งนั้นพระเทวีราหุลมารดา ได้มีพระเสาวนีแก่ราหุลกุมารว่า ดูกรราหุล พระสมณะนั้นเป็นบิดาของเจ้า เจ้าจงไปทูลขอทรัพย์มรดกต่อพระองค์ 
“ปญฺจหิ ภิกฺขเว องฺเคหิ สมนฺนาคเตน ภิกฺขุนา อนิสฺสิเตน วตฺถพฺพํ. อเสกฺเขน สีลกฺขนฺเธน สมนฺนาคโต โหติ อเสกฺเขน สมาธิกฺขนฺเธน. อเสกฺเขน ปญฺญากฺขนฺเธน… อเสกฺเขน วิมุตฺติกฺขนฺเธน… อเสกฺเขน วิมุตฺติญาณทสฺสนกฺขนฺเธน สมนฺนาคโต โหติ อิเมหิ โข ภิกฺขเว ปญฺจหงฺเคหิ สมนฺนาคเตน ภิกฺขุนา อนิสฺสิเตน วตฺถพฺพํ.  “อปเรหิปิ ภิกฺขเว ปญฺจหงฺเคหิ สมนฺนาคเตน ภิกฺขุนา น อนิสฺสิเตน วตฺถพฺพํ. อสฺสทฺโธ โหติ อหิริโก โหติ อโนตฺตปฺปี โหติ กุสีโต โหติ มุฏฺฐสฺสติ โหติ  อิเมหิ โข ภิกฺขเว ปญฺจหงฺเคหิ สมนฺนาคเตน ภิกฺขุนา น อนิสฺสิเตน วตฺถพฺพํ.  “ปญฺจหิ ภิกฺขเว องฺเคหิ สมนฺนาคเตน ภิกฺขุนา อนิสฺสิเตน วตฺถพฺพํ. สทฺโธ โหติ หิริมา โหติ โอตฺตปฺปี โหติ อารทฺธวีริโย โหติ อุปฏฺฐิตสฺสติ โหติ  อิเมหิ โข ภิกฺขเว ปญฺจหงฺเคหิ สมนฺนาคเตน ภิกฺขุนา อนิสฺสิเตน วตฺถพฺพํ. 
atha kho Rāhulo kumāro yena bhagavā ten’ upasaṃkami, upasaṃkamitvā bhagavato purato aṭṭhāsi sukhā te samaṇa chāyā ’ti.  atha kho bhagavā uṭṭhāyāsanā pakkāmi.  atha kho Rāhulo kumāro bhagavantaṃ piṭṭhito-piṭṭhito anubandhi dāyajjaṃ me samaṇa dehi, dāyajjaṃ me samaṇa dehīti.  atha kho bhagavā āyasmantaṃ Sāriputtaṃ āmantesi: tena hi tvaṃ Sāriputta Rāhulakumāraṃ pabbājehīti.  kathāhaṃ bhante Rāhulakumāraṃ pabbājemīti. |2| 
Then the princess, who was the mother of Râhula, said to young Râhula: 'This is your father, Râhula; go and ask him for your inheritance.'  Then young Râhula went to the place where the Blessed One was; having approached him, he stationed himself before the Blessed One (and said): 'Your shadow, Samana, is a place of bliss.'  Then the Blessed One rose from his seat and went away,  and young Râhula followed the Blessed One from behind and said: 'Give me my inheritance, Samana; give me my inheritance, Samana.'  Then the Blessed One said to the venerable Sâriputta: 'Well, Sâriputta, confer the pabbaggâ. ordination on young Râhula.' 
จึงราหุลกุมารเข้าไปเฝ้าพระผู้มีพระภาค ครั้นถึงแล้วได้ประทับยืนเบื้องพระพักตร์พระผู้มีพระภาค พลางกราบทูลว่า ข้าแต่พระสมณะพระฉายาของพระองค์เป็นสุข.  ทันใดนั้น พระผู้มีพระภาคเสด็จอุฏฐาการจากพระพุทธอาสน์แล้วกลับไป  จึงราหุลกุมารได้ตามเสด็จพระผู้มีพระภาคไปเบื้องหลังๆ พลางทูลขอว่า ข้าแต่พระสมณะ ขอได้โปรดประทานทรัพย์มรดกแก่หม่อมฉัน ข้าแต่พระสมณะ ขอได้โปรดประทานทรัพย์มรดกแก่หม่อมฉัน.  ลำดับนั้น พระผู้มีพระภาคตรัสเรียกท่านพระสารีบุตรมารับสั่งว่า ดูกรสารีบุตร ถ้าเช่นนั้นเธอจงให้ราหุลกุมารบวช.  ท่านพระสารีบุตรทูลถามว่า ข้าพระพุทธเจ้าจะให้ราหุลกุมารทรงผนวชอย่างไร พระพุทธเจ้าข้า? 
“อปเรหิปิ ภิกฺขเว ปญฺจหงฺเคหิ สมนฺนาคเตน ภิกฺขุนา น อนิสฺสิเตน วตฺถพฺพํ. อธิสีเล สีลวิปนฺโน โหติ อชฺฌาจาเร อาจารวิปนฺโน โหติ อติทิฏฺฐิยา ทิฏฺฐิวิปนฺโน โหติ อปฺปสฺสุโต โหติ ทุปฺปญฺโญ โหติ อิเมหิ โข ภิกฺขเว ปญฺจหงฺเคหิ สมนฺนาคเตน ภิกฺขุนา น อนิสฺสิเตน วตฺถพฺพํ.  “ปญฺจหิ ภิกฺขเว องฺเคหิ สมนฺนาคเตน ภิกฺขุนา อนิสฺสิเตน วตฺถพฺพํ. น อธิสีเล สีลวิปนฺโน โหติ น อชฺฌาจาเร อาจารวิปนฺโน โหติ น อติทิฏฺฐิยา ทิฏฺฐิวิปนฺโน โหติ พหุสฺสุโต โหติ ปญฺญวา โหติ อิเมหิ โข ภิกฺขเว ปญฺจหงฺเคหิ สมนฺนาคเตน ภิกฺขุนา อนิสฺสิเตน วตฺถพฺพํ.  “อปเรหิปิ ภิกฺขเว ปญฺจหงฺเคหิ สมนฺนาคเตน ภิกฺขุนา น อนิสฺสิเตน วตฺถพฺพํ. อาปตฺตึ น ชานาติ อนาปตฺตึ น ชานาติ ลหุกํ อาปตฺตึ น ชานาติ ครุกํ อาปตฺตึ น ชานาติ อุภยานิ โข ปนสฺส ปาติโมกฺขานิ วิตฺถาเรน น สฺวาคตานิ โหนฺติ น สุวิภตฺตานิ น สุปฺปวตฺตีนิ น สุวินิจฺฉิตานิ สุตฺตโส อนุพฺยญฺชนโส อิเมหิ โข ภิกฺขเว ปญฺจหงฺเคหิ สมนฺนาคเตน ภิกฺขุนา น อนิสฺสิเตน วตฺถพฺพํ.  “ปญฺจหิ ภิกฺขเว องฺเคหิ สมนฺนาคเตน ภิกฺขุนา อนิสฺสิเตน วตฺถพฺพํ. อาปตฺตึ ชานาติ อนาปตฺตึ ชานาติ ลหุกํ อาปตฺตึ ชานาติ ครุกํ อาปตฺตึ ชานาติ อุภยานิ โข ปนสฺส ปาติโมกฺขานิ วิตฺถาเรน สฺวาคตานิ โหนฺติ สุวิภตฺตานิ สุปฺปวตฺตีนิ สุวินิจฺฉิตานิ สุตฺตโส อนุพฺยญฺชนโส อิเมหิ โข ภิกฺขเว ปญฺจหงฺเคหิ สมนฺนาคเตน ภิกฺขุนา อนิสฺสิเตน วตฺถพฺพํ.  “อปเรหิปิ ภิกฺขเว ปญฺจหงฺเคหิ สมนฺนาคเตน ภิกฺขุนา น อนิสฺสิเตน วตฺถพฺพํ. อาปตฺตึ น ชานาติ อนาปตฺตึ น ชานาติ ลหุกํ อาปตฺตึ น ชานาติ ครุกํ อาปตฺตึ น ชานาติ อูนปญฺจวสฺโส โหติ อิเมหิ โข ภิกฺขเว ปญฺจหงฺเคหิ สมนฺนาคเตน ภิกฺขุนา น อนิสฺสิเตน วตฺถพฺพํ. “ปญฺจหิ ภิกฺขเว องฺเคหิ สมนฺนาคเตน ภิกฺขุนา อนิสฺสิเตน วตฺถพฺพํ. อาปตฺตึ ชานาติ อนาปตฺตึ ชานาติ ลหุกํ อาปตฺตึ ชานาติ ครุกํ อาปตฺตึ ชานาติ ปญฺจวสฺโส วา โหติ อติเรก ปญฺจวสฺโส วา 
atha kho bhagavā etasmiṃ nidāne etasmiṃ pakaraṇe dhammiṃ kathaṃ katvā bhikkhū āmantesi: anujānāmi bhikkhave tīhi saraṇagamanehi sāmaṇerapabbajjaṃ.  evañ ca pana bhikkhave pabbājetabbo: paṭhamaṃ kesamassuṃ ohārāpetvā kāsāyāni vatthāni acchādāpetvā ekaṃsaṃ uttarāsaṅgaṃ kārāpetvā bhikkhūnaṃ pāde vandāpetvā ukkuṭikaṃ  nisīdāpetvā añjaliṃ paggaṇhāpetvā evaṃ vadehīti vattabbo:  buddhaṃ saraṇaṃ gacchāmi, dhammaṃ saraṇaṃ gacchāmi, saṃghaṃ saraṇaṃ gacchāmi, dutiyam pi . . . tatiyam pi buddhaṃ saraṇaṃ gacchāmi, tatiyam pi dhammaṃ saraṇaṃ gacchāmi, tatiyam pi saṃghaṃ saraṇaṃ gacchāmīti.  anujānāmi bhikkhave imehi tīhi saraṇagamanehi sāmaṇerapabbajjan ti. |3| 
(Sâriputta replied): 'How shall I confer, Lord, the pabbaggâ ordination on young Râhula?'  In consequence of that and on this occasion the Blessed One, after having delivered a religious discourse, thus addressed the Bhikkhus: 'I prescribe, O Bhikkhus, the pabbaggâ ordination of novices by the threefold declaration of taking refuge.  'And you ought, O Bhikkhus, to confer the pabbaggâ ordination (on a novice) in this way: Let him first have his hair and beard cut off; let him put on yellow robes, adjust his upper robe so as to cover one shoulder, salute the feet of the Bhikkhus (with his head),  and sit down squatting; then let him raise his joined hands and tell him to say:  "I take my refuge in the Buddha, I take my refuge in the Dhamma, I take my refuge in the Samgha. And for the second time, &c. And for the third time, &c." 
ลำดับนั้น พระผู้มีพระภาคทรงทำธรรมีกถา ในเพราะเหตุเป็นเค้ามูลนั้น ในเพราะเหตุแรกเกิดนั้น แล้วรับสั่งกะภิกษุทั้งหลายว่า ดูกรภิกษุทั้งหลาย เราอนุญาตการบวชกุลบุตรเป็นสามเณรด้วยไตรสรณคมน์.  (วิธีให้บรรพชา) ดูกรภิกษุทั้งหลาย ก็แลภิกษุพึงให้กุลบุตรบวชอย่างนี้:- ชั้นต้น พึงให้โกนผมและหนวด แล้วให้ครองผ้าย้อมฝาด ให้ห่มผ้าเฉวียงบ่า ให้กราบเท้าภิกษุทั้งหลาย  ให้นั่งกระหย่ง ให้ประคองอัญชลี แล้วสั่งว่า จงว่าอย่างนี้ แล้วสอนให้ว่าสรณคมน์ดังนี้:-  (ไตรสรณคมน์) พุทฺธํ สรณํ คจฺฉามิ ข้าพเจ้าถึงพระพุทธเจ้า เป็นที่พึ่ง ธมฺมํ สรณํ คจฺฉามิ ข้าพเจ้าถึงพระธรรม เป็นที่พึ่ง สงฺฆํ สรณํ คจฺฉามิ ข้าพเจ้าถึงพระสงฆ์ เป็นที่พึ่ง ทุติยมฺปิ พุทฺธํ สรณํ คจฺฉามิ ข้าพเจ้าถึงพระพุทธเจ้า เป็นที่พึ่ง แม้ครั้งที่ ๒ ทุติยมฺปิ ธมฺมํ สรณํ คจฺฉามิ ข้าพเจ้าถึงพระธรรม เป็นที่พึ่ง แม้ครั้งที่ ๒ ทุติยมฺปิ สงฺฆํ สรณํ คจฺฉามิ ข้าพเจ้าถึงพระสงฆ์ เป็นที่พึ่ง แม้ครั้งที่ ๒ ตติยมฺปิ พุทฺธํ สรณํ คจฺฉามิ ข้าพเจ้าถึงพระพุทธเจ้า เป็นที่พึ่ง แม้ครั้งที่ ๓ ตติยมฺปิ ธมฺมํ สรณํ คจฺฉามิ ข้าพเจ้าถึงพระธรรม เป็นที่พึ่ง แม้ครั้งที่ ๓ ตติยมฺปิ สงฺฆํ สรณํ คจฺฉามิ ข้าพเจ้าถึงพระสงฆ์ เป็นที่พึ่ง แม้ครั้งที่ ๓  ดูกรภิกษุทั้งหลาย เราอนุญาตการบวชกุลบุตรเป็นสามเณรด้วยไตรสรณคมน์นี้. 
อิเมหิ โข ภิกฺขเว ปญฺจหงฺเคหิ สมนฺนาคเตน ภิกฺขุนา อนิสฺสิเตน วตฺถพฺพํ. (นิสฺสยมุจฺจนกกถา นิฏฺฐิตา. ปญฺจกทสวาโร นิฏฺฐิโต.)  ๑๐๔. “ฉหิ ภิกฺขเว องฺเคหิ สมนฺนาคเตน ภิกฺขุนา น อนิสฺสิเตน วตฺถพฺพํ. น อเสกฺเขน สีลกฺขนฺเธน สมนฺนาคโต โหติ น อเสกฺเขน สมาธิกฺขนฺเธน น อเสกฺเขน ปญฺญากฺขนฺเธน น อเสกฺเขน วิมุตฺติกฺขนฺเธน น อเสกฺเขน วิมุตฺติญาณทสฺสนกฺขนฺเธน สมนฺนาคโต โหติ อูนปญฺจวสฺโส โหติ  อิเมหิ โข ภิกฺขเว ฉหงฺเคหิ สมนฺนาคเตน ภิกฺขุนา น อนิสฺสิเตน วตฺถพฺพํ.  “ฉหิ ภิกฺขเว องฺเคหิ สมนฺนาคเตน ภิกฺขุนา อนิสฺสิเตน วตฺถพฺพํ. อเสกฺเขน สีลกฺขนฺเธน สมนฺนาคโต โหติ อเสกฺเขน สมาธิกฺขนฺเธน อเสกฺเขน ปญฺญากฺขนฺเธน อเสกฺเขน วิมุตฺติกฺขนฺเธน อเสกฺเขน วิมุตฺติญาณทสฺสนกฺขนฺเธน สมนฺนาคโต โหติ ปญฺจวสฺโส วา โหติ อติเรกปญฺจวสฺโส วา  อิเมหิ โข ภิกฺขเว ฉหงฺเคหิ สมนฺนาคเตน ภิกฺขุนา อนิสฺสิเตน วตฺถพฺพํ. 
atha kho āyasmā Sāriputto Rāhulakumāraṃ pabbājesi.  atha kho Suddhodano Sakko yena bhagavā ten’ upasaṃkami, upasaṃkamitvā bhagavantaṃ abhivādetvā ekamantaṃ nisīdi.  ekamantaṃ nisinno kho Suddhodano Sakko bhagavantaṃ etad avoca: ekāhaṃ bhante bhagavantaṃ varaṃ yācāmīti.  atikkantavarā kho Gotama tathāgatā ’ti.  yañ ca bhante kappati yañ ca anavajjan ti.  vadehi Gotamā ’ti. |4| 
'I prescribe, O Bhikkhus, the pabbaggâ ordination of novices by this threefold declaration of taking refuge.'  Thus the venerable Sâriputta conferred the pabbaggâ ordination on young Râhula.  Then the Sakka Suddhodana went to the place where the Blessed One was; having approached him and having respectfully saluted the Blessed One, he sat down near him.  Sitting near him the Sakka Suddhodana said to the Blessed One: 'Lord, I ask one boon of the Blessed One.'  (The Buddha replied): 'The perfect Ones, Gotama, are above granting boons (before they know what they are).'  (Suddhodana said): 'Lord, it is a proper and unobjectionable demand.' 
คราวนั้น ท่านพระสารีบุตร ให้ราหุลกุมารบรรพชาแล้ว.  (พระเจ้าสุทโธทนศากยะทูลขอพระพร) ต่อมา พระเจ้าสุทโธทนศากยะเข้าไปเฝ้าพระผู้มีพระภาค ครั้นถึงแล้วถวายบังคมพระผู้มีพระภาคแล้วประทับนั่ง ณ ที่ควรส่วนข้างหนึ่ง  ครั้นท้าวเธอประทับนั่ง ณ ที่ควรส่วนข้างหนึ่งแล้ว ได้กราบทูลขอพระพรต่อพระผู้มีพระภาคว่า หม่อมฉันขอประทานพรต่อพระผู้มีพระภาคสักอย่างหนึ่ง พระพุทธเจ้าข้า.  พระผู้มีพระภาคถวายพระพรว่า ดูกรพระองค์ผู้โคตมะ ตถาคตทั้งหลาย มีพรล่วงเลยเสียแล้ว  สุท. หม่อมฉันทูลขอพรที่สมควรและไม่มีโทษ พระพุทธเจ้าข้า.  ภ. พระองค์โปรดตรัสบอกพรนั้นเถิด โคตมะ. 
“อปเรหิปิ ภิกฺขเว ฉหงฺเคหิ สมนฺนาคเตน ภิกฺขุนา น อนิสฺสิเตน วตฺถพฺพํ. อสฺสทฺโธ โหติ อหิริโก โหติ อโนตฺตปฺปี โหติ กุสีโต โหติ มุฏฺฐสฺสติ โหติ อูนปญฺจวสฺโส โหติ  อิเมหิ โข ภิกฺขเว ฉหงฺเคหิ สมนฺนาคเตน ภิกฺขุนา น อนิสฺสิเตน วตฺถพฺพํ.  “ฉหิ ภิกฺขเว องฺเคหิ สมนฺนาคเตน ภิกฺขุนา อนิสฺสิเตน วตฺถพฺพํ. สทฺโธ โหติ หิริมา โหติ โอตฺตปฺปี โหติ อารทฺธวีริโย โหติ อุปฏฺฐิตสฺสติ โหติ ปญฺจวสฺโส วา โหติ อติเรกปญฺจวสฺโส วา  อิเมหิ โข ภิกฺขเว ฉหงฺเคหิ สมนฺนาคเตน ภิกฺขุนา อนิสฺสิเตน วตฺถพฺพํ.  “อปเรหิปิ ภิกฺขเว ฉหงฺเคหิ สมนฺนาคเตน ภิกฺขุนา น อนิสฺสิเตน วตฺถพฺพํ. อธิสีเล สีลวิปนฺโน โหติ อชฺฌาจาเร อาจารวิปนฺโน โหติ อติทิฏฺฐิยา ทิฏฺฐิวิปนฺโน โหติ อปฺปสฺสุโต โหติ ทุปฺปญฺโญ โหติ อูนปญฺจวสฺโส โหติ  อิเมหิ โข ภิกฺขเว ฉหงฺเคหิ สมนฺนาคเตน ภิกฺขุนา น อนิสฺสิเตน วตฺถพฺพํ. 
bhagavati me bhante pabbajite anappakaṃ dukkhaṃ ahosi, tathā Nande, adhimattaṃ Rāhule.  putta-(83)pemaṃ bhante chaviṃ chindati, chaviṃ chetvā cammaṃ chindati, cammaṃ chetvā maṃsaṃ chindati, maṃsaṃ chetvā nhāruṃ chindati, nhāruṃ chetvā aṭṭhiṃ chindati, aṭṭhiṃ chetvā aṭṭhimiñjaṃ āhacca tiṭṭhati.  sādhu bhante ayyā ananuññātaṃ mātāpitūhi puttaṃ na pabbājeyyun ti. |5| 
'Speak, Gotama.'  'Lord, when the Blessed One gave up the world, it was a great pain to me; so it was when Nanda did the same; my pain was excessive when Râhula too did so.  The love for a son, Lord, cuts into the skin; having cut into the skin, it cuts into the hide; having cut into the hide, it cuts into the flesh, . . . . the ligaments, . . . . the bones; having cut into the bones, it reaches the marrow and dwells in the marrow. 
สุท. เมื่อพระผู้มีพระภาคทรงผนวชแล้ว ความทุกข์ล้นพ้นได้บังเกิดแก่หม่อมฉัน เมื่อพ่อนันทะบวชก็เช่นเดียวกัน เมื่อพ่อราหุลบรรพชา ทุกข์ยิ่งมากล้น พระพุทธเจ้าข้า  ความรักบุตรย่อมตัดผิว ครั้นแล้ว ตัดหนัง ตัดเนื้อ ตัดเอ็น ตัดกระดูก แล้วตั้งอยู่จรดเยื่อในกระดูก  หม่อมฉันขอประทานพระวโรกาส พระคุณเจ้าทั้งหลาย ไม่พึงบวชบุตรที่บิดามารดายังมิได้อนุญาต พระพุทธเจ้าข้า. 
“ฉหิ ภิกฺขเว องฺเคหิ สมนฺนาคเตน ภิกฺขุนา อนิสฺสิเตน วตฺถพฺพํ. น อธิสีเล สีลวิปนฺโน โหติ น อชฺฌาจาเร อาจารวิปนฺโน โหติ น อติทิฏฺฐิยา ทิฏฺฐิวิปนฺโน โหติ พหุสฺสุโต โหติ ปญฺญวา โหติ ปญฺจวสฺโส วา โหติ อติเรกปญฺจวสฺโส วา  อิเมหิ โข ภิกฺขเว ฉหงฺเคหิ สมนฺนาคเตน ภิกฺขุนา อนิสฺสิเตน วตฺถพฺพํ.  “อปเรหิปิ ภิกฺขเว ฉหงฺเคหิ สมนฺนาคเตน ภิกฺขุนา น อนิสฺสิเตน วตฺถพฺพํ. อาปตฺตึ น ชานาติ อนาปตฺตึ น ชานาติ ลหุกํ อาปตฺตึ น ชานาติ ครุกํ อาปตฺตึ น ชานาติ อุภยานิ โข ปนสฺส ปาติโมกฺขานิ วิตฺถาเรน น สฺวาคตานิ โหนฺติ น สุวิภตฺตานิ น สุปฺปวตฺตีนิ น สุวินิจฺฉิตานิ สุตฺตโส อนุพฺยญฺชนโส อูนปญฺจวสฺโส โหติ 
atha kho bhagavā Suddhodanaṃ Sakkaṃ dhammiyā kathāya sandassesi samādapesi samuttejesi sampahaṃsesi.  atha kho Suddhodano Sakko bhagavatā dhammiyā kathāya sandassito samādapito samuttejito sampahaṃsito uṭṭhāyāsanā bhagavantaṃ abhivādetvā padakkhiṇaṃ katvā pakkāmi.  atha kho bhagavā etasmiṃ nidāne etasmiṃ pakaraṇe dhammiṃ kathaṃ katvā {bhikkhū} āmantesi: na bhikkhave ananuññāto mātāpitūhi putto pabbājetabbo.  yo pabbājeyya, āpatti dukkaṭassā ’ti. |6| 
Pray, Lord, let their reverences not confer the pabbaggâ ordination on a son without his father's and mother's permission.'  Then the Blessed One taught the Sakka Suddhodana (&c., see chap. 39. 7).    'Let no son, O Bhikkhus, receive the pabbaggâ ordination without his father's and mother's permission. 
ครั้งนั้น พระผู้มีพระภาคทรงชี้แจงให้พระเจ้าสุทโธทนศากยะทรงเห็นแจ้ง ทรงสมาทาน ทรงอาจหาญ ทรงร่าเริง ด้วยธรรมีกถา.  เมื่อพระเจ้าสุทโธทนศากยะ อันพระผู้มีพระภาคทรงชี้แจงให้เห็นแจ้ง สมาทาน อาจหาญ ร่าเริงด้วยธรรมีกถาแล้ว เสด็จลุกจากพระที่ ถวายบังคมพระผู้มีพระภาค ทรงทำประทักษิณแล้วเสด็จกลับ.  ลำดับนั้นพระผู้มีพระภาคทรงทำธรรมีกถา ในเพราะเหตุเป็นเค้ามูลนั้น ในเพราะเหตุแรกเกิดนั้น แล้วรับสั่งกะภิกษุทั้งหลายว่า ดูกรภิกษุทั้งหลาย บุตรที่มารดาบิดาไม่อนุญาต ภิกษุไม่พึงให้บวช  รูปใดให้บวช ต้องอาบัติทุกกฏ. 
อิเมหิ โข ภิกฺขเว ฉหงฺเคหิ สมนฺนาคเตน ภิกฺขุนา น อนิสฺสิเตน วตฺถพฺพํ.  “ฉหิ ภิกฺขเว องฺเคหิ สมนฺนาคเตน ภิกฺขุนา อนิสฺสิเตน วตฺถพฺพํ. อาปตฺตึ ชานาติ อนาปตฺตึ ชานาติ ลหุกํ อาปตฺตึ ชานาติ ครุกํ อาปตฺตึ ชานาติ อุภยานิ โข ปนสฺส ปาติโมกฺขานิ วิตฺถาเรน สฺวาคตานิ โหนฺติ สุวิภตฺตานิ สุปฺปวตฺตีนิ สุวินิจฺฉิตานิ สุตฺตโส อนุพฺยญฺชนโส ปญฺจวสฺโส วา โหติ อติเรกปญฺจวสฺโส วา  อิเมหิ โข ภิกฺขเว ฉหงฺเคหิ สมนฺนาคเตน ภิกฺขุนา อนิสฺสิเตน วตฺถพฺพ”นฺติ.   
||54|| 
He who confers the pabbaggâ ordination (on a son without that permission), is guilty of a dukkata offence.' 
 
atha kho bhagavā Kapilavatthusmiṃ yathābhirantaṃ viharitvā yena Sāvatthi tena cārikaṃ pakkāmi.  anupubbena cārikaṃ caramāno yena Sāvatthi tad avasari.  tatra sudaṃ bhagavā Sāvatthiyaṃ viharati Jetavane Anāthapiṇḍikassa ārāme.  tena kho pana samayena āyasmato Sāriputtassa upaṭṭhākakulaṃ āyasmato Sāriputtassa santike dārakaṃ pāhesi imaṃ dārakaṃ thero pabbājetū ’ti.  atha kho āyasmato Sāriputtassa etad ahosi: bhagavatā sikkhāpadaṃ paññattaṃ na ekena dve sāmaṇerā upaṭṭhāpetabbā ’ti, ayañ ca me Rāhulo sāmaṇero.  kathaṃ nu kho mayā paṭipajjitabban ti.  bhagavato etam atthaṃ ārocesi.  anujānāmi bhikkhave vyattena bhikkhunā paṭibalena ekena dve sāmaṇere upaṭṭhāpetuṃ, yāvatake vā pana ussahati ovadituṃ anusāsituṃ, tāvatake upaṭṭhāpetun ti. |1| 
Then the Blessed One, after having resided at Kapilavatthu as long as he thought fit, went forth to Sâvatthi.  Wandering from place to place he came to Sâvatthi.  There the Blessed One dwelt at Sâvatthi, in the Getavana, the Ârâma of Anâthapindika.  At that time a family who devoted themselves to the (especial) service of the venerable Sâriputta sent a boy to the venerable Sâriputta (with this message): 'Might the Thera confer the pabbaggâ ordination on this boy.'  Now the venerable Sâriputta thought: 'The Blessed One has established the rule that no one may ordain two novices, and I have already one novice, Râhula.  Now what am I to do?'  He told the thing to the Blessed One. 
ครั้งนั้น พระผู้มีพระภาคประทับอยู่ในพระนครกบิลพัสดุ์ ตามพระพุทธาภิรมย์แล้ว เสด็จจาริกไปทางพระนครสาวัตถี  เสด็จเที่ยวจาริกโดยลำดับ ถึงพระนครสาวัตถีแล้ว.  ทราบว่าพระองค์ประทับอยู่ในพระวิหารเชตวัน อารามของอนาถบิณฑิกคหบดี เขตพระนครสาวัตถีนั้น  เรื่องทรงอนุญาตให้ภิกษุผู้ฉลาดมีสามเณรมากรูปได้ [๑๑๙] ก็โดยสมัยนั้นแล ตระกูลอุปฐากของท่านพระสารีบุตร ส่งเด็กชายไปในสำนักท่านพระสารีบุตร ด้วยมอบหมายว่า ขอพระเถระโปรดบรรพชาเด็กคนนี้.  ทีนั้น ท่านพระสารีบุตรได้มีความดำริว่า พระผู้มีพระภาคทรงบัญญัติไม่ให้ภิกษุรูปเดียวรับสามเณร ๒ รูปไว้อุปัฏฐาก ก็เรามีสามเณรราหุลนี้อยู่แล้ว  ทีนี้เราจะปฏิบัติอย่างไร  ดังนี้ จึงกราบทูลเรื่องนั้นแด่พระผู้มีพระภาค.  พระผู้มีพระภาครับสั่งกะภิกษุทั้งหลายว่า ดูกรภิกษุทั้งหลาย เราอนุญาตให้ภิกษุผู้ฉลาด ผู้สามารถรูปเดียว รับสามเณรสองรูปไว้อุปัฏฐากได้ ก็หรือเธออาจจะโอวาท อนุศาสน์สามเณรมีจำนวนเท่าใดก็ให้รับไว้อุปัฏฐาก มีจำนวนเท่านั้น. 
อภยูวรภาณวาโร นิฏฺฐิโต อฏฺฐโม.  (อฏฺฐมภาณวาโร. ๔๑. ราหุลวตฺถุ) ๑๐๕. อถ โข ภควา ราชคเห ยถาภิรนฺตํ วิหริตฺวา เยน กปิลวตฺถุ เตน จาริกํ ปกฺกามิ.  อนุปุพฺเพน จาริกํ จรมาโน เยน กปิลวตฺถุ ตทวสริ.  ตตฺร สุทํ ภควา สกฺเกสุ วิหรติ กปิลวตฺถุสฺมึ นิคฺโรธาราเม.  อถ โข ภควา ปุพฺพณฺหสมยํ นิวาเสตฺวา ปตฺตจีวรมาทาย เยน สุทฺโธทนสฺส สกฺกสฺส นิเวสนํ เตนุปสงฺกมิ อุปสงฺกมิตฺวา ปญฺญตฺเต อาสเน นิสีทิ.  อถ โข ราหุลมาตา เทวี ราหุลํ กุมารํ เอตทโวจ “เอโส เต ราหุล ปิตา. คจฺฉสฺสุ ทายชฺชํ ยาจาหี”ติ.  อถ โข ราหุโล กุมาโร เยน ภควา เตนุปสงฺกมิ อุปสงฺกมิตฺวา ภควโต ปุรโต อฏฺฐาสิ “สุขา เต สมณ ฉายา”ติ.  อถ โข ภควา อุฏฺฐายาสนา ปกฺกามิ. 
||55|| 
'I allow, O Bhikkhus, a learned, competent Bhikkhu to ordain two novices, or to ordain as many novices as he is able to administer exhortation and instruction to.' 
อถ โข ราหุโล กุมาโร ภควนฺตํ ปิฏฺฐิโต ปิฏฺฐิโต อนุพนฺธิ “ทายชฺชํ เม สมณ เทหิ ทายชฺชํ เม สมณ เทหี”ติ. 
atha kho sāmaṇerānaṃ etad ahosi: kati nu kho amhākaṃ sikkhāpadāni, kattha ca amhehi sikkhitabban ti.  bhagavato etam atthaṃ ārocesuṃ.  anujānāmi bhikkhave sāmaṇerānaṃ dasa sikkhāpadāni, tesu ca sāmaṇerehi sikkhituṃ:  pāṇātipātā veramaṇī, adinnādānā veramaṇī, abrahmacariyā veramaṇī, musāvādā veramaṇī, surāmerayamajjapamādaṭṭhānā veramaṇī, vikālabhojanā veramaṇī, naccagītavāditavisūkadassanā veramaṇī, mālāgandhavilepanadhāraṇamaṇḍanavibhūsanaṭṭhānā (84) veramaṇī, uccāsayanamahāsayanā veramaṇī, jātarūparajatapaṭiggahaṇā veramaṇī.  anujānāmi {bhikkhave} sāmaṇerānaṃ imāni dasa sikkhāpadāni, imesu ca sāmaṇerehi sikkhitun ti. |1| 
Now the novices thought: 'How many precepts are there for us, and in what (precepts) are we to exercise ourselves?'  They told this thing to the Blessed One.  'I prescribe, O Bhikkhus, ten precepts for the novices, and the exercise of the novices in these (ten precepts),  viz. abstinence from destroying life; abstinence from stealing; abstinence from impurity; abstinence from lying; abstinence from arrack and strong drink and intoxicating liquors, which cause indifference (to religion); abstinence from eating at forbidden times; abstinence from dancing, singing, music, and seeing spectacles; abstinence from garlands, scents, unguents, ornaments, and finery; abstinence from (the use of) high or broad beds; abstinence from accepting gold or silver. 
สิกขาบทของสามเณร [๑๒๐] ครั้งนั้น สามเณรทั้งหลาย ได้มีความดำริว่า สิกขาบทของพวกเรามีเท่าไรหนอแล และพวกเราจะต้องศึกษาในอะไร.  ภิกษุทั้งหลายกราบทูลเรื่องนั้นแด่พระผู้มีพระภาค.  พระผู้มีพระภาครับสั่งกะภิกษุทั้งหลายว่า ดูกรภิกษุทั้งหลาย เราอนุญาตสิกขาบท ๑๐ แก่สามเณรทั้งหลาย และให้สามเณรทั้งหลายศึกษาในสิกขาบท ๑๐ นั้น คือ  ๑. เว้นจากการทำสัตว์ที่มีชีวิตให้ตกล่วงไป ๒. เว้นจากถือเอาพัสดุอันเจ้าของมิได้ให้ ๓. เว้นจากกรรมอันเป็นข้าศึกแก่พรหมจรรย์ ๔. เว้นจากการกล่าวเท็จ ๕. เว้นจากการดื่มน้ำเมา คือ สุราและเมรัย อันเป็นที่ตั้งแห่งความประมาท ๖. เว้นจากบริโภคอาหารในเวลาวิกาล ๗. เว้นจากฟ้อนรำ ขับร้อง ประโคมดนตรี และดูการเล่นที่เป็นข้าศึก ๘. เว้นจากการทัดทรงตกแต่งด้วยดอกไม้ของหอม และเครื่องลูบไล้อันเป็นฐานแห่งการแต่งตัว ๙. เว้นจากที่นั่งและที่นอนอันสูงและใหญ่ ๑๐. เว้นจากการรับทองและเงิน  ดูกรภิกษุทั้งหลาย เราอนุญาตสิกขาบท ๑๐ นี้ แก่สามเณรทั้งหลาย และให้สามเณรทั้งหลายศึกษาในสิกขาบท ๑๐ นี้. 
อถ โข ภควา อายสฺมนฺตํ สาริปุตฺตํ อามนฺเตสิ “เตน หิ ตฺวํ สาริปุตฺต ราหุลํ กุมารํ ปพฺพาเชหี”ติ.  “กถาหํ ภนฺเต ราหุลํ กุมารํ ปพฺพาเชมี”ติ?  อถ โข ภควา เอตสฺมึ นิทาเน เอตสฺมึ ปกรเณ ธมฺมึ กถํ กตฺวา ภิกฺขู อามนฺเตสิ “อนุชานามิ ภิกฺขเว ตีหิ สรณคมเนหิ สามเณรปพฺพชฺชํ.  เอวญฺจ ปน ภิกฺขเว ปพฺพาเชตพฺโพ ปฐมํ เกสมสฺสุํ โอหาราเปตฺวา กาสายานิ วตฺถานิ อจฺฉาทาเปตฺวา เอกํสํ อุตฺตราสงฺคํ การาเปตฺวา ภิกฺขูนํ ปาเท วนฺทาเปตฺวา อุกฺกุฏิกํ  นิสีทาเปตฺวา อญฺชลึ ปคฺคณฺหาเปตฺวา เอวํ วเทหีติ วตฺตพฺโพ 
||56|| 
I prescribe, O Bhikkhus, these ten precepts for the novices, and the exercise of the novices in these (ten precepts).' 
พุทฺธํ สรณํ คจฺฉามิ ธมฺมํ สรณํ คจฺฉามิ สงฺฆํ สรณํ คจฺฉามิ ทุติยมฺปิ พุทฺธํ สรณํ คจฺฉามิ ทุติยมฺปิ ธมฺมํ สรณํ คจฺฉามิ ทุติยมฺปิ สงฺฆํ สรณํ คจฺฉามิ ตติยมฺปิ พุทฺธํ สรณํ คจฺฉามิ ตติยมฺปิ ธมฺมํ สรณํ คจฺฉามิ ตติยมฺปิ สงฺฆํ สรณํ คจฺฉามีติ. 
tena kho pana samayena sāmaṇerā bhikkhūsu agāravā appatissā asabhāgavuttino viharanti.  bhikkhū ujjhāyanti khīyanti vipācenti: kathaṃ hi nāma sāmaṇerā bhikkhūsu agāravā appatissā asabhāgavuttino viharissantīti.  bhagavato etam atthaṃ ārocesuṃ.  anujānāmi bhikkhave pañcah’ aṅgehi samannāgatassa sāmaṇerassa daṇḍakammaṃ kātuṃ:  bhikkhūnaṃ alābhāya parisakkati, bhikkhūnaṃ anatthāya parisakkati, bhikkhūnaṃ avāsāya parisakkati, bhikkhū akkosati paribhāsati, bhikkhū bhikkhūhi bhedeti.  anujānāmi bhikkhave imehi pañcah’ aṅgehi samannāgatassa sāmaṇerassa daṇḍakammaṃ kātun ti. |1| 
At that time novices did not show reverence and confidence towards the Bhikkhus, and did not live in harmony with them.  The Bhikkhus were annoyed, murmured, and became angry: 'How can the novices not show reverence and confidence towards the Bhikkhus, and not live in harmony with them?'  They told this thing to the Blessed One.  'I prescribe, O Bhikkhus, that you inflict punishment upon a novice in five cases:  When he is intent on the Bhikkhus' receiving no alms; when he is intent on the Bhikkhus' meeting with misfortune; when he is intent on the Bhikkhus' finding no residence; when he abuses and reviles the Bhikkhus; when he causes divisions between Bhikkhus and Bhikkhus. 
เรื่องลงทัณฑกรรมแก่สามเณร [๑๒๑] ก็โดยสมัยนั้นแล พวกสามเณรไม่มีความเคารพ ไม่มีความยำเกรง มีความประพฤติไม่เหมาะสม ในภิกษุทั้งหลายอยู่.  ภิกษุทั้งหลายจึงเพ่งโทษ ติเตียน โพนทะนาว่า ไฉนพวกสามเณรจึงได้ไม่มีความเคารพ ไม่มีความยำเกรง มีความประพฤติไม่เหมาะสมในภิกษุทั้งหลายอยู่เล่า  แล้วกราบทูลเรื่องนั้นแด่พระผู้มีพระภาค.  พระผู้มีพระภาครับสั่งกะภิกษุทั้งหลายว่า ดูกรภิกษุทั้งหลาย เราอนุญาตให้ลงทัณฑกรรมแก่สามเณรผู้ประกอบด้วยองค์ ๕ คือ  ๑. พยายามเพื่อความเสื่อมลาภแห่งภิกษุทั้งหลาย ๒. พยายามเพื่อความพินาศแห่งภิกษุทั้งหลาย ๓. พยายามเพื่อความอยู่ไม่ได้แห่งภิกษุทั้งหลาย ๔. ด่า บริภาษ ภิกษุทั้งหลาย ๕. ยุยงภิกษุต่อภิกษุให้แตกกัน  ดูกรภิกษุทั้งหลาย เราอนุญาตให้ลงทัณฑกรรมแก่สามเณรผู้ประกอบด้วยองค์ ๕ นี้แล. 
อนุชานามิ ภิกฺขเว อิเมหิ ตีหิ สรณคมเนหิ สามเณรปพฺพชฺช”นฺติ.  อถ โข อายสฺมา สาริปุตฺโต ราหุลํ กุมารํ ปพฺพาเชสิ.  อถ โข สุทฺโธทโน สกฺโก เยน ภควา เตนุปสงฺกมิ อุปสงฺกมิตฺวา ภควนฺตํอภิวาเทตฺวา เอกมนฺตํ นิสีทิ.  เอกมนฺตํ นิสินฺโน โข สุทฺโธทโน สกฺโก ภควนฺตํ เอตทโวจ “เอกาหํ ภนฺเต ภควนฺตํ วรํ ยาจามี”ติ.  “อติกฺกนฺตวรา โข โคตม ตถาคตา”ติ.  “ยญฺจ ภนฺเต กปฺปติ ยญฺจ อนวชฺช”นฺติ. 
atha kho bhikkhūnaṃ etad ahosi: kiṃ nu kho daṇḍakammaṃ kātabban ti.  bhagavato etam atthaṃ ārocesuṃ.  anujānāmi bhikkhave āvaraṇaṃ kātun ti.  tena kho pana samayena bhikkhū sāmaṇerānaṃ sabbaṃ saṃghārāmaṃ āvaraṇaṃ karonti.  sāmaṇerā ārāmaṃ pavisituṃ alabhamānā pakkamanti pi vibbhamanti pi titthiyesu pi saṃkamanti.  bhagavato etam atthaṃ ārocesuṃ.  na bhikkhave sabbo saṃghārāmo āvaraṇaṃ kātabbo.  yo kareyya, āpatti dukkaṭassa.  anujānāmi bhikkhave yattha vā vasati, yattha vā paṭikkamati, tattha āvaraṇaṃ kātun ti. |2| 
I prescribe, O Bhikkhus, that in these five cases you inflict punishment upon a novice.'  Now the Bhikkhus thought: 'What punishment are we to inflict?'  They told this thing to the Blessed One.  'I prescribe, O Bhikkhus, that you forbid them (certain places, for instance, their own residences).'  At that time Bhikkhus forbad novices the whole Samghârâma.  The novices, who were not admitted to the Samghârâma, went away, or retumed to the world, or went over to Titthiya schools.  They told this thing to the Blessed One.  'Let them not, O Bhikkhus, forbid (novices) the whole Samghârâma.  He who does so, commits a dukkata offence. 
ครั้งนั้น ภิกษุทั้งหลายได้มีความดำริว่า จะพึงลงทัณฑกรรมอย่างไรหนอแล  แล้วกราบทูลเรื่องนั้นแด่พระผู้มีพระภาค  พระผู้มีพระภาครับสั่งกะภิกษุทั้งหลายว่า ดูกรภิกษุทั้งหลายเราอนุญาตให้ลงทัณฑกรรม คือ ห้ามปราม.  ก็โดยสมัยนั้นแล ภิกษุทั้งหลายลงทัณฑกรรมคือห้ามสังฆารามทุกแห่งแก่พวกสามเณร.  สามเณรเข้าอารามไม่ได้ จึงหลีกไปเสียบ้าง สึกเสียบ้าง ไปเข้ารีดเดียรถีย์บ้าง.  ภิกษุทั้งหลายกราบทูลเรื่องนั้นแด่พระผู้มีพระภาค.  พระผู้มีพระภาครับสั่งกะภิกษุทั้งหลายว่า ดูกรภิกษุทั้งหลาย ภิกษุไม่พึงลงทัณฑกรรม คือห้ามสังฆารามทุกแห่ง  รูปใดลงต้องอาบัติทุกกฏ  ดูกรภิกษุทั้งหลาย เราอนุญาตให้ลงทัณฑกรรม คือ ห้ามเฉพาะสถานที่ที่สามเณรจะอยู่หรือจะเข้าไปได้. 
“วเทหิ โคตมา”ติ.  “ภควติ เม ภนฺเต ปพฺพชิเต อนปฺปกํ ทุกฺขํ อโหสิ ตถา นนฺเท อธิมตฺตํ ราหุเล.  ปุตฺตเปมํ ภนฺเต ฉวึ ฉินฺทติ ฉวึ เฉตฺวา จมฺมํ ฉินฺทติ จมฺมํ เฉตฺวา มํสํ ฉินฺทติ มํสํ เฉตฺวา นฺหารุํ ฉินฺทติ นฺหารุํ เฉตฺวา อฏฺฐึ ฉินฺทติ อฏฺฐึ เฉตฺวา อฏฺฐิมิญฺชํ อาหจฺจ ติฏฺฐติ.  สาธุ ภนฺเต อยฺยา อนนุญฺญาตํ มาตาปิตูหิ ปุตฺตํ น ปพฺพาเชยฺยุ”นฺติ.  อถ โข ภควา สุทฺโธทนํ สกฺกํ ธมฺมิยา กถาย สนฺทสฺเสสิ สมาทเปสิ สมุตฺเตเชสิ สมฺปหํเสสิ.  อถ โข สุทฺโธทโน สกฺโก ภควตา ธมฺมิยา กถาย สนฺทสฺสิโต สมาทปิโต สมุตฺเตชิโต สมฺปหํสิโต อุฏฺฐายาสนา ภควนฺตํ อภิวาเทตฺวา ปทกฺขิณํ กตฺวา ปกฺกามิ.  อถ โข ภควา เอตสฺมึ นิทาเน เอตสฺมึ ปกรเณ ธมฺมึ กถํ กตฺวา ภิกฺขู อามนฺเตสิ “น ภิกฺขเว อนนุญฺญาโต มาตาปิตูหิ ปุตฺโต ปพฺพาเชตพฺโพ.  โย ปพฺพาเชยฺย อาปตฺติ ทุกฺกฏสฺสา”ติ.   
tena kho pana samayena bhikkhū sāmaṇerānaṃ mukhadvārakaṃ āhāraṃ āvaraṇaṃ karonti.  manussā yāgupānam pi saṃghabhattam pi karontā sāmaṇere evaṃ vadanti:  etha bhante yāguṃ pivatha, etha bhante bhattaṃ bhuñjathā ’ti.  sāmaṇerā evaṃ vadanti: nāvuso labbhā, bhikkhūhi āvaraṇaṃ katan ti.  manussā ujjhāyanti khīyanti vipācenti.  kathaṃ hi nāma bhaddantā sāmaṇerānaṃ mukhadvārakaṃ āhāraṃ āvaraṇaṃ karissantīti.  bhagavato etam atthaṃ arocesuṃ.  na bhikkhave mukhadvārako āhāro āvāraṇaṃ kātabbo.  yo kareyya, āpatti dukkaṭassā ’ti. |3| 
I prescribe, O Bhikkhus, that (the Bhikkhus) forbid (a novice) the place where he lives or which he uses to frequent.'  At that time Bhikkhus forbad the novices the use of (certain kinds of) food that is taken with the mouth.  People, when they prepared rice-milk to drink or meals for the Samgha, said to the novices:  'Come, reverend Sirs, drink rice-milk; come, reverend Sirs, take food.'  The novices replied: 'It is impossible, friends; the Bhikkhus have issued a forewarning (against us).'  The people were annoyed, murmured, and became angry, thinking:  'How can their reverences forbid novices the use of all food that is taken with the mouth?'  They told this thing to the Blessed One.  'Let them not, O Bhikkhus, forbid (novices) food that is taken with the mouth. 
ก็โดยสมัยนั้นแล ภิกษุทั้งหลายลงทัณฑกรรมคือห้ามอาหารซึ่งจะกลืนเข้าไปทางช่องปากแก่พวกสามเณร.  คนทั้งหลายทำปานะคือยาคูบ้าง สังฆภัตรบ้าง จึงกล่าวนิมนต์พวกสามเณรอย่างนี้ว่า  นิมนต์ท่านทั้งหลายมาดื่มยาคู นิมนต์ท่านทั้งหลายมาฉันภัตตาหาร.  พวกสามเณรจึงกล่าวอย่างนี้ว่า อาวุโสทั้งหลาย พวกอาตมาทำอย่างนั้นไม่ได้ เพราะภิกษุทั้งหลายลงทัณฑกรรมคือห้ามไว้.  ประชาชนจึงเพ่งโทษ ติเตียน โพนทะนาว่า  ไฉนพระผู้เป็นเจ้าผู้เจริญทั้งหลาย จึงได้ห้ามอาหาร ซึ่งจะกลืนเข้าไปทางช่องปากแก่พวกสามเณรเล่า.  ภิกษุทั้งหลายกราบทูลเรื่องนั้นแด่พระผู้มีพระภาค.  พระผู้มีพระภาค รับสั่งกะภิกษุทั้งหลายว่า ดูกรภิกษุทั้งหลาย ภิกษุไม่พึงลงทัณฑกรรมคือห้ามอาหารที่จะกลืนเข้าไปทางช่องปาก  รูปใดลง ต้องอาบัติทุกกฏ. 
  อถ โข ภควา กปิลวตฺถุสฺมึ ยถาภิรนฺตํ วิหริตฺวา เยน สาวตฺถิ เตน จาริกํ ปกฺกามิ.  อนุปุพฺเพน จาริกํ จรมาโน เยน สาวตฺถิ ตทวสริ.  ตตฺร สุทํ ภควา สาวตฺถิยํ วิหรติ เชตวเน อนาถปิณฺฑิกสฺส อาราเม.  เตน โข ปน สมเยน อายสฺมโต สาริปุตฺตสฺส อุปฏฺฐากกุลํ อายสฺมโต สาริปุตฺตสฺส สนฺติเก ทารกํ ปาเหสิ “อิมํ ทารกํ เถโร ปพฺพาเชตู”ติ.  อถ โข อายสฺมโต สาริปุตฺตสฺส เอตทโหสิ “ภควตา ปญฺญตฺตํ ‘น เอเกน ทฺเว สามเณรา อุปฏฺฐาเปตพฺพา’ติ. อยญฺจ เม ราหุโล สามเณโร.  กถํ นุ โข มยา ปฏิปชฺชิตพฺพ”นฺติ?  ภควโต เอตมตฺถํ อาโรเจสิ.  อนุชานามิ ภิกฺขเว พฺยตฺเตน ภิกฺขุนา ปฏิพเลน เอเกน ทฺเว สามเณเร อุปฏฺฐาเปตุํ ยาวตเก วา ปน อุสฺสหติ โอวทิตุํ อนุสาสิตุํ ตาวตเก อุปฏฺฐาเปตุนฺติ. (ราหุลวตฺถุ นิฏฺฐิตํ.) 
daṇḍakammavatthuṃ niṭṭhitaṃ. ||57|| 
He who does so, commits a dukkata offence.' 
เรื่องลงทัณฑกรรมแก่สามเณร จบ. 
 
tena kho pana samayena chabbaggiyā bhikkhū upa-(85)jjhāye anāpucchā sāmaṇerānaṃ āvaraṇaṃ karonti.  upajjhāyā gavesanti kathaṃ nu kho amhākaṃ sāmaṇerā na dissantīti.  bhikkhū evam āhaṃsu: chabbaggiyehi āvuso bhikkhūhi āvaraṇaṃ katan ti.  upajjhāyā ujjhāyanti khīyanti vipācenti:  kathaṃ hi nāma chabbaggiyā bhikkhū amhe anāpucchā amhākaṃ sāmaṇerānaṃ āvaraṇaṃ karissantīti.  bhagavato etam atthaṃ ārocesuṃ.  na bhikkhave upajjhāye anāpucchā āvaraṇaṃ kātabbaṃ.  yo kareyya, āpatti dukkaṭassā ’ti. |1| 
End of the section about punishment (of novices).  At that time the Khabbaggiya Bhikkhus laid a ban upon novices without the consent of the upagghâyas (of those novices).  The upagghâyas searched after them, thinking: 'How is it that our novices have disappeared?'  The Bhikkhus said: 'The Khabbaggiya Bhikkhus, friends, have laid a ban upon them.'  The upagghâyas were annoyed, &c.:  'How can the Khabbaggiya Bhikkhus lay a ban upon our novices without having obtained our consent?'  They told this thing to the Blessed One.  'Let no one, O Bhikkh us, lay a ban (upon novices) without consent of the upagghâyas. 
เรื่องกักกันสามเณรต้องขออนุญาตก่อน [๑๒๒] ก็โดยสมัยนั้นแล พระฉัพพัคคีย์ไม่อาปุจฉาพระอุปัชฌาย์ก่อน แล้วทำการกักกันสามเณรทั้งหลายไว้.  พระอุปัชฌาย์ทั้งหลายเที่ยวตามหาด้วยนึกสงสัยว่า ทำไมหนอสามเณรของพวกเราจึงหายไป.  ภิกษุทั้งหลายได้แจ้งให้ทราบอย่างนี้ว่า อาวุโสทั้งหลาย พระฉัพพัคคีย์ได้กักกันไว้.  พระอุปัชฌาย์ทั้งหลาย จึงเพ่งโทษ ติเตียน โพนทะนาว่า  ไฉนพระฉัพพัคคีย์จึงไม่อาปุจฉาพวกเราก่อน แล้วทำการกักกันสามเณรของพวกเราเล่า  แล้วกราบทูลเรื่องนั้นแด่พระผู้มีพระภาค.  พระผู้มีพระภาครับสั่งกะภิกษุทั้งหลายว่า ดูกรภิกษุทั้งหลาย ภิกษุผู้ไม่อาปุจฉาอุปัชฌาย์ก่อนแล้ว ไม่พึงทำการกักกันสามเณรไว้  รูปใดทำ ต้องอาบัติทุกกฏ. 
  (๔๒. สิกฺขาปทกถา) ๑๐๖. อถ โข สามเณรานํ เอตทโหสิ “กติ นุ โข อมฺหากํ สิกฺขาปทานิ กตฺถ จ อมฺเหหิ สิกฺขิตพฺพ”นฺติ?  ภควโต เอตมตฺถํ อาโรเจสุํฯเปฯ  อนุชานามิ ภิกฺขเว สามเณรานํ ทส สิกฺขาปทานิ เตสุ จ สามเณเรหิ สิกฺขิตุํ  ปาณาติปาตา เวรมณี อทินฺนาทานา เวรมณี อพฺรหฺมจริยา เวรมณี มุสาวาทา เวรมณี สุราเมรยมชฺชปมาทฏฺฐานา เวรมณี วิกาลโภชนา เวรมณี นจฺจคีตวาทิตวิสูกทสฺสนา เวรมณี มาลาคนฺธวิเลปนธารณมณฺฑนวิภูสนฏฺฐานา เวรมณี อุจฺจาสยนมหาสยนา เวรมณี ชาตรูปรชตปฏิคฺคหณา เวรมณี.  อนุชานามิ ภิกฺขเว สามเณรานํ อิมานิ ทส สิกฺขาปทานิ อิเมสุ จ สามเณเรหิ สิกฺขิตุนฺติ. (สิกฺขาปทกถา นิฏฺฐิตา.)     
||58|| 
He who does, commits a dukkata offence.' 
(๔๓. ทณฺฑกมฺมวตฺถุ) ๑๐๗. เตน โข ปน สมเยน สามเณรา ภิกฺขูสุ อคารวา อปฺปติสฺสา อสภาควุตฺติกา วิหรนฺติ. 
tena kho pana samayena chabbagiyā bhikkhū therānaṃ bhikkhūnaṃ sāmaṇere apalāḷenti.  therā sāmaṃ dantakaṭṭham pi mukhodakam pi gaṇhantā kilamanti.  bhagavato etam atthaṃ ārocesuṃ.  na bhikkhave aññassa parisā apalāḷetabbā.  yo apalāḷeyya, āpatti dukkaṭassā ’ti. |1| 
At that time the Khabbaggiya Bhikkhus drew the novices of senior Bhikkhus over (to themselves).  The Theras, who were obliged to get themselves teeth-cleansers and water to rinse their mouths with, became tired.  They told this thing to the Blessed One.  'Let no one, O Bhikkhus, draw the followers of another Bhikkhu over to himself. 
เรื่องทรงห้ามเกลี้ยกล่อมสามเณร [๑๒๓] ก็โดยสมัยนั้นแล พระฉัพพัคคีย์พากันเกลี้ยกล่อมพวกสามเณรของพระเถระทั้งหลาย.  พระเถระทั้งหลายต้องหยิบไม้ชำระฟันบ้าง ตักน้ำล้างหน้าบ้าง ด้วยตนเอง ย่อมลำบาก  จึงกราบทูลเรื่องนั้นแด่พระผู้มีพระภาค.  พระผู้มีพระภาครับสั่งกะภิกษุทั้งหลายว่า ดูกรภิกษุทั้งหลาย บริษัทของภิกษุอื่น ภิกษุไม่พึงเกลี้ยกล่อม  รูปใดเกลี้ยกล่อม ต้องอาบัติทุกกฏ. 
ภิกฺขู อุชฺฌายนฺติ ขิยฺยนฺติ วิปาเจนฺติ “กถญฺหิ นาม สามเณรา ภิกฺขูสุ อคารวา อปฺปติสฺสา อสภาควุตฺติกา วิหริสฺสนฺตี”ติ.  ภควโต เอตมตฺถํ อาโรเจสุํฯเปฯ  อนุชานามิ ภิกฺขเว ปญฺจหงฺเคหิ สมนฺนาคตสฺส สามเณรสฺส ทณฺฑกมฺมํ กาตุํ.  ภิกฺขูนํ อลาภาย ปริสกฺกติ ภิกฺขูนํ อนตฺถาย ปริสกฺกติ ภิกฺขูนํ อวาสาย ปริสกฺกติ ภิกฺขู อกฺโกสติ ปริภาสติ ภิกฺขู ภิกฺขูหิ เภเทติ  อนุชานามิ ภิกฺขเว อิเมหิ ปญฺจหงฺเคหิ สมนฺนาคตสฺส สามเณรสฺส ทณฺฑกมฺมํ กาตุนฺติ. 
||59|| 
He who does, commits a dukkata offence.' 
อถ โข ภิกฺขูนํ เอตทโหสิ “กึ นุ โข ทณฺฑกมฺมํ กาตพฺพ”นฺติ? 
tena kho pana samayena āyasmato Upanandassa Sakyaputtassa Kaṇḍako nāma sāmaṇero Kaṇḍakaṃ nāma bhikkhuniṃ dūsesi.  bhikkhū ujjhāyanti khīyanti vipācenti: kathaṃ hi nāma sāmaṇero evarūpaṃ anācāraṃ ācarissatīti.  bhagavato etam atthaṃ ārocesuṃ.  anujānāmi bhikkhave dasah’ aṅgehi {samannāgataṃ} sāmaṇeraṃ nāsetuṃ:  pāṇātipātī hoti, adinnādāyī hoti, abrahmacārī hoti, musāvādī hoti, majjapāyī hoti, buddhassa avaṇṇaṃ bhāsati, dhammassa avaṇṇaṃ bhāsati, saṃghassa avaṇṇaṃ bhāsati, micchādiṭṭhiko hoti, bhikkhunīdūsako hoti.  anujānāmi bhikkhave imehi dasah’ aṅgehi samannāgataṃ sāmaṇeraṃ nāsetun ti. |1| 
At that time a novice, Kandaka by name, who was a follower of the venerable Upananda Sakyaputto, had sexual intercourse with a Bhikkhunî, Kandakâ by name.  The Bhikkhus were annoyed, &c.: 'How can a novice abandon himself to such conduct?'  They told this thing to the Blessed One.  'I prescribe, O Bhikkhus, that you expel a novice (from the fraternity) in the following ten cases:  When he destroys life; when he commits theft; when he commits impurity; when he is a liar; when he drinks strong drinks; when he speaks against the Buddha; when he speaks against the Dhamma; when he speaks against the Samgha; when he holds false doctrines; when he has sexual intercourse with Bhikkhunîs. 
องค์แห่งนาสนะ ๑๐ ของสามเณร [๑๒๔] ก็โดยสมัยนั้นแล สามเณรของท่านพระอุปนันทศากยบุตรชื่อ กัณฏกะ ได้ประทุษร้ายภิกษุณีกัณฏกี.  ภิกษุทั้งหลายจึงเพ่งโทษ ติเตียน โพนทะนาว่า ไฉนสามเณรจึงได้ประพฤติอนาจารเห็นปานนี้เล่า  แล้วกราบทูลเรื่องนั้นแด่พระผู้มีพระภาค.  พระผู้มีพระภาครับสั่งกะภิกษุทั้งหลายว่า ดูกรภิกษุทั้งหลาย เราอนุญาตให้นาสนะสามเณรผู้ประกอบด้วยองค์ ๑๐ คือ  ๑. ทำสัตว์ที่มีชีวิตให้ตกล่วงไป ๒. ถือเอาพัสดุอันเจ้าของมิได้ให้ ๓. ประพฤติกรรมอันเป็นข้าศึกแก่พรหมจรรย์ ๔. กล่าววาจาเท็จ ๕. ดื่มน้ำเมา ๖. กล่าวติพระพุทธเจ้า ๗. กล่าวติพระธรรม ๘. กล่าวติพระสงฆ์ ๙. มีความเห็นผิด ๑๐. ประทุษร้ายภิกษุณี  ดูกรภิกษุทั้งหลาย เราอนุญาตให้นาสนะสามเณรผู้ประกอบด้วยองค์ ๑๐ นี้. 
ภควโต เอตมตฺถํ อาโรเจสุํ.  อนุชานามิ ภิกฺขเว อาวรณํ กาตุนฺติ.  เตน โข ปน สมเยน ภิกฺขู สามเณรานํ สพฺพํ สงฺฆารามํ อาวรณํ กโรนฺติ.  สามเณรา อารามํ ปวิสิตุํ อลภมานา ปกฺกมนฺติปิ วิพฺภมนฺติปิ ติตฺถิเยสุปิ สงฺกมนฺติ.  ภควโต เอตมตฺถํ อาโรเจสุํ.  น ภิกฺขเว สพฺโพ สงฺฆาราโม อาวรณํ กาตพฺโพ. 
||60|| 
In these ten cases I prescribe, O Bhikkhus, that you expel the novice (from the fraternity).' 
โย กเรยฺย อาปตฺติ ทุกฺกฏสฺส. 
tena kho pana samayena aññataro paṇḍako bhikkhūsu pabbajito hoti, so dahare-dahare bhikkhū upasaṃkamitvā evaṃ vadeti: etha maṃ āyasmanto dūsethā ’ti.  bhikkhū apasādenti: nassa paṇḍaka, vinassa paṇḍaka, ko tayā attho ’ti.  so bhikkhūhi apasādito mahante-mahante moligalle sāmaṇere upasaṃkamitvā evaṃ vadeti: etha maṃ āvuso dūsethā ’ti.  sāmaṇerā apasādenti: nassa paṇḍaka, vinassa paṇḍaka, ko tayā attho ’ti.  so sāmaṇerehi apasādito hatthibhaṇḍe assabhaṇḍe upasaṃkamitvā evaṃ vadeti: etha maṃ (86) āvuso dūsethā ’ti.  hatthibhaṇḍā assabhaṇḍā dūsesuṃ. |1| 
At that time, &c.2         
เรื่องห้ามบัณเฑาะก์มิให้อุปสมบท [๑๒๕] ก็โดยสมัยนั้นแล บัณเฑาะก์คนหนึ่งบวชในสำนักภิกษุ. เธอเข้าไปหาภิกษุหนุ่มๆ แล้วพูดชวนอย่างนี้ว่า มาเถิดท่านทั้งหลาย จงประทุษร้ายข้าพเจ้า.  ภิกษุทั้งหลายพูดรุกรานว่า เจ้าบัณเฑาะก์จงฉิบหาย เจ้าบัณเฑาะก์จงพินาศ จะประโยชน์อะไรด้วยเจ้า.  เธอถูกพวกภิกษุพูดรุกราน จึงเข้าไปหาพวกสามเณรโค่งผู้มีร่างล่ำสัน แล้วพูดชวนอย่างนี้ว่า มาเถิดท่านทั้งหลาย จงประทุษร้ายข้าพเจ้า.  พวกสามเณรพูดรุกรานว่า เจ้าบัณเฑาะก์จงฉิบหาย เจ้าบัณเฑาะก์จงพินาศ จะประโยชน์อะไรด้วยเจ้า.  เธอถูกพวกสามเณรพูดรุกราน จึงเข้าไปหาพวกคนเลี้ยงช้าง คนเลี้ยงม้า แล้วพูดอย่างนี้ว่า มาเถิด ท่านทั้งหลาย จงประทุษร้ายข้าพเจ้า.  พวกคนเลี้ยงช้าง พวกคนเลี้ยงม้า ประทุษร้าย 
อนุชานามิ ภิกฺขเว ยตฺถ วา วสติ ยตฺถ วา ปฏิกฺกมติ ตตฺถ อาวรณํ กาตุนฺติ.  เตน โข ปน สมเยน ภิกฺขู สามเณรานํ มุขทฺวาริกํ อาหารํ อาวรณํ กโรนฺติ.  มนุสฺสา ยาคุปานมฺปิ สงฺฆภตฺตมฺปิ กโรนฺตา สามเณเร เอวํ วเทนฺติ  “เอถ ภนฺเต ยาคุํ ปิวถ เอถ ภนฺเต ภตฺตํ ภุญฺชถา”ติ.  สามเณรา เอวํ วเทนฺติ “นาวุโส ลพฺภา. ภิกฺขูหิ อาวรณํ กต”นฺติ.  มนุสฺสา อุชฺฌายนฺติ ขิยฺยนฺติ วิปาเจนฺติ 
te ujjhāyanti khīyanti vipācenti: paṇḍakā ime samaṇā Sakyaputtiyā, ye pi imesaṃ na paṇḍakā, te pi paṇḍake dūsenti.  evaṃ ime sabbeva abrahmacārino ’ti.  assosuṃ kho bhikkhū hatthibhaṇḍānaṃ assabhaṇḍānaṃ ujjhāyantānaṃ khīyantānaṃ vipācentānaṃ.  atha kho te bhikkhū bhagavato etam atthaṃ ārocesuṃ.  paṇḍako bhikkhave anupasampanno na upasampādetabbo, upasampanno nāsetabbo ’ti. |2| 
         
แล้วจึงเพ่งโทษ ติเตียน โพนทะนาว่า พระสมณะเชื้อสายพระศากยบุตรเหล่านี้เป็นบัณเฑาะก์ บรรดาพวกสมณะเหล่านี้ แม้พวกใดที่มิใช่บัณเฑาะก์ แม้พวกนั้นก็ประทุษร้ายบัณเฑาะก์  เมื่อเป็นเช่นนี้ พระสมณะเหล่านี้ก็ล้วนแต่ไม่ใช่เป็นผู้ประพฤติพรหมจรรย์.  ภิกษุทั้งหลายได้ยินพวกคนเลี้ยงช้าง พวกคนเลี้ยงม้า พากันเพ่งโทษ ติเตียน โพนทะนาอยู่  จึงกราบทูลเรื่องนั้นแด่พระผู้มีพระภาค.  พระผู้มีพระภาครับสั่งกะภิกษุทั้งหลายว่า ดูกรภิกษุทั้งหลาย อนุปสัมบัน คือ บัณเฑาะก์ ภิกษุไม่พึงให้อุปสมบท ที่อุปสมบทแล้วต้องให้สึกเสีย. 
“กถญฺหิ นาม ภทนฺตา สามเณรานํ มุขทฺวาริกํ อาหารํ อาวรณํ กริสฺสนฺตี”ติ.  ภควโต เอตมตฺถํ อาโรเจสุํ.  น ภิกฺขเว มุขทฺวาริโก อาหาโร อาวรณํ กาตพฺโพ.  โย กเรยฺย อาปตฺติ ทุกฺกฏสฺสาติ.  ทณฺฑกมฺมวตฺถุ นิฏฺฐิตํ. 
||61|| 
'Let a eunuch, O Bhikkhus, who has not received the upasampadâ ordination, not receive it; if he has received it, let him be expelled (from the fraternity).' 
(๔๔. อนาปุจฺฉาวรณวตฺถุ) ๑๐๘. เตน โข ปน สมเยน ฉพฺพคฺคิยา ภิกฺขู อุปชฺฌาเย อนาปุจฺฉา สามเณรานํ อาวรณํ กโรนฺติ. 
tena kho pana samayena aññataro purāṇakulaputto khīṇakolañño sukhumālo hoti.  atha kho tassa purāṇakulaputtassa khīṇakolaññassa etad ahosi:  ahaṃ kho sukhumālo na paṭibalo anadhigataṃ vā bhogaṃ adhigantuṃ adhigataṃ vā bhogaṃ phātikātuṃ.  kena nu kho ahaṃ upāyena sukhañ ca jīveyyaṃ na ca kilameyyan ti.  atha kho tassa purāṇakulaputtassa khīṇakolaññassa etad ahosi: ime kho samaṇā Sakyaputtiyā sukhasīlā sukhasamācārā subhojanāni bhuñjitvā nivātesu sayanesu sayanti.  yaṃ nūnāhaṃ sāmaṃ pattacīvaraṃ paṭiyādetvā kesamassuṃ ohāretvā kāsāyāni vatthāni acchādetvā ārāmaṃ gantvā bhikkhūhi saddhiṃ saṃvaseyyan ti. |1| 
At that time there was a certain person of an old family, whose kinsmen had died away; he was delicately nurtured.  Now this person of an old family, whose kinsmen had died away, thought:  'I am delicately nurtured; I am not able to acquire new riches or to augment the riches which I possess.  What shall I do in order that I may live a life of ease and without pain?'  Then this person of an old family, whose kinsmen had died away, gave himself the following answer: 'There are the Sakyaputtiya Samanas, who keep commodious precepts and live a commodious life; they have good meals and lie down on beds protected from wind. 
เรื่องห้ามคนลักเพศและคนเข้ารีดมิให้อุปสมบท [๑๒๖] ก็โดยสมัยนั้นแล บุตรของตระกูลเก่าแก่คนหนึ่ง เป็นสุขุมาลชาติ มีหมู่ญาติที่รู้จักกันในตระกูลหมดสิ้นไป.  ครั้งนั้น เขาได้มีความดำริว่า  เราเป็นผู้ดี ไม่สามารถจะหาโภคทรัพย์ที่ยังหาไม่ได้ หรือไม่สามารถจะทำโภคทรัพย์ที่หาได้แล้วให้เจริญงอกงาม  ด้วยวิธีอะไรหนอ เราจึงจะอยู่เป็นสุข และไม่ต้องลำบาก  แล้วคิดได้ในทันทีนั้นว่า พวกสมณะเชื้อสายพระศากยบุตรเหล่านี้แล มีปกติเป็นสุข มีความประพฤติเรียบร้อย ฉันอาหารที่ดี นอนในห้องนอนอันมิดชิด  ถ้ากระไร เราพึงจัดแจงบาตรจีวร โกนผมและหนวด ครองผ้าย้อมฝาดเสียเอง แล้วไปอารามอยู่ร่วมกับภิกษุทั้งหลาย. 
อุปชฺฌายา คเวสนฺติ กถํ นุ โข อมฺหากํ สามเณรา น ทิสฺสนฺตีติ.  ภิกฺขู เอวมาหํสุ “ฉพฺพคฺคิเยหิ อาวุโส ภิกฺขูหิ อาวรณํ กต”นฺติ.  อุปชฺฌายา อุชฺฌายนฺติ ขิยฺยนฺติ วิปาเจนฺติ  “กถญฺหิ นาม ฉพฺพคฺคิยา ภิกฺขู อมฺเห อนาปุจฺฉา อมฺหากํ สามเณรานํ อาวรณํ กริสฺสนฺตี”ติ.  ภควโต เอตมตฺถํ อาโรเจสุํ.  น ภิกฺขเว อุปชฺฌาเย อนาปุจฺฉา อาวรณํ กาตพฺพํ. 
atha kho so purāṇakulaputto khīṇakolañño sāmaṃ pattacīvaraṃ paṭiyādetvā kesamassuṃ ohāretvā kāsāyāni vatthāni acchādetvā ārāmaṃ gantvā bhikkhū abhivādeti.  bhikkhū evaṃ āhaṃsu: kativasso ’si tvaṃ āvuso ’ti.  kiṃ etaṃ āvuso kativasso nāmā ’ti.  ko pana te āvuso upajjhāyo ’ti.  kiṃ etaṃ āvuso upajjhāyo nāmā ’ti.  bhikkhū āyasmantaṃ Upāliṃ etad avocum: iṅghāvuso Upāli imaṃ pabbajitaṃ anuyuñjāhīti. |2| 
What if I were to procure myself an alms-bowl and robes on my own account, and were to have my hair and beard cut off, to put on yellow robes, to go to the Ârâma, and to live there with the Bhikkhus.'  Then that person of an old family, whose kinsmen had died away, procured himself an alms-bowl and robes on his own account, had his hair and beard cut off, put on yellow robes, went to the Ârâma, and respectfully saluted the Bhikkhus.  The Bhikkhus said to him: 'How many years, friend, have elapsed since your upasampadâ?'  'What does that mean, friends, "years elapsed since the upasampadâ?"'  'And who is your upagghâya, friend?'  'What does that word upagghâya mean, friends?' 
ต่อมา เขาได้จัดแจงบาตรจีวร โกนผมและหนวด ครองผ้าย้อมฝาดเอง แล้วไปอารามกราบไหว้ภิกษุทั้งหลาย.  ภิกษุทั้งหลายถามว่า คุณมีพรรษาได้เท่าไร?  เขาย้อนถามว่า ที่ชื่อว่ามีพรรษาได้เท่าไร นั่นอะไรกัน ขอรับ?  ภิกษุทั้งหลายถามว่า อาวุโส ใครเป็นพระอุปัชฌาย์ของคุณ?  เขาย้อนถามว่า ที่ชื่อว่าพระอุปัชฌาย์ นั่นอะไรกัน ขอรับ?  ภิกษุทั้งหลายได้แจ้งเรื่องนั้นต่อท่านพระอุบาลีว่า อาวุโสอุบาลี ขอนิมนต์ท่านสอบสวนบรรพชิตรูปนี้. 
โย กเรยฺย อาปตฺติ ทุกฺกฏสฺสาติ. (อนาปุจฺฉาวรณวตฺถุ นิฏฺฐิตํ.)      (๔๕. อปลาฬนวตฺถุ) เตน โข ปน สมเยน ฉพฺพคฺคิยา ภิกฺขู เถรานํ ภิกฺขูนํ สามเณเร อปลาเฬนฺติ.  เถรา สามํ ทนฺตกฏฺฐมฺปิ มุโขทกมฺปิ คณฺหนฺตา กิลมนฺติ  ภควโต เอตมตฺถํ อาโรเจสุํ. 
atha kho so purāṇakulaputto khīṇakolañño āyasmatā Upālinā anuyuñjiyamāno etam atthaṃ ārocesi.  āyasmā Upāli bhikkhūnaṃ etam atthaṃ ārocesi.  bhikkhū bhagavato etam atthaṃ ārocesuṃ.  theyyasaṃvāsako bhikkhave anupasampanno na upasampādetabbo, upasampanno nāsetabbo.  titthiyapakkantako bhikkhave anupasampanno na upasampādetabbo, upasampanno nāsetabbo ’ti. |3| 
The Bhikkhus said to the venerable Upâli: 'Pray, friend Upâli, examine this ascetic.'  Then that person of an old family, whose kinsmen had died away, when being examined by the venerable Upâli, told him the whole matter.  The venerable Upâli told this thing to the Bhikkhus;  the Bhikkhus told this thing to the Blessed One.  'Let a person, O Bhikkhus, who has furtively attached himself to the Samgha, if he has not received the upasampadâ ordination, not receive it; if he has received it, let him be expelled (from the fraternity). 
ครั้นเขาถูกท่านพระอุบาลีสอบสวน จึงแจ้งเรื่องนั้นให้ทราบ.  ท่านพระอุบาลีได้แจ้งให้ภิกษุทั้งหลายทราบแล้ว.  ภิกษุทั้งหลายจึงกราบทูลเรื่องนั้นแด่พระผู้มีพระภาค.  พระผู้มีพระภาครับสั่งกะภิกษุทั้งหลายว่า ดูกรภิกษุทั้งหลาย อนุปสัมบัน คือ คนลักเพศ ภิกษุไม่พึงให้อุปสมบท ที่อุปสมบทแล้วต้องให้สึกเสีย.  ดูกรภิกษุทั้งหลาย อนุปสัมบัน คือ ผู้ไปเข้ารีดเดียรถีย์ ภิกษุไม่พึงให้อุปสมบท ที่อุปสมบทแล้ว ต้องให้สึกเสีย. 
น ภิกฺขเว อญฺญสฺส ปริสา อปลาเฬตพฺพา.  โย อปลาเฬยฺย อาปตฺติ ทุกฺกฏสฺสา ติ. (อปลาฬนวตฺถุ นิฏฺฐิตํ.)      (๔๖. กณฺฏกสามเณรวตฺถุ) เตน โข ปน สมเยน อายสฺมโต อุปนนฺทสฺส สกฺยปุตฺตสฺส กณฺฏโก นาม สามเณโร กณฺฏกึ นาม ภิกฺขุนึ ทูเสสิ. 
||62|| 
'Let a person, O Bhikkhus, who has gone over to the Titthiyas' ( &c., as in chap. 61). 
ภิกฺขู อุชฺฌายนฺติ ขิยฺยนฺติ วิปาเจนฺติ “กถญฺหิ นาม สามเณโร เอวรูปํ อนาจารํ อาจริสฺสตี”ติ. 
tena kho pana samayena aññataro nāgo nāgayoniyā aṭṭi-(87)yati harāyati jigucchati.  atha kho tassa nāgassa etad ahosi:  kena nu kho ahaṃ upāyena nāgayoniyā ca parimucceyyaṃ khippañ ca manussattaṃ paṭilabheyyan ti.  atha kho tassa nāgassa etad ahosi:  ime kho samaṇā Sakyaputtiyā dhammacārino samacārino brahmacārino saccavādino sīlavanto kalyāṇadhammā.  sace kho ahaṃ samaṇesu Sakyaputtiyesu pabbajeyyaṃ, evāhaṃ nāgayoniyā ca parimucceyyaṃ khippañ ca manussattaṃ paṭilabheyyan ti. |1| 
At that time there was a serpent who was aggrieved at, ashamed of, and conceived aversion for his having been born as a serpent.  Now this serpent thought:  'What am I to do in order to become released from being a serpent, and quickly to obtain human nature?'  Then this serpent gave himself the following answer:  'These Sakyaputtiya Samanas lead indeed a virtuous, tranquil, holy life; they speak the truth; they keep the precepts of morality, and are endowed with all virtues. 
เรื่องนาคแปลงกายเป็นมนุษย์มาขอบวช [๑๒๗] ก็โดยสมัยนั้นแล นาคตัวหนึ่งอึดอัด ระอา เกลียดกำเนิดนาค  จึงนาคนั้นได้มีความดำริว่า  ด้วยวิธีอะไรหนอ เราจึงจะพ้นจากกำเนิดนาค และกลับได้อัตภาพเป็นมนุษย์เร็วพลัน.  ครั้นแล้วได้ดำริต่อไปว่า  พระสมณะเชื้อสายพระศากยบุตรเหล่านี้แล เป็นผู้ประพฤติธรรม ประพฤติสงบ ประพฤติพรหมจรรย์ กล่าวแต่คำสัตย์ มีศีล มีกัลยาณธรรม  หากเราจะพึงบวชในสำนักพระสมณะเชื้อสายพระศากยบุตร ด้วยวิธีเช่นนี้ เราก็จะพ้นจากกำเนิดนาคและกลับได้อัตภาพเป็นมนุษย์เร็วพลัน 
ภควโต เอตมตฺถํ อาโรเจสุํ.  อนุชานามิ ภิกฺขเว ทสหงฺเคหิ สมนฺนาคตํ สามเณรํ นาเสตุํ.  ปาณาติปาตี โหติ อทินฺนาทายี โหติ อพฺรหฺมจารี โหติ มุสาวาที โหติ มชฺชปายี โหติ พุทฺธสฺส อวณฺณํ ภาสติ ธมฺมสฺส อวณฺณํ ภาสติ สงฺฆสฺส อวณฺณํ ภาสติ มิจฺฉาทิฏฺฐิโก โหติ ภิกฺขุนิทูสโก โหติ  อนุชานามิ ภิกฺขเว อิเมหิ ทสหงฺเคหิ สมนฺนาคตํ สามเณรํ นาเสตุนฺติ.     
atha kho so nāgo māṇavakavaṇṇena bhikkhū upasaṃkamitvā pabbajjaṃ yāci.  taṃ bhikkhū pabbājesuṃ upasampādesuṃ.  tena kho pana samayena so nāgo aññatarena bhikkhunā saddhiṃ paccantime vihāre paṭivasati.  atha kho so bhikkhu rattiyā paccūsasamayaṃ paccuṭṭhāya ajjhokāse caṅkamati.  atha kho so nāgo tassa bhikkhuno nikkhante vissaṭṭho niddaṃ okkami.  sabbo vihāro ahinā puṇṇo, vātapānehi bhogā nikkhantā honti. |2| 
If I could obtain pabbaggâ with the Sakyaputtiya Samanas, I should be released from bcing a serpent and quickly obtain human nature,'  Then that serpent, in the shape of a youth, went to the Bhikkhus, and asked them for the pabbaggâ ordination;  the Bhikkhus conferred on him the pabbaggâ and upasampadâ ordinations.  At that time that serpent dwelt together with a certain Bhikkhu in the last Vihâra (near the boundary wall of the Getavana).  Now that Bhikkhu, having arisen in the night, at dawn, was walking up and down in the open air.  When that Bhikkhu had left (the Vihâra), that serpent, who thought himself safe (from discovery), fell asleep (in his natural shape). 
ครั้นแล้วนาคนั้นจึงแปลงกายเป็นชายหนุ่ม แล้วเข้าไปหาภิกษุทั้งหลายขอบรรพชา.  ภิกษุทั้งหลายจึงให้เขาบรรพชาอุปสมบท.  สมัยต่อมา พระนาคนั้นอาศัยอยู่ในวิหารสุดเขตกับภิกษุรูปหนึ่ง.  ครั้นปัจจุสสมัยแห่งราตรี ภิกษุรูปนั้น ตื่นนอนแล้ว ออกไปเดินจงกรมอยู่ในที่แจ้ง.  ครั้นภิกษุรูปนั้นออกไปแล้ว. พระนาคนั้นก็วางใจจำวัด.  วิหารทั้งหลังเต็มไปด้วยงู. ขนดยื่นออกไปทางหน้าต่าง. 
(๔๗. ปณฺฑกวตฺถุ) ๑๐๙. เตน โข ปน สมเยน อญฺญตโร ปณฺฑโก ภิกฺขูสุ ปพฺพชิโต โหติ. โส ทหเร ทหเร ภิกฺขู อุปสงฺกมิตฺวา เอวํ วเทติ “เอถ มํ อายสฺมนฺโต ทูเสถา”ติ.  ภิกฺขู อปสาเทนฺติ “นสฺส ปณฺฑก วินสฺส ปณฺฑก โก ตยา อตฺโถ”ติ.  โส ภิกฺขูหิ อปสาทิโต มหนฺเต มหนฺเต โมฬิคลฺเล สามเณเร อุปสงฺกมิตฺวา เอวํ วเทติ “เอถ มํ อาวุโส ทูเสถา”ติ.  สามเณรา อปสาเทนฺติ “นสฺส ปณฺฑก วินสฺส ปณฺฑก โก ตยา อตฺโถ”ติ.  โส สามเณเรหิ อปสาทิโต หตฺถิภณฺเฑ อสฺสภณฺเฑ อุปสงฺกมิตฺวา เอวํ วเทติ “เอถ มํ อาวุโส ทูเสถา”ติ.  หตฺถิภณฺฑา อสฺสภณฺฑา ทูเสสุํ. 
atha kho so bhikkhu vihāraṃ pavisissāmīti kavāṭaṃ paṇāmento addasa sabbaṃ vihāraṃ ahinā puṇṇaṃ, vātapānehi bhoge nikkhante.  disvāna bhīto vissaraṃ akāsi.  bhikkhū upadhāvitvā taṃ bhikkhuṃ etad avocuṃ: kissa tvaṃ āvuso vissaraṃ akāsīti.  ayaṃ āvuso sabbo vihāro ahinā puṇṇo, vātapānehi bhogā nikkhantā ’ti.  atha kho so nāgo tena saddena paṭibujjhitvā sake āsane nisīdi.  bhikkhū evaṃ āhaṃsu: ko ’si tvaṃ āvuso ’ti.  ahaṃ bhante nāgo ’ti.  kissa pana tvaṃ āvuso evarūpaṃ akāsīti.  atha kho so nāgo bhikkhūnaṃ etam atthaṃ ārocesi.  bhikkhū bhagavato etam atthaṃ ārocesuṃ. |3| 
The whole Vihâra was filled with the snake's body; his windings jutted out of the window.  Then that Bhikkhu thought: 'I will go back to the Vihâra,' opened the door, and saw the whole Vihâra filled with the snake's body, the windings jutting out of the window.  Seeing that he was terrified and cried out.  The Bhikkhus ran up, and said to that Bhikkhu: 'Why did you cry out, friend?'  'This whole Vihâra, friends, is filled with a snake's body; the windings jut out of the window.'  Then that serpent awoke from that noise and sat down on his seat.  The Bhikkhus said to him: 'Who are you, friend?'  'I am a serpent, reverend Sirs.'  'And why have you done such a thing, friend?'  Then that Nâga told the whole matter to the Bhikkhus; 
ครั้นภิกษุรูปนั้นผลักบานประตูด้วยตั้งใจจักเข้าวิหาร ได้เห็นวิหารทั้งหลังเต็มไปด้วยงู เห็นขนดยื่นออกไปทางหน้าต่าง  ก็ตกใจ จึงร้องเอะอะขึ้น.  ภิกษุทั้งหลายพากันวิ่งเข้าไปแล้วได้ถามภิกษุรูปนั้นว่า อาวุโส ท่านร้องเอะอะไปทำไม?  ภิกษุรูปนั้นบอกว่า อาวุโสทั้งหลาย วิหารนี้ทั้งหลังเต็มไปด้วยงู ขนดยื่นออกไปทางหน้าต่าง.  ขณะนั้น พระนาคนั้น ได้ตื่นขึ้นเพราะเสียงนั้น แล้วนั่งอยู่บนอาสนะของตน.  ภิกษุทั้งหลายถามว่า อาวุโส ท่านเป็นใคร?  น. ผมเป็นนาค ขอรับ.  ภิ. อาวุโส ท่านได้ทำเช่นนี้เพื่อประสงค์อะไร?  พระนาคนั้นจึงแจ้งเนื้อความนั้นแก่ภิกษุทั้งหลาย.  ภิกษุทั้งหลายกราบทูลเรื่องนั้นแด่พระผู้มีพระภาค. 
เต อุชฺฌายนฺติ ขิยฺยนฺติ วิปาเจนฺติ “ปณฺฑกา อิเม สมณา สกฺยปุตฺติยา. เยปิ อิเมสํ น ปณฺฑกา เตปิ อิเม ปณฺฑเก ทูเสนฺติ.  เอวํ อิเม สพฺเพว อพฺรหฺมจาริโน”ติ.  อสฺโสสุํ โข ภิกฺขู เตสํ หตฺถิภณฺฑานํ อสฺสภณฺฑานํ อุชฺฌายนฺตานํ ขิยฺยนฺตานํ วิปาเจนฺตานํ.  อถ โข เต ภิกฺขู ภควโต เอตมตฺถํ อาโรเจสุํ.  ปณฺฑโก ภิกฺขเว อนุปสมฺปนฺโน น อุปสมฺปาเทตพฺโพ อุปสมฺปนฺโน นาเสตพฺโพติ.      (๔๘. เถยฺยสํวาสกวตฺถุ) ๑๑๐. เตน โข ปน สมเยน อญฺญตโร ปุราณกุลปุตฺโต ขีณโกลญฺโญ สุขุมาโล โหติ.  อถ โข ตสฺส ปุราณกุลปุตฺตสฺส ขีณโกลญฺญสฺส เอตทโหสิ  “อหํ โข สุขุมาโล น ปฏิพโล อนธิคตํ วา โภคํ อธิคนฺตุํ อธิคตํ วา โภคํ ผาตึ กาตุํ. 
atha kho bhagavā etasmiṃ nidāne etasmiṃ pakaraṇe bhikkhusaṃghaṃ sannipātāpetvā taṃ nāgaṃ etad avoca: tumhe khv’ attha nāgā avirūḷhidhammā imasmiṃ dhammavinaye.  gaccha tvaṃ nāga tatth’ eva cātuddase pannarase aṭṭhamiyā ca pakkhassa uposathaṃ upavasa, evaṃ tvaṃ nāgayoniyā ca parimuccissasi khippañ ca manussattaṃ paṭilabhissasīti.  atha kho so nāgo avirūḷhidhammo kirāhaṃ imasmiṃ dhammavinaye ’ti dukkhī dummano assūni pavattayamāno vissaraṃ karitvā pakkāmi. |4| 
the Bhikkhus told it to the Blessed One.  In consequence of that and on this occasion the Blessed One, having ordered the fraternity of Bhikkhus to assemble, said to that serpent: 'You serpents are not capable of (spiritual) growth in this doctrine and discipline.  However, serpent, go and observe fast on the fourteenth, fifteenth, and eighth day of each half month; thus will you be released from being a serpent and quickly obtain human nature.' 
ลำดับนั้น พระผู้มีพระภาครับสั่งให้ประชุมภิกษุสงฆ์ ในเพราะเหตุเป็นเค้ามูลนั้น ในเพราะเหตุแรกเกิดนั้น แล้วได้ทรงประทานพระพุทธโธวาทนี้แก่นาคนั้นว่า พวกเจ้าเป็นนาค มีความไม่งอกงามในธรรมวินัยนี้เป็นธรรมดา  ไปเถิดเจ้านาค จงไปรักษาอุโบสถในวันที่ ๑๔ ที่ ๑๕ และที่ ๘ แห่งปักษ์นั้นแหละ ด้วยวิธีนี้เจ้าจักพ้นจากกำเนิดนาค และจักกลับได้อัตภาพเป็นมนุษย์เร็วพลัน.  ครั้นนาคนั้นได้ทราบว่า ตนมีความไม่งอกงามในพระธรรมวินัยนี้เป็นธรรมดาก็เสียใจหลั่งน้ำตา ส่งเสียงดังแล้วหลีกไป. 
เกน นุ โข อหํ อุปาเยน สุขญฺจ ชีเวยฺยํ น จ กิลเมยฺย”นฺติ?  อถ โข ตสฺส ปุราณกุลปุตฺตสฺส ขีณโกลญฺญสฺส เอตทโหสิ “อิเม โข สมณา สกฺยปุตฺติยา สุขสีลา สุขสมาจารา สุโภชนานิ ภุญฺชิตฺวา นิวาเตสุ สยเนสุ สยนฺติ.  ยํนูนาหํ สามํ ปตฺตจีวรํ ปฏิยาเทตฺวา เกสมสฺสุํ โอหาเรตฺวา กาสายานิ วตฺถานิ อจฺฉาเทตฺวา อารามํ คนฺตฺวา ภิกฺขูหิ สทฺธึ สํวเสยฺย”นฺติ. 
atha kho bhagavā bhikkhū āmantesi: dve ’me bhikkhave paccayā nāgassa sabhāvapātukammāya, yadā ca sajātiyā methunaṃ dhammaṃ paṭisevati, yadā ca vissaṭṭho niddaṃ okkamati.  ime kho bhikkhave dve paccayā nāgassa (88) sabhāvapātukammāya.tiracchānagato bhikkhave anupasampanno na upasampādetabbo, upasampanno nāsetabbo ’ti. |5| 
Then that serpent, who thought, 'I am not capable of (spiritual) growth in this doctrine and discipline,' became sad and sorrowful, shed tears, made an outcry, and went away.  Then the Blessed One said to the Bhikkhus: 'There are two occasions, O Bhikkhus, on which a serpent (who has assumed human shape) manifests his true nature: when he has sexual intercourse with a female of his species, and if he thinks himself safe (from discovery) and falls asleep. These, O Bhikkhus, are the two occasions on which a serpent manifests his true nature. 
ลำดับนั้น พระผู้มีพระภาครับสั่งกะภิกษุทั้งหลายว่า ดูกรภิกษุทั้งหลาย เหตุแห่งความปรากฏตามสภาพของนาค มีสองประการนี้ คือ เวลาเสพเมถุนธรรมกับนางนาค ผู้มีชาติเสมอกัน ๑ เวลาวางใจนอนหลับ ๑ ดูกรภิกษุทั้งหลาย เหตุแห่งความปรากฏตามสภาพของนาค ๒ ประการนี้แล  ดูกรภิกษุทั้งหลาย อนุปสัมบัน คือ สัตว์ดิรัจฉาน ภิกษุไม่พึงให้อุปสมบท ที่อุปสมบทแล้ว ต้องให้สึกเสีย. 
อถ โข โส ปุราณกุลปุตฺโต ขีณโกลญฺโญ สามํ ปตฺตจีวรํ ปฏิยาเทตฺวา เกสมสฺสุํ โอหาเรตฺวา กาสายานิ วตฺถานิ อจฺฉาเทตฺวา อารามํ คนฺตฺวา ภิกฺขู อภิวาเทติ.  ภิกฺขู เอวมาหํสุ “กติวสฺโสสิ ตฺวํ อาวุโส”ติ? 
||63|| 
'Let an animal, O Bhikkhus, that has not received the upasampadâ ordination, not receive it; if it has received it, let it be expelled (from the fraternity).' 
กึ เอตํ อาวุโส กติวสฺโส นามาติ? 
tena kho pana samayena aññataro māṇavako mātaraṃ jīvitā voropesi.  so tena pāpakena kammena aṭṭiyati harāyati jigucchati.  atha kho tassa māṇavakassa etad ahosi:  kena nu kho ahaṃ upāyena imassa pāpassa kammassa nikkhantiṃ kareyyan ti.  atha kho tassa māṇavakassa etad ahosi: ime kho samaṇā Sakyaputtiyā dhammacārino samacārino brahmacārino saccavādino sīlavanto kalyāṇadhammā.  sace kho ahaṃ samaṇesu Sakyaputtiyesu pabbajeyyaṃ, evāhaṃ imassa pāpassa kammassa nikkhantiṃ kareyyan ti. |1| 
At that time a certain young man deprived his mother of life.  He was grieved, ashamed, and loathed this sinful deed.  Now this young man thought:  'What am I to do to get rid of my sinful deed?'  Then this young man gave himself this answer: 'These Sakyaputtiya Samanas lead indeed a virtuous, tranquil, holy life, &c. 
เรื่องห้ามคนฆ่ามารดามิให้อุปสมบท [๑๒๘] ก็โดยสมัยนั้นแล มาณพผู้หนึ่งปลงชีวิตมารดาเสีย.  เขาอึดอัด ระอา รังเกียจบาปกรรมอันนั้น  และได้มีความดำริว่า  ด้วยวิธีอะไรหนอ เราจึงจะทำการออกจากบาปกรรมอันนี้ได้  จึงหวนระลึกนึกขึ้นได้ว่า พระสมณะเชื้อสายพระศากยบุตรเหล่านี้ เป็นผู้ประพฤติธรรม ประพฤติสงบ ประพฤติพรหมจรรย์ กล่าวแต่คำสัตย์ มีศีล มีกัลยาณธรรม  ถ้าเราจะพึงบวชในสำนักพระสมณะเชื้อสายพระศากยบุตร ด้วยวิธีเช่นนี้ เราก็จะทำการออกจากบาปกรรมอันนี้ได้. 
โก ปน เต อาวุโส อุปชฺฌาโยติ?  กึ เอตํ อาวุโส อุปชฺฌาโย นามาติ?  ภิกฺขู อายสฺมนฺตํ อุปาลึ เอตทโวจุํ “อิงฺฆาวุโส อุปาลิ อิมํ ปพฺพชิตํ อนุยุญฺชาหี”ติ.  อถ โข โส ปุราณกุลปุตฺโต ขีณโกลญฺโญ อายสฺมตา อุปาลินา อนุยุญฺชิยมาโน เอตมตฺถํ อาโรเจสิ.  อายสฺมา อุปาลิ ภิกฺขูนํ เอตมตฺถํ อาโรเจสิ.  ภิกฺขู ภควโต เอตมตฺถํ อาโรเจสุํ. 
atha kho so māṇavako bhikkhū upasaṃkamitvā pabbajjaṃ yāci.  bhikkhū āyasmantaṃ Upāliṃ etad avocuṃ: pubbe pi kho āvuso Upāli nāgo māṇavakavaṇṇena bhikkhūsu pabbajito, iṅghāvuso Upāli imaṃ māṇavakaṃ anuyuñjāhīti.  atha kho so māṇavako āyasmatā Upālinā anuyuñjiyamāno etam atthaṃ ārocesi.  āyasmā Upāli bhikkhūnaṃ etam atthaṃ ārocesi.  bhikkhū bhagavato etam atthaṃ ārocesuṃ.  mātughātako bhikkhave anupasampanno na upasampādetabbo, upasampanno nāsetabbo ’ti. |2| 
If I could obtain pabbaggâ with the Sakyaputtiya Samanas, I might get rid of my sinful deed.'  Then that young man went to the Bhikkhus and asked them for the pabbaggâ ordination.  The Bhikkhus said to the venerable Upâli: 'Formerly , friend Upâli, a serpent in the shape of a youth received the pabbaggâ ordination with the Bhikkhus; pray, friend Upâli, examine this young man.'  Then that young man, when examined by the venerable Upâli, told him the whole matter.  The venerable Upâli told it to the Bhikkhus;  the Bhikkhus told it to the Blessed One. 
ต่อมา เขาเข้าไปหาภิกษุทั้งหลายขอบรรพชา.  ภิกษุทั้งหลายได้แจ้งความนี้ต่อท่านพระอุบาลีว่า อาวุโส อุบาลี เมื่อครั้งก่อนแล นาคแปลงกายเป็นชายหนุ่มเข้ามาบวชในสำนักภิกษุ อาวุโสอุบาลี นิมนต์ท่านไต่สวนมาณพคนนี้.  ครั้นมาณพนั้น ถูกท่านพระอุบาลีไต่สวนอยู่ จึงแจ้งเรื่องนั้น.  ท่านพระอุบาลีได้แจ้งให้พวกภิกษุทราบแล้ว.  ภิกษุทั้งหลายจึงกราบทูลเรื่องนั้นแด่พระผู้มีพระภาค.  พระผู้มีพระภาครับสั่งกะภิกษุทั้งหลายว่า ดูกรภิกษุทั้งหลาย อนุปสัมบัน คือ คนฆ่ามารดา ภิกษุไม่พึงให้อุปสมบท ที่อุปสมบทแล้วต้องให้สึกเสีย. 
เถยฺยสํวาสโก ภิกฺขเว อนุปสมฺปนฺโน น อุปสมฺปาเทตพฺโพ อุปสมฺปนฺโน นาเสตพฺโพติ.  ติตฺถิยปกฺกนฺตโก ภิกฺขเว อนุปสมฺปนฺโน น อุปสมฺปาเทตพฺโพ อุปสมฺปนฺโน นาเสตพฺโพติ.      (๔๙. ติรจฺฉานคตวตฺถุ) ๑๑๑. เตน โข ปน สมเยน อญฺญตโร นาโค นาคโยนิยา อฏฺฏียติ หรายติ ชิคุจฺฉติ.  อถ โข ตสฺส นาคสฺส เอตทโหสิ 
||64|| 
'Let a person, O Bhikkhus, that is guilty of matricide, if he has not received the upasampadâ ordination, not receive it; if he has received it, let him be expelled (from the fraternity).' 
“เกน นุ โข อหํ อุปาเยน นาคโยนิยา จ ปริมุจฺเจยฺยํ ขิปฺปญฺจ มนุสฺสตฺตํ ปฏิลเภยฺย”นฺติ. 
tena kho pana samayena aññataro māṇavako pitaraṃ jīvitā voropesi.  so tena pāpakena kammena . . . (= I.64,1,2) . . . bhikkhū bhagavato etam atthaṃ ārocesuṃ. pitughātako bhikkhave anupasampanno na upasampādetabbo, upasampanno nāsetabbo ’ti. |1| 
At that time a certain young man deprived his father of life (&c., as in chap.64). 
เรื่องห้ามคนฆ่าบิดามิให้อุปสมบท [๑๒๙] ก็โดยสมัยนั้นแล มาณพผู้หนึ่งปลงชีวิตบิดาเสีย.  เขาอึดอัด ระอา รังเกียจ บาปกรรมอันนั้น และได้มีความดำริว่า ด้วยวิธีอะไรหนอ เราจึงจะทำการออกจากบาปกรรม อันนี้ได้ จึงหวนระลึกนึกขึ้นได้ว่า พระสมณะเชื้อสายพระศากยบุตรเหล่านี้ เป็นผู้ประพฤติธรรม ประพฤติสงบ ประพฤติพรหมจรรย์ กล่าวแต่คำสัตย์ มีศีล มีกัลยาณธรรม ถ้าเราจะพึงบวช ในสำนักพระสมณะเชื้อสายพระศากยบุตร ด้วยวิธีเช่นนี้ เราก็จะทำการออกจากบาปกรรมอันนี้ ได้. ต่อมา เขาเข้าไปหาภิกษุทั้งหลายแล้วขอบรรพชา. ภิกษุทั้งหลายได้แจ้งความนี้ต่อท่านพระอุบาลี ว่า อาวุโสอุบาลี เมื่อครั้งก่อนแล นาคแปลงกายเป็นชายหนุ่มเข้ามาบวชในสำนักภิกษุ อาวุโส อุบาลี นิมนต์ท่านไต่สวนมาณพคนนี้. ครั้นมาณพนั้น ถูกท่านพระอุบาลีไต่สวนอยู่ จึงแจ้ง เรื่องนั้น. ท่านพระอุบาลีได้แจ้งให้พวกภิกษุทราบแล้ว. ภิกษุทั้งหลายจึงกราบทูลเรื่องนั้นแด่ พระผู้มีพระภาค. พระผู้มีพระภาครับสั่งกะภิกษุทั้งหลายว่า ดูกรภิกษุทั้งหลาย อนุปสัมบัน คือ คนฆ่าบิดา ภิกษุไม่พึงให้อุปสมบท ที่อุปสมบทแล้วต้องให้สึกเสีย. 
อถ โข ตสฺส นาคสฺส เอตทโหสิ  “อิเม โข สมณา สกฺยปุตฺติยา ธมฺมจาริโน สมจาริโน พฺรหฺมจาริโน สจฺจวาทิโน สีลวนฺโต กลฺยาณธมฺมา. 
||65|| 
'Let a person, O Bhikkhus, that is guilty of parricide, &c.' 
สเจ โข อหํ สมเณสุ สกฺยปุตฺติเยสุ ปพฺพเชยฺยํ เอวาหํ นาคโยนิยา จ ปริมุจฺเจยฺยํ ขิปฺปญฺจ มนุสฺสตฺตํ ปฏิลเภยฺย”นฺติ. 
tena kho pana samayena sambahulā bhikkhū Sāketā Sāvatthiṃ addhānamaggapaṭipannā honti.  antarā magge corā nikkhamitvā ekacce bhikkhū acchindiṃsu, ekacce bhikkhū haniṃsu.  Sāvatthiyā rājabhaṭā nikkhamitvā ekacce core aggahesuṃ, ekacce corā palāyiṃsu.  ye te palāyiṃsu, te bhikkhūsu pabbajiṃsu, ye te gahitā, te vadhāya onīyanti. |1| 
At that time a number of Bhikkhus were travelling on the road from Sâketa to Sâvatthi.  On the road robbers broke forth, robbed some of the Bhikkhus, and killed some of them.  Then royal soldiers came from Sâvatthi and caught some of the robbers; others of them escaped. 
เรื่องห้ามคนฆ่าพระอรหันต์มิให้อุปสมบท [๑๓๐] ก็โดยสมัยนั้นแล ภิกษุมากรูปด้วยกัน เดินทางไกล จากเมืองสาเกตไปพระนครสาวัตถี.  ในระหว่างทาง พวกโจรพากันยกพวกออกมา แย่งชิงภิกษุบางพวก ฆ่าภิกษุบางพวก.  เจ้าหน้าที่ยกออกไปจากพระนครสาวัตถี แล้วจับโจรได้เป็นบางพวก.  บางพวกหลบหนีไปได้. พวกที่หลบหนีไป ได้บวชในสำนักภิกษุ. พวกที่ถูกจับได้ เจ้าหน้าที่กำลังนำไปฆ่า. 
อถ โข โส นาโค มาณวกวณฺเณน ภิกฺขู อุปสงฺกมิตฺวา ปพฺพชฺชํ ยาจิ.  ตํ ภิกฺขู ปพฺพาเชสุํ อุปสมฺปาเทสุํ.  เตน โข ปน สมเยน โส นาโค อญฺญตเรน ภิกฺขุนา สทฺธึ ปจฺจนฺติเม วิหาเร ปฏิวสติ.  อถ โข โส ภิกฺขุ รตฺติยา ปจฺจูสสมยํ ปจฺจุฏฺฐาย อชฺโฌกาเส จงฺกมติ. 
addasaṃsu kho te pabbajitā te core vadhāya onīyamāne, disvāna evaṃ āhaṃsu: sādhu kho mayaṃ palāyimhā, sacāca mayaṃ gayheyyāma, mayam pi evam eva haññeyyā-(89)mā ’ti.  bhikkhū evaṃ āhaṃsu: kim pana tumhe āvuso akatthā ’ti.  atha kho te pabbajitā bhikkhūnaṃ etam atthaṃ ārocesuṃ.  bhikkhū bhagavato etam atthaṃ ārocesuṃ.  arahanto ete bhikkhave bhikkhū.  arahantaghātako bhikkhave anupasampanno na upasampādetabbo, upasampanno nāsetabbo ’ti. |2| 
Those who had escaped, received pabbaggâ with the Bhikkhus; those who had been caught, were led to death.  Then those who had been ordained, saw those robbers who were being led to death; seeing them they said: 'It is well that we have escaped; had we been caught, we should also be killed thus.'  The Bhikkhus said to them: 'Why, what have you done, friends?'  Then those (robbers) who had been ordained, told the whole matter to the Bhikkhus.  The Bhikkhus told this thing to the Blessed One.  'Those Bhikkhus, O Bhikkhus, were Arahats. 
พวกโจรที่บวชแล้วเหล่านั้นได้เห็นโจรพวกนั้นกำลังถูกนำไปฆ่า ครั้นแล้วจึงพูดอย่างนี้ว่า เคราะห์ดีพวกเราพากันหนีรอดมาได้ ถ้าวันนั้นถูกจับ จะต้องถูกเขาฆ่าเช่นนี้เหมือนกัน.  ภิกษุทั้งหลายพากันถามว่า อาวุโสทั้งหลาย ก็พวกท่านได้ทำอะไรไว้?  จึงบรรพชิตเหล่านั้นได้แจ้งเรื่องนั้นแก่ภิกษุทั้งหลาย.  ภิกษุทั้งหลายได้กราบทูลเรื่องนั้นแด่พระผู้มีพระภาค.  พระผู้มีพระภาครับสั่งกะภิกษุทั้งหลายว่า ดูกรภิกษุทั้งหลาย ภิกษุพวกนั้นเป็นอรหันต์  ดูกรภิกษุทั้งหลาย อนุปสัมบัน คือคนฆ่าพระอรหันต์ ภิกษุไม่พึงให้อุปสมบท ที่อุปสมบทแล้วต้องให้สึกเสีย. 
อถ โข โส นาโค ตสฺส ภิกฺขุโน นิกฺขนฺเต วิสฺสฏฺโฐ นิทฺทํ โอกฺกมิ.  สพฺโพ วิหาโร อหินา ปุณฺโณ วาตปาเนหิ โภคา นิกฺขนฺตา โหนฺติ.  อถ โข โส ภิกฺขุ วิหารํ ปวิสิสฺสามีติ กวาฏํ ปณาเมนฺโต อทฺทส สพฺพํ วิหารํ อหินา ปุณฺณํ วาตปาเนหิ โภเค นิกฺขนฺเต  ทิสฺวาน ภีโต วิสฺสรมกาสิ.  ภิกฺขู อุปธาวิตฺวา ตํ ภิกฺขุํ เอตทโวจุํ “กิสฺส ตฺวํ อาวุโส วิสฺสรมกาสี”ติ?  “อยํ อาวุโส สพฺโพ วิหาโร อหินา ปุณฺโณ วาตปาเนหิ โภคา นิกฺขนฺตา”ติ. 
||66|| 
Let a person, O Bhikkhus, that has murdered an Arahat, if this person has not received the upasampadâ ordination, not receive it; if he has received it, let him be expelled (from the fraternity).' 
อถ โข โส นาโค เตน สทฺเทน ปฏิพุชฺฌิตฺวา สเก อาสเน นิสีทิ. 
tena kho pana samayena sambahulā bhikkhuniyo Sāketā Sāvatthiṃ addhānamaggapaṭipannā honti.  antarā magge corā nikkhamitvā ekaccā bhikkhuniyo acchindiṃsu, ekaccā bhikkhuniyo dūsesuṃ.  Sāvatthiyā rājabhaṭā . . . (I,66,1.2) . . . bhikkhū bhagavato etam atthaṃ ārocesuṃ.  bhikkhunīdūsako {bhikkhave} anupasampanno na upasampādetabbo, upasampanno nāsetabbo.  saṃghabhedako bhikkhave anupasampanno na upasampādetabbo, upasampanno nāsetabbo.  lohituppādako bhikkhave anupasampanno na upasampādetabbo, upasampanno nāsetabbo ’ti. |1| 
At that time a number of Bhikkhunîs were travelling on the road from Sâketa to Sâvatthi.  On the road robbers broke forth, robbed some of the Bhikkhunîs, and violated some of them.  Then royal soldiers (&c., as in chap. 66). The Bhikkhus told this thing to the Blessed One.  'Let a person, O Bhikkhus, that has violated a Bhikkhunî (or, that has had sexual intercourse with a Bhikkhunî), (&c., as in chap. 66).  'Let a person, O Bhikkhus, that has caused a schism among the Samgha, &c. 
เรื่องห้ามอุปสมบทคนประทุษร้ายภิกษุณีเป็นต้น [๑๓๑] ก็โดยสมัยนั้นแล ภิกษุณีหลายรูป เดินทางไกลจากเมืองสาเกตไปพระนครสาวัตถี.  ในระหว่างทาง พวกโจรพากันยกออกมา แย่งชิงภิกษุณีบางพวก ทำร้ายภิกษุณีบางพวก.  เจ้าหน้าที่ยกออกไปจากพระนครสาวัตถี แล้วจับโจรได้เป็นบางพวก. บางพวกหลบหนีไปได้. พวกที่หลบหนีไป ได้บวชในสำนักภิกษุ. พวกที่ถูกจับได้เจ้าหน้าที่กำลังนำไปฆ่า. พวกโจรที่บวชแล้วเหล่านั้น ได้เห็นโจรพวกนั้นกำลังถูกนำไปฆ่า ครั้นแล้วจึงพูดอย่างนี้ว่า เคราะห์ดี พวกเราพากันหนีรอดมาได้ ถ้าวันนั้นถูกจับ จะต้องถูกเขาฆ่าเช่นนี้เหมือนกัน. ภิกษุทั้งหลายพากันถามว่า อาวุโสทั้งหลาย ก็พวกท่านได้ทำอะไรไว้. จึงบรรพชิตเหล่านั้นได้แจ้งเรื่องนั้นแก่ภิกษุทั้งหลาย. ภิกษุทั้งหลายกราบทูลเรื่องนั้นแด่พระผู้มีพระภาค.  พระผู้มีพระภาครับสั่งกะภิกษุทั้งหลายว่า ดูกรภิกษุทั้งหลาย อนุปสัมบัน คือคนประทุษร้ายภิกษุณี ภิกษุไม่พึงให้อุปสมบท ที่อุปสมบทแล้วต้องให้สึกเสีย.  ดูกรภิกษุทั้งหลาย อนุปสัมบัน คือคนผู้ทำสังฆเภท ภิกษุไม่พึงให้อุปสมบท ที่อุปสมบทแล้วต้องให้สึกเสีย.  ดูกรภิกษุทั้งหลาย อนุปสัมบัน คือคนทำร้ายพระพุทธเจ้าจนถึงห้อพระโลหิต ภิกษุไม่พึงให้อุปสมบท ที่อุปสมบทแล้ว ต้องให้สึกเสีย. 
ภิกฺขู เอวมาหํสุ “โกสิ ตฺวํ อาวุโส”ติ?  “อหํ ภนฺเต นาโค”ติ.  “กิสฺส ปน ตฺวํ อาวุโส เอวรูปํ อกาสี”ติ?  อถ โข โส นาโค ภิกฺขูนํ เอตมตฺถํ อาโรเจสิ.  ภิกฺขู ภควโต เอตมตฺถํ อาโรเจสุํ.  อถ โข ภควา เอตสฺมึ นิทาเน เอตสฺมึ ปกรเณ ภิกฺขุสงฺฆํ สนฺนิปาตาเปตฺวา ตํ นาคํ เอตทโวจ “ตุมฺเห โขตฺถ นาคา อวิรุฬฺหิธมฺมา อิมสฺมึ ธมฺมวินเย. 
||67|| 
'Let a person, O Bhikkhus, that has shed (a Buddha's) blood,' &c. 
คจฺฉ ตฺวํ นาค ตตฺเถว จาตุทฺทเส ปนฺนรเส อฏฺฐมิยา จ ปกฺขสฺส อุโปสถํ อุปวส เอวํ ตฺวํ นาคโยนิยา จ ปริมุจฺจิสฺสสิ ขิปฺปญฺจ มนุสฺสตฺตํ ปฏิลภิสฺสสี”ติ. 
tena kho pana samayena aññataro ubhatovyañjanako bhikkhūsu pabbajito hoti, so karoti pi kārāpeti pi.  bhagavato etam atthaṃ ārocesuṃ.  ubhatovyañjanako bhikkhave anupasampanno na upasampādetabbo, upasampanno nāsetabbo ’ti.|1| 
At that time a certain hermaphrodite had received pabbaggâ with the Bhikkhus; so karoti pi kârâpeti pi.  They told this thing to the Blessed One. 
เรื่องห้ามอุปสมบทอุภโตพยัญชนก [๑๓๒] ก็โดยสมัยนั้นแล อุภโตพยัญชนกคนหนึ่งได้บวชในสำนักภิกษุ. เธอเสพเมถุนธรรมในสตรีทั้งหลาย ด้วยปุริสนิมิตของตนบ้าง ให้บุรุษอื่นเสพเมถุนธรรมในอิตถีนิมิตของตนบ้าง.  ภิกษุทั้งหลายจึงกราบทูลเรื่องนั้นแด่พระผู้มีพระภาค.  พระผู้มีพระภาครับสั่งกะภิกษุทั้งหลายว่า ดูกรภิกษุทั้งหลาย อนุปสัมบัน คือ อุภโตพยัญชนก ภิกษุไม่พึงให้อุปสมบท ที่อุปสมบทแล้วต้องให้สึกเสีย. 
อถ โข โส นาโค อวิรุฬฺหิธมฺโม กิราหํ อิมสฺมึ ธมฺมวินเยติ ทุกฺขี ทุมฺมโน อสฺสูนิ ปวตฺตยมาโน วิสฺสรํ กตฺวา ปกฺกามิ.  อถ โข ภควา ภิกฺขู อามนฺเตสิ “ทฺเวเม ภิกฺขเว ปจฺจยา นาคสฺส สภาวปาตุกมฺมาย. ยทา จ สชาติยา เมถุนํ ธมฺมํ ปฏิเสวติ ยทา จ วิสฺสฏฺโฐ นิทฺทํ โอกฺกมติ  อิเม โข ภิกฺขเว ทฺเว ปจฺจยา นาคสฺส สภาวปาตุกมฺมาย ติรจฺฉานคโต ภิกฺขเว อนุปสมฺปนฺโน น อุปสมฺปาเทตพฺโพ อุปสมฺปนฺโน นาเสตพฺโพ”ติ. 
||68|| 
'Let a hermaphrodite, O Bhikkhus,' &c. 
 
tena kho pana samayena bhikkhū anupajjhāyakaṃ upasampādenti.  bhagavato etam atthaṃ ārocesuṃ.  na bhikkhave anupajjhāyako upasampādetabbo.  yo upasampādeyya, āpatti dukkaṭassā ’ti.|1| 
At that time the Bhikkhus conferred, the upasampadâ ordination on a person that had no upagghâya.  They told this thing to the Blessed One.  'Let no one, O Bhikkhus, who has no upagghâya, receive the upasampadâ ordination. 
บุคคลไม่ควรให้อุปสมบท ๒๐ จำพวก [๑๓๓] ก็โดยสมัยนั้นแล ภิกษุทั้งหลายอุปสมบทกุลบุตรผู้ไม่มีอุปัชฌาย์.  ภิกษุทั้งหลายจึงกราบทูลเรื่องนั้นแด่พระผู้มีพระภาค.  พระผู้มีพระภาครับสั่งกะภิกษุทั้งหลายว่า ดูกรภิกษุทั้งหลาย กุลบุตรผู้ไม่มีอุปัชฌาย์ ภิกษุไม่พึงอุปสมบทให้  รูปใดอุปสมบทให้ ต้องอาบัติทุกกฏ. 
    (๕๐. มาตุฆาตกวตฺถุ) ๑๑๒. เตน โข ปน สมเยน อญฺญตโร มาณวโก มาตรํ ชีวิตา โวโรเปสิ.  โส เตน ปาปเกน กมฺเมน อฏฺฏียติ หรายติ ชิคุจฺฉติ 
tena kho pana samayena bhikkhū saṃghena upajjhāyena upasampādenti.  bhagavato etam atthaṃ ārocesuṃ.  na bhikkhave saṃghena upajjhāyena upasampādetabbo.  yo upasampādeyya, āpatti dukkaṭassā ’ti.|2| 
He who confers the upasampadâ ordination (on such a person), commits a dukkata offence.'  At that time the Bhikkhus conferred the upasampadâ ordination with the Samgha as upagghâya.  They told this thing to the Blessed One.  'Let no one receive the upasampadâ ordination with the Samgha as upagghâya. 
สมัยต่อมา ภิกษุทั้งหลายอุปสมบทกุลบุตรมีสงฆ์เป็นอุปัชฌาย์.  ภิกษุทั้งหลายจึงกราบทูลเรื่องนั้น แด่พระผู้มีพระภาค.  พระผู้มีพระภาครับสั่งกะภิกษุทั้งหลายว่า ดูกรภิกษุทั้งหลาย กุลบุตรมีสงฆ์เป็นอุปัชฌาย์ ภิกษุไม่พึงอุปสมบทให้  รูปใดอุปสมบทให้ ต้องอาบัติทุกกฏ. 
อถ โข ตสฺส มาณวกสฺส เอตทโหสิ  “เกน นุ โข อหํ อุปาเยน อิมสฺส ปาปกสฺส กมฺมสฺส นิกฺขนฺตึ กเรยฺย”นฺติ?  อถ โข ตสฺส มาณวกสฺส เอตทโหสิ “อิเม โข สมณา สกฺยปุตฺติยา ธมฺมจาริโน สมจาริโน พฺรหฺมจาริโน สจฺจวาทิโน สีลวนฺโต กลฺยาณธมฺมา.  สเจ โข อหํ สมเณสุ สกฺยปุตฺติเยสุ ปพฺพเชยฺยํ เอวาหํ อิมสฺส ปาปกสฺส กมฺมสฺส นิกฺขนฺตึ กเรยฺย”นฺติ. 
tena kho pana samayena bhikkhū gaṇena upajjhāyena upasampādenti.  bhagavato etam atthaṃ ārocesuṃ.  na bhikkhave gaṇena upajjhāyena upasampādetabbo.  yo upasampādeyya, āpatti dukkaṭassā ’ti. |3| 
He who confers the upasampadâ ordination (in such a way), commits a dukkata offence.'  At that time the Bhikkhus conferred the upasampadâ ordination with a number of Bhikkhus as upagghâya (&c., as before).     
สมัยต่อมา ภิกษุทั้งหลายอุปสมบทกุลบุตรมีคณะเป็นอุปัชฌาย์.  ภิกษุทั้งหลายจึงกราบทูลเรื่องนั้นแด่พระผู้มีพระภาค.  พระผู้มีพระภาครับสั่งกะภิกษุทั้งหลายว่า ดูกรภิกษุทั้งหลาย กุลบุตรมีคณะเป็นอุปัชฌาย์ ภิกษุไม่พึงอุปสมบทให้  รูปใดอุปสมบทให้ ต้องอาบัติทุกกฏ. 
อถ โข โส มาณวโก ภิกฺขู อุปสงฺกมิตฺวา ปพฺพชฺชํ ยาจิ.  ภิกฺขู อายสฺมนฺตํ อุปาลึ เอตทโวจุํ “ปุพฺเพปิ โข อาวุโส อุปาลิ นาโค มาณวกวณฺเณน ภิกฺขูสุ ปพฺพชิโต. อิงฺฆาวุโส อุปาลิ อิมํ มาณวกํ อนุยุญฺชาหี”ติ.  อถ โข โส มาณวโก อายสฺมตา อุปาลินา อนุยุญฺชียมาโน เอตมตฺถํ อาโรเจสิ.  อายสฺมา อุปาลิ ภิกฺขูนํ เอตมตฺถํ อาโรเจสิ. 
tena kho pana samayena bhikkhū paṇḍakupajjhāyena upasampādenti --gha--, theyyasaṃvāsakupajjhāyena upasampādenti, titthiyapakkantakupajjhāyena up., tiracchānagatupajjhā-(90)yena up., {mātughātakupajjhāyena} up., pitughātakupajjhāyena up., arahantaghātakupajjhāyena up., bhikkhunīdūsakupajjhāyena up., saṃghabhedakupajjhāyena up., lohituppādakupajjhāyena up.  ubhatovyañjanakupajjhāyena upasampādenti.  bhagavato etam atthaṃ ārocesum.  na bhikkhave paṇḍakupajjhāyena upasampādetabbo, na theyyasaṃvāsakupajjhāyena upasampādetabbo . . . na ubhatovyañjanakupajjhāyena upasampādetabbo.  yo upasampādeyya, āpatti dukkaṭassā ’ti. |4| 
  At that time the Bhikkhus conferred the upasampadâ ordination with a eunuch as upagghâya, &c.; with a person that had furtively attached himself (to the Samgha) as upagghâya; with a person that was gone over to the Titthiyas as upagghâya; with an animal as upagghâya; with a person that was guilty of matricide as upagghâya; with a person that was guilty of parricide as upagghâya; with a person that had murdered an Arahat as upagghâya; with a person that had violated a Bhikkhunî as upagghâya; with a person that had caused a schism among the Samgha as upagghâya; with a person that had shed (a Buddha's) blood as upagghâya;  with a hermaphrodite as upagghâya.  They told this thing to the Blessed One.  'Let no one,' &c. (as in the first clause). 
สมัยต่อมา ภิกษุทั้งหลายอุปสมบทกุลบุตรมีบัณเฑาะก์เป็นอุปัชฌาย์. ... อุปสมบทกุลบุตรมีบุคคลลักเพศเป็นอุปัชฌาย์. ... อุปสมบทกุลบุตรมีภิกษุไปเข้ารีดเดียรถีย์เป็นอุปัชฌาย์. ... อุปสมบทกุลบุตรมีสัตว์ดิรัจฉานเป็นอุปัชฌาย์. ... อุปสมบทกุลบุตรมีคนฆ่ามารดาเป็นอุปัชฌาย์. ... อุปสมบทกุลบุตรมีคนฆ่าบิดาเป็นอุปัชฌาย์. ... อุปสมบทกุลบุตรมีคนฆ่าพระอรหันต์เป็นอุปัชฌาย์. ... อุปสมบทกุลบุตรมีคนประทุษร้ายภิกษุณีเป็นอุปัชฌาย์. ... อุปสมบทกุลบุตรมีคนทำสังฆเภทเป็นอุปัชฌาย์ ... อุปสมบทกุลบุตรมีคนทำร้ายพระศาสดาจนห้อพระโลหิตเป็นอุปัชฌาย์  ... อุปสมบทกุลบุตรมีอุภโตพยัญชนกเป็นอุปัชฌาย์.  ภิกษุทั้งหลายจึงกราบทูลเรื่องนั้นแด่พระผู้มีพระภาค.  พระผู้มีพระภาครับสั่งกะภิกษุทั้งหลายว่า ดูกรภิกษุทั้งหลาย กุลบุตรมีบัณเฑาะก์เป็นอุปัชฌาย์ ภิกษุไม่พึงอุปสมบทให้ ... กุลบุตรมีบุคคลลักเพศเป็นอุปัชฌาย์ ภิกษุไม่พึงอุปสมบทให้ ... กุลบุตรมีภิกษุไปเข้ารีดเดียรถีย์เป็นอุปัชฌาย์ ภิกษุไม่พึงอุปสมบทให้ ... กุลบุตรมีสัตว์ดิรัจฉานเป็นอุปัชฌาย์ ภิกษุไม่พึงอุปสมบทให้ ... กุลบุตรมีคนฆ่ามารดาเป็นอุปัชฌาย์ ภิกษุไม่พึงอุปสมบทให้ ... กุลบุตรมีคนฆ่าบิดาเป็นอุปัชฌาย์ ภิกษุไม่พึงอุปสมบทให้ ... กุลบุตรมีคนฆ่าพระอรหันต์เป็นอุปัชฌาย์ ภิกษุไม่พึงอุปสมบทให้ ... กุลบุตรมีคนประทุษร้ายภิกษุณีเป็นอุปัชฌาย์ ภิกษุไม่พึงอุปสมบทให้ ... กุลบุตรมีคนทำสังฆเภทเป็นอุปัชฌาย์ ภิกษุไม่พึงอุปสมบทให้ ... กุลบุตรมีคนทำร้ายพระศาสดาจนห้อพระโลหิตเป็นอุปัชฌาย์ ภิกษุไม่พึงอุปสมบทให้ ... กุลบุตรมีอุภโตพยัญชนกเป็นอุปัชฌาย์ ภิกษุไม่พึงอุปสมบทให้  รูปใดอุปสมบทให้ต้องอาบัติทุกกฏ. 
ภิกฺขู ภควโต เอตมตฺถํ อาโรเจสุํฯเปฯ  มาตุฆาตโก ภิกฺขเว อนุปสมฺปนฺโน น อุปสมฺปาเทตพฺโพ อุปสมฺปนฺโน นาเสตพฺโพติ.      (๕๑. ปิตุฆาตกวตฺถุ) ๑๑๓. เตน โข ปน สมเยน อญฺญตโร มาณวโก ปิตรํ ชีวิตา โวโรเปสิ. 
||69|| 
 
โส เตน ปาปเกน กมฺเมน อฏฺฏียติ หรายติ ชิคุจฺฉติ. อถ โข ตสฺส มาณวกสฺส เอตทโหสิ “เกน นุ โข อหํ อุปาเยน อิมสฺส ปาปกสฺส กมฺมสฺส นิกฺขนฺตึ กเรยฺย”นฺติ. อถ โข ตสฺส มาณวกสฺส เอตทโหสิ “อิเม โข สมณา สกฺยปุตฺติยา ธมฺมจาริโน สมจาริโน พฺรหฺมจาริโน สจฺจวาทิโน สีลวนฺโต กลฺยาณธมฺมา สเจ โข อหํ สมเณสุ สกฺยปุตฺติเยสุ ปพฺพเชยฺยํ เอวาหํ อิมสฺส ปาปกสฺส กมฺมสฺส นิกฺขนฺตึ กเรยฺย”นฺติ. อถ โข โส มาณวโก ภิกฺขู อุปสงฺกมิตฺวา ปพฺพชฺชํ ยาจิ. ภิกฺขู อายสฺมนฺตํ อุปาลึ เอตทโวจุํ “ปุพฺเพปิ โข อาวุโส อุปาลิ นาโค มาณวกวณฺเณน ภิกฺขูสุ ปพฺพชิโต อิงฺฆาวุโส อุปาลิ อิมํ มาณวกํ อนุยุญฺชาหี”ติ. อถ โข โส มาณวโก อายสฺมตา อุปาลินา อนุยุญฺชียมาโน เอตมตฺถํ อาโรเจสิ. อายสฺมา อุปาลิ ภิกฺขูนํ เอตมตฺถํ อาโรเจสิ. ภิกฺขู ภควโต เอตมตฺถํ อาโรเจสุํ. ปิตุฆาตโก ภิกฺขเว อนุปสมฺปนฺโน น อุปสมฺปาเทตพฺโพ อุปสมฺปนฺโน นาเสตพฺโพติ. 
tena kho pana samayena bhikkhū apattakaṃ upasampādenti.  hatthesu piṇḍāya caranti.  manussā ujjhāyanti khīyanti vipācenti: seyyathāpi titthiyā ’ti.  bhagavato etam atthaṃ ārocesuṃ.  na bhikkhave apattako upasampādetabbo.  yo upasampādeyya, āpatti dukkaṭassā ’ti.|1| 
At that time the Bhikkhus conferred the upasampadâ ordination on persons that had no alms-bowl.  They received alms with their hands.  People were annoyed, murmured, and became angry, saying, 'Like the Titthiyas.'  They told this thing to the Blessed One.  'Let no one, O Bhikkhus, receive the upasampadâ ordination without having an alms-bowl. 
[๑๓๔] ก็โดยสมัยนั้นแล ภิกษุทั้งหลายอุปสมบทกุลบุตรผู้ไม่มีบาตร.  พวกเธอเที่ยวรับบิณฑบาตด้วยมือ.  คนทั้งหลายจึงเพ่งโทษ ติเตียน โพนทะนาว่า เที่ยวรับบิณฑบาตเหมือนพวกเดียรถีย์.  ภิกษุทั้งหลายกราบทูลเรื่องนั้นแด่พระผู้มีพระภาค.  พระผู้มีพระภาครับสั่งกะภิกษุทั้งหลายว่า ดูกรภิกษุทั้งหลาย กุลบุตรไม่มีบาตร ภิกษุไม่พึงอุปสมบทให้  รูปใดอุปสมบทให้ ต้องอาบัติทุกกฏ. 
    (๕๒. อรหนฺตฆาตกวตฺถุ) ๑๑๔. เตน โข ปน สมเยน สมฺพหุลา ภิกฺขู สาเกตา สาวตฺถึ อทฺธานมคฺคปฺปฏิปนฺนา โหนฺติ.  อนฺตรามคฺเค โจรา นิกฺขมิตฺวา เอกจฺเจ ภิกฺขู อจฺฉินฺทึสุ เอกจฺเจ ภิกฺขู หนึสุ.  สาวตฺถิยา ราชภฏา นิกฺขมิตฺวา เอกจฺเจ โจเร อคฺคเหสุํ เอกจฺเจ โจรา ปลายิ๎สุ.  เย เต ปลายิ๎สุ เต ภิกฺขูสุ ปพฺพชึสุ เย เต คหิตา เต วธาย โอนิยฺยนฺติ 
tena kho pana samayena bhikkhū acīvarakaṃ upasampādenti.  naggā piṇḍāya caranti.  manussā ujjhāyanti khīyanti vipācenti: seyyathāpi titthiyā ’ti.  bhagavato etam atthaṃ ārocesuṃ.  na bhikkhave acīvarako upasampādetabbo.  yo upasampādeyya, āpatti dukkaṭassā ’ti.|2| 
He who confers the upasampadâ ordination (on a person that has not), commits a dukkata offence.'  At that time the Bhikkhus conferred the upasampadâ ordination on persons that had no robes.  They went out for alms naked.  People were annoyed (&c., as in § 1).     
สมัยต่อมา ภิกษุทั้งหลายอุปสมบทกุลบุตรผู้ไม่มีจีวร.  พวกเธอเปลือยกายเที่ยวรับบิณฑบาต.  คนทั้งหลายจึงเพ่งโทษ ติเตียน โพนทะนาว่า เที่ยวรับบิณฑบาตเหมือนพวกเดียรถีย์.  ภิกษุทั้งหลายกราบทูลเรื่องนั้นแด่พระผู้มีพระภาค.  พระผู้มีพระภาครับสั่งกะภิกษุทั้งหลายว่า ดูกรภิกษุทั้งหลาย กุลบุตรไม่มีจีวร ภิกษุไม่พึงอุปสมบทให้  รูปใดอุปสมบทให้ต้องอาบัติทุกกฏ. 
อทฺทสํสุ โข เต ปลายิตฺวา ปพฺพชิตา เต โจเร วธาย โอนิยฺยมาเน ทิสฺวาน เอวมาหํสุ “สาธุ โข มยํ ปลายิมฺหา สจา จ มยํ คยฺเหยฺยาม มยมฺปิ เอวเมว หญฺเญยฺยามา”ติ ภิกฺขู เอวมาหํสุ “กึ ปน ตุมฺเห อาวุโส อกตฺถา”ติ?  อถ โข เต ปพฺพชิตา ภิกฺขูนํ เอตมตฺถํ อาโรเจสุํ.  ภิกฺขู ภควโต เอตมตฺถํ อาโรเจสุํ.  อรหนฺโต เอเต ภิกฺขเว ภิกฺขู.  อรหนฺตฆาตโก ภิกฺขเว อนุปสมฺปนฺโน น อุปสมฺปาเทตพฺโพ อุปสมฺปนฺโน นาเสตพฺโพติ.   
tena kho pana samayena bhikkhū apattacīvarakaṃ upasampādenti.  naggā hatthesu piṇḍāya caranti.  manussā ujjhāyanti khīyanti vipācenti: seyyathāpi titthiyā ’ti.  bhagavato etam atthaṃ ārocesuṃ.  na bhikkhave apattacīvarako upasampādetabbo.  yo upasampādeyya, āpatti dukkaṭassā ’ti.|3| 
  At that time the Bhikkhus conferred the upasampadâ ordination on persons that had neither alms-bowl nor robes.  They went out for alms naked and (received alms) with their hands.  People were annoyed (&c., as in § 1).     
สมัยต่อมา ภิกษุทั้งหลายอุปสมบทกุลบุตรผู้ไม่มีทั้งบาตรทั้งจีวร  พวกเธอเปลือยกายเที่ยวรับบิณฑบาตด้วยมือ  คนทั้งหลายจึงเพ่งโทษ ติเตียน โพนทะนาว่า เที่ยวรับบิณฑบาตเหมือนพวกเดียรถีย์.  ภิกษุทั้งหลายกราบทูลเรื่องนั้นแด่พระผู้มีพระภาค.  พระผู้มีพระภาครับสั่งกะภิกษุทั้งหลายว่า ดูกรภิกษุทั้งหลาย กุลบุตรไม่มีทั้งบาตรทั้งจีวร ภิกษุไม่พึงอุปสมบทให้  รูปใดอุปสมบทให้ ต้องอาบัติทุกกฏ. 
    (๕๓. ภิกฺขุนีทูสกวตฺถุ) ๑๑๕. เตน โข ปน สมเยน สมฺพหุลา ภิกฺขุนิโย สาเกตา สาวตฺถึ อทฺธานมคฺคปฺปฏิปนฺนา โหนฺติ.  อนฺตรามคฺเค โจรา นิกฺขมิตฺวา เอกจฺจา ภิกฺขุนิโย อจฺฉินฺทึสุ เอกจฺจา ภิกฺขุนิโย ทูเสสุํ.  สาวตฺถิยา ราชภฏา นิกฺขมิตฺวา เอกจฺเจ โจเร อคฺคเหสุํ เอกจฺเจ โจรา ปลายิ๎สุ. เย เต ปลายิ๎สุ เต ภิกฺขูสุ ปพฺพชึสุ. เย เต คหิตา เต วธาย โอนิยฺยนฺติ. อทฺทสํสุ โข เต ปลายิตฺวา ปพฺพชิตา เต โจเร วธาย โอนิยฺยมาเน ทิสฺวาน เอวมาหํสุ “สาธุ โข มยํ ปลายิมฺหา สจา จ มยํ คยฺเหยฺยาม มยมฺปิ เอวเมว หญฺเญยฺยามา”ติ. ภิกฺขู เอวมาหํสุ “กึ ปน ตุมฺเห อาวุโส อกตฺถา”ติ. อถ โข เต ปพฺพชิตา ภิกฺขูนํ เอตมตฺถํ อาโรเจสุํ. ภิกฺขู ภควโต เอตมตฺถํ อาโรเจสุํ.  ภิกฺขุนิทูสโก ภิกฺขเว อนุปสมฺปนฺโน น อุปสมฺปาเทตพฺโพ อุปสมฺปนฺโน นาเสตพฺโพติ. 
tena kho pana samayena bhikkhū yācitakena pattena upasampādenti.  upasampanne pattaṃ paṭiharanti, hatthesu piṇḍāya caranti.  manussā ujjhāyanti khīyanti vipācenti: seyyathāpi titthiyā ’ti.  bhagavato etam atthaṃ ārocesum.  na bhikkhave yācitakena pattena upasampādetabbo.  yo upasampādeyya, āpatti dukkaṭassā ’ti.|4| 
  At that time the Bhikkhus conferred the upasampadâ ordination on persons that had borrowed alms-bowls.  After the ordination (the owners) took their alms-bowls back; (the Bhikkhus) received alms with their hands.  People were annoyed (&c. . . . . down to): 'Like the Titthiyas.'  They told this thing to the Blessed One.  'Let no one, O Bhikkhus, receive the upasampadâ ordination who has borrowed the alms-bowl. 
สมัยต่อมา ภิกษุทั้งหลายอุปสมบทกุลบุตรมีบาตรที่ยืมเขามา.  เมื่ออุปสมบทแล้วเจ้าของก็นำบาตรคืนไป. พวกเธอเที่ยวรับบิณฑบาตด้วยมือ.  คนทั้งหลายจึงเพ่งโทษ ติเตียน โพนทะนาว่า เที่ยวรับบิณฑบาตเหมือนพวกเดียรถีย์.  ภิกษุทั้งหลายกราบทูลเรื่องนั้นแด่พระผู้มีพระภาค.  พระผู้มีพระภาครับสั่งกะภิกษุทั้งหลายว่า ดูกรภิกษุทั้งหลายกุลบุตรมีบาตรที่ยืมเขามา ภิกษุไม่พึงอุปสมบทให้  รูปใดอุปสมบทให้ ต้องอาบัติทุกกฏ. 
สงฺฆเภทโก ภิกฺขเว อนุปสมฺปนฺโน น อุปสมฺปาเทตพฺโพ อุปสมฺปนฺโน นาเสตพฺโพติ.  โลหิตุปฺปาทโก ภิกฺขเว อนุปสมฺปนฺโน น อุปสมฺปาเทตพฺโพ อุปสมฺปนฺโน นาเสตพฺโพติ.      (๕๔. อุภโตพฺยญฺชนกวตฺถุ) ๑๑๖. เตน โข ปน สมเยน อญฺญตโร อุภโตพฺยญฺชนโก ภิกฺขูสุ ปพฺพชิโต โหติ. โส กโรติปิ การาเปติปิ.  ภควโต เอตมตฺถํ อาโรเจสุํ. 
tena kho pana samayena bhikkhū yācitakena cīvarena upasampādenti.  upasampanne cīvaraṃ paṭiharanti, naggā piṇḍāya caranti,  manussā ujjhāyanti khīyanti vipācenti: seyyathāpi titthiyā ’ti.  bhagavato etam atthaṃ ārocesuṃ.  na bhikkhave yācitakena cīvarena upasampādetabbo.  yo upasampādeyya, āpatti dukkaṭassā ’ti.|5| 
He who confers,' &c. (as in the first clause).  At that time the Bhikkhus conferred the upasampadâ ordination on persons that had borrowed robes.  After the ordination (the owners) took their robes back; (the Bhikkhus) went out for alms naked.  People were annoyed (&c., as in § 1 to the end).     
สมัยต่อมา ภิกษุทั้งหลายอุปสมบทกุลบุตรมีจีวรที่ยืมเขามา.  เมื่ออุปสมบทแล้ว เจ้าของก็นำจีวรคืนไป. พวกเธอเปลือยกายเที่ยวรับบิณฑบาต.  คนทั้งหลายจึงเพ่งโทษ ติเตียน โพนทะนาว่า เที่ยวรับบิณฑบาตเหมือนพวกเดียรถีย์.  ภิกษุทั้งหลายกราบทูลเรื่องนั้นแด่พระผู้มีพระภาค.  พระผู้มีพระภาครับสั่งกะภิกษุทั้งหลายว่า ดูกรภิกษุทั้งหลาย กุลบุตรมีจีวรที่ยืมเขามา ภิกษุไม่พึงอุปสมบทให้  รูปใดอุปสมบทให้ ต้องอาบัติทุกกฏ. 
อุภโตพฺยญฺชนโก ภิกฺขเว อนุปสมฺปนฺโน น อุปสมฺปาเทตพฺโพ อุปสมฺปนฺโน นาเสตพฺโพติ.      (๕๕. อนุปชฺฌายกาทิวตฺถูนิ) ๑๑๗. เตน โข ปน สมเยน ภิกฺขู อนุปชฺฌายกํ อุปสมฺปาเทนฺติ.  ภควโต เอตมตฺถํ อาโรเจสุํ.  น ภิกฺขเว อนุปชฺฌายโก อุปสมฺปาเทตพฺโพ. 
tena kho pana samayena bhikkhū yācitakena pattacīvarena upasampādenti.  upasampanne pa-(91)ttacīvaraṃ paṭiharanti, naggā hatthesu piṇḍāya caranti.  manussā ujjhāyanti khīyanti vipācenti: seyyathāpi titthiyā ’ti.  bhagavato etam atthaṃ ārocesuṃ.  na bhikkhave yācitakena pattacīvarena upasampādetabbo.  yo upasampādeyya, āpatti dukkaṭassā ’ti. |6| 
  At that time the Bhikkhus conferred the upasampadâ ordination on persons that had borrowed alms-bowls and robes, &c.         
สมัยต่อมา ภิกษุทั้งหลายอุปสมบทกุลบุตรมีบาตรและจีวรที่ยืมเขามา.  เมื่ออุปสมบทแล้ว เจ้าของก็นำบาตรและจีวรคืนไป. พวกเธอเปลือยกายเที่ยวรับบิณฑบาตด้วยมือ.  คนทั้งหลายจึงเพ่งโทษ ติเตียน โพนทะนาว่า เที่ยวรับบิณฑบาตเหมือนพวกเดียรถีย์.  ภิกษุทั้งหลายกราบทูลเรื่องนั้นแด่พระผู้มีพระภาค.  พระผู้มีพระภาครับสั่งกะภิกษุทั้งหลายว่า ดูกรภิกษุทั้งหลายกุลบุตรมีบาตรและจีวรที่ยืมเขามา ภิกษุไม่พึงอุปสมบทให้  รูปใดอุปสมบทให้ ต้องอาบัติทุกกฏ. 
โย อุปสมฺปาเทยฺย อาปตฺติ ทุกฺกฏสฺสาติ.  เตน โข ปน สมเยน ภิกฺขู สงฺเฆน อุปชฺฌาเยน อุปสมฺปาเทนฺติ.  ภควโต เอตมตฺถํ อาโรเจสุํ.  น ภิกฺขเว สงฺเฆน อุปชฺฌาเยน อุปสมฺปาเทตพฺโพ.  โย อุปสมฺปาเทยฺย อาปตฺติ ทุกฺกฏสฺสาติ.  เตน โข ปน สมเยน ภิกฺขู คเณน อุปชฺฌาเยน อุปสมฺปาเทนฺติ. 
||70|| 
 
ภควโต เอตมตฺถํ อาโรเจสุํ. 
naupasampādetabbakavīsativāraṃ niṭṭhitaṃ. 
บุคคลไม่ควรให้อุปสมบท ๒๐ จำพวก จบ. 
น ภิกฺขเว คเณน อุปชฺฌาเยน อุปสมฺปาเทตพฺโพ. 
tena kho pana samayena bhikkhū hatthacchinnaṃ pabbājenti --gha--, pādacchinnaṃ pabbājenti, hatthapādacchinnaṃ p., kaṇṇacchinnaṃ p., nāsacchinnaṃ p., kaṇṇanāsacchinnaṃ p., aṅgulicchinnaṃ p., aḷacchinnaṃ p., kaṇḍaracchinnaṃ p., phaṇahatthakaṃ p., khujjaṃ p., vāmanaṃ p., galagaṇḍiṃ p., lakkhaṇāhataṃ p., kasāhataṃ p., likhitakaṃ p., sīpadiṃ p., pāparogiṃ p., parisadūsakaṃ p., kāṇaṃ p., kuṇiṃ p., khañjaṃ p., pakkhahataṃ p., chinniriyāpathaṃ p., jarādubbalaṃ p., andhaṃ p., mūgaṃ p., badhiraṃ p., andhamūgaṃ p., andhabadhiraṃ p., mūgabadhiraṃ p., andhamūgabadhiraṃ pabbājenti.  bhagavato etam atthaṃ ārocesuṃ. |1| 
Here end the twenty cases in which upasampadâ is forbidden.  At that time the Bhikkhus conferred the pabbaggâ ordination on a person whose hands were cut off, on a person whose feet were cut off, whose hands and feet were cut off, whose ears were cut off, whose nose was cut off, whose ears and nose were cut off, whose fingers were cut off, whose thumbs were cut off, whose tendons (of the feet) were cut, who had hands like a snake's hood, who was a hump-back, or a dwarf, or a person that had a goitre, that had been branded, that had been scourged, on a proclaimed robber, on a person that had elephantiasis, that was afflicted with bad illness, that gave offence (by any deformity) to those who saw him, on a one-eyed person, on a person with a crooked limb, on a lame person, on a person that was paralysed on one side, on a cripple, on a person weak from age, on a blind man, on a dumb man, on a deaf man, on a blind and dumb man, on a blind and deaf man, on a deaf and dumb man, on a blind, deaf and dumb man. 
บุคคลไม่ควรให้บรรพชา ๓๒ จำพวก [๑๓๕] ก็โดยสมัยนั้นแล ภิกษุทั้งหลายบรรพชาคนมือด้วน ... บรรพชาคนเท้าด้วน ... บรรพชาคนทั้งมือและเท้าด้วน ... บรรพชาคนหูขาด ... บรรพชาคนจมูกแหว่ง ... บรรพชาคนทั้งหูขาด และจมูกแหว่ง ... บรรพชาคนนิ้วมือนิ้วเท้าขาด ... บรรพชาคนมีง่ามมือง่ามเท้าขาด ... บรรพชาคนเอ็น ขาด ... บรรพชาคนมือเป็นแผ่น ... บรรพชาคนค่อม ... บรรพชาคนเตี้ย ... บรรพชาคนคอพอก ... บรรพชาคนถูกสักหมายโทษ ... บรรพชาคนมีรอยเฆี่ยนด้วยหวาย ... บรรพชาคนถูกออกหมายสั่งจับ ... บรรพชาคนเท้าปุก ... บรรพชาคนมีโรคเรื้อรัง ... บรรพชาคนมีรูปร่างไม่สมประกอบ ... บรรพชา คนตาบอดข้างเดียว ... บรรพชาคนง่อย ... บรรพชาคนกระจอก ... บรรพชาคนเป็นโรคอัมพาต ... บรรพชาคนมีอิริยาบถขาด ... บรรพชาคนชราทุพพลภาพ ... บรรพชาคนตาบอดสองข้าง ... บรรพชา คนใบ้ ... บรรพชาคนหูหนวก ... บรรพชาคนทั้งบอดและใบ้ ... บรรพชาคนทั้งบอดและหนวก ... บรรพชาคนทั้งใบ้และหนวก ... บรรพชาคนทั้งบอดใบ้และหนวก.  ภิกษุทั้งหลายจึงกราบทูลเรื่องนั้นแด่พระผู้มีพระภาค. 
โย อุปสมฺปาเทยฺย อาปตฺติ ทุกฺกฏสฺสาติ.  เตน โข ปน สมเยน ภิกฺขู ปณฺฑกุปชฺฌาเยน อุปสมฺปาเทนฺติฯเปฯ เถยฺยสํวาสกุปชฺฌาเยน อุปสมฺปาเทนฺติฯเปฯ ติตฺถิยปกฺกนฺตกุปชฺฌาเยน อุปสมฺปาเทนฺติ ฯเปฯ ติรจฺฉานคตุปชฺฌาเยน อุปสมฺปาเทนฺติฯเปฯ มาตุฆาตกุปชฺฌาเยน อุปสมฺปาเทนฺติฯเปฯ ปิตุฆาตกุปชฺฌาเยน อุปสมฺปาเทนฺติฯเปฯ อรหนฺตฆาตกุปชฺฌาเยน อุปสมฺปาเทนฺติฯเปฯ ภิกฺขุนิทูสกุปชฺฌาเยน อุปสมฺปาเทนฺติฯเปฯ สงฺฆเภทกุปชฺฌาเยน อุปสมฺปาเทนฺติฯเปฯ โลหิตุปฺปาทกุปชฺฌาเยน อุปสมฺปาเทนฺติฯเปฯ 
na bhikkhave hatthacchinno pabbājetabbo, na pādacchinno pabbājetabbo . . . na andhamūgabadhiro pabbājetabbo.  yo pabbājeyya, āpatti dukkaṭassā ’ti. |2| 
They told this thing to the Blessed One.  'Let no person, O Bhikkhus, whose hands are cut off, receive the pabbaggâ ordination. Let no person whose feet are cut off, receive the pabbaggâ ordination, &c. (each of the above cases being here repeated). 
พระผู้มีพระภาครับสั่งกะภิกษุทั้งหลายว่า ดูกรภิกษุทั้งหลาย ภิกษุไม่พึงบรรพชาคนมือด้วน ... ไม่พึงบรรพชาคนเท้าด้วน ... ไม่พึงบรรพชาคนทั้งมือและเท้าด้วน ... ไม่พึงบรรพชาคนหูขาด ... ไม่พึงบรรพชาคนจมูกแหว่ง ... ไม่พึงบรรพชาคนทั้งหูขาดทั้งจมูกแหว่ง ... ไม่พึงบรรพชาคนนิ้วมือนิ้วเท้าขาด ... ไม่พึงบรรพชาคน ง่ามมือง่ามเท้าขาด ... ไม่พึงบรรพชาคนเอ็นขาด ... ไม่พึงบรรพชาคนมือเป็นแผ่น ... ไม่พึงบรรพชา คนค่อม ... ไม่พึงบรรพชาคนเตี้ย ... ไม่พึงบรรพชาคนคอพอก ... ไม่พึงบรรพชาคนถูกสักหมายโทษ ... ไม่พึงบรรพชาคนมีรอยเฆี่ยนด้วยหวาย ... ไม่พึงบรรพชาคนถูกออกหมายสั่งจับ ... ไม่พึงบรรพชา คนเท้าปุก ... ไม่พึงบรรพชาคนมีโรคเรื้อรัง ... ไม่พึงบรรพชาคนมีรูปร่างไม่สมประกอบ ... ไม่พึง บรรพชาคนตาบอดข้างเดียว ... ไม่พึงบรรพชาคนง่อย ... ไม่พึงบรรพชาคนกระจอก ... ไม่พึงบรรพชา คนเป็นโรคอัมพาต ... ไม่พึงบรรพชาคนมีอิริยาบถขาด ... ไม่พึงบรรพชาคนชราทุพพลภาพ ... ไม่พึง บรรพชาคนตาบอดสองข้าง ... ไม่พึงบรรพชาคนใบ้ ... ไม่พึงบรรพชาคนหูหนวก ... ไม่พึงบรรพชา คนทั้งบอดและใบ้ ... ไม่พึงบรรพชาคนทั้งบอดและหนวก ... ไม่พึงบรรพชาคนทั้งใบ้และหนวก ... ไม่พึงบรรพชาคนทั้งบอดใบ้และหนวก  รูปใดบรรพชาให้ ต้องอาบัติทุกกฏ. 
อุภโตพฺยญฺชนกุปชฺฌาเยน อุปสมฺปาเทนฺติ  ภควโต เอตมตฺถํ อาโรเจสุํ. 
napabbājetabbadvattiṃsavāraṃ niṭṭhitaṃ. ||71|| 
He who confers the pabbaggâ ordination (on such persons), is guilty of a dukkata offence.' 
บุคคลไม่ควรให้บรรพชา ๓๒ จำพวก จบ. 
น ภิกฺขเว ปณฺฑกุปชฺฌาเยน อุปสมฺปาเทตพฺโพฯเปฯ น ภิกฺขเว เถยฺยสํวาสกุปชฺฌาเยน อุปสมฺปาเทตพฺโพฯเปฯ น ภิกฺขเว ติตฺถิยปกฺกนฺตกุปชฺฌาเยน อุปสมฺปาเทตพฺโพฯเปฯ น ภิกฺขเว ติรจฺฉานคตุปชฺฌาเยน อุปสมฺปาเทตพฺโพฯเปฯ น ภิกฺขเว มาตุฆาตกุปชฺฌาเยน อุปสมฺปาเทตพฺโพ ฯเปฯ น ภิกฺขเว ปิตุฆาตกุปชฺฌาเยน อุปสมฺปาเทตพฺโพฯเปฯ น ภิกฺขเว อรหนฺตฆาตกุปชฺฌาเยน อุปสมฺปาเทตพฺโพฯเปฯ น ภิกฺขเว ภิกฺขุนิทูสกุปชฺฌาเยน อุปสมฺปาเทตพฺโพ เปฯ น ภิกฺขเว สงฺฆเภทกุปชฺฌาเยน อุปสมฺปาเทตพฺโพฯเปฯ น ภิกฺขเว โลหิตุปฺปาทกุปชฺฌาเยน อุปสมฺปาเทตพฺโพฯเปฯ น ภิกฺขเว อุภโตพฺยญฺชนกุปชฺฌาเยน อุปสมฺปาเทตพฺโพ. 
dāyajjabhāṇavāraṃ niṭṭhitaṃ navamaṃ. 
Here end the thirty-two cases in which pabbaggâ. is forbidden. 
ทายัชชภาณวารที่ ๙ จบ. 
โย อุปสมฺปาเทยฺย อาปตฺติ ทุกฺกฏสฺสาติ. 
tena kho pana samayena chabbaggiyā bhikkhū alajjīnaṃ nissayaṃ denti.  bhagavato etam atthaṃ ārocesuṃ.  na bhikkhave alajjīnaṃ nissayo dātabbo.  yo dadeyya, āpatti dukkaṭassā ’ti.  tena kho pana samayena bhikkhū alajjīnaṃ nissāya vasanti, te pi na cirass’ eva alajjino honti pāpabhikkhū.  bhagavato etam atthaṃ ārocesuṃ.  na bhikkhave alajjīnaṃ nissāya vatthabbaṃ.  yo vaseyya, āpatti dukkaṭassā ’ti. |1| 
End of the ninth Bhânavâra.  At that time the Khabbaggiya Bhikkhus gave a nissaya to shameless Bhikkhus.  They told this thing to the Blessed One.  'Let no one, O Bhikkhus, give a nissaya to shameless Bhikkhus.  He who does, is guilty of a dukkata offence.'  At that time some Bhikkhus lived in dependence on shameless Bhikkhus (i.e. they received a nissaya from them, they chose them for their upagghâyas or âkariyas); ere long they became also shameless, bad Bhikkhus.  They told this thing to the Blessed One.  'Let no one, O Bhikkhus, live in dependence on shameless Bhikkhus. 
ทรงห้ามให้นิสสัยแก่อลัชชี [๑๓๖] ก็โดยสมัยนั้นแล พระฉัพพัคคีย์ให้นิสสัยแก่ภิกษุพวกอลัชชี.  ภิกษุทั้งหลายจึงกราบทูลเรื่องนั้นแด่พระผู้มีพระภาค.  พระผู้มีพระภาคตรัสห้ามภิกษุทั้งหลายว่า ดูกรภิกษุทั้งหลายภิกษุไม่พึงให้นิสสัยแก่ภิกษุพวกอลัชชี  รูปใดให้ต้องอาบัติทุกกฏ.  สมัยต่อมา ภิกษุทั้งหลายอยู่อาศัยภิกษุพวกอลัชชี. ไม่ช้าไม่นานเท่าไรนัก แม้พวกเธอก็กลายเป็นพวกอลัชชี เป็นภิกษุเลวทราม.  ภิกษุทั้งหลายจึงกราบทูลเรื่องนั้นแด่พระผู้มีพระภาค.  พระผู้มีพระภาคตรัสห้ามภิกษุทั้งหลายว่า ดูกรภิกษุทั้งหลาย ภิกษุไม่พึงอยู่อาศัยภิกษุพวกอลัชชี  รูปใดอยู่ ต้องอาบัติทุกกฏ. 
    (๕๖. อปตฺตกาทิวตฺถุ) ๑๑๘. เตน โข ปน สมเยน ภิกฺขู อปตฺตกํ อุปสมฺปาเทนฺติ.  หตฺเถสุ ปิณฺฑาย จรนฺติ.  มนุสฺสา อุชฺฌายนฺติ ขิยฺยนฺติ วิปาเจนฺติ เสยฺยถาปิ ติตฺถิยาติ.  ภควโต เอตมตฺถํ อาโรเจสุํ.  น ภิกฺขเว อปตฺตโก อุปสมฺปาเทตพฺโพ.  โย อุปสมฺปาเทยฺย อาปตฺติ ทุกฺกฏสฺสาติ. 
atha kho bhikkhūnaṃ etad ahosi: bhagavatā paññattaṃ na alajjīnaṃ nissayo dātabbo, na alajjīnaṃ nissāya vatthabban ti.  kathaṃ nu kho mayaṃ jāneyyāma lajjiṃ vā alajjiṃ vā ’ti.  bhagavato etam atthaṃ ārocesuṃ.  anujānāmi bhikkhave catūhapañcāhaṃ āgametuṃ yāva bhikkhusabhāgataṃ jānāmīti. |2| 
He who does, is guilty of a dukkata offence.'  Now the Bhikkhus thought: 'The Blessed One has prescribed that we shall not give a nissaya to shameless Bhikkhus, nor live in dependence on shameless Bhikkhus.  Now how are we to discern modest and shameless persons?'  They told this thing to the Blessed One. 
ครั้งนั้น ภิกษุทั้งหลายได้มีความดำริว่า พระผู้มีพระภาคทรงบัญญัติไว้ว่า ไม่พึงให้นิสสัยแก่ภิกษุพวกอลัชชี และไม่พึงอยู่อาศัยภิกษุพวกอลัชชี  ทำอย่างไรหนอพวกเราจึงจะรู้ว่าเป็นภิกษุลัชชี หรืออลัชชี  แล้วกราบทูลเรื่องนั้นแด่พระผู้มีพระภาค.  พระผู้มีพระภาคตรัสอนุญาตแก่ภิกษุทั้งหลายว่า ดูกรภิกษุทั้งหลาย เราอนุญาตให้รอ ๔-๕ วัน พอจะสืบสวนรู้ว่าภิกษุผู้ให้นิสสัยเป็นสภาคกัน. 
เตน โข ปน สมเยน ภิกฺขู อจีวรกํ อุปสมฺปาเทนฺติ  นคฺคา ปิณฺฑาย จรนฺติ.  มนุสฺสา อุชฺฌายนฺติ ขิยฺยนฺติ วิปาเจนฺติ เสยฺยถาปิ ติตฺถิยาติ.  ภควโต เอตมตฺถํ อาโรเจสุํ. 
||72|| 
'I prescribe, O Bhikkhus, that you wait first four or five days until you have seen how a Bhikkhu behaves to the other Bhikkhus.' 
น ภิกฺขเว อจีวรโก อุปสมฺปาเทตพฺโพ. 
(92) tena kho pana samayena aññataro bhikkhu Kosalesu janapadesu addhānamaggapaṭipanno hoti.  atha kho tassa bhikkhuno etad ahosi: bhagavatā paññattaṃ na anissitena vatthabban ti, ahañ c’ amhi nissayakaraṇīyo addhānamaggapaṭipanno.  kathaṃ nu kho mayā paṭipajjitabban ti.  bhagavato etam atthaṃ ārocesuṃ.  anujānāmi bhikkhave addhānamaggapaṭipannena bhikkhunā nissayaṃ alabhamānena anissitena vatthun ti. |1| 
At that time a certain Bhikkhu was travelling on the road in the Kosala country.  Now this Bhikkhu thought: 'The Blessed One has prescribed that we shall not live without a nissaya (of an âkariya and an upagghâya); now I want a nissaya, but I am travelling.  What am I to do?'  They told this thing to the Blessed One. 
ภิกษุผู้ไม่ต้องถือนิสสัย [๑๓๗] ก็โดยสมัยนั้นแล ภิกษุรูปหนึ่งเดินทางไกลไปโกศลชนบท.  คราวนั้นเธอได้มีความดำริว่า พระผู้มีพระภาคทรงบัญญัติไว้ว่า ภิกษุจะไม่ถือนิสสัยอยู่ไม่ได้ ดังนี้ ก็เรามีหน้าที่ต้องถือนิสสัยแต่จำต้องเดินทางไกล  จะพึงปฏิบัติอย่างไรหนอแล.  ภิกษุทั้งหลายจึงกราบทูลเรื่องนั้นแด่พระผู้มีพระภาค.  พระผู้มีพระภาคตรัสอนุญาตแก่ภิกษุทั้งหลายว่า ดูกรภิกษุทั้งหลาย เราอนุญาตให้ภิกษุผู้เดินทางไกล เมื่อไม่ได้ผู้ให้นิสสัย ไม่ต้องถือนิสสัยอยู่. 
โย อุปสมฺปาเทยฺย อาปตฺติ ทุกฺกฏสฺสาติ.  เตน โข ปน สมเยน ภิกฺขู อปตฺตจีวรกํ อุปสมฺปาเทนฺติ.  นคฺคา หตฺเถสุ ปิณฺฑาย จรนฺติ.  มนุสฺสา อุชฺฌายนฺติ ขิยฺยนฺติ วิปาเจนฺติ เสยฺยถาปิ ติตฺถิยาติ.  ภควโต เอตมตฺถํ อาโรเจสุํ. 
tena kho pana samayena dve bhikkhū Kosalesu janapadesu addhānamaggapaṭipannā honti, te aññataraṃ āvāsaṃ upagacchiṃsu, tattha eko bhikkhu gilāno hoti.  atha kho tassa gilānassa bhikkhuno etad ahosi: bhagavatā paññattaṃ na anissitena vatthabban ti, ahañ c’ amhi nissayakaraṇīyo gilāno.  kathaṃ nu kho mayā paṭipajjitabban ti.  bhagavato etam atthaṃ ārocesuṃ.  anujānāmi bhikkhave gilānena bhikkhunā nissayaṃ alabhamānena anissitena vatthun ti. |2| 
'I allow, O Bhikkhus, a travelling Bhikkhu who can get no nissaya, to live without a nissaya.'  At that time two Bhikkhus were travelling on the road in the Kosala country. They came to a certain residence; there one of the two Bhikkhus was taken ill.  Now that sick Bhikkhu thought: 'The Blessed One has prescribed that we shall not live without a nissaya; now I want a nissaya, but I am sick.  What am I to do?'  They told this thing to the Blessed One. 
[๑๓๘] ก็โดยสมัยนั้นแล ภิกษุ ๒ รูปเดินทางไกลไปโกศลชนบท. เธอทั้งสองพักอยู่ ณ อาวาสแห่งหนึ่ง.  ในภิกษุ ๒ รูปนั้น รูปหนึ่งอาพาธ จึงรูปที่อาพาธนั้นได้มีความดำริว่า พระผู้มีพระภาคทรงบัญญัติไว้ว่า ภิกษุจะไม่ถือนิสสัยอยู่ไม่ได้ ก็เรามีหน้าที่ต้องถือนิสัย แต่กำลังอาพาธ  จะพึงปฏิบัติอย่างใดหนอแล.  ภิกษุทั้งหลายจึงกราบทูลเรื่องนั้นแด่พระผู้มีพระภาค.  พระผู้มีพระภาคตรัสอนุญาตแก่ภิกษุทั้งหลายว่า ดูกรภิกษุทั้งหลาย เราอนุญาตให้ภิกษุอาพาธ เมื่อไม่ได้ผู้ให้นิสสัย ไม่ต้องถือนิสสัยอยู่. 
น ภิกฺขเว อปตฺตจีวรโก อุปสมฺปาเทตพฺโพ.  โย อุปสมฺปาเทยฺย อาปตฺติ ทุกฺกฏสฺสาติ.  เตน โข ปน สมเยน ภิกฺขู ยาจิตเกน ปตฺเตน อุปสมฺปาเทนฺติ.  อุปสมฺปนฺเน ปตฺตํ ปฏิหรนฺติ. หตฺเถสุ ปิณฺฑาย จรนฺติ.  มนุสฺสา อุชฺฌายนฺติ ขิยฺยนฺติ วิปาเจนฺติ เสยฺยถาปิ ติตฺถิยาติ. 
atha kho tassa gilānupaṭṭhākassa bhikkhuno etad ahosi: bhagavatā paññattaṃ na anissitena vatthabban ti, ahañ c’ amhi nissayakaraṇīyo, ayañ ca bhikkhu gilāno.  kathaṃ nu kho mayā paṭipajjitabban ti.  bhagavato etam atthaṃ ārocesuṃ.  anujānāmi bhikkhave gilānupaṭṭhākena bhikkhunā nissayaṃ alabhamānena yāciyamānena anissitena vatthun ti. |3| 
'I allow, O Bhikkhus, a sick Bhikkhu who can get no nissaya, to live without a nissaya.'  Now the other Bhikkhu, who nursed that sick Bhikkhu, thought: 'The Blessed One has prescribed, &c.; now I want a nissaya, but this Bhikkhu is sick.  What am I to do?'  They told this thing to the Blessed One. 
ครั้งนั้น ภิกษุผู้พยาบาลไข้นั้นได้มีความดำริว่า พระผู้มีพระภาคทรงบัญญัติไว้ว่า ภิกษุจะไม่ถือนิสสัยอยู่ไม่ได้ ก็เรามีหน้าที่ต้องถือนิสสัย แต่ภิกษุรูปนี้ยังอาพาธ  เราจะพึงปฏิบัติอย่างไรหนอแล.  ภิกษุทั้งหลายจึงกราบทูลเรื่องนั้นแด่พระผู้มีพระภาค.  พระผู้มีพระภาคตรัสอนุญาตแก่ภิกษุทั้งหลายว่า ดูกรภิกษุทั้งหลาย เราอนุญาตให้ภิกษุผู้พยาบาลไข้ เมื่อไม่ได้ผู้ให้นิสสัยถูกภิกษุอาพาธขอร้อง ไม่ต้องถือนิสสัยอยู่. 
ภควโต เอตมตฺถํ อาโรเจสุํ.  น ภิกฺขเว ยาจิตเกน ปตฺเตน อุปสมฺปาเทตพฺโพ.  โย อุปสมฺปาเทยฺย อาปตฺติ ทุกฺกฏสฺสาติ.  เตน โข ปน สมเยน ภิกฺขู ยาจิตเกน จีวเรน อุปสมฺปาเทนฺติ. 
tena kho pana samayena aññataro bhikkhu araññe viharati, tassa ca tasmiṃ senāsane phāsu hoti.  atha kho tassa bhikkhuno etad ahosi:  bhagavatā paññattaṃ na anissitena vatthabban ti, ahañ c’ amhi nissayakaraṇīyo, araññe viharāmi, mayhañ ca imasmiṃ senāsane phāsu hoti.  kathaṃ nu kho mayā paṭipajjitabban ti.  bhagavato etam atthaṃ ārocesuṃ.  anujānāmi bhikkhave āraññakena bhikkhunā phāsuvihāraṃ sallakkhentena nissayaṃ alabhamānena anissitena vatthuṃ yadā paṭirūpo nissayadāyako āgacchissati, tassa nissāya vasissāmīti. |4| 
'I allow, O Bhikkhus, a Bhikkhu who is nursing a sick Bhikkhu, if he can get no nissaya and the sick asks him (to remain with him), to live without a nissaya.'  At that time a certain Bhikkhu lived in the forest; he had a dwelling-place where he lived pleasantly.  Now this Bhikkhu thought:  'The Blessed One has prescribed, &c.; now I want a nissaya, but I live in the forest and have a dwelling-place where I live pleasantly.  What am I to do?'  They told this thing to the Blessed One. 
ก็โดยสมัยนั้นแล ภิกษุรูปหนึ่งอยู่วัดป่า และเธอก็มีความผาสุกในเสนาสนะนั้น.  คราวนั้นเธอได้มีความดำริว่า  พระผู้มีพระภาคทรงบัญญัติไว้ว่า ภิกษุจะไม่ถือนิสสัยอยู่ไม่ได้ ก็เรามีหน้าที่ต้องถือนิสสัย แต่ยังอยู่วัดป่า และเราก็มีความผาสุกในเสนาสนะนี้  จะพึงปฏิบัติอย่างไรหนอแล.  ภิกษุทั้งหลายจึงกราบทูลเรื่องนั้นแด่พระผู้มีพระภาค.  พระผู้มีพระภาคตรัสอนุญาตแก่ภิกษุทั้งหลายว่า ดูกรภิกษุทั้งหลาย เราอนุญาตให้ภิกษุผู้ถืออยู่ป่าเป็นวัตร กำหนดการอยู่เป็นผาสุก เมื่อไม่ได้ผู้ให้นิสสัย ไม่ต้องถือนิสสัย ด้วยผูกใจว่า เมื่อใดมีภิกษุผู้ให้นิสสัยที่สมควรมาอยู่ จักอาศัยภิกษุนั้นอยู่. 
อุปสมฺปนฺเน จีวรํ ปฏิหรนฺติ. นคฺคา ปิณฺฑาย จรนฺติ.  มนุสฺสา อุชฺฌายนฺติ ขิยฺยนฺติ วิปาเจนฺติ เสยฺยถาปิ ติตฺถิยาติ.  ภควโต เอตมตฺถํ อาโรเจสุํ.  น ภิกฺขเว ยาจิตเกน จีวเรน อุปสมฺปาเทตพฺโพ.  โย อุปสมฺปาเทยฺย อาปตฺติ ทุกฺกฏสฺสาติ.  เตน โข ปน สมเยน ภิกฺขู ยาจิตเกน ปตฺตจีวเรน อุปสมฺปาเทนฺติ. 
||73|| 
'I allow, O Bhikkhus, a Bhikkhu living in the forest who finds a place where he may live pleasantly, and who can get (there) no nissaya, to live without a nissaya (saying to himself): "If a proper person to give me nissaya comes hither, I will take nissaya of that person." 
อุปสมฺปนฺเน ปตฺตจีวรํ ปฏิหรนฺติ. นคฺคา หตฺเถสุ ปิณฺฑาย จรนฺติ. 
tena kho pana samayena āyasmato Mahākassapassa upasampadāpekkho hoti.  atha kho āyasmā Mahākassapo āyasmato Ānandassa santike dūtaṃ pāhesi: āgacchatu Ānando imaṃ anussāvessatīti.  āyasmā Ānando evaṃ āha:  nāhaṃ ussahāmi therassa nāmaṃ gahetuṃ, garu me thero (93) ’ti.  bhagavato etam atthaṃ ārocesuṃ.  anujānāmi bhikkhave gottena pi anussāvetun ti. |1| 
At that time there was a person that desired to receive the upasampadâ ordination from the venerable Mahâkassapa.  Then the venerable Mahâkassapa sent a messenger to the venerable Ânanda: 'Come, Ânanda, and recite the upasampadâ proclamation for this person.'  The venerable Ânanda said:  'I cannot pronounce the Thera's (i.e. Mahâkassapa's) name; the Thera is too venerable compared with me.'  They told this thing to the Blessed One. 
อุปสมบทกรรม // สวดอุปสัมปทาเปกขะระบุโคตร [๑๓๙] ก็โดยสมัยนั้นแล ท่านพระมหากัสสปมีอุปสัมปทาเปกขะ  และท่านส่งทูตไปในสำนักท่านพระอานนท์ว่า ท่านอานนท์จงมาสวดอุปสัมปทาเปกขะนี้.  ท่านพระอานนท์ตอบไปอย่างนี้ว่า  เกล้ากระผม ไม่สามารถจะระบุนามของพระเถระได้ เพราะพระเถระเป็นที่เคารพของเกล้ากระผม.  ภิกษุทั้งหลายจึงกราบทูลเรื่องนั้นแด่พระผู้มีพระภาค.  พระผู้มีพระภาคตรัสอนุญาตแก่ภิกษุทั้งหลายว่า ดูกรภิกษุทั้งหลาย เราอนุญาตให้สวดระบุโคตรได้. 
มนุสฺสา อุชฺฌายนฺติ ขิยฺยนฺติ วิปาเจนฺติ เสยฺยถาปิ ติตฺถิยาติ.  ภควโต เอตมตฺถํ อาโรเจสุํ.  น ภิกฺขเว ยาจิตเกน ปตฺตจีวเรน อุปสมฺปาเทตพฺโพ.  โย อุปสมฺปาเทยฺย อาปตฺติ ทุกฺกฏสฺสาติ.     
tena kho pana samayena āyasmato Mahākassapassa dve upasampadāpekkhā honti, te vivadanti: ahaṃ paṭhamaṃ upasampajjissāmi, ahaṃ paṭhamaṃ upasampajjissāmīti.  bhagavato etam atthaṃ ārocesuṃ.  anujānāmi bhikkhave dve ekānussāvane kātun ti. |2| 
'I allow you, O Bhikkhus, to use also the family name (of the upagghâya, instead of his proper name) in the proclamation.'  At that time there were two persons that desired to receive the upasampadâ ordination from the venerable Mahâkassapa. They quarrelled with each other. (One said): 'I will receive the upasampadâ ordination first. ' (The other said): 'Nay, I will receive it first.' .  They told this thing to the Blessed One. 
อุปสมบทคู่ [๑๔๐] ก็โดยสมัยนั้นแล ท่านพระมหากัสสปมีอุปสัมปทาเปกขะอยู่ ๒ คน. เธอทั้งสองแก่งแย่งกันว่า เราจักอุปสมบทก่อน เราจักอุปสมบทก่อน.  ภิกษุทั้งหลายจึงกราบทูลเรื่องนั้นแด่พระผู้มีพระภาค.  พระผู้มีพระภาคตรัสอนุญาตแก่ภิกษุทั้งหลายว่า ดูกรภิกษุทั้งหลาย เราอนุญาตให้ทำอุปสัมปทาเปกขะ ๒ รูปในอนุสาวนาเดียวกัน. 
นอุปสมฺปาเทตพฺเพกวีสติวาโร นิฏฺฐิโต.  ๕๗. นปพฺพาเชตพฺพทฺวตฺตึสวาโร  ๑๑๙. เตน โข ปน สมเยน ภิกฺขู หตฺถจฺฉินฺนํ ปพฺพาเชนฺติฯเปฯ ปาทจฺฉินฺนํ ปพฺพาเชนฺติฯเปฯ หตฺถปาทจฺฉินฺนํ ปพฺพาเชนฺติฯเปฯ กณฺณจฺฉินฺนํ ปพฺพาเชนฺติฯเปฯ นาสจฺฉินฺนํ ปพฺพาเชนฺติฯเปฯ กณฺณนาสจฺฉินฺนํ ปพฺพาเชนฺติฯเปฯ องฺคุลิจฺฉินฺนํ ปพฺพาเชนฺติฯเปฯ อฬจฺฉินฺนํ ปพฺพาเชนฺติฯเปฯ กณฺฑรจฺฉินฺนํ ปพฺพาเชนฺติฯเปฯ ผณหตฺถกํ ปพฺพาเชนฺติฯเปฯ ขุชฺชํ ปพฺพาเชนฺติฯเปฯ วามนํ ปพฺพาเชนฺติฯเปฯ คลคณฺฑิ๎ ปพฺพาเชนฺติฯเปฯ ลกฺขณาหตํ ปพฺพาเชนฺติฯเปฯ กสาหตํ ปพฺพาเชนฺติฯเปฯ ลิขิตกํ ปพฺพาเชนฺติฯเปฯ สีปทึ ปพฺพาเชนฺติฯเปฯ ปาปโรคิ๎ ปพฺพาเชนฺติฯเปฯ ปริสทูสกํ ปพฺพาเชนฺติฯเปฯ กาณํ ปพฺพาเชนฺติฯเปฯ กุณึ ปพฺพาเชนฺติฯเปฯ ขญฺชํ ปพฺพาเชนฺติฯเปฯ ปกฺขหตํ ปพฺพาเชนฺติฯเปฯ ฉินฺนิริยาปถํ ปพฺพาเชนฺติฯเปฯ ชราทุพฺพลํ ปพฺพาเชนฺติฯเปฯ อนฺธํ ปพฺพาเชนฺติฯเปฯ มูคํ ปพฺพาเชนฺติฯเปฯ พธิรํ ปพฺพาเชนฺติฯเปฯ อนฺธมูคํ ปพฺพาเชนฺติฯเปฯ อนฺธพธิรํ ปพฺพาเชนฺติฯเปฯ มูคพธิรํ ปพฺพาเชนฺติฯเปฯ อนฺธมูคพธิรํ ปพฺพาเชนฺติ. 
tena kho pana samayena sambahulānaṃ therānaṃ upasampadāpekkhā honti, te vivadanti: ahaṃ paṭhamaṃ upasampajjissāmi, ahaṃ paṭhamaṃ upasampajjissāmīti.  therā evaṃ āhaṃsu: handa mayaṃ āvuso sabbeva ekānussāvane karomā ’ti.  bhagavato etam atthaṃ ārocesuṃ.  anujānāmi bhikkhave dve tayo ekānussāvane kātuṃ, tañ ca kho ekena upajjhāyena, na tv eva nānupajjhāyenā ’ti. |3| 
'I allow you, O Bhikkhus, to ordain two persons by one proclamation.'  At that time there were persons who desired to receive the upasampadâ ordination from different Theras. They quarrelled with each other. (One said); I will receive the upasampadâ ordination first.' (The other said): 'Nay, I will receive it first.'  The Theras said: 'Well, friends, let us ordain them altogether by one proclamation.'  They told this thing to the Blessed One. 
(อุปสมบทคราวละ ๓ คน) สมัยต่อมา พระเถระหลายรูปต่างมีอุปสัมปทาเปกขะหลายคนด้วยกัน. พวกเธอต่างแก่งแย่งกันว่า เราจักอุปสมบทก่อน เราจักอุปสมบทก่อน.  พระเถระทั้งหลายจึงตัดสินว่า เอาเถอะ พวกเราจะทำอุปสัมปทาเปกขะทุกคนในอนุสาวนาเดียวกัน.  ภิกษุทั้งหลายจึงกราบทูลเรื่องนั้นแด่พระผู้มีพระภาค.  พระผู้มีพระภาคตรัสอนุญาตแก่ภิกษุทั้งหลายว่า ดูกรภิกษุทั้งหลาย เราอนุญาตให้ทำอุปสัมปทาเปกขะ ในอนุสาวนาเดียวกันคราวละ ๒ รูป ๓ รูป แต่การสวดนั้นแล ต้องมีอุปัชฌาย์รูปเดียวกัน จะมีอุปัชฌาย์ต่างกันไม่ได้เป็นอันขาด. 
ภควโต เอตมตฺถํ อาโรเจสุํฯเปฯ  น ภิกฺขเว หตฺถจฺฉินฺโน ปพฺพาเชตพฺโพฯเปฯ น ภิกฺขเว ปาทจฺฉินฺโน ปพฺพาเชตพฺโพฯเปฯ น ภิกฺขเว หตฺถปาทจฺฉินฺโน ปพฺพาเชตพฺโพฯเปฯ น ภิกฺขเว กณฺณจฺฉินฺโน ปพฺพาเชตพฺโพฯเปฯ น ภิกฺขเว นาสจฺฉินฺโน ปพฺพาเชตพฺโพฯเปฯ น ภิกฺขเว กณฺณนาสจฺฉินฺโน ปพฺพาเชตพฺโพฯเปฯ น ภิกฺขเว องฺคุลิจฺฉินฺโน ปพฺพาเชตพฺโพฯเปฯ น ภิกฺขเว อฬจฺฉินฺโน ปพฺพาเชตพฺโพฯเปฯ น ภิกฺขเว กณฺฑรจฺฉินฺโน ปพฺพาเชตพฺโพฯเปฯ น ภิกฺขเว ผณหตฺถโก ปพฺพาเชตพฺโพฯเปฯ น ภิกฺขเว ขุชฺโช ปพฺพาเชตพฺโพฯเปฯ น ภิกฺขเว วามโน ปพฺพาเชตพฺโพฯเปฯ น ภิกฺขเว คลคณฺฑี ปพฺพาเชตพฺโพฯเปฯ น ภิกฺขเว ลกฺขณาหโต ปพฺพาเชตพฺโพฯเปฯ น ภิกฺขเว กสาหโต ปพฺพาเชตพฺโพฯเปฯ น ภิกฺขเว ลิขิตโก ปพฺพาเชตพฺโพฯเปฯ น ภิกฺขเว สีปที ปพฺพาเชตพฺโพฯเปฯ น ภิกฺขเว ปาปโรคี ปพฺพาเชตพฺโพฯเปฯ น ภิกฺขเว ปริสทูสโก ปพฺพาเชตพฺโพฯเปฯ น ภิกฺขเว กาโณ ปพฺพาเชตพฺโพฯเปฯ น ภิกฺขเว กุณี ปพฺพาเชตพฺโพฯเปฯ น ภิกฺขเว ขญฺโช ปพฺพาเชตพฺโพฯเปฯ น ภิกฺขเว ปกฺขหโต ปพฺพาเชตพฺโพฯเปฯ น ภิกฺขเว ฉินฺนิริยาปโถ ปพฺพาเชตพฺโพฯเปฯ น ภิกฺขเว ชราทุพฺพโล ปพฺพาเชตพฺโพฯเปฯ น ภิกฺขเว อนฺโธ ปพฺพาเชตพฺโพฯเปฯ น ภิกฺขเว มูโค ปพฺพาเชตพฺโพฯเปฯ น ภิกฺขเว พธิโร ปพฺพาเชตพฺโพฯเปฯ น ภิกฺขเว อนฺธมูโค ปพฺพาเชตพฺโพฯเปฯ น ภิกฺขเว อนฺธพธิโร ปพฺพาเชตพฺโพฯเปฯ น ภิกฺขเว มูคพธิโร ปพฺพาเชตพฺโพฯเปฯ น ภิกฺขเว อนฺธมูคพธิโร ปพฺพาเชตพฺโพ.  โย ปพฺพาเชยฺย อาปตฺติ ทุกฺกฏสฺสาติ.  นปพฺพาเชตพฺพทฺวตฺตึสวาโร นิฏฺฐิโต. 
||74|| 
'I allow you, O Bhikkhus, to ordain two or three persons by one proclamation, provided they have the same upagghâya, but not if they have different upagghâyas.' 
ทายชฺชภาณวาโร นิฏฺฐิโต นวโม. 
tena kho pana samayena āyasmā Kumārakassapo gabbhavīso upasampanno hoti.  atha kho āyasmato Kumārakassapassa etad ahosi: bhagavatā paññattaṃ na ūnavīsativasso puggalo upasampādetabbo ’ti,  ahañ c’ amhi gabbhavīso. upasampanno nu kho ’mhi na nu kho upasampanno ’ti.  bhagavato etam atthaṃ ārocesuṃ.  yaṃ bhikkhave mātu kucchismiṃ paṭhamaṃ cittaṃ uppannaṃ, paṭhamam viññāṇaṃ pātubhūtaṃ, tadupādāya sā ’v’ assa jāti.  anujānāmi bhikkhave gabbhavīsaṃ upasampādetun ti. |1| 
At that time the venerable Kumârakassapa had received the upasampadâ ordination when he had completed the twentieth year from his conception (but not from his birth).  Now the venerable Kumârakassapa thought: 'The Blessed One has forbidden us to confer the upasampadâ ordination on persons under twenty years of age,  and I have completed my twentieth year (only) from my conception. Have I, therefore, received the upasampadâ ordination, or have I not received it?'  They told this thing to the Blessed One.  'When, O Bhikkhus, in the womb the first thought rises up (in the nascent being), the first consciousness manifests itself, according to this the (true) birth should be reckoned. 
นับอายุ ๒๐ ปีทั้งอยู่ในครรภ์ (พระกุมารกัสสปเป็นตัวอย่าง) [๑๔๑] ก็โดยสมัยนั้นแล ท่านพระกุมารกัสสปมีอายุครบ ๒๐ ปีทั้งอยู่ในครรภ์ จึงได้อุปสมบท.  ต่อมาท่านได้มีความดำริว่า พระผู้มีพระภาคทรงบัญญัติไว้ว่า บุคคลมีอายุหย่อน ๒๐ ปี ภิกษุไม่พึงอุปสมบทให้  ก็เรามีอายุครบ ๒๐ ทั้งอยู่ในครรภ์ จึงได้อุปสมบท จะเป็นอันอุปสมบทหรือไม่หนอ.  ภิกษุทั้งหลายจึงกราบทูลเรื่องนั้นแด่พระผู้มีพระภาค.  พระผู้มีพระภาคตรัสอนุญาตแก่ภิกษุทั้งหลายว่า ดูกรภิกษุทั้งหลาย จิตดวงแรกใดเกิดแล้วในอุทรมารดา วิญญาณดวงแรกปรากฏแล้ว อาศัยจิตดวงแรก วิญญาณดวงแรกนั้นนั่นแหละเป็นความเกิดของสัตว์นั้น  ดูกรภิกษุทั้งหลาย เราอนุญาตให้อุปสมบทกุลบุตรมีอายุครบ ๒๐ ปี ทั้งอยู่ในครรภ์. 
(๕๘. อลชฺชีนิสฺสยวตฺถูนิ) ๑๒๐. เตน โข ปน สมเยน ฉพฺพคฺคิยา ภิกฺขู อลชฺชีนํ นิสฺสยํ เทนฺติ.  ภควโต เอตมตฺถํ อาโรเจสุํ.  น ภิกฺขเว อลชฺชีนํ นิสฺสโย ทาตพฺโพ.  โย ทเทยฺย อาปตฺติ ทุกฺกฏสฺสาติ.  เตน โข ปน สมเยน ภิกฺขู อลชฺชีนํ นิสฺสาย วสนฺติ. เตปิ นจิรสฺเสว อลชฺชิโน โหนฺติ ปาปกาภิกฺขู.  ภควโต เอตมตฺถํ อาโรเจสุํ. 
||75|| 
I allow you, O Bhikkhus, to confer the upasampadâ ordination on persons that have completed the twentieth year from their conception (only).' 
น ภิกฺขเว อลชฺชีนํ นิสฺสาย วตฺถพฺพํ. 
tena kho pana samayena upasampannā dissanti kuṭṭhikāpi gaṇḍikāpi kilāsikāpi sosikāpi apamārikāpi.  bhagavato etam atthaṃ ārocesuṃ.  anujānāmi bhikkhave upasampādentena tassa antarāyike dhamme pucchituṃ.  evañ ca pana bhikkhave pucchitabbo: santi te evarūpā ābādhā kuṭṭhaṃ gaṇḍo kilāso soso apamāro, manusso ’si, puriso ’si, bhujisso ’si, anaṇo ’si, na ’si rājabhaṭo, anuññāto ’si mātāpitūhi, paripuṇṇavīsativasso ’si, paripuṇṇan te pattacīvaraṃ, kiṃnāmo ’si, konāmo te upajjhāyo ’ti. |1| 
At that time ordained Bhikkhus were seen who were afflicted with leprosy, boils, dry leprosy, consumption, and fits.  They told this thing to the Blessed One.  'I prescribe, O Bhikkhus, that he who confers the upasampadâ ordination, ask (the person to be ordained) about the Disqualifications (for receiving the ordination). 
สวดถามอันตรายิกธรรม ๑๓ ข้อ [๑๔๒] ก็โดยสมัยนั้นแล พวกกุลบุตรที่อุปสมบทแล้วปรากฏเป็นโรคเรื้อนก็มี เป็นฝีก็มี เป็นโรคกลากก็มี เป็นโรคมองคร่อก็มี เป็นโรคลมบ้าหมูก็มี.  ภิกษุทั้งหลายจึงกราบทูลเรื่องนั้นแด่พระผู้มีพระภาค.  พระผู้มีพระภาครับสั่งกะภิกษุทั้งหลายว่า ดูกรภิกษุทั้งหลาย เราอนุญาตให้ภิกษุผู้ให้อุปสมบท ถามอันตรายิกธรรม ๑๓ ข้อ.  ดูกรภิกษุทั้งหลาย ก็แล พึงถามอุปสัมปทาเปกขะอย่างนี้:- (อันตรายิกธรรม) อาพาธเห็นปานนี้ของเจ้ามีหรือ? คือ โรคเรื้อน ฝี โรคกลาก โรคมองคร่อ ลมบ้าหมู? เจ้าเป็นมนุษย์หรือ เป็นชายหรือ เป็นไทหรือ ไม่มีหนี้สินหรือ มิใช่ราชภัฏหรือ มารดา บิดาอนุญาตแล้วหรือ มีปีครบ ๒๐ แล้วหรือ บาตรจีวรของเจ้ามีครบแล้วหรือ เจ้าชื่ออะไร อุปัชฌาย์ของเจ้าชื่ออะไร? 
โย วเสยฺย อาปตฺติ ทุกฺกฏสฺสาติ.  อถ โข ภิกฺขูนํ เอตทโหสิ “ภควตา ปญฺญตฺตํ ‘น อลชฺชีนํ นิสฺสโย ทาตพฺโพ น อลชฺชีนํ นิสฺสาย วตฺถพฺพ’นฺติ.  กถํ นุ โข มยํ ชาเนยฺยาม ลชฺชึ วา อลชฺชึ วา”ติ?  ภควโต เอตมตฺถํ อาโรเจสุํ. 
tena kho pana samayena bhikkhū ananusiṭṭhe upasampadāpekkhe antarāyike dhamme pucchanti.  upasampadāpekkhā vitthāyanti, maṅkū honti, na sakkonti vissajjetuṃ.  bhagavato etam atthaṃ ārocesuṃ.  anujānāmi bhikkhave paṭhamaṃ anusāsitvā pacchā antarāyi-(94)ke dhamme pucchitun ti. |2| 
And let him ask, O Bhikkhus, in this way: 'Are you afflicted with the following diseases, leprosy, boils, dry leprosy, consumption, and fits? 'Are you a man? 'Are you a male? 'Are you a freeman? 'Have you no debts? 'Are you not in the royal service? 'Have your father and mother given their consent? 'Are you full twenty years old? 'Are your alms-bowl and your robes in due state? 'What is your name? 'What is your upagghâya's name?'  At that time the Bhikkhus asked the persons who desired to receive the upasampadâ ordination about the Disqualifications, without having them instructed beforehand (how to answer).  The persons that desired to be ordained, became disconcerted, perplexed, and could not answer.  They told this thing to the Blessed One. 
(สอนซ้อมก่อนถามอันตรายิกธรรม) ก็โดยสมัยนั้นแล ภิกษุทั้งหลายถามอันตรายิกธรรมกะพวกอุปสัมปทาเปกขะ ที่ยังมิได้สอนซ้อม.  พวกอุปสัมปทาเปกขะย่อมสะทกสะท้าน เก้อเขิน ไม่อาจจะตอบได้.  ภิกษุทั้งหลายจึงกราบทูลเรื่องนั้นแด่พระผู้มีพระภาค.  พระผู้มีพระภาคตรัสอนุญาตแก่ภิกษุทั้งหลายว่า ดูกรภิกษุทั้งหลาย เราอนุญาตให้สอนซ้อมก่อน แล้วจึงถามอันตรายิกธรรมทีหลัง. 
อนุชานามิ ภิกฺขเว จตูหปญฺจาหํ อาคเมตุํ ยาว ภิกฺขุสภาคตํ ชานามีติ.      (๕๙. คมิกาทินิสฺสยวตฺถูนิ) ๑๒๑. เตน โข ปน สมเยน อญฺญตโร ภิกฺขุ โกสเลสุ ชนปเท อทฺธานมคฺคปฺปฏิปนฺโน โหติ. 
tatth’ eva saṃghamajjhe anusāsanti, upasampadāpekkhā tath’ eva vitthāyanti, maṅkū honti, na sakkonti vissajjetuṃ.  bhagavato etam atthaṃ ārocesuṃ.  anujānāmi bhikkhave ekamantaṃ anusāsitvā saṃghamajjhe antarāyike dhamme pucchituṃ.  evañ ca pana bhikkhave anusāsitabbo: paṭhamaṃ upajjhaṃ gāhāpetabbo, upajjhaṃ gāhāpetvā pattacīvaraṃ ācikkhitabbaṃ, ayan te patto, ayaṃ saṃghāṭi, ayaṃ uttarāsaṅgo, ayaṃ antaravāsako, gaccha amumhi okāse tiṭṭhāhīti. |3| 
'I prescribe, O Bhikkhus, that you first instruct (the persons desirous of being ordained), and then ask them about the Disqualifications.'  Then they instructed (the candidates) in the midst of the assembly; the persons desirous of being ordained became disconcerted, perplexed, and could not answer nevertheless.  They told this thing to the Blessed One.  'I prescribe, O Bhikkhus, that you instruct them aside, and ask them about the Disqualifications before the assembly. 
ภิกษุทั้งหลายสอนซ้อมในท่ามกลางสงฆ์นั้นนั่นแหละ. พวกอุปสัมปทาเปกขะย่อมสะทกสะท้าน เก้อเขิน ไม่อาจตอบได้เหมือนอย่างเดิม.  ภิกษุทั้งหลายจึงกราบทูลเรื่องนั้นแด่พระผู้มีพระภาค.  พระผู้มีพระภาคตรัสอนุญาตแก่ภิกษุทั้งหลายว่า ดูกรภิกษุทั้งหลาย เราอนุญาตให้สอนซ้อม ณ ที่ควรส่วนข้างหนึ่ง แล้วจึงถามอันตรายิกธรรมในท่ามกลางสงฆ์.  ดูกรภิกษุทั้งหลาย ก็แลพึงสอนซ้อมอุปสัมปทาเปกขะอย่างนี้:- (คำบอกบาตรจีวร) พึงให้อุปสัมปทาเปกขะถืออุปัชฌาย์ก่อน ครั้นแล้วพึงบอกบาตรจีวรว่า นี้บาตรของเจ้า นี้ผ้าทาบของเจ้า นี้ผ้าห่มของเจ้า นี้ผ้านุ่งของเจ้า เจ้าจงไปยืน ณ โอกาสโน้น. 
อถ โข ตสฺส ภิกฺขุโน เอตทโหสิ “ภควตา ปญฺญตฺตํ ‘น อนิสฺสิเตน วตฺถพฺพ’นฺติ. อหญฺจมฺหิ นิสฺสยกรณีโย อทฺธานมคฺคปฺปฏิปนฺโน  กถํ นุ โข มยา ปฏิปชฺชิตพฺพ”นฺติ?  ภควโต เอตมตฺถํ อาโรเจสุํ.  อนุชานามิ ภิกฺขเว อทฺธานมคฺคปฺปฏิปนฺเนน ภิกฺขุนา นิสฺสยํ อลภมาเนน อนิสฺสิเตน วตฺถุนฺติ. 
bālā avyattā anusāsanti, anusiṭṭhā upasampadāpekkhā vitthāyanti, maṅkū honti, na sakkonti vissajjetuṃ.  bhagavato etam atthaṃ ārocesuṃ.  na bhikkhave bālena avyattena anusāsitabbo.  yo anusāseyya, āpatti dukkaṭassa.  anujānāmi bhikkhave vyattena bhikkhunā paṭibalena anusāsitun ti. |4| 
And you ought, O Bhikkhus, to instruct them in this way: You ought first to cause them to choose an upagghâya; when they have chosen an upagghâya, their alms-bowl and robes must be shown to them, "This is your alms-bowl, this is your samghâti, this is your upper robe, this is your under garment; come and place yourself here."'  Ignorant, unlearned Bhikkhus instructed them; the persons desirous of being ordained, though they had been instructed, became disconcerted, perplexed, and could not answer.  They told this thing to the Blessed One.  'Let no ignorant, unlearned Bhikkhus, O Bhikkhus, instruct them.  If they do, they commit a dukkata offence. 
ภิกษุทั้งหลายที่เขลา ไม่ฉลาด ย่อมสอนซ้อม เหล่าอุปสัมปทาเปกขะที่ถูกสอนซ้อมไม่ดี ย่อมสะทกสะท้าน เก้อเขิน ไม่อาจตอบได้.  ภิกษุทั้งหลายจึงกราบทูลเรื่องนั้นแด่พระผู้มีพระภาค.  พระผู้มีพระภาคตรัสห้ามภิกษุทั้งหลายว่า ดูกรภิกษุทั้งหลาย ภิกษุผู้เขลา ไม่ฉลาด ไม่พึงสอนซ้อม  รูปใดสอนซ้อม ต้องอาบัติทุกกฏ.  ดูกรภิกษุทั้งหลาย เราอนุญาตให้ภิกษุผู้ฉลาด ผู้สามารถ สอนซ้อม. 
เตน โข ปน สมเยน ทฺเว ภิกฺขู โกสเลสุ ชนปเท อทฺธานมคฺคปฺปฏิปนฺนา โหนฺติ. เต อญฺญตรํ อาวาสํ อุปคจฺฉึสุ. ตตฺถ เอโก ภิกฺขุ คิลาโน โหติ.  อถ โข ตสฺส คิลานสฺส ภิกฺขุโน เอตทโหสิ “ภควตา ปญฺญตฺตํ ‘น อนิสฺสิเตน วตฺถพฺพ’นฺติ. อหญฺจมฺหิ นิสฺสยกรณีโย คิลาโน  กถํ นุ โข มยา ปฏิปชฺชิตพฺพ”นฺติ?  ภควโต เอตมตฺถํ อาโรเจสุํ.  อนุชานามิ ภิกฺขเว คิลาเนน ภิกฺขุนา นิสฺสยํ อลภมาเนน อนิสฺสิเตน วตฺถุนฺติ. 
asammatā anusāsanti.  bhagavato etam atthaṃ ārocesuṃ.  na bhikkhave asammatena anusāsitabbo.  yo anusāseyya, āpatti dukkaṭassā ’ti.  anujānāmi bhikkhave sammatena anusāsituṃ.  evañ ca pana bhikkhave sammannitabbo: attanā vā attānaṃ sammannitabbaṃ parena vā paro sammannitabbo.  kathañ ca attanā vā attānaṃ sammannitabbaṃ.  vyattena bhikkhunā paṭibalena saṃgho ñāpetabbo: suṇātu me bhante saṃgho.  itthannāmo itthannāmassa āyasmato upasampadāpekkho.  yadi saṃghassa pattakallaṃ, ahaṃ itthannāmaṃ anusāseyyan ti.  evaṃ attanā vā attānaṃ sammannitabbaṃ. |5| 
I prescribe, O Bhikkhus, that a learned, competent Bhikkhu instruct them.'  At that time persons instructed them who were not appointed thereto.  They told this thing to the Blessed One.  'Let no one, O Bhikkhus, instruct them without being appointed thereto.  He who so instructs, commits a dukkata offence.  I prescribe, O Bhikkhus, that an appointed Bhikkhu is to instruct them.  And (this Bhikkhu), O Bhikkhus, is to be appointed in this way: One may either appoint himself, or one may appoint another person.  And how is (a Bhikkhu) to appoint himself?  Let a learned, competent Bhikkhu proclaim the following ñatti before the Samgha: "Let the Samgha, reverend Sirs, hear me.  N. N. desires to receive the upasampadâ ordination from the venerable N. N.  If the Samgha is ready, I will instruct N. N." 
บรรดาภิกษุผู้ที่ยังไม่ได้รับสมมติ ย่อมสอนซ้อม.  ภิกษุทั้งหลายจึงกราบทูลเรื่องนั้นแด่พระผู้มีพระภาค.  พระผู้มีพระภาค ตรัสห้ามภิกษุทั้งหลายว่า ดูกรภิกษุทั้งหลาย ภิกษุที่ยังไม่ได้รับสมมติ ไม่พึงสอนซ้อม  รูปใดสอนซ้อม ต้องอาบัติทุกกฏ.  ดูกรภิกษุทั้งหลาย เราอนุญาตให้ภิกษุที่ได้รับสมมติแล้วสอนซ้อม.  ดูกรภิกษุทั้งหลาย ก็แลพึงสมมติ ดังต่อไปนี้:- (วิธีสมมติภิกษุเป็นผู้สอนซ้อม) ตนเองพึงสมมติตนก็ได้ หรือภิกษุรูปอื่น พึงสมมติภิกษุอื่นก็ได้.  อย่างไรเล่า ตนเองพึงสมมติตนเอง?  คือ ภิกษุผู้ฉลาด ผู้สามารถ พึงประกาศให้สงฆ์ทราบด้วยญัตติกรรมวาจา ว่าดังนี้:- ท่านเจ้าข้า ขอสงฆ์จงฟังข้าพเจ้า  ผู้มีชื่อนี้เป็นอุปสัมปทาเปกขะของท่านผู้มีชื่อนี้.  ถ้าความพร้อมพรั่งของสงฆ์ถึงที่แล้ว ข้าพเจ้าพึงสอนซ้อมผู้มีชื่อนี้.  อย่างนี้ ชื่อว่าตนเองสมมติตนเอง. 
อถ โข ตสฺส คิลานุปฏฺฐากสฺส ภิกฺขุโน เอตทโหสิ “ภควตา ปญฺญตฺตํ ‘น อนิสฺสิเตน วตฺถพฺพ’นฺติ. อหญฺจมฺหิ นิสฺสยกรณีโย อยญฺจ ภิกฺขุ คิลาโน  กถํ นุ โข มยา ปฏิปชฺชิตพฺพ”นฺติ?  ภควโต เอตมตฺถํ อาโรเจสุํ.  อนุชานามิ ภิกฺขเว คิลานุปฏฺฐาเกน ภิกฺขุนา นิสฺสยํ อลภมาเนน ยาจิยมาเนน อนิสฺสิเตน วตฺถุนฺติ.  เตน โข ปน สมเยน อญฺญตโร ภิกฺขุ อรญฺเญ วิหรติ. ตสฺส จ ตสฺมึ เสนาสเน ผาสุ โหติ.  อถ โข ตสฺส ภิกฺขุโน เอตทโหสิ  “ภควตา ปญฺญตฺตํ ‘น อนิสฺสิเตน วตฺถพฺพ’นฺติ. อหญฺจมฺหิ นิสฺสยกรณีโย อรญฺเญ วิหรามิ มยฺหญฺจ อิมสฺมึ เสนาสเน ผาสุ โหติ  กถํ นุ โข มยา ปฏิปชฺชิตพฺพ”นฺติ?  ภควโต เอตมตฺถํ อาโรเจสุํ.  อนุชานามิ ภิกฺขเว อารญฺญิเกน ภิกฺขุนา ผาสุวิหารํ สลฺลกฺเขนฺเตน นิสฺสยํ อลภมาเนน อนิสฺสิเตน วตฺถุํ ยทา ปติรูโป นิสฺสยทายโก อาคจฺฉิสฺสติ ตทา ตสฺส นิสฺสาย วสิสฺสามีติ.   
kathañ ca parena paro sammannitabbo.  vyattena bhikkhunā paṭibalena saṃgho ñāpetabbo: suṇātu me bhante saṃgho.  itthannāmo itthannāmassa āyasmato upasampadāpekkho.  yadi saṃghassa pattakallaṃ, itthannāmo itthannāmaṃ anusāseyyā ’ti.  evaṃ parena paro sammannitabbo. |6| 
Thus one may appoint himself.  'And how is (a Bhikkhu) to appoint another person?  Let a learned, competent Bhikkhu proclaim the following ñatti before the Samgha: "Let the Samgha, &c.  N. N. desires to receive the upasampadâ ordination from the venerable N. N.  If the Samgha is ready let N. N. instruct N. N." 
อย่างไรเล่า ภิกษุรูปอื่น พึงสมมติภิกษุรูปอื่น?  คือ ภิกษุผู้ฉลาด ผู้สามารถ พึงประกาศให้สงฆ์ทราบด้วยญัตติกรรมวาจา ว่าดังนี้:- ท่านเจ้าข้า ขอสงฆ์จงฟังข้าพเจ้า  ผู้มีชื่อนี้เป็นอุปสัมปทาเปกขะของท่านผู้มีชื่อนี้  ถ้าความพร้อมพรั่งของสงฆ์ถึงที่แล้ว ท่านผู้มีชื่อนี้พึงสอนซ้อมผู้มีชื่อนี้.  อย่างนี้ ชื่อว่าภิกษุรูปอื่นสมมติภิกษุรูปอื่น. 
  (๖๐. โคตฺเตน อนุสฺสาวนานุชานนา) ๑๒๒. เตน โข ปน สมเยน อายสฺมโต มหากสฺสปสฺส อุปสมฺปทาเปกฺโข โหติ.  อถ โข อายสฺมา มหากสฺสโป อายสฺมโต อานนฺทสฺส สนฺติเก ทูตํ ปาเหสิ อาคจฺฉตุ อานนฺโท อิมํ อนุสฺสาเวสฺสตูติ .  อายสฺมา อานนฺโท เอวมาห  “นาหํ อุสฺสหามิ เถรสฺส นามํ คเหตุํ ครุ เม เถโร”ติ 
tena sammatena bhikkhunā upasampadāpekkho upasaṃkamitvā evam assa vacanīyo: suṇasi itthannāma.  ayaṃ te saccakālo bhūtakālo.  yaṃ jātaṃ taṃ saṃghamajjhe pucchante santaṃ atthīti vattabbaṃ, asantaṃ n’ atthīti vattabbaṃ.  mā kho vitthāsi, mā kho maṅku ahosi.  evan taṃ pucchissan ti: santi te evarūpā ābādhā ... konāmo te upajjhāyo ’ti. |7| 
Thus one may appoint another person.  'Then let that appointed Bhikkhu go to the person who desires to be ordained, and thus address him: "Do you hear, N. N.?  This is the time for you to speak the truth, and to say that which is.  When I ask you before the assembly about that which is, you ought, if it is so, to answer: 'It is;' if it is not so, you ought to answer: 'It is not.'  Be not disconcerted, be not perplexed. 
ภิกษุผู้ได้รับสมมติแล้วนั้น พึงเข้าไปหาอุปสัมปทาเปกขะ แล้วกล่าวอย่างนี้ ว่าดังนี้:- (คำสอนซ้อมอันตรายิกธรรม) แน่ะผู้มีชื่อนี้ เจ้าฟังนะ  นี้เป็นกาลสัตย์ กาลจริงของเจ้า  เมื่อท่านถามในท่ามกลางสงฆ์ ถึงสิ่งอันเกิดแล้ว มีอยู่ พึงบอกว่า ไม่มี พึงบอกว่าไม่มี  เจ้าอย่าสะทกสะท้านแล้วแล เจ้าอย่าได้เป็นผู้เก้อแล้วแล  ภิกษุทั้งหลายจักถามเจ้าอย่างนี้ อาพาธเห็นปานนี้ของเจ้ามีหรือ? คือ โรคเรื้อน ฝี โรคกลาก โรคมองคร่อ ลมบ้าหมู? เจ้าเป็นมนุษย์หรือ เป็นชายหรือ เป็นไทหรือ ไม่มีหนี้สินหรือ มิใช่ราชภัฏหรือ มารดาบิดาอนุญาตแล้วหรือ มีปีครบ ๒๐ แล้วหรือ บาตร จีวรของเจ้ามีครบแล้วหรือ เจ้าชื่ออะไร อุปัชฌาย์ของเจ้าชื่ออะไร? 
ภควโต เอตมตฺถํ อาโรเจสุํ.  อนุชานามิ ภิกฺขเว โคตฺเตนปิ อนุสฺสาเวตุนฺติ.  (๖๑. ทฺเวอุปสมฺปทาเปกฺขาทิวตฺถุ) ๑๒๓. เตน โข ปน สมเยน อายสฺมโต มหากสฺสปสฺส ทฺเว อุปสมฺปทาเปกฺขา โหนฺติ. เต วิวทนฺติ อหํ ปฐมํ อุปสมฺปชฺชิสฺสามิ อหํ ปฐมํ อุปสมฺปชฺชิสฺสามีติ.  ภควโต เอตมตฺถํ อาโรเจสุํ.  อนุชานามิ ภิกฺขเว ทฺเว เอกานุสฺสาวเน กาตุนฺติ. 
ekato āgacchanti.  na ekato āgantabbaṃ.  anusāsakena paṭhamataraṃ āgantvā saṃgho ñāpetabbo: suṇātu me bhante saṃgho.  itthannāmo itthannāmassa āyasmato upasampadā-(95)pekkho.  anusiṭṭho so mayā.  yadi saṃghassa pattakallaṃ, itthannāmo āgaccheyyā ’ti.  āgacchāhīti vattabbo.  ekaṃsaṃ uttarāsaṅgaṃ kārāpetvā bhikkhūnaṃ pāde vandāpetvā ukkuṭikaṃ nisīdāpetvā añjaliṃ paggaṇhāpetvā upasampadaṃ yācāpetabbo:  saṃghaṃ bhante upasampadaṃ yācāmi, ullumpatu maṃ bhante saṃgho anukampaṃ upādāya, dutiyam pi bhante ..., tatiyam pi bhante saṃghaṃ upasampadaṃ yācāmi, ullumpatu maṃ bhante saṃgho anukampaṃ upādāyā ’ti. |8| 
I shall ask you thus: 'Are you afflicted with the following diseases, &c?'"'  (After the instruction, the instructor and the candidate) appeared together before the assembly.  'Let them not appear together.  Let the instructor come first and proclaim the following ñatti before the Samgha: "Let the Samgha, reverend Sirs, hear me.  N. N. desires to receive the upasampadâ ordination from the venerable N. N.;  he has been instructed by me.  If the Samgha is ready, let N. N. come."  Then let him be told: "Come on."  Let him be told to adjust his upper robe (&c., see chap. 29. 2 ), to raise his joined hands, and to ask (the Samgha) for the upasampadâ ordination (by saying), 
ภิกษุผู้สอนซ้อมกับอุปสัมปทาเปกขะเดินมาด้วยกัน  แต่ทั้งสองไม่พึงเดินมาพร้อมกัน  คือ ภิกษุผู้สอนซ้อมต้องมาก่อน แล้วประกาศให้สงฆ์ทราบด้วยญัตติกรรมวาจา ว่าดังนี้:- (คำเรียกอุปสัมปทาเปกขะเข้ามา) ท่านเจ้าข้า ขอสงฆ์จงฟังข้าพเจ้า  ผู้มีชื่อนี้เป็นอุปสัมปทาเปกขะของท่านผู้มีชื่อนี้.  ข้าพเจ้าสอนซ้อมเขาแล้ว.  ถ้าความพร้อมพรั่งของสงฆ์ถึงที่แล้ว. ขอผู้มีชื่อนี้พึงมา.  พึงเรียกอุปสัมปทาเปกขะว่า เจ้าจงมา.  พึงให้อุปสัมปทาเปกขะนั้นห่มผ้าเฉวียงบ่า ให้กราบเท้าภิกษุทั้งหลาย ให้นั่งกระหย่ง ให้ประคองอัญชลีแล้ว พึงให้ขออุปสมบทดังนี้:-  (คำขออุปสมบท) ข้าพเจ้าขออุปสมบทต่อสงฆ์ เจ้าข้า ขอสงฆ์โปรดยกข้าพเจ้าขึ้นเถิด เจ้าข้า. ข้าพเจ้าขออุปสมบทต่อสงฆ์ เป็นครั้งที่สอง เจ้าข้า ขอสงฆ์โปรดยกข้าพเจ้าขึ้นเถิดเจ้าข้า. ข้าพเจ้าขออุปสมบทต่อสงฆ์ เป็นครั้งที่สาม เจ้าข้า ขอสงฆ์โปรดยกข้าพเจ้าขึ้นเถิดเจ้าข้า. 
เตน โข ปน สมเยน สมฺพหุลานํ เถรานํ อุปสมฺปทาเปกฺขา โหนฺติ. เต วิวทนฺติ อหํ ปฐมํ อุปสมฺปชฺชิสฺสามิ อหํ ปฐมํ อุปสมฺปชฺชิสฺสามีติ.  เถรา เอวมาหํสุ “หนฺท มยํ อาวุโส สพฺเพว เอกานุสฺสาวเน กโรมา”ติ.  ภควโต เอตมตฺถํ อาโรเจสุํ.  อนุชานามิ ภิกฺขเว ทฺเว ตโย เอกานุสฺสาวเน กาตุํ ตญฺจ โข เอเกน อุปชฺฌาเยน น ตฺเวว นานุปชฺฌาเยนาติ.      (๖๒. คพฺภวีสูปสมฺปทานุชานนา) ๑๒๔. เตน โข ปน สมเยน อายสฺมา กุมารกสฺสโป คพฺภวีโส อุปสมฺปนฺโน อโหสิ.  อถ โข อายสฺมโต กุมารกสฺสปสฺส เอตทโหสิ “ภควตา ปญฺญตฺตํ ‘น อูนวีสติวสฺโส ปุคฺคโล อุปสมฺปาเทตพฺโพ’ติ.  อหญฺจมฺหิ คพฺภวีโส อุปสมฺปนฺโน. อุปสมฺปนฺโน นุ โขมฺหิ นนุ โข อุปสมฺปนฺโน”ติ? 
vyattena bhikkhunā paṭibalena saṃgho ñāpetabbo:  suṇātu me bhante saṃgho.  ayaṃ itthannāmo itthannāmassa āyasmato upasampadāpekkho.  yadi saṃghassa pattakallaṃ, ahaṃ itthannāmaṃ antarāyike dhamme puccheyyan ti.  suṇasi itthannāma.  ayaṃ te saccakālo bhūtakālo.  yaṃ jātaṃ taṃ pucchāmi.  santaṃ atthīti vattabbaṃ, asantaṃ n’ atthīti vattabbaṃ.  santi te evarūpā ābādhā ... konāmo te upajjhāyo ’ti. |9| 
"I ask the Samgha, reverend Sirs, for the upasampadâ ordination; might the Samgha, reverend Sirs, draw me out (of the sinful world) out of compassion towards me. And for the second time, reverend Sirs, I ask, &c. And for the third time, reverend Sirs, I ask, &c."  'Then let a learned, competent Bhikkhu proclaim the following ñatti before the Samgha:  "Let the Samgha, reverend Sirs, hear me.  This person N. N. desires to receive the upasampadâ ordination from the venerable N. N.  If the Samgha is ready, let me ask N. N. about the Disqualifications.  '"Do you hear, N. N.?  This is the time for you (&c., see § 7, down to:)    you ought to answer: 'It is not.'" 
(คำสมมติตนเพื่อถามอันตรายิกธรรม) ภิกษุผู้ฉลาด ผู้สามารถ พึงประกาศให้สงฆ์ทราบด้วยญัตติกรรมวาจา ว่าดังนี้:-  ท่านเจ้าข้า ขอสงฆ์จงฟังข้าพเจ้า  ผู้มีชื่อนี้ผู้นี้ เป็นอุปสัมปทาเปกขะของท่านผู้มีชื่อนี้.  ถ้าความพร้อมพรั่งของสงฆ์ถึงที่แล้ว. ข้าพเจ้าจะพึงถามอันตรายิกธรรมต่อผู้มีชื่อนี้ ดังนี้:-  (คำถามอันตรายิกธรรม) แน่ะ ผู้มีชื่อนี้ เจ้าฟังนะ  นี้เป็นกาลสัตย์ กาลจริงของเจ้า  เราจะถามสิ่งที่เกิดแล้ว  มีอยู่ พึงบอกว่ามี ไม่มี พึงบอกว่าไม่มี  อาพาธเห็นปานนี้ของเจ้ามีหรือ? คือ โรคเรื้อน ฝี โรคกลาก โรคมองคร่อ ลมบ้าหมู? เจ้าเป็นมนุษย์หรือ เป็นชายหรือ เป็นไทหรือ ไม่มีหนี้สินหรือ มิใช่ราชภัฏหรือ มารดาบิดาอนุญาตแล้วหรือ มีปีครบ ๒๐ แล้วหรือ บาตรจีวรของเจ้ามี ครบแล้วหรือ เจ้าชื่ออะไร อุปัชฌาย์ของเจ้าชื่ออะไร? 
ภควโต เอตมตฺถํ อาโรเจสุํ.  ยํ ภิกฺขเว มาตุกุจฺฉิสฺมึ ปฐมํ จิตฺตํ อุปฺปนฺนํ ปฐมํ วิญฺญาณํ ปาตุภูตํ ตทุปาทาย สาวสฺส ชาติ.  อนุชานามิ ภิกฺขเว คพฺภวีสํ อุปสมฺปาเทตุนฺติ.      (๖๓. อุปสมฺปทาวิธิ) ๑๒๕. เตน โข ปน สมเยน อุปสมฺปนฺนา ทิสฺสนฺติ กุฏฺฐิกาปิ คณฺฑิกาปิ กิลาสิกาปิ โสสิกาปิ อปมาริกาปิ.  ภควโต เอตมตฺถํ อาโรเจสุํ.  อนุชานามิ ภิกฺขเว อุปสมฺปาเทนฺเตน เตรส อนฺตรายิเก ธมฺเม ปุจฺฉิตุํ.  เอวญฺจ ปน ภิกฺขเว ปุจฺฉิตพฺโพ “สนฺติ เต เอวรูปา อาพาธา กุฏฺฐํ คณฺโฑ กิลาโส โสโส อปมาโร? มนุสฺโสสิ ปุริโสสิ? ภุชิสฺโสสิ? อณโณสิ? นสิ ราชภโฏ? อนุญฺญาโตสิ มาตาปิตูหิ? ปริปุณฺณวีสติวสฺโสสิ? ปริปุณฺณํ เต ปตฺตจีวรํ? กึนาโมสิ? โกนาโม เต อุปชฺฌาโย”ติ? 
vyattena bhikkhunā paṭibalena saṃgho ñāpetabbo: suṇātu me bhante saṃgho.  ayaṃ itthannāmo itthannāmassa āyasmato upasampadāpekkho, parisuddho antarāyikehi dhammehi, paripuṇṇ’ assa pattacīvaraṃ.  itthannāmo saṃghaṃ upasampadaṃ yācati itthannāmena upajjhāyena.  yadi saṃghassa pattakallaṃ, saṃgho itthannāmaṃ upasampādeyya itthannāmena upajjhāyena.  esā ñatti. |10| 
'"Are you afflicted with the following diseases, &c.?"  'Then let a learned, competent Bhikkhu proclaim the following ñatti before the Samgha: "Let the Samgha, reverend Sirs, hear me.  This person N. N. desires to receive the upasampadâ ordination from the venerable N. N.; he is free from the Disqualifications; his alms-bowl and robes are in due state.  N. N. asks the Samgha for the upasampadâ ordination with N. N. as upagghâya.  If the Samgha is ready, &c.1"' 
(กรรมวาจาอุปสมบท) ภิกษุผู้ฉลาด ผู้สามารถ พึงประกาศให้สงฆ์ทราบด้วยญัตติจตุตถกรรมวาจา ว่าดังนี้:- ท่านเจ้าข้า ขอสงฆ์จงฟังข้าพเจ้า  ผู้มีชื่อนี้ผู้นี้ เป็นอุปสัมปทาเปกขะของท่านผู้มีชื่อนี้ บริสุทธิ์แล้วจากอันตรายิกธรรมทั้งหลาย. บาตรจีวรของเขาครบแล้ว.  ผู้มีชื่อนี้ขออุปสมบทต่อสงฆ์ มีท่านผู้มีชื่อนี้เป็นอุปัชฌายะ.  ถ้าความพร้อมพรั่งของสงฆ์ถึงที่แล้ว. สงฆ์พึงอุปสมบทผู้มีชื่อนี้ มีท่านผู้มีชื่อนี้เป็นอุปัชฌายะ.  นี้เป็นญัตติ. 
เตน โข ปน สมเยน ภิกฺขู อนนุสิฏฺเฐ อุปสมฺปทาเปกฺเข อนฺตรายิเก ธมฺเม ปุจฺฉนฺติ.  อุปสมฺปทาเปกฺขา วิตฺถายนฺติ มงฺกู โหนฺติ น สกฺโกนฺติ วิสฺสชฺเชตุํ.  ภควโต เอตมตฺถํ อาโรเจสุํ.  อนุชานามิ ภิกฺขเว ปฐมํ อนุสาสิตฺวา ปจฺฉา อนฺตรายิเก ธมฺเม ปุจฺฉิตุนฺติ.  ตตฺเถว สงฺฆมชฺเฌ อนุสาสนฺติ. อุปสมฺปทาเปกฺขา ตเถว วิตฺถายนฺติ มงฺกู โหนฺติ น สกฺโกนฺติ วิสฺสชฺเชตุํ. 
suṇātu me bhante saṃgho.  ayaṃ itthannāmo itthannāmassa āyasmato upasampadāpekkho, parisuddho antarāyikehi dhammehi, paripuṇṇ’ assa pattacīvaraṃ.  itthannāmo saṃghaṃ upasampadaṃ yācati itthannāmena upajjhāyena.  saṃgho itthannāmaṃ upasampādeti itthannāmena upajjhāyena.  yassāyasmato khamati itthannāmassa upasampadā itthannāmena upajjhāyena, so tuṇh’ assa, yassa na kkhamati, so bhāseyya. |11| 
         
ท่านเจ้าข้า ขอสงฆ์จงฟังข้าพเจ้า  ผู้มีชื่อนี้ผู้นี้ เป็นอุปสัมปทาเปกขะของท่านผู้มีชื่อนี้ บริสุทธิ์แล้วจากอันตรายิกธรรมทั้งหลาย. บาตรจีวรของเขาครบแล้ว.  ผู้มีชื่อนี้ขออุปสมบทต่อสงฆ์ มีท่านผู้มีชื่อนี้เป็นอุปัชฌายะ.  สงฆ์อุปสมบทผู้มีชื่อนี้ มีท่านผู้มีชื่อนี้เป็นอุปัชฌายะ.  การอุปสมบทผู้มีชื่อนี้ มีท่านผู้มีชื่อนี้เป็นอุปัชฌายะ ชอบแก่ท่านผู้ใด ท่านผู้นั้นพึงเป็นผู้นิ่ง ไม่ชอบแก่ท่านผู้ใด ท่านผู้นั้นพึงพูด. 
ภควโต เอตมตฺถํ อาโรเจสุํ.  อนุชานามิ ภิกฺขเว เอกมนฺตํ อนุสาสิตฺวา สงฺฆมชฺเฌ อนฺตรายิเก ธมฺเม ปุจฺฉิตุํ.  เอวญฺจ ปน ภิกฺขเว อนุสาสิตพฺโพ ๑๒๖. ปฐมํ อุปชฺฌํ คาหาเปตพฺโพ. อุปชฺฌํ คาหาเปตฺวา ปตฺตจีวรํ อาจิกฺขิตพฺพํ อยํ เต ปตฺโต อยํ สงฺฆาฏิ อยํ อุตฺตราสงฺโค อยํ อนฺตรวาสโก. คจฺฉ อมุมฺหิ โอกาเส ติฏฺฐาหีติ.  พาลา อพฺยตฺตา อนุสาสนฺติ. ทุรนุสิฏฺฐา อุปสมฺปทาเปกฺขา วิตฺถายนฺติ มงฺกู โหนฺติ น สกฺโกนฺติ วิสฺสชฺเชตุํ.  ภควโต เอตมตฺถํ อาโรเจสุํ. 
dutiyam pi etam atthaṃ vadāmi: suṇātu me ... tatiyam pi etam atthaṃ vadāmi: suṇātu me ... yassa na kkhamati, so bhāseyya.  upasampanno saṃghena itthannāmo itthannāmena upajjhāyena.  khamati saṃghassa, tasmā tuṇhī, evam etaṃ dhārayāmīti. |12| 
     
ข้าพเจ้ากล่าวความนี้เป็นครั้งที่สอง. ท่านเจ้าข้า ขอสงฆ์จงฟังข้าพเจ้า ผู้มีชื่อนี้ผู้นี้ เป็นอุปสัมปทาเปกขะของท่านผู้มีชื่อนี้ บริสุทธิ์แล้วจากอันตรายิกธรรมทั้งหลาย. บาตรจีวร ของเขาครบแล้ว. ผู้มีชื่อนี้ขออุปสมบทต่อสงฆ์ มีท่านผู้มีชื่อนี้เป็นอุปัชฌายะ. สงฆ์อุปสมบท ผู้มีชื่อนี้ มีท่านผู้มีชื่อนี้เป็นอุปัชฌายะ. การอุปสมบทผู้มีชื่อนี้ มีท่านผู้มีชื่อนี้เป็นอุปัชฌายะ ชอบแก่ท่านผู้ใด ท่านผู้นั้นพึงเป็นผู้นิ่ง ไม่ชอบแก่ท่านผู้ใด ท่านผู้นั้นพึงพูด. ข้าพเจ้ากล่าวความนี้เป็นครั้งที่สาม. ท่านเจ้าข้า ขอสงฆ์จงฟังข้าพเจ้า ผู้มีชื่อนี้ผู้นี้ เป็นอุปสัมปทาเปกขะของท่านผู้มีชื่อนี้ บริสุทธิ์แล้วจากอันตรายิกธรรมทั้งหลาย. บาตรจีวร ของเขาครบแล้ว. ผู้มีชื่อนี้ขออุปสมบทต่อสงฆ์ มีท่านผู้มีชื่อนี้เป็นอุปัชฌายะ. สงฆ์อุปสมบท ผู้มีชื่อนี้ มีท่านผู้มีชื่อนี้เป็นอุปัชฌายะ. การอุปสมบทผู้มีชื่อนี้ มีท่านผู้มีชื่อนี้เป็นอุปัชฌายะ ชอบแก่ท่านผู้ใด ท่านผู้นั้นพึงเป็นผู้นิ่ง ไม่ชอบแก่ท่านผู้ใด ท่านผู้นั้นพึงพูด.  ผู้มีชื่อนี้สงฆ์อุปสมบทแล้ว มีท่านผู้มีชื่อนี้เป็นอุปัชฌายะ  ชอบแก่สงฆ์ เหตุนั้นจึงนิ่ง ข้าพเจ้าทรงความนี้ไว้ด้วยอย่างนี้. 
น ภิกฺขเว พาเลน อพฺยตฺเตน อนุสาสิตพฺโพ.  โย อนุสาเสยฺย อาปตฺติ ทุกฺกฏสฺส.  อนุชานามิ ภิกฺขเว พฺยตฺเตน ภิกฺขุนา ปฏิพเลน อนุสาสิตุนฺติ. 
||76|| 
 
อสมฺมตา อนุสาสนฺติ. 
upasampadākammaṃ niṭṭhitaṃ. 
อุปสมบทกรรม จบ. 
ภควโต เอตมตฺถํ อาโรเจสุํ. 
tāvad eva chāyā metabbā, utupamāṇaṃ ācikkhitabbaṃ, divasabhāgo ācikkhitabbo, saṃgīti ācikkhi-(96)tabbā, cattāro nissayā ācikkhitabbā:  piṇḍiyālopabhojanaṃ nissāya pabbajjā, tattha te yāvajīvaṃ ussāho karaṇīyo,  atirekalābho saṃghabhattaṃ uddesabhattaṃ nimantanaṃ salākabhattaṃ pakkhikaṃ uposathikaṃ pāṭipadikaṃ.  paṃsukūlacīvaraṃ nissāya pabbajjā, tattha te yāvajīvaṃ ussāho karaṇīyo.  atirekalābho khomaṃ kappāsikaṃ koseyyaṃ kambalaṃ sāṇaṃ bhaṅgaṃ.  rukkhamūlasenāsanaṃ nissāya pabbajjā, tattha te yāvajīvaṃ ussāho karaṇīyo.  atirekalābho vihāro aḍḍhayogo pāsādo hammiyaṃ guhā.  pūtimuttabhesajjaṃ nissāya pabbajjā, tattha te yāvajīvaṃ ussāho karaṇīyo.  atirekalābho sappi navanītaṃ telaṃ madhu phāṇitan ti. |1| 
End of the regulations for the upasampadâ ordination.  'Then let them measure the shadow, tell (the newly-ordained Bhikkhu) what season and what date it is, tell him what part of the day it is, tell him the whole formula, and tell him the four Resources:  "The religious life has the morsels of food given in alms for its resource (&c., as in chap. 30. 4)."'             
พระพุทธานุญาตให้บอกนิสสัย ๔ [๑๔๓] ทันใดนั้นแหละ พึงวัดเงา พึงบอกประมาณแห่งฤดู พึงบอกส่วนแห่งวัน พึงบอกสังคีติ พึงบอกนิสสัย ๔ ว่าดังนี้:-  ๑. บรรพชาอาศัยโภชนะ คือคำข้าวอันหาได้ด้วยกำลังปลีแข้ง เธอพึงทำอุตสาหะในข้อนั้นจนตลอดชีวิต.  อติเรกลาภ คือภัตถวายสงฆ์ ภัตเฉพาะสงฆ์ การนิมนต์ ภัตถวายตามสลาก ภัตถวายในปักษ์ ภัตถวายในวันอุโบสถ ภัตถวายในวันปาฏิบท.  ๒. บรรพชาอาศัยบังสุกุลจีวร เธอพึงทำอุตสาหะในข้อนั้นจนตลอดชีวิต.  อติเรกลาภ คือ ผ้าเปลือกไม้ ผ้าฝ้าย ผ้าไหม ผ้าขนสัตว์ ผ้าป่าน ผ้าแกมกัน.  ๓. บรรพชาอาศัยโคนต้นไม้เป็นเสนาสนะ เธอพึงอุตสาหะในข้อนั้นจนตลอดชีวิต.  อติเรกลาภ คือวิหาร เรือนมุงแถบเดียว เรือนชั้น เรือนโล้น ถ้ำ.  ๔. บรรพชาอาศัยมูตรเน่าเป็นยา เธอพึงทำอุตสาหะในข้อนั้นจนตลอดชีวิต.  อติเรกลาภ คือเนยใส เนยข้น น้ำมัน น้ำผึ้ง น้ำอ้อย. 
น ภิกฺขเว อสมฺมเตน อนุสาสิตพฺโพ.  โย อนุสาเสยฺย อาปตฺติ ทุกฺกฏสฺส.  อนุชานามิ ภิกฺขเว สมฺมเตน อนุสาสิตุํ.  เอวญฺจ ปน ภิกฺขเว สมฺมนฺนิตพฺโพ อตฺตนา วา อตฺตานํ สมฺมนฺนิตพฺพํ ปเรน วา ปโร สมฺมนฺนิตพฺโพ.  กถญฺจ อตฺตนาว อตฺตานํ สมฺมนฺนิตพฺพํ?  พฺยตฺเตน ภิกฺขุนา ปฏิพเลน สงฺโฆ ญาเปตพฺโพ “สุณาตุ เม ภนฺเต สงฺโฆ.  อิตฺถนฺนาโม อิตฺถนฺนามสฺส อายสฺมโต อุปสมฺปทาเปกฺโข.  ยทิ สงฺฆสฺส ปตฺตกลฺลํ อหํ อิตฺถนฺนามํ อนุสาเสยฺย”นฺติ.  เอวํ อตฺตนาว อตฺตานํ สมฺมนฺนิตพฺพํ. 
||77|| 
 
กถญฺจ ปน ปเรน ปโร สมฺมนฺนิตพฺโพ? 
cattāro nissayā niṭṭhitā. 
นิสสัย ๔ จบ. 
พฺยตฺเตน ภิกฺขุนา ปฏิพเลน สงฺโฆ ญาเปตพฺโพ “สุณาตุ เม ภนฺเต สงฺโฆ. 
tena kho pana samayena bhikkhū aññataraṃ bhikkhuṃ upasampādetvā ekakaṃ ohāya pakkamiṃsu.  so pacchā ekako āgacchanto antarā magge purāṇadutiyikāya samāgacchi.  sā evaṃ āha: kiṃ dāni pabbajito ’sīti.  āma pabbajito ’mhīti.  dullabho kho pabbajitānaṃ methuno dhammo, ehi methunaṃ dhammaṃ paṭisevā ’ti.  so tassā methunaṃ dhammaṃ paṭisevitvā cirena āgamāsi.  bhikkhū evaṃ āhaṃsu: kissa tvaṃ āvuso evaṃ ciraṃ akāsīti. |1| 
End of the four Resources.  At that time the Bhikkhus, after having conferred the upasampadâ ordination on a certain Bhikkhu, left him alone and went away.  Afterwards, as he went alone (to the Ârâma), he met on the way his former wife.  She said to him: 'Have you now embraced the religious life?'  (He replied): 'Yes, I have embraced the religious life.'  'It is difficult to persons who have embraced religious life, to obtain sexual intercourse; come, let us have intercourse.'  He practised intercourse with her, and, in consequence, came late (to the Arâma). 
อกรณียกิจ ๔ [๑๔๔] ก็โดยสมัยนั้นแล ภิกษุทั้งหลายอุปสมบทภิกษุรูปหนึ่งแล้ว ทิ้งไว้แต่ลำพังแล้วหลีกไป.  เธอเดินมาทีหลังแต่รูปเดียว ได้พบภรรยาเก่าเข้า ณ ระหว่างทาง.  นางได้ถามว่า เวลานี้ท่านบวชแล้วหรือ?  ภิกษุนั้นตอบว่า จ้ะ ฉันบวชแล้ว.  นางจึงพูดชวนว่า เมถุนธรรมพวกบรรพชิตหาได้ยาก นิมนต์ท่านมาเสพเมถุนธรรม.  ภิกษุนั้นได้เสพเมถุนธรรมในนางแล้ว ได้ไปถึงทีหลังช้าไป.  ภิกษุทั้งหลายถามว่า อาวุโส ท่านมัวทำอะไรชักช้าเช่นนี้.? 
อิตฺถนฺนาโม อิตฺถนฺนามสฺส อายสฺมโต อุปสมฺปทาเปกฺโข.  ยทิ สงฺฆสฺส ปตฺตกลฺลํ อิตฺถนฺนาโม อิตฺถนฺนามํ อนุสาเสยฺยา”ติ  เอวํ ปเรน ปโร สมฺมนฺนิตพฺโพ.  เตน สมฺมเตน ภิกฺขุนา อุปสมฺปทาเปกฺโข อุปสงฺกมิตฺวา เอวมสฺส วจนีโย “สุณสิ อิตฺถนฺนาม  อยํ เต สจฺจกาโล ภูตกาโล.  ยํ ชาตํ ตํ สงฺฆมชฺเฌ ปุจฺฉนฺเต สนฺตํ อตฺถีติ วตฺตพฺพํ อสนฺตํ นตฺถี”ติ วตฺตพฺพํ.  มา โข วิตฺถายิ มา โข มงฺกุ อโหสิ. 
atha kho so bhikkhu bhikkhūnaṃ etam atthaṃ ārocesi.  bhikkhū bhagavato etam atthaṃ ārocesuṃ.  anujānāmi bhikkhave upasampādetvā dutiyaṃ dātuṃ cattāri ca akaraṇīyāni ācikkhituṃ:  upasampannena bhikkhunā methuno dhammo na paṭisevitabbo antamaso tiracchānagatāya pi.  yo bhikkhu methunaṃ dhammaṃ paṭisevati, assamaṇo hoti asakyaputtiyo.  seyyathāpi nāma puriso sīsacchinno abhabbo tena sarīrabandhanena jīvituṃ, evam eva bhikkhu methunaṃ dhammaṃ paṭisevitvā assamaṇo hoti asakyaputtiyo, taṃ te yāvajīvaṃ akaraṇīyaṃ. |2| 
The Bhikkhus said: 'How is it, friend, that you are so late?'  Then that Bhikkhu told the whole matter to the Bhikkhus.  The Bhikkhus told it to the Blessed One.  'I prescribe, O Bhikkhus, that you give a companion to a newly-ordained Bhikkhu, and that you tell him the four Interdictions:  '"A Bhikkhu who has received the upasampadâ ordination ought to abstain from all sexual intercourse even with an animal.  A Bhikkhu who practises sexual intercourse is no Samana and no follower of the Sakyaputta. 
เธอได้แจ้งเรื่องนั้นแก่ภิกษุทั้งหลาย.  ภิกษุทั้งหลายจึงกราบทูลเรื่องนั้นแด่พระผู้มีพระภาค.  (พระพุทธานุญาตให้บอกอกรณียกิจ ๔) ลำดับนั้น พระผู้มีพระภาคทรงทำธรรมีกถา ในเพราะเหตุเป็นเค้ามูลนั้น ในเพราะเหตุแรกเกิดนั้น แล้วรับสั่งกะภิกษุทั้งหลายว่า ดูกรภิกษุทั้งหลาย เราอนุญาตให้ภิกษุผู้ให้อุปสมบทแล้วให้ภิกษุอยู่เป็นเพื่อน และให้บอกอกรณียกิจ ๔ ดังต่อไปนี้:-  ๑. อันภิกษุผู้อุปสมบทแล้ว ไม่พึงเสพเมถุนธรรม โดยที่สุดแม้ในสัตว์ดิรัจฉานตัวเมีย.  ภิกษุใดเสพเมถุนธรรม ไม่เป็นสมณะ ไม่เป็นเชื้อสายพระศากยบุตร.  เปรียบเหมือนบุรุษถูกตัดศีรษะแล้ว ไม่อาจจะมีสรีระคุมกันนั้นเป็นอยู่ ภิกษุก็เหมือนกัน เสพเมถุนธรรมแล้ว ไม่เป็นสมณะ ไม่เป็นเชื้อสายพระศากยบุตร. การนั้น เธอไม่พึงทำตลอดชีวิต. 
เอวํ ตํ ปุจฺฉิสฺสนฺติ “สนฺติ เต เอวรูปา อาพาธา กุฏฺฐํ คณฺโฑ กิลาโส โสโส อปมาโร? มนุสฺโสสิ? ปุริโสสิ? ภุชิสฺโสสิ? อณโณสิ? นสิ ราชภโฏ? อนุญฺญาโตสิ มาตาปิตูหิ? ปริปุณฺณวีสติวสฺโสสิ? ปริปุณฺณํ เต ปตฺตจีวรํ? กึนาโมสิ? โกนาโม เต อุปชฺฌาโย”ติ?  เอกโต อาคจฺฉนฺติ.  น ภิกฺขเว เอกโต อาคนฺตพฺพํ.  อนุสาสเกน ปฐมตรํ อาคนฺตฺวา สงฺโฆ ญาเปตพฺโพ “สุณาตุ เม ภนฺเต สงฺโฆ.  อิตฺถนฺนาโม อิตฺถนฺนามสฺส อายสฺมโต อุปสมฺปทาเปกฺโข  อนุสิฏฺโฐ โส มยา. 
upasampannena bhikkhunā adinnaṃ theyyasaṃkhātaṃ na ādātabbaṃ antamaso tiṇasalākaṃ upādāya.  yo bhikkhu pādaṃ vā pādārahaṃ vā atirekapādaṃ vā adinnaṃ theyyasaṃkhātaṃ ādiyati, assamaṇo hoti asakyaputtiyo.  seyyathāpi nāma paṇḍupalāso bandhanā pamutto abhabbo haritattāya, evam eva bhikkhu pādaṃ vā pādārahaṃ vā atirekapādaṃ vā adinnaṃ theyyasaṃkhātaṃ ādiyitvā assamaṇo hoti asakyaputtiyo, taṃ te (97) yāvajīvaṃ akaraṇīyaṃ. |3| 
As a man whose head is cut off, cannot live any longer with his trunk alone, thus a Bhikkhu who practises sexual intercourse is no Samana and no follower of the Sakyaputta. Abstain from doing so as long as your life lasts.  '"A Bhikkhu who has received the upasampadâ ordination, ought to abstain from taking what is not given to him, and from theft, even of a blade of grass.  A Bhikkhu who takes what is not given to him, or steals it, if it is a pâda (i.e. a quarter of a kârshâpana), or of the value of a pâda or worth more than a pâda, is no Samana and no follower of the Sakyaputta. 
๒. อันภิกษุผู้อุปสมบทแล้ว ไม่พึงถือเอาของอันเขาไม่ได้ให้ เป็นส่วนขโมย โดยที่สุดหมายเอาถึงเส้นหญ้า.  ภิกษุใดถือเอาของอันเขาไม่ได้ให้ เป็นส่วนขโมย ได้ราคาบาทหนึ่งก็ดี ควรแก่ราคาบาทหนึ่งก็ดี เกินบาทหนึ่งก็ดี ไม่เป็นสมณะ ไม่เป็นเชื้อสายพระศากยบุตร.  เปรียบเหมือนใบไม้เหลืองหล่นจากขั้วแล้วไม่อาจจะเป็นของเขียวสด. ภิกษุก็เหมือนกัน ถือเอาของอันเขาไม่ได้ให้ เป็นส่วนขโมย ได้ราคาบาทหนึ่งก็ดี ควรแก่ราคาบาทหนึ่งก็ดี เกินบาทหนึ่งก็ดี ไม่เป็นสมณะ ไม่เป็นเชื้อสายพระศากยบุตร. การนั้น เธอไม่พึงทำตลอดชีวิต. 
ยทิ สงฺฆสฺส ปตฺตกลฺลํ อิตฺถนฺนาโม อาคจฺเฉยฺยา”ติ.  อาคจฺฉาหีติ วตฺตพฺโพ.  เอกํสํ อุตฺตราสงฺคํ การาเปตฺวา ภิกฺขูนํ ปาเท วนฺทาเปตฺวา อุกฺกุฏิกํ นิสีทาเปตฺวา อญฺชลึ ปคฺคณฺหาเปตฺวา อุปสมฺปทํ ยาจาเปตพฺโพ 
upasampannena bhikkhunā sañcicca pāṇo jīvitā no voropetabbo antamaso kunthakipillikaṃ upādāya.  yo bhikkhu sañcicca manussaviggahaṃ jīvitā voropeti antamaso gabbhapātanaṃ upādāya, assamaṇo hoti asakyaputtiyo.  seyyathāpi nāma puthusilā dvedhā bhinnā appaṭisandhikā hoti, evam eva bhikkhu sañcicca manussaviggahaṃ jīvitā voropetvā assamaṇo hoti asakyaputtiyo, taṃ te yāvajīvaṃ akaraṇīyaṃ. |4| 
As a sear leaf loosed from its stalk cannot become green again, thus a Bhikkhu who takes, &c. Abstain from doing so as long as your life lasts.  '"A Bhikkhu who has received the upasampadâ ordination, ought not intentionally to destroy the life of any being down to a worm or an ant.  A Bhikkhu who intentionally kills a human being, down to procuring abortion, is no Samana and no follower of the Sakyaputta. 
๓. อันภิกษุผู้อุปสมบทแล้ว ไม่พึงแกล้งพรากสัตว์จากชีวิต โดยที่สุดหมายเอาถึงมดดำมดแดง.  ภิกษุใดแกล้งพรากกายมนุษย์จากชีวิต โดยที่สุดหมายเอาถึงยังครรภ์ให้ตก ไม่เป็นสมณะ ไม่เป็นเชื้อสายพระศากยบุตร.  เปรียบเหมือนศิลาหนาแตกสองเสี่ยงแล้ว เป็นของกลับต่อกันไม่ได้. ภิกษุก็เหมือนกัน แกล้งพรากกายมนุษย์จากชีวิตแล้ว ไม่เป็นสมณะ ไม่เป็นเชื้อสายพระศากยบุตร. การนั้น เธอไม่พึงทำตลอดชีวิต. 
“สงฺฆํ ภนฺเต อุปสมฺปทํ ยาจามิ. อุลฺลุมฺปตุ มํ ภนฺเต สงฺโฆ อนุกมฺปํ อุปาทาย. ทุติยมฺปิ ภนฺเต สงฺฆํ อุปสมฺปทํ ยาจามิ. อุลฺลุมฺปตุ มํ ภนฺเต สงฺโฆ อนุกมฺปํ อุปาทาย. ตติยมฺปิ ภนฺเต สงฺฆํ อุปสมฺปทํ ยาจามิ. อุลฺลุมฺปตุ มํ ภนฺเต สงฺโฆ อนุกมฺปํ อุปาทายา”ติ.  พฺยตฺเตน ภิกฺขุนา ปฏิพเลน สงฺโฆ ญาเปตพฺโพ  “สุณาตุ เม ภนฺเต สงฺโฆ. 
upasampannena bhikkhunā uttarimanussadhammo na ullapitabbo antamaso suññāgāre abhiramāmīti.  yo bhikkhu pāpiccho icchāpakato asantaṃ abhūtaṃ uttarimanussadhammaṃ ullapati jhānaṃ vā vimokkhaṃ vā samādhiṃ vā samāpattiṃ vā maggaṃ vā phalaṃ vā, assamaṇo hoti asakyaputtiyo.  seyyathāpi nāma tālo matthakacchinno abhabbo punavirūḷhiyā, evam eva bhikkhu pāpiccho icchāpakato asantaṃ abhūtaṃ uttarimanussadhammaṃ ullapitvā assamaṇo hoti asakyaputtiyo, taṃ te yāvajīvaṃ akaraṇīyan ti. |5| 
As a great stone which is broken in two, cannot be reunited, thus a Bhikkhu who intentionally, &c. Abstain from doing so as long as your life lasts.  '"A Bhikkhu who has received the upasampadâ ordination, ought not to attribute to himself any superhuman condition, and not to say even: 'I find delight in sojourning in an empty place.'  A Bhikkhu who with bad intention and out of covetousness attributes to himself a superhuman condition, which he has not, and which he is not possessed of, a state of ghâna (mystic meditation), or one of the vimokkhas, or one of the samâdhis (states of self-concentration), or one of the samâpattis (the attainment of the four ghânas and four of the eight vimokkhas), or one of the Paths (of sanctification), or one of the Fruits thereof, is no Samana and no follower of the Sakyaputta. 
๔. อันภิกษุผู้อุปสมบทแล้ว ไม่พึงพูดอวดอุตตริมนุสสธรรม โดยที่สุดว่า เรายินดียิ่งในเรือนว่างเปล่า.  ภิกษุใดมีความปรารถนาลามก อันความปรารถนาลามกครอบงำแล้ว พูดอวดอุตตริมนุสสธรรม อันไม่มีอยู่ อันไม่จริง คือฌานก็ดี วิโมกข์ก็ดี สมาธิก็ดี สมาบัติก็ดี มรรคก็ดี ผลก็ดี ไม่เป็นสมณะ ไม่เป็นเชื้อสายพระศากยบุตร.  เปรียบเหมือนต้นตาลมียอดด้วนแล้ว ไม่อาจจะงอกอีก ภิกษุก็เหมือนกัน มีความปรารถนาลามก อันความปรารถนาลามกครอบงำแล้ว พูดอวดอุตตริมนุสสธรรม อันไม่มีอยู่ อันไม่เป็นจริง ไม่เป็นสมณะ ไม่เป็นเชื้อสายพระศากยบุตร. การนั้น เธอไม่พึงทำตลอดชีวิต. 
อยํ อิตฺถนฺนาโม อิตฺถนฺนามสฺส อายสฺมโต อุปสมฺปทาเปกฺโข.  ยทิ สงฺฆสฺส ปตฺตกลฺลํ อหํ อิตฺถนฺนามํ อนฺตรายิเก ธมฺเม ปุจฺเฉยฺย”นฺติ?  สุณสิ อิตฺถนฺนาม 
cattāri akaraṇīyāni niṭṭhitāni. ||78|| 
As a palm tree of which the top sprout has been cut off, cannot grow again, thus a Bhikkhu who with bad intention, &c. Abstain from doing so as long as your life lasts."' 
อกรณียกิจ ๔ จบ. 
อยํ เต สจฺจกาโล ภูตกาโล. 
tena kho pana samayena aññataro bhikkhu āpattiyā adassane ukkhittako vibbhami, so puna paccāgantvā bhikkhū upasampadaṃ yāci.  bhagavato etam atthaṃ ārocesuṃ.  idha pana bhikkhave bhikkhu āpattiyā adassane ukkhittako vibbhamati, so puna paccāgantvā bhikkhū upasampadaṃ yācati.  so evam assa vacanīyo: passissasi taṃ āpattin ti.  sac’ āhaṃ passissāmīti pabbājetabbo, sac’ āhaṃ na passissāmīti na pabbājetabbo. |1| 
End of the four Interdicts.  At that time a certain Bhikkhu against whom expulsion had been pronounced for his refusal to see an offence (committed by himself), returned to the world. Afterwards he came back to the Bhikkhus and asked them for the upasampadâ ordination.  They told this thing to the Blessed One.  'In case, O Bhikkhus, that a Bhikkhu against whom expulsion has been pronounced for his refusal to see an offence (committed by himself), returns to the world,  and afterwards comes back to the Bhikkhus and asks them for the upasampadâ ordination, let them say to him: "Will you see that offence?" 
เรื่องภิกษุผู้ถูกสงฆ์ยกเสียเป็นต้น [๑๔๕] ก็โดยสมัยนั้นแล ภิกษุรูปหนึ่งถูกสงฆ์ยกเสีย ฐานไม่เห็นอาบัติ ได้สึกแล้ว. เขากลับมาขออุปสมบทต่อภิกษุทั้งหลายอีก.  ภิกษุทั้งหลายกราบทูลเรื่องนั้นแด่พระผู้มีพระภาค.  พระผู้มีพระภาค ทรงแสดงวิธีปฏิบัติ ดังนี้:- (วิธีปฏิบัติในภิกษุผู้ถูกยกเสีย) ดูกรภิกษุทั้งหลาย ก็ภิกษุในธรรมวินัยนี้ ถูกสงฆ์ยกเสียฐานไม่เห็นอาบัติ สึกไป.  เธอกลับมาขออุปสมบทต่อภิกษุทั้งหลายอีก. พึงสอบถามเขาเช่นนี้ว่า เจ้าจักเห็นอาบัตินั้นหรือ?  ถ้าเขาตอบว่า กระผมจักเห็นขอรับ พึงให้บรรพชา ถ้าเขาตอบว่า กระผมจักไม่เห็นขอรับ ไม่พึงให้บรรพชา. 
ยํ ชาตํ ตํ ปุจฺฉามิ.  สนฺตํ อตฺถีติ วตฺตพฺพํ อสนฺตํ นตฺถีติ วตฺตพฺพํ.  สนฺติ เต เอวรูปา อาพาธา กุฏฺฐํ คณฺโฑ กิเลโส โสโส อปมาโร มนุสฺโสสิ ปุริโสสิ ภุชิสฺโสสิ อณโณสิ นสิ ราชภโฏ อนุญฺญาโตสิ มาตาปิตูหิ ปริปุณฺณวีสติวสฺโสสิ ปริปุณฺณํ เต ปตฺตจีวรํ กึนาโมสิ โกนาโม เต อุปชฺฌาโยติ?  พฺยตฺเตน ภิกฺขุนา ปฏิพเลน สงฺโฆ ญาเปตพฺโพ ๑๒๗. “สุณาตุ เม ภนฺเต สงฺโฆ.  อยํ อิตฺถนฺนาโม อิตฺถนฺนามสฺส อายสฺมโต อุปสมฺปทาเปกฺโข ปริสุทฺโธ อนฺตรายิเกหิ ธมฺเมหิ ปริปุณฺณสฺส ปตฺตจีวรํ. 
pabbājetvā vattabbo passissasi taṃ āpattin ti.  sac’ āhaṃ passissāmīti upasampādetabbo,  sac’ āhaṃ na passissāmīti na upasampādetabbo.  upasampādetvā vattabbo passissasi taṃ āpattin ti.  sac’ āhaṃ passissāmīti osāretabbo, sac’ āhaṃ na passissāmīti na osāretabbo.  osāretvā vattabbo passasi taṃ āpattin ti.  sace passati, icc etaṃ kusalaṃ, no ce passati, labbhamānāya sāmaggiyā puna ukkhipitabbo, alabbhamānāya sāmaggiyā anāpatti sambhoge saṃvāse. |2| 
If he replies: "I will see it," let him be admitted to the pabbaggâ ordination; if he replies: "I will not see it," let him not be admitted to the pabbaggâ ordination.  'When he has received the pabbaggâ ordination let them say to him: "Will you see that offence?"  If he says: "I will see it," let him be admitted to the upasampadâ ordination;  if he says: "I will not see it," let him not be admitted to the upasampadâ ordination.  'When he has received the upasampadâ ordination (&c., as before).  If he says: "I will see it," let him be restored; if he says: "I will not see it," let him not be restored.  'When he has been restored, let them say to him: "Do you see that offence?" 
ครั้นให้บรรพชาแล้ว พึงถามว่า เจ้าจักเห็นอาบัตินั้นหรือ?  ถ้าเขาตอบว่า กระผมจักเห็นขอรับ พึงให้อุปสมบท,  ถ้าเขาตอบว่า กระผมจักไม่เห็นขอรับ ไม่พึงให้อุปสมบท.  ครั้นให้อุปสมบทแล้ว พึงถามว่า ท่านจักเห็นอาบัตินั้นหรือ?  ถ้าเธอตอบว่า กระผมจักเห็นขอรับ พึงเรียกเข้าหมู่ ถ้าเธอตอบว่า กระผมจักไม่เห็นขอรับ ไม่พึงเรียกเข้าหมู่.  ครั้นเรียกเข้าหมู่แล้ว พึงถามว่า ท่านเห็นอาบัตินั้นหรือ?  ถ้าเห็น การเห็นได้อย่างนี้ นั่นเป็นการดี หากไม่เห็น เมื่อได้สามัคคี พึงยกเสียอีก เมื่อไม่ได้สามัคคี ไม่เป็นอาบัติในเพราะสมโภคและอยู่ร่วมกัน. 
อิตฺถนฺนาโม สงฺฆํ อุปสมฺปทํ ยาจติ อิตฺถนฺนาเมน อุปชฺฌาเยน.  ยทิ สงฺฆสฺส ปตฺตกลฺลํ สงฺโฆ อิตฺถนฺนามํ อุปสมฺปาเทยฺย อิตฺถนฺนาเมน อุปชฺฌาเยน.  เอสา ญตฺติ.  “สุณาตุ เม ภนฺเต สงฺโฆ.  อยํ อิตฺถนฺนาโม อิตฺถนฺนามสฺส อายสฺมโต อุปสมฺปทาเปกฺโข ปริสุทฺโธ อนฺตรายิเกหิ ธมฺเมหิ ปริปุณฺณสฺส ปตฺตจีวรํ.  อิตฺถนฺนาโม สงฺฆํ อุปสมฺปทํ ยาจติ อิตฺถนฺนาเมน อุปชฺฌาเยน.  สงฺโฆ อิตฺถนฺนามํ อุปสมฺปาเทติ อิตฺถนฺนาเมน 
idha pana bhikkhave bhikkhu āpattiyā appaṭikamme ukkhittako vibbhamati, so puna paccāgantvā bhikkhū upasampadaṃ yācati.  so evam assa vacanīyo: paṭikarissasi taṃ āpattin ti.  sac’ āhaṃ paṭikarissāmīti pabbāje (98) tabbo, sac’ āhaṃ na paṭikarissāmīti na pabbājetabbo.  pabbājetvā vattabbo paṭikarissasi taṃ āpattin ti.  sac’ āha paṭikarissāmīti upasampādetabbo, sac’ āhaṃ na paṭikarissāmīti na upasampādetabbo.  upasampādetvā vattabbo paṭikarissasi taṃ āpattin ti.  sac’ āhaṃ paṭikarissāmīti osāretabbo, sac’ āhaṃ na paṭikarissāmīti na osāretabbo.  osāretvā vattabbo paṭikarohi taṃ āpattin ti.  sace paṭikaroti, icc eta kusalaṃ, no ce paṭikaroti, labbhamānāya sāmaggiyā pun ukkhipitabbo, alabbhamānāya sāmaggiyā anāpatti sambhog saṃvāse. |3| 
If he sees it, well and good; if he does not see it, let them expel him again, if it is possible to bring about unanimity (of the fraternity for the sentence of expulsion); if that is impossible, it is no offence to live and to dwell together (with such a Bhikkhu).  'In case, O Bhikkhus, that a Bhikkhu against whom expulsion has been pronounced for his refusal to atone for an offence (committed by himself), &c.1  When he has been restored, let them say to him: "Atone now for that offence." If he atones for it, well and good, &c.             
ดูกรภิกษุทั้งหลาย อนึ่ง ภิกษุในธรรมวินัยนี้ ถูกสงฆ์ยกเสียฐานไม่ยอมทำคืนอาบัติสึกไป. เธอกลับมาขออุปสมบทต่อภิกษุทั้งหลายอีก.  พึงสอบถามเขาเช่นนี้ว่า เจ้าจักทำคืนอาบัตินั้นหรือ?  ถ้าเขาตอบว่า กระผมจักทำคืนขอรับ พึงให้บรรพชา, ถ้าเขาตอบว่า กระผมจักไม่ทำคืน ไม่พึงให้บรรพชา.  ครั้นให้บรรพชาแล้ว พึงถามว่า เจ้าจักทำคืนอาบัตินั้นหรือ?  ถ้าเขาตอบว่า กระผมจักทำคืนขอรับ พึงให้อุปสมบท, ถ้าเขาตอบว่า กระผมจักไม่ทำคืนขอรับ ไม่พึงให้อุปสมบท.  ครั้นให้อุปสมบทแล้ว พึงถามว่าท่านจักทำคืนอาบัตินั้นหรือ?  ถ้าเธอตอบว่า กระผมจักทำคืนขอรับ พึงเรียกเข้าหมู่, ถ้าเธอตอบว่า กระผมจักไม่ทำคืนขอรับ ไม่พึงเรียกเข้าหมู่.  ครั้นเรียกเข้าหมู่แล้ว พึงกล่าวว่า จงยอมทำคืนอาบัตินั้นเสีย.  ถ้าเธอยอมทำคืน การทำคืนได้อย่างนี้ นั่นเป็นการดี หากไม่ยอมทำคืน เมื่อได้สามัคคี พึงยกเสียอีก เมื่อไม่ได้สามัคคีไม่เป็นอาบัติในเพราะสมโภคและอยู่ร่วมกัน. 
อุปชฺฌาเยน ยสฺสายสฺมโต ขมติ อิตฺถนฺนามสฺส อุปสมฺปทา อิตฺถนฺนาเมน อุปชฺฌาเยน โส ตุณฺหสฺส ยสฺส นกฺขมติ โส ภาเสยฺย.  “ทุติยมฺปิ เอตมตฺถํ วทามิ สุณาตุ เม ภนฺเต สงฺโฆ. อยํ อิตฺถนฺนาโม อิตฺถนฺนามสฺส อายสฺมโต อุปสมฺปทาเปกฺโข ปริสุทฺโธ อนฺตรายิเกหิ ธมฺเมหิ ปริปุณฺณสฺส ปตฺตจีวรํ. อิตฺถนฺนาโม สงฺฆํ อุปสมฺปทํ ยาจติ อิตฺถนฺนาเมน อุปชฺฌาเยน. สงฺโฆ อิตฺถนฺนามํ อุปสมฺปาเทติ อิตฺถนฺนาเมน อุปชฺฌาเยน. ยสฺสายสฺมโต ขมติ อิตฺถนฺนามสฺส อุปสมฺปทา อิตฺถนฺนาเมน อุปชฺฌาเยน โส ตุณฺหสฺส ยสฺส นกฺขมติ โส ภาเสยฺย. “ตติยมฺปิ เอตมตฺถํ วทามิ สุณาตุ เม ภนฺเต สงฺโฆ. อยํ อิตฺถนฺนาโม อิตฺถนฺนามสฺส อายสฺมโต อุปสมฺปทาเปกฺโข ปริสุทฺโธ อนฺตรายิเกหิ ธมฺเมหิ ปริปุณฺณสฺส ปตฺตจีวรํ. อิตฺถนฺนาโม สงฺฆํ อุปสมฺปทํ ยาจติ อิตฺถนฺนาเมน อุปชฺฌาเยน. สงฺโฆ อิตฺถนฺนามํ อุปสมฺปาเทติ อิตฺถนฺนาเมน อุปชฺฌาเยน. ยสฺสายสฺมโต ขมติ อิตฺถนฺนามสฺส อุปสมฺปทา อิตฺถนฺนาเมน อุปชฺฌาเยน โส ตุณฺหสฺส ยสฺส นกฺขมติ โส ภาเสยฺย.  “อุปสมฺปนฺโน สงฺเฆน อิตฺถนฺนาโม อิตฺถนฺนาเมน อุปชฺฌาเยน.  ขมติ สงฺฆสฺส ตสฺมา ตุณฺหี เอวเมตํ ธารยามี”ติ.      อุปสมฺปทากมฺมํ นิฏฺฐิตํ.  (๖๔. จตฺตาโร นิสฺสยา) ๑๒๘. ตาวเทว ฉายา เมตพฺพา อุตุปฺปมาณํ อาจิกฺขิตพฺพํ ทิวสภาโค อาจิกฺขิตพฺโพ สงฺคีติ อาจิกฺขิตพฺพา จตฺตาโร นิสฺสยา อาจิกฺขิตพฺพา  “ปิณฺฑิยาโลปโภชนํ นิสฺสาย ปพฺพชฺชา. ตตฺถ เต ยาวชีวํ อุสฺสาโห กรณีโย. 
idha pana bhikkhave bhikkhu pāpikāy diṭṭhiyā appaṭinissagge ukkhittako vibbhamati, so puna paccāgantvā bhikkhū upasampadaṃ yācati.  so evam assa vācanīyo: paṭinissajjissasi taṃ pāpikaṃ diṭṭhin ti.  sac’ āha paṭinissajjissāmīti pabbājetabbo, sac’ āhaṃ na paṭinissajjissāmīti na pabbājetabbo.  pabbājetvā vattabbo paṭinissajjissasi taṃ pāpikaṃ diṭṭhin ti.  sac’ āhaṃ paṭinissajjissāmīt upasampādetabbo, sac’ āhaṃ na paṭinissajjissāmīti n upasampādetabbo.  upasampādetvā vattabbo paṭinissajjissasi taṃ pāpikaṃ diṭṭhin ti.  sac’ āhaṃ paṭinissajjissāmīt osāretabbo, sac’ āhaṃ na paṭinissajjissāmīti na osāretabbo.  osāretvā vattabbo paṭinissajjāhi taṃ pāpikaṃ diṭṭhi ti.  sace paṭinissajjati, icc etaṃ kusalaṃ, no ce paṭinissajjati, labbhamānāya sāmaggiyā puna ukkhipitabbo, alabbhamānāya sāmaggiyā anāpatti sambhoge saṃvāse ’ti. |4| 
  'In case, O Bhikkhus, that a Bhikkhu against whom expulsion has been pronounced for his refusal to renounce a false doctrine, &c.2 When he has been restored, let them say to him: "Renounce now that false doctrine." If he renounces it, well and good, &c.'               
ดูกรภิกษุทั้งหลาย อนึ่ง ก็ภิกษุในธรรมวินัยนี้ ถูกสงฆ์ยกเสียฐานไม่ยอมสละทิฏฐิบาปสึกไป. เธอกลับมาขออุปสมบทต่อภิกษุทั้งหลายอีก.  พึงสอบถามเขาเช่นนี้ว่า เจ้าจักยอมสละคืนทิฏฐิบาปนั้นหรือ?  ถ้าเขาตอบว่า กระผมจักยอมสละคืนขอรับ พึงให้บรรพชา, ถ้าเขาตอบว่า กระผมจักไม่ยอมสละคืนขอรับ ไม่พึงให้บรรพชา.  ครั้นให้บรรพชาแล้ว พึงถามว่าเจ้าจักยอมสละคืนทิฏฐิบาปนั้นหรือ?  ถ้าเขาตอบว่า กระผมจักยอมสละคืนขอรับ พึงให้อุปสมบท, ถ้าเขาตอบว่า กระผมจักไม่ยอมสละคืนขอรับ ไม่พึงให้อุปสมบท.  ครั้นให้อุปสมบทแล้วพึงถามว่า ท่านยอมสละคืนทิฏฐิบาปนั้นหรือ?  ถ้าเธอตอบว่า กระผมจักยอมสละคืนขอรับ พึงเรียกเข้าหมู่, ถ้าเธอตอบว่า กระผมจักไม่ยอมสละคืนขอรับ ไม่พึงเรียกเข้าหมู่.  ครั้นเรียกเข้าหมู่แล้ว พึงกล่าวว่า จงยอมสละคืนทิฏฐิบาปนั้น.  ถ้าเธอยอมสละคืน การยอมสละคืนได้อย่างนี้ นั่นเป็นการดี ถ้าไม่ยอมสละคืน เมื่อได้สามัคคี พึงยกเสียอีก เมื่อไม่ได้สามัคคีไม่เป็นอาบัติในเพราะสมโภคและอยู่ร่วมกัน. 
อติเรกลาโภ สงฺฆภตฺตํ อุทฺเทสภตฺตํ นิมนฺตนํ สลากภตฺตํ ปกฺขิกํ อุโปสถิกํ ปาฏิปทิกํ.  “ปํสุกูลจีวรํ นิสฺสาย ปพฺพชฺชา. ตตฺถ เต ยาวชีวํ อุสฺสาโห กรณีโย.  อติเรกลาโภ โขมํ กปฺปาสิกํ โกเสยฺยํ กมฺพลํ สาณํ ภงฺคํ.  “รุกฺขมูลเสนาสนํ นิสฺสาย ปพฺพชฺชา. ตตฺถ เต ยาวชีวํ อุสฺสาโห กรณีโย.  อติเรกลาโภ วิหาโร อฑฺฒโยโค ปาสาโท หมฺมิยํ คุหา.  “ปูติมุตฺตเภสชฺชํ นิสฺสาย ปพฺพชฺชา. ตตฺถ เต ยาวชีวํ อุสฺสาโห กรณีโย.  อติเรกลาโภ สปฺปิ นวนีตํ เตลํ มธุ ผาณิต”นฺติ.     
||79|| 
 
วิธีปฏิบัติในภิกษุผู้ถูกสงฆ์ยกเสีย จบ. 
จตฺตาโร นิสฺสยา นิฏฺฐิตา. 
Mahākhandhako paṭhamo. 
มหาขันธกะที่ ๑ จบ. 
(๖๕. จตฺตาริ อกรณียานิ) ๑๒๙. เตน โข ปน สมเยน ภิกฺขู อญฺญตรํ ภิกฺขุํ อุปสมฺปาเทตฺวา เอกกํ โอหาย ปกฺกมึสุ. 
vinayamhi mahatthesu pesalānaṃ sukhāvah niggahe ca pāpicchānaṃ lajjīnaṃ paggahesu ca |  sāsanādhāraṇe c’ eva sabbaññujinagocar anaññavisaye kheme supaññatte asaṃsaye |  khandhake vinaye c’ eva parivāre ca mātik yathatthakārī kusalo paṭipajjati yoniso. |  yo gavaṃ na vijānāti na so rakkhati gogaṇaṃ evaṃ sīlaṃ ajānanto kiṃ so rakkheyya saṃvaraṃ. |  pamuṭṭhamhi ca suttante abhidhamme ca tāvad (99) vinaye avinaṭṭhamhi puna tiṭṭhati sāsanaṃ. |  tasmā saṃgahaṇahetu uddānaṃ anupubbas pavakkhāmi yathāñāṇaṃ, suṇātha mama bhāsato. |  vatthu nidānaṃ āpatti nayā peyyālam eva c dukkaraṃ taṃ asesetum, nayato taṃ vijānāthā ’ti. |  bodhi ca, Rājāyatanaṃ, Ajapālo, Sahampat Brahmā, Āḷāro, Uddako, bhikkhū ca, Upako isi, | Koṇḍañño, Vappo, Bhaddiyo, Mahānāmo ca, Assaji Yaso, cattāro, paññāsaṃ, sabbe, pesesi so, disā, | vatthuṃ, Mārehi, tiṃsā ca, Uruvelaṃ, tayo jaṭī agyāgāraṃ, Mahārājā, Sakko, Brahmā ca, kevalā, | paṃsukūlaṃ, pokkharaṇī, silā ca, kakudho, silā jambu, ambo ca, āmalako, pāricchattapuppham āhari, | phāliyantu, ujjalantu, vijjhāyantu ca Kassapa nimujjanti, mukhī, megho, Gayā, laṭṭhi ca, Māgadho, | Upatisso, Kolito ca, abhiññātā ca, pabbajjaṃ dunnivatthā, paṇāmanā, kiso lūkho ca brāhmaṇo, | anācāraṃ ācarati, udaraṃ, māṇavo, gaṇo vassaṃ, bālehi, pakkanto, dasa vassāni, nissayo, | na vattanti, paṇāmetuṃ, bālā, passaddhi, pañca, cha yo so añño ca, naggo ca, acchinnaṃ, jaṭi, Sākiyo, | Magadhesu pañca ābādhā, eko, coro ca aṅguli Māgadho ca anuññāsi, kārā, likhi, kasāhato, | lakkhaṇā, iṇā, dāso ca, Bhaṇḍuko, Upāli, ahi saddhakulaṃ, Kaṇḍako ca, āhundarikam eva ca, | vatthumhi, dārako, sikkhā, viharanti ca, kiṃ nu kho sabbaṃ, mukhaṃ, upajjhāye, apalāḷana-Kaṇḍako, | paṇḍako, theyya-pakkanto, ahi ca, mātari, pitā arahanta-bhikkhunī, bhedā, ruhirena ca, vyañjanaṃ, | anupajjhāya- saṃghena, gaṇa-paṇḍakā-’pattako acīvaraṃ, tadubhayaṃ, yācitena pi ye tayo, | hatthā, pādā, hatthapādā, kaṇṇā, nāsā, tadubhayaṃ aṅguli, aḷa-kaṇḍaraṃ, phaṇaṃ, khujjañ ca, vāmanaṃ, | galagaṇḍi, lakkhaṇā c’ eva, kasā, likhita-sīpadi pāpa-parisadūsañ ca, kāṇaṃ, kuṇiṃ tath’ eva ca, | (100) khañja-pakkhahatañ c’ eva, sacchinnairiyāpathaṃ jarāndha-mūga-badhiraṃ, andhamūgañ ca yaṃ tahiṃ, | andhabadhiraṃ yaṃ vuttaṃ, mūgabadhiram eva ca andhamūgabadhirañ ca, alajjīnañ ca {nissayaṃ,} | vatthabbañ ca, kataddhānaṃ, yācamānena, pekkhanā āgacchantaṃ, vivadenti, ekupajjhāyena, Kassapo, | dissanti upasampannā ābādhehi ca pīḷitā ananusiṭṭhā vitthāyanti, tatth’ eva anusāsanā, | saṃghe pi ca, atho bālo, asammato ca, ekato ullumpatupasampadā, nissayo, ekako, tayo ’ti. | imamhi khandhake vatthu ekasataṃ bāsattati. | 
End of the first Khandhaka, which is called the Great Khandhaka.  Uddāna n/a  Uddāna n/a  Uddāna n/a  Uddāna n/a  Uddāna n/a  Uddāna n/a  Uddāna n/a 
อุททานคาถา [๑๔๖] พระวินัยมีประโยชน์มาก คือนำมาซึ่งความสุขแก่พวกภิกษุผู้มีศีลเป็นที่รัก ข่มพวกที่มีความปรารถนาลามก  ยกย่องพวกที่มีความละอายและทรงไว้ซึ่งพระศาสนา เป็นอารมณ์ของพระสัพพัญญชินเจ้า ไม่เป็นวิสัยของพวกอื่น เป็นแดนเกษม อันพระผู้มีพระภาคทรงบัญญัติไว้ดีแล้ว ไม่มีข้อที่น่าสงสัย  ภิกษุผู้ฉลาดในขันธกะ วินัย บริวาร และมาติกา ปฏิบัติด้วยปัญญาอันหลักแหลม ชื่อว่าผู้ทำประโยชน์อันควร.  ชนใดไม่รู้จักโค ชนนั้นย่อมรักษาฝูงโคไม่ได้ฉันใด ภิกษุก็ฉันนั้น เมื่อไม่รู้จักศีล ไฉนเธอจะพึงรักษาสังวรไว้ได้.  เมื่อพระสุตตันตะ และพระอภิธรรมเลอะเลือนไปก่อน แต่พระวินัยยังไม่เสื่อมสูญ พระศาสนาชื่อว่า ยังตั้งอยู่ต่อไป.  เพราะเหตุแห่งการสังคายนานั้น ข้าพเจ้าจักประมวลกล่าวโดยลำดับตามความรู้ ขอท่านทั้งหลายจงฟังข้าพเจ้ากล่าวเพื่อ  จะมิให้ข้อที่ทำได้ยาก คือวัตถุ นิทาน อาบัติ นัยและเปยยาล เหลือลง ขอท่านทั้งหลาย จงทราบข้อนั้นโดยนัยเถิด  เรื่องประทับอยู่ ณ ควงไม้โพธิ์ เรื่องประทับอยู่ ณ ควงไม้ อชปาลนิโครธ เรื่องประทับอยู่ ณ ควงไม้ราชายตนพฤกษ์ เรื่องท้าวสหัมบดีพรหม เรื่องฤาษีอาฬาระ เรื่องฤาษีอุททกะ เรื่องอุปกาชีวก เรื่องภิกษุปัญจวัคคีย์ คือ โกณฑัญญะ วัปปะ ภัททิยะ มหานามะ อัสสชิ เรื่องยสกุลบุตร เรื่องสหาย ๔ คน เรื่องสหาย ๕๐ คน เรื่องส่งพระอรหันต์ทั้งหมดไป ในทิศต่างๆ เรื่องมาร ๒ เรื่อง เรื่องภัททวัคคีย์กุมาร ๓๐ เรื่องชฎิล ๓ พี่น้อง มีอุรุเวลกัสสปเป็นต้นเรื่อง โรงบูชาไฟ เรื่องท้าวมหาราช เรื่องท้าวสักกะ เรื่องท้าว มหาพรหม เรื่องประชาชนชาวอังคะ มคธะทั้งหมด เรื่อง ทรงชักผ้าบังสุกุล เรื่องสระโบกขรณี เรื่องศิลา เรื่อง ต้นกุ่ม เรื่องผึ่งผ้าบังสุกุลที่แผ่นศิลา เรื่องไม้หว้า เรื่อง ไม้มะม่วง เรื่องไม้มะขามป้อม เรื่องทรงเก็บดอกไม้ ปาริฉัตตกะ เรื่องชฎิลพวกอุรุเวลกัสสปผ่าฟืน เรื่องติดไฟ เรื่องดับไฟ เรื่องดำน้ำ เรื่องกองไฟ เรื่องฝนตก เรื่อง แม่น้ำคยา เรื่องสวนตาลหนุ่ม เรื่องพระเจ้าแผ่นดินมคธ เรื่องอุปติสสะและโกลิตะ เรื่องกุลบุตรที่มีชื่อเสียงบวช เรื่องภิกษุนุ่งห่มไม่เรียบร้อย เรื่องประณาม เรื่องพราหมณ์ ซูบผอมหม่นหมอง เรื่องประพฤติอนาจาร เรื่องบวชเห็น แก่ท้อง เรื่องมาณพ เรื่องให้อุปสมบทด้วยคณะ เรื่อง อุปัชฌายะมีพรรษาเดียวให้กุลบุตรบวช เรื่องอุปัชฌายะ เขลา เรื่องอุปัชฌายะหลีกไป เรื่องถือนิสสัยกะอาจารย์ มีพรรษา ๑๐ เรื่องอันเตวาสิกไม่ประพฤติชอบ เรื่องทรง อนุญาตให้ประณาม เรื่องอาจารย์เขลาให้นิสสัย เรื่องนิสสัย ระงับ เรื่องภิกษุประกอบด้วยองค์ ๕ เรื่องภิกษุประกอบ ด้วยองค์ ๖ เรื่องภิกษุเคยเป็นอัญญเดียรถีย์ เรื่องชีเปลือย เรื่องไม่โกนผม เรื่องชฎิลบูชาไฟ เรื่องอัญญเดียรถีย์ที่เป็น ศากยะบวช เรื่องอาพาธ ๕ อย่าง ในมคธรัฐ เรื่องราชภัฏบวช เรื่ององคุลิมาลโจร เรื่องพระเจ้าแผ่นดินมคธมีพระ บรมราชานุญาตไว้ เรื่องห้ามบวชนักโทษหนีเรือนจำ เรื่อง ห้ามบวชนักโทษที่ออกหมายสั่งจับ เรื่องห้ามบวชคนถูก เฆี่ยนมีรอยหวายติดตัว เรื่องห้ามบวชคนถูกอาญาสักหมาย โทษ เรื่องห้ามบวชคนมีหนี้สิน เรื่องห้ามบวชทาส เรื่องบุตร ชายช่างทอง เรื่องเด็กชายอุบาลี เรื่องอหิวาตกโรค เรื่อง ตระกูลมีศรัทธา เรื่องสามเณรกัณฏกะ เรื่องทิศคับแคบ เรื่อง ถือนิสสัย เรื่องเด็กบรรพชา เรื่องสิกขาบทของสามเณร เรื่อง สามเณรไม่เคารพภิกษุ เรื่องคำนึงว่าจะลงทัณฑกรรมอย่างไร หนอ เรื่องลงทัณฑกรรม คือห้ามสังฆารามทุกแห่ง เรื่อง ห้ามปาก เรื่องไม่บอกพระอุปัชฌายะ เรื่องเกลี้ยกล่อม สามเณรไว้ใช้ เรื่องสามเณรกัณฏกะ เรื่องห้ามอุปสมบท บัณเฑาะก์ คนลักเพศ เรื่องห้ามอุปสมบทคนเข้ารีดเดียรถีย์ เรื่องห้ามอุปสมบทนาค คนฆ่ามารดา คนฆ่าบิดา คนฆ่า พระอรหันต์ คนทำร้ายภิกษุณี ภิกษุผู้ทำสังฆเภท คนทำร้าย พระพุทธเจ้าจนถึงห้อพระโลหิต อุภโตพยัญชนก เรื่อง ห้ามอุปสมบทคนไม่มีอุปัชฌายะ คนมีสงฆ์เป็นอุปัชฌายะ คนมีคณะเป็นอุปัชฌายะ คนมีบัณเฑาะก์เป็นอุปัชฌายะ เรื่องห้ามอุปสมบทคนไม่มีบาตร คนไม่มีจีวร คนไม่มีบาตร จีวรทั้งสองอย่าง เรื่องห้ามอุปสมบทคนยืมบาตรยืมจีวร ยืมทั้งบาตรจีวร รวม ๓ เรื่อง เรื่องห้ามบรรพชาคนมือด้วน ห้ามบรรพชาคนเท้าด้วน ห้ามบรรพชาคนมือเท้าด้วน ห้าม บรรพชาคนหูขาด ห้ามบรรพชาคนจมูกขาด ห้ามบรรพชา คนทั้งหูและจมูกขาด ห้ามบรรพชาคนนิ้วมือนิ้วเท้าขาด ห้ามบรรพชาคนง่ามมือง่ามเท้าขาด ห้ามบรรพชาคนเอ็นขาด ห้ามบรรพชาคนมือเป็นแผ่น ห้ามบรรพชาคนค่อม ห้าม บรรพชาคนเตี้ย ห้ามบรรพชาคนคอพอก ห้ามบรรพชาคนถูก ลงอาญาสักหมายโทษ ห้ามบรรพชาคนถูกเฆี่ยนมีรอยหวาย ติดตัว ห้ามบรรพชาคนมีหมายประกาศจับ ห้ามบรรพชาคน เท้าปุก ห้ามบรรพชาคนมีโรคเรื้อรัง ห้ามบรรพชาคนมีรูปร่าง ไม่สมประกอบ ห้ามบรรพชาคนตาบอดข้างเดียว ห้าม บรรพชาคนง่อย ห้ามบรรพชาคนกระจอก ห้ามบรรพชาคน เป็นโรคอัมพาต ห้ามบรรพชาคนมีอิริยาบถขาด ห้ามบรรพชา คนแก่ ห้ามบรรพชาคนตาบอด ๒ ข้าง ห้ามบรรพชาคนใบ้ ห้ามบรรพชาคนหูหนวก ห้ามบรรพชาคนทั้งบอดและใบ้ ห้ามบรรพชาคนทั้งบอดและหนวก ห้ามบรรพชาคนทั้งใบ้ และหนวก ห้ามบรรพชาคนทั้งบอดใบ้และหนวก เรื่อง ให้นิสสัยแก่อลัชชี เรื่องถือนิสสัยต่ออลัชชี เรื่องเดินทาง ไกล เรื่องขอร้อง เรื่องพิจารณา เรื่องจงมาสวด เรื่องแย่งกัน อุปสมบทก่อน เรื่องอุปสมบทมีอุปัชฌายะองค์เดียว เรื่อง พระกุมารกัสสป เรื่องอุปสัมบันปรากฏถูกโรคเบียดเบียน เรื่องอุปสัมปทาเปกขะยังมิได้สอนซ้อมสะทกสะท้าน เรื่อง สอนซ้อมในท่ามกลางสงฆ์นั้นแหละ เรื่องห้ามภิกษุเขลา สอนซ้อม เรื่องห้ามภิกษุยังไม่ได้รับสมมติสอนซ้อม เรื่องผู้สอนซ้อมกับอุปสัมปทาเปกขะมาพร้อมกัน เรื่อง ขอจงยกขึ้น เรื่องญัตติจตุตถกรรมอุปสัมปทา เรื่องบอก นิสสัย เรื่องละอุปสัมบันไว้แต่ลำพัง เรื่องภิกษุถูกสงฆ์ยก เสีย ๓ เรื่อง. 
โส ปจฺฉา เอกโกว อาคจฺฉนฺโต อนฺตรามคฺเค ปุราณทุติยิกาย สมาคญฺฉิ.  สา เอวมาห “กึทานิ ปพฺพชิโตสี”ติ?  “อาม ปพฺพชิโตมฺหี”ติ.  “ทุลฺลโภ โข ปพฺพชิตานํ เมถุโน ธมฺโม เอหิ เมถุนํ ธมฺมํ ปฏิเสวา”ติ.  โส ตสฺสา เมถุนํ ธมฺมํ ปฏิเสวิตฺวา จิเรน อคมาสิ.  ภิกฺขู เอวมาหํสุ “กิสฺส ตฺวํ อาวุโส เอวํ จิรํ อกาสี”ติ?  อถ โข โส ภิกฺขุ ภิกฺขูนํ เอตมตฺถํ อาโรเจสิ.  ภิกฺขู ภควโต เอตมตฺถํ อาโรเจสุํ 
Mahākhandhake uddānaṃ niṭṭhitaṃ paṭhamaṃ. 
Uddāna n/a 
รวมเรื่องในขันธกะนี้ ๑๗๒ เรื่อง. หัวข้อเรื่องในมหาขันธกะ จบ. 
อนุชานามิ ภิกฺขเว อุปสมฺปาเทตฺวา ทุติยํ ทาตุํ จตฺตาริ จ อกรณียานิ อาจิกฺขิตุํ 
Go to Wiki Documentation
Enhet: Det humanistiske fakultet   Utviklet av: IT-seksjonen ved HF
Login