You are here: BP HOME > PT > Pāli Mahāvagga > fulltext
Pāli Mahāvagga

Choose languages

Choose images, etc.

Choose languages
Choose display
  • Enable images
  • Enable footnotes
    • Show all footnotes
    • Minimize footnotes
Search-help
Choose specific texts..
    Click to Expand/Collapse Option Complete text
Click to Expand/Collapse OptionMahākhandaka
Click to Expand/Collapse OptionUposathakkhandhaka
Click to Expand/Collapse OptionVassupanāyikakkhandhaka
Click to Expand/Collapse OptionPavāraṇakkhandhaka
Click to Expand/Collapse OptionCammakkhandhaka
Click to Expand/Collapse OptionBhesajjakkhandhaka
Click to Expand/Collapse OptionKaṭhinakkhandhaka
Click to Expand/Collapse OptionCampeyyakkhandhaka
Click to Expand/Collapse OptionKosambakkhandhaka
atha kho bhagavā Uruvelāyaṃ yathābhirantaṃ viharitvā yena Gayāsīsaṃ tena cārikaṃ pakkāmi mahatā bhikkhusaṃghena saddhiṃ bhikkhusahassena sabbeh’ eva purāṇajaṭilehi.  tatra sudaṃ bhagavā Gayāyaṃ viharati Gayāsīse saddhiṃ bhikkhusahassena. |1| 
And the Blessed One, after having dwelt at Uruvelâ as long as he thought fit, went forth to Gayâsîsa, accompanied by a great number of Bhikkhus, by one thousand Bhikkhus who all had been Gatilas before. 
อาทิตตปริยายสูตร [๕๕] ครั้นพระผู้มีพระภาคประทับอยู่ ณ ตำบลอุรุเวลา ตามพระพุทธาภิรมย์แล้ว เสด็จจาริกไปโดยมรรคาอันจะไปสู่ตำบลคยาสีสะ พร้อมด้วยภิกษุสงฆ์หมู่ใหญ่ ๑๐๐๐ รูป ล้วนเป็นปุราณชฎิล.  ได้ยินว่า พระองค์ประทับอยู่ที่ตำบลคยาสีสะ ใกล้แม่น้ำคยานั้น พร้อมด้วยภิกษุ ๑๐๐๐ รูป. 
ภควโต อธิฏฺฐาเนน ปญฺจ กฏฺฐสตานิ น ผาลิยิ๎สุ ผาลิยิ๎สุ อคฺคี น อุชฺชลิยิ๎สุ อุชฺชลิยิ๎สุ น วิชฺฌายิ๎สุ วิชฺฌายิ๎สุ ปญฺจมนฺทามุขิสตานิ อภินิมฺมินิ.  เอเตน นเยน อฑฺฒุฑฺฒปาฏิหาริยสหสฺสานิ โหนฺติ. 
tatra kho bhagavā bhikkhū āmantesi: sabbaṃ bhikkhave ādittaṃ. kiñ ca bhikkhave sabbaṃ ādittaṃ. cakkhuṃ bhikkhave ādittaṃ, rūpā ādittā, cakkhuviññāṇaṃ ādittaṃ, cakkhusamphasso āditto, yad idaṃ cakkhusamphassapaccayā uppajjati vedayitaṃ sukhaṃ vā dukkhaṃ vā adukkhamasukhaṃ vā, tam pi ādittaṃ. kena ādittaṃ, rāgagginā dosagginā mohagginā ādittaṃ, jātiyā jarāya maraṇena sokehi paridevehi dukkhehi domanassehi upāyāsehi ādittan ti vadāmi. |2| 
There near Gayâ, at Gayâsîsa, the Blessed One dwelt together with those thousand Bhikkhus. 
ณ ที่นั้น พระผู้มีพระภาครับสั่งกะภิกษุทั้งหลาย ว่าดังนี้:- ดูกรภิกษุทั้งหลาย สิ่งทั้งปวงเป็นของร้อน ก็อะไรเล่าชื่อว่าสิ่งทั้งปวงเป็นของร้อน? ดูกรภิกษุทั้งหลาย จักษุเป็นของร้อน รูปทั้งหลายเป็นของร้อน วิญญาณอาศัยจักษุเป็นของร้อน สัมผัสอาศัยจักษุเป็นของร้อน ความเสวยอารมณ์ เป็นสุขเป็นทุกข์ หรือมิใช่สุขมิใช่ทุกข์ ที่เกิดขึ้นเพราะจักษุสัมผัสเป็นปัจจัย แม้นั้นก็เป็นของร้อน ร้อนเพราะอะไร? เรากล่าวว่า ร้อนเพราะไฟคือราคะ เพราะไฟคือโทสะ เพราะไฟคือโมหะ ร้อนเพราะความเกิด เพราะความแก่ และความตาย ร้อนเพราะความโศก เพราะความรำพัน เพราะทุกข์กาย เพราะทุกข์ใจ เพราะความคับแค้น. 
 
sotaṃ ādittaṃ, saddā ādittā, --la-- ghānaṃ ādittaṃ, gandhā ādittā, jivhā ādittā, rasā ādittā, kāyo āditto, phoṭṭhabbā ādittā, mano āditto, dhammā ādittā, manoviññāṇaṃ ādittaṃ, manosamphasso āditto, yad idaṃ manosamphassapaccayā uppajjati vedayitaṃ sukhaṃ vā dukkhaṃ vā adukkhamasukhaṃ vā, tam pi ādittaṃ.  kena ādittaṃ, rāgagginā dosagginā mohagginā ādittaṃ, jātiyā jarāya maraṇena sokehi paridevehi dukkhehi domanassehi upāyāsehi ādittan ti vadāmi. |3| 
There the Blessed One thus addressed the Bhikkhus: 'Everything, O Bhikkhus, is burning. And how, O Bhikkhus, is everything burning? 'The eye, O Bhikkhus, is burning; visible things are burning; the mental impressions based on the eye are burning; the contact of the eye (with visible things) is burning; the sensation produced by the contact of the eye (with visible things), be it pleasant, be it painful, be it neither pleasant nor painful, that also is burning. With what fire is it burning? I declare unto you that it is burning with the fire of lust, with the fire of anger, with the fire of ignorance; it is burning with (the anxieties of) birth, decay, death, grief, lamentation, suffering, dejection, and despair.  'The ear is burning, sounds are burning, &c. . . . . The nose is burning, odours are burning, &c. . . . . The tongue is burning, tastes are burning, &c. . . . . The body is burning, objects of contact are burning, &c. . . . . The mind is burning, thoughts are burning, &c. . . . . 
โสตเป็นของร้อน เสียงทั้งหลายเป็นของร้อน ... ฆานะเป็นของร้อน กลิ่นทั้งหลายเป็นของร้อน ... ชิวหาเป็นของร้อน รสทั้งหลายเป็นของร้อน ... กายเป็นของร้อน โผฏฐัพพะทั้งหลายเป็นของร้อน ... มนะเป็นของร้อน ธรรมทั้งหลายเป็นของร้อน วิญญาณอาศัยมนะเป็นของร้อน สัมผัสอาศัยมนะเป็นของร้อน ความเสวยอารมณ์เป็นสุข เป็นทุกข์หรือมิใช่ทุกข์มิใช่สุข ที่เกิดขึ้นเพราะมโนสัมผัสเป็นปัจจัย แม้นั้นก็เป็นของร้อน ร้อนเพราะอะไร?  เรากล่าวว่า ร้อนเพราะไฟคือราคะ เพราะไฟคือโทสะ เพราะไฟคือโมหะ ร้อนเพราะความเกิด เพราะความแก่ และความตาย ร้อนเพราะความโศก เพราะความรำพัน เพราะทุกข์กาย เพราะทุกข์ใจ เพราะความคับแค้น. 
  ๕๔. อถ โข ภควา อุรุเวลายํ ยถาภิรนฺตํ วิหริตฺวา เยน คยาสีสํ เตน ปกฺกามิ มหตา ภิกฺขุสงฺเฆน สทฺธึ ภิกฺขุสหสฺเสน สพฺเพเหว ปุราณชฏิเลหิ. 
evam passaṃ bhikkhave sutavā ariyasāvako cakkhusmiṃ pi nibbindati, rūpesu pi nibbindati, cakkhuviññāṇe pi nibbindati, cakkhusamphasse pi nibbindati, yad idaṃ cakkhusamphassapaccayā uppajjati vedayitaṃ sukhaṃ vā dukkhaṃ vā adukkhamasukhaṃ vā, tasmiṃ pi nibbindati.  sotasmiṃ pi nibbindati, saddesu pi nibbindati, ghānasmiṃ pi nibbin-(35)dati, gandhesu pi nibbindati, jivhāya pi nibbindati, rasesu pi nibbindati, kāyasmiṃ pi nibbindati, phoṭṭhabbesu pi nibbindati, manasmiṃ pi nibbindati, dhammesu pi nibbindati, manoviññāṇe pi nibbindati, manosamphasse pi nibbindati, yad idaṃ manosamphassapaccayā uppajjati vedayitaṃ sukhaṃ vā dukkhaṃ vā adukkhamasukhaṃ vā, tasmiṃ pi nibbindati, nibbindaṃ virajjati, virāgā vimuccati, vimuttasmiṃ vimutt’ amhīti ñāṇaṃ hoti, khīṇā jāti, vusitaṃ brahmacariyaṃ, kataṃ karaṇīyaṃ, nāparaṃ itthattāyā ’ti pajānātīti.  imasmiṃ ca pana veyyākaraṇasmiṃ bhaññamāne tassa bhikkhusahassassa anupādāya āsavehi cittāni vimucciṃsu. |4| 
  'Considering this, O Bhikkhus, a disciple learned (in the scriptures), walking in the Noble Path, becomes weary of the eye, weary of visible things, weary of the mental impressions based on the eye, weary of the contact of the eye (with visible things), weary also of the sensation produced by the contact of the eye (with visible things), be it pleasant, be it painful, be it neither pleasant nor painful.  He becomes weary of the ear (&c. . . . . , down to . . . . thoughts). Becoming weary of all that, he divests himself of passion; by absence of passion he is made free; when he is free, he becomes aware that he is free; and he realises that re-birth is exhausted; that holiness is completed; that duty is fulfilled; and that there is no further return to this world.' 
ดูกรภิกษุทั้งหลาย อริยสาวกผู้ได้ฟังแล้วเห็นอยู่อย่างนี้ ย่อมเบื่อหน่ายแม้ในจักษุ ย่อมเบื่อหน่ายแม้ในรูปทั้งหลาย ย่อมเบื่อหน่ายแม้ในวิญญาณอาศัยจักษุ ย่อมเบื่อหน่ายแม้ในสัมผัสอาศัยจักษุ ย่อมเบื่อหน่ายแม้ในความเสวยอารมณ์ ที่เป็นสุข เป็นทุกข์ หรือมิใช่ทุกข์ มิใช่สุข ที่เกิดขึ้นเพราะจักษุสัมผัสเป็นปัจจัย ย่อมเบื่อหน่ายแม้ในโสต ย่อมเบื่อหน่ายแม้ในเสียงทั้งหลาย ... ย่อมเบื่อหน่ายแม้ในฆานะ ย่อมเบื่อหน่ายแม้ในกลิ่นทั้งหลาย ... ย่อมเบื่อหน่ายแม้ในชิวหา ย่อมเบื่อหน่ายแม้ในรสทั้งหลาย ... ย่อมเบื่อหน่ายแม้ในกาย ย่อมเบื่อหน่ายแม้ในโผฏฐัพพะทั้งหลาย ... ย่อมเบื่อหน่ายแม้ในมนะ ย่อมเบื่อหน่ายแม้ในธรรมทั้งหลาย ย่อมเบื่อหน่ายแม้ในวิญญาณอาศัยมนะ ย่อมเบื่อหน่ายแม้ในสัมผัสอาศัยมนะ ย่อมเบื่อหน่ายแม้ในความเสวยอารมณ์ที่เป็นสุข เป็นทุกข์ หรือมิใช่ทุกข์มิใช่สุข ที่เกิดขึ้นเพราะมโนสัมผัสเป็นปัจจัย.  เมื่อเบื่อหน่าย ย่อมสิ้นกำหนัด เพราะสิ้นกำหนัด จิตก็พ้น เมื่อจิตพ้นแล้ว ก็รู้ว่าพ้นแล้ว อริยสาวกนั้นทราบชัดว่า ชาติสิ้นแล้ว พรหมจรรย์ได้อยู่จบแล้ว กิจที่ควรทำได้ทำเสร็จแล้ว กิจอื่นอีกเพื่อความเป็นอย่างนี้ไม่มี.  ก็แล เมื่อพระผู้มีพระภาคตรัสไวยากรณภาษิตนี้อยู่ จิตของภิกษุ ๑๐๐๐ รูปนั้น พ้นแล้วจากอาสวะทั้งหลาย เพราะไม่ถือมั่น. 
ตตฺร สุทํ ภควา คยายํ วิหรติ คยาสีเส สทฺธึ ภิกฺขุสหสฺเสน.  ตตฺร โข ภควา ภิกฺขู อามนฺเตสิ “สพฺพํ ภิกฺขเว อาทิตฺตํ. กิญฺจ ภิกฺขเว สพฺพํ อาทิตฺตํ? จกฺขุ อาทิตฺตํ รูปา อาทิตฺตา จกฺขุวิญฺญาณํ อาทิตฺตํ จกฺขุสมฺผสฺโส อาทิตฺโต ยมิทํ จกฺขุสมฺผสฺสปจฺจยา อุปฺปชฺชติ เวทยิตํ สุขํ วา ทุกฺขํ วา อทุกฺขมสุขํ วา ตมฺปิ อาทิตฺตํ. เกน อาทิตฺตํ? ราคคฺคินา โทสคฺคินา โมหคฺคินา อาทิตฺตํ ชาติยา ชราย มรเณน โสเกหิ ปริเทเวหิ ทุกฺเขหิ โทมนสฺเสหิ อุปายาเสหิ อาทิตฺตนฺติ วทามิ.  โสตํ อาทิตฺตํ สทฺทา อาทิตฺตา โสตวิญฺญาณํ อาทิตฺตํ โสตสมฺผสฺโส อาทิตฺโต ยมิทํ โสตสมฺผสฺสปจฺจยา อุปฺปชฺชติ เวทยิตํ สุขํ วา ทุกฺขํ วา อทุกฺขมสุขํ วา ตมฺปิ อาทิตฺตํ. เกน อาทิตฺตํ? ราคคฺคินา โทสคฺคินา โมหคฺคินา อาทิตฺตํ ชาติยา ชราย มรเณน โสเกหิ ปริเทเวหิ ทุกฺเขหิ โทมนสฺเสหิ อุปายาเสหิ อาทิตฺตนฺติ วทามิ. ฆานํ อาทิตฺตํ คนฺธา อาทิตฺตา ฆานวิญฺญาณํ อาทิตฺตํ ฆานสมฺผสฺโส อาทิตฺโต ยมิทํ ฆานสมฺผสฺสปจฺจยา อุปฺปชฺชติ เวทยิตํ สุขํ วา ทุกฺขํ วา อทุกฺขมสุขํ วา ตมฺปิ อาทิตฺตํ. เกน อาทิตฺตํ? ราคคฺคินา โทสคฺคินา โมหคฺคินา อาทิตฺตํ ชาติยา ชราย มรเณน โสเกหิ ปริเทเวหิ ทุกฺเขหิ โทมนสฺเสหิ อุปายาเสหิ อาทิตฺตนฺติ วทามิ. ชิวฺหา อาทิตฺตา รสา อาทิตฺตา ชิวฺหาวิญฺญาณํ อาทิตฺตํ ชิวฺหาสมฺผสฺโส อาทิตฺโต ยมิทํ ชิวฺหาสมฺผสฺสปจฺจยา อุปฺปชฺชติ เวทยิตํ สุขํ วา ทุกฺขํ วา อทุกฺขมสุขํ วา ตมฺปิ อาทิตฺตํ. เกน อาทิตฺตํ? ราคคฺคินา โทสคฺคินา โมหคฺคินา อาทิตฺตํ ชาติยา ชราย มรเณน โสเกหิ ปริเทเวหิ ทุกฺเขหิ โทมนสฺเสหิ อุปายาเสหิ อาทิตฺตนฺติ วทามิ. กาโย อาทิตฺโต โผฏฺฐพฺพา อาทิตฺตา กายวิญฺญาณํ อาทิตฺตํ กายสมฺผสฺโส อาทิตฺโต ยมิทํ กายสมฺผสฺสปจฺจยา อุปฺปชฺชติ เวทยิตํ สุขํ วา ทุกฺขํ วา อทุกฺขมสุขํ วา ตมฺปิ อาทิตฺตํ. เกน อาทิตฺตํ? ราคคฺคินา โทสคฺคินา โมหคฺคินา อาทิตฺตํ ชาติยา ชราย มรเณน โสเกหิ ปริเทเวหิ ทุกฺเขหิ โทมนสฺเสหิ อุปายาเสหิ อาทิตฺตนฺติ วทามิ. มโน อาทิตฺโต ธมฺมา อาทิตฺตา มโนวิญฺญาณํ อาทิตฺตํ มโนสมฺผสฺโส อาทิตฺโต ยมิทํ มโนสมฺผสฺสปจฺจยา อุปฺปชฺชติ เวทยิตํ สุขํ วา ทุกฺขํ วา อทุกฺขมสุขํ วา ตมฺปิ อาทิตฺตํ. 
ādittapariyāyaṃ niṭṭhitaṃ. ||21|| 
When this exposition was propounded, the minds of those thousand Bhikkhus became free from attachment to the world, and were released from the Âsavas. 
อาทิตตปริยายสูตร จบ 
เกน อาทิตฺตํ? ราคคฺคินา โทสคฺคินา โมหคฺคินา อาทิตฺตํ ชาติยา ชราย มรเณน โสเกหิ ปริเทเวหิ ทุกฺเขหิ โทมนสฺเสหิ อุปายาเสหิ อาทิตฺตนฺติ วทามิ. 
Uruvelapāṭihāriyaṃ tatiyakabhāṇavāraṃ niṭṭhitaṃ. 
Here ends the sermon on 'The Burning.' 
อุรุเวลปาฏิหาริย์ ตติยภาณวาร จบ. 
“เอวํ ปสฺสํ ภิกฺขเว สุตวา อริยสาวโก จกฺขุสฺมิมฺปิ นิพฺพินฺทติ รูเปสุปิ นิพฺพินฺทติ จกฺขุวิญฺญาเณปิ นิพฺพินฺทติ จกฺขุสมฺผสฺเสปิ นิพฺพินฺทติ ยมิทํ จกฺขุสมฺผสฺสปจฺจยา อุปฺปชฺชติ เวทยิตํ สุขํ วา ทุกฺขํ วา อทุกฺขมสุขํ วา ตสฺมิมฺปิ นิพฺพินฺทติ. 
atha kho bhagavā Gayāsīse yathābhirantaṃ viharitvā yena Rājagahaṃ tena cārikaṃ pakkāmi mahatā bhikkhusaṃghena saddhiṃ bhikkhusahassena sabbeh’ eva purāṇajaṭilehi.  atha kho bhagavā anupubbena cārikaṃ caramāno yena Rājagahaṃ tad avasari.  tatra sudaṃ bhagavā Rājagahe viharati Laṭṭhivanuyyāne Supatiṭṭhe cetiye. |1| 
End of the third Bhânavâra concerning the Wonders done at Uruvelâ.  And the Blessed One, after having dwelt at Gayâsisa as long as he thought fit, went forth to Râgaha, accompanied by a great number of Bhikkhus, by one thousand Bhikkhus who all had been Gatilas before. And the Blessed One, wandering from place to place, came to Râgagaha.  There the Blessed One dwelt near Râgagaha, 
ทรงเทศนาโปรดพระเจ้าพิมพิสาร เสด็จพระนครราชคฤห์ครั้งแรก [๕๖] ครั้งนั้น พระผู้มีพระภาคประทับอยู่ ณ ตำบลคยาสีสะตามพระพุทธาภิรมย์แล้วเสด็จจาริกไป โดยมรรคาอันจะไปสู่พระนครราชคฤห์ พร้อมด้วยภิกษุสงฆ์หมู่ใหญ่จำนวน ๑๐๐๐ รูป ล้วนเป็นปุราณชฎิล.  เสด็จจาริกโดยลำดับถึงพระนครราชคฤห์แล้ว.  ทราบว่า พระองค์ประทับอยู่ใต้ต้นไทรชื่อสุประดิษฐเจดีย์ ในสวนตาลหนุ่ม เขตพระนครราชคฤห์นั้น. 
โสตสฺมิมฺปิ นิพฺพินฺทติ สทฺเทสุปิ นิพฺพินฺทติฯเปฯ ฆานสฺมิมฺปิ นิพฺพินฺทติ คนฺเธสุปิ นิพฺพินฺทติฯเปฯ ชิวฺหายปิ นิพฺพินฺทติ รเสสุปิ นิพฺพินฺทติฯเปฯ กายสฺมิมฺปิ นิพฺพินฺทติ โผฏฺฐพฺเพสุปิ นิพฺพินฺทติฯเปฯ มนสฺมิมฺปิ นิพฺพินฺทติ ธมฺเมสุปิ นิพฺพินฺทติ มโนวิญฺญาเณปิ นิพฺพินฺทติ มโนสมฺผสฺเสปิ นิพฺพินฺทติ ยมิทํ มโนสมฺผสฺสปจฺจยา อุปฺปชฺชติ เวทยิตํ สุขํ วา ทุกฺขํ วา อทุกฺขมสุขํ วา ตสฺมิมฺปิ นิพฺพินฺทติ นิพฺพินฺทํ วิรชฺชติ วิราคา วิมุจฺจติ วิมุตฺตสฺมึ วิมุตฺตมิติ ญาณํ โหติ. ขีณา ชาติ วุสิตํ พฺรหฺมจริยํ กตํ กรณียํ นาปรํ อิตฺถตฺตายาติ ปชานาตี”ติ.  อิมสฺมิญฺจ ปน เวยฺยากรณสฺมึ ภญฺญมาเน ตสฺส ภิกฺขุสหสฺสสฺส อนุปาทาย อาสเวหิ จิตฺตานิ วิมุจฺจึสุ.  อาทิตฺตปริยายสุตฺตํ นิฏฺฐิตํ. 
assosi kho rājā Māgadho Seniyo Bimbisāro: samaṇo khalu bho Gotamo Sakyaputto Sakyakulā pabbajito Rājagahaṃ anuppatto Rājagahe viharati Laṭṭhivanuyyāne Supatiṭṭhe cetiye.  taṃ kho pana bhagavantaṃ Gotamaṃ evaṃ kalyāṇo kittisaddo abbhuggato iti pi, so bhagavā arahaṃ sammāsambuddho vijjācaraṇasampanno sugato lokavidū anuttaro purisadammasārathi satthā devamanussānaṃ buddho bhagavā, so imaṃ lokaṃ sadevakaṃ samārakaṃ sabrahmakaṃ sassamaṇabrāhmaṇiṃ pajaṃ sadevamanussaṃ sayaṃ abhiññā sacchikatvā pavedeti, so dhammaṃ deseti ādikalyāṇaṃ majjhekalyāṇaṃ pariyosānakalyāṇaṃ sātthaṃ savyañjanaṃ kevalaparipuṇṇaṃ parisuddhaṃ brahmacariyaṃ pakāseti.  sādhu kho pana tathārūpānaṃ arahataṃ dassanaṃ hotīti. |2| 
in the Latthivana pleasure garden, near the sacred shrine of Supatittha.  Then the Magadha king Seniya Bimbisâra heard: 'The Samana Gotama Sakyaputta, an ascetic of the Sakya tribe, has just arrived at Râgagaha and is staying near Râgagaha, in the Latthivana pleasure garden, near the sacred shrine of Supatittha.  Of Him the blessed Gotama such a glorious fame is spread abroad: "Truly he is the blessed, holy, absolute Sambuddha, endowed with knowledge and conduct, the most happy One, who understands all worlds, the highest One, who guides men as a driver curbs a bullock, the teacher of gods and men, the blessed Buddha. He makes known the Truth, which he has understood himself and seen face to face, to this world system with its devas, its Mâras, and its Brahmâs; to all beings, Samanas and Brâhmanas, gods and men; he preaches that Truth (Dhamma) which is glorious in the beginning, glorious in the middle, glorious at the end, in the spirit and in the letter; he proclaims a consummate, perfect, and pure life." 
[๕๗] พระเจ้าพิมพิสารจอมเสนามาคธราช ได้ทรงสดับข่าวถนัดแน่ว่า พระสมณโคดมศากยบุตรทรงผนวชจากศากยตระกูล เสด็จพระนครราชคฤห์โดยลำดับ ประทับอยู่ใต้ต้นไทร ชื่อสุประดิษฐเจดีย์ ในสวนตาลหนุ่ม เขตพระนครราชคฤห์  ก็แลพระกิตติศัพท์อันงามของท่านพระโคดมพระองค์นั้น ขจรไปแล้วอย่างนี้ว่า แม้เพราะเหตุนี้ๆ พระผู้มีพระภาคพระองค์นั้นทรง เป็นพระอรหันต์ ตรัสรู้เองโดยชอบ สมบูรณ์ด้วยวิชชาและจรณะ เสด็จไปดี ทรงทราบโลก ทรงเป็นสารถีฝึกบุรุษที่ควรฝึก ไม่มีผู้อื่นยิ่งกว่า เป็นศาสดาของเทพและมนุษย์ทั้งหลาย เป็นผู้เบิกบานแล้ว เป็นผู้จำแนกธรรม พระองค์ทรงทำโลกนี้ พร้อมทั้งเทวโลก มารโลก พรหมโลก ให้แจ้งชัด ด้วยพระปัญญาอันยิ่งของพระองค์เอง แล้วทรงสอนหมู่สัตว์พร้อมทั้งสมณะ พราหมณ์ เทพ และมนุษย์ ให้รู้ ทรงแสดงธรรมงามในเบื้องต้น งามในท่ามกลาง งามในที่สุด ทรงประกาศพรหมจรรย์ พร้อมทั้งอรรถทั้งพยัญชนะบริบูรณ์บริสุทธิ์  อนึ่ง การเห็นพระอรหันต์ทั้งหลายเห็นปานนั้น เป็นความดี. 
อุรุเวลปาฏิหาริยํ ตติยภาณวาโร นิฏฺฐิโต.  (๑๓. พิมฺพิสารสมาคมกถา) ๕๕. อถ โข ภควา คยาสีเส ยถาภิรนฺตํ วิหริตฺวา เยน ราชคหํ เตน จาริกํ ปกฺกามิ มหตา ภิกฺขุสงฺเฆน สทฺธึ ภิกฺขุสหสฺเสน สพฺเพเหว ปุราณชฏิเลหิ.  อถ โข ภควา อนุปุพฺเพน จาริกํ จรมาโน เยน ราชคหํ ตทวสริ. 
atha kho rājā Māgadho Seniyo Bimbisāro dvādasanahutehi Māgadhikehi brāhmaṇagahapatikehi parivuto yena bhagavā ten’ upasaṃkami, upasaṃkamitvā bhagavantaṃ abhivādetvā ekamantaṃ nisīdi.  te pi kho dvādasanahutā Māgadhikā brāh-(36)maṇagahapatikā appekacce bhagavantaṃ abhivādetvā ekamantaṃ nisīdiṃsu, appekacce bhagavatā saddhiṃ sammodiṃsu, sammodanīyaṃ kathaṃ sāraṇīyaṃ vītisāretvā ekamantaṃ nisīdiṃsu, appekacce yena bhagavā ten’ añjaliṃ paṇāmetvā ekamantaṃ nisīdiṃsu, appekacce bhagavato santike nāmagottaṃ sāvetvā ekamantam nisīdiṃsu, {appekacce} tuṇhibhūtā ekamantaṃ nisīdiṃsu. |3| 
It is good to obtain the sight of holy men (Arahats) like that.'  And the Magadha king Seniya Bimbisâra, surrounded by twelve myriads of Magadha Brâhmanas and householders, went to the place where the Blessed One was; having approached him and respectfully saluted the Blessed One, he sat down near him. 
หลังจากนั้น พระเจ้าพิมพิสารจอมเสนามาคธราช ทรงแวดล้อมด้วยพราหมณ์คหบดีชาวมคธ ๑๒ นหุต เสด็จเข้าไปเฝ้าพระผู้มีพระภาค ครั้นถึงจึงถวายบังคมพระผู้มีพระภาค แล้วประทับนั่ง ณ ที่ควรส่วนข้างหนึ่ง.  ส่วนพราหมณ์คหบดีชาวมคธ ๑๒ นหุต นั้นแล บางพวกถวายบังคมพระผู้มีพระภาคแล้วนั่ง ณ ที่ควรส่วนข้างหนึ่ง บางพวกได้ทูลปราศรัยกับพระผู้มีพระภาค ครั้นผ่านการทูลปราศรัยพอให้เป็นที่บันเทิง เป็นที่ระลึกถึงกันไปแล้ว จึงนั่ง ณ ที่ควรส่วนข้างหนึ่ง บางพวกประคองอัญชลีไปทางที่พระผู้มีพระภาคประทับ แล้วนั่ง ณ ที่ควรส่วนข้างหนึ่ง บางพวกประกาศนามและโคตรในสำนักพระผู้มีพระภาค แล้วนั่ง ณ ที่ควรส่วนข้างหนึ่ง บางพวกนั่งนิ่งอยู่ ณ ที่ควรส่วนข้างหนึ่ง. 
ตตฺร สุทํ ภควา ราชคเห วิหรติ ลฏฺฐิวเน สุปฺปติฏฺเฐ เจติเย.  อสฺโสสิ โข ราชา มาคโธ เสนิโย พิมฺพิสาโร สมโณ ขลุ โภ โคตโม สกฺยปุตฺโต สกฺยกุลา ปพฺพชิโต ราชคหํ อนุปฺปตฺโต ราชคเห วิหรติ ลฏฺฐิวเน สุปฺปติฏฺเฐ เจติเย. 
atha kho tesaṃ dvādasanahutānaṃ Māgadhikānaṃ brāhmaṇagahapatikānaṃ etad ahosi:  kiṃ nu kho mahāsamaṇo Uruvelakassape brahmacariyaṃ carati, udāhu Uruvelakassapo mahāsamaṇe brahmacariyaṃ caratīti.  atha kho bhagavā tesaṃ dvādasanahutānaṃ Māgadhikānaṃ brāhmaṇagahapatikānaṃ cetasā cetoparivitakkaṃ aññāya āyasmantaṃ Uruvelakassapaṃ gāthāya ajjhabhāsi:  kim eva disvā Uruvelavāsi pahāsi aggiṃ kisako vadāno. pucchāmi taṃ Kassapa etam atthaṃ, kathaṃ pahīnaṃ tava aggihuttan ti. |  rūpe ca sadde ca atho rase ca kāmitthiyo cābhivadanti yaññā. etaṃ malan ti upadhīsu ñatvā, tasmā na yiṭṭhe na hute arañjin ti. |4| 
And of those twelve myriads of Magadha Brâhmanas and householders some also respectfully saluted the Blessed One and sat down near him; some exchanged greeting with the Blessed One, having exchanged with him greeting and complaisant words, they sat down near him; some bent their clasped hands towards the Blessed One and sat down near him; some shouted out their name and their family name before the Blessed One and sat down near him; some silently sat down near him.  Now those twelve myriads of Magadha Brâhmanas and householders thought:  'How now is this? has the great Samana placed himself under the spiritual direction of Uruvelâ Kassapa, or has Uruvelâ Kassapa placed himself under the spiritual direction of the great Samana?'  And the Blessed One, who understood in his mind the reflection which had arisen in the minds of those twelve myriads of Magadha Brâhmanas and householders, addressed the venerable Uruvelâ Kassapa in this stanza:  'What knowledge have you gained, O inhabitant of Uruvelâ, that has induced you, who were renowned for your penances, to forsake your sacred fire? I ask you, Kassapa, this question: How is it that your fire sacrifice has become deserted?' 
ครั้งนั้น พราหมณ์คหบดีชาวมคธ ๑๒ นหุตนั้นได้มีความดำริว่า  พระมหาสมณะประพฤติพรหมจรรย์ในท่านอุรุเวลกัสสป หรือว่าท่านอุรุเวลกัสสปประพฤติพรหมจรรย์ในพระมหาสมณะ.  ลำดับนั้น พระผู้มีพระภาคทรงทราบความดำริในใจของพราหมณ์คหบดีชาวมคธ ๑๒ นหุตนั้น ด้วยพระทัยของพระองค์ ได้ตรัสกะท่านพระอุรุเวลกัสสปด้วยพระคาถาว่า ดังนี้:-  ดูกรท่านผู้อยู่ในอุรุเวลามานาน เคยเป็นอาจารย์สั่งสอนหมู่ชฎิลผู้ผอม เพราะกำลังพรต ท่านเห็นเหตุอะไร จึงยอมละเพลิงเสียเล่า? ดูกรกัสสป เราถามเนื้อความนี้กะท่าน ท่านละเพลิงที่บูชาเสียทำไมเล่า?  ท่านพระอุรุเวลกัสสปทูลตอบว่า ยัญทั้งหลายกล่าวยกย่องรูปเสียงและรสที่น่าปรารถนาและสตรีทั้งหลาย ข้าพระพุทธเจ้ารู้ว่านั่นเป็นมลทินในอุปธิทั้งหลายแล้ว เพราะเหตุนั้น จึงไม่ยินดี ในการเซ่นสรวง ในการบูชา. 
ตํ โข ปน ภควนฺตํ โคตมํ เอวํ กลฺยาโณ กิตฺติสทฺโท อพฺภุคฺคโต อิติปิ โส ภควา อรหํ สมฺมาสมฺพุทฺโธ วิชฺชาจรณสมฺปนฺโน สุคโต โลกวิทู อนุตฺตโร ปุริสทมฺมสารถิ สตฺถา เทวมนุสฺสานํ พุทฺโธ ภควา . โส อิมํ โลกํ สเทวกํ สมารกํ สพฺรหฺมกํ สสฺสมณพฺราหฺมณึ ปชํ สเทวมนุสฺสํ สยํ อภิญฺญา สจฺฉิกตฺวา ปเวเทติ. โส ธมฺมํ เทเสติ อาทิกลฺยาณํ มชฺเฌกลฺยาณํ ปริโยสานกลฺยาณํ สาตฺถํ สพฺยญฺชนํ เกวลปริปุณฺณํ ปริสุทฺธํ พฺรหฺมจริยํ ปกาเสติ.  สาธุ โข ปน ตถารูปานํ อรหตํ ทสฺสนํ โหตีติ.  อถ โข ราชา มาคโธ เสนิโย พิมฺพิสาโร ทฺวาทสนหุเตหิ มาคธิเกหิ พฺราหฺมณคหปติเกหิ ปริวุโต เยน ภควา เตนุปสงฺกมิ อุปสงฺกมิตฺวา ภควนฺตํ อภิวาเทตฺวา เอกมนฺตํ นิสีทิ.  เตปิ โข ทฺวาทสนหุตา มาคธิกา พฺราหฺมณคหปติกา อปฺเปกจฺเจ ภควนฺตํ อภิวาเทตฺวา เอกมนฺตํ นิสีทึสุ อปฺเปกจฺเจ ภควตา สทฺธึ สมฺโมทึสุ สมฺโมทนียํ กถํ สารณียํ วีติสาเรตฺวา เอกมนฺตํ นิสีทึสุ อปฺเปกจฺเจ เยน ภควา เตนญฺชลึ ปณาเมตฺวา เอกมนฺตํ นิสีทึสุ อปฺเปกจฺเจ ภควโต สนฺติเก นามโคตฺตํ สาเวตฺวา เอกมนฺตํ นิสีทึสุ อปฺเปกจฺเจ ตุณฺหีภูตา เอกมนฺตํ นิสีทึสุ.  อถ โข เตสํ ทฺวาทสนหุตานํ มาคธิกานํ พฺราหฺมณคหปติกานํ เอตทโหสิ 
ettha ca te mano na ramittha Kassapā ’ti bhagavā avoca, rūpesu saddesu atho rasesu atha ko carahi devamanussaloke rato mano Kassapa brūhi me tan ti. |  disvā padaṃ santam anupadhīkaṃ akiñcanaṃ kāmabhave asattaṃ anaññathābhāviṃ anaññaneyyaṃ, tasmā na yiṭṭhe na hute arañjin ti. |5| 
(Kassapa replied): 'It is visible things and sounds, and also tastes, pleasures and woman that the sacrifices speak of; because I understood that whatever belongs to existence is filth, therefore I took no more delight in sacrifices and offerings.'  'But if your mind, Kassapa (said the Blessed One), found there no more delight,--either in visible things, or sounds, or tastes,--what is it in the world of men or gods in which your mind, Kassapa, now finds delight? Tell me that.' 
พระผู้มีพระภาคตรัสถามว่า ดูกรกัสสป ก็ใจของท่านไม่ยินดีแล้วในอารมณ์ คือรูป เสียงและรสเหล่านั้น ดูกรกัสสป ก็เมื่อเป็นเช่นนั้น ใจของท่านยินดีในสิ่งไรเล่า ในเทวโลกหรือมนุษยโลก ท่านจงบอกข้อนั้นแก่เรา?  ท่านพระอุรุเวลกัสสปทูลตอบว่า ข้าพระพุทธเจ้าได้เห็นทางอันสงบ ไม่มีอุปธิ ไม่มีกังวล ไม่ติดอยู่ในกามภพ ไม่มีภาวะเป็นอย่างอื่น ไม่ใช่ธรรมที่ผู้อื่นแนะให้บรรลุ เพราะฉะนั้น จึงไม่ยินดีในการเซ่นสรวง ในการบูชา 
“กึ นุ โข มหาสมโณ อุรุเวลกสฺสเป พฺรหฺมจริยํ จรติ อุทาหุ อุรุเวลกสฺสโป มหาสมเณ พฺรหฺมจริยํ จรตี”ติ?  อถ โข ภควา เตสํ ทฺวาทสนหุตานํ มาคธิกานํ พฺราหฺมณคหปติกานํ เจตสา เจโตปริวิตกฺกมญฺญาย อายสฺมนฺตํ อุรุเวลกสฺสปํ คาถาย อชฺฌภาสิ 
atha kho āyasmā Uruvelakassapo uṭṭhāyāsanā ekaṃsaṃ uttarāsaṅgaṃ karitvā bhagavato pādesu sirasā nipatitvā bhagavantaṃ etad avoca: satthā me bhante bhagavā, sāvako ’ham asmi, satthā me bhante bhagavā, sāvako ’ham asmīti.  atha kho tesaṃ dvādasanahutānaṃ Māgadhikānaṃ brāhmaṇagahapatikānaṃ etad ahosi:  Uruvelakassapo mahāsamaṇe brahmacariyaṃ caratīti. |6| 
(Kassapa replied): 'I have seen the state of peace (i.e. Nirvâna) in which the basis of existence (upadhi) and the obstacles to perfection (kiñkana) have ceased, which is free from attachment to sensual existence, which cannot pass over into another state, which cannot be led to another state; therefore I took no more delight in sacrifices and offerings.'  Then the venerable Uruvelâ Kassapa rose from his seat, adjusted his upper robe so as to cover one shoulder, prostrated himself, inclining his head to the feet of the Blessed One, and said to the Blessed One: 'My teacher, Lord, is the Blessed One, I am his pupil; my teacher, Lord, is the Blessed One, I am his pupil.'  Then those twelve myriads of Magadha Brâhmanas and householders understood: 
[๕๘] ลำดับนั้น ท่านพระอุรุเวลกัสสปลุกจากอาสนะ ห่มผ้าอุตราสงค์เฉวียงบ่า ซบเศียรลงที่พระบาทของพระผู้มีพระภาค แล้วได้กราบทูลพระผู้มีพระภาคว่า พระพุทธเจ้าข้า พระผู้มีพระภาคเป็นพระศาสดาของข้าพระพุทธเจ้า ข้าพระพุทธเจ้าเป็นสาวก, พระผู้มีพระภาคเป็นพระศาสดาของข้าพระพุทธเจ้า ข้าพระพุทธเจ้าเป็นสาวก พระพุทธเจ้าข้า.  ลำดับนั้น พราหมณ์คหบดีชาวมคธ ทั้ง ๑๒ นหุต นั้น ได้มีความเข้าใจว่า  ท่านพระอุรุเวลกัสสปประพฤติพรหมจรรย์ในพระมหาสมณะ. 
“กิเมว ทิสฺวา อุรุเวลวาสิ ปหาสิ อคฺคิ๎ กิสโกวทาโน. ปุจฺฉามิ ตํ กสฺสป เอตมตฺถํ กถํ ปหีนํ ตว อคฺคิหุตฺตนฺติฯ  “รูเป จ สทฺเท จ อโถ รเส จ. กามิตฺถิโย จาภิวทนฺติ ยญฺญา. เอตํ มลนฺติ อุปธีสุ ญตฺวา. ตสฺมา น ยิฏฺเฐ น หุเต อรญฺชินฺติฯ  “เอตฺเถว เต มโน น รมิตฺถ (กสฺสปาติ ภควา). รูเปสุ สทฺเทสุ อโถ รเสสุ. อถ โก จรหิ เทวมนุสฺสโลเก. รโต มโน กสฺสป พฺรูหิ เมตนฺติฯ 
atha kho bhagavā tesaṃ dvādasanahutānaṃ Māgadhikānaṃ brāhmaṇagahapatikānaṃ ce-(37)tasā cetoparivitakkaṃ aññāya anupubbikathaṃ kathesi seyyath’ īdaṃ: dānakathaṃ sīlakathaṃ saggakathaṃ kāmānaṃ ādīnavaṃ okāraṃ saṃkilesaṃ nekkhamme ānisaṃsaṃ pakāsesi.  yadā te bhagavā aññāsi kallacitte muducitte vinīvaraṇacitte udaggacitte pasannacitte, atha yā buddhānaṃ sāmukkaṃsikā dhammadesanā, taṃ pakāsesi, dukkhaṃ samudayaṃ nirodhaṃ maggaṃ. |7| 
'Uruvelâ Kassapa has placed himself under the spiritual direction of the great Samana.'  And the Blessed One, who understood in his mind the reflection that had arisen in the minds of those twelve myriads of Magadha Brâhmanas and householders, preached to them in due course 
ครั้งนั้น พระผู้มีพระภาคทรงทราบความปริวิตกแห่งจิตของพราหมณ์คหบดีชาวมคธทั้ง ๑๒ นหุตนั้น ด้วยพระทัยของพระองค์แล้ว ทรงแสดงอนุปุพพิกถา คือทรงประกาศทานกถา สีลกถา สัคคกถา โทษ ความต่ำทราม ความเศร้าหมองของกามทั้งหลายและอานิสงส์ในความออกจากกาม.  เมื่อพระผู้มีพระภาคทรงทราบว่า พวกเขามีจิตสงบ มีจิตอ่อน มีจิตปลอดจากนิวรณ์ มีจิตเบิกบาน มีจิตผ่องใสแล้ว จึงทรงประกาศพระธรรมเทศนาที่พระพุทธเจ้าทั้งหลายทรงยกขึ้นแสดงด้วยพระองค์เอง คือทุกข์ สมุทัย นิโรธ มรรค. 
“ทิสฺวา ปทํ สนฺตมนูปธีกํ. อกิญฺจนํ กามภเว อสตฺตํ. อนญฺญถาภาวิมนญฺญเนยฺยํ. ตสฺมา น ยิฏฺเฐ น หุเต อรญฺชิ”นฺติฯ  ๕๖. อถ โข อายสฺมา อุรุเวลกสฺสโป อุฏฺฐายาสนา เอกํสํ อุตฺตราสงฺคํ กริตฺวา ภควโต ปาเทสุ สิรสา นิปติตฺวา ภควนฺตํ เอตทโวจ “สตฺถา เม ภนฺเต ภควา สาวโกหมสฺมิ สตฺถา เม ภนฺเต ภควา สาวโกหมสฺมี”ติ. 
seyyathāpi nāma suddhaṃ vatthaṃ apagatakāḷakaṃ sammad eva rajanaṃ paṭigaṇheyya, evam eva ekādasanahutānaṃ Māgadhikānaṃ brāhmaṇagahapatikānaṃ Bimbisārapamukhānaṃ tasmiṃ yeva āsane virajaṃ vītamalaṃ dhammacakkhuṃ udapādi yaṃ kiñci samudayadhammaṃ sabbaṃ taṃ nirodhadhamman ti, ekanahutaṃ upāsakattaṃ paṭivedesi. |8| 
(&c., as in chap. 7, §§ 5, 6, down to:). 
ดวงตาเห็นธรรม ปราศจากธุลี ปราศจากมลทิน ว่าสิ่งใดสิ่งหนึ่งมีความเกิดขึ้นเป็นธรรมดาสิ่งนั้นทั้งหมดมีความดับเป็นธรรมดา ได้เกิดแก่พราหมณ์คหบดีชาวมคธ ๑๑ นหุต ซึ่งมีพระเจ้าพิมพิสารเป็นประมุข ณ ที่นั่งนั้นแล ดุจผ้าที่สะอาด ปราศจากมลทิน ควรได้รับน้ำย้อมเป็นอย่างดี ฉะนั้น. พราหมณ์คหบดีอีก ๑ นหุต แสดงตนเป็นอุบาสก. 
อถ โข เตสํ ทฺวาทสนหุตานํ มาคธิกานํ พฺราหฺมณคหปติกานํ เอตทโหสิ 
atha kho rājā Māgadho Seniyo Bimbisāro diṭṭhadhammo pattadhammo viditadhammo pariyogāḷhadhammo tiṇṇavicikiccho vigatakathaṃkatho vesārajjappatto aparappaccayo satthu sāsane bhagavantaṃ etad avoca:  pubbe me bhante kumārassa sato pañca assāsakā ahesuṃ, te me etarahi samiddhā. pubbe me bhante kumārassa sato etad ahosi:  aho vata maṃ rajje abhisiñceyyun ti, ayaṃ kho me bhante paṭhamo assāsako ahosi, so me etarahi samiddho.  tassa ca me vijitaṃ arahaṃ sammāsambuddho okkameyyā ’ti, ayaṃ kho me bhante dutiyo assāsako ahosi, so me etarahi samiddho. |9| 
Just as a clean cloth free from black specks properly takes the dye, thus eleven myriads of those Magadha Brâhmanas and householders with Bimbisâra at their head, while sitting there, obtained the pure and spotless Eye of the Truth (that is, the knowledge): 'Whatsoever is subject to the condition of origination is subject also to the condition of cessation.' One myriad announced their having become lay-pupils.  Then the Magadha king Seniya Bimbisâra, having seen the Truth (&c. . . . . down to) dependent on nobody else for the knowledge of the Teacher's doctrine, said to the Blessed One:  'In former days, Lord, when I was a prince, I entertained five wishes; these are fulfilled now.  In former days, Lord, when I was a prince, I wished: "O that I might be inaugurated as king." This was my first wish, Lord; this is fulfilled now. 
[๕๙] ครั้งนั้น พระเจ้าพิมพิสารจอมเสนามาคธราช ได้ทรงเห็นธรรมแล้ว ได้ทรงบรรลุธรรมแล้ว ได้ทรงรู้ธรรมแจ่มแจ้งแล้ว ทรงมีธรรมอันหยั่งลงแล้ว ทรงข้ามความสงสัยได้แล้วnปราศจากถ้อยคำแสดงความสงสัย ทรงถึงความเป็นผู้แกล้วกล้า ไม่ต้องทรงเชื่อผู้อื่นในคำสอนของพระศาสดา ได้ทูลพระวาจานี้ต่อพระผู้มีพระภาคว่า  ครั้งก่อน เมื่อหม่อมฉันยังเป็นราชกุมารได้มีความปรารถนา ๕ อย่าง บัดนี้ ความปรารถนา ๕ อย่างนั้น ของหม่อมฉันสำเร็จแล้ว.  ความปรารถนา ๕ อย่าง ๑. ครั้งก่อน เมื่อหม่อมฉันยังเป็นราชกุมาร ได้มีความปรารถนาว่า ไฉนหนอ ชนทั้งหลายพึงอภิเษกเราในราชสมบัติดังนี้ นี้เป็นความปรารถนาของหม่อมฉันประการที่ ๑ บัดนี้ความปรารถนานั้น ของหม่อมฉันสำเร็จแล้ว พระพุทธเจ้าข้า  ๒. ขอพระอรหันตสัมมาสัมพุทธเจ้า พึงเสด็จมาสู่แว่นแคว้นของหม่อมฉันนั้น นี้เป็นความปรารถนาของหม่อมฉันประการที่ ๒ บัดนี้ ความปรารถนานั้นของหม่อมฉันสำเร็จแล้ว พระพุทธเจ้าข้า 
“อุรุเวลกสฺสโป มหาสมเณ พฺรหฺมจริยํ จรตี”ติ.  อถ โข ภควา เตสํ ทฺวาทสนหุตานํ มาคธิกานํ พฺราหฺมณคหปติกานํ เจตสา เจโตปริวิตกฺกมญฺญาย อนุปุพฺพิ๎ กถํ กเถสิ เสยฺยถิทํ ทานกถํ สีลกถํ สคฺคกถํ กามานํ อาทีนวํ โอการํ สํกิเลสํ เนกฺขมฺเม อานิสํสํ ปกาเสสิ.  ยทา เต ภควา อญฺญาสิ กลฺลจิตฺเต มุทุจิตฺเต วินีวรณจิตฺเต อุทคฺคจิตฺเต ปสนฺนจิตฺเต อถ ยา พุทฺธานํ สามุกฺกํสิกา ธมฺมเทสนา ตํ ปกาเสสิ ทุกฺขํ สมุทยํ นิโรธํ มคฺคํ.  เสยฺยถาปิ นาม สุทฺธํ วตฺถํ อปคตกาฬกํ สมฺมเทว รชนํ ปฏิคฺคณฺเหยฺย เอวเมว เอกาทสนหุตานํ มาคธิกานํ พฺราหฺมณคหปติกานํ พิมฺพิสารปฺปมุขานํ ตสฺมึ เยว อาสเน วิรชํ วีตมลํ ธมฺมจกฺขุํ อุทปาทิ ยํ กิญฺจิ สมุทยธมฺมํ สพฺพํ ตํ นิโรธธมฺมนฺติ. เอกนหุตํ อุปาสกตฺตํ ปฏิเวเทสิ. 
tañ cāhaṃ bhagavantaṃ payirupāseyyan ti, ayaṃ kho me bhante tatiyo assāsako ahosi, so me etarahi samiddho.  so ca me bhagavā dhammaṃ deseyyā ’ti, ayaṃ kho me bhante catuttho assāsako ahosi, so me etarahi samiddho.  tassa cāhaṃ bhagavato dhammaṃ ājāneyyan ti, ayaṃ kho me bhante pañcamo assāsako ahosi, so me etarahi samiddho.  pubbe me bhante kumārassa sato ime pañca assāsakā ahesuṃ, te me etarahi samiddhā. |10| 
"And might then the holy, absolute Sambuddha come into my kingdom." This was my second wish, Lord; this is fulfilled now.  '"And might I pay my respects to Him, the Blessed One." This was my third wish, Lord; this is fulfilled now.  "And might He the Blessed One preach his doctrine (Dhamma) to me." This was my fourth wish, Lord; this is fulfilled now.  "And might I understand His, the Blessed One's doctrine." This was my fifth wish, Lord; this is fulfilled now. 
๓. ขอหม่อมฉันพึงได้เข้าเฝ้าพระผู้มีพระภาคพระองค์นั้น นี้เป็นความปรารถนาของหม่อมฉันประการที่ ๓ บัดนี้ ความปรารถนานั้น ของหม่อมฉันสำเร็จแล้ว พระพุทธเจ้าข้า  ๔. ขอพระผู้มีพระภาคพระองค์นั้นพึงแสดงธรรมแก่หม่อมฉัน นี้เป็นความปรารถนาของหม่อมฉันประการที่ ๔ บัดนี้ความปรารถนานั้น ของหม่อมฉันสำเร็จแล้ว พระพุทธเจ้าข้า  ๕. ขอหม่อมฉันพึงรู้ทั่วถึงธรรมของพระผู้มีพระภาคพระองค์นั้น นี้เป็นความปรารถนาของหม่อมฉันประการที่ ๕ บัดนี้ ความปรารถนานั้น ของหม่อมฉันสำเร็จแล้ว พระพุทธเจ้าข้า  พระพุทธเจ้าข้า ครั้งก่อนหม่อมฉันยังเป็นราชกุมาร ได้มีความปรารถนา ๕ อย่างนี้ บัดนี้ความปรารถนา ๕ อย่างนั้นของหม่อมฉันสำเร็จแล้ว 
๕๗. อถ โข ราชา มาคโธ เสนิโย พิมฺพิสาโร ทิฏฺฐธมฺโม ปตฺตธมฺโม วิทิตธมฺโม ปริโยคาฬฺหธมฺโม ติณฺณวิจิกิจฺโฉ วิคตกถํกโถ เวสารชฺชปฺปตฺโต อปรปฺปจฺจโย สตฺถุสาสเน ภควนฺตํ เอตทโวจ  “ปุพฺเพ เม ภนฺเต กุมารสฺส สโต ปญฺจ อสฺสาสกา อเหสุํ เต เม เอตรหิ สมิทฺธา. ปุพฺเพ เม ภนฺเต กุมารสฺส สโต เอตทโหสิ  ‘อโห วต มํ รชฺเช อภิสิญฺเจยฺยุ’นฺติ อยํ โข เม ภนฺเต ปฐโม อสฺสาสโก อโหสิ โส เม เอตรหิ สมิทฺโธ.  ‘ตสฺส จ เม วิชิตํ อรหํ สมฺมาสมฺพุทฺโธ โอกฺกเมยฺยา’ติ อยํ โข เม ภนฺเต ทุติโย อสฺสาสโก อโหสิ โส เม เอตรหิ สมิทฺโธ. 
abhikkantaṃ bhante, abhikkantaṃ bhante, seyyathāpi bhante nikkujjitaṃ vā. ukkujjeyya paṭicchannaṃ vā vivareyya mūḷhassa vā maggaṃ ācikkheyya andhakāre vā telapajjotaṃ dhāreyya cakkhumanto rūpāni dakkhintīti, evam eva bhagavatā anekapariyāyena dhammo pakāsito.  es’ āhaṃ bhante bhagavantaṃ saraṇaṃ gacchāmi dhammañ ca bhikkhusaṃghañ ca, upāsakaṃ maṃ bhante bhagavā dhāretu ajjatagge pāṇupetaṃ saraṇaṃ gatan ti, adhivāsetu ca me bhante (38) bhagavā svātanāya bhattaṃ saddhiṃ bhikkhusaṃghenā ’ti.  adhivāsesi bhagavā tunhibhāvena. |11| 
These were the five wishes, Lord, which I entertalned in former days when I was a prince; these are fulfilled now.  'Glorious, Lord! (&c., as in chap. 7. 10, down to:) who has taken his refuge in Him.  And might the Blessed One, Lord, consent to take his meal with me to-morrow together with the fraternity of Bhikkhus.' 
ภาษิตของพระองค์แจ่มแจ้งนัก ภาษิตของพระองค์ไพเราะนัก พระพุทธเจ้าข้า พระองค์ทรงประกาศธรรมโดยอเนกปริยายอย่างนี้ เปรียบเหมือนบุคคลหงายของที่คว่ำ เปิดของที่ปิด บอกทางแก่คนหลงทาง หรือส่องประทีปในที่มืด ด้วยตั้งใจว่า คนมีจักษุจักเห็นรูป ดังนี้  หม่อมฉันนี้ ขอถึงพระผู้มีพระภาค พระธรรมและพระภิกษุสงฆ์ ว่าเป็นสรณะ ขอพระองค์จงทรงจำหม่อมฉันว่า เป็นอุบาสกผู้มอบชีวิตถึงสรณะ จำเดิมแต่วันนี้เป็นต้นไป และขอพระผู้มีพระภาคพร้อมด้วยภิกษุสงฆ์จงทรงรับภัตตาหารของหม่อมฉัน ในวันพรุ่งนี้.  พระผู้มีพระภาคทรงรับด้วยดุษณีภาพ. 
‘ตญฺจาหํ ภควนฺตํ ปยิรุปาเสยฺย’นฺติ อยํ โข เม ภนฺเต ตติโย อสฺสาสโก อโหสิ โส เม เอตรหิ สมิทฺโธ.  ‘โส จ เม ภควา ธมฺมํ เทเสยฺยา’ติ อยํ โข เม ภนฺเต จตุตฺโถ อสฺสาสโก อโหสิ โส เม เอตรหิ สมิทฺโธ.  ‘ตสฺส จาหํ ภควโต ธมฺมํ อาชาเนยฺย’นฺติ อยํ โข เม ภนฺเต ปญฺจโม อสฺสาสโก อโหสิ โส เม เอตรหิ สมิทฺโธ. 
atha kho rājā Māgadho Seniyo Bimbisāro bhagavato adhivāsanaṃ viditvā uṭṭhāyāsanā bhagavantaṃ abhivādetvā padakkhiṇaṃ katvā pakkāmi.  atha kho rājā Māgadho Seniyo Bimbisāro tassā rattiyā accayena paṇītaṃ khādaniyaṃ bhojaniyaṃ paṭiyādāpetvā bhagavato kālaṃ ārocāpesi: kālo bhante, niṭṭhitaṃ bhattan ti.  atha kho bhagavā pubbaṇhasamayaṃ nivāsetvā pattacīvaraṃ ādāya Rājagahaṃ pāvisi mahatā bhikkhusaṃghena saddhiṃ bhikkhusahassena sabbeh’ eva purāṇajaṭilehi. |12| 
The Blessed One expressed his consent by remaining silent.  Then the Magadha king Seniya Bimbisâra, when he understood that the Blessed One had accepted his invitation, rose from his seat, respectfully saluted the Blessed One, and, passing round him with his right side towards him, went away.  And when the night had elapsed, the Magadha king Seniya Bimbisâra ordered excellent food, both hard and soft, to be prepared, and had dinner-time announced to the Blessed One in the words: 'It is time, Lord, the meal is ready.' 
ครั้นพระเจ้าพิมพิสารจอมเสนามาคธราชทรงทราบการรับนิมนต์ของพระผู้มีพระภาคแล้ว เสด็จลุกจากที่ประทับถวายบังคมพระผู้มีพระภาค ทรงทำประทักษิณแล้วเสด็จกลับไป.  [๖๐] หลังจากนั้น พระเจ้าพิมพิสารจอมเสนามาคธราช รับสั่งให้ตกแต่งของเคี้ยวของฉันอันประณีตโดยผ่านราตรีนั้น แล้วให้เจ้าพนักงานไปกราบทูลภัตตกาลแด่พระผู้มีพระภาคว่า ถึงเวลาแล้ว พระพุทธเจ้าข้า ภัตตาหารเสร็จแล้ว.  ขณะนั้นเป็นเวลาเช้า พระผู้มีพระภาคทรงอันตรวาสกแล้ว ทรงถือบาตรจีวร เสด็จพระพุทธดำเนินสู่พระนครราชคฤห์ พร้อมด้วยภิกษุสงฆ์หมู่ใหญ่ จำนวน ๑๐๐๐ รูป ล้วนปุราณชฎิล. 
ปุพฺเพ เม ภนฺเต กุมารสฺส สโต อิเม ปญฺจ อสฺสาสกา อเหสุํ เต เม เอตรหิ สมิทฺธา.  อภิกฺกนฺตํ ภนฺเต อภิกฺกนฺตํ ภนฺเต เสยฺยถาปิ ภนฺเต นิกฺกุชฺชิตํ วา อุกฺกุชฺเชยฺย ปฏิจฺฉนฺนํ วา วิวเรยฺย มูฬฺหสฺส วา มคฺคํ อาจิกฺเขยฺย อนฺธกาเร วา เตลปชฺโชตํ ธาเรยฺย จกฺขุมนฺโต รูปานิ ทกฺขนฺตีติ เอวเมวํ ภควตา อเนกปริยาเยน ธมฺโม ปกาสิโต.  เอสาหํ ภนฺเต ภควนฺตํ สรณํ คจฺฉามิ ธมฺมญฺจ ภิกฺขุสงฺฆญฺจ. อุปาสกํ มํ ภควา ธาเรตุ อชฺชตคฺเค ปาณุเปตํ สรณํ คตํ อธิวาเสตุ จ เม ภนฺเต ภควา สฺวาตนาย ภตฺตํ สทฺธึ ภิกฺขุสงฺเฆนา”ติ 
tena kho pana samayena Sakko devānam indo māṇavakavaṇṇaṃ abhinimminitvā buddhapamukhassa bhikkhusaṃghassa purato-purato gacchati imā gāthāyo gīyamāno:  danto dantehi saha purāṇajaṭilehi vippamutto vippamuttehi siṅgīnikkhasuvaṇṇo Rājagahaṃ pāvisi bhagavā. |  mutto muttehi saha purāṇajaṭilehi vippamutto vippamuttehi siṅgīnikkhasuvaṇṇo Rājagahaṃ pāvisi bhagavā. |  tiṇṇo tiṇṇehi saha purāṇajaṭilehi vippamutto vippamuttehi siṅgīnikkhasuvaṇṇo Rājagahaṃ pāvisi bhagavā. |  dasavāso dasabalo dasadhammavidū dasabhi c’ upeto so dasasataparivāro Rājagahaṃ pāvisi bhagavā ’ti. |13| 
And in the forenoon the Blessed One, having put on his under-robes, took his alms-bowl, and with his kîvara on entered the city of Râgagaha accompanied by a great number of Bhikkhus, by one thousand Bhikkhus who all had been Gatilas before.  At that time Sakka the king of the devas, assuming the appearance of a young Brâhman, walked in front of the Bhikkhu fraternity with Buddha at its head, singing the following stanzas:  'The self-controlled One with the self-controlled, with the former Gatilas, the released One with the released, the Blessed One, gold-coloured like an ornament of singî gold, has entered Râgagaha.  'The emancipated One with the emancipated, with the former Gatilas, &c.  'He who has crossed (the ocean of passion) with them who have crossed (it), with the former Gatilas, the released One with the released, the Blessed One, gold-coloured like an ornament of singi gold, has entered Râgagaha. 
[๖๑] ก็โดยสมัยนั้นแล ท้าวสักกะจอมทวยเทพทรงนิรมิตเพศเป็นมาณพ เสด็จพระดำเนินนำหน้าภิกษุสงฆ์มีพระพุทธเจ้าเป็นประมุข พลางขับคาถาเหล่านี้ ว่าดังนี้:- คาถาสดุดีพระผู้มีพระภาค  พระผู้มีพระภาค มีพระฉวีเสมอด้วยลิ่มทองสิงคี ทรงฝึกอินทรีย์แล้ว ทรงพ้นวิเศษแล้ว เสด็จประเวศสู่พระนครราชคฤห์พร้อมด้วยพระปุราณชฎิลทั้งหลาย ผู้ฝึกอินทรีย์แล้ว ผู้พ้นวิเศษแล้ว.  พระผู้มีพระภาค มีพระฉวีเสมอด้วยลิ่มทองสิงคี ทรงพ้นแล้ว ทรงพ้นวิเศษแล้ว เสด็จประเวศสู่พระนครราชคฤห์พร้อมด้วยพระปุราณชฎิลทั้งหลาย ผู้พ้นแล้ว ผู้พ้นวิเศษแล้ว.  พระผู้มีพระภาค มีพระฉวีเสมอด้วยลิ่มทองสิงคี ทรงสงบแล้ว ทรงพ้นวิเศษแล้ว เสด็จประเวศสู่พระนครราชคฤห์พร้อมด้วยพระปุราณชฎิลทั้งหลาย ผู้สงบแล้ว ผู้พ้นวิเศษแล้ว.  พระผู้มีพระภาคพระองค์นั้นทรงมีอริยวาสธรรม ๑๐ ประการ เป็นเครื่องอยู่ ทรงประกอบด้วยพระกำลัง ๑๐ ทรงทราบธรรม คือ กรรมบถ ๑๐ และทรงประกอบด้วยธรรมอันเป็นองค์ของพระอเสขะ ๑๐ มีภิกษุบริวารพันหนึ่ง เสด็จประเวศสู่พระนครราชคฤห์ 
อธิวาเสสิ ภควา ตุณฺหีภาเวน.  อถ โข ราชา มาคโธ เสนิโย พิมฺพิสาโร ภควโต อธิวาสนํ วิทิตฺวา อุฏฺฐายาสนา ภควนฺตํ อภิวาเทตฺวา ปทกฺขิณํ กตฺวา ปกฺกามิ.  อถ โข ราชา มาคโธ เสนิโย พิมฺพิสาโร ตสฺสา รตฺติยา อจฺจเยน ปณีตํ ขาทนียํ โภชนียํ ปฏิยาทาเปตฺวา ภควโต กาลํ อาโรจาเปสิ “กาโล ภนฺเต นิฏฺฐิตํ ภตฺต”นฺติ.  ๕๘. อถ โข ภควา ปุพฺพณฺหสมยํ นิวาเสตฺวา ปตฺตจีวรมาทาย ราชคหํ ปาวิสิ มหตา ภิกฺขุสงฺเฆน สทฺธึ ภิกฺขุสหสฺเสน สพฺเพเหว ปุราณชฏิเลหิ.  เตน โข ปน สมเยน สกฺโก เทวานมินฺโท มาณวกวณฺณํ อภินิมฺมินิตฺวา พุทฺธปฺปมุขสฺส ภิกฺขุสงฺฆสฺส ปุรโต ปุรโต คจฺฉติ อิมา คาถาโย คายมาโน 
manussā Sakkaṃ devānam indaṃ passitvā evaṃ āhaṃsu:  abhirūpo vatāyaṃ māṇavako, dassanīyo vatāyaṃ māṇavako, pāsādiko vatāyaṃ māṇavako.  kassa nu kho ayaṃ māṇavako ’ti.  evaṃ vutte Sakko devānam indo te manusse gāthāya ajjhabhāsi:  yo dhīro sabbadhī danto buddho appaṭipuggalo arahaṃ sugato loke tassāhaṃ paricārako ’ti. |14| 
'He who is possessed of the ten Noble States and of the ten Powers, who understands the ten Paths of Kamma and possesses the ten (attributes of Arahatship), the Blessed One, surrounded by ten hundred of followers, has entered Râgagaha.'  The people when they saw Sakka the king of the devas, said:  'This youth indeed is handsome; this youth indeed has a lovely appearance; this youth indeed is pleasing. Whose attendant may this youth be?'  When they talked thus,  Sakka the king of the devas addressed those people in this stanza: 
[๖๒] ประชาชนได้เห็นท้าวสักกะจอมทวยเทพแล้วพากันกล่าวอย่างนี้ว่า  พ่อหนุ่มนี้มีรูปงามยิ่งนัก น่าดูนัก น่าชมนัก พ่อหนุ่มนี้ของใครหนอ.  เมื่อประชาชนกล่าวอย่างนี้แล้ว  ท้าวสักกะจอมทวยเทพได้กล่าวตอบประชาชนพวกนั้นด้วยคาถา ว่าดังนี้:-  พระผู้มีพระภาคพระองค์ใดเป็นนักปราชญ์ ทรงฝึกอินทรีย์ทั้งปวงแล้ว เป็นผู้ผ่องแผ้วหาบุคคลเปรียบมิได้ ไกลจากกิเลส เสด็จไปดีแล้วในโลก ข้าพเจ้าเป็นผู้รับใช้ของพระผู้มีพระภาคพระองค์นั้น. 
“ทนฺโต ทนฺเตหิ สห ปุราณชฏิเลหิ วิปฺปมุตฺโต วิปฺปมุตฺเตหิ. สิงฺคีนิกฺขสวณฺโณ ราชคหํ ปาวิสิ ภควาฯ  “มุตฺโต มุตฺเตหิ สห ปุราณชฏิเลหิ วิปฺปมุตฺโต วิปฺปมุตฺเตหิ. สิงฺคีนิกฺขสวณฺโณ ราชคหํ ปาวิสิ ภควาฯ  “ติณฺโณ ติณฺเณหิ สห ปุราณชฏิเลหิ. วิปฺปมุตฺโต วิปฺปมุตฺเตหิ. สิงฺคีนิกฺขสุวณฺโณ. ราชคหํ ปาวิสิ ภควาฯ “สนฺโต สนฺเตหิ สห ปุราณชฏิเลหิ. วิปฺปมุตฺโต วิปฺปมุตฺเตหิ. สิงฺคีนิกฺขสวณฺโณ. ราชคหํ ปาวิสิ ภควาฯ  “ทสวาโส ทสพโล ทสธมฺมวิทู ทสภิ จุเปโต. โส ทสสตปริวาโร ราชคหํ ปาวิสิ ภควา”ติฯ  มนุสฺสา สกฺกํ เทวานมินฺทํ ปสฺสิตฺวา เอวมาหํสุ 
atha kho bhagavā yena rañño Māgadhassa Seniyassa Bimbisārassa nivesanaṃ ten’ upasaṃkami, upasaṃkamitvā paññatte āsane nisīdi saddhiṃ bhikkhusaṃghena.  atha kho rājā Māgadho Seniyo Bimbisāro buddhapamukhaṃ bhikkhusaṃghaṃ paṇītena khādaniyena bhojaniyena sahatthā santappetvā sampavāretvā bhagavantaṃ bhuttāviṃ onītapattapāṇiṃ ekamantaṃ nisīdi. |15| 
'He who is wise, entirely self-controlled, the unrivalled Buddha, tie Arahat, the most happy upon earth: his attendant am I.'  And the Blessed One went to the palace of the Magadha king Seniya Bimbisâra. Having gone there, he sat down with the Bhikkhus who followed him, on seats laid out for them. 
ทรงรับพระเวฬุวันเป็นสังฆิกาวาส [๖๓] ครั้งนั้น พระผู้มีพระภาคเสด็จพระพุทธดำเนินไปสู่พระราชนิเวศน์ของพระเจ้าพิมพิสารจอมเสนามาคธราช ครั้นถึงแล้ว ประทับนั่งเหนือพระพุทธอาสน์ที่เขาจัดถวายพร้อมด้วยภิกษุสงฆ์.  จึงพระเจ้าพิมพิสารจอมเสนามาคธราช ทรงอังคาสภิกษุสงฆ์มีพระพุทธเจ้าเป็นประมุข ด้วยขาทนียโภชนียาหารอันประณีตด้วยพระหัตถ์ของพระองค์ จนให้พระผู้มีพระภาคเสวยเสร็จ ทรงนำพระหัตถ์ออกจากบาตร ห้ามภัตแล้ว จึงประทับนั่ง ณ ที่ควรส่วนข้างหนึ่ง. 
“อภิรูโป วตายํ มาณวโก ทสฺสนีโย วตายํ มาณวโก ปาสาทิโก วตายํ มาณวโก.  กสฺส นุ โข อยํ มาณวโก”ติ? 
ekamantaṃ ni-(39)sinnassa kho rañño Māgadhassa Seniyassa Bimbisārassa etad ahosi:  kattha nu kho bhagavā vihareyya, yaṃ assa gāmato n’ eva avidūre na accāsanne gamanāgamanasampannaṃ atthikānaṃ-atthikānaṃ manussānaṃ abhikkamanīyaṃ, divā appākiṇṇaṃ rattiṃ appasaddaṃ appanigghosaṃ vijanavātaṃ manussarāhaseyyakaṃ paṭisallānasāruppan ti. |16| 
Then the Magadha king Seniya Bimbisâra with his own hands served and offered excellent food, both hard and soft, to the fraternity of Bhikkhus with the Buddha at its head; and when the Blessed One had finished his meal and cleansed his bowl and his hands, he sat down near him.  Sitting near him the Magadha king Seniya Bimbisâra thought: 
ท้าวเธอได้ทรงพระราชดำริว่า  พระผู้มีพระภาคพึงประทับอยู่ ณ ที่ไหนดีหนอ ซึ่งจะเป็นสถานที่ไม่ไกล ไม่ใกล้จากบ้านนัก สะดวกด้วยการคมนาคม ควรที่ประชาชนผู้ต้องประสงค์จะเข้าไปเฝ้าได้ กลางวันไม่พลุกพล่าน กลางคืนเงียบสงัด เสียงไม่กึกก้อง ปราศจากลมแต่ชนที่เดินเข้าออก ควรเป็นที่ประกอบกิจของผู้ต้องการที่สงัด และควรเป็นที่หลีกเร้นอยู่ตามสมณวิสัย. 
เอวํ วุตฺเต สกฺโก เทวานมินฺโท เต มนุสฺเส คาถาย อชฺฌภาสิ  “โย ธีโร สพฺพธิ ทนฺโต สุทฺโธ อปฺปฏิปุคฺคโล. อรหํ สุคโต โลเก ตสฺสาหํ ปริจารโก”ติฯ 
atha kho rañño Māgadhassa Seniyassa Bimbisārassa etad ahosi:  idaṃ kho amhākaṃ Veḷuvanaṃ uyyānaṃ gāmato n’ eva avidūre na accāsanne gamanāgamanasampannaṃ atthikānaṃ-atthikānaṃ manussānaṃ abhikkamanīyaṃ, divā appākiṇṇaṃ, rattiṃ appasaddaṃ appanigghosaṃ vijanavātaṃ manussarāhaseyyakaṃ paṭisallānasāruppaṃ.  yaṃ nūnāhaṃ Veḷuvanaṃ uyyānaṃ buddhapamukhassa bhikkhusaṃghassa dadeyyan ti. |17| 
'Where may I find a place for the Blessed One to live in, not too far from the town and not too near, suitable for going and coming, easily accessible for all people who want (to see him), by day not too crowded, at night not exposed to much noise and alarm, clean of the smell of people, hidden from men, well fitted for a retired life?'  And the Magadha king Seniya Bimbisâra thought:  'There is the Veluvana, my pleasure garden, which is not too far from the town and not too near, suitable for going and coming, . . . . (&c., down to a retired life). 
แล้วได้ทรงพระราชดำริต่อไปว่า  สวนเวฬุวันของเรานี้แล ไม่ไกลไม่ใกล้จากบ้านนัก สะดวกด้วยการคมนาคม ควรที่ประชาชนผู้ต้องประสงค์จะพึงเข้าไปเฝ้าได้ กลางวันไม่พลุกพล่าน กลางคืนเงียบสงัด เสียงไม่กึกก้อง ปราศจากลมแต่ชนที่เข้าออก ควรเป็นที่ประกอบกิจของผู้ต้องการที่สงัด และควรเป็นที่หลีกเร้นอยู่ตามสมณวิสัย  ผิฉะนั้น เราพึงถวายสวนเวฬุวันแก่ภิกษุสงฆ์มีพระพุทธเจ้าเป็นประมุข ดังนี้. 
๕๙. อถ โข ภควา เยน รญฺโญ มาคธสฺส เสนิยสฺส พิมฺพิสารสฺส นิเวสนํ เตนุปสงฺกมิ อุปสงฺกมิตฺวา ปญฺญตฺเต อาสเน นิสีทิ สทฺธึ ภิกฺขุสงฺเฆน.  อถ โข ราชา มาคโธ เสนิโย พิมฺพิสาโร พุทฺธปฺปมุขํ ภิกฺขุสงฺฆํ ปณีเตน ขาทนีเยน โภชนีเยน สหตฺถา สนฺตปฺเปตฺวา สมฺปวาเรตฺวา ภควนฺตํ ภุตฺตาวึ โอนีตปตฺตปาณึ เอกมนฺตํ นิสีทิ.  เอกมนฺตํ นิสินฺนสฺส โข รญฺโญ มาคธสฺส เสนิยสฺส พิมฺพิสารสฺส เอตทโหสิ 
atha kho rājā Māgadho Seniyo Bimbisāro sovaṇṇamayaṃ bhiṅkāraṃ gahetvā bhagavato onojesi etāhaṃ bhante Veḷuvanaṃ uyyānaṃ buddhapamukhassa bhikkhusaṃghassa dammīti.  paṭiggahesi bhagavā ārāmaṃ.  atha kho bhagavā rājānaṃ Māgadhaṃ Seniyaṃ Bimbisāraṃ dhammiyā kathāya sandassetvā samādapetvā samuttejetvā saṃpahaṃsetvā uṭṭhāyāsanā pakkāmi.  atha kho bhagavā etasmiṃ nidāne dhammiṃ kathaṃ katvā bhikkhū āmantesi: anujānāmi bhikkhave ārāman ti. |18| 
What if I were to make an offering of the Veluvana pleasure garden to the fraternity of Bhikkhus with the Buddha at its head?'  And the Magadha king Seniya Bimbisâra took a golden vessel (with water in it, to be poured over the Buddha's hand); and dedicated (the garden) to the Blessed One (by saying), 'I give up this Veluvana pleasure garden, Lord, to the fraternity of Bhikkhus with the Buddha at its head.'  The Blessed One accepted the ârâma (park).  Then the Blessed One, after having taught, incited, animated, and gladdened the Magadha king Seniya Bimbisâra by religious discourse, rose from his seat and went away. 
ลำดับนั้น จึงทรงจับพระสุวรรณภิงคาร ทรงหลั่งน้ำน้อมถวายแด่พระผู้มีพระภาค ด้วยพระราชดำรัสว่า หม่อมฉันถวายสวนเวฬุวันนั่นแก่ภิกษุสงฆ์ มีพระพุทธเจ้าเป็นประมุข พระพุทธเจ้าข้า.  พระผู้มีพระภาคทรงรับอารามแล้ว.  และทรงชี้แจงให้พระเจ้าพิมพิสารจอมเสนามาคธราชทรงเห็นแจ้ง สมาทาน อาจหาญ ร่าเริง ด้วยธรรมีกถา แล้วเสด็จลุกจากที่ประทับเสด็จกลับ.  ต่อมา พระองค์ทรงทำธรรมีกถาในเพราะเหตุเป็นเค้ามูลนั้น แล้วรับสั่งกะภิกษุทั้งหลายว่า ดูกรภิกษุทั้งหลาย เราอนุญาตอาราม. 
“กตฺถ นุ โข ภควา วิหเรยฺย? ยํ อสฺส คามโต เนว อวิทูเร น อจฺจาสนฺเน คมนาคมนสมฺปนฺนํ อตฺถิกานํ อตฺถิกานํ มนุสฺสานํ อภิกฺกมนียํ ทิวา อปฺปากิณฺณํ รตฺตึ อปฺปสทฺทํ อปฺปนิคฺโฆสํ วิชนวาตํ มนุสฺสราหสฺเสยฺยกํ ปฏิสลฺลานสารุปฺป”นฺติ.  อถ โข รญฺโญ มาคธสฺส เสนิยสฺส พิมฺพิสารสฺส เอตทโหสิ  “อิทํ โข อมฺหากํ เวฬุวนํ อุยฺยานํ คามโต เนว อวิทูเร น อจฺจาสนฺเน คมนาคมนสมฺปนฺนํ อตฺถิกานํ อตฺถิกานํ มนุสฺสานํ อภิกฺกมนียํ ทิวา อปฺปากิณฺณํ รตฺตึ อปฺปสทฺทํ อปฺปนิคฺโฆสํ วิชนวาตํ มนุสฺสราหสฺเสยฺยกํ ปฏิสลฺลานสารุปฺปํ.  ยํนูนาหํ เวฬุวนํ อุยฺยานํ พุทฺธปฺปมุขสฺส ภิกฺขุสงฺฆสฺส ทเทยฺย”นฺติ. 
||22|| 
And in consequence of this event the Blessed One, after having delivered a religious discourse, thus addressed the Bhikkhus: 'I allow you, O Bhikkhus, to receive the donation of an ârâma (a park).' 
ทรงเทศนาโปรดพระเจ้าพิมพิสาร จบ. 
อถ โข ราชา มาคโธ เสนิโย พิมฺพิสาโร โสวณฺณมยํ ภิงฺการํ คเหตฺวา ภควโต โอโณเชสิ “เอตาหํ ภนฺเต เวฬุวนํ อุยฺยานํ พุทฺธปฺปมุขสฺส ภิกฺขุสงฺฆสฺส ทมฺมี”ติ. 
Go to Wiki Documentation
Enhet: Det humanistiske fakultet   Utviklet av: IT-seksjonen ved HF
Login